โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟักเขียว

ดัชนี ฟักเขียว

ฟักเขียว หรือ ฟักแฟง (winter melon) หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า "ฟัก" เป็นผักพื้นบ้านพืชล้มลุกจำพวกไม้เถาตระกูลแตงลำ ใบสีเขียวลักษณะหยักหยาบ ดอกมีสีเหลือง ผลกลมยาวมีนวลขาว ปลูกกันมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชียใต้.

5 ความสัมพันธ์: ฟักขนมฟักเขียวกวนครูบาศรีวิชัยควะจ๊ายกอเลยน้ำฟักเขียว

ฟัก

ฟัก เป็นพืชผักชนิดหนึ่ง มีลำต้นเป็นเถา ในสกุล Cucurbitaceae มีด้วยกันหลายชนิด เช่น.

ใหม่!!: ฟักเขียวและฟัก · ดูเพิ่มเติม »

ขนมฟักเขียวกวน

นมฟักเขียวกวนเป็นขนมพื้นบ้านของจังหวัดนครสวรรค์ นิยมใช้ในงานทำบุญเพราะเชื่อว่าฟักเป็นพืชที่ให้ความเย็น ลักษณะของขนมตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยม ขนาดพอคำ มีความเหนียว รสชาติหวานมัน โรยถั่วลิสงคั่วหั่นฝอย การทำขนมชนิดนี้ เริ่มจากนำฟักเขียวแก่มาขูดเอาแต่เนื้อแล้วบีบน้ำออก ใส่เนื้อฟักลงในกระทะทอง กวนกับกะทิ น้ำตาลปี๊บ และแป้งข้าวเจ้า จนกว่าขนมจะล่อน ไม่ติดกระทะ แล้วเทใส่ถาด โดรยด้วยถั่ว ขนมที่คล้ายกันนี้มีทำที่จังหวัดจันทบุรีด้วยแต่เรียกขนมฟัก.

ใหม่!!: ฟักเขียวและขนมฟักเขียวกวน · ดูเพิ่มเติม »

ครูบาศรีวิชัย

รูบาศรีวิชัย หรือ พระสีวิไชย พระมหาเถระซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สร้างถนนทางขึ้นวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี..

ใหม่!!: ฟักเขียวและครูบาศรีวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

ควะจ๊ายกอเลย

วะจ๊ายกอเลย เป็นอาหารของชาวมอญ และเป็นอาหารประเภทต้ม ทำจากไก่ต้มกับน้ำเต้าหรือฟักเขียว เครื่องแกงประกอบด้วยพริกขี้หนู หอม กระเทียม กะปิ ขมิ้น อาหารชนิดนี้เป็นอาหารที่นิยมในงานเฉลิมฉลองของชาวมอญ เช่น ขึ้นบ้านใหม่หรืองานแต่งงาน.

ใหม่!!: ฟักเขียวและควะจ๊ายกอเลย · ดูเพิ่มเติม »

น้ำฟักเขียว

น้ำฟักเขียว หรือ ชาฟักเขียว (ตง กวา ฉา) เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากลูกฟักเขียว มีรสชาติหอมหวาน เป็นที่นิยมรับประทานในไต้หวัน และประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออก นิยมจำหน่ายตามร้านค้าต่าง ๆ และตามข้างถนน ส่วนมากมักรับประทานแบบเย็นเฉียบโดยเฉพาะในยามฤดูร้อน เพราะเชื่อถือกันว่าเป็นเครื่องดื่มที่ดับความร้อนเดือดในร่างกายได้.

ใหม่!!: ฟักเขียวและน้ำฟักเขียว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Benincasa hispidaBenincasa pruriensฟักแฟงตังกวย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »