โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาวะเงินเฟ้อ

ดัชนี ภาวะเงินเฟ้อ

อัตราเงินเฟ้อทั่วโลกในปี 2550 ภาวะเงินเฟ้อ (inflation) หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าหรือบริการในระยะเวลาหนึ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ภาวะเงินเฟ้อมีผลต่อเศรษฐกิจทั้งบวกและลบ ผลเสียที่เกี่ยวข้องกับภาวะเงินเฟ้อรวมถึงการเพิ่มของต้นทุนค่าเสียโอกาสในการไม่ใช้เงินและการทำให้ผู้บริโภคกักตุนสินค้าเนื่องจากประเมินว่าราคาจะเพิ่มขึ้นในอนาคต (หากอัตราเงินเฟ้อเพิ่มอย่างรวดเร็ว) ผลเชิงบวกของอัตราเงินเฟ้อมีดังนี้.

47 ความสัมพันธ์: บอริส เยลต์ซินฟร็องซัว มีแตร็องพระเมกุฏิสุทธิวงศ์การก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลางการจลาจลข้าว ค.ศ. 1918การทลายคุกบัสตีย์การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532ภาวะเศรษฐกิจถดถอยภาวะเศรษฐกิจตกต่ำใหญ่ในอาร์เจนตินา พ.ศ. 2541–2545ภาวะเงินฝืดยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3ยูโรโซนรายชื่อภาพยนตร์ไทยที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทยรายชื่อประเทศตามภาวะเงินเฟ้อรูปียะฮ์วิกฤตการณ์มาลายาวิมานลอย (ภาพยนตร์)สกุลเงินตราสหรัฐหวังอันฉือหน่วยโทษอะเบะโนมิกส์อัตราดอกเบี้ยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงจุดผลิตน้ำมันสูงสุดดอกเบี้ยดัชนีราคาผู้บริโภคดุลการค้าด็อกเตอร์ชิวาโก (ภาพยนตร์)คริปโทเคอร์เรนซีความเสี่ยงค่าจ้างขั้นต่ำตั๋งโต๊ะประชาธิปไตยเสรีนิยมประเทศสวีเดนประเทศอียิปต์ประเทศฮอนดูรัสประเทศตุรกีปริมาณเงินนักเศรษฐศาสตร์แอร์บัส เอ310เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์มหภาคเจมส์ แคเมรอนเจอรัลด์ ฟอร์ดเจาะเวลาหาอดีต

บอริส เยลต์ซิน

อริส นีโคลาเยวิช เยลต์ซิน (Бори́с Никола́евич Е́льцин, Boris Yeltsin, 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 23 เมษายน พ.ศ. 2550) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหพันธรัฐรัสเซีย ดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและบอริส เยลต์ซิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2538 โดยชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในฐานะตัวแทนพรรคสังคมนิยม (PS) เขาชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2524 กลายเป็นประธานาธิบดีสังคมนิยมคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5และเป็นประมุขแห่งรัฐที่มาจากฝ่ายซ้ายคนแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 และในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2531นั้น เขาก็ชนะอีกครั้งหนึ่งและดำรงตำแหน่งจนถึงปี พ.ศ. 2538 ก่อนที่จะต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในปีเดียวกัน ในการดำรงตำแหน่งทั้งสองวาระนั้น เขาได้ยุบสภาเพื่อที่จะได้เสียงข้างมากในสภา แต่ทว่าพรรคสังคมนิยมก็ได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองครั้ง และทำให้เกิด "การบริหารร่วมกัน" ในสองปีสุดท้ายของทั้งสองวาระ โดยมีฌัก ชีรักเป็นแกนนำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2531 และเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดด้วยระยะเวลา 14 ปี ทั้งยังเป็นประธานาธิบดีที่อาวุโสที่สุดอีกด้วย (สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งเมื่ออายุ 78 ปี) ฟร็องซัว มีแตร็องถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและฟร็องซัว มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระเมกุฏิสุทธิวงศ์

ระเป็นเจ้าแม่กุตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี, หน้า 91 (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) พระเมกุฏิสุทธิวงศ์ (พงศาวดารโยนก) พญาเมกุ หรือเจ้าขนานแม่กุประวัติศาสตร์ล้านนา, หน้า 178-179 ส่วนพม่าเรียกว่า ยูนบะหยิ่น (ယွန်းဘုရင်, Yun Bayin "กษัตริย์ของชาวโยน"), พระสังพม่าอ่านไทย, หน้า 162-163 หรือ พระสารพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1129 เป็นอดีตเจ้านายเมืองนาย และเป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้สืบเชื้อสายมาจากพญามังราย ภายหลังอาณาจักรล้านนาได้พ่ายแพ้แก่พม่าในรัชสมัยพระเจ้าบุเรงนอง พระเมกุฏิสุทธิวงศ์จึงถูกนำไปเป็นองค์ประกันในพม่าก่อนพิราลัยที่นั่นด้วยโรคบิด การพิราลัยด้วยพระโรคบิดของพระองค์นั้น ทางคติพม่าถือว่าเป็นการตายร้าย น่าสังเวชเวทนา จึงกลายเป็นนัตตระกูลสูงหนึ่งจากทั้งหมดสามสิบเจ็ดตน พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์ในรูปลักษณ์ของนัตมีลักษณะคือ ประทับนั่งชันพระชานุขวา พระหัตถ์ขวาถือพระแสงดาบพาดพระอังสาเบื้องขวา และพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระชานุซ้.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง

มเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพบปะกับคณะผู้ก่อการในการปฏิวัติชาวนา การปฏิวัติของชุมชนในปลายสมัยกลางของยุโรป (Popular revolt in late medieval Europe) โดยทั่วไปเป็นการก่อความไม่สงบหรือการปฏิวัติของเกษตรกรในชนบทหรือชนชั้นกลางในเมืองในการต่อต้านขุนนาง, นักบวช หรือ พระมหากษัตริย์ระหว่างคริสต์ศัตวรรษที่ 14 จนถึงต้นคริสต์ศัตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ“วิกฤติกาลของปลายสมัยกลางของยุโรป”(Crisis of the Late Middle Ages) บางครั้งก็เรียกว่า“กบฏชาวนา”(Peasant revolt) ที่เป็นการปฏิวัติของชุมชนที่ครอบคลุมอย่างกว้างไม่เฉพาะแต่เกษตรกรหรือชาวน.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและการก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

การจลาจลข้าว ค.ศ. 1918

ซุซุกิ โชเท็นในเมืองโกเบ ถูกเผาทำลายระหว่างการจลาจลข้าวในวันที่ 11 สิงหาคม ค.ศ. 1918 การจลาจลข้าว..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและการจลาจลข้าว ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

การทลายคุกบัสตีย์

การทลายคุกบัสตีย์ (Prise de la Bastille; Fall of the Bastille) คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและการทลายคุกบัสตีย์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554

การประท้วงในจัตุรัสทาห์รีร์ กรุงไคโร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 การปฏิวัติอียิปต..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและการปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532

การชุมนุมประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน เป็นเหตุการณ์ชุมนุมประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ระหว่างวันที่ 15 เมษายน - 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเศรษฐกิจถดถอย

ในวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาวะเศรษฐกิจถดถอย (recession) เป็นการหดตัวของวัฏจักรธุรกิจซึ่งส่งผลให้เกิดการชะลอโดยรวมของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตัวชี้วัดเศรษฐกิจมหภาคอย่างผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) รายจ่ายการลงทุน กําลังผลิตของภาคอุตสาหกรรม รายได้ครัวเรือน กำไรธุรกิจและเงินเฟ้อลดลง ส่วนการล้มละลายและอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น ในสหราชอาณาจักร นิยามว่าเป็นการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นลบสองไตรมาสติดต่อกัน โดยทั่วไปภาวะเศรษฐกิจถดถอยเกิดเมื่อมีรายจ่ายลดลงอย่างกว้างขวาง (การเปลี่ยนแปลงอุปทานเป็นลบ) ซึ่งอาจเกิดจากหลายเหตุการณ์อย่างวิกฤตการเงิน การเปลี่ยนแปลงการค้าภายนอก และการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์เป็นลบ หรือการแตกของภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ รัฐบาลปกติสนองต่อภาวะเศรษฐกิจถดถอยด้วยการใช้นโยบายเศรษฐกิจมหภาคแบบขยายตัว เช่น การพิ่มอุปสงค์เงิน (นโยบายการคลัง) การเพิ่มรายจ่ายภาครัฐและการลดการเก็บภาษี (นโยบายการเงิน).

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและภาวะเศรษฐกิจถดถอย · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำใหญ่ในอาร์เจนตินา พ.ศ. 2541–2545

right วิกฤติเศรษฐกิจในอาร์เจนตินา (Argentine economic crisis) เป็นช่วงที่เศรษฐกิจในอาร์เจนตินาล่มสลาย ประเทศอยู่ในภาวะล้มละลาย ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบื้องต้น (GNP) ลดต่ำลงจนติดลบติดต่อกันยาวนานถึง 4 ปีเต็ม คนตกงานกว่าครึ่งค่อนประเทศแม้กระทั่งหมอก็ยังตกงาน เกิดขึ้นในช่วงตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและภาวะเศรษฐกิจตกต่ำใหญ่ในอาร์เจนตินา พ.ศ. 2541–2545 · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเงินฝืด

วะเงินฝืด (deflation) เป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไปลดต่ำลงเรื่อยๆ อันเนื่องมาจากอุปสงค์รวมมีน้อยเกินไป ไม่เพียงพอที่จะซื้อสินค้าและบริการทำให้ผู้ผลิตต้องลดราคาสินค้าเพื่อที่จะทำให้ขายได้ และลดการผลิตลงเพราะว่าถ้าผลิตออกมาเท่าเดิมก็ขายได้น้อย ผลที่ตามมาจะก่อให้เกิดผลเลวร้ายต่อเศรษฐกิจเพราะการจ้างงานจะลดลงตามไปด้วย ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อมาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชน ดังนั้นเมื่อเกิดภาวะเงินฝืด อำนาจซื้อของบุคคลทั่วไปจะสูงขึ้นด้วย เงินฝืด เป็นภาวะตรงข้ามกับภาวะเงินเฟ้อ มีปัจจัยการเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น การเพิ่มขึ้นของอุปทาน การหดตัวของอุปสงค์ การลดลงของต้นทุนจากปัจจัยอัตราแลกเปลี่ยน หรือมาตรการปรับเพิ่มภาษี และการที่ปริมาณเงินหมุนเวียนมีไม่เพียงพอต่อขนาดของระบบเศรษฐกิจ เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและภาวะเงินฝืด · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3

ูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 (Europa Universalis III) เรียกโดยย่อว่า EUIII หรือ EU3 เป็นวีดีโอเกมแนววางแผนการรบแบบเรียลไทม์ที่เน้นยุทธศาสตร์ระดับประเทศ พัฒนาโดยพาราด็อกซ์ ดีวีลอปเมนต์ สตูดิโอ และจัดจำหน่ายโดยบริษัทพาราด็อกซ์ อินเตอร์แอ็คทีฟ ตัวเกมหลักสำหรับวินโดวส์วางจำหน่ายในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรโซน

ประเทศนอกยูโรโซนที่ใช้เงินสกุลยูโร ยูโรโซน หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า พื้นที่ยูโร เป็นสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 รัฐ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ซึ่งใช้เงินสกุลยูโรเป็นสกุลเงินร่วม และเป็นเงินสกุลเดียวที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ยูโรโซนปัจจุบันประกอบด้วยออสเตรีย เบลเยียม ไซปรัส เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก ลัตเวีย มอลตา เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สโลวาเกีย สโลวีเนีย และสเปน รัฐสหภาพยุโรปอื่นส่วนใหญ่ถูกผูกมัดให้เข้าร่วมเมื่อรัฐนั้นผ่านเกณฑ์การเข้าร่วม ไม่มีรัฐใดออกจากกลุ่มและไม่มีข้อกำหนดในการออกหรือขับสมาชิกออก นโยบายการเงินของโซนเป็นความรับผิดชอบของธนาคารกลางยุโรป ซึ่งควบคุมโดยประธานและคณะกรรมการหัวหน้าธนาคารกลางแห่งชาติ งานหลักของธนาคารกลางยุโรปคือ รักษาเงินเฟ้อให้อยู่ภายใต้การควบคุมแม้ไม่มีการเป็นผู้แทนร่วม วิธีการปกครองหรือนโยบายการคลังของสหภาพการเงิน มีการร่วมมือเกิดขึ้นบ้างผ่านกลุ่มยูโร ซึ่งดำเนินการตัดสินใจทางการเมืองเกี่ยวข้องกับยูโรโซนและสกุลเงินยูโร กลุ่มยูโรประกอบด้วยรัฐมนตรีคลังของรัฐสมาชิกยูโรโซน อย่างไรก็ดี ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ผู้นำแห่งชาติอาจตั้งกลุ่มยูโรได้เช่นกัน นับแต่วิกฤตการณ์การเงินปลายปี..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและยูโรโซน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทยที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทย

รายชื่อภาพยนตร์ไทยที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทย เป็นรายได้จากบอกซ์ออฟฟิสประเทศไทย นับรายได้เฉพาะเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดเชียงใหม่ (ดูหน้าอภิปรายเพิ่มเติม) และไม่คิดเงินเฟ้อ เรียงตามรายได้.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและรายชื่อภาพยนตร์ไทยที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามภาวะเงินเฟ้อ

>15% นี่คือรายชื่อประเทศตามภาวะเงินเฟ้อ โดย CIA และ ธนาคารเป็นผู้ประเมิน.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและรายชื่อประเทศตามภาวะเงินเฟ้อ · ดูเพิ่มเติม »

รูปียะฮ์

นบัตรรูปียะฮ์ รูปียะฮ์ (rupiah) เป็นหน่วยเงินของประเทศอินโดนีเซีย (รหัสหน่วยเงิน: IDR) ชื่อมาจากหน่วยเงินของอินเดีย รูปี อินโดนีเซียได้ใช้เงินกิลเดอร์ดัตช์ระหว่าง พ.ศ. 2153 ถึง พ.ศ. 2360 ซึ่งมีการออกเงินกิลเดอร์อินเดียตะวันออก เงินรูปียะฮ์ออกใช้เป็นครั้งแรกระหว่างการยึดครองของญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และหลังจากสงครามสิ้นสุดลง ธนาคารชวาได้ออก รูปียะฮ์ชวา มาแทนที่ชั่วคราว กิลเดอร์นีกา (NICA gulden) ของประเทศเนเธอร์แลนด์ และหน่วยเงินต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองกำลังโจรก็ใช้กันทั่วหมู่เกาะด้วยเช่นกัน 4 ปีหลังจากประกาศเอกราช ได้มีการนำรูปียะฮ์อินโดนีเซียออกมาใช้ในวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 เป็นหน่วยเงินประจำชาติสกุลใหม่ หมู่เกาะรีเยาและเกาะนิวกินีในส่วนของประเทศอินโดนีเซีย (อีเรียนบารัต) ก็มีการออกรูปียะฮ์ของตัวเองเช่นกัน แต่ต่อมาได้รวมเข้ากับรูปียะฮ์ของชาติเมื่อ พ.ศ. 2507 และ พ.ศ. 2514 ตามลำดับ หลังจากที่มีการลดค่าจากภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง ในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2508 ได้มีการออกรูปียะฮ์ใหม่ (New Rupiah) โดยมีอัตราแลกเปลี่ยน 1000 รูปียะฮ์เก่า เป็น 1 รูปียะฮ์ใหม่ วิกฤตเศรษฐกิจในเอเชียเมื่อ พ.ศ. 2540 ทำให้เกิดการลดค่ารูปียะฮ์ถึงร้อยละ 35 ในช่วงเวลาเพียงข้ามคืน และนำไปสู่การโค่นล้มซูฮาร์โต เงินรูปียะฮ์สามารถแลกได้อย่างอิสระ แต่มีอัตราแลกเปลี่ยนมีค่าปรับเพิ่มเติม เนื่องจากภาวะเงินเฟ้อสูงอย่างต่อเนื่อง ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547, 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับประมาณ 9,230 รูปี.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและรูปียะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์มาลายา

วิกฤตการณ์มาลายา (อังกฤษ: Malayan Emergency) เป็นสงครามกองโจรต่อสู้กันระหว่างฝ่ายเครือจักรภพแห่งชาติและ กองทัพปลดปล่อยชนชาติมาลายาซึ่งเป็นกองกำลังของ พรรคคอมมิวนิสต์มาลายา ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและวิกฤตการณ์มาลายา · ดูเพิ่มเติม »

วิมานลอย (ภาพยนตร์)

วิมานลอย (Gone with the Wind) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวดราม่าโรแมนซ์ ดัดแปลงจากบทประพันธ์ในปี..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและวิมานลอย (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเงินตรา

กุลเงิน หมายถึงชื่อเรียกเงินตราที่มีใช้ในแต่ละประเทศ สกุลเงินจะเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศหรือกลุ่มประเทศ โดยการแลกเปลี่ยนเงิน หรือการซื้อของหรือบริการระหว่างประเทศที่ใช้สกุลเงินต่างกันจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินเป็นเกณฑ์ในการอ้างอิง ในหลายประเทศสกุลเงินสามารถมีชื่อเดียวกันได้ เช่น ดอลลาร์สหรัฐ ดอลลาร์ฮ่องกง และดอลลาร์แคนาดา และในหลายประเทศใช้สกุลเงินเดียวกัน เช่นในประเทศแถบยุโรปหลายประเทศใช้สกุลเงินยูโร และในบางประเทศใช้หน่วยเงินของประเทศอื่นเป็นเกณฑ์เช่นประเทศปานามา และ ประเทศเอลซัลวาดอร์ ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ สกุลเงินทั่วไปจะมีหน่วยสกุลเงินย่อย โดยส่วนมากจะเป็นอัตราส่วน 1/100 ของสกุลเงินหลัก เช่น 100 สตาง.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและสกุลเงินตรา · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

หวังอันฉือ

หวังอันฉือ (เกิด: พ.ศ. 1564; ตาย: วันที่ 6 เดือน 4 ปีหยวนโหยวที่ 1 ตรงกับวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 1629 ตามปฏิทินสุริยคติ) เป็นข้าราชการชาวจีนในประวัติศาสตร์ มีบทบาทเป็นนักเศรษฐศาสตร์ นักปฏิรูป อัครมหาเสนาบดีซึ่งตรงกับตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" ในปัจจุบัน และกวีสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ หวังอันฉือมีผลงานโดดเด่นในด้านการปฏิรูปเศรษฐกิจ เขาเล็งเห็นความล้าหลังของสังคมและเป็นผู้นำการปฏิรูปทางเศรษฐกิจสังคม ส่งผลให้การใช้จ่ายของประชาชนคล่องตัว ทำลายการผูกขาดทางการค้า และสร้างระเบียบทางการปกครองและสวัสดิการสังคมรูปแบบใหม่ หวังอันฉือยังปรับปรุงระบบการสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ โดยขัดขวางคติเห็นแก่ญาติและระบบอุปถัมภ์อันฝังรากลึกในมาแต่เดิม การปฏิรูปของหวังอันฉือไม่เป็นที่พึงใจของกลุ่มอนุรักษนิยมอันนำโดยรัฐมนตรีซือหม่ากวงอย่างยิ่ง นอกจากนี้ สมเด็จพระจักรพรรดิเหรินจงซึ่งมีพระราชอัธยาศัยใฝ่พระราชหฤทัยไปทางซือหม่ากวงก็ไม่โปรดด้วย ทำให้การปฏิรูปดำเนินการและประสบความสำเร็จในช่วงสั้น ๆ เท่านั้น อัครมหาเสนาบดีหวังมีชีวิตอยู่ในช่วงก่อนกรุงสุโขทัยเมื่อเทียบกันแล้ว.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและหวังอันฉือ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยโทษ

ในกฎหมายออสเตรเลีย หน่วยโทษ (penalty unit หรือเรียกโดยย่อว่า PU) เป็นจำนวนเงินซึ่งใช้คำนวณโทษปรับฐานละเมิดกฎหมายลายลักษณ์อักษร ค่าปรับสำหรับความผิดฐานใดคำนวณได้โดยคูณมูลค่าหน่วยโทษเข้ากับจำนวนหน่วยโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดฐานนั้น เช่น ถ้าต้องโทษปรับ 20 หน่วยโทษ และหน่วยโทษหน่วยหนึ่งเท่ากับ 100 ดอลลาร์ออสเตรเลีย ก็คำนวณค่าปรับได้โดยนำ 100 คูณ 20 ในแต่รัฐและดินแดนที่ประกอบขึ้นเป็นออสเตรเลียมีการกำหนดค่าหน่วยโทษไว้แยกจากกันเป็นเอกเทศซึ่งหน่วยโทษของรัฐและดินแดนก็ใช้กับการกระทำผิดฝ่าฝืนกฎหมายท้องถิ่นในรัฐและดินแดนเหล่านั้น (เช่น กฎหมายจราจรทางบกของรัฐออสเตรเลียตะวันตก ห้ามมิให้ปล่อยฝูงปศุสัตว์โดยไม่มีคนดูแลไว้บนถนนสาธารณะ หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับหนึ่งหน่วยโทษ) ส่วนรัฐบาลกลางก็มีหน่วยโทษที่ใช้กับการฝ่าฝืนกฎหมายของคอมมอนเวลธ์ (เช่น กฎหมายเลือกตั้ง ให้ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งทุกคนไปลงทะเบียนภายใน 21 วันนับแต่มีสิทธิ์ หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับหนึ่งหน่วยโทษ) ความถี่และวิธีการปรับค่าหน่วยโทษให้ทันสมัยเป็นอำนาจของรัฐบาลกลาง รัฐบาลรัฐและดินแดนจะกำหนดขึ้นเอาเองตามกรอบอำนาจของตน ในรัฐออสเตรเลียตะวันตกกำหนดหน่วยโทษเกี่ยวกับการจราจรทางบกไว้ที่ 50 ดอลลาร์ออสเตรเลีย แต่สำหรับความผิดร้ายแรงอื่นกำหนดไว้ที่ 110 ดอลลาร์ออสเตรเลีย ส่วนรัฐออสเตรเลียใต้ไม่มีการใช้หน่วยโทษ ในรัฐวิคตอเรียค่าของหน่วยโทษจะกำหนดตามปีงบประมาณโดย Treasurer และประกาศลงใน Government Gazette ภายใต้บังคับของ Monetary Units Act 2004 โดยในวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและหน่วยโทษ · ดูเพิ่มเติม »

อะเบะโนมิกส์

อะเบะโนมิกส์ (Abenomics) หมายถึงนโยบายเศรษฐกิจได้รับการผลักดันและดำเนินการในรัฐบาลที่สองของชินโซ อะเบะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนปัจจุบัน อะเบะโนมิกส์ประกอบด้วยนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง ที่เน้นในการส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนของญี่ปุ่นที่ซบเซามากว่ายี่สิบปี โดยที่รัฐบาลกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อในประเทศไว้ที่ 2% ต่อปี รวมถึงการออกมาตรการเพื่อให้เงินเยนอ่อนค่าลง, การตั้งอัตราดอกเบี้ยติดลบ, การออกมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณที่หนักหน่วง, การเพิ่มการลงทุนของภาครัฐ, การให้ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นรับซื้อพันธบัตรรัฐบาลคืนจากตลาด และการปรับปรุงพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยเฉพาะการออกมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ(QE) ของญี่ปุ่นที่ทำควบคู่ไปกับของสหรัฐอเมริกา ที่ก่อให้เกิดปริมาณเงินมหาศาลขึ้นในระบบ ซึ่งปริมาณเงินมหาศาลเหล่านี้ได้เข้าไปลงทุนและเก็งกำไรในตราสารทุน, ตราสารหนี้ และตลาดทุนหลายแห่งทั่วโลก ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ดัชนีของตลาดหลักทรัพย์ต่างๆทะยานขึ้นจนทำลายสถิติ จนนักเศรษฐศาสตร์บางส่วนได้แสดงความกังวลถึงภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ที่อาจเกิดขึ้น คาดว่านโยบายเหล่านี้จะทำให้กรัฐบาลมีการใช้จ่ายงบประมาณเพิ่มขึ้น 2% ของ GDP และมีขาดดุลเพิ่มโอกาสถึง 11.5% ของ GDP ในปี..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและอะเบะโนมิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

อัตราดอกเบี้ย

อัตราดอกเบี้ย คือ อัตราที่ผู้ยืม (ลูกหนี้) จ่ายดอกเบี้ยสำหรับการใช้เงินที่ตนยืมมาจากผู้ให้ยืม (เจ้าหนี้) โดยเจาะจง อัตราดอกเบี้ยคือร้อยละของเงินต้นที่จ่ายเป็นจำนวนงวดต่อเวลาสำหรับระยะเวลาทั้งหมดระหว่างกำหนดระยะเวลาเงินกู้หรือเครดิตทั้งหมด อัตราดอกเบี้ยปกติแสดงเป็นร้อยละของเงินต้นต่อระยะเวลาหนึ่งปี บางครั้งอาจแสดงสำหรับระยะเวลาอื่น เช่น เป็นเดือนหรือวัน มีอัตราดอกเบี้ยหลายอัตราสำหรับระยะเวลาเดียวกันหรือเทียบกันได้ ขึ้นอยู่กับความน่าจะผิดนัดชำระหนี้ของผู้ยืม ระยะเวลาตกค้าง เงินตราที่จ่ายคืน และตัวกำหนดอีกหลายตัวของเงินกู้หรือเครดิต ตัวอย่างเช่น บริษัทหนึ่งยืมเงินทุนจากธนาคารเพื่อซื้อสินทรัพย์ใหม่สำหรับธุรกิจของตน และเพื่อเป็นการตอบแทนผู้ให้ยืมได้สิทธิเหนือสินทรัพย์ใหม่เป็นหลักทรัพย์ประกัน และดอกเบี้ย ณ อัตราดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ล่วงหน้าสำหรับการยืดเวลาการใช้เงินทุนแล้วให้ยืมแก่ผู้ยืมแทน เป้าหมายอัตราดอกเบี้ยเป็นเครื่องมือสำคัญของนโยบายการเงิน และถูกนำมาพิจารณาเมื่อจัดการกับตัวแปรอย่างการลงทุน เงินเฟ้อและการว่างงาน ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ มีแนวโน้มลดอัตราดอกเบี้ยเมื่อต้องการเพิ่มการลงทุนและการบริโภคในเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ดี นโยบายเศรษฐกิจมหภาคอัตราดอกเบี้ยต่ำมีความเสี่ยงได้และอาจก่อให้เกิดฟองสบู่เศรษฐกิจ ซึ่งการลงทุนปริมาณมากเทเข้าสู่ตลาดอสังหาริมทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในประเทศพัฒนาแล้ว การปรับอัตราดอกเบี้ยจึงมีเพื่อควบคุมเงินเฟ้อให้อยู่ในพิสัยเป้าหมายสำหรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจหรือจำกัดอัตราดอกเบี้ยให้สอดคล้องกับความเติบโตทางเศรษฐกิจเพื่อป้องกันแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐก.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ย · ดูเพิ่มเติม »

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Real interest rate) คือ อัตราการลงทุนที่เป็นที่คาดหวังหลังจากหักออกจากอัตราเงินเฟ้อ โดยสามารถอธิบายได้โดยสมการฟิชเชอร์ ซึ่งระบุว่าอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงจะอยู่ที่ประมาณอัตราดอกเบี้ยลบอัตราเงินเฟ้อ ตัวอย่างเช่นหากนักลงทุนมีโอกาสที่จะยึดถืออัตราดอกเบี้ยไว้ที่ 5% สำหรับปีที่ผ่านมา และคาดว่าจะเพิ่มขึ้น 2% ในราคาที่พวกเขาคาดหวังที่จะได้รับอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง 3% อัตราดอกเบี้ยนี้ไม่ได้เป็นอัตราดอกเบี้ยเดียวที่นักลงทุนแต่ละคนคาดหวังจากอัตราเงินเฟ้อในอนาคต เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อในช่วงเวลาของเงินกู้ที่ไม่เป็นที่สนใจในตอนแรกมีความผันผวน โดยอัตราเงินเฟ้อนั้นแสดงให้เห็นถึงความเสี่ยงให้ทั้งผู้ให้กู้และผู้กู้.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง · ดูเพิ่มเติม »

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร. คิง ฮับเบิร์ต ได้ถึงจุดสูงสุดที่ 1.5 ล้านล้านลิตร (12,500 ล้านบาร์เรล) ต่อปีที่ประมาณปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) การผลิตน้ำมันดิบของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงลักษณะคล้ายคลึงกับเส้นโค้งฮับเบิร์ต (Hubbert curve) แต่ให้สังเกตความแตกต่างที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กีปีมานี้ จุดผลิตน้ำมันสูงสุด (Peak oil) เป็นเหตุการณ์ตามทฤษฎีจุดสูงสุดฮับเบิร์ต (Hubbert peak theory) ของ ดร.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและจุดผลิตน้ำมันสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเบี้ย

อกเบี้ย (Interest) คือเงินที่ได้รับเพิ่มขึ้นจากการลงทุนโดยการคำนวณเป็นอัตราร้อยละต่อปี ในทางเศรษฐศาสตร์ ดอกเบี้ยเป็นเครื่องควบคุมอัตราเงินเฟ้ออีกด้วย คือ เมื่อใดที่เกิดอัตราเงินเฟ้อขึ้น แสดงว่า มีปริมาณเงินในตลาด(หมายถึงเงินในมือประชาชน)จำนวนมาก และสินค้าจะราคาแพงขึ้น การขึ้นดอกเบี้ยทั้งเงินฝากและเงินกู้ ทำให้เงินได้ออกจากตลาดไป ปริมาณเงินจะลดลง เงินเฟ้อก็จะลดลง.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและดอกเบี้ย · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีราคาผู้บริโภค

ัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: CPI) หมายถึง ตัวเลขทางสถิติที่ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการที่ครอบครัวหรือผู้บริโภคซื้อหามาบริโภคเป็นประจำ ในปัจจุบันเปรียบเทียบกับราคาในปีที่กำหนดไว้เป็นปีฐาน.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและดัชนีราคาผู้บริโภค · ดูเพิ่มเติม »

ดุลการค้า

ลการค้า (Balance of Trade) คือการเปรียบเทียบระหว่างผลต่างมูลค่าการนำเข้าสินค้ากับมูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศ โดยทั่วไประยะเวลาที่ใช้เปรียบเทียบ คือ รายเดือน รายไตรมาส และรายปี ซึ่งถ้านำเข้ามากกว่าส่งออกแสดงว่าขาดดุลการค้า แต่ถ้าส่งออกมากกว่านำเข้าแสดงว่าเกินดุลการค้า และถ้าส่งออกและนำเข้าเท่ากันเรียกว่า สมดุลการค้.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและดุลการค้า · ดูเพิ่มเติม »

ด็อกเตอร์ชิวาโก (ภาพยนตร์)

็อกเตอร์ชิวาโก (Doctor Zhivago; До́ктор Жива́го; ออกเสียง) เป็นภาพยนตร์เอพิคที่กำกับโดยเดวิด ลีน ดัดแปลงจากนวนิยายในชื่อเดียวกันของบอริส ปาสเตอร์แน็ก ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษารัสเซียในอิตาลีเมื่อ..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและด็อกเตอร์ชิวาโก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คริปโทเคอร์เรนซี

ริปโทเคอร์เรนซี (cryptocurrency, crypto currency) เป็นสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งออกแบบให้เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน ที่ใช้วิทยาการเข้ารหัสลับเพื่อรับประกันธุรกรรม เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนทรัพย์ เป็นรูปแบบหนึ่งของเงินดิจิทัล (digital currency) เงินทางเลือก (alternative currency) และเงินเสมือน (virtual currency) เป็นเงินที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลาง เทียบกับเงินดิจิทัลที่ควบคุมโดยศูนย์กลาง หรือกับระบบธนาคารกลาง การควบคุมแบบกระจายศูนย์จะทำผ่านบล็อกเชน ซึ่งเป็นฐานข้อมูลธุรกรรมสาธารณะ โดยใช้เป็นบัญชีแยกประเภทแบบกระจาย บิตคอยน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและคริปโทเคอร์เรนซี · ดูเพิ่มเติม »

ความเสี่ยง

วามเสี่ยง (Risk) คือ การวัดความสามารถ ที่จะดำเนินการให้วัตถุประสงค์ของงานประสบความสำเร็จ ภายใต้การตัดสินใจ งบประมาณ กำหนดเวลา และข้อจำกัดด้านเทคนิคที่เผชิญอยู่ อย่างเช่น การจัดทำโครงการเป็นชุดของกิจกรรม ที่จะดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่งในอนาคต โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด มาดำเนินการให้ประสบความสำเร็จ ภายใต้กรอบเวลาอันจำกัด ซึ่งเป็นกำหนดการปฏิบัติการในอนาคต ความเสี่ยงจึงอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอน และความจำกัดของทรัพยากรโครงการ ผู้บริหารโครงการจึงต้องจัดการความเสี่ยงของโครงการ เพื่อให้ปัญหาของโครงการลดน้อยลง และสามารถดำเนินการให้ประสบความสำเร็จ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิผลและประสิท.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและความเสี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ค่าจ้างขั้นต่ำ

้างขั้นต่ำ เป็นค่าตอบแทนต่ำสุดซึ่งนายจ้างจะต้องจ่ายแก่ลูกจ้างเป็นรายชั่วโมง รายวันหรือรายเดือนตามที่กฎหมายกำหนด หรือมีความหมายเหมือนกับค่าแรงต่ำสุดซึ่งลูกจ้างจะขายแรงงานของตน แม้ว่ากฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำจะมีผลใช้บังคับในหลายรัฐ ก็ยังมีความเห็นต่างในผลดีและผลเสียของค่าจ้างขั้นต่ำ ผู้สนับสนุนค่าจ้างขั้นต่ำบอกว่า จะเป็นการเพิ่มมาตรฐานชีวิตของลูกจ้างและลดความยากจน ขณะที่ฝ่ายไม่เห็นด้วยว่า ถ้าค่าจ้างขั้นต่ำสูงพอจะเห็นผลได้ดังนั้น ก็จะเป็นการเพิ่มอัตราว่างงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในหมู่ลูกจ้างที่มีผลิตภาพต่ำเพราะขาดประสบการณ์หรือพิการ ดังนั้นจึงเป็นการทำร้ายแรงงานที่มีฝีมือน้อยกว่าและเป็นประโยชน์แก่แรงงานที่มีฝีมือสูงกว.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและค่าจ้างขั้นต่ำ · ดูเพิ่มเติม »

ตั๋งโต๊ะ

ตั๋งโต๊ะ (เสียชีวิต 22 พฤษภาคม ค.ศ. 192) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า ต่ง จั๋ว ชื่อรองว่า จ้งอิ่ง (仲穎) เป็นข้าราชการชาวจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ซึ่งยึดอำนาจในพระนครลกเอี๋ยง (洛阳 ลั่วหยาง) ใน..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและตั๋งโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ปริมาณเงิน

ในวิชาเศรษฐศาสตร์ ปริมาณเงิน (money supply sinv money stock) เป็นปริมาณรวมของสินทรัพย์การเงินที่มีอยู่ในเศรษฐกิจหนึ่งในเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวิธีนิยาม "เงิน" หลายวิธี แต่วิธีมาตรฐานปกติรวมเงินตราที่หมุนเวียนในระบบ และเงินฝากกระแสรายวัน ปกติรัฐบาลหรือธนาคารกลางของประเทศหนึ่งบันทึกและจัดพิมพ์ข้อมูลปริมาณเงิน นักวิเคราะห์ภาครัฐและเอกชนเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินมาช้านาน เนื่องจากเชื่อว่ากระทบต่อระดับราคา ภาวะเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยนและวัฏจักรเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างเงินกับราคาในอดีตสัมพันธ์กับทฤษฎีปริมาณเงิน (quantity theory of money) มีหลักฐานเชิงประจักษ์เข้มของความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างการเติบโตเงิน–อุปสงค์ (money–supply growth) และภาวะเงินเฟ้อราคาระยะยาว อย่างน้อยสำหรับการเพิ่มปริมาณเงินในเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ประเทศอย่างซิมบับเวซึ่งมีการเพิ่มปริมาณเงินอย่างรวดเร็วอย่างยิ่งมีราคาเพิ่มขึ้นรวดเร็วอย่างยิ่ง (ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวด) จึงเป็นเหตุผลหนึ่งสำหรับการพึ่งพานโยบายการเงินเป็นวิธีการควบคุมเงินเฟ้อ.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและปริมาณเงิน · ดูเพิ่มเติม »

นักเศรษฐศาสตร์

นักเศรษฐศาสตร์ (economist) คือผู้ที่ศึกษาในวิชาด้านเศรษฐศาสตร์ แต่เดิมนั้นคำว่าเศรษฐศาสตร์ยังไม่ปรากฏขึ้นในโลก จนกระทั่ง อดัม สมิธ ได้เขียนหนังสือชื่อ An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations (พิมพ์ครั้งแรกปี ค.ศ. 1776) หรือที่ภายหลังเรียกอย่างสั้นๆ ว่า the Wealth of Nations ซึ่งโดยทั่วไปได้รับการยอมรับว่าเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของโลก เหตุผลสำคัญที่หนังสือเล่มนี้ได้รับการยอมรับว่าเป็นตำราเศรษฐศาสตร์ เนื่องจากหนังสือเล่มนี้ได้มีการย้ำถึงแนวคิดด้านการเปิดให้กลไกตลาดดำเนินงานอย่างเสรีโดยเชื่อว่า กลไกตลาดนั้นจะเป็นเครื่องแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นทุกอย่างโดยตัวมันเอง การแบ่งงานกันทำโดยใช้หลักที่ว่าใครถนัดอะไรก็ให้ทำสิ่งนั้น และการลดการแทรกแซงของรัฐ หลักการเศรษฐศาสตร์ได้มีการเติบโตขึ้นพร้อมกับการขยายตัวทางการค้าระหว่างประเทศ หลักเศรษฐศาสตร์ในยุคนี้จะเน้นเรื่องการค้าระหว่างประเทศ และการสะสมทุน เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้น หลักการค้าเสรีก็ยิ่งทำให้หลักเศรษฐศาสตร์ได้รับการยอมรับจนถึงขึ้นเป็นศาสตร์ขึ้น หลักแนวคิดเช่นนี้จะได้รับการเรียกว่าแนวคิดแบบคลาสสิก และมีการเรียกนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้ว่านักเศรษฐศาสตร์คลาสสิก (และคำนี้ยังคงถูกใช้เรียกนักเศรษฐศาสตร์ที่มีแนวความเชื่อในการเปิดเสรีการค้า และหลักประสิทธิภาพอันเกิดจากกลไกตลาด) เศรษฐศาสตร์จะได้รับการพลิกโฉมหน้าอีกครั้งหนึ่งในยุคภาวะถดถอยอันยิ่งใหญ่ (The Great Depression).

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและนักเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์บัส เอ310

แอร์บัส เอ 310 (Airbus A310) เป็นเครื่องบินเครื่องบินพาณิชย์ลำตัวกว้างที่มีพิสัยการบินปานกลางถึงไกล ซึ่งออกแบบและพัฒนาโดยแอร์บัส โดยเปิดตัวเป็นครั้งแรกในปีค.ศ. 1983 เป็นเครื่องบินรุ่นที่สองของแอร์บัส โดยเป็นรุ่นปรับปรุงจากรุ่นเอ 300 ซึ่งเป็นเครื่องบินลำตัวกว้างพิสัยไกลที่ใช้สองเครื่องยนต์เป็นรุ่นแรก.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและแอร์บัส เอ310 · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์มหภาค

รษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นการศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนรวม เช่น ผลผลิตรวมของประเทศ การจ้างงาน การเงินและการธนาคาร การพัฒนาประเทศ การค้าระหว่างประเทศ อัตราดอกเบี้ย ซึ่งทั้งหมดนั้นเป็นปัญหาที่กว้างขวางกว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาค เพราะว่าไม่ได้กระทบเพียงหน่วยธุรกิจเท่านั้น แต่จะกระทบถึงบุคคล หน่วยการผลิต อุตสาหกรรมทั้งหมด และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ เศรษฐศาสตร์มหภาคนั้นจะมุ่งเน้นที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบี้องต้น(GNP) และการว่าจ้างงาน จะหาว่าอะไรเป็นสาเหตุให้ผลิตผลรวมและระดับการว่าจ้างงานมีการเคลื่อนไหวขึ้นลง เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาต่างๆได้ตรงจุด เช่น ภาวะเงินเฟ้อเงินฝืด และ ปัญหาการว่างงาน เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์มหภาค · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แคเมรอน

แคเมรอน กับภรรยาคนที่ 2 แคเมรอนในปี ค.ศ. 2007 เจมส์ แฟรนซิส แคเมรอน (James Francis Cameron) เกิดวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1954 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวแคนาดา โปรดิวเซอร์ นักเขียนบทและผู้คิดค้นด้านภาพยนตร์ ผลงานเขียนและกำกับของเขาเช่น ฅนเหล็ก 2029 และ ไททานิก ที่ขึ้นแท่นภาพยนตร์ทำรายได้สูงสุดอันดับหนึ่งตลอดกาลในปี.ศ 1997 จนถึงปัจจุบันนี้ผลงานการกำกับของเขามียอดรวมราว 1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับรายได้ตามอัตราเงินเฟ้อ หลังจากมีผลงานภาพยนตร์หลายเรื่อง แคเมรอนเน้นการทำงานด้านการผลิตสารคดีและระบบกล้องฟิวชันดิจิตอล 3 มิติ เขากลับมาทำผลงานภาพยนตร์อีกครั้งในรอบ 12 ปี ในผลงานเรื่อง อวตาร ที่ใช้เทคโนโลยีระบบกล้องฟิวชัน ภาพยนตร์ฉายวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและเจมส์ แคเมรอน · ดูเพิ่มเติม »

เจอรัลด์ ฟอร์ด

อรัลด์ รูดอล์ฟ ฟอร์ด จูเนียร์ (ภาษาอังกฤษ: Gerald Rudolph Ford, Jr.) (14 กรกฎาคม ค.ศ. 1913 – 26 ธันวาคม ค.ศ. 2006) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 38 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974 จนถึงวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1977 และเป็นรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและเจอรัลด์ ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เจาะเวลาหาอดีต

วลาหาอดีต (Back to the Future) เป็นภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: ภาวะเงินเฟ้อและเจาะเวลาหาอดีต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Inflationเงินเฟ้อ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »