โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พืชดอก

ดัชนี พืชดอก

ืชดอก ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliophyta เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Angiospermae หรือ Angiosperms เป็นกลุ่มของพืชกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีดอกไม้ และเมล็ดเป็นส่วนประกอบ ซึ่งเมล็ดจะกลายเป็นผลไม้ พืชดอกแบ่งได้ออกเป็นกลุ่มใหญ่ 8 กลุ่มดังนี้ เรียงตามจำนวนสปีชี.

2195 ความสัมพันธ์: Aglaia silvestrisAlocasiaAquilaria crassnaชบาชบาจีนชบาเมเปิลชมพูพันธุ์ทิพย์ชมพูภูคาชมพูฮาวายชมพู่ชมพู่มะเหมี่ยวชมพู่ออสเตรเลียชมพู่ป่าชมพู่น้ำชมพู่น้ำดอกไม้ชมพู่แก้มแหม่มชมพูเชียงดาวชมจันทร์บราซิลนัตบราเฮียบรูมคะแนรีบลูเบอร์รีบลูเบอร์รีฟิลิปปินส์ชวนชมชวนหวงป้อบอระเพ็ดบอระเพ็ดพุงช้างบอนบอนห้วยบอนเต่าชะพลูชะมวงชะมดต้นชะลูดชะลูดช้างชะอมชะครามชะโนดชะเอมจีนชะเอมไทยชะเอมเทศบักวีตชัยพฤกษ์บัวบกบัวบกหัวบัวชั้นบัวบาบัวกือบัววิกตอเรียบัวสวรรค์...บัวสายบัวหลวงบัวหิมะบัวอียิปต์บัวผุดบัวขมบัวขาว (พืช)บัวดอยบัวดินบัวตองบัวเผื่อนบัทเทอร์คัพบันยันบันไดลิง (พืช)บาวบาบชาข่อยชาปัตตาเวียบานชื่นบานบุรีบานบุรีสีม่วงบานบุรีสีแสดบานไม่รู้โรยบานไม่รู้โรยป่าบานเย็นบานเที่ยงชำมะนาดชิงชันชิงช้าชาลีชิงช้าสะแกราชชินชี่ชิโซะบุกรอบุกหูช้างบุกคางคกบุกคนโทชุมแสงน้ำชุมเห็ดไทยชุมเห็ดเล็กชุมเห็ดเทศบุหรงช้างบุหรงสุเทพบุหรงดอกทู่บุหงาส่าหรีบุหงาเกาะช้างบุหงาเซิงบุนนาคบูเตียชีอาบีตรูตชงโคชงโคนาบ๊วย (Rosaceae)ช่อกินรีช่อครามน้ำช้อยนางรำช้องนางช้องแมวช้ามะขามป้อมช้างกระช้างร้องไห้ช้างสารภีช้าแป้นช้าเลือดฟล็อกซ์ฟักข้าวฟักแม้วฟักเขียวฟ้าทะลายโจร (พืช)พญากาสักพญายอพญาสัตบรรณพญาหัวเดียวพญาดงพญาคชราชพญาไร้ใบพยับหมอกพรมกำมะหยี่พรมมิพรมออสเตรเลียพรหมขาวพระจันทร์ครึ่งซีกพระเจ้าห้าพระองค์ (พืช)พริกขี้หนูพริกนกหมอคาร์พฤกษศาสตร์พฤกษ์พลองเหมือดพลับพลับพลา (พืช)พลับพลึงพลับพลึงธารพลับพลึงตีนเป็ดพลับพลึงแดงพลับยอดดำพลับจีนพลัมพลัมยุโรปพลู (พืช)พลูด่างพลูแกพวงชมพูพวงฟ้าพวงร้อยพวงหยกพวงทองต้นพวงครามพวงแก้วกุดั่นพวงแก้วไทยพวงแก้วเชียงดาวพวงแสดพวงไข่มุกพอโลเนียพะยอมพะยูงพังกาหัวสุมดอกขาวพังกาหัวสุมดอกแดงพันงูเขียวพิกุลพิมเสน (พืช)พิลังกาสาพิศวงพิษนาศน์พิสตาชีโอพิสตาชีโอป่าพืชพืชบกพืชพันธุ์ในประเทศมาซิโดเนียพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวพุทราอินเดียพุทราจีนพุทราทะเลพุทธชาดพุทธชาดก้านแดงพุทธรักษากินหัวพุทธรักษาญี่ปุ่นพุดชมพูพุดพิชญาพุดภูเก็ตพุดสามสีพุดผาพุดจีบพุดทุ่งพุดดงพุดตะแคงพุดตานพุดซ้อนพุดน้ำบุษย์พุดโกเมนพุงแกพูมารีพู่เรือหงส์พีพวนน้อยพีแคนกกกกรังกากกสามเหลี่ยมใหญ่กกสามเหลี่ยมเล็กกกอียิปต์กกขนากกกดอกขาวกกคมบางกกคมบางกลมกกเล็กกรรณิการ์กรวยบ้านกระบกกระบองเพชรกระบากกระชายกระชายวิสุทธิ์กระชายสยามกระชายดำกระบิดกระพังโหมกระวานกระวานไทยกระวานเทศกระสังกระจับนกกระจายเขากระจูดกระถินกระถินพิมานกระถินณรงค์กระถินนากระถินเทพากระทิง (พรรณไม้)กระทือกระทือลิงกระทงลายกระท่อม (พืช)กระท้อนกระดอมกระดังงากระดังงาสงขลากระดังงาแอฟริกากระดาษดำกระดาดกระดิ่งช้างเผือกกระดุมกระดึงกระดุมจิ๋วกระดุมทองเลื้อยกระดุมเงินกระดุมเต็มกระดูกไก่กระโถนพระรามกระโถนพระฤๅษีกระโถนนางสีดากระโดนใต้กระเชากระเช้าสีดากระเช้าผีมดกระเช้าปากเป็ดกระเจาะกระเจาน้อยกระเจียวกระเจี๊ยบกระเจี๊ยบละว้ากระเจี๊ยบเปรี้ยวกระเทียมกระเทียมต้นกระเทียมเถากระเฉดกระเป๋าจิงโจ้กรุงเขมากรดน้ำกลอยกลึงกล่อมกลีกลีบเทียนกล้วยบัวกล้วยบัวสีชมพูกล้วยพัดกล้วยฤๅษีกล้วยศรีน่านกล้วยหกกล้วยอีเห็นกล้วยผากล้วยค่างกล้วยตานีกล้วยป่ากล้วยป่ามะละกากล้วยป่าสยามกล้วยนวลกล้วยนาคราชกล้วยน้อยกล้วยไม้กล้วยไม้ผีกล้วยไม้ผียูเรเชียกล้วยไม้ผีอเมริกากล้วยไม้ดินกล้วยเฟอีกล้วยเลือดกวักเงินกวักทองกวาวเครือขาวกวาวเครือแดงกวางดูถูกกวนหวงป้อกะพ้อกะพ้อสี่สิบกะพ้อเขาจันทร์กะหนานปลิงกะทกรกกะทกรกต้นกะทือพิลาสกะตังใบกะเพรากะเพราควายกะเมียกะเม็งกะเรกะร่อนปากเป็ดกะเปากัญชากัญชาเทศกัญชงกัลปพฤกษ์กัลปพฤกษ์เครือกัดลิ้นกันภัยมหิดลกันเกรากาบหอยแครงกาบเชิงเทียนกากหมากกากหมากตาฤๅษีกาญจนิการ์กาฝากกาฝากมะม่วงกามูกามูการบูร (พรรณไม้)การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์การประทับตราทางพันธุกรรมการปรับตัว (ชีววิทยา)การเวก (พืช)กาหยีเขากาหลงกาฬพฤกษ์กางหลวงกานพลูกาแฟกาแฟใบใหญ่กำลังช้างสารกำลังเลือดม้ากำลังเสือโคร่งกำลังเสือโคร่ง (อีสาน)กำแพงเก้าชั้นกำแพงเจ็ดชั้นกำแพงเงินกุกบุยโป้วกุยช่ายกุหลาบกุหลาบพันปีกุหลาบกระเป๋าปิดกุหลาบกระเป๋าเปิดกุหลาบญี่ปุ่นกุหลาบมอญกุหลาบลอเรนเซียกุหลาบหินกุหลาบอินทจักรกุหลาบควีนสิริกิติ์กุหลาบน่านกุหลาบแดงกุหลาบเชียงดาวกุหลาบเมาะลำเลิงกุหลาบเหลืองโคราชกุ่มบกกุ่มน้ำกีนัวกงก่วมแดงก่วมเชียงดาวก่อหลับก่อหัวหมูก่อผาก่อแพะก้ามกุ้งดอยก้ามปูก้ามปูหลุดฝรั่งฝาดฝาดขาวฝางฝิ่นหนามฝิ่นน้ำฝ่าแป้งฝ้ายคำมหาพรหมราชินีมหาหิงคุ์มหาหงส์มะชมพู่ป่ามะพร้าวมะพร้าวแฝดมะพลับมะพลับพรุมะพลับเจ้าคุณมะพอกมะพูดมะกรูดมะกล่ำตาช้างมะกล่ำตาหนูมะกอกมะกอกฝรั่งมะกอกออลิฟมะกอกแดงมะกอกโคกมะกอกไทยมะกอกเกลื้อนมะกักมะก่อมะม่วงมะม่วงชันมะม่วงกะเลิงมะม่วงหัวแมงวันมะม่วงหิมพานต์มะม่วงจิ้งหรีดมะม่วงขี้ยามะม่วงขี้ไต้มะม่วงป่ามะยมมะยมฝรั่งมะยมทองมะยมแก้วมะระมะริด (พืช)มะละกอมะละกอภูเขามะลิมะลิภูหลวงมะลิลามะลิวัลย์มะลิสยามมะลินกมะลิไส้ไก่มะลุลีมะสังมะส้านมะหลอดมะหวดมะหาดมะอึกมะฮอกกานีใบใหญ่มะจอเต๊ะมะจ้ำก้องมะขวิดมะขามมะขามป้อมมะขามแขกมะขามเทศมะดะหลวงมะดันมะดูกมะคังแดงมะคำดีควายมะค่าแต้มะค่าโมงมะงั่วมะตาดมะตูมมะปรางมะปริงมะปี๊ดมะป่วนมะนาวมะนาวผีมะนาวไม่รู้โห่มะแฟนมะแว้งต้นมะแว้งนกมะแข่นมะไฟมะไฟกามะไฟจีนมะไฟควายมะเฟืองมะเฟืองช้างมะเกลือมะเม่ามะเม่าดงมะเม่าควายมะเขือบ้าดอกขาวมะเขือพวงมะเขือยาวมะเขือขมมะเขือขื่นมะเขือเทศมะเขือเทศราชินีมะเขือเทศต้นมะเดื่อมะเดื่อชุมพรมะเดื่อฟาโรห์มะเดื่อหว้ามะเดื่อหอมมะเดื่อปล้องมะเนียงน้ำมังกรคาบแก้วมังคะมังคุดมังคุดทะเลมังตานมังเคร่ช้างมันฝรั่งมันมือเสือมันสำปะหลังมันขี้หนูมันดงมันคันขาวมันตาหยงมันนกดอยมันแกวมันแซงมันเสามันเทศมันเทียนมากี้เบอร์รี่มามอนซีโยมารังมารูลามาลัย (พืช)มาเตมิราเคิล (พืช)มิลามินต์ (พืช)มินต์ออสเตรเลียมินต์ป่ามินต์น้ำมินต์เอเชียมือสยามมูกเขามธุลดามณเฑียรระนองมณเฑียรไทยม่วงมณีรัตน์ม่อนไข่ม้ากระทืบโรงยมหินยอยอดินยอป่ายาสูบ (พืช)ยาสูบเล็กยางพารายางกราดยางดงยางนายางน่องเถายางโอนยาแก้ยูคาลิปตัสยี่หร่ายี่โถย่ามควายย่าหยา (พืช)ย่านพาโหมย่านางรสสุคนธ์รสสุคนธ์แดงรองเท้านารีฝาหอยรองเท้านารีสีทองรองเท้านารีอินทนนท์รองเท้านารีอินทนนท์ลาวรองเท้านารีขาวพังงารองเท้านารีขาวสตูลรองเท้านารีดอยตุงรองเท้านารีคางกบรองเท้านารีปีกแมลงปอรองเท้านารีเหลืองกระบี่รองเท้านารีเหลืองตรังรองเท้านารีเหลืองปราจีนรองเท้านารีเหลืองเลยระกำระย่อมพินเก้ระย่อมน้อยระฆังแคนเตอร์บรีระงับระงับพิษรัก (ไม้พุ่ม)รักทะเลรักใหญ่รักเร่รังรังไก่ราชพฤกษ์ราชาวดีราชดัดรามใหญ่รายชื่อกล้วยไม้ดาวรางจืดรางแดงราตรี (พรรณไม้)รำเพยรุทรักษะรุ่งอรุณรงลองกองละมุดละมุดขาวละหุ่งละอองเรณูละไมลัดวิเจียเล็กลั่นทมลานลานพรุลานไพลินลาเวนเดอร์ลาเวนเดอร์สามัญลำบิดทะเลลำพูลำพูป่าลำยาลำดวนลำแพนลำโพงกาสลักลำโพงม่วงลำโพงราชินีมืดลำโพงแดงลำไยลิลีลิงลาวลิ้นมังกรลิ้นจี่ลิ้นงูเห่าลูพินลูกซัด (พืช)ลูกปืนใหญ่ (พืช)ลูกน้ำนมลูกใต้ใบลูกเขยตายแม่ยายทำศพลูกเดือยวอลนัตวาซาบิวีสเตียเรียวงศ์ชบาวงศ์ชมพู่วงศ์บอระเพ็ดวงศ์บอนวงศ์บัวสายวงศ์บัวหลวงวงศ์ชาวงศ์บานไม่รู้โรยวงศ์บานเย็นวงศ์พญารากดำวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีกวงศ์พริกไทยวงศ์พลับพลึงวงศ์พวงแก้วกุดั่นวงศ์พิกุลวงศ์พิศวงวงศ์พุทราวงศ์พุทธรักษาวงศ์กกวงศ์กระบกวงศ์กระถินทุ่งวงศ์กระทืบยอดวงศ์กระทงลายวงศ์กระท้อนวงศ์กระดังงาวงศ์กระดุมเงินวงศ์กระดูกไก่วงศ์กระโถนฤๅษีวงศ์กฤษณาวงศ์กลอยวงศ์กล้วยวงศ์กล้วยพัดวงศ์กะลังตังช้างวงศ์กะทกรกวงศ์กะตังใบวงศ์กะเพราวงศ์กัญชาวงศ์กันเกราวงศ์กาฝากวงศ์กำลังเสือโคร่งวงศ์กุหลาบวงศ์กุหลาบหินวงศ์กุหลาบป่าวงศ์กุ่มวงศ์กงวงศ์ก่วมวงศ์ก่อวงศ์ฝิ่นวงศ์มะพลับวงศ์มะพอกวงศ์มะม่วงวงศ์มะรุมวงศ์มะละกอวงศ์มะลิวงศ์มะหลอดวงศ์มะขามป้อมวงศ์มะแฟนวงศ์มะเขือวงศ์มังคุดวงศ์มุ่นดอยวงศ์มณเฑียรทองวงศ์ยางพาราวงศ์ยางนาวงศ์ย่อยระย่อมวงศ์ย่อยราชพฤกษ์วงศ์ย่อยลานวงศ์ย่อยศรนารายณ์วงศ์ย่อยสีเสียดวงศ์ย่อยส้มลมวงศ์ย่อยหมากวงศ์ย่อยหวายวงศ์ย่อยถั่ววงศ์ย่อยแหนวงศ์ย่านตีเมียวงศ์รักทะเลวงศ์ลิลีวงศ์ว่านน้ำวงศ์ว่านแม่ยับวงศ์ว่านไก่แดงวงศ์สมอวงศ์สร้อยสุวรรณาวงศ์สะเดาดินวงศ์สับปะรดวงศ์สันตะวาวงศ์สายน้ำผึ้งวงศ์สาหร่ายบัววงศ์สนุ่นวงศ์สนทะเลวงศ์ส้มวงศ์ส้านวงศ์หญ้าข้าวก่ำวงศ์หญ้างวงช้างวงศ์หนอนตายหยากวงศ์หน่อไม้ฝรั่งวงศ์อบเชยวงศ์องุ่นวงศ์ผกากรองวงศ์ผักบุ้งวงศ์ผักชีวงศ์ผักกาดวงศ์ผักหวานวงศ์ผักควบวงศ์ผักคาวตองวงศ์ผักตบวงศ์ผักปลังวงศ์ผักปลาบวงศ์ผักไผ่วงศ์ผักเบี้ยวงศ์ผักเบี้ยทะเลวงศ์ผักเสี้ยนวงศ์จันทน์เทศวงศ์จำปาวงศ์จิกวงศ์ธูปฤๅษีวงศ์ถอบแถบวงศ์ถั่ววงศ์ทานตะวันวงศ์ขาเขียดวงศ์ขิงวงศ์ขนุนวงศ์ขนุนดินวงศ์ข้าวสารหลวงวงศ์ข้าวเย็นเหนือวงศ์ดอกหรีดเขาวงศ์ดอกดินวงศ์ดองดึงวงศ์ดาดตะกั่ววงศ์คำแสดวงศ์ค่าหดวงศ์งาวงศ์ตะแบกวงศ์ตานเหลืองวงศ์ติ้ววงศ์ตีนเป็ดวงศ์ต่างไก่ป่าวงศ์ปรู๋วงศ์ปลาไหลเผือกวงศ์นมตำเลียวงศ์น้ำใจใคร่วงศ์แคหางค่างวงศ์แตงวงศ์โกงกางวงศ์โคกกระสุนวงศ์โคลงเคลงวงศ์โคคาวงศ์โนราวงศ์ไก่ฟ้าวงศ์เล็บครุฑวงศ์เหมือดคนวงศ์เหงือกปลาหมอวงศ์เอื้องหมายนาวงศ์เอี้ยบ๊วยวงศ์เจตมูลเพลิงวงศ์เทียนดอกวงศ์เทียนเกล็ดหอยวงศ์เข็มวงศ์เงาะวงศ์เตยทะเลวงศ์เน่าในว่านชักมดลูกว่านพระฉิมว่านกาบหอยว่านมหาบัวว่านมหากาฬว่านมหาลาภว่านมหาเมฆว่านสามพันตึงว่านหัวสืบว่านหาวนอนว่านหางช้างว่านหางจระเข้ว่านหงส์เหิรว่านอ้ายใบ้ว่านจูงนางว่านทรหดว่านดอกสามสีว่านดาบนารายณ์ว่านงาช้างว่านงูเห่าว่านตะขาบว่านนกคุ่มว่านนางคำว่านนางคุ้มว่านนางตัดว่านน้ำว่านแร้งคอคำว่านแสงอาทิตย์ว่านเพชรกลับว่านเพชรหึงว่านเพชรนารายณ์ว่านเทพประชุมพรว่านเฒ่าหนังแห้งศุภโชคสบู่ดำสบู่แดงสบู่เลือดสกุลชบาสกุลบลูเบอร์รีสกุลบัวสายสกุลบัวหลวงสกุลบัวผุดสกุลบานไม่รู้โรยสกุลชิงชี่สกุลชงโคสกุลช้างสกุลช้างสารภีสกุลฟีนิกซ์สกุลพระยาฉัททันต์สกุลพริกนกสกุลพรุนสกุลพวงแก้วกุดั่นสกุลพิศวงสกุลพิสตาชีโอสกุลพุดสกุลกกสกุลกระชายสกุลกระดุมสกุลกระโถนฤๅษีสกุลกฤษณาสกุลกลอยสกุลกล้วยสกุลกล้วยผาสกุลกะพ้อสกุลกะหนานปลิงสกุลกะทกรกสกุลกะตังใบสกุลกะเพรา-โหระพาสกุลกะเรกะร่อนสกุลกัญชาสกุลการเวกสกุลกาแฟสกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)สกุลฝาดสกุลมหาพรหมสกุลมะพลับสกุลมะกอกสกุลมะม่วงสกุลมะม่วงหัวแมงวันสกุลมะม่วงหิมพานต์สกุลมะละกอสกุลมะขามป้อมสกุลมะขามเทศสกุลมะค่าแต้สกุลมะแฟนสกุลมะแข่นสกุลมะไฟสกุลมะเฟืองสกุลมะเมื่อยสกุลมะเม่าสกุลมะเขือสกุลมังคุดสกุลยอสกุลยางนาสกุลยางโอนสกุลรองเท้านารีสกุลราชพฤกษ์สกุลลัดวิเจียสกุลลิ้นมังกรสกุลลิ้นมังกร (กล้วยไม้)สกุลวอลนัตสกุลวานิลลาสกุลว่านจูงนางสกุลว่านน้ำทองสกุลสบู่เลือดสกุลสละสกุลสะแล่งหอมไก๋สกุลสะเดาดินสกุลสาคูสกุลสิงโตพัดสกุลส้มสกุลหญ้าจิ้มฟันควายสกุลหญ้าดอกลายสกุลหมากพระราหูสกุลหมากตอกสกุลหมามุ่ยสกุลหลาวชะโอนสกุลหวายสกุลหวาย (กล้วยไม้)สกุลหวายกุ้งน้ำพรายสกุลหนอนตายหยากสกุลอบเชยสกุลอังกาบสกุลฮาโลไซลอนสกุลผักบุ้งสกุลผักกาดหอมสกุลผักปลังสกุลจันทนาสกุลจันทน์เทศสกุลจั่นสกุลถ่อนสกุลขมิ้นสกุลขิงสกุลขี้เหล็กสกุลขนุนสกุลขนุนดินสกุลข่าสกุลข้าวสกุลข้าวฟ่างสกุลดาวเงินสกุลครามสกุลค้อสกุลค้อดอยสกุลงิ้วสกุลตาวสกุลตานขโมยสกุลตีนเป็ดทะเลสกุลประทัดดอยสกุลปาหนันช้างสกุลป่านรามีสกุลนมตำเลียสกุลแสลงใจสกุลแอสโตรไฟตัมสกุลแผ่นดินเย็นสกุลแคทลียา (กล้วยไม้)สกุลแคตนิปสกุลโพสกุลโกฐน้ำเต้าสกุลโมกมันสกุลโนราสกุลไก่ฟ้า (พืช)สกุลไคร้น้ำสกุลเพชรหึงสกุลเอื้องหมายนาสกุลเอื้องน้ำต้นสกุลเจินจูฉ่ายสกุลเจตมูลเพลิงสกุลเถาคันสกุลเทียนดอกสกุลเขากวางอ่อนสกุลเข็ม (กล้วยไม้)สกุลเครือเขาน้ำสกุลเงาะสกุลเตยทะเลสกุลเต่าร้างสกุลเปราะสกุลเปราะทองสมอพิเภกสมอจีนสมอทะเลสมอดีงูสมอไทยสมุลแว้งสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสยามมนัสสร้อยสยามสร้อยสุวรรณาสร้อยอินทนิลสลอดสละ (ปาล์ม)สลัดไดสวาดสหรัฐสะบันงาป่าสะบ้า (พืช)สะพานก๊นสะระแหน่สะตอสะแลสะแอะสะเดาสะเดาเทียมสับปะรดสัก (พรรณไม้)สักขีสังวาลย์พระอินทร์สังเครียดกล้องสันตะวาใบพายสันโสกสาบหมาสาบแร้งสาบกาสาบเสือสามเกลอข้อโปนสายหยุดสายน้ำผึ้ง (พรรณไม้)สารพัดพิษสารภี (พรรณไม้)สารภีดอยสาละสาลี่ (ผลไม้)สาวน้อยประแป้งสาหร่ายสาหร่ายหางกระรอกสาหร่ายข้าวเหนียวสาธร (พรรณไม้)สาดรากลำเทียนสาคู (ปาล์ม)สาคูฟีจีสาเก (พรรณไม้)สำมะงาสำรองสำโรง (พรรณไม้)สิรินธรวัลลีสิงโตพู่รัศมีสิงโตกลอกตาสิงโตดอกไม้ไฟสิงโตตาแดงสือชังผู่สุพรรณิการ์สีฟันกระบือสีง้ำสีเสียดแก่นสตรอว์เบอร์รีสนุ่นสนทรายสนทะเลสนเกรวิลเลียส่องฟ้าส้มส้มกบส้มกุ่ยส้มกุ้งส้มมือส้มมุดส้มม่วงคันส้มลมส้มสันดานส้มหูกส้มผดส้มจี๊ดส้มซ่าส้มซ่าหวานส้มป่อยส้มแก้วส้มแมนดารินส้มแขกส้มแปะส้มโอส้มเขียวหวานส้านช้างส้านหินสเปียร์มินต์หญ้าหญ้าชะเงาหญ้าชันกาดหญ้าช้างน้อยหญ้าพองลมหญ้าพงหญ้ากายหญ้ากุศะหญ้าฝรั่นหญ้ามิสแคนทัสหญ้ามิสแคนทัสช้างหญ้ายอนหูหญ้ารัดเขียดหญ้ารังกาแก้วหญ้ารังนกหญ้าลอยลมหญ้าละอองหญ้าสนกระจับหญ้าหวานหญ้าหางหมาจิ้งจอกหญ้าหนวดฤๅษีหญ้าหนวดแมวหญ้าหนูต้นหญ้าทรายหญ้าทะเลหญ้าขัดใบยาวหญ้าขจรจบหญ้าขนหญ้าขนตาวัวหญ้าข้าวก่ำหญ้าข้าวผีหญ้าข้าวทามหญ้าข้าวนกหญ้าดอกชมพูหญ้าคาหญ้างวงช้างหญ้าตะกรับหญ้าตะกานน้ำเค็มหญ้าต้นติดหญ้าปล้องหญ้าปล้องละมานหญ้าปล้องข้าวนกหญ้าปากควายหญ้านิ้วหนูหญ้าน้ำค้างหญ้าแพรกหญ้าแฝกหญ้าแดงหญ้าใบมะกรูดหญ้าใบมะกรูดขนหญ้าใต้ใบหญ้าไฟตะกาดหญ้าเหลี่ยมหญ้าเหล็กขูดหญ้าเหงาหลับหญ้าเอ็นยืดหญ้าเจ้าชู้หญ้าเข็มมรกตหญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวันหมักก้ากหมักม่อหมัน (พรรณไม้)หมันทะเลหมากพระราหูหมากพนหมากสงหมากผู้หมากเมียหมากตอกเขาสกหมากนางลิงหมากแดงหมากเหลืองหมามุ่ยช้างหมามุ้ยหมู่ตันผีหมีเหม็นหม่อนหม่อนอ่อนหม้อข้าวหม้อแกงลิงหม้อแกงลิงหยั่งสมุทรหยาดหิมะหยาดน้ำค้าง (สกุล)หยีหยีน้ำหลังกับหลาวชะโอนทุ่งหลิวหลุมพอทะเลหลุมพีหล่อฮังก๊วยหวายหวายชุมพรหวายช้างหวายพนขนหนอนหวายกำพวนหวายกุ้งหวายกุ้งน้ำพรายหวายมนหวายลิงหวายสยามหวายหินหวายจากหวายจากจำหวายจากเขาหวายทรายหวายขมหวายขริงหวายขี้ผึ้งหวายขี้เหร่หวายขี้เป็ดหวายดำหวายงวยหวายตะมอยหวายตะค้าทองหวายตะค้าน้ำหวายไม้เท้าหวายเล็กหว้าหว้านาหอมหมื่นลี้หอมต้นเดี่ยวหอมแดงหอมใหญ่หัวร้อยรูหัวฆ้อนกระแตหัสคุณหันลัดหาดรุมหางหมาจอกหางนกยูงฝรั่งหางไหลหิรัญญิการ์หิ่งเม่นหูกระจงหูกวางหูปลาช่อนหีบไม้งามหงส์เหิรหงอนไก่ไทยหงอนไก่เทศหนอนตายหยากหนามพุงดอหนามวัวซังหนามแท่งหนามแดง (พืช)หนามไข่กุ้งหนาดหนุมานประสานกายหนุมานนั่งแท่นหน้าวัวห่วยหงู่ฉิกห้อมห้อมช้างอบเชยชวาอบเชยญวนอบเชยญี่ปุ่นอบเชยมะละบาร์อบเชยลังกาอบเชยจีนอรพิมอวัยวะเพศอวดเชือกออริกาโนออลสไปซ์อะกาเวอะรางอัญชันอัญชันป่าอัมพวา (ผลไม้)อัลมอนด์อัคคีทวารอังกาบอังกาบสีปูนอังกาบหนูอันดับชบาอันดับชมพู่อันดับบัวสายอันดับพริกไทยอันดับพวงแก้วกุดั่นอันดับกระทืบยอดอันดับกระทงลายอันดับกลอยอันดับกะเพราอันดับกุหลาบอันดับกุหลาบป่าอันดับก่ออันดับมะเขืออันดับย่านตีเมียอันดับหญ้าอันดับหน่อไม้ฝรั่งอันดับอบเชยอันดับอัสดงอันดับผักชีอันดับผักกาดอันดับผักปลาบอันดับจำปาอันดับถั่วอันดับทานตะวันอันดับขาเขียดอันดับขิงอันดับดอกหรีดเขาอันดับคาร์เนชันอันดับแตงอันดับโคกกระสุนอันดับโนราอันดับเหมือดคนอันดับเงาะอันดับเตยทะเลอันดับเน่าในอาร์รากาชาอาร์ทิโชกอาโวคาโดอาเคเชียอินถวาน้อยอินทผลัมอินทผลัมไทยอินทนิลอึ่งคี้อึ่งงิ้มอึ่งน้อยอุทยานดอกไม้อุตพิดองุ่นองุ่นบราซิลอนุพรหมอโศกอินเดียอโศกน้ำอโศกเหลืองอ้อยอ้อยช้างอ้อยสามสวนฮาโลไซลอนขาวฮาโลไซลอนดำฮิอิรากิ (พืช)ฮ่วยซัวฮ่อสะพายควายผกากรองผักบุ้งผักบุ้งรั้วผักบุ้งจีนผักบุ้งทะเลผักบุ้งขันผักบุ้งไทยผักชีผักชีช้างผักชีฝรั่งผักชีลาวผักชีล้อมผักกระชับผักกาดช้างผักกาดกบผักกาดก้านขาวผักกาดหอมผักกาดหัวผักกาดนกยูงผักลิ้นห่านผักหวานบ้านผักหวานทะเลผักหวานป่าผักหวานเมาผักหนอกผักหนอกเชียงดาวผักหนามผักอีหลืนผักอีเปาผักจินดาผักคราดหัวแหวนผักควบผักคาผักปลังผักปลาบผักปลาบนาผักแพวผักแขยงผักแปมผักโขมผักโขมหนามผักเบี้ยทะเลผักเลือดผักเสี้ยนผีผักเขียดผักเป็ดผักเป็ดน้ำผำผีเสื้อ (ไม้ยืนต้น)ผีเสื้อราตรี (ไม้ล้มลุก)ผีเสื้อแสนสวยจมูกปลาหลดจอกจอกบ่วายจันจันผาจันทร์กระจ่างฟ้าจันทนาจันทน์กะพ้อจันทน์ขาวจันทน์แดงจันทน์เทศบอมเบย์จันทน์เทศหอมจันทน์เทศปาปัวจั่น (พรรณไม้)จั่นน้ำจั๋งญี่ปุ่นจากจากเขาจางเยี่ยต้าหวางจำปาจำปาดะจำปาเทศจำปูนจำปีจำปีช้างจำปีรัชนีจำปีศรีเมืองไทยจำปีสิรินธรจำปีแขกจิกจิกสวนจิกน้ำจิกเลจิงจูฉ่ายจิงจ้อแดงจุกนกยูงจุกนารีจุกโรหิณีจูดทุ่งแสลงหลวงจี๋จ่าวต้าหวางจ้าม่วงจ้าเครือธรณีสารธูปฤๅษีธนนไชยถอบแถบทะเลถังทองถั่วพร้าถั่วพูถั่วฝักยาวถั่วลันเตาถั่วลิสงถั่วลิสงนาถั่วลูกไก่ถั่วผีถั่วผีทะเลถั่วขาว (ไม้ยืนต้น)ถั่วดำถั่วดำ (ไม้ยืนต้น)ถั่วดินถั่วด้วงถั่วคล้าทะเลถั่วปากอ้าถั่วแปบ (พืช)ถั่วแปบช้างถั่วไมยราถั่วเมสคาลถั่วเหลืองถั่วเขียวถุงมือจิ้งจอกถ่อนฝักตั้งถ้วยทองทรงบาดาลทองพันชั่งทองพันดุลทองกวาวทองหลางลายทองหลางป่าทองอุไรทองเดือนห้าทับทิม (ผลไม้)ทันทามาริสก์ทานตะวันทานตะวัน (แก้ความกำกวม)ทิพเกสรทิวลิปทิวาราตรีทิ้งทวนทิ้งทองหูทุ้งฟ้าทุเรียนทุเรียนเทศท้อขมิ้นขมิ้นอ้อยขมิ้นต้นขมิ้นเครือขยุ้มตีนหมาขลู่ขวงขอบชะนางขันทองพยาบาทขามคัวะขาวปั้นขานางขาเขียดขิงขิงญี่ปุ่นขิงแดงขึ้นฉ่ายขี้กาแดงขี้หนอนเถาขี้อ้นเครือขี้ครอกขี้แรดขี้ไก่ย่านขี้เหล็กขี้เหล็กย่านขี้เหล็กอเมริกันขี้เห็นขนุนขนุนนกข่อยข่อยหนามข่อยดานข่อยดำข่า (พืช)ข่าลิงข่าป่าข้าวบาร์เลย์ข้าวฟ่างข้าวฟ่างสามง่ามข้าวฟ่างหางหมาข้าวสาลีข้าวหลามดงข้าวทริทิเคลีข้าวตอกพระร่วง (พืช)ข้าวตอกแตกข้าวนกข้าวโพดข้าวโอ๊ตข้าวไรย์ข้าวเย็นใต้ข้าวเย็นเหนือดอกดอกบุกยักษ์ดอกดิน (พืช)ดอกไม้จีนดองดึงดอนญ่าควีนสิริกิติ์ดาวกระจาย (C. sulphureus)ดาวประดับดาวเรืองดาวเรืองเม็กซิโกดาวเงินไทยทองดาหลาดาดตะกั่วดุสิตาดูกค่างดูกไก่ย่านดีปลากั้งดีปลีดีปลีแขกด่าง (พืช)ด้างครอบฟันสีคราม (พืช)ครามภูครามม้งครามสมิตินันท์ครามสยามครามหมอเคอร์ครามหลวงครามหิมาลัยครามอุดรครามขาวครามขนครามดอกม่วงครามดอกห่างครามดอยครามคายครามตีนกาครามต่อมครามป่าครามป่าใบต่างครามป่าใบแหลมครามนอกครามใบแถบครามใบเล็กครามเช้าครามเลื้อยครามเถาครามเถื่อนครามเขาครามเครือคริสต์มาส (พรรณไม้)คล้าน้ำช่อตั้งคว่ำตายหงายเป็นคอร์นฟลาวเวอร์คอนสวรรค์ (พืช)คอแลนคะน้าเม็กซิโกคัดเค้าคัตคันธุลีคาบอมบ้าแดงคารอบคาวาคาวทองคำฝอยคำมอกหลวงคำรอกคำขาวคำแสดคำแดงคิงปาล์มคุย (พืช)คุณนายตื่นสายคนทีสอทะเลค่าหดค้อค้อออสเตรเลียค้อดอยงวงช้างทะเลงวงสุ่มงา (พืช)งิ้ว (พืช)ตองกงตองสยามตองหมองตองตึงตองเต๊าะตะลิงปลิงตะขบฝรั่งตะขบป่าตะขบไทยตะคร้อตะคร้ำตะแบกนาตะแบกเกรียบตะโกตะไคร้ตะไคร้หอมตะเคียนตะเคียนชันตาแมวตะเคียนหินตับเต่า (พืช)ตับเต่านาตังกุยตังเซียมตั้งอึ๊งตั้งโอ๋ตากะปอตาลตาลฟ้าตาลปัตรฤๅษีตาลน้ำเงินตาลแดงตาลเหลืองตาวตาตุ่มทะเลตานตานหม่อนตานขโมยตานดำตานเสี้ยนตานเหลืองตาเหินเหลืองตำลึงตำลึงตัวผู้ตำเสาตำเสาหนูติ้วขนติ้วเกลี้ยงตูมกาขาวตีนฮุ้งดอยตีนตั่งตีนตุ๊กแกตีนนกตีนเป็ดทรายตีนเป็ดน้ำตีนเป็ดแคระต่อไส้ต่างไก่ป่าต้อยติ่งต้างหลวงต้นชาต้นฝิ่นต้นมาร์ชแมลโลว์ต้นอ้อต้นไม้พ่นควันฉัตรพระอินทร์ซากัวโรซานชีซีริส แอนดินาซีเลาซีเลาซ่อนกลิ่นซ้อประยงค์ประทัดสุเทพประทัดจีนประทัดไต้หวันประดู่ประดู่บ้านประดู่แดงประเทศมาซิโดเนียประเทศตองงาปริก (พรรณไม้)ปลาไหลเผือกน้อยปลาไหลเผือกใหญ่ปอบิดปอบ้านปอสาปอทะเลปอขี้แฮดปอต่อมปอเต่าไห้ปักษาสวรรค์ปัตตาเวีย (พืช)ปากนกแก้ว (เฮลิโคเนีย)ปาล์ม (พืช)ปาล์มบังสูรย์ปาล์มชาแมรอปส์ปาล์มพัดปาล์มสิบสองปันนาปาล์มหางกระรอกปาล์มจีบปาล์มขวดปาล์มขุนหมากรุกปาล์มขนนกปาล์มน้ำมันปาล์มแชมเปญปาล์มเลื้อยปาล์มเจ้าเมืองถลางปาล์มเจ้าเมืองตรังปาล์มเขืองปาล์มเคราฤๅษีปาหนันแม่วงก์ปิซังกะแตปิ้งขาวปืนนกไส้ปุดปุดเดือนปีบปีบฝรั่งปีบทองปีแนบองปทุมมาป่านรามีป่านศรนารายณ์นกขมิ้น (พืช)นมพิจิตรนมสวรรค์นมตำเลียนมเสือนารา (พืช)นาวน้ำนางพญาเสือโคร่งนางอั้วน้อยนางแย้มนางแย้มป่านุ่นนนทรีน้อยหน่าน้อยหน่าออสเตรเลียน้อยโหน่งน้ำนมราชสีห์น้ำนมราชสีห์ทะเลน้ำนมราชสีห์เล็กน้ำเต้าน้ำเต้าพระฤๅษีน้ำเต้าลมน้ำเต้าต้นแบล็กเบอร์รีแบะหมึ่งตงแบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้แพร์แพรเซี่ยงไฮ้แพงพวยฝรั่งแพงพวยน้ำแกลดิโอลัสแกแลแก่นตะวันแก้ว (พรรณไม้)แก้วกาญจนาแก้วมังกรแก้วเจ้าจอมแก้งขี้พระร่วงแมกโนลิดแมกโนเลียแมคาเดเมียแมงลักแมงลักคาแมนเดรกแมแหมะแย้มปีนังแววมยุราแวนด้าแว่นแก้วแสมขาวแสมดำแสมแดงแสลงพันกระดูกแสลงพันเถาแสลงใจแห้วหมูแห้วทรงกระเทียมแห้วประดู่แห้วไทยแอฟริกันไวโอเล็ตแอร์โรว์เฮด (พรรณไม้)แอลแฟลฟาแอสเทอริดแอปเปิลแฮ่โกวเฉ่าแจงแขมแดง (พรรณไม้)แคแคฝรั่งแครนเบอร์รีแคร์รอตแคสันติสุขแคทะเลแคนตาลูปแคแสดแตงพะเนินทุ่งแตงกวาแตงกวาอาร์มีเนียแตงกวาต้นแตงโมแตงไทยแซะแปบแปะจี้แปะเจียกแป๊ะตำปึงใบระบาดใบไม้สีทองใบเงินใบทองโบตั๋น (พรรณไม้)โพโพศรีโพธิ์ขี้นกโพทะเลโกฐก้านพร้าวโกฐสอเทศโกฐหัวบัวโกฐจุฬารศโกฐจุฬาลัมพาโกฐจุฬาลัมพาไทยโกฐขี้แมวโกฐนษิณีโกฐน้ำเต้าแขกโกฐเขมาโกงกางบกโกงกางหูช้างโกงกางใบใหญ่โกงกางใบเล็กโกงกางเขาโกโก้โมกโมกมันโมกราชินีโมกสยามโมกหลวงโมกแดงโมกเหลืองโมกเหลืองใบบางโมกเครือโยทะกาโรสิดโรสแมรีโรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)โลบีเลียโลดทะนงแดงโลควอทโสมโสมอเมริกันโสมาโสมเวียดนามโสนโสน (สกุล)โหราน้ำเต้าโอกาโอ๊กโผงเผงโทะ (พืช)โทงเทงโทงเทงฝรั่งโด่ไม่รู้ล้มโคกกระสุนโคกกระออมโคมญี่ปุ่นโคลงเคลงโคล่าโคคลานโคคาโต๋วต๋งโปรงขาวโปรงแดงโป๊ยกั้กโป๊ยเซียน (พืช)โนรา (พรรณไม้)โนรีเกาะช้างไฟลัมไฟเดือนห้าไพลไพลดำไกรไกรทอง (พืช)ไก่ฟ้าพญาลอ (พืช)ไมยราบไมยราบยักษ์ไมยราบไร้หนามไม้ลายไม้ประดับไลลักไส้กรอกแอฟริกาไฮอะซินท์ไฮเดรนเจียไผ่ไผ่กวนอิมไผ่รวกไผ่สีสุกไผ่หกไผ่ตงไผ่ซางไผ่เฮียะไทรย้อยใบทู่ไทรย้อยใบแหลมไทรทองไข่ดาว (พรรณไม้)ไข่เขียวไข่เน่า (พืช)ไคร้ย้อยไคร้น้ำไคร้เครือเบญจมาศเบญจมาศน้ำเค็มเชอร์รีเชอร์รีสเปนเชอร์วิลเฟิร์นเฟื่องฟ้าเพชรสังฆาตเพกาเพี้ยกระทิงเกรปฟรูตเกล็ดมังกรเกล็ดปลาหมอเกาลัดเกาลัดญี่ปุ่นเกาลัดจีนเกาลัดไทยเกดเก๋ากี่เมอร์เทิลเมาเม่าสร้อยเม่าไข่ปลาเมโดว์แซฟฟรอนเมเปิลเยื่อหุ้มเมล็ดเลมอนเลาเลี่ยนเล็บมือนางเล็บครุฑ (พรรณไม้)เล็บครุฑไซ่ง่อนเล็บเหยี่ยวเศรษฐีเรือนนอกเสมาเสม็ดขาวเสม็ดแดงเสลาเสลดพังพอนเสวี่ยเหลียนกว่อเสาวรสเสาวรสลิ้นงูเสาวรสสิบสองปันนาเสาวรสเม็กซิโกเสียดเครือเสี้ยว (พืช)เสี้ยวฟ่อนเสี้ยวดอกขาวเสี้ยวต้นเสี้ยวเครือเสี้ยนเหมือดคนตัวผู้เหมือดโลดเหยื่อเลียงผาเหรียงเหลืองสยามเหลืองจันทบูรเหลืองคีรีบูนเหลืองปรีดียาธรเหลี่ยงเคี้ยวเหียงเหงือกปลาหมอเหง้าน้ำทิพย์เอพริคอตเอื้องศรีประจิมเอื้องศรีเชียงดาวเอื้องสายมรกตเอื้องสีตาลเอื้องหมายนาเอื้องธานีเอื้องข้าวเหนียวลิงเอื้องคำกิ่วเอื้องตาเหินเอื้องน้ำต้นเอื้องแซะเอื้องแปรงสีฟันเอื้องไอยเรศเอื้องเข็มม่วงเอื้องเข็มแดงเอื้องเงินหลวงเอียะบ้อเช่าเอี้ยงเซียมเฮมล็อกเฮลิโคเนียเฮียเฮียะเฮนเบนเผือกเผ่าลานเผ่าหมากเผ่าครามเผ่าเต่าร้างเจี๋ยวกู่หลานเจตพังคีเจตมูลเพลิงขาวเจตมูลเพลิงแดงเจ้าหญิงรัตติกาลเจ้าหญิงสีชมพูเถาวัลย์หลงเถาวัลย์ด้วนเถาวัลย์ปูนเถาวัลย์แดงเถาคันแดงเถางูเขียวเทพทาโรเทียวฮวยฮุ้งเทียนพระบาทเทียนกิ่งขาวเทียนภูหลวงเทียนสัตตบุษย์เทียนหยดเทียนผ้าห่มปกเทียนดอกเทียนดำเทียนดำหลวงเทียนตากบเทียนนกแก้วเทียนนาเทียนนายเนยเทียนน้อยเทียนน้ำเทียนแม่ฮ่องสอนเทียนแดงเทียนไตรบุญเทียนเชียงดาวเทียนเกล็ดหอยเท้ายายม่อม (พืช)เท้ายายม่อมหลวงเท้ายายม่อมตัวเมียเฒ่าหัวหงอกเฒ่าทะเลทรายเขยตายเขาพระวิหาร (กล้วยไม้)เขาควายไม่หลูบเขาแกะเขืองสยามเขี้ยวฟานเขนงนายพรานเข็ม (พืช)เข็มม่วงเข็มอินเดียเข็มขาวเข็มซ่อนก้านเข้าพรรษา (พืช)เดลฟินเนียมเดือยไก่เดื่อผาเดื่อปล้องหินเคราฤษีเครือมวกไทยเครือห้าต่อเจ็ดเครือออนเครือขยันเครือปรอกช้างเครือเทพรัตน์เคียมซิกเคี่ยมเงาะเงาะขนสั้นเงาะไม่มีขนเงินไหลมาเงี่ยงดุกน้อยเตยหอมเตยทะเลเต่าร้างเต่าร้างยักษ์เต่าร้างยักษ์คีรีวงเต่าร้างยักษ์น่านเต่าร้างแดงเต็งเฉาก๊วย (พืช)เฉียงพร้านางแอเปราะหอมเปราะทองเปราะป่าเปล้าแขบทองเปล้าใหญ่เปาโรติสเปปเปอร์มินต์เป้งทะเลเป้งดอยเนระพูสีไทยเนียมอ้นเนียงเนโมฟีลาBauhinia forficataBauhinia tarapotensisBruguieraDarlingtonia californicaDictamnusDracontomelonEremochloaHemiorchisHomonoia retusaJacaranda mimosifoliaJacaranda obtusifoliaKnemaLanneaLithopsMansonia gageiNepenthes adrianiiNepenthes alataNepenthes albomarginataNepenthes anamensisNepenthes argentiiNepenthes aristolochioidesNepenthes attenboroughiiNepenthes × bauensisNepenthes × cantleyiNepenthes × cinctaNepenthes × ferrugineomarginataNepenthes × hookerianaNepenthes × kuchingensisNepenthes × merrilliataNepenthes × mirabilataNepenthes × pangulubauensisNepenthes × sarawakiensisNepenthes × sharifah-hapsahiiNepenthes × trichocarpaNepenthes × truncalataNepenthes × trusmadiensisNepenthes × tsangoyaNepenthes × ventrataNepenthes beccarianaNepenthes belliiNepenthes bicalcarataNepenthes bongsoNepenthes burbidgeaeNepenthes burkeiNepenthes campanulataNepenthes carunculataNepenthes chanianaNepenthes copelandiiNepenthes danseriNepenthes deanianaNepenthes densifloraNepenthes distillatoriaNepenthes eymaeNepenthes faizalianaNepenthes fallaxNepenthes flavaNepenthes fuscaNepenthes glabrataNepenthes glanduliferaNepenthes globosaNepenthes gracilisNepenthes gracillimaNepenthes gymnamphoraNepenthes hamataNepenthes hurrellianaNepenthes izumiaeNepenthes lamiiNepenthes macfarlaneiNepenthes madagascariensisNepenthes mantalingajanensisNepenthes maximaNepenthes merrillianaNepenthes mindanaoensisNepenthes miraNepenthes nagaNepenthes northianaNepenthes paniculataNepenthes pectinataNepenthes peltataNepenthes petiolataNepenthes philippinensisNepenthes platychilaNepenthes rafflesianaNepenthes rajahNepenthes sanguineaNepenthes saranganiensisNepenthes sibuyanensisNepenthes singalanaNepenthes spathulataNepenthes spectabilisNepenthes stenophyllaNepenthes sumatranaNepenthes surigaoensisNepenthes talangensisNepenthes tenaxNepenthes tentaculataNepenthes tenuisNepenthes tobaicaNepenthes tomorianaNepenthes treubianaNepenthes truncataNepenthes veitchiiNepenthes ventricosaNepenthes vieillardiiNepenthes villosaNepenthes vogeliiNepenthes xiphioidesParashoreaPouteria lucumaSarraceniaTabernaemontanaTerminalia ขยายดัชนี (2145 มากกว่า) »

Aglaia silvestris

ันทน์ชะมด เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ในวงศ์กระท้อน (Meliaceae) เนื้อไม้หอม ขึ้นตามป่าชื้นบางแห่ง โดยพบในไทย, กัมพูชา, เวียดนาม, อินเดีย (หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์), มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, ปาปัวนิวกินี และหมู่เกาะโซโลมอน ผลและกิ่งแขนงมีสารซิลเวสตรอลและเอพิซิลเวสตรอลซึ่งอาจช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็ง.

ใหม่!!: พืชดอกและAglaia silvestris · ดูเพิ่มเติม »

Alocasia

Alocasia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Araceae เป็นพืชที่สร้างลำต้นใต้ดินแบบไรโซมหรือทูเบอร์ เป็นพืชหลายฤดู ประกอบด้วยสปีชีส์ต่างๆ 79 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลียตะวันออก มีการปลูกทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและAlocasia · ดูเพิ่มเติม »

Aquilaria crassna

อก ''Aquilaria crassna'' Aquilaria crassna คือพรรณไม้ชนิดหนึ่งในสกุลกฤษณา มีลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ ใบเดี่ยวรูปรีหรือรูปไข่กลับ ปลายเรียวแหลม โคนมน ขอบเป็นคลื่นม้วนลงเล็กน้อย ช่อดอกแบบช่อซี่ร่มออกที่ด้านข้างของกิ่งที่ยังอ่อน ดอกเล็กสีเขียวอมเหลือง กลีบรวมติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ ผลรูปไข่ปลายเป็นติ่งเล็กน้อย และมีขนนุ่มสีน้ำตาลอมเหลืองตามผิวผลหนาแน่น ฐานผลติดอยู่บนกลีบรวม แฉกของกลีบรวมหุ้มแนบผล.

ใหม่!!: พืชดอกและAquilaria crassna · ดูเพิ่มเติม »

ชบา

() เป็นพืชมีดอกในสกุล Hibisceae วงศ์ Malvaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออก ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ มาเลเซีย ใช้เปลือกรากแช่ในน้ำข้ามคืนและดื่มขณะท้องว่างเพื่อรักษาฝี.

ใหม่!!: พืชดอกและชบา · ดูเพิ่มเติม »

ชบาจีน

ีน เป็นไม้ในสกุล Hibiscus มีถิ่นกำเนิดจากประเทศจีน ที่มีความผันแปรทั้งรูปทรงของใบ ลำต้น และดอกมาก ตลอดจนปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ง่าย และเป็นดอกไม้ประจำชาติเกาหลีใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและชบาจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชบาเมเปิล

มเปิล (cranberry hibiscus, African rosemallow) เป็นพืชในวงศ์ชบา (Malvaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา เป็นไม้พุ่มสูง 1-2 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านมีสีแดงถึงสีแดงอมม่วง มีขน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปนิ้วมือ เว้าลึกเป็น 4 แฉก คล้ายใบเมเปิล ออกเรียงสลับ ก้านใบยาว ดอกออกเป็นดอกเดี่ยวหรือคู่ตามซอกใบ โคนดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบดอกสีส้ม 5 กลีบ มีใบประดับรูปใบหอก ใจกลางดอกมีสีม่วงเข้มถึงดำ กลีบเลี้ยงมี 5 แฉก สีแดงถึงแดงอมม่วง มีเกสรตัวผู้จำนวนมาก ก้านเกสรเชื่อมกันเป็นหลอด ล้อมรอบด้วยเกสรตัวเมีย ปลายเกสรตัวเมียแยกเป็น 5 แฉก โผล่พ้นหลอดเกสรตัวผู้ ดอกจะบานช่วงเช้า และหุบตอนสาย ผลค่อนข้างกลม ยอดแหลม มีสัน มีกลีบเลี้ยงหุ้มผลไว้ ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือปักชำกิ่ง ชบาเมเปิลนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ใบและรากสามารถรับประทานได้ ดอกนำมาทำเป็นเครื่องดื่มได้เช่นเดียวกับกระเจี๊ยบแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและชบาเมเปิล · ดูเพิ่มเติม »

ชมพูพันธุ์ทิพย์

มพูพันธุ์ทิพย์ (Pink trumpet tree) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ เป็นต้นไม้ประจำชาติเอลซัลวาดอร์ หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตรเป็นผู้นำเข้ามาปลูกในประเทศไทย เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและชมพูพันธุ์ทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชมพูภูคา

มพูภูคา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bretschneidera sinensis) เป็นไม้ยืนต้นชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Bretschneideraceae เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 10-25 เมตร ดอกออกเป็นช่อตั้งสีชมพู พบเฉพาะทางตอนใต้ของจีน เวียดนามตอนบน ไต้หวัน และภาคเหนือของไทย ที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพูภูคา · ดูเพิ่มเติม »

ชมพูฮาวาย

มพูฮาวาย หรือ แฮปปี้เนส (Zimbabwe creeper, Pink Trumpet Vine, Trumpet Vine) เป็นไม้กึ่งพุ่มกึ่งเลื้อย กำเนิดที่ประเทศแอฟริกาใต้ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือปักชำกิ่ง ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ เรียงตัวแบบตรงข้าม ขอบใบแบบจักฟันเลื่อยช่อดอกแบบช่อกระจุก สมบูรณ์เพศ สมมาตรด้านข้าง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันปลายแยกเป็นแฉก กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง สีชมพู ปลายกลีบแยกเป็นรูปปากเปิด ส่วนที่อยู่ด้านบนมี 2 กลีบ เกสรเพศผู้มี 4 อัน เป็นแบบ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก รังไข่เหนือวงกลีบ ออกดอกตลอดปี ดอกมีกลิ่นหอมตลอดวัน หอมมากช่วงเย็นถึงค่ำ ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำโดยใช้กิ่งอ่อน ^^.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพูฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

ชมพู่

มพู่ (Syzygium) เป็นสกุลพืชดอกชนิดหนึ่ง ที่สามารถนำผลมารับประทานได้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 1,100 สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพู่ · ดูเพิ่มเติม »

ชมพู่มะเหมี่ยว

อกซึ่งเห็นเกสรตัวผู้ชัดเจน ชมพู่มะเหมี่ยว เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae ลำต้นตรง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบหนาและเหนียว เมื่ออ่อนเป็นสีแดง ก้านใบยาว ดอกดอกเฉพาะกิ่งที่ไม่มีใบ ดอกสีแดง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดบวมพอง เกสรตัวผู้สีแดงจำนวนมาก ผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด ผลคล้ายลูกแพร์ มีกลีบเลี้ยงติดที่ปลายผล ผลสีแดงเข้มหรือเหลืองอมม่วงหรือขาวอมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ สีขาว มีกลิ่นหอม เมล็ดกลม สีน้ำตาล การกระจายพันธุ์พบมากในคาบสมุทรมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ผลใช้รับประทานสด ทำอาหารคาวเช่นยำโดยใช้เกสร เมื่อ แก่แล้วยังมีรสเปรี้ยว นิยมนำไปต้มรวมกับผลไม้อื่น ๆ ให้มีรสเปรี้ยวน้อยลง เปลือกลำต้น ใบและรากมีสรรพคุณเป็นยา รสชุ่มคอ มีวิตามินซี และแคลเซียมสูง เสริมสร้างกระดูกและฟัน ไฟล์:Starr 070321-6134 Syzygium malaccense.jpg|ผล ไฟล์:Syzygium malaccense at Kadavoor.jpg|ตา ไฟล์:Pommerac01.JPG|ผล ไฟล์:Pommerac.whole.jpg|ผลสุกทั้งผล ไฟล์:Pommerac.cut.jpg|ผลสุกผ่าครึ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพู่มะเหมี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

ชมพู่ออสเตรเลีย

มพู่ออสเตรเลีย เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นเรียบสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบหนาและแข็ง เขียวสดเป็นมัน ดอกช่อ พู่ของเกสรตัวผู้เป็นพู่สีขาวชัดเจน ผลกลมรีหรือหลมแป้น สุกแล้วเป็นสีชมพูหรือแดงเข้ม ผลรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพู่ออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ชมพู่ป่า

มพู่ป่า เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นมักโค้งงอ ใบเดี่ยว ขยี้แล้วไม่มีกลิ่นหรือมีกลิ่นเล็กน้อย ก้านยาว ดอกช่อออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปหลอด กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลสด ทรงคล้ายลูกข่าง มีหลายเมล็ด กลีบเลี้ยงติดที่ส่วนปลายของผล ผลสีขาวหรือแดง ฉ่ำน้ำ ผิวเป็นมันวาว ไม่มีกลิ่น เมล็ดขนาดเล็ก รูปกลม มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลคล้ายชมพู่แก้มแหม่ม แก่แล้วยังมีรสฝาด ในอินโดนีเซียใช้ใบอ่อนห่ออาหารว่างที่ทำจากข้าวเหนียวหมัก รสฝาดในผลเกิดจากแทนนิน.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพู่ป่า · ดูเพิ่มเติม »

ชมพู่น้ำ

มพู่น้ำ เป็นพืชในวงศ์ชมพู่ (Myrtaceae) กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะเป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบ สูงได้ถึง 15 เมตร ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน ใบหอกหรือแกมรูปไข่ ยาว 9-28 เซนติเมตร โคนกลมหรือเว้าตื้น ก้านใบยาว 3.5-8 มิลลิเมตร ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะสั้น ๆ ตามปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มี 2-6 ดอก ก้านดอกยาว 3-5 มิลลิเมตร ฐานดอกยาว 1-1.7 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ยาว 3-6.5 มิลลิเมตร ดอกสีชมพู แดงหรือเหลือง มี 4 กลีบ ขนาด 1.4-1.7 เซนติเมตร เกสรเพศผู้วงนอกยาว 2-3 เซนติเมตร รังไข่มี 2 ช่อง ผลกลม สีเขียวอ่อน มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-2.7 เซนติเมตร ภายในมีเนื้อสีขาว.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพู่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ชมพู่น้ำดอกไม้

มพู่น้ำดอกไม้ เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและชมพู่น้ำดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ชมพู่แก้มแหม่ม

'ผลชมพู่แก้มแหม่มผ่าครึ่ง ชมพู่แก้มแหม่ม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae กิ่งก้านโค้งงอ ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบเหนียวคล้ายหนัง มีจุดใสบนใบ ก้านใบใหญ่ ดอกดอกตามยอดและซอกใบของใบที่ร่วงไปแล้ว ดอกช่อ กลีบเลี้ยงเป็นหลอดยาว กลีบดอกสีขาวอมเหลือง เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด ผลคล้ายลูกแพร์ มีปลายของกลีบเลี้ยงที่โค้งเข้าข้างในติดที่ปลายผล ผลสีแดงอ่อนจนถึงขาว เนื้อสีขาวคล้ายฟองน้ำ ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดแบนหรือกลม มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และนิยมปลูกไปทั้งภูมิภาค ในอินโดนีเซียนิยมนำไปทำโรยักหรือนำไปดองที่เรียกอาซีนัน เปลือกผลมีลักษณะคล้ายไขเคลือบ เนื้อค่อนข้างแห้ง มีกลิ่นหอม ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียใช้ใบรักษาโรคผิวหนัง.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพู่แก้มแหม่ม · ดูเพิ่มเติม »

ชมพูเชียงดาว

มพูเชียงดาว เป็นพืชเฉพาะถิ่นที่พบทางภาคเหนือของประเทศไทย อยู่ในวงศ์ดอกดิน (Orobanchaceae) ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกสูง 40-60 เซนติเมตร ลำต้นมีขน ใบเรียงเป็นวง 3-4 ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 1.5-4.5 เซนติเมตร ใบจักลึกแบบขนนก ขอบจักซี่ฟัน มีประมาณ 5-12 คู่ ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ ยาวได้ถึง 40 เซนติเมตร หลอดกลีบเลี้ยงยาว 0.8-1 เซนติเมตร เป็นสันตื้น ๆ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร ดอกสีชมพูถึงม่วงเข้ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบปากบนรูปหมวกงุ้มเข้า ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบปากล่างบานออกมี 3 กลีบ ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบกลางกลม ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบข้างรูปรี ยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้เกลี้ยง โคนอับเรณูแหลม ผลรูปไข่ ยาว 0.8-1.2 เซนติเมตร ปลายมีติ่งแหลม ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและชมพูเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

ชมจันทร์

ผลแก่ของต้นชมจันทร์ ชมจันทร์ หรือ ดอกพระจันทร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea alba L. อยู่ในวงศ์ Convolvulaceae สกุล Ipomoea มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้และแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง สามารถพบได้ทั้งในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของอเมริกา ประเทศออสเตรเลียและในกลุ่มประเทศเขตร้อนของทวีปเอเชี.

ใหม่!!: พืชดอกและชมจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

บราซิลนัต

ผลสดของบราซิลนัตผ่าครึ่ง เมล็ดบราซิลนัตพร้อมเปลือก บราซิลนัต (Brazil nut) เป็นพืชในอเมริกาใต้ในวงศ์ Lecythidaceae เป็นพืชที่เมล็ดรับประทานได้ ในบราซิล การโค่นต้นบราซิลนัตเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ส่วนผลที่มีเมล็ดแข็งอยู่ข้างในหนักและแข็งมาก สามารถทำลายยานพาหนะและเป็นอันตรายต่อคนที่เดินผ่านใต้ต้นได้ และเคยมีคนเสียชีวิตเพราะผลหล่นใส่ศีรษ.

ใหม่!!: พืชดอกและบราซิลนัต · ดูเพิ่มเติม »

บราเฮีย

ราเฮีย (Mexican blue palm, blue hesper palm) เป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 12 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30-50 เซนติเมตร ใบรูปพัด แผ่กว้าง 1 เมตร สีเขียวอมน้ำเงิน ก้านใบยาว 1 เมตร ขอบก้านมีหนาม ช่อดอกสมบูรณ์เพศ ออกระหว่างกาบใบ ยาว 2 เมตร ผลกลมรี ขนาด 2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีน้ำตาล รับประทานได้ มีถิ่นกำเนิดในรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเม็กซิโก บราเฮียเป็นปาล์มที่ทนแล้งและทนลม นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและบราเฮีย · ดูเพิ่มเติม »

บรูมคะแนรี

รูมคะแนรี เป็นพืชในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็ก ดอกช่อสีเหลืองสด ฝักมีขน ถิ่นกำเนิดที่หมู่เกาะคะแนรี ใช้เป็นไม้ประดับ พบในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และเม็กซิโก มีผู้นำมาปลูกในยุโรปและกระจายพันธุ์ถึงสเปน มีสารไซติซีนที่ทำให้เกิดอาการประสาทหลอนอย่างอ่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและบรูมคะแนรี · ดูเพิ่มเติม »

บลูเบอร์รี

ลูเบอร์รี (blueberry) เป็นพืชดอกในสกุล Vaccinium เป็นพืชหลายปีมีผลรสเปรี้ยวสีฟ้าเข้มขนาด 5–16 มม.

ใหม่!!: พืชดอกและบลูเบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

บลูเบอร์รีฟิลิปปินส์

ลูเบอร์รีฟิลิปปินส์ เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่ม ดอกช่อ กลีบดอกโค้งเข้าด้านใน สีแดงอมชมพูไปจนถึงขาวอมเหลือง ผลสด รูปกลม สีน้ำเงินเข้ม กระจายพันธุ์เฉพาะในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ผลรับประทานได้ นิยมนำไปแปรรูปเป็นแยมหรือเยลลี่ และเป็นอาหารนก.

ใหม่!!: พืชดอกและบลูเบอร์รีฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชวนชม

วนชม Adenium เป็นชื่อของพรรณไม้ที่มีสีสันของดอกสวยงาม เป็นไม้ที่ปลูกเลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพแห้งแล้งมาก จนได้รับสมญาว่า Desert Rose (กุหลาบทะเลทราย) นอกจากนี้ตามความเชื่อของคนไทยชื่อ "ชวนชม" ยังเป็นชื่อที่มีความไพเราะเป็นศิริมงคล และชาวจีนว่า "ปู้กุ้ยฮวย" ซึ่งแปลว่า ดอกไม้แห่งความร่ำรวย แต่ดอกชวนชมมีสาร abobioside, echubioside ตรงนำยางสีขาว ถ้าน้ำยางถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง ถ้าเข้าตา ตาจะอักเสบ กินเข้าไปจะเป็นพิษ แต่น้ำยางมีรสขมมาก โอกาสกินมีน้อย ถ้ากินจะมีผลต่อหัวใจ อาการเบื้องต้นจะทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ตาพร่า หัวใจเต้นอ่อน ความดันลดลงอาจตายได้.

ใหม่!!: พืชดอกและชวนชม · ดูเพิ่มเติม »

ชวนหวงป้อ

วนหวงป้อ อยู่ในวงศ์ Rutaceae เป็นพืชสำคัญที่เป็นที่มาของยาจีนที่เรียกหวงป้อ (หรือ 黄檗) ในภาษาจีนกลางหรือ อึ่งแปะ ในภาษาจีนแต้จิ๋ว เปลือกนอกเหลืองอมน้ำตาล เนื้อในสีเหลืองเข้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและชวนหวงป้อ · ดูเพิ่มเติม »

บอระเพ็ด

รเพรช เป็นไม้เถาเลื้อยที่จัดอยู่ในประเภทไม้เนื้ออ่อนซึ่งมีคุณค่าทางสมุนไพรชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและบอระเพ็ด · ดูเพิ่มเติม »

บอระเพ็ดพุงช้าง

อระเพ็ดพุงช้าง เป็นพืชในสกุลสบู่เลือด วงศ์ Menisspermaceae เป็นไม้เถาอายุหลายปี มีหัวกลม โผล่พ้นดิน โคนต้นมีเปลือกแข็ง ปลายยอดเรียบและเหี่ยวแห้งในฤดูแล้ง ใบเดี่ยว ช่อดอกแยกเพศ ออกที่ซอกใบ ผลสดกลมมีขนาดเล็ก ออกดอกเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม กระจายตามเขาหินปูนในภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยที่เขาหินปูนที่บ้านวังขนาย จังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: พืชดอกและบอระเพ็ดพุงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

บอน

อน var. aquatilis Hassk เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Araceae อวบน้ำ มีหัวใต้ดิน ใบรูปไข่แกมรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเว้าลึกรูปสามเหลี่ยม ก้านใบสีเขียวหรือออกม่วง ดอก สีครีมหรือเหลืองนวล ออกเป็นช่อ ดอกตัวผู้อยู่ตอนบน ดอกตัวเมียอยู่ตอนล่าง ก้านช่อสั้นกว่าก้านใบ มีใบประดับสีเหลืองรองรับ ผลสด รูปขอบขนาน เมล็ด ขนาดเล็กจำนวนมาก พบได้ทั่วไปประเทศไทยพบทุกภาค ชอบขึ้นบนดินโคลนหรือบริเวณที่มีน้ำขัง หัวใต้ดิน รับประทานได้ ใช้เป็นยาระบาย ห้ามเลือด น้ำคั้นจากก้านใบเป็นยานวด แก้ฟกช้ำ ลำต้นบดใช้พอกแผลรวมทั้งแผลจากงูกัด ลำต้นใช้ทำอาหาร เช่นแกงบอน ส่วนของบอนที่นำมาแกงคือยอดอ่อน หรือใบอ่อนของบอนที่อยู่ใกล้โคนต้นใช้บอนพันธุ์สีเขียวสด ไม่มีสีขาวเคลือบอยู่ตามก้านและใบ ซึ่งเรียกว่า บอนหวาน ส่วนชนิดที่มีสีซีดกว่า และนวลขาวกว่า เรียกว่า บอนคัน ไม่นิยมนำมาแกง.

ใหม่!!: พืชดอกและบอน · ดูเพิ่มเติม »

บอนห้วย

อนห้วย (Eddoe หรือ Eddo) เป็นพืชล้มลุก หัวใต้ดินแบบหัวเผือก น้ำยางใส ใบเดี่ยว ฐานของก้านใบเป็นแผ่นแบนหุ้มลำต้น ช่อดอกแบบ spadix กาบหุ้มสีเหลือง ดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก ดอกตัวผู้อยู่ปลายช่อ ดอกตัวเมียเกิดที่ส่วนกลางและส่วนโคนของช่อดอก ไม่มีกลีบดอก ผลแบบเบอร์รี ชาวเผ่าลัวะนำลำต้นใต้ดินมาต้มหรือใส่ในแกง บอนห้วยเป็นพืชที่มีพันธุกรรมใกล้เคียงกับเผือกPurseglove, J.W. 1972.

ใหม่!!: พืชดอกและบอนห้วย · ดูเพิ่มเติม »

บอนเต่า

อนเต่า อยู่ในวงศ์ Araceae เป็นไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว รูปรี ปลายใบแหลม ดอกออกเป็นช่อสีขาว ช่อดอกและยอดอ่อนใช้ทำอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและบอนเต่า · ดูเพิ่มเติม »

ชะพลู

ลู หรือ ช้าพลู (ชื่อวิทยาศาสตร์: Piper sarmentosum Roxb.) เป็นพืชในวงศ์ Piperaceae มักสับสนกับพลู แต่ใบรสไม่จัดเท่าพลูและมีขนาดเล็กกว่า ชะพลูเป็นพันธุ์ไม้ที่ชอบพื้นที่ลุ่ม มีความชื้น ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักชำ โดยการเลือกกิ่งที่มีใบอ่อนและใบแก่ เด็ดใบแก่ออกและนำไปปักชำได้ ชะพลูมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกคือทางภาคเหนือเรียกว่า "ผักปูนา" "ผักพลูนก" "พลูลิง" "ปูลิง" "ปูลิงนก" ทางภาคกลาง เรียกว่า "ช้าพลู" ทางภาคอีสานเรียกว่า "ผักแค" "ผักปูลิง" "ผักนางเลิด" "ผักอีเลิด" และ ทางภาคใต้เรียกว่า "นมวา".

ใหม่!!: พืชดอกและชะพลู · ดูเพิ่มเติม »

ชะมวง

มวงหรือส้มโมง เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อมไปจนกระทั่งถึงขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ GUTTTIFERACEAE พบได้ตามป่าร้อนชื้นทั่วไป เปลือกเรียบ สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีน้ำยางสีเหลืองขุ่น ใบเดี่ยว ผิวใบเป็นมัน เนื้อใบหนา มีรสเปรี้ยว ดอก เป็นช่อขนาดเล็ก กลีบดอกแข็ง หนา ผลสด ทรงกลม ผิวเรียบมีพูตื้นๆรอบผล ผลอ่อน สีเขียวอมเหลือง สุกแล้วมีสีเหลืองถึงส้มชอบขึ้นในดินกร่อยหรือดินชายทะเล ชะมวงมีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร ใบและผลรสเปรี้ยว ใช้เป็นยาระบาย ฟอกโลหิต รากใช้แก้ไข้ ใบมีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทางภาคตะวันออกใช้ปรุงรสเปรียวในหมูชะมวง ทางภาคใต้ นำไปใบใส่ปรุงรสเปรี้ยวในต้มเนื้อชะมวง ผลชะมวง.

ใหม่!!: พืชดอกและชะมวง · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดต้น

| name.

ใหม่!!: พืชดอกและชะมดต้น · ดูเพิ่มเติม »

ชะลูด

ลูด Blume var.

ใหม่!!: พืชดอกและชะลูด · ดูเพิ่มเติม »

ชะลูดช้าง

ลูดช้าง หรือ ซ่อนกลิ่นเถา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Stephanotis floribunda Brongn.) ชื่อภาษาอังกฤษคือ Madagascar jasmine; Doftranka; Duftranke; Bridal wreath เป็นไม้เลื้อยมียางขาวอยู่ในวงศ์ตีนเป็ด ออกดอกเป็นช่อสีขาว.

ใหม่!!: พืชดอกและชะลูดช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ชะอม

อม เป็นพืชจำพวกอาเคเซีย นิยมรับประทานในทุกภาคของไทย เป็นพืชยื่นต้น ใช้ใบแก่และอ่อน เป็นสมุนไพร ของไทย ลำต้นของชะอมมีหนาม ใบมีขนาดเล็กและมีกลิ่นฉุน ใบอ่อนของชะอมหรือส่วนยอดของใบสามารถนำมารับประทานได้ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปแต่ละภาค โดยมากมักปลูกตามรั้วบ้านเนื่องจากมีหนามแล้วยังเป็นผักที่ทานได้ตลอดทั้งปี พืชอีกชนิดหนึ่งที่พบในประเทศ ซึ่งเป็นคนละสปีชีส์ย่อยกับชะอมคือผัก.

ใหม่!!: พืชดอกและชะอม · ดูเพิ่มเติม »

ชะคราม

ราม หรือ ช้าคราม เป็นพืชล้มลุก พบทั่วไปตามชายฝั่งทะเล ที่น้ำเค็มขึ้นถึง ในไทยพบมากที่จังหวัดสมุทรสาครและสมุทรสงคราม เป็นพืชทนเค็ม กิ่งก้านอวบน้ำ ใบแคบยาว พองกลม ปลายแหลมมีนวลจับขาว จำนวนมาก สีเขียวอมฟ้า ใบมีรสเค็ม ออกดอกตามซอกใบ ชะคราม ใช้เป็นดัชนีชี้วัดความเค็มของดินได้ โดยชะครามที่ขึ้นในดินเค็ม ใบออกสีม่วงแดง ส่วนต้นที่ขึ้นในดินจืด ใบจะออกสีน้ำเงินองค์ บรรจุน.

ใหม่!!: พืชดอกและชะคราม · ดูเพิ่มเติม »

ชะโนด

นด หรือ ค้อสร้อย (Taraw palm) คือ พืชตระกูลปาล์ม พบได้ในเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ออสเตรเลีย และแหลมปลายสุดของทวีปแอฟริกา ลักษณะเป็นปาล์มชนิดหนึ่งไม่มีหนาม มีใบเหมือนใบตาล ลำต้นเหมือนต้นมะพร้าว ลูกเป็นเม็ดเล็ก ๆ คล้ายหมาก สูงเต็มที่ประมาณ 30 เมตร สำหรับในประเทศไทยกลับเป็นพืชที่หายาก โดยแหล่งที่มีชะโนดมากที่สุดอยู่ในอำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ในสถานที่ ๆ เรียกว่า ป่าคำชะโนด ชะโนดในจังหวัดนราธิวาสเรียกว่า "ค้อ​" หรือ "​สิ​เหรง"​.

ใหม่!!: พืชดอกและชะโนด · ดูเพิ่มเติม »

ชะเอมจีน

อมจีน ภาษาจีนกลางเรียกกันเฉ่า ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกกำเช่า เป็นพืชในวงศ์ Leguminosae เป็นพรรณไม้ที่มีอายุนานหลายปี มีรากขนาดใหญ่จำนวนมาก ลำต้นมีขนสั้นๆ ปลายขนมีต่อม เปลือกนอกเป็นสีน้ำตาลแดง หรือน้ำตาลเข้ม ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ก้านใบย่อยสั้นมาก แผ่นใบรูปกลมรี มีขนสั้นๆทั้งสองด้าน ดอกช่อออกตามง่ามใบ ดอกย่อยมีจำนวนมากติดเป็นกลุ่มแน่น กลีบดอกสีม่วงอ่อนหรือขาว ทรงแบบดอกถั่ ฝักกลม งอคล้ายเคียวหรือบิดงอ มีขนปกคลุม ภายในฝัก นั้นจะมีเมล็ดอยู่ 2-8 เม็ด เมล็ดนั้นจะมีลักษณะกลมและแบนหรือคล้ายรูปไต เป็นสีดำและมัน ใช้ทำยา สรรพคุณเหมือนชะเอมเทศ ในตำรายาจีน รากใช้เป็นยาแก้ปวด ขับเสมหะ เปลือกบางมียางสีแดง ด้านในสีเหลือง.

ใหม่!!: พืชดอกและชะเอมจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชะเอมไทย

ใบชะเอมไทย ชะเอมไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ Albizia myriophylla Benth อยู่ในวงศ์ Mimosoideae เป็นไม้ยืนต้นมีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร มีชื่อเรียกทั่วไป อ้อยช้าง ชะเอมป่า(กลาง) ส้มป่อยหวาน(ภาคเหนือ) ตาลอ้อย(ตราด) เซาะซูโพ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ชะเอมไทยจะแตกต่างจากชะเอมเทศ ชะเอมไทยเป็นไม้เถาขนาดใหญ่ มีหนาม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบเล็กละเอียดเป็นฝอย คล้ายกับใบส้มป่อยหรือใบกระถิน โคนใบโป่งออก ดอกช่อออกตามปลายกิ่งลักษณะเป็นพู่ สีขาวหอม ก้านช่อดอกยาว เกสรตัวผู้สีขาว มีจำนวนมาก ผลเป็นฝัก เมื่ออ่อนมีสีเขียว แก่แล้วเป็นสีเหลืองหรือน้ำตาลแบน นูนตรงที่มีเมล็ดอยู่มักพบขึ้นอยู่ตามเชิงเขา ดงป่าไม้ หรือป่าเบญจพรรณ พบมากในทางภาคตะวันออกของไทย ปลูกได้โดยการตอนกิ่งหรือเพาะเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและชะเอมไทย · ดูเพิ่มเติม »

ชะเอมเทศ

''Glycyrrhiza glabra'' ชะเอมเทศ (มาจากภาษากรีกแปลว่า "รากหวาน") เป็นพรรณไม้ที่มีอายุนานหลายปี ลำต้นมีความยาวประมาณ 1-2 เมตร มีรากใหญ่แตกแขนงจำนวนมาก ใบเป็นใบประกอบลักษณะเป็นรูปขนนก ก้านใบย่อยสั้นมาก แผ่นใบรูปไข่ มีใบย่อยประมาณ 9-17 ใบ ส่วนก้านใบย่อยนั้นจะสั้นมาก ใบจะเป็นสีเขียวอมเหลือง ดอกจะออกเป็นช่อ กลีบดอกจะเป็นสีม่วงอ่อน ๆ และก้านดอกจะสั้นมาก ฝักจะมีลักษณะแบน และผิวข้างนอกจะเรียบ นุ่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและชะเอมเทศ · ดูเพิ่มเติม »

บักวีต

ักวีต ชื่อวิทยาศาสตร์ Fagopyrum esculentum เป็นพืชในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นเป็นเหลี่ยม กลวง ใบที่อยู่ด้านบนเกือบจะไม่มีก้านใบ ดอกออกเป็นช่อ ก้านดอกสั้นสีแดงกุหลาบจนถึงสีขาว ผลเป็นผลแห้งเมล็ดล่อนสีน้ำตาลดำไปจนเกือบดำ เมล็ดสีเขียวอ่อนแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแกมแดง การปลูกบักวีตเป็นอาหารพบที่เทือกเขาหิมาลัยตั้งแต่อินเดีย เนปาล ไปจนถึงพม่า จีนและมองโกเลีย รวมทั้งเกาหลีและญี่ปุ่น ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกทางภาคเหนือของเวียดนามและไทย บักวีตสามารถเติบโตได้ใรที่ที่มีดินค่อนข้างเร็ว ปลูกธัญพืชอื่น ๆ ไม่ได้ผล ถ้าดินมีไนโตรเจนหรือความชื้นสูง ทำให้เฝือใบ ดอกบักวีต.

ใหม่!!: พืชดอกและบักวีต · ดูเพิ่มเติม »

ชัยพฤกษ์

ใบและดอกของชัยพฤกษ์ ชัยพฤกษ์ (Java Cassia, Pink Shower, Apple Blossom Tree, Rainbow Shower Tree) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) ดอกสีชมพูเข้ม เมื่อออกดอกไม่ทิ้งใบ ฝ้กเกลี้ยงใช้ทำยาได้ มีถิ่นกำเนิดในอินโดนีเซียและประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและชัยพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัวบก

ัวบก เป็นพืชสมุนไพรที่อยู่ในแถบเอเชีย ใบบัวบกสามารถช่วยรักษาแผลให้หายได้เร็วขึ้นและยังช่วยลดอาการอักเสบของแผลได้ดี เพราะมีกรดมาเดคาสสิก กรดอะเซียติก และสารอะเซียติโคไซด์ ยาแผนปัจจุบันทำเป็นรูปครีมผงโรยแผล ยาเม็ดรับประทาน เพื่อใช้รักษาแผลสดและแผลผ่าตัด ไม่ว่าจะเป็นแผลไฟไหม้ หรือแผลฝีหนองหรือแผลสด โดยใช้ใบและต้นสดตำละเอียดคั้นน้ำทานวันละ 3 - 4 ครั้ง หรืออาจใช้กากพอกบริเวณแผลด้วย สารสกัดด้วยน้ำของใบบัวบกที่มีความเข้มข้น 31.25 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ Flavobacterium columnaris ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ บัวบกที่สกัดด้วยเอทานอล มีความเป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง Vero cell โดยมีค่า CD50 เท่ากับ 0.16 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัดจากต้นสดที่สกัดด้วยเอทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสและต้านอนุมูลอิสระ ในศรีลังกาใส่ใบบัวบกในข้าวต้ม โดยต้มข้าวกับน้ำซุปผักจนสุกนุ่ม ใส่กะทิ ปรุงรสด้วยเกลือ ยกลงแล้วจึงใส่ใบบัวบก ในไทยใช้เป็นผักแนม กินกับผัดไทย ผัดหมี่ หมี่กะทิ ขนมจีน ลาบ ทำยำใบบัวบก หรือคั้นทำน้ำใบบัวบกทางภาคใต้ใส่ในแกงพริกหมู สำหรับผู้ที่แพ้ถ้ารับประทานใบและต้นเข้าไป ทำให้เวียนศีรษะ ท้องร่วง ถ่ายเป็นเลือด ใจสั่น แขนขากระตุกและเกร็ง น้ำใบบัวบกในประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวบก · ดูเพิ่มเติม »

บัวบกหัว

ัวบกหัว หรือ บัวบก (Craib) วงศ์ Menispermaceae ต้นบัวบก หรือ บัวบกหัว เป็นพืชสกุลเดียวกันกับสบู่เลือด แต่ไม่เลื้อยเหมือนสบู่เลือด (ไม่ใช่บัวบกที่นำมาคั้นน้ำ แก้ช้ำใน).

ใหม่!!: พืชดอกและบัวบกหัว · ดูเพิ่มเติม »

บัวชั้น

ัวชั้นหรือว่านจักรพรรดิ มีชื่อภาษาอังกฤษหลายชื่อคือ jewel of Thailand, Siam tulip, hidden ginger, pastel hidden ginger, hidden lily or queen lily) เป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceae และเป็นพืชท้องถิ่นในไทยและมาเลเซีย เป็นไม้ล้มลุกมีเหง้าใต้ดิน เนื้อเหง้าสีเหลืองอ่อน ใบเดี่ยว ก้านใบยาว ดอกช่อสีเหลือง ทรงแบบดอกกระเจียว ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าทำให้คงกระพัน ในภาษามลายูเรียกเตอมูปูเตอรี ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้น้ำคั้นจากเหง้ารักษาโรคกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวชั้น · ดูเพิ่มเติม »

บัวบา

ัวบา หรือ ตับเต่าใหญ่ (Water snowflake; (L.) Kuntze) เป็นไม้ลอยน้ำขนาดเล็ก มีดอกสีเหลือง รากยึดกับดินใต้น้ำ ลำต้นเลื้อยและแตกไหลได้ ใบรูปกลมดูคล้ายบัวฝรั่ง ขนาด 8 - 10 cm ใบหนาสีเขียวเป็นมัน ใบอ่อนขอบใบขลิบสีแดงใต้ใบสีม่วงเรื่อ ก้านใบเล็กสีม่วงแดง ออกดอกเป็นช่อตรงข้อก้านใบมี 1 - 4 ดอก ขนาด 1.5 - 2 cm มีกลีบดอกเป็นครุย สีขาว 7 - 8 กลีบ ออกดอกตลอดปี ชอบดินเหนียวที่มีอินทรียวัตถุ เจริญได้ดีที่ระดับน้ำ 15 - 30 cm.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวบา · ดูเพิ่มเติม »

บัวกือ

ัวกือหรือเปล้าเลือดเครือ วงศ์ Menisspermaceae ไม้ล้มลุกมีเหง้าใต้ดินเปลือกสีดำ เนื้อสีขาว ลำต้นเป็นเถาเลื้อย แตกรากและใบตามข้อ ใบเดี่ยว รูปกลมรี โคนก้านใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ก้านใบขนาดเล็ก ดอกช่อออกตามซอกใบ ดอกย่อยสีม่วง ผลแห้งแบบแก่แล้วแตก ใบสดหรือทั้งต้นคั้นน้ำทาแผลแก้ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวกือ · ดูเพิ่มเติม »

บัววิกตอเรีย

ัววิกตอเรีย หรือ บัวกระด้ง (Victoria waterlily) เป็นบัวในสกุล Victoria จัดเป็นบัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีลำต้นใต้ดินเป็นหัวใหญ่ ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ประมาณ 6 ฟุต ลอยบนผิวน้ำ ใบอ่อนมีสีแดงคล้ำเมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเข้ม ขอบใบยกขึ้นตั้งตรง มีหนามแหลมตามก้านใบและผิวใบด้านล่าง ก้านดอกและกลีบเลี้ยงด้านนอกมีหนามแหลม ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ ดอกแรกบานจะมีสีขาว จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นสีขาวอมชมพู และเป็นสีแดงเรื่อในที่สุด บานเวลาใกล้ค่ำ หรือกลางคืน มีกลิ่นหอม และจะหุบในตอนสายของวันรุ่งขึ้น.

ใหม่!!: พืชดอกและบัววิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

บัวสวรรค์

ัวสวรรค์ หรือ กัตตาเวียเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและบัวสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

บัวสาย

ัวสาย เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง มีลำต้นใต้ดินเป็นหัว หรือเหง้า ลักษณะคล้ายหัวเผือก ใบเดี่ยวแตกจากเหง้า ก้านใบยาว อ่อน ส่งใบขึ้นมาลอยบนผิวน้ำ แผ่นใบค่อนข้างกลม ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนละเอียด ดอกเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกเหมือนก้านใบ ภายในมียางใสและท่ออากาศมาก ผลเรียกโตนดบัว รับประทานได้ มีแป้งมาก ก้านดอกเรียกสายบัว รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวสาย · ดูเพิ่มเติม »

บัวหลวง

ัวหลวง หรือ บัวหลวงอินเดีย (Indian Lotus, Sacred Lotus, Bean of India) เป็นพืชน้ำในสกุลบัวหลวง วงศ์บัว.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวหลวง · ดูเพิ่มเติม »

บัวหิมะ

ัวหิมะ (Snow lotus) เป็นชื่อสามัญของพืชในสกุล Saussurea อยู่ในวงศ์ Compositae เป็นพืชที่ขึ้นในที่สูง มีหิมะปกคลุม ในเอเชียกลาง และจีนเช่น ในทิเบต มณฑลยูนนาน เสฉวน ซินเจียงอุยกูร์ ในทางยาจีน มีฤทธิ์เป็นยาเย็น แก้ข้ออักเสบ แก้ไข้ บำรุงหัวใ.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

บัวอียิปต์

ัวอียิปต์ เป็นพืชในวงศ์ Nymphaeaceae พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาตอนกลางและเหนือ เป็นพืชน้ำลำต้นอยู่ในโคลน ใบลอยบนผิวน้ำ ใบเกือบกลมขอบเรียบ มีจุดสีม่วงด้านล่างของใบ ดอกสีน้ำเงินอ่อน ตรงกลางสีขาว บานเฉพาะตอนเช้า มีสารออกฤทธิ์ที่ทำให้มีอาการคล้ายถูกสะกดจิต ประสาทหลอน.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

บัวผุด

ัวผุด หรือ บัวตูม เป็นกาฝากชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่บนรากของพืชจำพวกสกุลเครือเขาน้ำ (Tetrastigma) ซึ่งชาวบ้านเรียกว่าย่านไก่ต้ม มีลักษณะเด่นที่ดอกซึ่งเป็นดอกเดียวขึ้นจากพื้นดินมีขนาดใหญ่ มีกลิ่นเหม็นมาก ให้เห็นระหว่างฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ดอกตูมอยู่จะคล้ายกับหม้อขนาดใหญ่มีกลีบหนาจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 70-80 เซนติเมตร ที่โคนของดอกมีกลีบนำสีน้ำตาลอมเหลืองเรียงสลับซับซ้อนกันอยู่มาก ภายในดอกจะมีแผ่นแบนคล้ายจาน ด้านบนมีปุ่มคล้ายหนามแหลมจานนี้จะซ้อนเกสรตัวผู้และรังไข่ไว้ด้านล่าง ดอกจะบานอยู่ได้เพียง 4-5 วันเท่านั้น หลังจากนั้นก็จะค่อย ๆ ดำเน่าไป กระจายพันธุ์ทางภาคใต้ของไทย เช่นที่ อุทยานแห่งชาติห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และป่าดิบในรัฐกลันตัน และเประในประเทศมาเลเซีย ชาวบ้านนิยมนำดอกตูมมาต้มน้ำดื่ม ช่วยให้คลอดง่าย มดลูกเข้าอู่เร็ว.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวผุด · ดูเพิ่มเติม »

บัวขม

ัวขม L. var.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวขม · ดูเพิ่มเติม »

บัวขาว (พืช)

ัวขาว เป็นพืชในวงศ์ Nymphaeaceae พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เม็กซิโกถึงบราซิล เป็นพืชน้ำลำต้นอยู่ในโคลน ใบลอยบนผิวน้ำ ใบเกือบกลม ขอบใบเว้า กลีบดอกสีขาว มีสารออกฤทธิ์ที่ทำให้มีอาการคล้ายถูกสะกดจิต.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวขาว (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

บัวดอย

ัวดอย หรือ ผู้เฒ่าลืมไม้เท้า เป็นพืชล้มลุกวงศ์ Convallariaceae พบในป่าดิบเขาที่ขึ้นปกคลุมและการกระจายอยู่ตามภูเขาสูงที่มีความสูงจากระดับทะเล ประมาณ 1,400- 2,000 เมตร ในประเทศไทย สำรวจพบต้นบัวดอย ได้แก่ ดอยอ่างขาง (ไม่รวมพันธุ์ที่นำเข้ามาปลูกจากต่างประเทศ) ดอยผ้าห่มปก ดอยเชียงดาว ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ และดอยปุย (อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์) ปางตอง จังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวดอย · ดูเพิ่มเติม »

บัวดิน

|บัวดิน Zephyranthes grandiflora '''อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่''' บัวดินหรือว่านขุนแผนสะกดทัพ เป็นพืชในวงศ์ Amaryllidaceae มีหัวอยู่ใต้ดินแบบหัวหอม เนื้อในสีขาว มีเยื่อสีน้ำตาลหุ้มโดยรอบ ใบเดี่ยว ขนาดเล็กยาว ดอกออกเป็นช่อ ดอกย่อยสีชมพู เกสรตัวผู้สีส้ม เป็นยาสมุนไพรใช้แก้แมลงสัตว์กัดต่อย ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่ามีฤทธิ์ทางเมตตามหานิยมและคงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวดิน · ดูเพิ่มเติม »

บัวตอง

ัวตอง (Tree marigold, Mexican tournesol, Mexican sunflower, Japanese sunflower, Nitobe chrysanthemum; (Hemsl.) A.Gray.) เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศเม็กซิโก เป็นไม้ดอกมีอายุยืนยาวหลายปี สามารถสูงได้ถึง 5 เมตร ออกดอกเป็นช่อเดียว บริเวณปลายกิ่ง มีสีเหลืองคล้ายดอกทานตะวัน แต่มีขนาดเล็กกว่า ดอกวงนอกเป็นหมัน กลีบเรียวมีประมาณ 12–14 กลีบ ดอกวงในสีเหลืองส้มเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ใบของบัวตองเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือแกมขอบขนาน มีขนขึ้นเล็กน้อยประปราย บริเวณ ปลายใบเว้า มีขนขึ้นเล็กน้อยประปราย ปลายใบเว้าลึก 3–5 แฉก ชอบขึ้นในพื้นที่ที่มีอากาศเย็น จะออกดอกสวยงามที่สุดบนยอดดอยที่สูงกว่า 800 เมตรขึ้นไป โดยจะออกดอกในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนธันวาคมเท่านั้น ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ในประเทศไทย บัวตองมิใช่เป็นพืชพื้นเมือง แต่มีสถานที่ที่มีดอกบัวตองขึ้นอย่างงดงามกว้างขวางเป็นทุ่งและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ดอยแม่อูคอ อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีที่มาจากการที่บาทหลวงชาวเม็กซิโกผู้หนึ่งนำมาปลูก และต้องใช้เวลาหลายปีกว่าที่กลายมาเป็นทุ่งบัวตองอย่างในปัจจุบัน และถือเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: พืชดอกและบัวตอง · ดูเพิ่มเติม »

บัวเผื่อน

ัวเผื่อน เป็นพันธุ์ไม้น้ำคล้ายบัวสาย อายุหลายปี มีเหง้าและไหลอยู่ใต้ดิน และส่งใบดอกขึ้นมาบนผิวน้ำ บัวเผื่อนมีดอกให้ชมเกือบตลอดทั้งปี เริ่มบานตอนสายและหุบตอนบ่าย ออกดอกตลอดปี บัวเผื่อนมีชื่อพื้นเมืองอื่นว่า นิลุบล นิโลบล (กรุงเทพฯ) บัวผัน บัวขาบ (ภาคกลาง) ป้านสังก่อน (เชียงใหม่) และปาลีโป๊ะ (มลายู นราธิวาส)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและบัวเผื่อน · ดูเพิ่มเติม »

บัทเทอร์คัพ

รานังคิวลัส หรือ บัทเทอร์คัพ (RanunculusSunset Western Garden Book, 1995:606–607 หรือ Buttercup) เป็นสกุลพืชที่มีด้วยกันราว 250 ถึงกว่า 400 สปีชีส์ของวงศ์พวงแก้วกุดั่น ที่รวมทั้ง “บัทเทอร์คัพ” “สเปียร์เวิร์ทส” “ตีนกาน้ำ” (water crowfoots) และ lesser celandine (แต่ไม่รวม greater celandine ของตระกูลฝิ่น รานังคิวลัสเป็นพืชยืนต้นที่มีดอกขนาดเล็กสีเหลืองสดหรือขาวที่มีสีเหลืองตรงกลาง แต่บางสายพันธุ์ก็เป็นพืชปีเดียวหรือพืชสองปี มีไม่กี่ชนิดที่มีดอกสีส้มและแดง และบางครั้งเช่นในชนิด Ranunculus auricomus ที่ไม่มีกลีบ แต่ถ้ามีกลีบก็จะเป็นกลีบที่เป็นมันเงาโดยเฉพาะสายพันธุ์ที่มีสีเหลือง ออกดอกระหว่างเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคมแต่ก็พบดอกทั่วไประหว่างฤดูร้อนมักถือว่าเป็นวัชพืช (opportunistic colonisers).

ใหม่!!: พืชดอกและบัทเทอร์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

บันยัน

ันยัน (Banyan, Banyan tree, Banian) เป็นสกุลย่อยของไม้ในสกุล Ficus โดยจัดอยู่ในสกุลย่อย Urostigma ในวงศ์ Moraceae (โดยปกติแล้วจะหมายถึง ไกร (F. benghalensis)) ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติอินเดีย ลักษณะส่วนใหญ่ของไม้ในสกุลย่อยนี้ คือ ส่วนใหญ่เป็นแบบกึ่งอิงอาศัย มีรากอากาศ ไม่มีรากตามข้อ ดอกแยกเพศร่วมต้น แผ่นใบด้านล่างมีต่อมไขที่โคนเส้นกลางใบ 1 ต่อมฟิกส์เกลี้ยง ออกเป็นคู่หรือออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบหรือตามกิ่ง พบน้อยออกตามลำต้น ใบประดับที่โคน 2-3 ใบ ไม่มีใบประดับด้านข้าง ช่องเปิดมีใบประดับ 2-5 ใบ ปิดด้านบน ดอกเพศผู้เรียงกระจัดกระจายระหว่างดอกเพศเมีย หรืออยู่ใกล้ช่องเปิด กลีบรวม 3-5 กลีบ เกสรเพศผู้ 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียส่วนมากมี 1 อัน มีหลากหลายชนิด พบในประเทศไทยประมาณ 45 ชนิด นอกจากไกรแล้ว อาทิ ไทรย้อยใบแหลม (Ficus benjamin), โพ (F. religiosa), ไทรย้อยใบทู่ (F. microcarpa) เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและบันยัน · ดูเพิ่มเติม »

บันไดลิง (พืช)

ันไดลิงหรือกระไดลิง กระไดเต่า เชียงใหม่เรียกมะลืมคำ เป็นไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ อยู่ในสกุลชงโค เถาแก่จะเหนียว แบน โค้งเป็นลอนคล้ายบันได พาดพันไปตามเรือนยอดของไม้อื่น ใบเดี่ยว มีหูใบเป็นติ่งยาวแต่ร่วงง่าย ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง สีขาวอมเหลือง ติดผลเป็นฝักแบน แก่แล้วกลายเป็นสีน้ำตาลแดง ปลายมน มีติ่งแหลม แก้พิษ มีฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็ง น้ำเลี้ยงจากเถาใช้บรรเทาอาการไอ ในจังหวัดกาญจนบุรีใช้เถาแก้ไข้ แก้พิษ แก้ฝี.

ใหม่!!: พืชดอกและบันไดลิง (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

บาวบาบ

ผลบาวบาบใช้ทำเครื่องดื่มได้ บาวบาบ หรือ บาวแบบ (Kremetart, Hausa: Kuka, Seboi, Mowana, Shimuwu, Muvhuyu)เป็นพืชในสกุล Adansoniaที่แพร่หลายมากที่สุด พบในทวีปแอฟริกา ในบริเวณที่ร้อนแล้งหรือทุ่งหญ้าสะวันนา ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษของบาวบาบมีหลายชื่อ เช่น dead-rat tree (จากลักษณะของผล), monkey-bread tree (ผลที่นุ่ม แห้งและรับประทานได้) upside-down tree (กิ่งที่แตกทรงพุ่มคล้ายราก) และ cream of tartar tree เป็นไม้ผลัดใบ ไม่มีหนาม ลำต้นโป่งพองคล้ายขวด ผลเป็นแคปซูลแห้ง รูปร่างยาวหรือกระบอง ไม่แตก เนื้อมีลักษณะเป็นเยื่อ รสเปรี้ยวเล็กน้อย บาวบาบเป็นไม้ยืนต้นที่โคนบวมพองออก มองคล้ายขวดแชมเปญ ใช้สะสมน้ำ กิ่งก้านสาขาบิดเบี้ยวไปมา ทรงคล้ายราก ชาวแอฟริกาเชื่อว่าต้นไม้ชนิดนี้ถูกพระเจ้าสาปแช่ง จึงต้องเอารากชี้ฟ้ามีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของแอฟริกา ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกในเกาะชวาและฟิลิปปินส์ บาวบาบเป็นพืชสมุนไพรในแอฟริกา ผลมีแคลเซียมมากกว่าผักโขม มีสารต้านอนุมูลอิสระ และมีวิตามินซีมากกว่าส้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและบาวบาบ · ดูเพิ่มเติม »

ชาข่อย

อยหรือจ้าข่อย ชาฤษี เป็นพืชในวงศ์ Euphorbiaceae แตกกิ่งใกล้ผิวดิน ใบเดี่ยว ออกเป็นกระจุก ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ออกดอกในช่วงสิงหาคม – กุมภาพันธ์ นิยมนำมาปลูกเป็นรั้วและใช้เป็นไม้ประดับ พบครั้งแรกในไทยที่อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและชาข่อย · ดูเพิ่มเติม »

ชาปัตตาเวีย

ปัตตาเวีย หรือ ชาใบมัน (Singapore Holly หรือ Miniature Holly; L.) เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Malpighiacea และเป็นพืชท้องถิ่นในแถบแคริบเบียน บางครั้งเรียกว่าโฮลลีแคระเพราะรูปร่างของใบ แต่เป็นพืชคนละชนิดกับโฮลลี่ที่อยู่ในสกุล Ilex มีดอกสีขาว ผลแบบเบอร์รี่สีแดง และเป็นอาหารของนก ซึ่งช่วยในการกระจายพันธุ์ นิยมนำมาทำบอนไซ.

ใหม่!!: พืชดอกและชาปัตตาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

บานชื่น

นชื่น (Cav.) เป็นไม้ล้มลุก มักมีขนสาก ระคายทั่วไป ใบเดี่ยวออกตรงข้าม แต่ละคู่ตั้งฉากกัน รูปไข่หรือรี ปลายมนหรือค่อนข้างแหลม ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ริ้วประดับมีหลายวง ดอกมีสีแดง ชมพู ส้ม ม่วง หรืออื่นๆ ชอบอยู่กลางแจ้ง ดูแลรักษาง่าย ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหรือปักชำก็ได้ ปลูกเป็นไม้ประดับเป็นแปลงใหญ่เพื่อความสวยงามหรือส่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและบานชื่น · ดูเพิ่มเติม »

บานบุรี

นบุรี หรือ บานบุรีเหลือง เป็นพืชพื้นเมืองของบราซิล บานบุรี เป็นสัญลักษณ์ ดอกไม้ประจำโรงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ ตำบลสินปุน อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี.

ใหม่!!: พืชดอกและบานบุรี · ดูเพิ่มเติม »

บานบุรีสีม่วง

นบุรีสีม่วง (ชื่อสามัญ: Purple Allamanda) มีถิ่นกำเนิดในประเทศบราซิล เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม ใบออกรอบข้อ ข้อละสี่ใบ ดอกออกเป็นช่อ กลีบดอกสีม่วงแดงหรือม่วงอมชมพู โคนกลีบเป็นหลอดสีม่วงเข้ม ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและบานบุรีสีม่วง · ดูเพิ่มเติม »

บานบุรีสีแสด

นบุรีสีแสด หรือ บานบุรีแสด หรือ บานบุรีหอม มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือตั้งแต่คอสตาริกา จนถึงทวีปอเมริกาใต้ในบราซิล เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกเป็นดอกช่อ ดอกย่อยรูปกรวย กลีบดอกสีเหลืองอมส้ม โคนกลีบเป็นสีส้ม ดอกมีกลิ่นหอมแรง ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและบานบุรีสีแสด · ดูเพิ่มเติม »

บานไม่รู้โรย

นไม่รู้โรยเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและบานไม่รู้โรย · ดูเพิ่มเติม »

บานไม่รู้โรยป่า

นไม่รู้โรยป่าเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและบานไม่รู้โรยป่า · ดูเพิ่มเติม »

บานเย็น

อกบานเย็น เป็นสกุล Mirabilis ที่นิยมปลูกมากที่สุด มีสีดอกที่หลากหลาย กล่าวกันว่าบานเย็นถูกนำออกมาจบานเย็นนแม่ต้น (Four-o’clocks; Marvel of Peru) เป็นไม้ดอกากถิ่นกำเนิดในบริเวณเทือกเขาแอนดิส ในเปรู ช่วงปี..

ใหม่!!: พืชดอกและบานเย็น · ดูเพิ่มเติม »

บานเที่ยง

นเที่ยง (noon flower, midday flower) เป็นพืชในวงศ์ชบา (Malvaceae) กระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนจนถึงออสเตรเลีย ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกปีเดียว สูงประมาณ 1-2 เมตร ลำต้นเรียวสีเขียวหรือสีม่วง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปใบหอกแคบ โคนมน ปลายแหลม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย บางใบหยักลึกเป็น 3 แฉก ด้านล่างมีขน ก้านใบสีแดง ดอกออกตามซอกใบ เป็นดอกเดี่ยวสีแดงเลือดนกเข้ม มีกลีบรองดอกสีเขียวหรือเขียวอมแดง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ เกสรตัวผู้ 5 อัน สีเหลืองเข้ม ผลรูปไข่ป้อม เป็นสันมีขนปกคลุม เมื่อแก่จะแตกตามยาว เมล็ดแข็งเป็นสี่เหลี่ยมมน สีน้ำตาลเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและบานเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ชำมะนาด

ำมะนาด (L.) Ktze.

ใหม่!!: พืชดอกและชำมะนาด · ดูเพิ่มเติม »

ชิงชัน

งชัน เป็นชื่อของไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ประเภทไม้ผลัดใบที่อยู่ในวงศ์ Leguminosae ชนิดหนึ่ง (อยู่ในวงศ์เดียวกับประดู่) ต้นไม้ชนิดนี้ขยายพันธุ์โดยเมล็ดและก็สามารถแพร่กระจายพันธุ์ตามป่าดิบแล้งตลอดจนถึงป่าเบญจพรรณทั่วไปยกเว้นเฉพาะทางภาคใต้เท่านั้นที่ไม่สามารถแพร่กระจายพันธุ์ได้เป็นไม้กลางแจ้งที่สามารถขึ้นได้ดีในดินทุกประเภทและต้องการน้ำเพียงปานกลาง ลักษณะของต้นไม้โดยรวม เปลือกจะมีความหนาซึ่งเป็นสีน้ำตาลอมเทาสามารถล่อนออกเป็นแว่นๆได้และมีเนื้อภายในเป็นสีเหลือง ใบนั้นจะเป็นใบประกอบแบบขนนก ดอกมีขนาดเล็กที่รวมกันเป็นช่อ ฝักเป็นรูปหอกแต่แบนส่วนหัวท้ายของฝักนั้นจะแหลม ส่วนระบบรากนั้นจะมีความลึกมาก เนื่องจากไม้ชิงชันนั้นมีลักษณะที่แข็งและเหนียวรวมถึงมีลักษณะที่ดูสวยงามมากดังนั้นจึงนิยมนำมาทำเป็น เครื่องเรือน เครื่องดนตรีต่าง ๆ ฯลฯ นอกจากประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมพื้นบ้านแล้วต้นไม้ชิงชันยังให้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรอีกด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและชิงชัน · ดูเพิ่มเติม »

ชิงช้าชาลี

งช้าชาลีหรือบอระเพ็ดตัวผู้ เป็นพืชในวงศ์ Menispermaceae เป็นไม้เถาคล้ายบอระเพ็ดต่างกันที่เถาเกลี้ยง ไม่มีตุ่ม ใบเดี่ยวรูปหัวใจ ดอกตัวผู้เป็นช่อสีเหลือง ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ผลกลม ฉ่ำน้ำ ใบรสขม ใช้ฆ่าพยาธิ ใบอ่อนบดผสมนม ใช้ทาแก้ไฟลามทุ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและชิงช้าชาลี · ดูเพิ่มเติม »

ชิงช้าสะแกราช

งช้าสะแกราช เป็นไม้เลื้อยอวบน้ำในวงศ์ Menispermaceae เป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน เถาเรียบ ดอกเป็นดอกช่อ สีเขียว ผลกลม ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกโดย H. Benziger ชาวเยอรมันที่อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา ชื่อสปีชีส์ตั้งตามประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและชิงช้าสะแกราช · ดูเพิ่มเติม »

ชินชี่

นชี่หรือดันรอกหรือน้าม เป็นพืชในวงศ์ Rhamnaceae เป็นไม้เลื้อยมีหนามโค้งงอจำนวนมาก ผลรูปไข่หรือกลม มีขนสั้นนุ่มหนาสีน้ำตาลเล็กน้อย ผลมีรสหวาน รับประทานได้ กระจายพันธุ์ในเกาะสุมาตรา คาบสมุทรมลายูและไท.

ใหม่!!: พืชดอกและชินชี่ · ดูเพิ่มเติม »

ชิโซะ

ซะ เป็นพืชชนิดหนึ่งมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Perilla frutescens var.

ใหม่!!: พืชดอกและชิโซะ · ดูเพิ่มเติม »

บุกรอ

กรอ เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Araceae มีหัวอยู่ใต้ดิน ช่วงฤดูแล้งจะแห้งโทรมและแตกขึ้นมาใหม่ในฤดูฝน ก้านใบเป็นลำสูง มีเลนติเซลเป็นจุดนูนกระจาย ใบเดี่ยวแผ่กางออกขอบใบหยักเว้าเป็นแฉก ช่อดอกสีขาวแทงขึ้นมาจากพื้นดิน ดอกเมื่อบานมีกลิ่นแรง ติดเมล็ดจำนวนมาก ออกดอกช่วงกรกฎาคม – กันยายน พบตามเขาหินปูนในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบครั้งแรกในประเทศไทยที่จังหวัดสระบุรี เมื่อ 2 มิถุนายน..

ใหม่!!: พืชดอกและบุกรอ · ดูเพิ่มเติม »

บุกหูช้าง

กหูช้าง เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Araceae มีหัวอยู่ใต้ดิน แห้งโทรมในฤดูแล้งและแตกใบใหม่ในฤดูฝน ก้านใบเป็นลำสูง มีเลนติเซลเป็นจุดนูนกระจาย ใบแผ่กางออก ช่อดอกสีขาว มีก้านยาว ดอกบานมีกลิ่นแรง ติดเมล็ดจำนวนมาก ออกดอกช่วงกรกฎาคม – กันยายน กระจายพันธุ์ตามเขาหินปูน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกที่จังหวัดนครราชสีมา โดยนายพุด ไพรสุรินทร์ เมื่อ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและบุกหูช้าง · ดูเพิ่มเติม »

บุกคางคก

กคางคก (Dennst.) Nicolson.

ใหม่!!: พืชดอกและบุกคางคก · ดูเพิ่มเติม »

บุกคนโท

กคนโท เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Araceae มีหัวใต้ดิน หัวโตเต็มที่ขนาดใหญ่ กลมแบน ใบเดี่ยว ก้านใบทรงกระบอก แข็งแรง มีผิวด่างหรือมีแต้มสีสดใส ผิวเรียบหรือหยาบแผ่นใบแบ่งเป็นสามส่วน แต่ละส่วนแตกเป็นหลายแฉก ดอกออกเป็นช่อเดียวหนา มีกาบหุ้มขนาดใหญ่ ผลมีเนื้อ 1-3 เมล็ด กลมหรือกลมยาว สีแดงสด ผลด้านบนสุกก่อน หัวสีน้ำตาลเข้ม เนื้อสีเหลือง ไม่แตกเหง้า ก้านใบผิวเรียบ สีเขียวหรือเขียวอมน้ำตาล หรือสีเขียวแกมเทา ด้านในสีม่วงหรือสีน้ำตาล จุดประสีน้ำตาลหรือสีเขียว แต่ละช่อมีผลถึง 1,000 ผล รอยด่างบนลำต้นของบุกคนโท พบมากในหมู่เกาะอันดามัน พม่า ภาคเหนือของไทย ไปจนถึงอินโดนีเซีย หัวนำมาล้างน้ำและต้มหลายๆครั้งให้หมดสารพิษ จากนั้นนำมารับประทานได้ ใบอ่อนและผลใช้เป็นผักได้ ในฟิลิปปินส์และอินเดียใช้เป็นอาหารสัตว์ บุกชนิดนี้มีแมนแนนในหัวมาก หัวมีกลิ่นเหม็นฉุนเพราะมีผลึกแคลเซียมออกซาเลตและอัลคาลอ.

ใหม่!!: พืชดอกและบุกคนโท · ดูเพิ่มเติม »

ชุมแสงน้ำ

มแสงน้ำ เป็นพืชในวงศ์ต่างไก่ป่า (Polygalaceae) กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ยืนต้น สูง 15-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูง ลำต้นตรง เปลือกค่อนข้างบางเรียบ หรือมีริ้วตื้น ๆ ตามยาว สีเทาแกมน้ำตาลอ่อน เปลือกชั้นในสีเหลืองอ่อน ผิวเปลือกสีเขียว แผ่นใบรูปหอก รูปรีถึงรูปไข่ กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 5-12 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบเป็นติ่งเรียวแหลม โคนใบสอบแหลม เส้นแขนงใบ 4-8 คู่ เส้นย่อยเป็นรูปตาข่ายชัดเจนทั้งสองด้านของแผ่นใบ ก้านใบยาว 0.3-0.5 เซนติเมตร ดอกเล็กสีขาวนวลถึงเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร สุกสีเหลืองส้ม มี 1 เมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและชุมแสงน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมเห็ดไทย

มเห็ดไทย เป็นไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่มเตี้ย สูงประมาณ 1 เมตร ในวงศ์ Leguminosae มีชื่อท้องถิ่นอื่นคือ ชุมเห็ดควาย, ชุมเห็ดไทย, ชุมเห็ดนา, ชุมเห็ดเล็ก (ภาคกลาง); พรมดาน (สุโขทัย); ลับมือน้อย (ภาคเหนือ); หญ้าลึกลืน (ปราจีนบุรี) อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาต.

ใหม่!!: พืชดอกและชุมเห็ดไทย · ดูเพิ่มเติม »

ชุมเห็ดเล็ก

มเห็ดเล็ก หรือ ขี้เหล็กผี เป็นไม้พุ่มในวงศ์ถั่ว เดิมอยู่ในสกุล Cassia ต่อมาจึงย้ายมาอยู่ในสกุลขี้เหล็ก ลำต้นเรียบสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาล ลำต้นกลวงมีเยื่อสีขาว ลำต้นเหนียว มีกลิ่นเหม็น ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ด้านบนของโคนก้านใบโป่งพอง ดอกช่อ กลีบดอกสีเหลือง ผลเดี่ยวเป็นฝักแบนเล็กน้อย สีเขียวอมม่วง แก่แล้วแห้งเป็นสีน้ำตาล แตกตามตะเข็บ เมล็ดจำนวนมาก สีน้ำตาลกลมแบนเล็กน้อย ไม่พบต้นกำเนิดที่แน่นอนแต่ขึ้นกระจายทั่วไปในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อน มีปลูกในอินโดนีเซี.

ใหม่!!: พืชดอกและชุมเห็ดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ชุมเห็ดเทศ

มเห็ดเทศ เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดกลาง ลำต้นมีความสูง 2-3 เมตร ก้านใบนั้นยาว ในก้านหนึ่งนั้นจะมีใบแตกออกเป็น 2 ทาง มีลักษณะคล้ายใบมะยม แต่จะโตและยาวกว่าประมาณ 10-12 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและชุมเห็ดเทศ · ดูเพิ่มเติม »

บุหรงช้าง

หรงช้าง Jing Wang, Chalermglin & R.M.K. Saunders พบครั้งแรกในป่าดิบชื้นของ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและบุหรงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

บุหรงสุเทพ

หรงสุเทพ เป็นพืชในสกุลบุหรง วงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบรูปรี ที่ด้านล่างของใบมีนวลสีขาวดอกมี 3 กลีบ ประกบกันเป็นแท่งสามเหลี่ยม ผลกลุ่มโดยมีผลย่อย 7-8 ผล ทรงกระบอกยาว ออกดอกช่วงเมษายน-มิถุนายน เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 9 เมษายน..

ใหม่!!: พืชดอกและบุหรงสุเทพ · ดูเพิ่มเติม »

บุหรงดอกทู่

หรงดอกทู่ Jing Wang, Chalermglin and R.M.K. Saunders พบในป่าดิบเขาของ อำเภอแม่ฟ้าหลวง และอำเภอเมืองเชียงรายเป็นไม้พุ่ม สูง 4-6 เมตร ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน เนื้อใบหนา ด้านบนใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างมีนวลแป้งสีขาวเคลือบ ดอกออกที่ปลายยอด สีเหลืองอ่อน ดอกบานเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคมของทุกปี.

ใหม่!!: พืชดอกและบุหรงดอกทู่ · ดูเพิ่มเติม »

บุหงาส่าหรี

หงาส่าหรี หรือ บุหงาบาหลี (Chinese Rose) เป็นไม้ต้นขนาดเล็กอยู่ในวงศ์ Verbenaceae สูง 3-10 เมตร ทรงพุ่มโปร่ง แตกกิ่งก้านจำนวนมาก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 6-8 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและบุหงาส่าหรี · ดูเพิ่มเติม »

บุหงาเกาะช้าง

หงาเกาะช้างหรือบุหงาเถา เป็นพืชใน วงศ์ Annonaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเดี่ยว ด้านบนของใบหยาบกร้าน ด้านล่างมีนวลสีขาวเกาะฉาบอยู่ ดอกเดี่ยว มีกลีบ 6 กลีบ เรียงสองชั้น กลีบชั้นในประกบเป็นทรงสามเหลี่ยมแหลม กลิ่นหอมแรง ผลกลุ่ม ผลย่อยเป็นรูปรี ออกดอกเดือนมีนาคม – เมษายน ใช้เป็นไม้ประดับ พบครั้งแรกที่เกาะช้าง จังหวัดตราด โดย A. Marcan ชาวอังกฤษ ลักษณะใกล้เคียงกับบุหงาเซิง บุหงาเกาะช้างหรือบุหงาเถา เป็นไม้เถาเนื้อแข็งเลื้อยได้ไกล 4-6 เมตร มีเปลือกเรียบสีน้ำตาลอมเทา มีช่องอากาศสีขาวตามกิ่งบิดเวียนไปตามยาว เนื้อไม้เหนียว ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 5-6 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและบุหงาเกาะช้าง · ดูเพิ่มเติม »

บุหงาเซิง

หงาเซิง เป็นพืชใน วงศ์ Annonaceae เป็นไม่พุ่มรอเลื้อย ใบเดี่ยว ด้านล่างของใบมีนวลจับอยู่ ดอกเดี่ยว มีกลีบ 6 กลีบ เรียงสองชั้น กลีบชั้นในประกบเป็นทรงสามเหลี่ยมแหลม กลิ่นหอมแรง ผลกลุ่ม มีผลย่อย 8-12 ผล ออกดอกช่วงมกราคม – สิงหาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์เมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและบุหงาเซิง · ดูเพิ่มเติม »

บุนนาค

นนาค หรือ สารภีดอย หรือ นาคบุตร เป็นไม้ยื้นต้น เนื้อแข็ง ดอกหอม อยู่ในวศ์เดียวกันกับส้มป่องและติ้วแดง พบได้ในอินเดียและศรีลังก.

ใหม่!!: พืชดอกและบุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

บูเตีย

ูเตีย (jelly palm) เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) มีถิ่นกำเนิดในอุรุกวัย อาร์เจนตินาและบราซิล นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ บูเตียเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30-40 เซนติเมตร ใบรูปขนนก ทางใบยาว 2-3 เมตร คอต้นและใบย่อยมีสีเขียวอมน้ำเงิน ก้านใบยาว 1 เมตร ขอบก้านใบมีหนามแข็ง ช่อดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกระหว่างกาบใบ ยาว 1.5 เมตร ผลกลมรี ขนาด 2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีส้ม รับประทานได้ โดยจะมีรสชาติเหมือนแอปเปิลผสมกับกล้วย ทานได้ทั้งแบบสดและแบบแปรรูปเป็นแยมหรือเยลลี.

ใหม่!!: พืชดอกและบูเตีย · ดูเพิ่มเติม »

ชีอา

มล็ดชีอา เครื่องดื่มทำจากชีอาในเม็กซิโก ชีอา (chia) หรือ ชิอา (chía) เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae พบในเม็กซิโกและกัวเตมาลา เมล็ดมีน้ำมันใช้สกัดน้ำมัน น้ำมันในเมล็ดมีโอเมกา 3 สูง ช่วยลดคอเลสเทอรอลและไตรกลีเซอไรด์ได้.

ใหม่!!: พืชดอกและชีอา · ดูเพิ่มเติม »

บีตรูต

ีตรูต หรือชื่ออื่นเช่น ผักกาดฝรั่ง ผักกาดแดง เป็นหัวพืชหรือรากที่สะสมอาหารที่อยู่ใต้ดิน เป็นพืชเมืองหนาวและเป็นผักเพื่อสุขภาพ มีวิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระหลายชน.

ใหม่!!: พืชดอกและบีตรูต · ดูเพิ่มเติม »

ชงโค

งโค มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของประเทศจีนรวมถึงฮ่องกงและทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ดังนี้: ชงโค เสี้ยวเลื่อย (ภาคใต้), เสี้ยวดอกแดง (ภาคเหนือ), เสี้ยวหวาน (แม่ฮ่องสอน) กะเฮอ สะเปซี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ในสหรัฐอเมริกานิยมปลูกกันที่รัฐฮาวาย, รัฐแคลิฟอร์เนีย, ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐฟลอริดา และทางตอนใต้ของรัฐเทกซัส ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายที่ระบายน้ำดี มีความชื้นสูง.

ใหม่!!: พืชดอกและชงโค · ดูเพิ่มเติม »

ชงโคนา

งโคนา หรือชงโคขี้ไก่ หรือส้มเสี้ยว (कठमूली / झिंझेरी; अपटा / सोना / श्वेत-कांचन; ஆத்தி atti / தாதகி tataki; അരംപാലി arampaali / കുടബുളി kutabuli / മലയത്തി malayaththi; తెల్ల ఆరెచెట్టు tella arecettu.; ಅಪ್ತಾ / ಅರಳುಕದುಮನ್ದರ; banraji, banraj; Gul-e-anehnal; และयमलपत्रक / युग्मपत्र) จัดเป็นพืชสมุนไพรและมีความสำคัญทางศาสนา เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม ในรัฐมหาราษฏระ ใช้ใบของชงโคนามาแลกเปลี่ยนกันในเทศกาลทุศเสหระ ซึ่งมีความหมายถึงการมอบพระผู้เป็นเจ้าให้แก่กัน นอกจากนั้น ในอินเดียยังใช้ใบชงโคนาเป็นส่วนผสมในบุหรี่พื้นเมือง.

ใหม่!!: พืชดอกและชงโคนา · ดูเพิ่มเติม »

บ๊วย (Rosaceae)

วย (Chinese plum, Japanese apricot; ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus mume) เป็นผลไม้ที่อยู่ในสกุล Prunus มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน และพบในไต้หวัน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม และลาว ในประเทศไทยนิยมปลูกบริเวณภาคเหนือของไทย เช่น ดอยอ่างขาง ในโครงการหลวง โดยนำพันธุ์มาจากไต้หวันและญี่ปุ่น ใบขนาดเล็ก สีเขียวอมเทา ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอกมีกลิ่นหอม สีขาวหรือชมพู ผลเล็ก ทรงกลม เมื่ออ่อน ผลสีเขียว เมื่อสุกสีเหลิอง เนื้อนิ่ม รสเปรี้ยวอมหวาน เมล็ดแข็ง.

ใหม่!!: พืชดอกและบ๊วย (Rosaceae) · ดูเพิ่มเติม »

ช่อกินรี

อกินรี อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก กลีบดอกเชื่อมติดกันปลายแยกเป็น 3 แฉก สีเหลืองอมเขียว เหง้าและต้นสด ทุบละเอียดใช้รักษาแผล.

ใหม่!!: พืชดอกและช่อกินรี · ดูเพิ่มเติม »

ช่อครามน้ำ

อครามน้ำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Pontederia cordata Linn., ชื่อสามัญ: Pickerelweed)เป็นพืชน้ำและพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ พบในที่ลุ่มน้ำท่วมขังและบริเวณริมทะเลสาบตั้งแต่แคนาดาตะวันออกไปจนถึงทางใต้ของอาร์เจนตินา รูปร่างของใบมีได้หลากหลายทั้งระหว่างประชากร และภายในประชากรเดียวกัน.

ใหม่!!: พืชดอกและช่อครามน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ช้อยนางรำ

้อยนางรำ หรือ ช่างรำ นางรำ อยู่ในวงศ์ถั่ว เป็นไม้พุ่ม มีรากสะสมอาหารอยู่ใต้ดิน เปลือกลำต้นเมื่อแก่เป็นสีน้ำตาล เมื่ออ่อนเป็นสีเขียว ใบเดี่ยวรูปไข่ เส้นกลางใบสีขาวนวล ที่โคนก้านใบมีหูใบสองอัน ดอกช่อ ดอกย่อยสีม่วงแกมขาว ผลเป็นฝักแบน มีเมล็ดสีดำแบน 2-6 เมล็ด ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่ามีฤทธิ์ทางเมตตามหานิยม เมื่อมีเสียงดัง หูใบของพืชชนิดนี้กระดิกได้.

ใหม่!!: พืชดอกและช้อยนางรำ · ดูเพิ่มเติม »

ช้องนาง

้องนางเป็นพืชล้มลุกหลายฤดูและเป็นพืชท้องถิ่นในแอฟริกาตะวันตกและเอเชีย ทรงพุ่มสูงประมาณ 2.5 เมตร กลีบดอกสีม่วงหรือฟ้าเข้ม ส่วนที่ติดกันเป็นหลอดมีเหลือง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พรรณไม้ในวรรณคดี หมวดหมู่:วงศ์เหงือกปลาหมอ ช้องนาง เป็นไม้พุ่มเล็ก แตกกิ่งก้านมาก สูงประมาณ 6 ฟุต ใบคล้ายใบแก้ว ใบมนปลายแหลมยาวประมาณ 3 นิ้ว ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง ดอกเป็นรูปแตร ปลายดอกผายออกเป็น 5 แฉก ในดอกตรงกลางมีตาสีเหลือง ดอกสีม่วง และยังมีชนิดดอกสีขาวเรียกว่าช้องนางขาว ดอกยาวประมาณ 2 นิ้ว ช้องนางมีถิ่นกำเนิดอยู่ในแอฟริกา ในเมืองไทยมีหลายชนิด เช่น T.affinis S. Moor เรียกว่า ช้องนาง T.erecta T. Anders เรียกช้องนางเล็ก และชนิด T.erecta var.

ใหม่!!: พืชดอกและช้องนาง · ดูเพิ่มเติม »

ช้องแมว

้องแมว (Wild sage) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันกับคู่ มีลักษณะเป็นรูปไข่ ยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ปลายใบมน ดอกมีสีเหลืองออกเป็นช่อตามกิ่งข้าง โดยออกจากซอกของใบประดับซึ่งเรียงซ้อนกัน และดอกจะห้อยลงกลับหัว ตัวใบประดับมีสีเขียวอมเหลืองมีสีแดงประอยู่เป็นจุด ที่โคนกลีบติดกันเป็นรูปหลอด กลีบดอกแยกกันที่ปลายของหลอดดอก ช้องแมวจะออกดอกในช่วง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม การขยายพันธุ์ใช้วิธีปักชำ ตอน.

ใหม่!!: พืชดอกและช้องแมว · ดูเพิ่มเติม »

ช้ามะขามป้อม

้ามะขามป้อม หรือแขนงพร้อย เป็นไม้ในสกุลมะขามป้อม วงศ์ Euphorbiaceae เป็นไม้พุ่มขึ้นตามซอกหิน เปลือกลำต้นแตกเป็นรอยเล็กๆ แตกกิ่งจำนวนมาก ใบประกอบแบบขนนก ออกดอกที่ซอกใบตามกิ่ง ผลกลม มีสามพู ออกดอกเดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน เป็นพืชที่ทนต่อลมทะเลและไอเกลือ พบครั้งแรกที่ชายทะเลอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: พืชดอกและช้ามะขามป้อม · ดูเพิ่มเติม »

ช้างกระ

้างกระ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhynchostylis gigantea (Lindl.) Ridl.) หรือชื้อพื้นเมืองว่า เอื้องต๊กโต มีลักษณะ ใบหนา แข็ง ยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตร กว้างประมาณ 5-7 เซนติเมตร ปลายใบเป็นแฉก 2 แฉก มน และสองแฉกของใบไม่เท่ากัน รากเป็นรากอากาศ มีขนาดใหญ่ ปลายรากมีสีเขียว ช่อดอกเป็นรูปทรงกระบอกโค้งลง ช่อดอกยาวประมาณ 20-40 เซนติเมตร มีดอกแน่นช่อ ช่อละ 25-60 ดอก ขนาดดอกประมาณ 2.5-3.0 เซนติเมตร กลีบนอกคู่ล่างกว้างยาวพอๆ กันกับกลีบนอกบน ส่วนกลีบในเรียวกว่ากลีบนอก เดือยดอกอยู่ในลักษณะเหยียดตรงไปข้างหน้า ปลายแผ่นปากหนา แข็งและปลายสองข้างเบนเข้าหากัน ปลายปากมี 3 แฉก สองแฉกข้างมน แฉกกลางมนและมีขนาดเล็กกว่ามาก ใกล้โคนปากด้านบนมีสันนูนเตี้ยๆ 2 สัน ดอกมีกลิ่นหอมฉุน หอมไกล และเป็นพันธุ์ไม้หายากชนิดหนึ่ง ฤดูกาลออกดอกในช่วง เดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพัน.

ใหม่!!: พืชดอกและช้างกระ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างร้องไห้

้างร้องไห้ หรือ ช้างไห้ เป็นปาล์มหนึ่งในสองชนิดที่อยู่ในสกุลช้างร้องไห้ (Borassodendron) กระจายพันธุ์ในตอนใต้ของพม่า ไทย และคาบสมุทรมลายู ปัจจุบันมีจำนวนลดลงเนื่องจากมีการรุกล้ำป่าไม้และการทำเหมืองหินปูน.

ใหม่!!: พืชดอกและช้างร้องไห้ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างสารภี

ช้างสารภีหรือเอื้องเจ็ดปอย เป็นกล้วยไม้ในสกุลช้างสารภี ดอกสีเหลืองอมน้ำตาล มีลายสีน้ำตาล กลีบเลี้ยงและกลีบดอกเท่ากัน ออกดอกช่วงเดือนตุลาคมถึงมกราคม ในประเทศไทยพบตั้งแต่ภาคเหนือ ภาคอีสานจนถึงภาคใต้ โดยพบที่จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง สกลนคร กาญจนบุรี และสตูล หมวดหมู่:สกุลช้างสารภี.

ใหม่!!: พืชดอกและช้างสารภี · ดูเพิ่มเติม »

ช้าแป้น

้าแป้น หรือ ผ้าลาย หูควายใหญ่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Verbenaceae ลำต้นสีเทาอมเขียวอ่อน ยอดกิ่งอ่อนเป็นสีน้ำตาลอมเขียว ใบเดี่ยว ใบสีเขียวเหลือบเป็นมัน หลังใบมีขนสั้นนุ่ม ดอกช่อ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ สีชมพูอมม่วง ช่อดอกเป็นทรงครึ่งวงกลม บานพร้อมกันทุกดอกในช่อ ผลเดี่ยว กลม ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีดำ เมล็ดมีอันเดียว เปลือกต้มน้ำดื่ม และนั่งแช่ ช่วยบรรเทาอาการอัมพฤกษ์เบื้องต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและช้าแป้น · ดูเพิ่มเติม »

ช้าเลือด

้าเลือด เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อยในวงศ์ Verbenaceae ลำต้นขาวอมเทา ผิวเรียบ ลำต้นอ่อนสีน้ำตาล มีจุดสีขาวเล็กน้อย ใบเดี่ยว เหนียว ไม่ลื่นมือ ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมเขียว ผลเดี่ยวกลมเมื่ออ่อนสีเขียว สุกมีสีดำ มีเมล็ดแข็งเพียงอันเดียว ผิวเรียบเป็นมัน ใบใช้ห้ามเลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและช้าเลือด · ดูเพิ่มเติม »

ฟล็อกซ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พืชดอกและฟล็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟักข้าว

ฟักข้าว เป็นไม้เลื้อยตามต้นไม้หรือตามรั้วบ้าน โดยมีชื่อเรียกกันต่างไป เช่น ขี้กาเครือ (ปัตตานี) ผักข้าว (ตาก ภาคเหนือ) มะข้าว (แพร่) เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและฟักข้าว · ดูเพิ่มเติม »

ฟักแม้ว

ฟักแม้ว, มะระแม้ว, มะระหวาน, มะเขือเครือ หรือ ชาโยเต้ (Chayote; ชื่อวิทยาศาสตร์ Sechium edule) เป็นไม้เถาวงศ์แตง (Cucurbitaceae) ผลและยอดอ่อนรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและฟักแม้ว · ดูเพิ่มเติม »

ฟักเขียว

ฟักเขียว หรือ ฟักแฟง (winter melon) หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า "ฟัก" เป็นผักพื้นบ้านพืชล้มลุกจำพวกไม้เถาตระกูลแตงลำ ใบสีเขียวลักษณะหยักหยาบ ดอกมีสีเหลือง ผลกลมยาวมีนวลขาว ปลูกกันมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชียใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและฟักเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าทะลายโจร (พืช)

ฟ้าทะลายโจร ((Burm.f.) Wall ex Nees.) เป็นพืชล้มลุกฤดูเดียว ในตระกูล Acanthaceae มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา โดยในตำรายาโบราณของไทย จัดให้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่สามารถหามารับประทานแก้โรคได้เอง สูงประมาณ 30-70 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและฟ้าทะลายโจร (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

พญากาสัก

ญากาสัก อยู่ในวงศ์ Leeaceae เป็นไม้พุ่ม รากขนาดใหญ่ อ้วนคล้ายมันสำปะหลัง ลำต้นสีเขียว ใบเดี่ยว นูนตามเส้นใบ เนื้อใบหยาบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเขียวอมเหลือง ผลกลม เมล็ดขนาดเล็ก ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่าช่วยให้คงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: พืชดอกและพญากาสัก · ดูเพิ่มเติม »

พญายอ

ญายอ หรือ เสลดพังพอนตัวเมีย มีชื่อท้องถิ่นหรือชื่ออื่นอีก คือ: ผักมันไก่ ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม่) พญาปล้องดำ (ลำปาง) พญาปล้องทอง (ภาคกลาง) ลิ้นมังกร โพะโซ่จาง (กะเหรี่ยง)และ พญายอ (แม่ฮ่องสอน) เสลดพังพอนมีชื่อพ้องกัน คือ เสลดพังพอนตัวผู้ และเสลดพังพอนตัวเมีย แต่ต่างกันที่เสลดพังพอนตัวผู้มีหนาม สรรพคุณอ่อนกว่าเสลดพังพอนตัวเมีย เพื่อไม่ให้สับสนจึงเรียกเสลดพังพอนตัวเมียว่า "พญายอ" ส่วนมากนำมาทำเป็นยาสมุนไพรไทยจัดอยู่ในกลุ่มพืชถอนพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและพญายอ · ดูเพิ่มเติม »

พญาสัตบรรณ

ญาสัตบรรณ หรือ สัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 12-20 เมตร อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีถิ่นดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบได้ทุกภาคในประเทศไทย ประไพรัตน์ สีพลไกร.

ใหม่!!: พืชดอกและพญาสัตบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พญาหัวเดียว

ญาหัวเดียว วงศ์ Amaryllidaceae เป็นไม้ล้มลุกมีหัวใต้ดินแบบหัวหอม ผิวด้านนอกสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ปลายใบแหลม โคนใบสีแดงเรื่อ ดอกเดี่ยว สีเหลืองเข้ม ผลเป็นฝัก ผลแก่สีน้ำตาล เมล็ดสีดำ กลมแบน ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าทำให้คงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: พืชดอกและพญาหัวเดียว · ดูเพิ่มเติม »

พญาดง

ญาดง อยู่ในวงศ์ Polygonaceae พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเป็นข้อ ทั้งต้นมีขนปกคลุม ใบเดี่ยว มีหูใบเป็นแผ่นบาง หุ้มเหนือข้อแผ่นใบ ดอกช่อ ช่อดอกย่อยอัดแน่น มีขนปกคลุม ดอกย่อยขนาดเล็กสีขาว ก้านดอกสั้นหรือไม่มี โคนก้านดอกมีกาบหุ้มหลายชั้น ชั้นนอกมีขนเล็กน้อย ชั้นในบาง กลีบรวมสีขาว เชื่อมติดกันที่ฐาน เกสรตัวผู้ 10 อัน อับเรณูสีม่วง ผลมีสัน ทรงสามเหลี่ยม มีกลีบรวมที่ติดทนและฉ่ำน้ำ ยอดอ่อนรับประทานสดกับน้ำพริก ลำต้นนำไปต้มเป็นอาหารเลี้ยงหมู.

ใหม่!!: พืชดอกและพญาดง · ดูเพิ่มเติม »

พญาคชราช

ญาคชราช หรือ หูปอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Talipariti macrophyllus (Roxb. Ex Hornem.) Fryxell หรือ Hibiscus macrophyllus) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 15-60 เมตร สามารถนำเนื้อไม้มาใช้ประโยชน์ได้ โดยเนื้อไม้จัดอยู่ในชั้นไม้คุณภาพปานกลางหรือเกรดบี มีความหนาแน่น ประมาณ 630 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เนื้อไม้คล้ายไม้สักทอง แต่เป็นไม้ที่มดมอดปลวกชอบกิน ระยะเวลาปลูกถึงตัดใช้งานได้อยู่ที่ 10 ปี.

ใหม่!!: พืชดอกและพญาคชราช · ดูเพิ่มเติม »

พญาไร้ใบ

ญาไร้ใบ เป็นพืชในวงศ์ Euphorbiaceae กิ่งอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาล กิ่งกลม อวบน้ำ ใบเดี่ยว ขนาดเล็กมากจนเหมือนไม่มีใบ ออกตามลำต้น ทำให้เห็นแต่ลำต้นเป็นสีเขียว มียางขาว ดอกออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายยอด ดอกสีขาวอมเหลือง มีขน พญาไร้ใบเป็นพืชมีพิษ ยางทำให้เกิดผื่นคัน บวมแดง รับประทานจะทำให้ปากขม คลื่นไส้ ทางเดินอาหารอักเสบอย่างรุนแรงและถ่ายเป็นเลือด ยางเข้าตาทำให้ตาบอด ยางใช้กำจัดหูด แต้มหัวริดสีดวงทวาร ใช้เป็นยาสมุนไพรในมาเลเซีย มีสารที่กดระบบภูมิคุ้มกันและส่งเสริมการเจริญของเนื้องอก และอาจนำไปสู่การเกิดมะเร็งได้ ไฟล์:Euphorbia tirucalli Blanco1.210b.png|Habit ไฟล์:Euphorbia tirucalli 'Sticks on Fire' Plant 3264px.jpg|'Sticks-on-fire' ไฟล์:Euphorbia tirucalli, Flora of Tanzania 4532 Nevit.jpg|ต้นเต็มวัยในแทนซาเนี.

ใหม่!!: พืชดอกและพญาไร้ใบ · ดูเพิ่มเติม »

พยับหมอก

ับหมอก (cape leadwort, white plumbago) หรือ เจตมูลเพลิงฝรั่ง เป็นพืชในวงศ์ Plumbaginaceae มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาใต้ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มค่อนข้างโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 เซนติเมตร ยาว 5-7 เซนติเมตร ปลายใบมน โคนใบเรียวแหลม ผิวใบด้านบนสีเขียวสด ผิวใบด้านล่างมีขนอ่อน สากระคายมือ ดอกสีขาวปนฟ้าอมเทา ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง กลางกลีบดอกคล้ายกับเป็นร่อง โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดเล็ก มีรยางค์เล็ก ๆ ยื่นออกมา ปลายแยกเป็น 5 แฉก เมื่อบานเต็มที่กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร พยับหมอกนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ทุกส่วนของพยับหมอกมีสารพลัมบาจิน (plumbagin) ซึ่งมีคุณสมบัติต้านเชื้อจุลินทรีย์ ต้านมะเร็งและบำรุงหัวใจ แต่หากถูกผิวหนังจะทำให้พุพอง.

ใหม่!!: พืชดอกและพยับหมอก · ดูเพิ่มเติม »

พรมกำมะหยี่

รมกำมะหยี่ ((Hook.) Hanst) เป็นพืชท้องถิ่นในโคลัมเบีย เวเนซุเอลา เปรู บราซิล ใบย่น สีน้ำตาลแดง เส้นใบสีเทาเงิน ดอกสีแดง รูปกรวย แบ่งย่อยได้อีกหลายพันธุ์ นิยมปลูกเป็นไม่คลุมดินหรือปลูกในกระถางแขวน.

ใหม่!!: พืชดอกและพรมกำมะหยี่ · ดูเพิ่มเติม »

พรมมิ

รมมิ (Indian pennywort, brahmi) เป็นพืชอายุหลายปี อยู่ในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) พบขึ้นตามริมน้ำและที่ชื้นแฉะทั่วไป.

ใหม่!!: พืชดอกและพรมมิ · ดูเพิ่มเติม »

พรมออสเตรเลีย

รมออสเตรเลีย (Nerve plant) เป็นไม้ล้มลุก แบบไม้คลุมดินในวงศ์เหงือกปลาหมอ ต้นสูงประมาณ 10 - 15 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและพรมออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

พรหมขาว

รหมขาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์กระดังงา ใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน ผลกลุ่ม เปลือกผลย่อยเป็นปุ่มขรุขระ ผลเป็นทรงกระบอก โค้งงอ ออกดอกเดือนมีนาคม – เมษายน พบครั้งแรกโดยโรบินสัน ชาวอังกฤษ เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและพรหมขาว · ดูเพิ่มเติม »

พระจันทร์ครึ่งซีก

ระจันทร์ครึ่งซีก.

ใหม่!!: พืชดอกและพระจันทร์ครึ่งซีก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าห้าพระองค์ (พืช)

ระเจ้าห้าพระองค์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dracontomelon dao (Blanco) Merr. & Rolfe) เป็นไม้ยืนต้น สูง 25–40 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก รูปรีกว้าง มีใบ 6-9 คู่ เมื่อต้นโตเต็มที่จะให้ร่มเงาดีมาก ดอก เป็นสีเหลืองปนเขียว “ผล” รูปกลมรีเล็กน้อย แบ่งเป็นพู 5 พู แต่ละพูจะมีรูปคล้ายพระเรียงรอบผลห้าองค์ มีสรรพคุณเป็นสมุนไพร โดยใช้ ผล ฝนกับหินลับมีด หรือ หินฝนยาสมุนไพร ผสมกับน้ำให้ข้นแล้วเอาน้ำที่ฝนได้ทารักษาบริเวณที่เป็น “หิด” หรือแก้พิษสัตว์ต่อย ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่ามีฤทธิ์ทางคงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: พืชดอกและพระเจ้าห้าพระองค์ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

พริกขี้หนู

ริกขี้หนู อยู่ในวงศ์ Solanaceae มีลักษณะเป็นไม้ต้น ความสูง 30-120 cm ใบมีลักษณะแบนและเรียบมัน ผลมีขนาดเล็กเรียวยาวประมาณ 2-3 ซ.ม. เมื่อดิบผลมีสีเขียวเข้ม เมื่อสุกจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีแดง มีรสเผ็ดจัด นิยมใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารไทยหลากหลายชนิด ชื่อในภาษาอังกฤษมีหลายชื่อ ได้แก่ Chilli Padi, Bird's Eye Chilli, Bird Chilli, Thai pepper ผลมีรสเผ็ดร้อน ใช้ขับลม ขับปัสสาวะ แก้ท้องอืด ผลดองสุราใช้ทาแก้ฟกช้ำดำเขียว ต้นมีรสเผ็ด ใช้ขับลม แก้กษัย รากใช้ฝนกับมะนาวแทรกเกลือ เป็นยากวาดคอ ใบใช้แก้หวัด ตำใบสดผสมกับดินสอพองพอกขมับแก้ปวดศีรษะได้.

ใหม่!!: พืชดอกและพริกขี้หนู · ดูเพิ่มเติม »

พริกนกหมอคาร์

souritha พริกนกหมอคาร์ เป็นพืชในสกุลพริกนก วงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกออกตามซอกใบ ผลกลุ่ม ผลย่อยขนาดกลม ออกดอกหมุนเวียนทั้งปี เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกที่เขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย Beuskom ชาวเนเธอร์แลนด์ ร่วมกับ ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและพริกนกหมอคาร์ · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษศาสตร์

ผลจันทน์เทศ (''Myristica fragrans'') พฤกษศาสตร์ หรือ ชีววิทยาของพืช หรือ วิทยาการพืช,พืชศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับพืชและการเจริญเติบโต พฤกษศาสตร์มีขอบเขตการศึกษาที่กว้างขวางครอบคลุมตั้งแต่พืช สาหร่าย และเห็ดรา ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างกลุ่มต่าง ๆ การศึกษาทางด้านพฤกษศาสตร์เริ่มต้นจากความรู้ที่สืบต่อกันมา จากการจำแนกพืชที่กินได้ พืชสมุนไพรและพืชมีพิษ เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ จากความสนใจในเรื่องพืชของบรรพบุรษทำให้ปัจจุบันจำแนกสิ่งมีชีวิตในด้านพฤกษศาสตร์มากกว่า 550,000 ชนิดหรือสปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและพฤกษศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษ์

กษ์, ซึก, มะรุมป่า หรือ จามจุรีทอง (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เรียกว่า จามจุรี) เป็นพืชวงศ์ถั่ว เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีเทาเข้มหรือสีน้ำตาล แตกเป็นร่อง ใบประกอบ ดอกออกเป็นช่อกระจุก เกสรตัวผู้เป็นพู่จำนวนมาก ผลเป็นฝัก ผิวเกลี้ยงเป็นมัน ภายในมีเมล็ดแบน ๆ จำนวนมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พลองเหมือด

ลองเหมือด หรือเหมือดแอ่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Memecylaceae แตกเป็นร่องตามยาวของลำต้น สีน้ำตาลถึงดำ ใบเดี่ยว เนื้อใบหนา ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ มีฐานรองดอกรูปถ้วย กลีบดอกสีม่วงหรือน้ำเงินเข้ม อับเรณูโค้งคล้ายอักษร J ผลกลมเมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีม่วงเข้ม ผลมีรสฝาดหวาน รับประทานเป็นผลไม้ รากหรือลำต้นใช้ต้มรักษาโรคกระเพาะอาหาร หรือต้มผสมกับยาอื่น รักษาโรคหืด ใบเมื่อนำมาเคล้ากับพริกแล้วตากแดดช่วยให้พริกสีสด ป้องกันไม่ให้แมลงมาเจาะพริกแห้ง กิ่งและลำต้นทำเป็นน้ำด่างใช้แช่ไหมและฝ้ายก่อนย้อม สามารถสกัดสีเหลืองออกมาได้.

ใหม่!!: พืชดอกและพลองเหมือด · ดูเพิ่มเติม »

พลับ

ลับ (Persimmon) เป็นพืชในสกุล Diospyros ซึ่งมีอยู่หลายสปีชีส์ด้วยกัน สปีชีส์ที่นิยมปลูกในประเทศไทยมากที่สุดคือ D.kaki ญี่ปุ่นเรียกว่าคาขิ ถิ่นกำเนิดอยู่ในภาคเหนือของจีน มีการรับประทานพลับตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นและถือเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า ต่อมาได้กระจายพันธุ์เข้าไปในญี่ปุ่น และกลายเป็นผลไม้ยอดนิยม พลับพันธุ์ที่นิยมปลูกในยุโรปเป็นสปีชีส์ D. virginia ซึ่งนำพันธุ์มาจากสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและพลับ · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลา (พืช)

ลับพลาหรือพลองส้ม กะปกกะปู หลายหรือหมากกอม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Tiliaceae หรือ Malvaceae ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกสีน้ำตาลเข้มจนออกดำ ลำต้นเรียบมีสะเก็ดเล็กน้อย อาจมีพูพอน เปลือกมีความเหนียว ลอกออกได้ ใบเดี่ยว สีเขียว มีขนเป็นหนามแข็ง และขนสั้นสีน้ำตาลปกคลุม ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ กลีบดอกสีเหลืองอมเทาหรือสีเหลืองอ่อน เกสรตัวผู้สีเหลืองจำนวนมาก ผลเดี่ยว เมล็ดเดียวแข็ง กลม สีเขียวมีขนสั้นปกคลุม เปลือกผลเหนียว แก่แล้วผิวเป็นสีดำ มีเมล็ดแข็งเพียงเมล็ดเดียว มีเส้นใยหุ้มเมล็ด กระจายพันธุ์ตั้งแต่ศรีลังกา อินเดีย และเกาะชวา ใบนำมามวนยาสูบ เนื้อไม้เหมาะสำหรับทำตู้ เปลือกมีเส้นใยมาก ใช้ทำเชือกได้ ผลรับประทานได้ ในอินเดียใช้รักษาอาการอาหารไม่ย่อย แก้ไทฟอยด์ ท้องเสีย และแผลในปาก ไต้หวันใช้ใบชงน้ำดื่มแก้อาหารไม่ย่อย ในอินโดจีนนำใบมาย่างไฟแล้วต้มน้ำดื่มเป็นยาขับพยาธิ ทางภาคใต้ของไทย แก่นใช้ผสมกับตัวยาอื่นๆ ต้มน้ำดื่ม แก้หื.

ใหม่!!: พืชดอกและพลับพลา (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลึง

ลับพลึง เป็นพรรณไม้ล้มลุกขึ้นเป็นกอ และมีหัวอยู่ใต้ดิน พบได้ในจีน, ฮ่องกง, อินเดีย และ ญี่ปุ่น มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆคือ ลิลัว (ภาคเหนือ), พลับพลึง (ภาคกลาง), วิรงรอง (ชวา) ในใบและหัวพลับพลึงมีสารไลโคริน รับประทานจะทำให้อาเจียน ท้องร่วงอย่างแรง.

ใหม่!!: พืชดอกและพลับพลึง · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลึงธาร

ลับพลึงธาร หรือ หอมน้ำ (อังกฤษ: Onion plant, Thai onion plant, Water onion) พืชน้ำชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crinum thaianum อยู่ในวงศ์พลับพลึง (Amaryllidaceae) จัดเป็นพืชอวบน้ำ ดอกมีสีขาว มี 6 กลีบ ในก้านชูดอกหนึ่งๆ จะมีหลายก้านดอก จะทะยอยบานติดต่อกันไป ดอกหนึ่งๆ จะมีก้านเกสร 6 อัน มีเกสรสีเหลืองที่ปลายก้านเกสร ตรงกลางดอกจะมีก้านเกสรตัวเมียโผล่มาจากแกนกลางของดอก หลังจากผสมเกสร กะเปาะเมล็ดจะเจริญเติบโตที่โคนก้านดอก กะเปาะหนึ่งจะมีจำนวนเมล้ดที่ไม่เท่ากัน มีลักษณะบูดเบี้ยวเป็นทรงที่ไม่แน่นอน พอเมล็ดแก่จะหลุดออกจากกะเปาะ พัฒนาสายรกออกด้านใดด้านหนึ่งของเมล็ด ตรงปลายสายรกจะพัฒนาเป็นต้นใหม่และมีรากยึดติดกับพื้นคลอง ในระหว่างที่รากยังไม่สามารถเกาะยึดพื้นคลองได้ เมล็ดจะเป็นแหล่งอาหารให้กับต้นอ่อนได้นาน 3-4 เดือน หัวมีลักษณะคล้ายหัวหอม จึงมีชื่อเรียกว่า "หอมน้ำ" หัวจะโผล่ขึ้นเหนือผิวดินประมาณ 1 ใน 3 เพื่อป้องกันการเน่า ใบจะเป็นสีเขียวเรียวยาวเหมือนริบบิ้น ความยาวขึ้นอยู่กับระดับน้ำ บางพื้นที่ที่น้ำลึกใบอาจจะยาวได้ถึง 4 เมตร พลับพลึงธาร ถือได้ว่าเป็นพืชน้ำที่สวยงามและหายากมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยพบได้เฉพาะที่จังหวัดระนองตอนล่างและพังงาตอนบน ในจังหวัดระนองพบที่คลองนาคา ตำลนาคา อำเภอสุขสำราญ และที่คลองบางปรุ ตำบลกะเปอร์ อำเภอกะเปอร์ ส่วนที่จังหวัดพังงา พบที่คลองตาผุด บ้านห้วยทรัพย์ คลองสวนลุงเลื่อน ตำบลคุระ อำเภอคุระบุรี คลองนายทุย คลองบ้านทับช้าง คลองบ้านโชคอำนวย ตำบลแม่นางขาว อำเภอคุระบุรี และตามคลองย่อยต่างๆ ในเขตรอยต่ออำเภอคุระบุรีและอำเภอตะกั่วป่า เป็นพืชเฉพาะถิ่น ไม่พบที่ใหนในโลก ปัจจุบันพบเหลือแค่ร้อยละ 1 เท่านั้น และพบขึ้นอยู่อย่างกระจัดกระจาย จึงได้ขึ้นเป็นบัญชีพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ของโลก (IUCN Redlist) เมื่อปี..

ใหม่!!: พืชดอกและพลับพลึงธาร · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลึงตีนเป็ด

ลับพลึงตีนเป็ด เป็นพืชตระกูล AMARYLLIDACEAE พบทุกภูมิภาคของประเทศไทย มีหัวอยู่ใต้ดินลำต้นกลมสูงประมาณ 30 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและพลับพลึงตีนเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลึงแดง

ลับพลึงแดง หรือ พลับพลึงดอกแดง เป็นพืชล้มลุกอยู่ในวงศ์ AMARYLLIDACEAE ดอกเป็นสีม่วงแดงและมีขนาดใหญ่กว่าดอกพลับพลึงดอกขาวเล็กน้อยกลีบดอกด้านในออก สีขาวอมชมพู ด้านนอกตรงกลางกลีบเป็นสีม่วงแดงตามขอบกลีบเป็นสีขาว เกสรตัวผู้สีม่วงแดง ขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อ และปักชำหัว ใบนำเอามาย่างไฟ พันแก้ฟกช้ำ บวม เคล็ด ขัดยอก ใช้อยู่ไฟหลังคลอด ต้มรับประทานทำให้อาเจียน มีรสขม ในอินเดียใช้เป็นยาระบาย ขับเสมหะ รักษาโรค เกี่ยวกับน้ำดี เมล็ดเป็นยาระบาย ขับปัสสาวะ เป็นยาบำรุง.

ใหม่!!: พืชดอกและพลับพลึงแดง · ดูเพิ่มเติม »

พลับยอดดำ

ลับยอดดำ เป็นไม้ยืนต้นในสกุลมะพลับ วงศ์ Ebenaceae เปลืกลำต้นสีดำ มีเลนติเซลเป็นขีดนูนชาวตามแนวตั้ง ใบรูปรี เส้นกลางใบด้านบนเป็นร่องลึก ใบหนา ออกดอกตามกิ่ง ผลรูปไข่ ออกดอกเดือนสิงหาคม – ตุลาคม กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกและภาคใต้ พบครั้งแรกที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดย D.J. Collins ชาวอังกฤษ ชื่อสปีชีส์ตั้งให้เป็นเกียรติแก่ผู้ค้น.

ใหม่!!: พืชดอกและพลับยอดดำ · ดูเพิ่มเติม »

พลับจีน

ลับจีน หรือพลับญี่ปุ่น เป็นไม้พุ่มผลัดใบในวงศ์ Ebenaceae ดอกแยกเพศ แยกต้นหรือร่วมต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง เขียวเข้มเป็นมัน ดอกตัวผู้ออกเป็นกระจุกขนาดเล็ก ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ดอกสีเหลืองอมเขียว ผลเนื้อนุ่มกลมแบน สีเขียวอมเหลืองจนถึงสีแดง กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล พลับจีนพันธุ์ "Koushu-Hyakume" พันธุ์ที่ใช้ทำพลับแห้ง พลับจีนเป็นพืชที่เป็นเอกลักษณ์ของจีนในสมัยโบราณ นำไปปลูกในญี่ปุ่น ส่วนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกบ้างเล็กน้อยในเกาะสุมาตรา มาเลเซีย และภาคเหนือของไทย ผลรับประทานได้ ใช้ทำไอศกรีม เยลลี่ พันธุ์ที่มีรสฝาดใช้ทำพลับแห้ง แทนนินจากพลับจีนใช้เป็นสีทาผ้าหรือกระดาษ ความฝาดในผลพลับจีนเกิดจากแทนนินในเนื้อผล การแช่แข็งทำให้ความฝาดหมดไปเพราะเซลล์จะปล่อยแทนนินมาจับกับโปรตีนในผล เมื่อรับประทานผลดิบจะรู้สึกแห้งในปากเพราะแทนนินจะจับกับโปรตีนในปาก พลับจีนมีโพแทสเซียมและวิตามินเอสูง ผลพลับผ่าแสดงภายในผล.

ใหม่!!: พืชดอกและพลับจีน · ดูเพิ่มเติม »

พลัม

ลัม หรือ ไหน เป็นไม้ผลที่มีผลแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง อยู่ในสกุล Prunus สกุลย่อย Prunus ซึ่งเป็นสกุลย่อยที่ต่างจากสกุลย่อยอื่นๆ (ลูกท้อ, เชอร์รี่, อื่นๆ) ตรงหน่อมีตายอดและตาข้างเดี่ยว (ไม่เป็นกลุ่ม) ดอกออกเป็นกลุ่ม 1-5 ดอกบนก้านสั้นๆ ผลมีร่องยาวด้านข้าง และเมล็ดเรียบ เมื่อผลโตเต็มที่มีมีนวลสีขาวปกคลุม สามารถถูกออกได้ง่าย สารเคลือบนั้นรู้จักกันดีในชื่อ "wax bloom" เมื่อสุกเปลือกสีม่วงอมดำ เนื้อสีเหลือง รสหวานหรือหวานอมเปรี้ยว.

ใหม่!!: พืชดอกและพลัม · ดูเพิ่มเติม »

พลัมยุโรป

ลัมยุโรป (Prunus domestica บางครั้งเป็น Prunus × domestica) เป็นพืชในสกุล Prunus ที่มีหลากหลายพันธุ์ บ่อยครั้งมักเรียกว่า "พลัม"เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและพลัมยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

พลู (พืช)

ำหรับความหมายอื่น ดูที่: พลู พลู เป็นพืชชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์พริกไทย (Piperaceae) พลูเป็นไม้เลื้อย ที่ข้อมีรากสั้น ๆ ออกรอบข้อใช้เกาะติดไม้ใหญ่ มีเนื้อไม้ขนาดเล็กจึงไม่จัดเป็นไม้ยืนต้น มีข้อและปล้องชัดเจน ใบเดี่ยวติดกับลำต้น ใบเรียงตัวแบบสลับ ลักษณะของใบแหลมคล้ายใบโพ ผิวใบมัน ดอกออกรวมกันเป็นช่อแน่น ปลูกโดยใช้ลำต้นปักชำ ขึ้นง่าย เป็นพืชพื้นเมืองของภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใบของพลูนั้นมีรสเผ็ดร้อน เป็นที่รู้จักกันดีว่านิยมนำมาทากับปูนแดงเคี้ยวร่วมกับหมาก โดยเฉพาะในคนรุ่นก่อน ๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ใบพลูที่มีสีเขียวเข้มมากกว่าใบที่สีออกเหลืองทอง นอกจากนี้แล้วยังใช้ในพิธีมงคลเป็นเครื่องเซ่นไหว้ การทำเครื่องบายศรีสู่ขวัญ คุณค่าทางสารอาหารของพลู ประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหย ได้แก่ ชาวิคอล, ยูจินอล, เบตาซิโตสเตอรอล และซินีออล เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เป็นสมุนไพรแก้ลมพิษ รักษาอาการคัน ในใบพลูมีสารยูจีนอลและชาวิคอล มีฤทธิ์เป็นยาชาและช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต และยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคหลายชนิด จึงมีประโยชน์ในการระงับอาการคันและเจ็บปวดเนื่องจากแมลงกัดต่อย ช่วยฆ่าและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของวัณโรคและเชื้อหนอง และมีฤทธิ์ต้านเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคผิวหนังและกลาก และพบว่าน้ำมันพลูสามารถฆ่าพยาธิไส้เดือนได้ สารเบตาสเตอรอล มีฤทธิ์แก้แพ้ แก้อักเสบ นอกจากนี้ พลูยังมีสรรพคุณใช้แก้การอักเสบของเยื่อจมูกและคอ แก้กลาก แก้ฮ่องกงฟุต แก้คัน แก้ลมพิษ ลนไฟนาบท้องเด็ก แก้ปวดท้องและแก้ลูกอัณฑะยาน เป็นต้น พลูขึ้นพันรอบไม้ยืนต้น พลู มีการปลูกกันเป็นพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย โดยเฉพาะที่ตลาดพลู ฝั่งธนบุรี เริ่มจากชาวอิสลามที่อาศัยอยู่ ณ ที่แห่งนี้มาตั้งแต่ต้นยุครัตนโกสินทร์ จนกลายมาเป็นแหล่งค้าขายพลูแหล่งใหญ่ จนกระทั่งได้ขยายไปยังชาวไทย และชาวจีนด้วย แม้ปัจจุบันความนิยมกินหมากและพลูจะลดน้อยลงไปตามกาลเวลา แต่ก็ยังคงมีพื้นที่ปลูกพลูอยู.

ใหม่!!: พืชดอกและพลู (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

พลูด่าง

ลูด่าง เป็นพืชดอกชนิดหนึ่งในวงศ์ Araceae ซึ่งกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก ตั้งแต่ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น อินเดีย พืชชนิดนี้พบในป่าเขตร้อนทั่วโลก ในบางครั้งอาจเป็นสร้างความเสียหายทางนิเวศวิทยาด้วย พืชชนิดนี้มีหลายชื่อ เช่น Australian native monstera, centipede tongavine, devil's ivy, golden pothos, hunter's robe, ivy arum, money plant, silver vine, Solomon Islands ivy และ taro vine อย่างไรก็ดี บางครั้งพืชชนิดนี้อาจถูกเข้าใจผิดว่าเป็น ฟิโลเดนดรอน.

ใหม่!!: พืชดอกและพลูด่าง · ดูเพิ่มเติม »

พลูแก

ลูแก หรือ พลูกะตอย เป็นพืชในวงศ์ Piperaceae เป็นไม้เถา ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปหัวใจ เมื่อเลื้อยไปกับดินหรือโคนต้น ใบเปลี่ยนเป็นรูปไข่หรือรีแคบเมื่อเกาะติดกับต้นไม้อื่น ช่อดอกออกตรงข้ามกับใบ ช่อดอกเพศผู้ยาวกว่าใบ ริ้วประดับรูปวงกลม ก้านช่อดอกเพศเมียมีขน ใบมีรสเผ็ดร้อนเล็กน้อย ใช้แก้น้ำเหลืองเสีย กามโร.

ใหม่!!: พืชดอกและพลูแก · ดูเพิ่มเติม »

พวงชมพู

วงชมพู หรือ ชมพูพวง เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้เลื้อยดอกสีชมพูหรือขาวมีถิ่นกำเนิดในประเทศเม็กซิโก จัดเป็นพืชรุกรานในฟลอริดา พวงชมพูเป็นไม้เลื้อยโตเร็ว ใบเป็นรูปหัวใจหรือสามเหลี่ยม ดอกเป็นดอกช่อ สร้างหัวใต้ดินและมีไหลขนาดใหญ่ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เมล็ดลอยน้ำได้ แพร่กระจายไปกับสัตว์ที่กินเป็นอาหาร เช่น หมู แรคคูน และนก.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงชมพู · ดูเพิ่มเติม »

พวงฟ้า

วงฟ้า เป็นไม้เลื้อยในสกุลพวงแก้วกุดั่น วงศ์ Ranunculaceae ใบประกอบมีใบย่อยสามใบ ขอบใบเว้าเป็นสามแฉก ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีปุยสีฟ้าอ่อนที่ดอก ปลายกลีบมีเส้นยาว 3-4 เซนติเมตร ออกดอกเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดย J.F. Maxwell เมื่อ 5 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและพวงฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

พวงร้อย

วงร้อยเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและพวงร้อย · ดูเพิ่มเติม »

พวงหยก

วงหยก (Jade vine; Emerald creeper) เป็นไม้เถาเลื้อยยืนต้น เถาใหญ่ เหนียว แตกกิ่งก้านสาขามาก สามารถเลื้อยได้ไกล 3-6 เมตร ใบออกสลับตามข้อต้นเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ใบ ใบกลางรูปมนรี ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ สองใบข้าง ลักษณะเกือบครึ่งวงกลมโค้งงอเข้าหาใบกลาง ดอกมีสีเขียวลักษณะคล้ายดอกแคออกเป็นพวง ห้อยระย้าเบียดกันแน่น ยาวประมาณ 30-90 เซนติเมตร ซึ่งมีอกประมาณ 100 ขึ้นไป ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำหรือตอนกิ่งหรือเพาะเมล็ด นิยมปลูกเป็นไม้เลื้อยขึ้นร้าน ศาลาริมน้ำ รั้วบ้านทางเข้าประตู.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงหยก · ดูเพิ่มเติม »

พวงทองต้น

วงทองต้น (ภาษาอังกฤษ: Galphimia, Gold Shower) หรือดอกน้ำผึ้ง เป็นไม้ต้นเล็ก สูง 1-1.5 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกลม ใบยาวรีแหลม ยาวประมาณ 3 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงทองต้น · ดูเพิ่มเติม »

พวงคราม

วงคราม L.เป็นไม้เลื้อยที่มีเถาใหญ่แข็งแรง กิ่งก้านก็ค่อนข้างแข็ง เถาอ่อนก็มีขนแต่เมื่อเถาแก่ขนก็จะหายไปเปลือกของต้นหรือเถาเป็นสีขาวหรือสีน้ำตาลอ่อนเถา สามารถเลื้อยคลุมต้นไม้อื่นไปได้ไกลมากกว่า 20 ฟุต ใบเดี่ยว เรียงตรงช้าม รูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 5-7 เซนติเมตร ยาว 8-11 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาแข็ง ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจางกว่าและเป็นขุย ออกดอกตลอดปี จะมากช่วงหน้าแล้ง ดอกเป็นช่อสีม่วงคราม มี 5 กลีบ คล้ายรูปดาว 5 แฉก กลีบรูปขอบขนาน ด้านบนของกลีบจะมีขน โคนกลีบดอกเชื่อมต่อกันเป็นหลอด ภายในดอกมีเกสรตัวอยู่ 4-5 อัน มีก้านร่วมกับเกสรตัวเมีย ปลายเกสรตัวเมียมี 3 แฉก พวงครามมักจะออกดอกและบานพร้อมกันเต็มช่อ ดอกค่อนข้างดกและจะบานทนนานได้หลายวันมาก ผลสด ติดอยู่บนกลีบประดับ มีขนนุ่มปกคลุม มี 1 เมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด การตอน และการปักชำกิ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พวงแก้วกุดั่น

วงแก้วกุดั่น เป็นไม้ประดับในสกุลพวงแก้วกุดั่น กระจายพันธุ์ในอินเดีย จีนตอนใต้ อินโดจีน ฟิลิปปินส์ถึงเกาะนิวกินี ลักษณะเป็นไม้เถาอายุหลายปี ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 6-21 เซนติเมตร โคนใบเว้าตื้นหรือคล้ายรูปก้นปิด ก้านใบยาว 3.5-12 เซนติเมตร ดอกมี 10-27 ดอก ก้านดอกยาว 4-10 เซนติเมตร ใบประดับย่อยรูปแถบ 2 อัน ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงมี 4-6 กลีบ ด้านนอกสีน้ำตาล มีขนละเอียด ด้านในสีม่วงอมน้ำเงิน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 1.5-2 เซนติเมตร พับงอกลับ เกสรเพศผู้รูปแถบยาว 0.8-1.6 เซนติเมตร อับเรณูยาว 2-5 มิลลิเมตร ปลายมีรยางค์สั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร ขยายในผลคล้ายหาง ยาว 4-8 เซนติเมตร มีขนยาวนุ่มหนาแน่น ผลรูปรีเบี้ยว ยาว 0.6-1.2 เซนติเมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงแก้วกุดั่น · ดูเพิ่มเติม »

พวงแก้วไทย

วงแก้วไทย เป็นพืชในสกุลพวงแก้วกุดั่น วงศ์พวงแก้วกุดั่น เป็นไม้เลื้อย ใบประกอบ ใบย่อย 3 ใบ ผิวใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก ออกดอกเดือนตุลาคม–พฤศจิกายน เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดย T. Shimizu ชาวญี่ปุ่น ที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติให้แก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงแก้วไทย · ดูเพิ่มเติม »

พวงแก้วเชียงดาว

วงแก้วเชียงดาว หรือ เทพอัปสร เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Ranunculaceae มีขนยาวตลอดลำต้น ใบเดี่ยวออกมากที่โคนต้น ดอกออกตามแกนช่อ บานห่อคว่ำลง ออกดอกเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและพวงแก้วเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

พวงแสด

วงแสด เป็นพืชในวงศ์ Bignoniaceae มีชื่อสามัญอื่น ๆ คือ Orange trumpet, Flame flower, Fire-cracker vine พวงแสด พวงแสดเครือ.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงแสด · ดูเพิ่มเติม »

พวงไข่มุก

ใบและผล พวงไข่มุก (Rehder; ภาษาอังกฤษ:American elder) ทางปราจีนบุรีเรียก ระป่า ทางแพร่เรียก อุนหรืออุนฝรั่ง เป็นไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง สูงได้ถึง 4 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงข้าม ใบย่อย 2-6 คู่ รูปขอบขนานแกมใบหอกหรือรูปไข่แกมใบหอก กว้าง 2-5 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและพวงไข่มุก · ดูเพิ่มเติม »

พอโลเนีย

อโลเนีย (Paulownia) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-20 เมตร ผลัดใบ มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วมาก ต้นอ่อนมีเปลือกสีเขียว มีปุ่มหรือรอยแผลใบทั่วลำต้น ต้นแก่ (อายุมากกว่า 5 ปี) เปลือกเป็นสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่อง เปลือกบางฉีกขาดง่ายไม่ทนไฟ ทำให้ต้นไม้ตายได้ถ้าถูกไฟไหม้ มีรากแก้วตรงและยาวได้ถึง 40 ฟุต รากแขนงและรากฝอยจะอยู่ต่ำกว่าผิวดินประมาณ 4 ฟุต เป็นพืชใบเดี่ยว ใบมีลักษณะเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปหัวใจ มีขนนุ่ม สีเขียวอ่อนด้านหลังใบ ก้านท้องใบไม่มีขน มีเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบชัดเจน ใบมีขนาดโตเต็มที่กว้างได้ถึง 36 นิ้ว ก้านใบยาว ดอกออกเป็นช่อ ขนาดใหญ่ ที่ปลายกิ่งมีสีม่วง ดอกตูมเป็นกระเปาะสีน้ำตาล เป็นดอกสมบูรณ.

ใหม่!!: พืชดอกและพอโลเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พะยอม

อม เป็นไม้ยืนต้นประเภทพืชใบเลี้ยงคู่ชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Dipterocarpaceae พบได้ในกัมพูชา, อินเดีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, ไทย และเวียดนาม มีลักษณะใบที่เรียงสลับกัน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม นิยมนำเนื้อไม้ไปใช้ในการก่อสร้าง ลักษณะคล้ายกับต้นตะเคียน พะยอมมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีก คือ กะยอม (เชียงใหม่) ชะยอม (ลาว) กะยอม (อีสาน) ขะยอมดง พะยอมดง (ภาคเหนือ) แคน (ร้อยเอ็ด) เชียง เชี่ยว (กะเหรี่ยง - เชียงใหม่) พะยอม (ภาคกลาง) พะยอมทอง (สุราษฎร์ธานี ปราจีนบุรี) ยางหยวก (น่าน).

ใหม่!!: พืชดอกและพะยอม · ดูเพิ่มเติม »

พะยูง

ูง เป็นต้นไม้เนื้อแข็งที่เนื้อไม้มีลวดลายสวยงามชนิดหนึ่ง จัดเป็นไม้เศรษฐกิจที่มีราคาสูงอย่างหนึ่งและมีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคล มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกคือ ขะยุง, พยุง, แดงจีน และประดู่เสน พะยูงเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดหนองบัวลำภู พันธุ์ไม้พระราชทาน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พื.

ใหม่!!: พืชดอกและพะยูง · ดูเพิ่มเติม »

พังกาหัวสุมดอกขาว

ังกาหัวสุมดอกขาว หรือขลัก ประสักแดง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhizophoraceae ลำต้นแตกเป็นร่องไม่ลึกมาก ผิวหยาบเป็นสะเก็ด เปลือกสีน้ำตาลเข้มถึงเทา โคนต้นเป็นพูพอน ใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม ผิวใบเป็นมัน ท้องใบสีเขียวอ่อนกว่าเล็กน้อย ดอกเดี่ยวออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลือง ปลายแหลม กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลเดี่ยว ทรงคล้ายลูกข่าง มีเกสรตัวเมียติดอยู่ ผลจะงอกออกมาเป็นฝัก สีเขียว ผิวเรียบ ปลายแหลมมน ไม้ใช้ทำเสาเรือน กระดาน และโป๊ะ ฝักใช้ต้มรับประทานได้Wild Fact Sheet.

ใหม่!!: พืชดอกและพังกาหัวสุมดอกขาว · ดูเพิ่มเติม »

พังกาหัวสุมดอกแดง

ังกาหัวสุมดอกแดง หรือโกงกางหัวสุม (Black mangrove, Swart-wortelboom, Isikhangati, Isihlobane) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhizophoraceae เปลือกต้นแตกเป็นแนวยาว สีน้ำตาลหรือสีดำ โคนต้นมีพูพอนสูง มีรากหายใจ ใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม ท้องใบสีอ่อน ก้านใบสีเหลืองอมน้ำตาล ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงสีแดง ดอกตูมรูปร่างเป็นทรงกระสวย กลีบดอกสีขาวอมชมพู ผลคล้ายลูกข่าง งอกตั้งแต่อยู่บนต้น ฝักคล้ายกระสวย อ่อนเป็นสีเขียวเข้ม แก่แล้วเป็นสีม่วงออกดำ กระจายพันธุ์ในเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและพังกาหัวสุมดอกแดง · ดูเพิ่มเติม »

พันงูเขียว

ันงูเขียว หรือในภาษามลายูเรียกบังกามาลัม อยู่ในวงศ์ Verbenaceae ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย นำทั้งต้นมาบดกับน้ำใช้รักษาอาการปวดและอัก.

ใหม่!!: พืชดอกและพันงูเขียว · ดูเพิ่มเติม »

พิกุล

กุล เป็นไม้ยืนต้น มีดอกหอม สีขาว มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ แก้ว (เชียงใหม่) ซางดง (ลำปาง) ตันหยง (นราธิวาส).

ใหม่!!: พืชดอกและพิกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิมเสน (พืช)

น้ำมันพิมเสน (''Pogostemon cablin'') พิมเสน (patchouli, patchouly, pachouli) เป็นพืชในวงศ์กะเพรา (Lamiaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย เป็นไม้พุ่มสูง 50-100 เซนติเมตร ลำต้นตรงมีขนปกคลุมและมีกลิ่นหอม ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่หรือรูปไข่กว้าง ออกตรงกันข้าม ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบแหลมหรือสอบ ขอบใบจักเป็นซี่ฟันแกมจักมน มีขนปกคลุมทั้งด้านบนและด้านล่าง ดอกขนาดเล็กสีม่วงขาว ออกเป็นช่อตามซอกใบและที่ยอด กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นปาก ปากบนมี 3 หยัก ปากล่างเรียบ เกสรตัวผู้มี 4 อัน ก้านเกสรตัวเมียแยกเป็นแฉกสั้น ๆ 2 แฉก ผลรูปรีแข็ง มีขนาดเล็ก ผิวเรียบ เมื่อกลั่นพิมเสนด้วยไอน้ำ จะได้น้ำมันพิมเสน (patchouli oil) ซึ่งมีสารสำคัญคือ แพทชูลอล (patchoulol) และนอร์แพทชูเลนอล (norpatchoulenol) ใช้ในงานสุคนธบำบัด เป็นส่วนผสมในน้ำหอม สารระงับกลิ่นกายและยาไล่แมลง ใบของพิมเสนมีสรรพคุณแก้ปวดประจำเดือน แก้ปวดศีรษะ ลดไข้.

ใหม่!!: พืชดอกและพิมเสน (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

พิลังกาสา

ลังกาสา เป็นไม้ขนาดเล็กพบในป่าผลัดใบและป่าดิบในที่สูง เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ขอบใบเรียบ ไม่มีต่อม ใบแก่หนาและเหนียว ดอกสีชมพูเป็นช่อแน่น ผลขนาดเล็กสีแดงหรือดำ เนื้อบาง มีเมล็ดเดียว พบในประเทศไทย เวียดนาม จีนตอนใต้และพม.

ใหม่!!: พืชดอกและพิลังกาสา · ดูเพิ่มเติม »

พิศวง

วง เป็นพืชในวงศ์ Thismiaceae หรือ Burmanniaceae เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย เป็นพืชอาศัยซาก ไม่มีคลอโรฟิลล์ ได้อาหารจากการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ แทงดอกให้เห็นเมื่อเข้าฤดูฝน พบเฉพาะที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และที่เกาะช้าง จังหวัดตราดเท่านั้น.

ใหม่!!: พืชดอกและพิศวง · ดูเพิ่มเติม »

พิษนาศน์

ษนาศน์ ชื่ออื่นๆ แผ่นดินเย็น (อุบลราชธานี) นมราชสีห์ นมฤๅษี ถั่วดินโคก เป็นพืชในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นสั้นมาก ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ แนบกับพื้นดินเป็นแนวรัศมี ใบย่อย 9-13 ใบ รูปวงรี รูปไข่หรือรูปขอบขนานแกมวงรี ใบย่อยปลายใบรูปไข่กลับ ผิวใบมีขนละเอียดสีขาว ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายยอด ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีม่วงเข้ม ก้านช่อดอกยาว ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน มีขนละเอียดสีขาว มีเมล็ดเดียว พิษนาศน์เป็นพืชสมุนไพร ทางจังหวัดอุบลราชธานีใช้ ราก ฝนกับน้ำดื่ม ช่วยลดไข้ในเด็ก ต้มน้ำดื่ม บำรุงน้ำนมแต่รับประทานมากไม่ดี ราก เหง้า ลำต้น ใบ ฝนทาฝี.

ใหม่!!: พืชดอกและพิษนาศน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิสตาชีโอ

ตาชีโอ (pistachio) เป็นถั่วชนิดหนึ่ง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับมะม่วงและมะม่วงหิมพานต์) มีต้นกำเนิดในอิหร่าน พบได้ในซีเรีย เลบานอน ตุรกี กรีซ คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน อินเดีย ปากีสถาน อียิปต์ เกาะซิซิลี และอาจจะมีในอัฟกานิสถาน (โดยเฉพาะในจังหวัดซะมันกานและบาดฆีส) เมล็ดมีเปลือกแข็ง รับประทานได้ มีวิตามินเอ เมล็ดสีเขียวมีคุณภาพดีกว่าเมล็ดสีอื่น ๆ มีเมล็ดของพืชในสกุลนี้ที่เรียกว่าพิสตาชีโอเช่นเดียวกับ P. vera แต่มีความแตกต่างกันที่บริเวณของการกระจายพันธุ์ในป่าและเมล็ดซึ่งเล็กกว่า มีกลิ่นและเปลือกนุ่มกว.

ใหม่!!: พืชดอกและพิสตาชีโอ · ดูเพิ่มเติม »

พิสตาชีโอป่า

ตาชีโอป่า (mastic; μαστίχα) เป็นพืชไม่ผลัดใบ แยกต้นตัวผู้ตัวเมีย อยู่ในสกุลพิสตาชีโอ ปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจเพื่อเก็บเรซินที่มีกลิ่นหอม ปลูกมากในเกาะไคออส ประเทศกรีก.

ใหม่!!: พืชดอกและพิสตาชีโอป่า · ดูเพิ่มเติม »

พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

ใหม่!!: พืชดอกและพืช · ดูเพิ่มเติม »

พืชบก

ืชบก (Embryophyte) หมายถึงกลุ่มพืชที่เติบโตบนพื้นแผ่นดิน (ซึ่งมีความหมายต่างจากพืชน้ำ) ประกอบไปด้วยต้นไม้, ไม้ดอก, เฟิร์น, มอสส์ และพืชบกสีเขียวอื่นๆ ทั้งหมดเป็นยูแคริโอตหลายเซลล์ที่สลับซับซ้อนที่มีอวัยวะสำหรับสืบพันธุ์เป็นแบบพิเศษ พืชบกได้รับพลังงานจากการสังเคราะห์ด้วยแสงและสังเคราะห์อาหารจากคาร์บอนไดออกไซด์ พืชบกอาจต่างจากสาหร่ายหลายเซลล์ที่ใช้คลอโรฟิลล์โดยสาหร่ายมีอวัยวะสืบพันธุ์นั้นเป็นหมัน พืชบกส่วนมากปรับตัวอาศัยอยู่บนบกแต่ก็มีบางส่วนอาศัยอยู่ในน้ำ เช่น สาหร่ายหางกระรอก เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและพืชบก · ดูเพิ่มเติม »

พืชพันธุ์ในประเทศมาซิโดเนีย

ืชพันธุ์ของประเทศมาซิโดเนีย มีประมาณ 210 ตระกูล มี 920 สกุล และประมาณ 3,700 ชนิดของพืช กลุ่มที่อุดมสมบูรณ์มากที่สุดคือไม้ดอกที่มีประมาณ 3,200 ชนิด ตามด้วยมอส 350 สายพันธุ์ และเฟิร์น 42 สายพัน.

ใหม่!!: พืชดอกและพืชพันธุ์ในประเทศมาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พืชใบเลี้ยงคู่

ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.

ใหม่!!: พืชดอกและพืชใบเลี้ยงคู่ · ดูเพิ่มเติม »

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว

ืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon หรือ Liliopsida) เป็นชั้นหนึ่งในส่วนพืชดอกที่มีความสำคัญอย่างยิ่งกลุ่มหนึ่ง ครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของพื้นโลก และเป็นพื้ชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสูงอีกด้วย พืชใบเลี้ยงเดี่ยววงศ์ใหญ่ที่สุด คือ กล้วยไม้ (Orchidaceae) โดยมีดอกที่ซับซ้อน และสวยงาม เพื่อดึงดูดแมลงชนิดต่างให้ช่วยในการผสมพันธุ์ ส่วนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีปริมาณมากเป็นอันดับสอง และอาจจะเป็นวงศ์ที่โดดเด่นกว่า ก็คือ หญ้า (Poaceae หรือ Gramineae) โดยมีวิวัฒนาการอีกทางหนึ่ง มีลักษณะพิเศษคือ การแพร่ขยายพันธุ์โดยอาศัยลม พืชในวงศ์หญ้านั้นมีดอกขนาดเล็ก แต่เมื่อรวมเป็นกลุ่มอาจปรากฏเป็นช่อดอกที่มองเห็นชัดเจนและสวยงาม.

ใหม่!!: พืชดอกและพืชใบเลี้ยงเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

พุทราอินเดีย

ทราอินเดีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ziziphus mauritiana Lam.) หรือ เบอร์ (ber) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhamnaceae มีถิ่นกำเนิดในแถบประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและพุทราอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

พุทราจีน

พุทราจีนแห้ง พุทราจีน (jujube; พันธุ์ที่มีเปลือกสีน้ำตาลเข้มเรียก red date; Chinese date) ภาคอีสานเรียก บักทันหรือหมากกะทัน ภาคเหนือเรียกมะตัน มะตันหลวง นางต้มต้น ภาษาจีนเรียก เป้กเลี้ยบ อินเดียเรียก เบอร์.

ใหม่!!: พืชดอกและพุทราจีน · ดูเพิ่มเติม »

พุทราทะเล

ทราทะเล เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Olacaceae ไม่ผลัดใบ ลำต้นมีสีเทาอมแดง ผิวแตกตามความยาวของลำต้น มีหนามแต่ไม่มาก ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกตามง่ามใบ ผลเดี่ยว กลมยาวเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผิวของผลไม่เรียบมีปุ่มเล็กน้อย ผลใช้รับประทานได้ เนื้อผลมีรสเปรี้ยว ใบใช้รับประทานเป็นผักได้ แต่เนื่องจากมีไซยาไนด์ จึงต้องปรุงสุกก่อนและไม่ควรรับประทานครั้งละมากๆ ในอินเดียใช้น้ำมันในเมล็ดปรุงอาหาร เมล็ดรับประทานได้มีฤทธิ์เป็นยาระบาย ในอินโดนีเซียใช้ใบปรุงรสชาติอาหาร เปลือกลำต้นมีแทนนิน เนื้อไม้แข็ง มีกลิ่นหอม.

ใหม่!!: พืชดอกและพุทราทะเล · ดูเพิ่มเติม »

พุทธชาด

ทธชาด หรือ บุหงาประหงัน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum auriculatum Vahl.) อยู่ในสกุลมะลิ (Jasminum).

ใหม่!!: พืชดอกและพุทธชาด · ดูเพิ่มเติม »

พุทธชาดก้านแดง

ทธชาดก้านแดง (var. grandiforum) หรือมะลิฝรั่ง เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ดอกหอม ออกดอกตลอดปีเมื่อสกัดด้วยน้ำให้ได้ความเข้มข้น 3.12 – 100 mg/ml สารสกัดจากใบยับยั้งต่อการเจริญเติบโตของหญ้าข้าวนกและโสน.

ใหม่!!: พืชดอกและพุทธชาดก้านแดง · ดูเพิ่มเติม »

พุทธรักษากินหัว

ทธรักษากินหัว (วงศ์ Cannaceae ภาษากะเหรี่ยง เรียกปลาย่า) เป็นพืชล้มลุก มีลำต้นใต้ดินสะสมอาหาร ใบเดี่ยว ก้านใบหุ้มหันเป็นลำต้นเทียม มีสีม่วงแดงปนเขียวทั้งต้นและใบ ดอกช่อ กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกสีแดง ผลแห้งหัวใต้ดินนำมาต้มรับประทาน ใบใช้ห่อข้าวและอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและพุทธรักษากินหัว · ดูเพิ่มเติม »

พุทธรักษาญี่ปุ่น

ทธรักษาญี่ปุ่น, ธรรมรักษา หรือ เยอรมัน (parrot's beak, parakeet flower, parrot's flower, parrot's plantain, false bird-of-paradise) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heliconia psittacorum เป็นพืชหลายปี (perennial plant) ชนิดหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคอเมริกาใต้และแคริบเบียน โดยถือเป็นพืชประจำถิ่นในปานามา, โคลอมเบีย, เวเนซุเอลา, ตรินิแดดและโตเบโก, กายอานา, ซูรินาม, เฟรนช์เกียนา, บราซิล, โบลิเวีย และปารากวัย และมีรายงานว่าสามารถขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติในเลสเซอร์แอนทิลลีส, เปอร์โตริโก, ฮิสปันโยลา, จาเมกา, แกมเบีย และไทย พุทธรักษาญี่ปุ่นมักได้รับการปลูกเป็นไม้ประดับเขตร้อนในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกนอกเหนือจากถิ่นกำเนิดของมัน.

ใหม่!!: พืชดอกและพุทธรักษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

พุดชมพู

มพู ตีพิมพ์เป็นพืชชนิดใหม่ (ค.ศ. 2004) เนื่องจากเคยสับสนกับ พุดใบใหญ่ Kopsia macrophylla Hook.f. และ พุดชมพู (เดิม) Kopsia fruticosa (Ker) A.DC.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดชมพู · ดูเพิ่มเติม »

พุดพิชญา

ญา เป็นพืชในสกุลโมก ในประเทศไทยนำเข้าจากประเทศศรีลังกา มีชื่อท้องถิ่นว่า "อิดด้า" (Inda) มีความหมายว่าดอกไม้สีขาวบริสุทธิ์ ผู้นำเข้าคือ คุณปราณี คงพิชญานนท์ ลักษณะของดอกสีขาวเหมือนกลุ่มดอกพุดในบ้านเรา เธอจึงนำชื่อ ดอกพุด มา สมาส เข้ากับวลีนามสกุล ออกมาเป็นชื่อใหม่ว่า "พุดพิชญา".

ใหม่!!: พืชดอกและพุดพิชญา · ดูเพิ่มเติม »

พุดภูเก็ต

ูเก็ตหรือ พุดป่า รักนา เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในสกุลพุดวงศ์ Rubiaceae ดอกสีเหลือง โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ หอมแรงเมื่อใกล้โรย กลีบเลี้ยงติดอยู่กับผลจนผลแก่ เป็นไม้ถิ่นเดียวในไทย พบในภาคใต้ฝั่งตะวันตกตั้งแต่ภูเก็ต พังงา จนถึงสตูล พบครั้งแรกโดยศาสตราจารย์ชวลิต นิยมธรรม ที่อำเภอกระทู้ จังหวัดภูเก็ต เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและพุดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

พุดสามสี

มสี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Brunfelsia hopeana Benth.) เป็นไม้พุ่มนำเข้ามาจากต่างประเทศ บางทีเรียกกันว่า ต้นจัสมิน (jasmine) หรือ พุดสองสี พุดสามสี สามราศรี, พุดสี, พุทธชาดม่วง.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดสามสี · ดูเพิ่มเติม »

พุดผา

ผา หรือสีดาดง ข่อยดาน ข่อยหิน เป็นพืชในสกุลพุด อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก พบใกล้ชายหาด ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว กลิ่นหอมแรง ผลกลมเกลี้ยง ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม กระจายพันธ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ใช้เป็นไม้ประดับ พบครั้งแรกที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีโดย D.J. Collins ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ผู้ค้นพบ หน้า 140.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดผา · ดูเพิ่มเติม »

พุดจีบ

ีบ (Tabernaemontana divaricata)มีชื่อว่า টগর (bn:টগর) ใน ภาษาเบงกาลี มียางสีขาว ในสิลเหตเรียกว่า দুধফুল (ดอกน้ำนม) เป็นพืชที่มีสีเขียวตลอดปี อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีดอกพุดจีบสองชนิดในบังกลาเทศ อินเดีย คือชนิดที่มีดอกเดี่ยวกับอีกชนิดที่เป็นดอกกลุ่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดจีบ · ดูเพิ่มเติม »

พุดทุ่ง

ทุ่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Holarrhena densiflora Ridl.; Holarrhena curtisii King & Gamble) หรืออาจเรียกว่า พุดน้ำ, ถั่วหนู, หัสคุณใหญ่, หัสคุณเทศ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 2-5 ฟุต ลำต้นกลม ตั้งตรง เปลือกต้นของกิ่งก้าน และลำต้นมีสีน้ำตาลดำ ใบเดี่ยวรูปหอก ปลายแหลม เนื้อหนา ดอกเป็นช่อกลีบสีขาวหนา ผลเป็นฝักกลมยาว.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

พุดดง

ง หรือ เข็มบุษบา เป็นพืชในสกุลพุดชมพู (Kopsia) กระจายพันธุ์ทางตอนใต้ของจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงออสเตรเลีย ลักษณะเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูงได้ถึง 15 เมตร ใบรูปรี รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 30 เซนติเมตร ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือแหลม ก้านใบยาว 0.3-1 เซนติเมตร ช่อดอกยาว 4-15 เซนติเมตร เกลี้ยงหรือมีขนละเอียด ก้านดอกยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม ยาว 2-6 มิลลิเมตร ดอกมีสีขาว ปากหลอดกลีบสีชมพู มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ หลอดกลีบยาว 2-3.5 เซนติเมตร กลีบดอกรูปรี รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 0.7-2 เซนติเมตร เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 1.2-1.7 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาว 2-2.5 เซนติเมตร รวมยอดเกสร ผลออกเป็นคู่แต่มักเจริญเพียงผลเดียว รูปรีเบี้ยว ยาว 1.5-4 เซนติเมตร ภายในมีเมล็ดแข็ง เมื่อสุกมีสีดำอมน้ำเงิน พุดดงนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เปลือกต้นใช้เป็นยาสวนทวารหนัก ใบและผลใช้รักษาอาการเจ็บคอและทอนซิลอัก.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดดง · ดูเพิ่มเติม »

พุดตะแคง

ตะแคง (Lady of the night) เป็นไม้พุ่มยืนต้นเตี้ย ๆ สูงประมาณ 8 ฟุต ดอกออกเป็นช่อคล้ายดอกมะลิมีกลีบดอก 5 กลีบ เมื่อบานใหม่ ๆ ดอกมีสีเหลืองนวล พอบานเต็มที่จะเป็นสีขาว กลีบดอกจะบิดงอตะแคงตามกันเหมือนกังหัน ขนาดดอกกว้าง 3 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดตะแคง · ดูเพิ่มเติม »

พุดตาน

ตาน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus mutabilis L.) เป็นไม้พุ่มเตี้ย ตามต้นและกิ่งมีขน ใบมีลักษณะคล้ายใบฝ้าย ขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ดอกมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายดอกชบาซ้อน บานในตอนเช้า เมื่อแรกบานจะมีสีขาว เมื่อสายจะเปลี่ยนสีเป็นสีชมพู และเป็นสีชมพูเข้มในตอนบ่าย ออกดอกดกตลอดทั้งปี ต้นพุดตาน ชอบอยู่กลางแจ้ง ชอบแสงแดดจัด ไม่ชอบที่แฉะหรือมีน้ำขัง ปลูกได้ดีในที่ดอน ดินร่วนซุย ต้องการน้ำและความชื้นปานกลาง การเปลี่ยนสีระหว่างวันของดอกพุดตาน.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดตาน · ดูเพิ่มเติม »

พุดซ้อน

ซ้อน ถิ่นเดิมของพุดซ้อนเข้าใจว่าอยู่ในประเทศจีน และเป็นพันธุ์ไม้วงศ์เดียวกับเข็มพวงขาว กระทุ่ม และกาแฟ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ พุดจีน พุดใหญ่ เก็ดถะหวา (ภาคเหนือ) และอินถะหวา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ).

ใหม่!!: พืชดอกและพุดซ้อน · ดูเพิ่มเติม »

พุดน้ำบุษย์

น้ำบุษย์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia carinata Wallich.) เป็นดอกพุดชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกกันมาก เนื่องจากเป็นไม้ดอกไม้ประดับที่สวยงาม ดอกมีกลิ่นหอมแรง ดอกบานอยู่ได้ราว 7 วัน เมื่อแรกแย้มบานเป็นสีออกขาวนวลส่งกลิ่นหอมมาก หอมไกล 2 - 3 เมตร เมื่อบานเข้าวันที่สองสีจะเริ่มออกเหลืองอ่อน ต่อมา ค่อยๆ เหลืองเข้มจนกระทั่งเข้มจัด ออกดอกตลอดทั้งปี กลิ่นหอมตลอดวันแต่จะหอมมากในตอนค่ำ น้ำบุษย์หมายถึงพลอยสีเหลืองหรือบุษราคัม เป็นคำเปรียบความงามของดอกไม้ชนิดนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดน้ำบุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

พุดโกเมน

กเมน เป็นพืชในสกุลสะแล่งหอมไก๋ มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชาวพื้นเมืองแอฟริกาใช้พืชชนิดนี้เป็นสมุนไพรลดไข้และระงับปวด ส่วนผลและเมล็ดนำมาทำเป็นสีย้อมและสีผสมอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและพุดโกเมน · ดูเพิ่มเติม »

พุงแก

งแก เป็นพืชในสกุลชิงชี่ วงศ์ Capparaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้พุ่มรอเลื้อย มีหนาม กิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ใบเดี่ยว มีติ่งที่ปลายใบ ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ ผลกลมรี สุกแล้วเป็นสีแดง ออกดอกช่วงธันวาคม – เมษายน พบครั้งแรกในประเทศไทย โดย J.E. Teijsmann ในเขาหินปูนที่จังหวัดราชบุรี ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและพุงแก · ดูเพิ่มเติม »

พูมารี

ูมารีหรือกระอวม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rutaceae ยอดและกิ่งอ่อนมีขนประปรายใบประกอบเนื้อใบหนา มีต่อมน้ำมันกระจาย ขยี้จะมีกลิ่น ดอกช่อ สีขาวแกมเหลืองหรือแกมเขียว ผลเดี่ยว เมล็ดแข็ง เปลือกลำต้นเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคผิวหนัง ใบภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางพื้นที่ นำใบไปรับประทานกับหมากแทนพลู ยังมีที่ใช้เป็นยาแก้ปวด และระงับการติดเชื้อในลำไส้ ผลดิบรับประทานไม่ได้ ผลสุกรับประทานได้ รสเปรี้ยวอมหวาน ในเวียดนามใช้รากเป็นยาเบือปลา ในอินเดียนำไม้ไปเผาถ่าน นำใบไปใส่สลั.

ใหม่!!: พืชดอกและพูมารี · ดูเพิ่มเติม »

พู่เรือหงส์

ู่เรือหงส์ เป็นพืชในสกุลชบา เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาตะวันออก ตั้งแต่ เคนยา แทนซาเนีย และโมซัมบิก ลักษณะดอกคล้ายชบาแต่ดอกห้อยลง กลีบดอกสีแดงสดหรือชมพู ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและพู่เรือหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

พีพวนน้อย

ีพวนน้อย หรือ นมควาย หรือ หมากผีผ่วน เป็นพืชในสกุล Uvaria กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและพีพวนน้อย · ดูเพิ่มเติม »

พีแคน

ีแคน (pecan) เป็นพืชในวงศ์ค่าหด (Juglandaceae) มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโกและทางตอนใต้ของสหรัฐฯFlora of North America: คำว่า pecan ในภาษาอัลกอนควิน (Algonquin) แปลว่า "ผลไม้ที่ต้องใช้หินกะเทาะเปลือก" พีแคนเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูงประมาณ 20-40 เมตร ใบเรียงสลับแบบขนนก มีใบย่อย 9-17 ใบ ผลเป็นผลแบบดรุป (ผลที่มีเมล็ดแข็ง) ซึ่งสามารถรับประทานได้ทั้งแบบสดและนำไปแปรรูป.

ใหม่!!: พืชดอกและพีแคน · ดูเพิ่มเติม »

กก

กก เป็นพืชวงศ์กก หลายฤดู มีเหง้า สูง 50 – 150 เซนติเมตร มักหนาที่โคน ใบมีสีเขียว แต่ปลอกหุ้มมีสีฟางข้าว ดอกเป็นดอกช่อยาวถึง 20 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยประกอบด้วยดอกย่อย 6-20 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยเหง้าและเมล็ด ชอบดินที่มีน้ำขัง พบในบริเวณที่มีน้ำท่วมขัง และคันนา แพร่กระจายมากทางภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและกก · ดูเพิ่มเติม »

กกรังกา

กกรังกา (ชื่อสามัญ: Umbrella plant, Flatsedge) เป็นกกขนาดใหญ่ในสกุล Cyperus มีถิ่นกำเนิดในประเทศมาดากัสการ์ ถูกนำไปปลูกเลี้ยงเป็นไม้ประดับทั่วโลก กกรังกามีชื่อสามัญอื่น ๆ อีกคือ กกต้นกลม, กกขนาก, หญ้าลังดา, กกดอกแดง และ กกราชินี พบกระจายอยู่ทั่วโลก มีประมาณ 4,000 ชนิด ชอบที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ระดับต่ำ ตามหนอง บึง ทางระบาย มีรูปร่างลักษณะและนิเวศวิทยาเหมือนหญ้ามาก.

ใหม่!!: พืชดอกและกกรังกา · ดูเพิ่มเติม »

กกสามเหลี่ยมใหญ่

กกสามเหลี่ยมใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Actinoscirpus grossus, coarse bullrush, greater club rush) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก มีอายุยืนหลายฤดู ลำต้นมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยม เจริญเติบโตเป็นกอ มีลำต้นใต้ดินแตกไหลได้ พุ่มสูงตั้งแต่ 1-2 เมตร ใบของกกสามเหลี่ยมใหญ่ค่อนข้างแข็ง แผ่นใบแคบ มีลักษณะเรียวยาวเป็นรูปใบหอก ยาวประมาณ 50-100 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อชนิดโคริมบ์ ประกอบด้วยช่อดอกย่อยจำนวนมาก ดอกย่อยไม่มีก้านดอก เกิดลักษณะเวียนรอบก้านดอกอย่างหนาแน่น เมื่อยังเป็นดอกอ่อนจะมีสีเหลืองอ่อนอมเขียว แต่เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ดอกออกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม แต่อาจถึงเดือนตุลาคมได้ ขยายพันธุ์โดยใช้ไหลหรือเมล็ด จากเว็บไซด์โครงการอนุรักษ์พันธู์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่พบในบริเวณที่มีน้ำขัง อ่างเก็บน้ำ บ่อเลี้ยงปลา และตามคลองส่งน้ำ พบได้ตั้งแต่ประเทศตุรกี อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ปากีสถาน ศรีลังกา ภูฏาน จีน (มณฑลกวางตุ้งและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง) ญี่ปุ่น กกสามเหลี่ยมใหญ่เป็นพืชท้องถิ่นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ มาเลเซีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงออสเตรเลีย (นอร์เทิร์นเทร์ริทอรีและรัฐควีนส์แลนด์) รวมทั้งประเทศไทยซึ่งพบได้ทุกภาค จาก Weed Science Society of America (WSSA), สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่สามารถนำมาทอเสื่อ จักสานเป็นฝาบ้าน ฝ้าเพดานหรือหลังคาบ้าน นอกจากนี้ยังสามารถทำเป็นตะกร้าและกระเป๋าได้.

ใหม่!!: พืชดอกและกกสามเหลี่ยมใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

กกสามเหลี่ยมเล็ก

กกสามเหลี่ยมเล็ก หรือ กกช่อดอกขน เป็นพืชวงศ์กกฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอสูง 50 – 100 เซนติเมตร ใบยาวกว่ากอ มีริ้วประดับ ดอกเป็นดอกช่อ หุ้มด้วยริ้วประดับ ช่อดอกเป็นแบบซี่ร่มประกอบ ก้านช่อดอกสั้น ช่อดอกย่อยประกอบด้วยดอก 5-7 ดอก ผลเป็นแบบอะคีน สีน้ำตาล ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ลุ่มน้ำขัง ข้างถนนและในท้องน.

ใหม่!!: พืชดอกและกกสามเหลี่ยมเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กกอียิปต์

กกอียิปต์ หรือ พาไพรัส (Egyptian papyrus)เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง ที่เติบโตในพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: พืชดอกและกกอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

กกขนาก

กกขนาก เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุก มีอายุไม่เกินหนึ่งปี ขึ้นเป็นกอสูง 10-70 เซนติเมตร ลักษณะลำต้นเป็นเหลี่ยมมีผิวเกลี้ยง มีสันชัดเจน กาบใบเรียงซ้อนกันที่โคนกอ ใบของกกขนากมีรูปขอบขนานแคบ ปลายแหลมยาว 10-20 เซนติเมตร กว้าง 2-6 เซนติเมตร ไม่แยกเป็นก้านใบและแผ่นใบ ดอกออกเป็นช่อแน่นกลมคล้ายร่มที่ซ้อนกัน ออกดอกตลอดปี ช่อดอกย่อยจำนวนมากรวมกันเป็นกระจุก ก้านชูดอกสูง 30-40 เซนติเมตร บริเวณปลายก้านกาบช่อย่อยเป็นแผ่นเยื่อบางสีน้ำตาล รูปรี มีเกสรเพศผู้ 3 อัน ผลของกกขนาดมีสีเหลืองแกมเขียว มีลักษณะเป็นผลแห้ง เมื่อแก่แล้วจะไม่แตก มีขนาดเล็กและเป็นรูปรีหรือรูปไข่กลับ ใช้เมล็ดในการแพร่พันธุ์ จากระบบสืบค้นฐานข้อมูลพรรณไม้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553 องค์ความรู้เรื่องข้าว จากเว็บไซต์สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553 กกขนากพบได้ในเขตร้อนและเขตเส้นศูนย์สูตรของทวีปเอเชีย นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นวัชพืชชนิดหนึ่ง ซึ่งมักขึ้นในนาข้าวและตามแหล่งน้ำทั่วไป โดยเฉพาะในดินชื้นแฉะในนาหว่านน้ำตม นาดำและนาหว่านข้าวแห้ง ชอบขึ้นในที่ชื้นแต่ไม่งอกใต้น้ำ องค์ความรู้เรื่องข้าว จากเว็บไซต์กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553 กกขนากที่งอกออกมาใหม่ จะมีลักษณะเหมือนปลายมีดแหลมโผล่ขึ้นจากผิวดินและมีสีเขียวอ่อน งอกขึ้นแข่งต้นข้าวได้อย่างรุนแรง เพราะต้นจะสูงกว่าและมีอายุสั้น อาจทำให้ต้นข้าวล้มและผลผลิตลดลงได้ จากการทดลองพบว่า กกขนาก 100 ต้นต่อตารางเมตร จะทำให้ผลผลิตข้าวลดลง 49-84 % แต่ถ้ามีถึง 300 ต้นต่อตารางเมตร จะทำให้ผลผลิตลดลงถึง 57-90% นอกจากนี้ความเสียหายจะเพิ่มมากขึ้น หากดินมีความอุดมสมบูรณ์สูง จากเว็บไซต์กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553.

ใหม่!!: พืชดอกและกกขนาก · ดูเพิ่มเติม »

กกดอกขาว

กกดอกขาว(ชื่อวิทยาศาสตร์: Cyperus brevifolius (Rottb.) Hassk.ชื่อสามัญ: คือ Green Kyllinga) เป็นพืชจำพวกหญ้าเป็นกกที่มีอายุยืนหลายปี มีลำต้นอยู่ใต้ดิน (rhizome) เลื้อยทอดขนานไปกับดิน ชูส่วนที่เป็นยอดและช่อดอก สูง 15-20 เซนติเมตร มีกาบหุ้มลำต้นสีน้ำตาลอมแดง ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5-2 มิลลิเมตร ระบบรากเป็นระบบรากฝอยออกตามข้อของลำต้นใต้ดิน ใบ เป็นใบเดี่ยวออกจากส่วนโคนของลำต้น ใบมีรูปร่างเรียว ยาวประมาณ 5-15 เซนติเมตร ขอบใบเรียว มีปลายใบที่แหลม ฐานใบมีสีน้ำตาลแดงแผ่ห่อหุ้มลำต้น ดอกออกเป็นช่อแบบเฮด (head) มีดอกย่อยเป็นจำนวนมากอัดแน่นอยู่ที่ปลายยอดของลำต้น ส่วนของลำต้นที่ชูช่อดอกจะมีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยมที่ฐานของช่อดอกมีแผ่นรองดอกสีเขียวคล้ายใบ (bracts) จำนวน 3 ใบ เป็นใบยาว 1 ใบ และใบสั้น 2 ใบ ในช่อดอกประกอบด้วยดอกย่อย 2 ดอก คือดอกด้านล่างจะมีกาบ (glume) สีเขียวใส พับงอเข้าหากัน ปลายแหลม ดอกด้านบนจะมีกาบยาวกว่าด้านล่าง มีเกสรตัวผู้ 3 อัน อับละอองเกสร 2 อัน ส่วนเกสรตัวเมียมีรังไข่อยู่เหนือฐานรองดอก ปลายยอดเกสรตัวเมียแยกเป็น 2 แฉก ช่อดอกดูเป็นสีเขียวอ่อน เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อแก่ ผล เป็นชนิดอะคีน (achene) รูปร่างแบบไข่กลับหัว มีสีน้ำตาล.

ใหม่!!: พืชดอกและกกดอกขาว · ดูเพิ่มเติม »

กกคมบาง

กกคมบาง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Scleria sumatrensis) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุกอายุขัยหลายฤดู มีเหง้าแข็ง ลำต้นเป็นสามเหลี่ยม มีสันคมสากคาย สูงตั้งแต่ 1-3 เมตร ใบของกกคมบางเป็นรูปแถบยาว 15-30 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสามร่อง ดอกเป็นแบบช่อแยกแขนง ยาว 15-30 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยแยกเพศ ดอกเพศเมียรูปไข่ยาว 3.5-4 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศผู้รูปหอกยาว 3.5-4 มิลลิเมตร ปลายแหลมมีเกสรเพศผู้จำนวน 3 อัน ผลของกกคมบางมีสีเทา ลักษณะกลมหรือค่อนข้างกลม เมื่อแก่แล้วเปลี่ยนเป็นสีดำ มีแผ่นแข็งรูปถ้วยยาวประมาณครึ่งหนึ่งของผล จากระบบสืบค้นฐานข้อมูลพรรณไม้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกคมบางแพร่พันธุ์ในแถบเอเชียใต้ บริเวณประเทศอินเดีย ศรีลังกา แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ภาคใต้ของไทย ไปจนถึงประเทศออสเตรเลีย พบมากในที่โล่งชายน้ำ กกคมบางเรียกกันในจังหวัดนราธิวาสว่า หญ้าคมบาง แต่ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กกคมบาง เป็นชื่อท้องถิ่นของกกสามเหลี่ยมใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและกกคมบาง · ดูเพิ่มเติม »

กกคมบางกลม

กกคมบางกลม หรือ หญ้าก้ามกุ้ง เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก มีอายุขัยหลายปี ลักษณะลำต้นเป็นกอ ตั้งตรง สูง 15-50 เซนติเมตร ปลายลำมีขนคายมือ กาบใบโอบปิดลำรูปทรงกระบอกยาว 3-7 เซนติเมตร มีเหลี่ยมและสันชัดเจน ใบรูปหอกหรือรูปแถบ กว้าง 3-8 มิลลิเมตร ยาว 10-100 เซนติเมตร เนื้อหยาบ ผิวใบและขอบใบมีขนคายมือ ดอกของกกคมบางกลมออกเป็นช่อกระจุก มีช่อดอกย่อย 1-5 ช่อ กระจุกดอกย่อยรูปไข่หรือรูปรี กว้างประมาณ 3 มิลลิเมตร ยาว 5-12 มิลลิเมตร มีสีเขียวเข้ม กาบช่อย่อยแผ่นเนื้อหยาบ รูปรี เรียงสลับบนแกนช่อย่อย ปลายเป็นหนามแหลมยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร มีเกสรเพศผู้ 6 อัน ส่วนผล มีลักษณะเป็นรูปไข่กลับหรือรูปรี มีผิวเกลี้ยงเป็นคลื่น ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด จากระบบสืบค้นฐานข้อมูลพรรณไม้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สืบค้นวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 กกคมบางกลมพบได้ในที่โล่งน้ำขังตื้นๆ ริมบึง หรือตามชายฝั่ง รวมถึงพบได้ในทุ่งนา พืชชนิดนี้กระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่เขตร้อนในทวีปแอฟริกา เอเชียใต้ เช่น ประเทศอินเดีย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนใต้ของประเทศจีนและญี่ปุ่น ไปจนถึงประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พืชดอกและกกคมบางกลม · ดูเพิ่มเติม »

กกเล็ก

กกเล็ก (Elegant cyperus) เป็นพืชวงศ์กก ฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 20-50 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ยาว 20-40 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม แบบเดียวหรือแบบประกอบ ใบประดับขนาดไม่เท่ากัน ยาว 5-10 เซนติเมตร ดอกสีแดงอมน้ำตาลหรือสีเขียว ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ พบในนาข้าวและที่น้ำท่วมขัง.

ใหม่!!: พืชดอกและกกเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กรรณิการ์

กรรณิการ์ เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดกลาง มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้จากตอนเหนือของปากีสถานและเนปาลไปทางใต้ถึงตอนเหนือของอินเดียและตะวันออกเฉียงใต้ของไทยGermplasm Resources Information Network: Flora of Pakistan: AgroForestry Tree Database: หลอดกลีบดอกมีสีส้ม ใช้ย้อมผ้าไหมได้ โดยเก็บดอกที่ร่วงแล้ว เด็ดเฉพาะส่วนหลอด ตากให้แห้ง ต้มกับน้ำกรองเอากากทิ้ง ใช้ย้อมผ้าไหมให้สีส้ม เปลือกต้นชั้นในผสมกับปูนขาวได้สีแดง ใช้ย้อมผ้าได้เช่นกัน ดอกใช้แก้ไข้ แก้ลมวิงเวียน เปลือกต้นชั้นในต้มน้ำดื่มแก้ปวดศีรษะ ใบแก้ไข้ รากใช้บำรุงกำลังแก้ท้องผูก.

ใหม่!!: พืชดอกและกรรณิการ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรวยบ้าน

กรวยบ้าน (หรือเรียกเพียง กรวย) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb.

ใหม่!!: พืชดอกและกรวยบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

กระบก

กระบก เป็นไม้ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาคเหนือเรียกมะมื่น ภาคอีสานเรียกหมากบก ภาษาชองเรียกชะอัง สุโขทัยและโคราชเรียกมะลื่น ภาษาส่วยในจังหวัดสุรินทร์เรียกหลักกาย เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Irvingiaceaeไม่ผลัดใบ เปลือกสีเทาอ่อนปนน้ำตาล ใบเดี่ยว เรียงสลับ ผิวเกลี้ยง ดอกขนาดเล็ก มีขนนุ่ม ออกดอกรวมกันเป็นช่อโตที่ปลายกิ่ง สีขาวอมเขียวอ่อน ผลกลมรี ทรงกล้วยไข่ ขนาดใกล้เคียงกับมะม่วงกะล่อนขนาดเล็ก ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่จะเข้มขึ้น สุกเป็นสีเหลืองอมเขียว เนื้อเละ เมล็ดแห้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระบก · ดูเพิ่มเติม »

กระบองเพชร

กระบองเพชร (Mila sp.) เป็นพืชชนิดหนึ่งที่อยู่ในทะเลทราย ต้นกระบองเพชรสามารถยืนต้นอยู่ได้ แม้อยู่ในทะเลทรายที่แห้งแล้งกันดาร โดยไม่ตาย เพราะนานๆ ครั้งหนึ่งจะมีฝนตกจำนวนมาก โดยต้นกระบองเพชรจะเก็บน้ำไว้ในลำต้นเป็นจำนวนมาก มันจะใช้น้ำตลอดระยะเวลาแห้งแล้งที่ยาวนาน และมันจะเปลี่ยนใบเป็นหนามเพื่อลดการคายน้ำ ดังนั้นมันจึงสามารถอยู่ในทะเลทรายได้ สรรพคุณทางสมุนไพรของกระบองเพชร สามารถใช้บรรเทาโรคบิดได้ สารสกัดกระบองเพชรช่วยลดอาการเมาค้าง กระบองเพชรมีชื่ออื่นดังนี้: โบตั๋น ท้าวพันต.

ใหม่!!: พืชดอกและกระบองเพชร · ดูเพิ่มเติม »

กระบาก

กระบาก เป็นไม้ยืนต้นสูง 5–25 เมตร เปลือกขรุขระสีเทา ตามกิ่งมีช่องอากาศเป็นจุด ๆ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก รูปไข่แกมรูปหอกปลายใบแหลม ขอบใบหยักเว้าหรือหยักกลม ๆ เรียบ โคนใบกลม มีต่อมขนอยู่ตรงมุมระหว่างเส้นกลางใบและเส้นใบ ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ตั้งตรง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นท่อเล็ก ๆ ปลายแยกออกเป็น 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้มี 4 อัน ยาว 2 อัน สั้น 2 อัน ติดอยู่บนกลีบใกล้ปลายที่แยกออก ผลเป็นฝัก เมล็ดมีปีก ในประเทศไทยพบในป่าเบญจพรรณทางภาคตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและกระบาก · ดูเพิ่มเติม »

กระชาย

กระชาย หรือ ขิงจีน เป็นพืชสมุนไพรที่ปลูกเลี้ยงกันในประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระชายมีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กระชายดำ (กลาง,มหาสารคาม) กะแอน (มหาสารคาม,เหนือ) ขิงทราย (มหาสารคาม) จี๊ปู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) ซีพู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) เป๊าะซอเร้าะ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป๊าะสี่ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) ละแอน (เหนือ) และ ว่านพระอาทิตย์ (กทม.)ชื่อสามัญ กระชายมี 3 ชนิด คือ กระชายดำ กระชายแดง กระชายเหลือง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระชาย · ดูเพิ่มเติม »

กระชายวิสุทธิ์

กระชายวิสุทธิ์ เป็นพืชในสกุลกระชาย วงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก มีรากสะสมอาหารเป็นแท่งยาว ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ออกดอกเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พบครั้งแรกที่อุทยานแห่งชาติภูพาน จังหวัดสกลนคร โดย ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและกระชายวิสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระชายสยาม

กระชายสยาม เป็นพืชในสกุลกระชาย วงศ์ Zingiberaceae มีเหง้าขนาดเล็กอยู่ใต้ดิน รากสะสมอาหารเป็นทรงกระบอก ใบรูปใบหอก 2-3 ใบ ส่วนเหนือดินจะเหี่ยวแห้งช่วงฤดูแล้งแทงช่อดอกขึ้นมาในเดือนเมษายน โดยจะเกิดช่อดอกก่อนเกิดใบ เมื่อดอกเหี่ยวแห้งไปแล้วจึงจะเกิดใบขึ้นมา พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและกระชายสยาม · ดูเพิ่มเติม »

กระชายดำ

กระชายดำ (KP) หรือว่านกำบัง ว่านจังงัง เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นมีปุ่มปม ลักษณะคล้ายกระชาย แต่เนื้อในหัวเป็นสีม่วง เมื่อแก่สีจะเข้มขึ้นเรื่อยๆ ผิวด้านนอกสีเหลือง ใบเดี่ยว แทงขึ้นมาจากหัวใต้ดิน ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด สีขาวแต้มชมพู เป็นพืชที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร สารสกัดจากกระชายดำมีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรีย เชื้อราและไมโครแบคทีเรีย ต้านการเกิดโรคภูมิแพ้และต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ในสัตว์ทดลองพบว่า มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดแดงที่ถูกแยกออกจากกายของหนูขาว และสร้างไนตริกออกไซค์(NO) บริเวณเยื่อบุหลอดเลือดดำของรกเด็ก กระชายดำในประเทศไทยที่มีชื่อเสียงอยู่ที่จังหวัดเลย นอกจากนั้นยังเชื่อว่าเป็นยาบำรุงกำลัง นักรบสมัยก่อนจะนำหัวไปปลุกเสกแล้วอมเวลาต่อสู้ เชื่อว่าทำให้คงกระพัน.

ใหม่!!: พืชดอกและกระชายดำ · ดูเพิ่มเติม »

กระบิด

กระบิดหรือขี้แรด เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Euphorbiaceae แตกเป็นพุ่มแน่น ใบเดี่ยว ผิวใบสาก ดอกเป็นดอกช่อแบบกระจุก ดอกแยกเพศไม่แยกต้น ผลกลม แก่แล้วแตกเป็นสามเสี้ยว พบในป่าดิบแล้งทางภาคตะวันออกและภาคตะวันตก ชื่อสกุลตั้งเป็นเกียรติให้แก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและกระบิด · ดูเพิ่มเติม »

กระพังโหม

กระพังโหม(กลาง) หรือจมูกปลาหลด อยู่ในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เถาขนาดเล็ก ไม่มีกลิ่น ยอดอ่อนมีขนเล็กน้อย ยางสีขาว ใบเดี่ยวทรงยาวแคบ เรียงตรงข้าม ดอกออกตามซอกใบ กลีบดอกสีขาวอมชมพู ริมขอบกลีบมีขน ผลรูปไข่ ปลายโค้งเรียว เปลือกนิ่ม แก่แล้วแตกด้านเดียว มีเมล็ดมาก ปลายเมล็ดมีขนติดอยู่เป็นกระจุก ช่วยให้กระจายพันธุ์ได้ไกล ใบและดอกรับประทานได้ รากและใบมีรสขม แก้ไข้จับสั่น ในอินเดีย จีน และอินโดนีเซียใช้ดอก ใบ และผล ต้มเอาน้ำกลั้วคอ ชะล้างแผลเพื่อฆ่าเชื้อ.

ใหม่!!: พืชดอกและกระพังโหม · ดูเพิ่มเติม »

กระวาน

กระวาน หมายถึงพืชสองชนิดที่มีความใกล้เคียงกัน 2 สกุล คือ กระวานเทศ (สกุล Elettaria) และกระวานไทย (สกุล Amomum) ทั้งสองสกุลเป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย เนปาล และภูฏาน ในปัจจุบัน กัวเตมาลาเป็นแหล่งปลูกและส่งออกกระวานที่สำคัญของโลก รองลงมาคืออินเดีย กระวานทั้งสองชนิดได้แก.

ใหม่!!: พืชดอกและกระวาน · ดูเพิ่มเติม »

กระวานไทย

กระวานไทย หรือ กระวาน เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง ชื่ออื่น ๆ ได้แก่ กระวานขาว (ภาคกลาง ภาคตะวันออก) ข่าโคม ข่าโคก หมากเนิ้ง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) ปล้าก้อ (ปัตตานี) มะอี้ (เหนือ) กระวานดำ กระวานแดง กระวานโพธิสัตว์ กระวานจันท.

ใหม่!!: พืชดอกและกระวานไทย · ดูเพิ่มเติม »

กระวานเทศ

กระวานเทศ เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Zingiberaceae ชื่ออื่น ๆ เช่น กระวานแท้ เอลา ลูกเอ็ล ลูกเอ็น กระวานขาว กะวาน ส่วนของต้นเกิดมาจากการรวมตัวกันของกาบใบที่เจริญขึ้นมาเหนือดิน จนมีลักษณะเป็นกอ ใบรูปหอกเรียงสลับกัน ใบด้านหลังมีสีเข้มกว่าและเป็นมัน ผลมีลักษณะยาวรี รูปไข่ หัวท้ายแหลม ขนาดผลเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร ผลแก่แห้งสีน้ำตาลเข้ม มีกลิ่นเฉพาะตัว ภายในแบ่งเป็น 3 ช่อง เมื่อนำผลตัดขวาง รอยตัดจะเป็นแบบสามเหลี่ยม ส่วนปลายผลจะงอนเหมือนจะงอยปากนก เมื่อแก่จะแตกตามยาวเป็น 3 ส่วน ภายในมีเมล็ดมาก แต่ละผลมี 15-20 เมล็ด มีสีน้ำตาลอมดำ อัดแน่นเป็นกลุ่ม รูปร่างเป็นสามเหลี่ยมแบน แข็ง ขนาดประมาณ 5 มิลลิเมตร มีเยื่อหุ้มเมล็ด เมล็ดมีกลิ่นหอมฉุน เผ็ดร้อน ภายในผลมีน้ำมันหอมระเหย ส่วนใหญ่อยู่ที่เมล็ด กระวานเทศมีสรรพคุณเป็นยา ตำรายาไทย ใช้ ผล บำรุงธาตุ กระจายโลหิต เสมหะ ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้อาการเกร็งของลำไส้ ในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นยาขับลม ในจีนและอินเดีย ใช้เป็นยาขับลม และรักษาอาการผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ แต่พบว่าเป็นพิษในหนู โดยหนูที่รับประทานสารสกัดเอทานอลของกระวานเทศ ในขนาด 0.3 มก/กก.

ใหม่!!: พืชดอกและกระวานเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กระสัง

กระสัง เป็นไม้ล้มลุก ขนาดเล็ก สูงประมาณ 25 เซนติเมตร ลำต้นสีเขียวใส ใบสีเขียวอ่อน รูปหัวใจ รูปร่างคล้ายใบพลู ต้นและใบอวบน้ำ ออกดอกเป็นช่อ ขนาดเล็ก คล้ายช่อดอกของพริกไทย ในทางสมุนไพรใช้ตำพอกฝี.

ใหม่!!: พืชดอกและกระสัง · ดูเพิ่มเติม »

กระจับนก

กระจับนก เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Celastraceae ไม่ผลัดใบ เปลือกต้นสีน้ำตาล มีรอยแตกตามยาวเป็นร่องตื้นๆ ใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม เรียบเป็นมัน ขอบใบหยักเล็กย้อย ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง เมื่อบานครั้งแรกจะเป็นสีชมพูอ่อน แล้วจะค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีแดงอมชมพู กลีบม้วนไปด้านหลังเล็กน้อย เกสรตัวเมียเด่น เห็นชัดเจน ผลเดี่ยว สีเขียว ทรงผลเป็นทรงห้าเหลี่ยม ปลายผลกว้าง สอบเข้าหาขั้ว ใช้เป็นอาหารสัตว์ เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องมือประมง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระจับนก · ดูเพิ่มเติม »

กระจายเขา

กระจายเขา เป็นพืชในวงศ์มะม่วง กระจายพันธุ์ในอินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ พม่าและภาคเหนือของไทย ลักษณะเป็นไม้เถาเนื้อแข็ง มีขนสั้นสีน้ำตาลตามลำต้น ใบและช่อดอก ใบเป็นใบประกอบปลายคี่รูปไข่ ยาว 20-40 เซนติเมตร ใบย่อยมี 4-7 คู่ ยาว 4-11 เซนติเมตร โคนใบรูปหัวใจเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแยกแขนงยาว 20-35 เซนติเมตร ใบประดับยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ก้านดอกยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกสีขาวรูปไข่แคบ มี 5 กลีบ ยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร เกสรตัวผู้ 10 อัน ก้านเกสรตัวเมีย 5 อัน รังไข่มี 5 ช่อง แต่ส่วนมากพัฒนาเพียงช่องเดียว ผลเป็นรูปรีเบี้ยว ผนังชั้นในแข็ง ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีดำ เมล็ดมีเปลือกบาง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระจายเขา · ดูเพิ่มเติม »

กระจูด

กระจูด หรือ จูด เป็นพันธุ์ไม้จำพวก "กก" (Sedge) ลักษณะลำต้นกลมสีเขียวอ่อน ดินสอดำ สูงประมาณ 1 - 2 เมตร ออกดอกเป็นกระจุกแน่นคล้ายดอกกระเทียมที่ข้างลำต้นใกล้ยอดกระจุกหนึ่ง แต่มีช่อดอกปลายลำต้นอีกหนึ่งช่อซึ่งมีใบเล็กประกอบช่อด้วย กระจูดชอบขึ้นในพื้นที่น้ำขังซึ่งเรียกว่าโพระหรือพรุ มีถิ่นกำเนิดจากทางเกาะมาดากัสการ์ มอริเซียส ลังกา สุมาตรา แหลมมาลายู และหมู่เกาะต่าง ๆ ในแหลมมาลายู อินโดจีนตอนริมฝั่งทะเล ฮ่องกง บอร์เนียว ตลอดถึงออสเตรเลีย ริมฝั่งตะวันออก.

ใหม่!!: พืชดอกและกระจูด · ดูเพิ่มเติม »

กระถิน

ฝักกระถิน ''Leucaena leucocephala'' - MHNT กระถิน เป็นไม้พุ่ม ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ผลเป็นฝักแบน ยอดอ่อน ช่อดอกและฝักอ่อน ชาวกะเหรี่ยงกินสดกับน้ำพริก เมล็ดในฝักแก่ กินสดหรือลวกกินกับน้ำพริก ใบต้มให้หมูกิน.

ใหม่!!: พืชดอกและกระถิน · ดูเพิ่มเติม »

กระถินพิมาน

กระถินพิมาน เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) พบได้ในป่าเบญจพรรณ.

ใหม่!!: พืชดอกและกระถินพิมาน · ดูเพิ่มเติม »

กระถินณรงค์

กระถินณรงค์ (Cunn., Auri, Earleaf acacia, Earpod wattle, Northern black wattle, Papuan wattle, Tan wattle) เป็นพืชตระกูลถั่ว มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมตามธรรมชาติในทุ่งหญ้าของประเทศปาปัวนิวกินี ไปจนถึงพื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย แต่ปัจจุบันได้มีการนำไปปลูกกันทั่วโลกทั้งทวีปเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาใต้ เนื่องจากสามารถฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมได้ เป็นไม้ที่มีขนาดเล็กถึงขนาดกลางมีความสูง 8 เมตร ไปจนถึง 20 เมตร ดอกกระถินณรงค์ มีสีเหลืองกลิ่นหอม ออกดอกรวมกันเป็นช่อ คล้ายหางกระรอก ในประเทศไทย ร.ท.ขุนณรงค์ชวนกิจ (ชวน ณรงคะชวนะ) เป็นผู้สั่งเข้ามาปลูกในประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พืชดอกและกระถินณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

กระถินนา

กระถินนาเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกระถินนา · ดูเพิ่มเติม »

กระถินเทพา

กระถินเทพา หรือ กระถินซาบะฮ์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acacia mangium) เป็นพรรณไม้ที่มีต้นกำเนิดในรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย ต่อมามีการนำมาปลูกที่รัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย เป็นไม้ในวงศ์ถั่ว โตเร็ว สูงได้ถึง 30 เมตร ลักษณะลำต้นตรงไม่มีกิ่งก้าน จึงนิยมปลูกเป็นสวนป.

ใหม่!!: พืชดอกและกระถินเทพา · ดูเพิ่มเติม »

กระทิง (พรรณไม้)

กระทิง หรือ สารภีทะเล มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ เช่น กากะทิง (ภาคกลาง), ทิง (กระบี่), เนาวกาน (น่าน), สารภีแนน (ภาคเหนือ) กระทิงราย (ชุมชนกระทิงลาย,โรงเรียนเมืองพัทยา 1 (เชิญ พิศลยบุตรราษฎร์บำเพ็ญ)) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 20 – 25 เมตร เปลือกเรียบสีเทาอ่อนหรือน้ำตาลปนเหลือง เปลือกในสีชมพูเนื้อไม้สีน้ำตาลปนแดง ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม สีเขียวเข้ม กิ่งอ่อนเกลี้ยง ยอดอ่อนเรียวเล็ก ปลายทู่ ออกดอกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง มีดอกย่อย กลีบดอกสีขาว เกสรเพศผู้สีเหลือง มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม ผลเป็นผลสดทรงกลม ปลายผลเป็นติ่งแหลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง การดูแลรักษาทำได้โดยชอบดินร่วนปนทรายหรือดินทราย ความชุ่มชื้นปานกลาง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด กระทิงเป็นพืชมีพิษ เมื่อรับประทานราก เปลือก และใบเข้าไปจะมีผลต่อหัวใ.

ใหม่!!: พืชดอกและกระทิง (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

กระทือ

กะทือ ชื่ออื่นๆคือ กะทือป่า กะแวน กะแอน แสมดำ (เหนือ) เฮียงแดง (แม่ฮ่องสอน) เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.5 - 1 เมตร มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกของเหง้าสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอม แทงหน่อใหม่เมื่อถึงฤดูฝน ใบเดี่ยวเรียงสลับ และเป็นรูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 5 - 10 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและกระทือ · ดูเพิ่มเติม »

กระทือลิง

กระทือลิง อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดินขนาดเล็ก ดอกช่อ ริ้วประดับและกลีบดอกสีส้ม ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและกระทือลิง · ดูเพิ่มเติม »

กระทงลาย

มล็ดกระทงลาย กระทงลาย หรือกระทุงลาย หรือหมากแตก (ภาษาสันสกฤต: jyotishmati ज्योतीष्मती, ภาษาฮินดี: Mal-kangani माल-कांगनी, ภาษาจีน: deng you teng 灯油藤) เป็นพืชในวงศ์ Celastraceae เป็นพืชที่พบในอินเดีย และในประเทศไทย เป็นไม้เลื้อย ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ดอกแยกเพศ แยกต้น ดอกตัวผู้มีฐานรองดอกรูปถ้วย กลีบดอกสีเขียว ผลกลม แห้งแตก เมล็ดมีเยื่อสีน้ำตาลแดงหรือแดงสด ยอดอ่อนลวกรับประทานกับน้ำพริก ลำต้นใช้เป็นส่วนผสมในยารักษาโรคมาลาเรีย โรคบิด หรือใช้เป็นยากระตุ้นประสาท เมล็ดมีน้ำมัน คั้นมาทำน้ำมันใส่ตะเกียง หรือใช้นวดให้กล้ามเนื้อคลายตัว ในอินเดียใช้น้ำมันของพืชนี้เป็นยา สารสกัดด้วยน้ำจากเมล็ดช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของความจำ เมล็ดรับประทานไม่ได้ ทำให้ระคายคอ.

ใหม่!!: พืชดอกและกระทงลาย · ดูเพิ่มเติม »

กระท่อม (พืช)

กระท่อม เป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระท่อม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

กระท้อน

กระท้อน เป็นไม้ผลเขตร้อนยืนต้นในวงศ์กระท้อน (Meliaceae) ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลกระท้อนมีสีสะดุดตา เป็นต้นไม้ที่ทนแล้งได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและกระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

กระดอม

กระดอม ((Lour.) Merr. หรือ Gymnopetalum cochinchinense (Lour.) Kurz) เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Gymnopetalum ซึ่งจัดอยู่ในวงศ์แตง (Cucurbitaceae) มีลักษณะเป็นไม้เลื้อย กระดอมสามารถนำมาใช้เป็นสมุนไพรอันปรากฏในตำรับตำรายาโบราณของไทย โดยเฉพาะส่วนของเมล็ด ต้นกระดอมขึ้นอยู่ทั่วไปตามที่รกร้าง มีถิ่นกระจายพันธุ์ในแถบประเทศอินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาคราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดอม · ดูเพิ่มเติม »

กระดังงา

กระดังงา หรือกระดังงาไทย อังกฤษ: Ylang-ylang (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cananga odorata (Lamk.) Hook.f. et Th.) ชื่ออื่น สะบันงา สะบันงาต้น สะบานงาhttp://www.mmp.mju.ac.th/Search_Detail_Herb_MJU.aspx?Herb_ID.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดังงา · ดูเพิ่มเติม »

กระดังงาสงขลา

กระดังงาสงขลา เป็นกระดังงาชนิดหนึ่งถิ่นกำเนิดที่สงขลา ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cananga fruticosa มีชื่อสามัญอื่นคือ Dwarf Ylang-Ylang.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดังงาสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

กระดังงาแอฟริกา

กระดังงาแอฟริกา (Calabash nutmeg ชื่ออื่นๆคือ Jamaican nutmeg, African nutmeg, ehuru, ariwo, awerewa ehiri, airama, African orchid nutmeg, muscadier de Calabash and lubushi ehiri, airama, African orchid nutmeg, muscadier de Calabash และ lubushi) เป็นพืชมีดอกในวงศ์กระดังงา พบในเขตร้อน ผลสดมีรสเปรี้ยวแบบมะนาว แล้วจะทำให้ชาที่ปลายลิ้น เนื่องจากมีสารระงับความรู้สึกที่เรียก navocaine เป็นอาหารของสัตว์เช่น ลิงชิมแปนซี ในแอฟริกาตะวันตกใช้เมล็ดเป็นเครื่องเทศ น้ำมันหอมระเหยที่ได้จากใบประกอบด้วย β-caryophyllene, α-humulene และ α-pinene ในเมล็ดมี α-phellandrene, α-pinene, myrcene, limonene และ pinene เปลือกไม้ใช้เป็นยารักษาโรคกระเพาะอาหาร เนื้อไม้แข็งใช้ทำเครื่องใช้ต่างๆได้.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดังงาแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

กระดาษดำ

กระดาษดำ เป็นพืชในวงศ์ Araceae เป็นไม้ส้มลุกอายุยืน มียาง หัวรูปร่างสั้นป้อม ผิวเรียบ สีเทาแกมม่วง มีตาสีแดงแกมม่วง เนื้อหัวสีม่วง แดง ชมพู เหลืองหรือขาว ก้านใบสีม่วง หรือเขียวแกมน้ำตาล แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ขอบใบสีม่วง ผิวใบด้านล่างสีเขียวอ่อนเหลือบม่วง เส้นใบสีเขียวหรือม่วงเข้ม มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกา ต่อมากระจายพันธุ์ไปยังแอฟริกา เอเชียและโอเชียเนีย หัวและใบอ่อนรับประทานได้ ทั้งต้ม อบปิ้งหรือใส่ในแกง หรือสกัดแป้งเพื่อทำขนม หัวย่อยของกระดาษดำเมื่อสุกเป็นเมือกมาก ในอินโดนีเซียไม่ใคร่นิยมแต่เป็นที่นิยมในฟิลิปปินส์ ใบใช้ห่มให้ผู้ป่วยที่มีอาการไข้ช่วยให้เย็นสบาย ในเกาะปาลาวัน ฟิลิปปินส์ ใช้ของเหลวจากช่อดอกรักษาแผลและถอนพิษแมลงกัดต่อย หลายพันธุ์มีแคลเซียมออกซาเลตในใบและหัวทำให้ระคายเคืองในปากและลำไส้ ซึ่งลดพิษได้โดยการทำให้สุก ในอินโดนีเซียมี 3 พันธุ์คือ พันธุ์ใบเขียว หัวสีขาว พันธุ์ก้านใบและเส้นใบสีน้ำเงินแกมม่วง หัวสีขาว และพันธุ์ที่ก้านใบเป็นแถบเขียวหรือน้ำเงิน หัวสีเหลืองมีของเหลวคล้ายน้ำนมมาก พันธุ์นี้ไม่เหมาะที่จะรับประทาน เพราะทำให้คัน.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดาษดำ · ดูเพิ่มเติม »

กระดาด

กระดาด กระดาด ชื่ออื่น ๆ คือ บอนกาวี กระดาดขาว ปึมปื้อ เผือกกะลา เผือกโทป้าด และเอาะลาย เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Araceae ลำต้นอยู่เหนือดิน มีแป้งสะสมเป็นจำนวนมาก มีน้ำยางสีแดงที่ระคายเคืองต่อผิวหนัง ใบเป็นใบเดี่ยว เกือบเป็นวงกลม มีร่องเว้าเข้าหาเส้นใบที่โคนใบ ก้านใบเป็นร่องเกาะติดกับลำต้น ดอกเป็นดอกช่อ เรียงบนก้านดอก ดอกตัวเมียอยู่ข้างล่าง ดอกตัวผู้อยู่ข้างบน ผลเป็นผลเดี่ยว กลม เกาะกันเป็นกระจุก ไม่มีก้านผล เมื่ออ่อน สีเขียว สุกเป็นสีส้มแดง พบตามป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น ผลใช้เป็นอาหารสัตว์ เหง้าสะสมอาหาร ใช้ผลิตแป้งสีขาว ย่อยง่าย ลำต้นต้มรับประทานเป็นยาระบาย ใช้ปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดาด · ดูเพิ่มเติม »

กระดิ่งช้างเผือก

กระดิ่งช้างเผือก อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae ไม้เลื้อยมีขน สีขาวอมเทา ใบเดี่ยว ผลเกือบกลมหรือรูปไข่ สุกแล้วเป็นสีแดง เมล็ดสีน้ำตาลอมดำ ใบใช้ตำพอกฝี รากต้มน้ำดื่มเป็นยาถ่าย ดอกแก้ไข่ แก้จุกเสียด ผลต้มน้ำดื่มใช้เป็น.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดิ่งช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมกระดึง

กระดุมกระดึง เป็นพืชในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae เป็นพืชล้มลุก ลำต้นเป็นเหง้าสั้นๆ ใบออกเป็นกระจุก รูปแถบ ก้านช่อดอกโดด 1-3 ก้าน ช่อดอกสีขาวรูปทรงกลมหรือทรงกระบอก ใบประดับรูปใบหอกกลับ ขนสีขาว ออกดอกช่วงกรกฎาคม – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่ภูกระดึง จังหวัดเลย โดย T. Shimazu ชาวญี่ปุ่นและคณะ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ภูกระดึง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดุมกระดึง · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมจิ๋ว

กระดุมจิ๋วหรือกระดุมหัวไม้ขีดไฟ เป็นพืชในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว เหง้าอยู่ใต้ดิน ใบเดี่ยวเป็นกระจุกเหนือดิน มีก้านช่อดอกจำนวนมาก ดอกสีขาวอ่อนถึงน้ำตาล ทรงกลมหรือรูปไข่ จัดเป็นพืชขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้ ออกดอกเดือนตุลาคม – ธันวาคม ใช้เป็นไม้ประดับในการตกแต่งสวนถาด พบครั้งแรกที่ภูกระดึง จังหวัดเล.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดุมจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมทองเลื้อย

กระดุมทองเลื้อย หรือ เบญจมาศเครือ (Singapore dailsy) เป็นไม้ประดับหรือพืชคลุมดิน ขยายพันธุ์โดยการปักชำ.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดุมทองเลื้อย · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมเงิน

กระดุมเงิน เป็นไม้พุ่มคลุมดิน สูงไม่เกิน 50 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดุมเงิน · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมเต็ม

กระดุมเต็มหรือมณีเทวา เป็นพืชในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae ลำต้นสั้นมาก ใบออกเป็นกระจุกที่โคนต้น มีก้านช่อดอก 1-3 ก้าน ช่อดอกทรงกลม สีขาวแกมน้ำตาล เมล็ดสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม พบในภาคตะวันออก พบครั้งแรกที่อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี โดยศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดุมเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกไก่

กระดูกไก่ เป็นพืชในวงศ์ Chloranthaceae ในมาเลเซียเรียกเกอรัส ตูลัง ในฟิลิปปินส์เรียกบาเรา บาเรา เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นเกลี้ยง มีกลิ่นหอม ข้อโป่งพอง หูใบขนาดเล็กเป็นบางแคบ ขอบใบมีรอยจัก ใบสีเขียวสด ผิวใบด้านบนเป็นมัน ดอกช่อ มีริ้วประดับเป็นกาบหุ้ม ดอกย่อยขนาดเล็ก เกสรตัวผู้เป็นสามพู ติดกับครึ่งบนของรังไข่ ผลเดี่ยว เมล็ดเดียวแข็ง ฉ่ำน้ำ ส่วนใหญ่สีขาวครีม เมล็ดค่อนข้างกลม กระดูกไก่พบได้ทั่วไป ตั้งแต่เนปาล ยูนนาน หมู่เกาะอันดามัน ไปจนถึงเกาะนิวกินี ก่อนที่จะนำต้นชามาปลูก ชาวชวานำใบและเหง้าของกระดูกไก่ไปชงน้ำชาดื่ม เมื่อเนเธอร์แลนด์เข้ามาปกครองดัตช์อีสต์อินดีสได้ห้ามประชาชนปลูกกระดูกไก่เพราะจะให้ปลูกต้นชาแทน ในมาเลเซียและอินโดนีเซียใช้ทำชาสมุนไพร ใช้ขับเหงื่อเพื่อลดไข้ ในกาลิมันตันใช้กิ่งต้มน้ำดื่มเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ ชาวไทยภูเขาใช้ต้มเป็นยารักษามาลาเรีย ใช้ทำสีย้อมผ้าได้สีน้ำเงินเข้มจนเกือบดำ ทุกส่วนของลำต้นเมื่อขยี้ มีกลิ่นคล้ายการบูร รสค่อนข้างขม ใบมีน้ำมันหอมระเหยและกรดคูมาริก คล้ายกับที่พบในพืชวงศ์พริกไท.

ใหม่!!: พืชดอกและกระดูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กระโถนพระราม

กระโถนพระราม เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนในสกุลกระโถนฤๅษี ขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำ (Tetrastigma) ที่ระดับความสูง 200 ถึง 750 ม.จากระดับน้ำทะเล เป็นพืชถิ่นเดียวพบทางภาคตะวันตกของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและกระโถนพระราม · ดูเพิ่มเติม »

กระโถนพระฤๅษี

กระโถนพระฤๅษี เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนหายาก เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด พบในทางตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยAdhikari, D., Arunachalam, A., Majumder, M., Sarmah, R. & Khan, M.L. (2003) "A rare root parasitic plant (Sapria himalayana Griffith.) in Namdapha National Park, northeastern India", Current Science 85 (12), p. 1669.

ใหม่!!: พืชดอกและกระโถนพระฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

กระโถนนางสีดา

กระโถนนางสีดา เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด ขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำที่ระดับความสูง 1,200 ถึง 1,400 ม.จากระดับน้ำทะเล พบในประเทศจีน ประเทศกัมพูชาและประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและกระโถนนางสีดา · ดูเพิ่มเติม »

กระโดนใต้

กระโดนใต้ Blume) Blume เป็นพืชในวงศ์ Lecythidaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โคนต้นมีพูพอน หูใบร่วงง่ายรูปลิ่มแคบ ใบเดี่ยว แผ่นใบค่อนข้างบาง ดอกช่อ เรียงแน่น กลีบเลี้ยงติดทน กลีบดอกบาง สีออกเขียวอ่อน ผลมีหลายเมล็ด พบในไทยเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง เช่น ที่ ยะลา กระจายพันธุ์ตั้งแต่หมู่เกาะนิโคบาร์ไปจนถึงเกาะนิวกินี.

ใหม่!!: พืชดอกและกระโดนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กระเชา

กระเชา เป็นชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด Holoptelea integrifolia ในวงศ์ Ulmaceae สูง 15-30 เมตร ขึ้นอยู่ตามป่าเบญจพรรณและป่าทุ่งบนที่ราบหรือตามเชิงเขาที่ไม่สูงจากระดับน้ำทะเลมากนัก พบในอินเดีย พม่า ไทย และภูมิภาคอินโดจีน กระเชาเป็นไม้ที่โตเร็วและทนไฟป่าได้ดี เนื้อไม้สดมีสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองมะนาว เมื่อแห้งเป็นสีนวล แข็งพอประมาณ ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนักมากนัก ทำเครื่องเรือน เครื่องกลึง แกนร่ม ก้านและกล่องไม้ขีดไฟ.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเชา · ดูเพิ่มเติม »

กระเช้าสีดา

กระเช้าสีดา เป็นพืชในวงศ์ไก่ฟ้า (Aristolochiaceae) มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เป็นพรรณไม้ในวรรณคดีเรื่อง "รามเกียรติ์".

ใหม่!!: พืชดอกและกระเช้าสีดา · ดูเพิ่มเติม »

กระเช้าผีมด

กระเช้าผีมด (India birthwort) เป็นพืชในวงศ์ไก่ฟ้า (Aristolochiaceae) กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนี.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเช้าผีมด · ดูเพิ่มเติม »

กระเช้าปากเป็ด

กระเช้าปากเป็ด อยู่ในวงศ์ Aristolochiaceae เป็นไม้เลื้อย ลำต้นเกลี้ยงใบเดี่ยว ดอกช่อ กลีบดอกเป็นหลอดทรงกระบอก สีม่วงอมแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเช้าปากเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

กระเจาะ

กระเจาะ หรือ ขะเจาะ เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบในวงศ์ Leguminosae วงศ์ย่อย Papilionpidae ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ ดอกเป็นดอกช่อ ดอกย่อยมีลักษณะคล้ายดอกถั่ว สีม่วงอ่อน บานวันเดียวแล้วโรย ติดผลเป็นฝักแบน แก่แล้วแตกเป็นสองซีก เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกที่แม่กลาง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและกระเจาะ · ดูเพิ่มเติม »

กระเจาน้อย

กระเจาน้อย เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Tiliaceae เปลือกลำต้นเหนียว และลอกออกได้ตามแนวยาวตลอดลำต้น ใบเดี่ยว เป็นใบบางดอกเดี่ยว ออกตรงข้าม กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว ผลทรงกระบอกแห้งแล้วแตก ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม พบครั้งแรกในไทยเมื่อ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและกระเจาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

กระเจียว

กระเจียว, กระเจียวแดง, อาวแดง หรือ ว่านมหาเมฆ เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Zingiberaceae ลำต้นเป็นเหง้าใต้ดิน ช่อดอกชูออกจากปลายลำต้นเทียมโดยมีริ้วประดับ ริ้วประดับตอนปลายมีสีแดงอมม่วง กลีบดอกสีครีม ปลายกลีบปากมีแต้มสีเหลือง ช่อดอกนำไปลวกจิ้มน้ำพริก หน่อใช้ประกอบอาหาร ภาษากะเหรี่ยงเรียกเพาะพอ ชาวกะเหรี่ยงนำช่อดอกอ่อนและหน่ออ่อนไปลวกจิ้มน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเจียว · ดูเพิ่มเติม »

กระเจี๊ยบ

กระเจี๊ยบราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเจี๊ยบ · ดูเพิ่มเติม »

กระเจี๊ยบละว้า

กระเจี๊ยบละว้า เป็นพืชในวงศ์ Malvaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งตรง รากแก้วมีลักษณะคล้ายหัว ลำต้นเหนือดินมีหนามยาว ดอกช่อ มีริ้วประดับ ดอกสีเหลือง แกนกลางเป็นสีม่วงขนาดเล็ก ผลรูปรีเป็นแคบซูลมีหนามแข็ง เมล็ดมาก พบในอินเดีย พม่า อินโดจีน จีนตอนใต้ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ หัวรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเจี๊ยบละว้า · ดูเพิ่มเติม »

กระเจี๊ยบเปรี้ยว

กระเจี๊ยบเปรี้ยวราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเจี๊ยบเปรี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

กระเทียม

กระเทียม เป็นพืชสมุนไพรไทยและเป็นเครื่องเทศชนิดหนึ่ง โดยมักใส่ในอาหารหลายชนิด ทั้งอาหารไทย อาหารอินเดีย กระเทียมมีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กระเทียมขาว (อุดรธานี) กระเทียมจีน (กทม.,กลาง) ปะเซ้วา (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) หอมขาว (อุดรธานี) หอมเทียม (เหนือ) หัวเทียม (ใต้).

ใหม่!!: พืชดอกและกระเทียม · ดูเพิ่มเติม »

กระเทียมต้น

กระเทียมต้น (leek) (L.), บางครั้งใช้ว่า Allium porrum เป็นพืชผักชนิดหนึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับหอมและกระเทียม ในวงศ์ Amaryllidaceae วงศ์ย่อย Allioideae ผักที่ใกล้เคียงคือกระเทียมโทน (elephant garlic) และ kurrat ซึ่งเป็นสปีชีส์ย่อยของ Allium ampeloprasum และใช้เป็นอาหารได้ต่างกัน ส่วนที่กินได้ของกระเทียมต้นคือส่วนของกาบใบซึ่งบางครั้งเรียกว่าต้นหรือก้าน.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเทียมต้น · ดูเพิ่มเติม »

กระเทียมเถา

กระเทียมเถา (Garlic vine) เป็นไม้เถาเลื้อยเนื้อแข็ง ขนาดกลาง มีลำต้นเป็นเถาใหญ่ แข็งแรง สามารถเลื้อยไปได้ไกลมากกว่า 10 เมตร กลิ่นของดอกและใบ จะมีกลิ่นเหมือนกระเทียม และรูปทรงเถา จึงเป็นที่มาของชื่อ เถาอ่อนและส่วนยอดจะเป็นสีเขียว ส่วนเถาแก่จะเป็นสีน้ำตาล มีใบประเภทใบประกอบ มีใบย่อย 1 คู่ ออกตรงข้ามกันตามข้อต้น เป็นไม้ใบบางแต่แข็งกระด้าง รูป ใบรีหรือมน หรือใบรูปไข่ขอบใบเรียบปลายใบและโคนใบแหลมก้านใบสั้นมีมือเกาะอยู่ระหว่างใบ ย่อยแต่ละคู่ในขณะที่ใบยังอ่อน ใบจะมีกลิ่นคล้ายกับกลิ่นกระเทียม ออกดอกเป็นช่อตามข้อต้น หรือตามโคนกาบใบ ช่อหนึ่งจะมีประมาณ 10-20 ดอก ดอกสีม่วงอ่อน ตรงปากดอกหรือกลางดอกสีค่อนข้างขาวมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเล็กน้อย ลักษณะดอก จะเป็นรูปกรวยปากบาน หรือรูปแตร มีกลีบดอกแยกออกเป็น 5 กลีบ เมื่อดอกบานใหม่ ๆ จะเป็นสีขาว แล้วจะกลายเป็นสีชมพูและสีม่วง เมื่อแก่จัด มีเกสรตัวผู้ภายในดอก 4 อัน สั้น 2 อัน และยาวอีก 2 อัน ในช่วงที่ออกดอก กระเทียมเถาจะทิ้งใบหมด หมวดหมู่:วงศ์แคหางค่าง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเทียมเถา · ดูเพิ่มเติม »

กระเฉด

กระเฉด เป็นพืชล้มลุก ลำต้นลอยน้ำหรือเลื้อยแผ่ใกล้ฝั่ง มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ ผักหละหนอง, ผักหนอง (ภาคเหนือ), ผักฉีด (ภาคใต้), ผักรู้นอน (ภาคกลาง).

ใหม่!!: พืชดอกและกระเฉด · ดูเพิ่มเติม »

กระเป๋าจิงโจ้

กระเป๋าจิงโจ้ (Cephalotus) เป็นสกุลของพืชที่บรรจุด้วยสปีชีส์เพียงสปีชีส์เดียว, Cephalotus follicularis, เป็นพืชกินสัตว์ขนาดเล็ก มีกับดักแบบหลุมพรางซึ่งเกิดจากการแปรสภาพของใบ Cephalotus follicularis มีชื่อสามัญอื่นๆอีกคือ Albany Pitcher Plant, Western Australian Pitcher Plant, fly-catcher plant หรือ mocassin plant.

ใหม่!!: พืชดอกและกระเป๋าจิงโจ้ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเขมา

กรุงเขมา (อ่านว่า กรุง-ขะ-เหมา) เป็นพืชในวงศ์บอระเพ็ด (Menispermaceae).

ใหม่!!: พืชดอกและกรุงเขมา · ดูเพิ่มเติม »

กรดน้ำ

กรดน้ำ (goatweed, scoparia-weed) หรือ หญ้าปีกแมลงวัน เป็นพืชในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) พบได้ทั่วไปตามริมน้ำหรือที่ชื้นแฉ.

ใหม่!!: พืชดอกและกรดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

กลอย

กลอย เป็นพืชไม้เถาเลื้อยอยู่ในวงศ์ Dioscoreaceae ชนิดหนึ่งที่มนุษย์รู้จักนำหัวของมันมาทำเป็นอาหารมานาน หัวใต้ดินกลมรี มีรากเล็กๆกระจายทั่ว มี 3-5 หัวต่อต้น เปลือกบาง สีน้ำตาลออกเหลือง เนื้อในหัวสีขาวหรือสีเหลือง ลำต้นเลื้อยพันต้นไม้อื่น มีหนามเล็กๆกระจายทั่วไป มีขนนุ่มสีขาว กลอย พบตามธรรมชาติในอินเดีย จีนตอนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และนิวกินี ใช้เป็นอาหารในเอเชียและแอฟริก.

ใหม่!!: พืชดอกและกลอย · ดูเพิ่มเติม »

กลึงกล่อม

กลึงกล่อม เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Annonaceae เปลือกต้นสีน้ำตาลอ่อนหรือแตก ผิวเรียบ เปลือกลอกออกเป็นแผ่นได้ มีจุดสีขาว ใบเดี่ยว ผิวใบด้านหน้าเรียบเป็นมัน ด้านหลังเขียวนวล ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลือง กลีบดอกชั้นในปลายติดเป็นสามเหลี่ยม กลีบดอกชั้นนอกเล็กกว่า มีกลิ่นหอม ผลกลุ่ม กลมยาว ผลสีเขียวบางส่วนสีม่วง สุกแล้วเป็นสีแดง เนื้อน้อย มีเมล็ดเดียว ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและกลึงกล่อม · ดูเพิ่มเติม »

กลี

กลี เป็นพืชในวงศ์ Araceae มีชื่อว่า ปูรากา ในหมู่เกาะคุก บาไบ ในคิริบาส ปูลาอา ในซามัว เวียกัน ในฟีจี ปูลากา ในตูวาลู และ นาเวีย ในวานูอาตู เป็นไม้ล้มลุกโตเร็ว ต้นเดี่ยวหรือเป็นกอ เหง้าสั้นเรียวเล็กจนเป็นหัวทรงกระบอกขนาดใหญ่ แผ่นใบลักษณะคล้ายหัวลูกศร ก้านใบกลมมีหนาม ยกเว้นบางพันธุ์ที่ไม่มีหนาม ดอกช่อ กาบหุ้มช่อดอกหนา สีขาว เขียวเหลือง หรือม่วง ผลมีเนื้อ สีส้มแกมแดง ไม่มีก้านผล เมล็ดมีลักษณะโค้ง การกระจายพันธุ์พบตั้งแต่มาเลเซียไปจนถึงมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เป็นไม้หายากในเกาะสุมาตราและชวา กลีสะสมแป้งในหัวใต้ดิน นำมารับประทานได้ โดยการต้ม นึ่ง อบหรือขูดให้ละเอียด ใบอ่อนใช้เป็นผัก ใบใช่ห่ออาหาร เปลือกชั้นนอกของก้านใบลอกออกมาเป็นเส้นใยละเอียด ใช้สานเสื่อ ในฟิลิปปินส์ใช้น้ำต้มช่อดอกเป็นยาขับประจำเดือน ใช้เป็นไม้ประดับได้ ในบางพื้นที่ของฟิลิปปินส์ใช้หัวเป็นอาหารที่สำคัญ และเป็นอาหารสำรองในหมู่เกาะไมโครนีเซีย หัวเก็บเกี่ยวได้เมื่ออายุ 3-6 ปี สูงสุด 10 ปี ถ้าแกเกินไปเนื้อหัวจะแข็งเป็นไม้ มีเส้นใยมากเกินไป สายพันธุ์โตเร็วจะแย่กว่าพันธุ์ที่โตช้า หัวแก่เมื่อเริ่มออกดอก.

ใหม่!!: พืชดอกและกลี · ดูเพิ่มเติม »

กลีบเทียน

กลีบเทียน หรือ เพดาโก๊ะ เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Ranunculaceae ลำต้นเลื้อยได้ไกล มีขนยาวทั่วไป ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ดอกออกที่ปลายยอด สีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ พบในที่ชื้นแฉะในที่สูง ทางภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและกลีบเทียน · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยบัว

กล้วยบัวเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยบัว · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยบัวสีชมพู

กล้วยบัวสีชมพู (Flowering banana; Roxb.)เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดินสั้น ๆ ลำต้นแตกเป็นกอ ลำต้นเทียม ประกอบด้วยกาบใบสูง 1.5-3 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 - 15 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยบัวสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยพัด

กล้วยพัด เป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโดดเด่น มีลำต้นคล้ายปาล์ม ใบคล้ายกล้วย กล้วยพัดเป็นพืชในวงศ์เดียวกับปักษาสวรรค์ อย่างไรก็ตาม การจำแนกกลุ่มพืชในวงศ์นี้ยังเป็นที่ถกเถียง บางครั้งก็นำกล้วยพัดไปไว้ในสกุลเดียวกับกล้วย (Musaceae) ก็มี สำหรับชื่อในภาษาไทยชื่อ กล้วยพัด ส่วนในภาษาอังกฤษนั้น เรียก traveller's palm หรือ traveller's tree.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยพัด · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยฤๅษี

กล้วยฤๅษี อยู่ในวงศ์ Ebenaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล ผลกลมแป้นสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง ผลสุกรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยศรีน่าน

กล้วยศรีน่าน เป็นกล้วยชนิดใหม่ของประเทศไทย เป็นพืชถิ่นเดียว พบที่ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยศรีน่าน · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยหก

กล้วยหก หรือกล้วยยูนนาน เป็นพืชพื้นเมืองในจีนและเป็นอาหารที่สำคัญของช้างเอเชีย เป็นกล้วยที่สูงที่สุดในประเทศไทย พบมากทางภาคเหนือ หัวปลีเป็นสีม่วงเข้มหัวปลีนำมาทำอาหาร ผลกินได้มีเมล็ดมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยหก · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยอีเห็น

กล้วยอีเห็น (Pierre ex Finet & Gagnep.) ชื่ออื่นๆ พีพวน (เลย อุดรธานี) เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยอีเห็น · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยผา

กล้วยผาเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยผา · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยค่าง

กลายหรือกล้วยค่าง เป็นพืชในสกุลมหาพรหม อยู่ในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลแกมดำ ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว มีทั้งดอกที่หอมและไม่หอม ผลกลุ่ม ผลย่อยทรงกระบอก พบครั้งแรกที่อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดย A. Keith ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ผู้ค้น.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยค่าง · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยตานี

กล้วยตานีเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยตานี · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยป่า

กล้วยป่าเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยป่า · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยป่ามะละกา

กล้วยป่ามะละกา subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยป่ามะละกา · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยป่าสยาม

กล้วยป่าสยาม subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยป่าสยาม · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนวล

กล้วยนวล หรือ กล้วยหัวโต เป็นกลุ่มของกล้วยอบิสซิเนียที่ไม่เป็นรู้จักมากนัก บางครั้งมีชื่อวิทยาศาสตร์ Musa nepalensis หรือ Ensete giganteum หรือ Ensete wilsonii เป็นพืชพื้นเมืองในจีน เนปาล อินเดีย พม่า และประเทศไทยในพื้นที่สูง ลำต้นเป็นเหง้าไม่แตกหน่อ โคนป้อมใหญ่ สีของกาบลำต้นเทียมสีเขียว มีนวลเป็นไขหนา ก้านใบมีสีเขียว มีร่องเปิด เส้นกลางใบสีเขียว ริ้วประดับสีเขียว ลักษณะคล้ายกล้วยผา ริ้วประดับเรียงสลับกับดอกและชิดติดกันมาก ช่อดอกขนาดใหญ่ โค้งลง ผลใหญ่กลมป้อม เมล็ดขนาดใหญ่ สีดำ มีจำนวนมาก กล้วยนวลเป็นพืชที่รับประทานได้ ชาวเมี่ยนนำปลีไปแกง และนำกาบกล้วยไปเป็นอาหารหมู.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยนวล · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนาคราช

กล้วยนาคราช เป็นกล้วยชนิดใหม่ของประเทศไทย ตีพิมพ์เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยนาคราช · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยน้อย

กล้วยน้อยหรือกั้นทาง ตันทาง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Annonaceae เปลือกเรียบสีน้ำตาลหรือดำ ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองอมน้ำตาล โคนกลีบมีสีม่วงแดงแซม เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลกลุ่ม ทรงรี แตกตามตะเข็บด้านเดียว เมล็ดสีดำมีเยื่อหุ้มสีแดง ใช้ทำฟืน เสารั้ว ดอกเป็นส่วนผสมของยาหอม ชาวไทยอีสานไม้ชนิดนี้ปิดบังเส้นทางของวิญญาณได้ จึงใช้กิ่งขวางทางเข้าหมู่บ้าน หรือบ้านหลังจากเสร็จงาน.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยน้อย · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้

กล้วยไม้ หรือ เอื้อง เป็นพืชดอกที่มีความหลากหลายมากที่สุดกลุ่มหนึ่ง โดยมีประมาณ 899 สกุล และมีประมาณ 27,000 ชนิดที่มีการยอมรับ คิดเป็น 6–11% ของพืชมีเมล็ด มีการค้นพบราวๆ 800 ชนิดทุกๆปี มีสกุลใหญ่ๆคือ Bulbophyllum (2,000 ชนิด), Epidendrum (1,500 ชนิด), Dendrobium (1,400 ชนิด) และ Pleurothallis (1,000 ชนิด) สายพันธุ์ของกล้วยไม้ที่ขึ้นและเติบโตในป่าเรียกว่า กล้วยไม้ป่า กล้วยไม้จัดอยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) สามารถแบ่งตามลักษณะการเติบโตได้ดังนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยไม้ · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้ผี

กล้วยไม้ผี (Ghost Orchid) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกล้วยไม้กาฟากไม่มีใบที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงสองชนิด กล้วยไม้ผีอเมริกาเป็นกล้วยไม้กาฟากบนต้นไม้ใหญ่ที่เพียงแต่เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่ โดยจะงอกเพียงรากที่มีสีเขียว ซึ่งสามารถสังเคราะห์แสงได้เช่นใบ พืชชนิดนี้จึงไม่ต้องการใบ และจะงอกดอกเมื่อฤดูร้อนมาถึง จึงเป็นที่มาของคำว่ากล้วยไม้ผี เพราะมีดอกงอกออกมาจากที่ที่ไม่มีต้นอยู่เลย กล้วยไม้ผียูเรเชียเป็นกล้วยไม้กาฟากบนเส้นใยของรา โดยจะดูดน้ำ และอาหารจากเส้นใยของราที่พยายามจะมาครอบคลุมและย่อยสลายเมล็ด และจะงอกเพียงแต่ดอกเท้านั้นออกมาจากพื้นดิน เช่นเดียวกับกล้วยไม้อเมริกา เนื่องจากกล้วยไม้ชนิดนี้ไม่มีทั้งรากและใบจึงถูกเรียกว่า "กล้วยไม้ผี" เช่นเดียวกับกล้วยไม้ผีอเมริกาเนื่องจากกล้วยไม้ชนิดนี้งอกดอกออกมาจากที่ที่ดูเหมือนจะไม่มีต้นกล้วยไม้อยู.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยไม้ผี · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้ผียูเรเชีย

กล้วยไม้ผียูเรเชีย (Ghost Orchid) (ระวังสับสนกับกล้วยไม้ผีอเมริกา) เป็นกล้วยไม้ที่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ทรหด กล้วยไม้ผียูเรเชียเป็นพืชปรสิตบนเชื้อรา และไม่สามารถสร้างคลอโรฟิลล์ ทำให้สังเคราะห์แสงไม่ได้.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยไม้ผียูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้ผีอเมริกา

''Dendrophylax lindenii'' กล้วยไม้ผีอเมริกา (Ghost Orchid) (ชื่อทั่วไป "กล้วยไม้ผี" ก็ใช้กับ Epipogium aphyllum ด้วย) เป็นพืชอายุยืนกาฝากในวงศ์กล้วยไม้ (วงศ์กล้วยไม้) มีถิ่นกำเนิดในรัฐฟลอริดา ประเทศคิวบา และในประเทศบาฮามาส ทั้งนี้กล้วยไม้ผียังมีชื่ออื่นในภาษาอังกฤษอีก เช่น palm polly และ white frog orchid เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยไม้ผีอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้ดิน

กล้วยไม้ดิน (Ground orchid) เป็นสกุลหนึ่งของพืชในวงศ์กล้วยไม้ พืชในสุกลนี้เป็นญาติกับพืชสกุล Acanthephippium, Bletia, Calanthe, และ Phaius โดยทั่วไปมีถิ่นอาศัยในบอร์เนียว, ประเทศออสเตรเลีย และ หมู่เกาะโซโลมอน ไฟล์:kluaimaidin2.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin3.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin4.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin5.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin6.jpg|กล้วยไม้ดิน หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พืชแบ่งตามสกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยไม้ดิน · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยเฟอี

กล้วยเฟอี Fe'i bananas เป็นกล้วยปลูกในสกุลกล้วย ใช้รับประทานเป็นผลไม้ พบในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะเฟรนซ์โพลินีเซีย ต้นมียางสีแดงอมม่วงซึ่งใช้ทำสีย้อมและหมึกเขียนหนังสือได้ ผิวมัน เนื้อผลสีส้ม ความกว้างและความยาวของผลใกล้เคียงกัน เป็นอาหารหลักในบริเวณหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มีเบตาแคโรทีนสูง ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Musa × troglodytarum L.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยเฟอี · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยเลือด

กล้วยเลือดหรือกล้วยมณี (blood banana; var. zebrina) เป็นสายพันธุ์หนึ่งของกล้วยป่า เป็นพืชพื้นเมืองในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ใช้เป็นไม้ประดับ ใบมีรอยสีแดงคล้ำ ผลที่มีเมล็ดน้อยรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและกล้วยเลือด · ดูเพิ่มเติม »

กวักเงินกวักทอง

กวักเงินกวักทอง อยู่ในวงศ์ Araceae เป็นไม้ล้มลุก อายุหลายปี ลำต้นและรากอวบน้ำ มีจุดด่าง ใบคล้ายใบพลูด่าง ก้านใบเป็นกาบ ลำต้นสีเขียวเข้ม มีลายขาวสลับ ดอกช่อ ออกตามซอกใบ แยกเพศแต่อยู่ในช่อเดียวกัน ริ้วประดับขนาดใหญ่สีเขียวอ่อน นิยมปลูกไว้ตามร้านค้า ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าช่วยเรียกลูกค้า และถ้าออกดอกจะมีโชคล.

ใหม่!!: พืชดอกและกวักเงินกวักทอง · ดูเพิ่มเติม »

กวาวเครือขาว

กวาวเครือขาว Graham ex Benth.

ใหม่!!: พืชดอกและกวาวเครือขาว · ดูเพิ่มเติม »

กวาวเครือแดง

กวาวเครือแดง Roxb.

ใหม่!!: พืชดอกและกวาวเครือแดง · ดูเพิ่มเติม »

กวางดูถูก

กวางดูถูก เป็นพืชในวงศ์ Ranunculaceae ลำต้นแข็ง ใบประกอบ มีรยางค์เป็นสายยาว ใบหนาสีเขียวเข้ม ดอกสีเขียวแกมม่วง ผลแห้งรูปกระสวย มีขนสีขาวปกคลุม ปลายขนมีลักษณะคล้ายแส้บิดโค้ง เถาใช้เป็นยาขับพยาธิ แก้คัน.

ใหม่!!: พืชดอกและกวางดูถูก · ดูเพิ่มเติม »

กวนหวงป้อ

กวนหวงป้อ อยู่ในวงศ์ Rutaceae เป็นพืชที่ให้ยาจีนที่เรียกหวงป้อในภาษาจีนกลางหรืออึ่งแปะในภาษาจีนแต้จิ๋ว เปลือกนอกเหลืองอมน้ำตาล เนื้อในสีเหลืองเข้ม ในพืชนี้มีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ 3-acetyl-3,4-dihydro-5,6-dimethoxy-1H-2-benzopyran-1-one.

ใหม่!!: พืชดอกและกวนหวงป้อ · ดูเพิ่มเติม »

กะพ้อ

กะพ้อ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Licuala paludosa Griff.) เป็นปาล์มลำต้นเตี้ย สูง 1-3 ม. ลำต้นแตกหน่อเป็นกอ ใบมีลักษณะคล้ายฝ่ามือ เรียงเวียนสลับ รูปกลม ก้านใบรูปสามเหลี่ยม มีหนามแหลมสีดำ ใบประกอบด้วยกลุ่มใบย่อย 6-9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีใบย่อย 3-4 ใบ ใบย่อยรูปแถบ ปลายเบี้ยว และเว้าเป็นหางปลา โคนสอบ ออกเป็นกลุ่มชิดกันที่ปลายก้านใบ โคนก้านใบมีเส้นใยประสานกันหุ้มหนาแน่น กาบใบเล็กเป็นหลอดสีเขียว ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงสั้น แยกแขนงเป็นช่อเชิงลด 5-7 ช่อ ห้อยลง ดอกไม่มีก้าน กลีบเลี้ยงติดกันเป็นรูปถ้วย เมื่อดอกเจริญขึ้นกลีบเลี้ยงจะฉีกออกทางด้านข้าง กลีบดอกรูปคนโท โคนติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดกันเป็นวงรอบกลีบดอก เกสรเพศเมียเล็ก รังไข่ตอนบนตัดแบน ผลกลม แก่จัดสีส้ม เนื้อบาง เมล็ดกลม.

ใหม่!!: พืชดอกและกะพ้อ · ดูเพิ่มเติม »

กะพ้อสี่สิบ

กะพ้อสี่สิบ เป็นปาล์มในสกุลกะพ้อ ใบรูปฝ่ามือ หยักเว้าถึงแกนกลาง 25 – 35 แฉก ขอบก้านใบมีหนามแหลม ติดผลจำนวนมาก เมื่ออ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีแดง ชื่อกะพ้อสี่สิบมาจากคำที่กล่าวว่าเคยพบต้นที่มีใบถึง 40 แฉก พบกระจายพันทางภาคใต้ตั้งแต่ระนอง พังงา กระบี่ และสุราษฎร์ธานี เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและกะพ้อสี่สิบ · ดูเพิ่มเติม »

กะพ้อเขาจันทร์

กะพ้อเขาจันทร์ เป็นปาล์มในสกุลกะพ้อ เป็นต้นเดี่ยวหรือแตกกอ ใบรูปฝ่ามือ โดยแฉกตรงกลางมีขนาดใหญ่ที่สุด เว้าลึกถึงกลางใบ แฉกกลางมีขน ขอบก้านใบมีหนามแหลม ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก ผลรูปกลมรีแก่เป็นสีแดง เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออก พบครั้งแรกโดยนายพูนศักดิ์ วัชรากร ใช้เป็นไม้ประดับ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ผู้ค้น.

ใหม่!!: พืชดอกและกะพ้อเขาจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กะหนานปลิง

กะหนานปลิง เป็นพืชมีดอกที่เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดียจนถึงพม่า ชื่อสามัญของพืชนี้คือ Kanak Champa, Muchakunda หรือ Karnikar Tree ในฟิลิปปินส์เรียก Bayog เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ นิยมปลูกเพื่อให้ร่มเงา ผลในอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและกะหนานปลิง · ดูเพิ่มเติม »

กะทกรก

''Passiflora foetida'' กะทกรก (Fetid passionflower, Scarletfruit passionflower, Stinking passionflower) ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ รก กระโปรงทอง ละพุบาบี หญ้ารกช้าง (ใต้) ตำลึงฝรั่ง เป็นไม้เถาเลื้อยคล้ายตำลึง เถาค่อนข้างคดไปงอมา เถามีหนามเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ห่าง ๆ โดยทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบมนโค้งผิวเรียบปลายใบแหลมโดยแยกเป็นสามแฉก ใบและเส้นใบบริเวณที่ติดต่อกันมีสีแดงเรื่อ บริเวณใกล้โคนก้านใบมีแฉกแหลมเล็กเรียงตรงกันข้ามสลับกัน ก้านใบ มีขนาดก้านไม้ขีด ยาว 5 –6 เซนติเมตร มีขนอ่อนเป็นฝอยขนาดเล็ก ดอกมีลักษณะก้านดอกยาวกว่าใบ ดอกบานออกกลมกว้าง กลีบดอกสีขาวแซมด้วยริ้วสีม่วง ผลค่อนข้างกลมขนาดปลายนิ้วมือ และห่อหุ้มด้วย “รก” ผลสุกมีสีเหลือง ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายขึ้นอยู่ตามที่รกร้างหรือขอบไร่ชายนา และบริเวณป่าพื้นราบ โดยเลื้อยพันกิ่งต้นไม้อื่น.

ใหม่!!: พืชดอกและกะทกรก · ดูเพิ่มเติม »

กะทกรกต้น

กะทกรกต้น หรือ เจาะเทาะ เป็นพืชในวงศ์ Olacaceae เป็นพืชที่พบในมอริเชียส เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย มีกิ่งก้านมาก มีขนตามกิ่ง กิ่งแก่มีหนามใหญ่ ดอกออกเป็นช่อ ตามซอกใบ ผลเป็นผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง สุกแล้วเป็นสีเหลืองหรือสีส้ม ทางภาคใต้ของไทย ใบนำไปแกงเลียง แกงส้มหรือแกงใส่กะทิแบบอื่น นำไปลวก จิ้มน้ำพริก เนื้อไม้มีรสฝาดใช้แก้พิษเบื่อเมา ใบตำพอกศีรษะ แก้หวัดคัดจมูก ปวดศีรษะ พืชที่เรียกกะทกรกในตำรายาโบราณ มักหมายถึงพืชชนิดนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและกะทกรกต้น · ดูเพิ่มเติม »

กะทือพิลาส

กะทือพิลาสหรือ ไพลเหลือง เป็นพืชในสกุลขิง เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้เป็นไม้ประดับ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้เป็นพืชสมุนไพรยอดอ่อนรับประทานได้ ในมาเลเซียใช้เป็นยาพื้นบ้าน รักษาอาการตาแดง ใช้แก้อาการปวดหัว ปวดหลัง พืชชนิดนี้มีฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์และมีเอนไซม์ Zerumbone synthase ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรักษามะเร็งลำไส้ใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและกะทือพิลาส · ดูเพิ่มเติม »

กะตังใบ

กะตังใบ อยู่ในวงศ์ Vitaceae กระจายพันธุ์ในเขตอินโดมลายู, อินโดจีน, ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และในเทือกเขาฆาตตะวันตกในอินเดีย http://www.biotik.org/india/species/l/leeaindi/leeaindi_en.html เป็นไม้พุ่ม ลำต้นมีขนปกคลุม ดอกออกเป็นช่อตั้ง ออกดอกตามซอกใบ ผลกลมแป้น เนื้อนุ่ม เมื่ออ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแดงเข้มถึงม่วงดำ.

ใหม่!!: พืชดอกและกะตังใบ · ดูเพิ่มเติม »

กะเพรา

กะเพรา เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30-60 เซนติเมตร นิยมนำใบมาประกอบอาหารคือ ผัดกะเพรา กะเพรามี 3 พันธุ์ คือ กะเพราแดง กะเพราขาว และ กะเพราลูกผสมระหว่างกะเพราแดงและกะเพราขาว.

ใหม่!!: พืชดอกและกะเพรา · ดูเพิ่มเติม »

กะเพราควาย

ำหรับยี่หร่า ที่เป็นเครื่องเทศไทยอีสาน ดูที่ผักชีล้อม ใบยี่หร่า หรือกะเพราควาย หรือ โหระพาช้าง (Tree Basil)(ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum gratissimum)เป็นพืชในวงศ์กะเพรา ชื่อในภาษาอังกฤษคือ Tree Basil มีแหล่งกำเนิดในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกตามถิ่นว่า Indian Tree Basil สำหรับสายพันธุ์อินเดีย และ South-East Asian Tree Basil สำหรับสายพันธุ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลิ่นหอมฉุนจัด นิยมใช้มากในอาหารไทยปักษ์ใต้ ทางภาคใต้เรียกใบราใส่ในแกง เช่น แกงพริกปลาดุก.

ใหม่!!: พืชดอกและกะเพราควาย · ดูเพิ่มเติม »

กะเมีย

กะเมีย ((Hunter) Roxb.) เป็นไม้เถาเนื้อแข็งในวงศ์ Rubiaceae เป็นพืชสมุนไพร โดยนำใบและกิ่งก้านของสีเสียดเทศ มาสกัดด้วยน้ำเดือด กรอง แล้วระเหยแห้ง จะได้สารสีน้ำตาลอ่อน แข็งเป็นก้อนสีน้ำตาลอ่อน เรียกว่า "สีเสียดเทศ" หรือ "สีเสียดแขก" องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารกลุ่มแทนนิน สารสกัดน้ำและสารสกัดเอทานอล มีฤทธิ์ต้านเชื้อที่ทำให้เกิดอาการท้องร่วง (E. coli) ก้อนสีเสียดเทศบดเป็นผงหรือต้มกิน ใช้แก้ท้องร่วง แก้บิดมูกเลือด ทาสมานแผล ใช้ใส่แผลเน่าเปื่อย ใส่แผลริดสีดวง ห้ามโลหิต ห้ามเลือดกำเดา แก้ลงแดง ทำยาอม ยาบ้วนปาก เป็นส่วนประกอบของยาเหลืองปิดสมุทร.

ใหม่!!: พืชดอกและกะเมีย · ดูเพิ่มเติม »

กะเม็ง

กะเม็ง (false daisy, white-head) เป็นพืชสมุนไพรของไทย ถูกนำมาใช้ในด้านการรักษาโรค จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามพื้นที่ปลูก กะเม็งตัวเมีย คัดเม็ง (ภาคกลาง) บังกีเช้า (จีน) หญ้าสับ ฮ่อมเกี่ยว (ภาคเหนือ).

ใหม่!!: พืชดอกและกะเม็ง · ดูเพิ่มเติม »

กะเรกะร่อนปากเป็ด

กะเรกะร่อนปากเป็ด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cymbidium finlaysonianum เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกยาวมากและห้อยลง สีเหลืองเข้ม มีเส้นแดงที่กลางกลีบออกดอกช่วงมีนาคมถึงพฤษภาคม ในไทยพบที่นครศรีธรรมราช ตรัง และนราธิว.

ใหม่!!: พืชดอกและกะเรกะร่อนปากเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

กะเปา

กะเปา เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) มีถิ่นกำเนิดในไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ปัจจุบันมีจำนวนลดลงเนื่องจากมีการบุกรุกป่า กะเปาเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูง 20 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางต้น 25-30 เซนติเมตร ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือแกมขนนก เอนหรือห้อยลง 40-50 ทาง กาบใบแยกต่ำ ขอบกาบใบมีใยสีน้ำตาลอมแดง ก้านใบยาว 1.6-2.5 เมตร ขอบใบมีหนามแหลมสีน้ำตาล ใบเกือบกลม ขนาด 2 เมตร แบ่งเป็นใบย่อย 45-55 ใบ ช่อดอดออกระหว่างกาบใบ รวมยาวได้ถึง 2 เมตร ผลทรงกลมแกมรูปไข่กลับ สีน้ำตาล มีผิวขรุขระ เป็นปาล์มที่ชอบที่ชื้นแฉะ นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและกะเปา · ดูเพิ่มเติม »

กัญชา

กัญชา หรือในภาษาไทยเรียกว่า ปุ๊น หรือเนื้อ เป็นชื่อของพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Cannabidaceae ใบมนแฉกลึกเข้าไปทางก้านหลายแฉก ดอกสีเขียว ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ใบและช่อดอกเพศเมียที่แห้งใช้สูบมีสรรพคุณทำให้มึนเมา เปลือกลำต้นใช้ทำเชือกป่านและทอผ้.

ใหม่!!: พืชดอกและกัญชา · ดูเพิ่มเติม »

กัญชาเทศ

กัญชาเทศ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae พบตั้งแต่ไซบีเรียจนถึงจีน เป็นพืชปลูกในสหรัฐ ในไทยพบตามหมู่บ้านชาวเขา ใบทรงคล้ายใบกัญชา ออกดอกตามซอก ทุกส่วนของต้นมีกลิ่นหอมแรง มีสารลีโอนูรีน ทำให้เซื่องซึมเพ้อฝัน คล้ายถูกสะกดจิต มีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร ตำรับยาพื้นบ้านใช้รักษามาลาเรีย ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของกัญชาเท.

ใหม่!!: พืชดอกและกัญชาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กัญชง

กัญชง เป็นไม้ล้มลุกมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์คล้ายกัญชา แตกต่างกัน คือ ต่อมน้ำมันของกัญชงมีน้อยกว่า จัดอยู่ในพืชซึ่งให้ประโยชน์หลักทางด้านสิ่งทอเป็นสำคัญ ในเดิมทีนั้นกัญชงเคยเป็นพืชล้มลุกที่ได้รับการจัดให้อยู่ในวงศ์เดียวกับพืชตระกูลตำแย (Urticaceae) แต่ว่าในตอนหลังนั้นพบว่ามันมีคุณสมบัติและลักษณะเฉพาะหลายอย่างที่ต่างออกไปจากพืชตระกูลตำแยเป็นอย่างมาก จึงได้รับการแบ่งเป็นอีกวงศ์หนึ่งโดยเฉพาะนั้นคือวงศ์ Cannabidaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและกัญชง · ดูเพิ่มเติม »

กัลปพฤกษ์

กัลปพฤกษ์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง พบได้มากทางภาคอีสานและภาคเหนือ พุ่มใบแบนกว้าง ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อระหว่างทิ้งใบหรือผลิใบใหม่ ชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น ชัยพฤกษ์ (ภาคเหนือ), กานล์ (เขมร-สุรินทร์), เปลือกขม (ปราจีนบุรี), กาลพฤกษ์ เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและกัลปพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กัลปพฤกษ์เครือ

กัลปพฤกษ์เครือ หรือกำป้อขาว ผีเสื้อขาว เป็นพืชในสกุลใบต่างดอก วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย หูใบรูปใบหอก ใบเดี่ยว ค่อนข้างหนา ดอกช่อสีเหลือง โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดเล็กๆปลายแยกเป็น 5 แฉก แฉกหนึ่งขยายใหญ่เป็นรูปช้อนสีขาว ผลกลม สีเขียวอ่อน กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล เมล็ดจำนวนมาก ออกดอกช่วงฤดูฝน พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่หมอคาร.

ใหม่!!: พืชดอกและกัลปพฤกษ์เครือ · ดูเพิ่มเติม »

กัดลิ้น

กัดลิ้น เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Meliaceae ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดบางๆ สัน้ำตาลอมเหลือง ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก สีขาวกลีบดอกเชื่อมกันที่โคน ปลายแยก ผลเดี่ยว สุกแล้วเป็นสีเหลืองแกมน้ำตาล ผลใช้รับประทานเป็นผลไม้ หรือทำเป็นส้มตำร่วมกับผลตะโก ถ้ารับประทานมากจะกัดลิ้น ชาวไทยอีสานนำพืชชนืดนี้เป็นส่วนผสมในยารักษาโรคริดสีดวงทวาร.

ใหม่!!: พืชดอกและกัดลิ้น · ดูเพิ่มเติม »

กันภัยมหิดล

กันภัยมหิดล หรือ กันภัย เป็นชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidolae Burtt et Chermsir.

ใหม่!!: พืชดอกและกันภัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

กันเกรา

ต้นกันเกรา กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น กันเกรามีชื่อเรียกต่างกันไปคือ ภาคกลางเรียก กันเกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา ส่วนภาคใต้เรียก ตำแสง หรือตำเสา ซึ่งถือเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง อันมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์ คือชื่อกันเกราหมายถึง กันสิ่งชั่วร้ายทั้งหลายไม่ให้มาทำอันตรายใด ๆ ชื่อตำเสาคือ เป็นมงคลแก่เสาบ้านไม่ให้ปลวก มอด แมลงต่าง ๆ เจาะกิน ชื่อมันปลา น่าจะเป็นลักษณะของดอกที่เหมือนกับไขมันของปลาเมื่อลอยน้ำไขมันของปลาในถ้วยน้ำแกง โดยเฉพาะช่วงข้าวใหม่ปลามันที่ปลาจะมีความมันและเอร็ดอร่อยเป็นที่สุด ต้นกันเกรามีลักษณะต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15 - 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องลึกไม่เป็นระเบียบ ใบเดี่ยวออกตรงกันข้าม แผ่นใบรูปมนขนาดกว้าง 2.5 - 3.5 เซนติเมตร ยาว 8 - 11 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือยาวเรียว ฐานใบแหลม โคนมน ใบเขียวมันวาว มีทรงพุ่งเป็นทรงฉัตรแหลมสวยงาม ดอก เริ่มบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ผลกลมเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 มม.

ใหม่!!: พืชดอกและกันเกรา · ดูเพิ่มเติม »

กาบหอยแครง

กาบหอยแครง (Venus Flytrap) เป็นพืชกินสัตว์ที่ดักจับและย่อยกินเหยื่อที่จับได้ซึ่งส่วนมากเป็นแมลงและแมง กาบหอยแครงมีโครงสร้างกับดักคล้ายคล้ายบานพับแบ่งออกเป็น 2 กลีบ อยู่ที่ปลายใบของแต่ละใบ และมีขนกระตุ้นบางๆบนพื้นผิวด้านในกับดัก เมื่อแมลงมาสัมผัสขนกระตุ้นสองครั้ง กับดักจะงับเข้าหากัน การที่ต้องการสิ่งกระตุ้นที่ซับซ้อนนี้ก็เพื่อป้องกันการสูญเสียพลังงานไปกับการดักจับสิ่งอื่นที่ไม่ใช่อาหาร ชื่อ Venus Flytrap นั้นอ้างอิงถึงเทพีวีนัส เทพีแห่งความรักของชาวโรมัน ขณะที่ชื่อสกุล Dionaea (เทพีไดโอนี Dionaea เป็นสกุลที่มีเพียงชนิดเดียวและเป็นญาติใกล้ชิดกับ Aldrovanda vesiculosa และสกุลหยาดน้ำค้าง).

ใหม่!!: พืชดอกและกาบหอยแครง · ดูเพิ่มเติม »

กาบเชิงเทียน

กาบเชิงเทียน เป็นพืชในสกุลเขียวหมื่นปี วงศ์ Araceae เป็นไม้ล้มลุกลำต้นทอดไปตามพื้นดิน ใบรูปไข่หรือหอก ดอกช่อ ก้านดอกยาว กาบหุ้มรูปไข่ ออกดอกเดือนเมษายน พบครั้งแรกที่อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ผ.ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและกาบเชิงเทียน · ดูเพิ่มเติม »

กากหมาก

กากหมาก เป็นพืชในวงศ์ Balanophoraceae เป็นพืชเบียน อาศัยกินน้ำเลี้ยงจากไทร แยกเพศ ดอกตัวเมีย เป็นช่อสีเหลือง มีดอกขนาดเล็กจำนวนมาก ช่อดอกเรียวยาวคล้ายกระบอง ดอกตัวผู้สีเหลือง ช่อมีลักษณะคล้ายฝักข้าวโพด ลำต้นสีเหลือง โคนต้นมีลักษณะไม่แน่นอน.

ใหม่!!: พืชดอกและกากหมาก · ดูเพิ่มเติม »

กากหมากตาฤๅษี

กากหมากตาฤๅษี หรือขนุนดิน มีชื่อสามัญว่า Nutmeg tree เป็นพืชประเภทพืชเบียนหรือกาฝาก อยู่ในวงศ์ขนุนดิน (Balanophoraceae) ในประเทศไทยพบพรรณไม้วงศ์ขนุนดิน 1 สกุล คือ สกุล Balanophora มีทั้งหมด 5 ชนิด โดยหนึ่งในนั้นได้แก่ กากหมากตาฤๅษี.

ใหม่!!: พืชดอกและกากหมากตาฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนิการ์

กาญจนิการ์ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae ไม่ผลัดใบ ดอกช่อ มีดอกย่อยสีขาวจำนวนมาก โคนกลีบดอกเป็นหลอดเรียวยาว ขอบกลีบหยักเว้าและย่น ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก แห้งแล้วแตก เมล็ดแบนและมีปีกบาง ๆ ออกดอกเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ และยังเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดกาญจนบุรี ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ Paget ผู้เก็บตัวอย่างครั้งแรกจากกรุงเทพมหานครเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและกาญจนิการ์ · ดูเพิ่มเติม »

กาฝาก

กาฝาก เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ในวงศ์ Loranthaceae อันดับ Santalales สกุล Loranthaceae ชื่อไทยว่า "กาฝากของส้มโอ" ชื่อท้องถิ่น เดี้ยงแปงซ่าง(เมี่ยน)มักอาศัยเกาะขึ้นกับพืชอื่น และแย่งอาหารจากพืชที่เกาะอยู่และ บางชนิดก็แย่งอาหารจากพวกกาฝากด้วยกันพืช กาฝากต้องพึ่งพาต้นไม้อื่นในการดำรงชีวิต เพราะมันไม่สามารถเกาะอยู่บนต้นไม้อื่นเฉยๆแบบกล้วยไม้ ว่านไก่แดง หรือนมตำเรีย ซึ่งเป็นพืชอิงอาศัย (epiphyte) แต่มันจะต้องแทงรากเข้าไปในท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของต้นไม้อื่นนั้น เพื่อแย่งเอามาเป็นอาหารของมัน เพราะกาฝากเป็นพืชเบียน (parasite) บนคาคบไม้ จึงแตกต่างจากกล้วยไม้และพืชอิงอาศัยอื่น.

ใหม่!!: พืชดอกและกาฝาก · ดูเพิ่มเติม »

กาฝากมะม่วง

กาฝากมะม่วง เป็นพืชเบียนในวงศ์ Loranthaceae ใบเดี่ยวแผ่นใบหนา ผิวเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ดอกช่อ สีเขียวนวลหรือค่อนข้างแดง ออกตามใบที่หลุดร่วงไปแล้ว ผลเดี่ยว ผลแก่เป็นสีเขียวหรือแดงคล้ำ มีเมล็ดเดียว เมล็ดมียางเหนียวติดมือ ผลเป็นอาหารของสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและกาฝากมะม่วง · ดูเพิ่มเติม »

กามูกามู

มล็ดกามูกามูแห้ง กามูกามู (โปรตุเกสและcamu camu, camu-camu, camucamu), กาซารี (caçari) หรือ อาราซาดากวา (araçá-d'água) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กชนิดหนึ่งในวงศ์ชมพู่ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ตามริมฝั่งแม่น้ำลำธารในป่าดิบชื้นแอมะซอนของประเทศบราซิล เวเนซุเอลา โคลอมเบีย เอกวาดอร์ และเปรู กามูกามูเป็นญาติใกล้ชิดกับองุ่นบราซิล (Myrciaria cauliflora) และรัมเบอร์รีหรือกวาวาเบอร์รี (Myrciaria floribunda) มีความสูงของต้นประมาณ 3–5 เมตร (10–16 ฟุต) ออกผลขนาดเล็กคล้ายผลเชอร์รี มีสีแดงอมม่วง รสเปรี้ยว และมีปริมาณวิตามินซีสูงมาก กล่าวคือ ประมาณร้อยละ 2–3 ของน้ำหนักผล.

ใหม่!!: พืชดอกและกามูกามู · ดูเพิ่มเติม »

การบูร (พรรณไม้)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พืชดอกและการบูร (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ หรือ การจำแนกชั้นทางชีววิทยา (Systematics) หมายถึงการจัดกลุ่มและหมวดหมู่สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่สูญพันธุ์ไปแล้ว การจำแนกในยุคปัจจุบันอาศัยรากฐานจากระบบการจำแนกของ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ผู้จัดกลุ่มสปีชีส์ต่าง ๆ โดยดูจากลักษณะเฉพาะทางกายภาพ การจัดกลุ่มแบบนี้ได้มีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับหลักดาร์วิน ส่วนมากเป็นผลมาจากการศึกษาอนุกรมวิธานระดับโมเลกุลด้วยการวิเคราะห์จีโนม ในการแบ่งอย่างกว้างๆจะแบ่งได้ 2 ระดับ คือ ลำดับขั้นสูง และ ลำดับขั้นต่ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

การประทับตราทางพันธุกรรม

การประทับตราทางพันธุกรรม (genetic imprinting, genomic imprinting) เป็นปรากฏการณ์ทางพันธุศาสตร์อย่างหนึ่งซึ่งยีนหนึ่งๆ จะแสดงออกเฉพาะเมื่อได้รับมาจากพ่อหรือแม่เท่านั้น ถือเป็นกระบวนการทางการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเป็นอิสระจากกฎการถ่ายทอดพันธุกรรมของเมนเดล ยีนที่ถูกประทับตราจะแสดงออกก็ต่อเมื่ออัลลีล (allele) นั้นๆ ได้รับมาจากแม่ (เช่น H19 หรือ CDNK1C) หรือพ่อ (เช่น IGF-2) เท่านั้น ลักษณะของการประทับตราทางพันธุกรรมเช่นนี้พบได้ในแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และพืชมีดอก การประทับตราทางพันธุกรรมเป็นกระบวนการเหนือพันธุกรรม (epigenetic) ที่มีการเติมหมู่เมธิล (methylation) และการเปลี่ยนแปลงหมู่ฮิสโตน (histone modification) เพื่อให้เกิดมีการแสดงออกของยีนเพียงอัลลีลเดียว (monoallelic gene expression) โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงลำดับของสารพันธุกรรม การระบุตำแหน่งเหนือพันธุกรรมเช่นนี้เกิดขึ้นตั้งแต่เป็นเซลล์ต้นกำเนิด (germline) และจะคงอยู่ในทุกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ที่เป็นเซลล์โซมาติก การควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมของยีนที่ถูกประทับตรามีความสำคัญต่อการพัฒนาปกติ มีโรคพันธุกรรมหลายโรคที่เกี่ยวข้องกับการเกิดความผิดปกติในกระบวนการประทับตราทางพันธุกรรม เช่น Beckwith-Wiedemann syndrome, Silver-Russell syndrome, Angelman syndrome และ Prader-Willi syndrome เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและการประทับตราทางพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัว (ชีววิทยา)

ในชีววิทยา คำว่า การปรับตัว (adaptation, adaptive trait) มีความหมาย 3 อย่างที่เกี่ยวข้องกัน คือ.

ใหม่!!: พืชดอกและการปรับตัว (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

การเวก (พืช)

การเวก (climbing ylang-ylang, climbing ilang-ilang, manorangini, hara-champa หรือ kantali champa) เป็นชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Artabotrys siamensis Miq.

ใหม่!!: พืชดอกและการเวก (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

กาหยีเขา

กาหยีเขา ภาคใต้เรียกหยีเขา เป็นพืชเขตร้อนในวงศ์ Leguminosae ผลรับประทานได้ โดยมีเปลือกหนาแข็ง สีน้ำตาลหุ้ม พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และภาคใต้ของไนจีเรีย เปลือกและใบมีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร ผลมีรสคล้ายมะขาม.

ใหม่!!: พืชดอกและกาหยีเขา · ดูเพิ่มเติม »

กาหลง

กาหลง เป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นดอกไม้ประจำจังหวัดสตูล ปลูกขึ้นง่ายในดินร่วนทั่วไป ที่มีความชื้นและอุดมสมบูรณ์ นิยมปลูกเป็นปลูกเป็นไม้ประดับ ทางสมุนไพรมีฤทธิ์เป็นยาแก้ไอ กาหลงมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ กาแจ๊ะกูโด (มลายู-นราธิวาส), ส้มเสี้ยว (ภาคกลาง), เสี้ยวน้อย (เชียงใหม่), เสี้ยวดอกขาวเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกาหลง · ดูเพิ่มเติม »

กาฬพฤกษ์

กาฬพฤกษ์ เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง กึ่งผลัดใบ สูง 10-20 เมตร เรือนยอดทรงกลมหรือคล้ายรูปร่มแผ่กว้าง โคนมีพูพอน เปลือกมีสีน้ำตาลเข้มเกือบดำแตกเป็นร่องลึก กิ่งอ่อนหรือช่อดอกมีขนนุ่มสีน้ำตาล ใบประกอบรูปขนนกเรียงสลับ ใบย่อย 10-20 คู่ ใบอ่อนสีแดง แผ่นใบย่อยรูปรีแกมรูปขอบขนานกว้าง 1-2 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายใบมนโคนใบเบี้ยวใต้ใบมีขนนุ่ม ดอกออกเป็นช่อพร้อมใบอ่อนตามกิ่ง ช่อดอกยาว 10-20 เซนติเมตร เริ่มบานสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นชมพูตามลำดับ ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก กว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร ยาว 20-40 เซนติเมตร สีค่อนข้างดำ ผิวมีรอยแตกและมีสันทั้งสองข้างเมล็ดรูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนานมี 20-40 เมล็ด สีเหลือง มีรสขม และมีกลิ่นเหม็น มีถิ่นกำเนิดอเมริกาเขตร้อน นิยมปลูกอยู่ทั่วไป ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ขยายพันธุ์โดยเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและกาฬพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กางหลวง

กางหลวง ภาษากะเหรี่ยงเรียกปือ เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นสีเทา มีรอยย่น ใบประกอบ มีหูใบ เปลือกต้นถากเป็นขุยแล้วแช่น้ำให้เกิดฟอง ใช้แทนสบู่หรือสระผม ช่วยให้ผมนุ่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและกางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กานพลู

กานพลู เป็นไม้ยืนต้น สูง 5 - 10 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5 - 4 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและกานพลู · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟ

กาแฟดำ ซึ่งบรรจุในถ้วย กาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากเมล็ดซึ่งได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟ คั่ว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทำให้มีสรรพคุณชูกำลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกำลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบอาระเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยายในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็นหลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหาร ซูฟี ในเยเมน แถบอาระเบีย จาก โลกมุสลิม กาแฟได้แพร่ขยายไปยังทวีปยุโรป อินโดนีเซีย และทวีปอเมริกา ในระหว่างที่กาแฟเริ่มเดินทางจากทวีปอเมริกาเหนือและตะวันออกกลางสู่ทวีปยุโรป กาแฟได้ถูกส่งผ่านไปยังซิซิลีและอิตาลีในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นผ่านตุรกีไปยังกรีซ ฮังการี และออสเตรียในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากอิตาลีและออสเตรีย กาแฟได้แพร่ขยายไปยังส่วนที่เหลือของทวีปยุโรป กาแฟได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคมหลายแห่งตลอดประวัติศาสตร์ ในแอฟริกาและเยเมน มันถูกใช้ร่วมกับพิธีกรรมทางศาสนา ผลที่ตามมาคือ ศาสนจักรเอธิโอเปีย ได้สั่งห้ามการบริโภคกาแฟตลอดกาล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ จักรพรรดิเมเนลิกที่ 2 มันยังได้ถูกห้ามใน จักรวรรดิออตโตมันระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสาเหตุทางการเมือง และมีส่วนเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางการเมืองหัวรุนแรงในทวีปยุโรป ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กใน จีนัส Coffea หลายสปีชีส์ โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ Coffea arabica และกาแฟ "โรบัสต้า" ที่ได้จากชนิด Coffea canephora ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อราสนิมใบกาแฟ (Hemileia vastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งคู่มีการปลูกในละตินอเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นำไปผ่านกรรมวิธีและทำให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่ต้องการ และจะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนำเสนอได้ในหลายวิธี กาแฟเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของโลก โดยในปี คริสต์ศักราช 2004 กาแฟเป็นสินค้าการเกษตรส่งออกที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งในจำนวน 12 ประเทศ และเป็นพืชที่มีการส่งออกอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งมีมูลค่าสูงที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ในปี คริสต์ศักราช 2005 กาแฟได้รับการโต้เถียงบางส่วนในด้านการเพาะปลูกต้นกาแฟและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม และมีการศึกษาจำนวนมากที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกาแฟกับข้อจำกัดทางยาอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดว่ากาแฟให้คุณหรือให้โทษกันแน.

ใหม่!!: พืชดอกและกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟใบใหญ่

กาแฟใบใหญ่ หรือ กาแฟไลเบอริกา อินโดนีเซียเรียกโกปีนังกา ฟิลิปปินส์เรียกโกเปบาราโก เป็นพืชในสกุลกาแฟ วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบ กิ่งเกลี้ยง ใบออกตรงข้าม มีหูใบระหว่างก้านใบ ออกดอกเป็นกลุ่มตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเป็นหลอด กลีบดอกบิดเวียนไปทางซ้าย สีขาว ผลมีเมล็ดเดียว แข็ง สีเหลืองหรือสีแดง กาแฟใบใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกา ปลูกเป็นการค้าที่อเมริกาใต้ และแอฟริกา นำมาปลูกที่อินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและกาแฟใบใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

กำลังช้างสาร

กำลังช้างสาร (ชื่อวิทยาศาสตร์:Acacia craibii Nielsen) ชื่อพื้นเมือง: กำลังช้างสาร (ภาคกลาง) เครือง้วนเห็น ศาลาน่อง (อุดรธานี) เถาจักรลาช (ประจวบคีรีขันธ์) ไส้ตันใหญ่ (ปราจีนบุรี) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ทอดยอดเกาะพันไม้อื่น กิ่งอ่อนและช่อดอกมีขนประปราย กิ่งแก่เกลี้ยง ใบ เป็น ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ หูใบแปลงรูปเป็นหนามแหลมโค้งค่อนข้างกลมขนาดเล็ก 1 คู่ ใบประกอบแยกแขนง 6-11 คู่ แต่ละแขนงมีใบย่อย 21-29 คู่ เล็กมาก ดอก ออกเป็นช่อดอกกลม ออกตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกเล็ก ฝักรูปขอบขนาน แบน โค้งเล็กน้อย โคนสอบ ปลายแหลม มีเส้นนูนขนานห่างจากขอบฝักทั้ง 2 ด้าน ด้านละ 1 เส้น มีเส้นร่างแหปรากฏชัด ฝักแก่และแห้งจะแตกออกเป็น 2 ซีก เมล็ดแบน รูปรี โค้งเล็กน้อย มีเยื่อนุ่มสีแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและกำลังช้างสาร · ดูเพิ่มเติม »

กำลังเลือดม้า

กำลังเลือดม้า เป็นพืชในวงศ์ Myristicaceae ชื่ออื่นๆคือ มะม่วงเลือดน้อย ประดงเลือด ประดงไฟ เลือดควาย เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลเข้ม มีด่างขาวประปราย เปลือกแตกเป็นร่องยาว เนื้อไม้สีเหลือง เปลือกในมีน้ำยางสีแดงเข้ม มีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร โดยใช้รักษาเม็ดประดงผื่นคัน แดงทั้งตัว แก้ปวดแสบปวดร้อน เปลือกต้นและเนื้อไม้ แก้โรคไตพิการ โรคเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ แก้ภูมิแพ้ ผื่นคัน น้ำเหลืองเสีย ทางภาคเหนือใช้ เปลือกต้น แช่น้ำดื่ม บำรุงกำลัง เปลือกต้นหรือใบ ต้มน้ำดื่ม แก้โรคโลหิตจาง.

ใหม่!!: พืชดอกและกำลังเลือดม้า · ดูเพิ่มเติม »

กำลังเสือโคร่ง

กำลังเสือโคร่ง อยู่ในวงศ์ Betulaceaeเป็นไม้ผลัดใบระยะสั้น เปลือกต้นสีน้ำตาลแดงหรือเทาออกเงิน มีเลนติเซล เมื่อสับเปลือกมีกลิ่นคล้ายน้ำมันระกำ แก่แล้วจะลอกเป็นแผ่นบางคล้ายกระดาษ เปลือกชั้นในมีกลิ่นหอม หูใบขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย ใบเดี่ยว ขอบใบเป็นซี่จัก ยอดอ่อนมีขนสีเงิน ผิวด้านล่างมีจุดน้ำยางมากมาย ดอกแยกเพศไม่แยกต้น ดอกขนาดเล็ก อยู่เป็นช่อห้อยลง สีออกเขียว ดอกเพศผู้ห้อยเป็นพวงเหมือนพวงกระรอกเล็กๆ ช่อดอกเพศเมียเป็นช่อตั้ง ผลขนาดเล็ก แบนกว้าง มีปีกบาง กลุ่มผลมีกาบดอกปกคลุม และยังติดอยู่บนก้านแม้ว่าผลจะปลิวออกไปแล้ว พบในเอเชียใต้และคาบสมุทรอินโดจีน ไม้เนื้อแข็ง ทนทาน นิยมใช้ในงานก่อสร้าง เปลือกมีน้ำมันหอม มีฤทธ์เป็นยา ใช้ทำเหล้า ใบใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ เปลือกต้นใช้ขับลมในลำไส้ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย เปลือกต้นใช้ดองเหล้าเป็นยาสมุนไพร.

ใหม่!!: พืชดอกและกำลังเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

กำลังเสือโคร่ง (อีสาน)

กำลังเสือโคร่ง เป็นพืชที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยเรียกกำลังเสือโคร่ง อยู่ในวงศ์พุทรา เป็นพืชคนละชนิดกับกำลังเสือโคร่งในตำรายาไทยภาคกลางซึ่งที่เป็นไม้ประจำจังหวัดน่าน พืชชนิดนี้ใช้เป็นยาได้เช่นกัน เป็นไม้พุ่ม มีหนามแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบ ดอกสีเขียวอ่อน ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลม.

ใหม่!!: พืชดอกและกำลังเสือโคร่ง (อีสาน) · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเก้าชั้น

กำแพงเก้าชั้น เป็นพืชในวงศ์ Celastraceae ชื่ออื่น ๆ ตากวง(นครพนม) ตากวาง กระดอเย็น(เกาะช้าง)เป็นไม้เถา หรือไม้พุ่มรอเลื้อย เปลือกลำต้นเรียบสีเทานวล ผิวสีน้ำตาลมีกระด่างขาว เนื้อไม้สีชมพู มีวงปีสีแดงเข้ม ค่อนข้างถี่ จำนวนหลายชั้นเห็นชัดเจน มียางสีแดง กำแพงเก้าชั้นเป็นพืชสมุนไพร เนื้อไม้ บำรุงโลหิต แก้โลหิตจาง แก้โลหิตและน้ำเหลืองพิการ บำรุงตับไต แก้ระดูขาว แก้กระษัยไตพิการ แก้ปวดหลังปวดเอว ตำรับยาแก้ปวดเมื่อย คลายเส้นเอ็น ใช้ลำต้นผสมกับยาอื่น (ใช้เป็นยาระบาย ขับปัสสาวะ ทางจังหวัดนครราชสีมา ใช้ลำต้น ต้มน้ำดื่ม ช่วยขับลม.

ใหม่!!: พืชดอกและกำแพงเก้าชั้น · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเจ็ดชั้น

กำแพงเจ็ดชั้น เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยหรือไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ในวงศ์ Celastraceae ชื่ออื่นๆ ตะลุ่มนก (ราชบุรี) ตาไก้ (พิษณุโลก) น้ำนอง มะต่อมไก่ (เหนือ) หลุมนก (ใต้) ขอบกระด้ง พรองนก (อ่างทอง) ขาวไก่ เครือตากวาง ตากวาง ตาไก่ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) กระดุมนก (ประจวบคีรีขันธ์) เปลือกลำต้นเรียบสีเทานวลหรือสีน้ำตาลอมขาว เปลือกล่อนงาย เนื้อไม้มีวงปีสีน้ำตาลแดงเข้มจำนวนหลายชั้นเห็นชัดเจน เรียงซ้อนกันเป็นชั้น 7-9 ชั้น ใบเดี่ยว ผิวใบเรียบเป็นมัน แผ่นใบห่อเข้าเล็กน้อย ดอกเดี่ยว ออกตามง่ามใบหรือซอกกิ่ง สีเขียวอมเหลือง เนื้อผลสีขาว กำแพงเจ็ดชั้นเป็นพืชที่นำไปใช้เป็นพืชสมุนไพรอย่างแพร่หลาย โดยทั่วไปใช้ ต้น ต้มน้ำดื่ม หรือดองสุรา แก้ปวดเมื่อย บำรุงโลหิต ฟอกโลหิต แก้โลหิตเป็นพิษหรือเป็นส่วนผสมของยาระบาย รักษาโรคตับอักเสบ แก้หืด แก้เบาหวาน ราก ใช้ต้มหรือดองสุราดื่ม ขับโลหิตระดู บำรุงโลหิต แก้ลมอัมพฤกษ์ รักษาโรคตา บำรุงน้ำเหลือง ใบ แก้มุตกิด ขับระดู ดอก แก้บิดมูกเลือด แก่นและราก ต้มน้ำดื่มเป็นยาระบาย แก้เส้นเอ็นอักเสบ ทางจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ เนื้อไม้ ต้มน้ำดื่ม แก้โรคไต แก้ท้องผูก ยาระบาย แก้ลมตีขึ้น ลำต้นผสมกับยาอื่นใช้แก้ปวดเมื่อย ยาระบาย แก้ริดสีดวงทวาร ขับปัสสาวะ ทางจังหวัดนครราชสีมาใช้ ลำต้น บำรุงโลหิต โดยใช้ลำต้นต้มน้ำดื่มวันละ 1-2 ช้อนชา ก่อนอาหารเช้า-เย็น ชาวกัมพูชาใช้ เถา ต้มน้ำดื่ม แก้โรคเบาหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและกำแพงเจ็ดชั้น · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเงิน

กำแพงเงิน (flax lily) Sims เป็นไม้ล้มลุก ใบยาวแหลม ตรงกลางสีเขียวเข้ม ริมขอบสีเขียวอ่อน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ กำแพงเงินรูปใบคล้ายรางเงินแต่ต้นเล็กกว่า และคล้ายเศรษฐีเรือนใน แต่ใหญ่กว่า ใบแข็งกว่า น่าจะเป็นไม้ตระกูลเดียวกัน แต่ได้รับการผสมที่แตกต่างกันเล็กน้อย คนนิยมปลูกเพราะสีสวย ค่อนข้างทนสภาพดินได้ดี แต่ถ้าบำรุงดี ๆ รดน้ำสม่ำเสมอกอจะใหญ่และสวยมาก หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์ลิลี.

ใหม่!!: พืชดอกและกำแพงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

กุกบุยโป้ว

กุกบุยโป้ว ("กู่ซุ่ยปู่" หรือ "กุกบุยโป้ว" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว) เป็นเฟินชนิดหนึ่งในวงศ์ Polypodiaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออก รวมทั้งจีนตะวันออก ภายนอกเป็นสีแดงอมน้ำตาล มีเกล็ดเล็กคล้ายขนอ่อนปกคลุมทั่วไป ด้านในเป็นสีแดงอมน้ำตาล ใช้เป็นยาในแพทย์แผนจีน ในเอเชียนิยมอ้างถึงพืชชนิดนี้ด้วยชื่อพ้อง Drynaria fortunei รากใช้ทำยาบำรุงกระดูก บำรุงไตแก้ปวด แก้อักเสบ สารออกฤทธิ์ที่สำคัญในเหง้าคือ Flavan-3-ol และpropelargonidin.

ใหม่!!: พืชดอกและกุกบุยโป้ว · ดูเพิ่มเติม »

กุยช่าย

''Allium tuberosum'' กุยช่าย (韭菜; Rottl. ex Spreng) อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae วงศ์ย่อย Allioideae เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าเล็กและแตกกอ ใบแบน เรียงสลับ รูปขอบขนาน โคนเป็นกาบบางซ้อนสลับกัน ช่อดอกแบบซี่ร่ม ก้านช่อดอกกลมโดยปรกติจะยาวกว่าใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ออกในระดับเดียวกันที่ปลายก้านช่อดอก ก้านดอกยาวเท่ากัน มีใบประดับหุ้มช่อดอก เมื่อดอกเจริญขึ้นจะแตกออกเป็นริ้วสีขาว กลีบดอก 6 กลีบ สีขาว โคนติดกัน ปลายแยก กลางกลีบดอกด้านนอกมีสันหรือเส้นสีเขียวอ่อนจากโคนกลีบไปหาปลาย เกสรเพศผู้ 6 อัน อยู่ตรงข้ามกับกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ผลกลม ภายในมี 3 ช่อง มีผนังกั้นตื้นๆ เมื่อแก่แตกตามตะเข็บ มีเมล็ดช่องละ 1-2 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาลแบน ขรุขระ กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกแถบภูเขาหิมาลัย อินเดีย จีน และญี่ปุ่น ในไต้หวันมีปลูก 2 พันธุ์ คือ พันธุ์สีเขียวที่ปลูกทั่วไป และพันธุ์ใบใหญ่สีขาวซึ่งเกิดจากการบังร่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและกุยช่าย · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบ

กุหลาบ (rose) คือดอกไม้ในสกุล Rosa ในวงศ์ Rosaceae ที่ได้รับความนิยมปลูกมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลกที่มีต้นกำเนิดจากทวีปเอเชีย ผู้คนนิยมปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน, ประดับตกแต่งบ้าน, ประดับสถานที่, ปลูกเพื่อการพาณิชย์ อาทิ เพื่อนำไปสกัดน้ำหอม นำไปทำเป็นส่วนประกอบของสปา เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบพันปี

กุหลาบพันปี (Azalea) เป็นชื่อสกุลของไม้ดอกในสกุล Rhododendron ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) มีมากกว่า 1,000 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบพันปี · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบกระเป๋าปิด

กุหลาบกระเป๋าปิด หรือ เอื้องกุหลาบกระเป๋าปิดเป็นกล้วยไม้ที่มีลำต้นเจริญทางปลายยอด ช่อดอกแบบกระจะ สีขาวหรือสีขาวแกมม่วงอ่อน ดอกมีกลิ่นหอมมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aerides odoratum Lour.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบกระเป๋าปิด · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบกระเป๋าเปิด

กุหลาบกระเป๋าเปิดหรือเอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิดหรือเอื้องกุหลาบพวง เป็นกล้วยไม้ในสกุลเอื้องกุหลาบ ดอกสีครีม มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงบนเป็นรูปรี ส่วนคู่ข้างเป็นรูปครึ่งวงกลม ออกดอกช่วงเมษายนถึงพฤษภาคม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ เช่น แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ภาคอีสาน เช่น นครพนม สกลนคร ภาคกลาง เช่น สระบุรี กาญจนบุรี ภาคตะวันออก เช่น ชลบุรี จันทบุรี และภาคใต้ เช่น กระบี่ หมวดหมู่:สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้).

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบกระเป๋าเปิด · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบญี่ปุ่น

กุหลาบญี่ปุ่น เป็นสปีชีส์หนึ่งของตระกูลกุหลาบ มีถิ่นกำเนิดบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปเอเชีย ในพื้นที่ของประเทศจีน, เกาหลี และ ญี่ปุ่น ถือเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดฮกไกโด โดยมักจะเติบโตอยู่ตามชายฝั่งหรือเนินทราย แต่ทั้งนี้ก็ไม่ควรจะสับสนกับ Rosa multiflora ซึ่งเป็นดอกกุหลาบที่มีอีกฉายาว่า "กุหลาบญี่ปุ่น".

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบมอญ

กุหลาบมอญ หรือ ยี่สุ่นเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบมอญ · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบลอเรนเซีย

กุหลาบลอเรนเซีย หรือ ช้างลอเรนเซีย เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุลกุหลาบ เป็นกล้วยไม้ที่มีถิ่นกำเนิดที่ทิศตะวันออกของเกาะมินดาเนา ในหมู่เกาะฟิลิปปิน มีถิ่นที่อยู่เดียวกับแวนด้า แซนเดอเรียน่า (Euanthe sanderiana) โดยที่ โรเบลิน เป็นผู้สำรวจพบกล้วยไม้กุหลาบชนิดนี้ ได้ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ เลดี้ลอเรนซ์ ภรรยาของนายกสมาคมพืชกรรมแห่งประเทศอังกฤษ ลักษณะของกุหลาบลอเรนเซีย มีความคล้ายคลึงกันกับกุหลาบกระเป๋าปิด (A. odoratum) ซึ่งเป็นกล้วยไม้สกุลเดียวกันที่พบทางภาคใต้ของประเทศไทยมาก แต่มีความแตกต่าง คือ ต้นและใบใหญ่กว่าเล็กน้อย ดอกมีขนาดใหญ่กว่าอย่างสังเกตได้ชัดเจน เดือยดอกของกุหลาบลอเรนเซียค่อนข้างเหยียดลง ไม่โค้งงอมา ปลายแผ่นปากมีริมซึ่งมีลักษณะเป็นฟันเล็กละเอียดเห็นได้ชัด นอกจากนั้นยังมีกลีบยาวอีกด้วย ถุงที่โคนเดือยดอกของกุหลาบลอเรนเซียนั้นใหญ่ของกุหลาบกระเป๋าปิดเกือบเท่าตัว นอกจากนั้นกุหลาบกระเป๋าปิดยังมีกลิ่นแรงกว่าอย่างสังเกตได้ชัดเจน อีกทั้งการออกดอก กุหลาบลอเรนเซียก็ยังมีการออกดอกที่ล่าช้ากว่าถึง 3 เดือน โดยจะออกดอกในช่วงกลางปี ราวเดือนสิงหาคม-กันยายน สำหรับในประเทศไทยแล้ว กุหลาบลอเรนเซียมีการนำเข้ามาปลูกกันเป็นเวลานานกว่า 30 ปีมาแล้ว โดยผสมข้ามสกุลกับกล้วยไม้สกุลแวนด้า หรือสกุลช้าง จนเกิดเป็นความหลากหลายทางสายพันธุ์ต่าง ๆ อาทิ A. l. var.amesiana ซึ่งมีช่อดอกยาวและดอกมีสีเหลืองส้ม ปลายกลีบมีแต้มสีม่วง และ A. l. var.sanderana มีช่อดอกยาวถึง 50 เซนติเมตร ปากมีสีอมเหลือง ส่วนกลีบมีสีขาวครีม และมีแต้มสีม่วงแดงที่ปลายกลีบทุกกลีบ สำหรับสถานภาพในธรรมชาติของกุหลาบลอเรนเซียในปัจจุบันนั้น ใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากถิ่นที่อยู่ซึ่งเป็นป่าดิบชื้นนั้นถูกคุกคาม.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบลอเรนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบหิน

กุหลาบหิน เป็นไม้ในสกุลที่ส่วนใหญ่เป็นไม้พุ่ม อวบน้ำและมีอายุอยู่ได้นานหลายปี มีถิ่นกำเนิดในมาดากัสกาแอฟริกาและเอเชีย เหมาะที่จะปลูกเป็นไม้กระถาง ต้นดั้งเดิมส่วนมากจะมีลักษณะต้นสูงเก้งก้าง ต่อมาได้มีการคัดเลือกพันธุ์ อันเนื่องมาจากการกระจายพันธุ์และการผสมพันธุ์ ทำให้ได้พัธุ์ใหม่ที่มีพุ่มต้นเตี้ยกะทัดรั.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบหิน · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบอินทจักร

กุหลาบอินทจักร หรือ เอื้องอินทจักร หรือเอื้องนกพิราบ เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่งในประเทศไทย พบที่ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอนและเลย ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบอินทจักร · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบควีนสิริกิติ์

กุหลาบควีนสิริกิติ์ (Queen Sirikit Rose) เป็นกุหลาบดอกใหญ่สีเหลือง เมื่อต้องแสงอาทิตย์ปลายกลีบจะมีสีส้ม ดอกมีกลิ่นหอม บางครั้งกิ่งหนึ่งอาจมีถึง 3 ดอก นายอองเดร อองดริก ผู้อำนวยการไร่กุหลาบกร็องด์ โรเซอเร ดู วาล เดอ ลัวร์ (Grandes Roseraies Du Val de Loire) แห่งลุ่มแม่น้ำลัวร์ในฝรั่งเศส เป็นผู้ตั้งชื่อดอกกุหลาบชนิดนี้ ตามพระนามของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2514 ในเอกสารของไร่บันทึกเรื่องราวไว้ว่า "พระราชินีแห่งประเทศไทย ทรงพระสิริโฉมเป็นเสน่ห์แบบตะวันออกเหนือตะวันตก".

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบควีนสิริกิติ์ · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบน่าน

กุหลาบน่าน หรือในชื่อพื้นเมืองอื่น กุหลาบเอราวัณ หรือ กุหลาบไอยรา ออกดอกในช่วง มีนาคม - มิถุนายน หมวดหมู่:สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้).

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบน่าน · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบแดง

กุหลาบแดง หรือ กุหลาบดอย เป็นไม้ดอกประเภทกุหลาบพันปีชนิดหนึ่ง ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) จัดเป็นกุหลาบพันปีอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย มีถิ่นแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่จีนตอนใต้, ญี่ปุ่น และภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามที่โล่งบริเวณป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 800-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล ลำต้นเป็นไม้พุ่ม มีความสูงตั้งแต่ 1-3 เมตร ลำต้นและกิ่ง มีขนสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับเป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง รูปรี รูปไข่ รูปไข่แกมขอบขนาน รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ปลายแหลมหรือมน โคนสอบแคบ มีขนสีน้ำตาล ดอก สีแดงอมส้ม มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงขนาดเล็กโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนสีขาวหรือแดง กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมกันคล้ายรูปแตร ภายในมีจุดประสีแดงเข้ม ปลายแยกเป็นแฉกค่อนข้างกลม ผล มีทรงรูปไข่ มีขนสีน้ำตาลแดง เมื่อแก่แตกได้ เมล็ดมีจำนวนมาก ขนาดเล็ก มีปีกบาน กุหลาบแดง นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไปในที่สูง ให้ดอกสวยงาม โดยจะออกดอกในช่วงฤดูร้อน ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบแดง · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบเชียงดาว

กุหลาบเชียงดาวหรือคำขาวเชียงดาว เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่มอิงอาศัยลำต้นและกิ่งคดงอ แตกกิ่งสั้นๆจำนวนมาก ใบเดี่ยว เรียงเป็นกระจุกที่ปลายยอด ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด โคนกลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ผลรูปกระสวย ดอกบานเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พบในภาคเหนือ พบครั้งแรกโดย C.C. Hosseus ชาวเยอรมัน ที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบเมาะลำเลิง

ลำต้นและหนาม ดอก กุหลาบเมาะลำเลิง หรือ กุหลาบเทียม (Rose cactus) เป็นพืชพื้นเมืองของบราซิลทางตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้เป็นพืชสมุนไพร และใบรับประทานได้ แม้ว่าจะเป็นพืชกลุ่มเดียวกับกระบองเพชร แต่แตกกิ่งเป็นพุ่มเล็ก ๆ สูง 2-5 เมตร มีลำต้นสีน้ำตาลอมเทาหนา 20 เซนติเมตร หนามสีดำหรือน้ำตาล ใบยาว 9-23 เซนติเมตร ช่อดอกเกิดที่ปลายกิ่ง มี 10-15 ดอก ดอกมีรูปร่างคล้ายกุหลาบ กุหลาบเมาะลำเลิงมีหลายพันธุ์ พันธุ์ grandifolia มีริ้วประดับสีเขียวและดอกสีชมพู เป็นไม้พื้นเมืองของบราซิลตะวันออกและแพร่หลายไปทั่วเขตร้อนของทวีปอเมริกา พันธุ์ violacea มีสีม่วงอมชมพูหรือสีม่วง เป็นพืชพื้นเมืองของเอสปิริโต ซันโต และมินาส เฆราอ.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบเมาะลำเลิง · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบเหลืองโคราช

กุหลาบเหลืองโคราช หรือ เอื้องกุหลาบเหลืองโคราช Rchb.

ใหม่!!: พืชดอกและกุหลาบเหลืองโคราช · ดูเพิ่มเติม »

กุ่มบก

กุ่มบก (sacred garlic pear หรือ temple plant) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ในสกุลไม้กุ่ม ในวงศ์ไม้แจง มีถิ่นกำเนิดในญี่ปุ่น, ออสเตรเลีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ กุ่มบกมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆคือ สะเบาถะงัน ผักก่าม (อีสาน) เดิมถะงัน (เขมร).

ใหม่!!: พืชดอกและกุ่มบก · ดูเพิ่มเติม »

กุ่มน้ำ

กุ่มน้ำ เป็นพืชในวงศ์ Capparidaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบแห้งสีออกแดง ดอกช่อ กลีบสีขาวแล้วค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลสีนวล มีเมล็ดมาก สีน้ำตาลเข้มรูปเกือกม้า เปลือกต้น เปลือกรากและกิ่งอ่อนถูกผิวหนังแล้วทำให้คัน รับประทานเข้าไปทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง.

ใหม่!!: พืชดอกและกุ่มน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

กีนัว

กีนัวสีแดง สุกแล้ว กีนัว (quinoa) เป็นพืชในวงศ์ Chenopodiaceae มีความใกล้ชิดกับผักโขมและปวยเล้ง ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว โคนต้นกลม ส่วนที่แตกใบต้นจะเป็นเหลี่ยม ต้นแก่เป็นสีเหลืองอ่อนหรือแดง ต้นอ่อนมีได้หลายสี สีแดงของพืชชนิดนี้เกิดจากเบตาไซยานิน ต้นอายุน้อยใบสีเขียวมีขนละเอียด เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดง หรือม่วง ดอกช่อผลมีกลีบดอกห่อหุ้ม สามารถถูออกได้ ผลมีหลายสี เมล็ดสีขาว น้ำตาลหรือดำ ลำต้นสูง 1–2 เมตร พืชชนิดนี้เป็นพืชที่ปลูกในแถบเทือกเขาแอนดีส และกระจายไปทั่วอเมริกาใต้ จากนั้นจึงแพร่กระจายไปยังประเทศอื่น ๆ ถือเป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง โดยชาวอินคาได้บริโภคกีนัวกันมาอย่างยาวนานแล้วด้วยเป็นพืชที่มีประโยชน์ เมล็ดนำไปคั่วแล้วบดละเอียดทำเป็นแป้ง นำไปต้มใส่ในซุปหรือทำพาสตา เมล็ดรสชาติมันแต่อบแล้วไม่ขยายตัว นำไปทดแทนแป้งสาลีในการทำขนมปังได้บางส่วน ใบและลำต้นรับประทานเป็นผักได้ทั้งสดหรือนำไปต้ม หรือใช้เป็นอาหารสัตว์ เมล็ดคีนัวให้โปรตีนโดยเฉลี่ยร้อยละ 16 ของน้ำหนัก มีแป้งร้อยละ 60 เม็ดแป้งขนาดเล็กมาก โดยเป็นอะมิโลสร้อยละ 20 และเปลี่ยนรูปเป็นวุ้นเหนียวที่ 55 องศาเซลเซียส เปลือกหุ้มเมล็ดมีสารซาโปนินที่เป็นพิษ กำจัดออกโดยการล้าง กวน และขัดถูอย่างรุนแรง พันธุ์ที่มีรสขมมีซาโปนินสูงถึงร้อยละ 4 ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและกีนัว · ดูเพิ่มเติม »

กง

กง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hanguana malayana) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กง เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุก เมื่อโตเต็มที่อาจสูงถึง 2 เมตร มีไหลลอยน้ำได้ ใบเป็นรูปใบหอกเรียว ยาว 20-120 เซนติเมตร ปลายใบแหลมยาว โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบค่อนข้างหนา เส้นแขนงใบเรียงขนานกัน มีเส้นแขนงใบย่อยตัดขวางจำนวนมาก กาบใบยาวหุ้มลำต้น ก้านใบช่วงล่างยาวกว่าช่วงปลายต้น ช่อดอกแบบแยกแขนง ยาวได้ถึง 120 เซนติเมตร จากสารานุกรมพืชในประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, สืบค้นวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ดอกของกงจะออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกเล็ก ๆ บนช่อแยกแขนง มีกลีบรวม 6 กลีบ วงนอก 3 กลีบ ยาว 2-2.5 มิลลิเมตร วงใน 3 วงยาวกว่าวงนอกเล็กน้อย มีสีเหลืองอมเขียวหรือสีขาว มีจุดสีแดงด้านใน เกสรเพศผู้ติดอยู่ที่โคนกลีบรวม ยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันขนาดเล็กในดอกเพศเมีย เกสรเพศเมียติดทน ส่วนผล เมื่อสุกจะมีสีแดง รูปรี ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ต้นกงมีการกระจายพันธุ์กว้าง พบตั้งแต่ประเทศศรีลังกา เวียดนาม และแถบคาบสมุทรมลายู ส่วนในประเทศไทยพบเฉพาะภาคใต้ ขึ้นในน้ำตามลำห้วย ป่าพรุ ที่ชื้นแฉะ หรือขึ้นตามพื้นดินที่ลาดชันในป่าดิบชื้น ขึ้นตั้งแต่ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 700 เมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและกง · ดูเพิ่มเติม »

ก่วมแดง

ก่วมแดง หรือ ไฟเดือนห้าเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและก่วมแดง · ดูเพิ่มเติม »

ก่วมเชียงดาว

ก่วมเชียงดาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Aceraceae แตกกิ่งจำนวนมาก เปลือกลำต้นและกิ่งมีเลนติเซลเป็นขีดนูนสีขาวทั่วไป ใบเดี่ยว ขอบใบเรียบ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างมีนวลสีขาวฉาบอยู่ ดอกเป็นดอกช่อสั้นๆ ออกตามปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาวนวลขนาดเล็ก ผลรูปไข่ตรงปลายมีปีกยาว เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ 27 มกราคม..

ใหม่!!: พืชดอกและก่วมเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

ก่อหลับ

ก่อหลับ เป็นพืชในวงศ์ Fagaceae พบทางภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย จัดเป็นพืชที่ใกล้สูญพันธุ์และกำลังหายไปจากแหล่งที่อยู่อาศัยเดิม เปลือกสีน้ำตาล กิ่งอ่อนมีเปลือกเหนียว ลอกได้ ใบเดี่ยว แผ่นใบเรียบเป็นมัน หลังใบสีเขียวนวล ดอกช่อ แยกเพศ อยุ่บนต้นเดียวกันและอยู่ในช่อเดียวกัน ดอกตัวเมียอยู่โคนช่อ ดอกสีขาวอมเหลือง กลีบเลี้ยงเป็นรูปถ้วย ผลเดียวมีกาบหุ้มเป็นจานรองหรือค่อนข้างแบน หุ้มส่วนฐานของผล เมื่อผลแก่ กาบมีลักษณะเป็นเกล็ด มี 1 ผลต่อ 1 กาบ ผลสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาล เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง.

ใหม่!!: พืชดอกและก่อหลับ · ดูเพิ่มเติม »

ก่อหัวหมู

ก่อหัวหมู อยู่ในวงศ์ Fagaceae เป็นไม้ยืนต้น ขอบใบเรียบ ผลรูปกรวยคว่ำ มีกาบหุ้มผลรูปถ้วย เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องมือ เผาถ่าน ผลแห้งใช้ตกแต่งบ้าน.

ใหม่!!: พืชดอกและก่อหัวหมู · ดูเพิ่มเติม »

ก่อผา

ก่อผาเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและก่อผา · ดูเพิ่มเติม »

ก่อแพะ

ก่อแพะ หรือก่อตาหมู ก่อขี้หมู ก่อหิน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Fagaceae ใบเดี่ยว ขอบใบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแยกเพศแต่อยู่ต้นเดียวกัน ดอกขนาดเล็ก สีเขียวหรือเหลืองอ่อน ผลกลมแป้นหรือรูปกรวยหงาย ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – กันยายน พบในป่าดิบชื้น ป่าดิบเขาทุกภาคของประเทศไทย พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่หมอคาร์ ชาวไอร.

ใหม่!!: พืชดอกและก่อแพะ · ดูเพิ่มเติม »

ก้ามกุ้งดอย

ก้ามกุ้งดอย เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในสกุลก้ามกุ้ง วงศ์ Begoniaceae มีหัวติดอยู่หินปูน โคนใบเว้ารูปหัวใจ มีขนมาก เส้นแขนงใบนูนเด่นชัดที่ด้านล่างของใบ ดอกช่อสีชมพู ออกดอกเดือนกรกฎาคม – กันยายน พบตามเขาหินปูนในภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยนายพุด ไพรสุรินทร์ เมื่อ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและก้ามกุ้งดอย · ดูเพิ่มเติม »

ก้ามปู

ก้ามปู, ฉำฉา หรือ จามจุรีแดง (มักเรียกสั้น ๆ ว่า จามจุรี) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Leguminosae) ในวงศ์ย่อย Minosoideae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านสาขามาก มีใบขนาดเล็ก ดอกสีชมพู มีผลเป็นฝัก เมล็ดแข็ง ผลมีเนื้อสีชมพู รสหวานสัตว์เคี้ยวเอื้องชอบกินเป็นอาหาร เป็นพืชพื้นเมืองของเม็กซิโก, บราซิล และเปรู ต่อมาได้ถูกนำเข้ามาเผยแพร่ในเอเชียใต้, เอเชียอาคเนย์, หมู่เกาะแปซิฟิก และฮาวาย เมล็ดเมื่อรับประทานทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน ถ้าเป็นพิษรุนแรง ทำให้ระบบไหลเวียนเลือดไม่สม่ำเสมอ ทำให้ชักได้ ก้ามปูต้นแรกในประเทศไทยปลูกอยู่ภายในโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยบาทหลวงรอมิเอล ซึ่งเป็นนักบวชที่อยู่ในวัดอัสสัมชัญ เป็นผู้นำพันธุ์มาจากเมืองไซ่ง่อน ประเทศเวียดนาม ต่อมาภายหลังก็เป็นที่แพร่หลายและนิยมนำมาปลูกเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่เพื่อให้ร่มเงา ดอกก้ามปู ก้ามปูหรือจามจุรีแดงเป็นต้นไม้ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา, โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย และเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดลำพูน นอกจากจามจุรีแดงและฉำฉาแล้ว ก้ามปูยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกตามแต่ละพื้นที่ ได้แก่ "ก้ามกราม" (กลาง), "ก้ามกุ้ง" (กทม., อุตรดิตถ์), "ตุ๊ดตู่" (ตราด), "ลัง" (เหนือ), "สารสา" (เหนือ), "สำสา" (เหนือ) และ "เส่คุ่" (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป็นต้นเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและก้ามปู · ดูเพิ่มเติม »

ก้ามปูหลุด

ก้ามปูหลุด (hort. ex Bosse)หรือชื่อเดิมคือ Zebrina pendula, เป็นสปีชีส์หนึ่งของ spiderwort โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อสามัญภาษาอังกฤษว่า inch plant เป็นพืชพื้นเมืองในบริเวณชายฝั่งของเม็กซิโกตะวันออก ชื่อสามัญของสปีชีส์นี้เหมือนกับอีก 2 สปีชีส์ในสกุลเดียวกันคือ T. fluminensis และ T. pallida ลักษณะเด่นของก้ามปูหลุดคือใบเป็นลายแบบทางม้าลาย ผิวใบด้านบน ใบเจริญใหม่เป็นสีม่วง ส่วนที่อายุมากเป็นสีเขียว มีแถบสีเงิน ใบด้านล่างเป็นสีม่วงแดงเข้ม ดอกก้ามปูหล.

ใหม่!!: พืชดอกและก้ามปูหลุด · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่ง

ปลือกต้นฝรั่ง ดอกฝรั่ง ฝรั่ง (Linn.) เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ในวงศ์ Myrtaceae ฝรั่งเป็นพืชที่มีจุดกำเนิดอยู่ในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสต์ตะวันตก หลักฐานทางโบราณคดีในเปรูชี้ให้เห็นว่า มีฝรั่งมาตั้งแต่ 800 ปีก่อนครืสตกาล พ่อค้าชาวสเปนและโปรตุเกสเป็นผู้นำผลไม้ชนิดนี้ไปยังถิ่นต่างๆทั่วโลก เข้ามาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 ส่วนในประเทศไทย คาดว่าเข้ามาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คำว่าฝรั่งในภาษาอังกฤษคือ Guava ซึ่งมาจากภาษาสเปน คำว่า Guayaba และ ภาษาโปรตุเกส คำว่า Goiaba ฝรั่งมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ ย่าหมู (สุราษฎร์ธานี) ชมพู่ (ตรัง, ปัตตานี) มะก้วย (เชียงใหม่,เหนือ) มะก้วยกา (เหนือ) มะกา (กลาง,แม่ฮ่องสอน) มะจีน (ตาก) มะมั่น (เหนือ) ยะมูบุเตบันยา (มลายู นราธิวาส) ยะริง (ละว้า เชียงใหม่) ยามุ หรือ ย่าหมู หรือ ย่าหวัน (ใต้) และ สีดา (นครพนม,นราธิวาส).

ใหม่!!: พืชดอกและฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ฝาด

ฝาด หรือขวาด แดงสองเปลือก เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae เป็นพืชไม่ผลัดใบ เปลือกลำต้นเรียบสีเทาอมขาว เมื่ออายุมากขึ้นผิวจะแตกเป็นสะเก็ด หลุดร่วงได้ง่าย มีกลิ่น ใบเดี่ยว สีเขียวเรียบเป็นมัน ใบหนา ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว เกสรตัวผู้สีขาวยาวกว่ากลีบดอก ผลเดี่ยว ยอดอ่อนรับประทานได้ ใช้เป็นผักแกล้ม ลำต้นใช้ในการก่อสร้าง ผลสุกรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและฝาด · ดูเพิ่มเติม »

ฝาดขาว

ฝาดขาวกำลังออกดอกที่อ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ฝาดขาว เป็นพืชหนึ่งในสองชนิดในสกุลฝาด เป็นไม้ยืนต้น กลีบดอกสีขาว ขอบใบประดับและกลีบเลี้ยงมีต่อม เกสรตัวผู้เรียงเป็นสองวงชัดเจน เกสรตัวเมียติดที่ฐานรองดอก เนื้อไม้ใช้ทำด้าม และเครื่องมือเครื่องใช้.

ใหม่!!: พืชดอกและฝาดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ฝาง

ฝาง (Caesalpinia sappan, suō, 苏木 (植物)) เป็นพืชสมุนไพรที่อยู่ในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Caesalpinia sappan Linn ฝางจัดได้ว่าเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง พบได้ตลอดเขตร้อนในอินเดีย ศรีลังกา พม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ สำหรับประเทศไทยจะพบในพื้นที่ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าเขาหินปูนแห้งแล้ง นอกจากนี้ยังพบบริเวณป่าดงดิบอีกด้วย ส่วนในต่างประเทศพบได้ที่ทวีปอเมริกาใต้ ส่วนที่ใช้ทำสมุนไพรคือ แก่นไม้ของฝาง สรรพคุณทางสมุนไพรของฝางมีมากมาย เช่น บำรุงโลหิต ขับเสมหะ แก้อาการร้อนใน เป็นต้น และเมื่อนำส่วนต่าง ๆ ของฝางไปสกัดแล้วพบว่าให้สารเคมีที่มีประโยชน์ทางการแพทย์หลายชนิดอีกด้วย สืบค้นวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและฝาง · ดูเพิ่มเติม »

ฝิ่นหนาม

thumb ฝิ่นหนาม (Mexican poppy; Mexican prickly poppy; cardo หรือ cardosanto) จัดเป็นดอกป๊อปปี้ชนิดหนึ่งที่พบในเม็กซิโก เป็นพืชที่ทนต่อความแห้งแล้งและดินเสื่อมโทรม มักพบในพื้นที่ถนนตัดใหม่ มียางสีเหลือง ซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์ฟันแทะ แต่ชาวอินเดียนแดงพื้นเมืองในเม็กซิโกและสหรัฐฝั่งตะวันตกใช้พืชนี้เป็น.

ใหม่!!: พืชดอกและฝิ่นหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ฝิ่นน้ำ

ฝิ่นน้ำ หรือ ป๊อปปี้น้ำ (Water Poppy; (Willd.) Buchenau) เป็นพืชน้ำที่มีการกระจายตัวใน ทวีปอเมริกาใต้ อเมริกากลาง เปอร์โตริโก, ทรินิแดด และ เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส มีปลูกเป็นไม้ประดับในหลายประเทศเช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ ฟิจิ เฟรนช์โพลีเนเซีย ภาพลายเส้นของฝิ่นน้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและฝิ่นน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่าแป้ง

อก ฝ่าแป้ง ดับยาง หรือฉับแป้ง ภาษากะเหรี่ยงเรียกสะกอปรื๋อ เป็นไม้พุ่ม ลำต้นและกิ่งก้านที่ยังอ่อนมีขนหนาแน่น ใบเดี่ยว ผิวใบด้านบนและด้านล่างมีขนหนาแน่น ดอกช่อ ก้านช่อดอกมีขนหนาแน่น กลีบดอกเป็นสีขาว ผลอ่อนสีเขียวอ่อน ผิวเป็นมัน เมื่อแก่เป็นสีม่วงดำหรือสีดำ เป็นพืชท้องถิ่นในอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ แล้วจึงแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆของโลก ใบใช้ขยำแล้วล้างทำความสะอาดจานชาม เพราะมียางลื่นมือ เปลือกใช้รักษาโรคผิวหนัง ใบพอกแผล แก้น้ำร้อนลวก.

ใหม่!!: พืชดอกและฝ่าแป้ง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ้ายคำ

ฝ้ายคำ เป็นไม้ผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย โดยได้นำเข้ามาประเทศไทยเป็นเวลากว่า 50 ปีมาแล้ว นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและฝ้ายคำ · ดูเพิ่มเติม »

มหาพรหมราชินี

มหาพรหมราชินี เป็นไม้วงศ์กระดังงา ชนิดใหม่ของโลก พบในประเทศไทยที่เขตอุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สภาพนิเวศวิทยา พบในเขตป่าดิบเขา ที่สูงชัน ในระดับความสูงมากว่า 1,100 เมตร ที่มีสภาพลมแรง และอากาศหนาวเย็นจัดในฤดูหนาว ที่ความชื้นสัมพัทธิ์ค่อนข้างสูง ลักษณะของต้นมหาพรหมราชินีเป็นต้นไม้ขนาดเล็กสูงประมาณ 4-6 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-8 เมตร ลำต้นมีสีน้ำตาล กิ่งอ่อนจะมีขนอ่อนปกคลุมอยู่ ใบเป็นรูปหอก กว้าง 4-9 เซนติเมตร ยาว 11-19 เซนติเมตร เนื้อใบหนา ผิวใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน โค่นใบและปลายใบแหลม มีแขนงใบ 8-11 คู.

ใหม่!!: พืชดอกและมหาพรหมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

มหาหิงคุ์

ลักษณะขวดมหาหิงคุ์ที่ใช้ประกอบอาหาร มหาหิงคุ์ (हींग. ถอดรูปได้เป็น หีค หรือ หีงคะ ชื่อภาษาอังกฤษคือ asafoetida หรือเรียกสั้น ๆ ว่า hing) เป็นยางที่หลั่งจากพืชหลายชนิดในสกุลมหาหิงคุ์ (Ferula) ซึ่งมีถิ่นกำเนิดในประเทศอิหร่าน อัฟกานิสถาน และนิยมเพาะปลูกใกล้กับประเทศอินเดีย มหาหิงคุ์มีกลิ่นเหม็นฉุน รสเผ็ดร้อน นิยมใช้ทำยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อในเด็ก นอกจากนี้ยังใช้เป็นยาระบาย ยาแก้ไข้หวัด และใช้ผสมอาหารได้อีกด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและมหาหิงคุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาหงส์

มหาหงส์ (J.G. Koenig;White Ginger) เป็นพันธุ์ไม้พวกเดียวกัน ขิง ข่า และขมิ้น อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ หรือตามชายป่าใกล้ลำธาร เจริญเติบโตได้ดีในที่มีแสงแดดรำไร พบขึ้นมากในภาคเหนือ มีชื่ออื่นๆ ได้แก่ สะเลเต หางหงส์ กระทายเหิน ตาห่าน เหินแก้ว และเหินดำ ขยายพันธุ์โดยใช้เหง้า ส่วนที่อยู่เหนือดินเป็นลำตรง สูง ๑-๒ ม. ใบจากโคนมีขนาดเล็ก และเรียงห่างๆ กัน ใบถี่ตรงใกล้ยอด รูปขอบขนานปลายแหลมหรือมนเล็กน้อย ยาว ๒๐-๓๐ ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและมหาหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

มะชมพู่ป่า

มะชมพู่ป่า เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ดอกออกเป็นกระจุก ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ฐานรองดอกเจริญเป็นรูปถ้วย ผลสุกรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะชมพู่ป่า · ดูเพิ่มเติม »

มะพร้าว

มะพร้าว เป็นพืชยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในตระกูลปาล์ม มะพร้าว เป็นพืชซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำกะทิ กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพร้าวจัดเป็นพรรณไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล.

ใหม่!!: พืชดอกและมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

มะพร้าวแฝด

มะพร้าวแฝด, ตาลทะเล, มะพร้าวตูดนิโกร หรือ มะพร้าวทะเล มีชื่อในภาษาฝรั่งเศสว่า Coco de mer แปลว่า "มะพร้าวทะเล" สาเหตุที่ถูกขนานอย่างนี้ก็เพราะว่า พวกเดินเรือในอดีตจะพบลูกมะพร้าวทะเลอยู่ในมหาสมุทร แต่ไม่มีใครเห็นพบเห็นต้นของมัน จึงสันนิษฐานว่าคงมีต้นอยู่ใต้ทะเล บ้างก็ไปไกลยิ่งกว่านั้น คือเชื่อว่าคงเป็นผลไม้จากสวรรค์แน่ ๆ และอาจจะเป็นผลไม้แห่งความอมตะที่อีฟ ภรรยาอาดัม ถูกหลอกให้กินก็ได้ นาน ๆ ครั้งจะมีผู้พบเห็นมะพร้าวทะเลถูกคลื่นซัดเข้าฝั่ง มะพร้าวทะเลจึงกลายเป็นของแปลกและหายากยิ่งกว่าเพชรพลอย และแน่นอนผลไม้พิสดารนี้ก็จะถูกนำไปถวายให้แก่คนที่สำคัญที่สุดในแผ่นดิน นั่นคือกษัตริย์หรือสุลต่าน ไว้ประดับบารมีหรือเป็นยาวิเศษรักษาสารพัดโร.

ใหม่!!: พืชดอกและมะพร้าวแฝด · ดูเพิ่มเติม »

มะพลับ

มะพลับ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros malabarica (Desr.) Kostel) เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Ebenaceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับต้นตะโก ต้นมะพลับนั้นมีดอกขนาดเล็กและก็มีผลที่ค่อนข้างกลมแต่ถ้าสุกแล้วสามารถกินได้มีรสชาติอร่อย ต้นมะพลับนอกจากมีผลที่กินได้แล้วยังมีคุณค่าในทางสมุนไพรสูงมากด้วย มะพลับเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งของคนไทย กำหนดปลูกไว้ทางทิศใต้ เชื่อกันว่าการปลูกต้นมะพลับในบริเวณบ้านจะทำให้ร่ำรวยยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: พืชดอกและมะพลับ · ดูเพิ่มเติม »

มะพลับพรุ

มะพลับพรุ เป็นพืชในวงศ์มะพลับ (Ebenaceae) กระจายพันธุ์ทางใต้ของคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้น สูง 30-40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงแตกกิ่งชั้นเดียว โคนต้นมีพูพอนสูงถึง 1 เมตร ใบหนาเป็นรูปรีถึงรูปไข่ กว้าง 4-9 เซนติเมตร ยาว 8-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบมนถึงเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบถึงมนกลม ดอกเพศผู้สีเขียวอ่อนถึงเหลืองนวล เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร เกิดบนช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ เกสรเพศผู้ 12-15 อัน ดอกเพศเมียเกิดบนช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง ผลรูปไข่ปลายตัด กว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3.5 เซนติเมตร มีขนคลุมหนาแน่น มี 8 เมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและมะพลับพรุ · ดูเพิ่มเติม »

มะพลับเจ้าคุณ

มะพลับเจ้าคุณ เป็นไม้ยืนต้นในสกุลมะพลับ วงศ์ Ebenaceae เปลือกสีน้ำตาลแกมดำ ใบเดี่ยว แผ่นใบหนา มีขนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกแยกเพศแยกต้น โคนกลีบดอกเป็นรูประฆัง กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ – เมษายน กระจายพันธุ์ในแถบภาคเหนือ พบครั้งแรกในไทยเมื่อ 17 เมษายน..

ใหม่!!: พืชดอกและมะพลับเจ้าคุณ · ดูเพิ่มเติม »

มะพอก

มะพอก เป็นพืชในวงศ์ Chrysobalanaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลปนเทา ลึกและแตกเป็นรูปสะเก็ด ใบเดี่ยว แผ่นใบด้านบนสีเขียว ด้านล่างมีขนสีขาวนวล ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ผลสดค่อนข้างกลมหรือรูปกระสวย ผิวแข็งและมีตุ่มเล็กๆ สีเทาแกมน้ำตาล เมล็ดแข็ง ในผลมีน้ำมัน คั้นออกมาใช้ประโยชน์ได้ แก่นใช้ต้มน้ำดื่มและอาบรักษาโรคประดง ผสมกับสมุนไพรอื่นเพื่อรักษาโรคหืด เปลือกต้นทำให้ร้อนใช้ประคบแก้ช้ำใน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะพอก · ดูเพิ่มเติม »

มะพูด

มะพูด เป็นไม้ท้องถิ่นในอินโดนีเซียและหมู่เกาะอันดามัน ภาษาอินโดนีเซียเรียกมุนดู ภาษาเขมรเรียกประโฮด ภาคอีสานเรียกมะหูด เป็นไม้ยืนต้นเกิดในป่าดงดิบแล้งและป่าโปร่ง ต้นมีรอยบาดแผลมีน้ำยางสีขาวไหลออกมาแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ใบหนาเป็นมัน ดอกสีเหลืองอมเขียว ผลดิบสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เนื้อสีเหลือง รสอมเปรี้ยวอมหวาน ผลมะพูดกินเป็นผลไม้มีรสเปรี้ยว หรือใช้ทำน้ำผลไม้ ทำแยม ทางยา ใช้น้ำคั้นจากผลแก้เลือดออกตามไรฟัน ขับเสมหะ รากต้มน้ำดื่มแก้ไข้ ถอนพิษ เปลือกนำไปต้ม กรองเอาแต่น้ำ ใช้ล้างแผล ในชวาและสิงคโปร์ใช้เมล็ดตำละเอียดรักษาอาการบวม ใช้ย้อมสีเสื่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะพูด · ดูเพิ่มเติม »

มะกรูด

มะกรูด เป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) มีถิ่นกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (โดยเฉพาะบาหลี).

ใหม่!!: พืชดอกและมะกรูด · ดูเพิ่มเติม »

มะกล่ำตาช้าง

มะกล่ำตาช้าง, มะกล่ำต้น, มะแค้ก, หมากแค้ก, มะแดง, มะหัวแดง หรือ มะโหกแดง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Leguminasae วงศ์ย่อย Mimosoideae โคนต้นมีพูพอน ผิวเรียบ สีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปไข่ ดอกช่อแบบแตกแขนง เกสรตัวผู้สีเหลืองจำนวนมาก เห็นเป็นพู่ ผลเดี่ยว เป็นฝักแบน ยาวขดเป็นวง เมื่ออ่อนสีเขียวอ่อน สุกแล้วสีน้ำตาล เป็นผลแห้ง แตกตามตะเข็บ เมล็ดแบนสีแดง เป็นพืชที่ตรึงก๊าซไนโตรเจน ใช้เป็นอาหารสัตว์ สมุนไพร และยังเป็นไม้ประดับได้ เนื้อไม้มีความแข็งแกร่งมากใช้ทำเรือและใช้ทำเครื่องเรือน มะกล่ำตาช้างเป็นพืชที่มีพิษ โดยเฉพาะส่วนเมล็ดสีแดงมีพิษสูงมาก หากรับประทานเข้าไป อาจทำให้เสียชีวิตได้ รากมีรสเปรี้ยว ใช้เป็นยาแก้ร้อนใน เมล็ดและใบแก้ริดสีดวงทวารหนัก ใช้เป็นยาเบื่อพยาธิ เมล็ดมะกล่ำ 1 เมล็ดใช้เทียบเป็นหน่วยกล่ำในมาตราชั่งตวงวัดโบราณ โดย 2 กล่อมเป็น 1 กล่ำ และ 2 กล่ำเป็น 1.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกล่ำตาช้าง · ดูเพิ่มเติม »

มะกล่ำตาหนู

''Abrus precatorius'' มะกล่ำตาหนู มะกล่ำเครือ หรือ ก่ำเคือ (Jequirity) เป็นพืชไม้เถาในวงศ์ถั่ว เมล็ดมีพิษ หรือที่รู้จักกันในชื่อ "Gunja" ในภาษาสันสกฤต เป็นพื้นพื้นเมืองของประเทศอินโดนีเซีย เติบโตได้ดีในเขตร้อนและใกล้เขตร้อน ทำให้มีแนวโน้มที่จะกลายเป็นวัชพืชต่างถิ่นที่รุกรานในพื้นที่ที่มะกล่ำตาหนูถูกนำเข้ามา มะกล่ำตาหนูยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: กล่ำเครือ กล่ำตาไก่ มะกล่ำเครือ มะกล่ำแดง มะแค๊ก (เชียงใหม่) เกมกรอม (สุรินทร์) ชะเอมเทศ ตากล่ำ (กลาง) มะขามเถา ไม้ไฟ (ตรัง) หมากกล่ำตาแดง (ตะวันออกเฉียงเหนือ).

ใหม่!!: พืชดอกและมะกล่ำตาหนู · ดูเพิ่มเติม »

มะกอก

มะกอก หรือ มะกอกป่า ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ กอกกุก, กูก (เชียงราย); กอกหมอง (เงี้ยว – ภาคเหนือ); ไพแซ (กะเหรี่ยง – เชียงใหม่) เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย ตั้งแต่อินเดีย มาเลเซียจนถึงอินโดนีเซีย เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูงถึง 25 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านเลี้ยงไม่มีขน เปลือกเรียบสีเทาแตกเป็นร่องเล็กน้อย เปลือกข้างในมีริ้วสีชมพูสลับขาว ใบประกอบ มีใบย่อย 3 – 5คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรุปขอบขนาน หรือรูปหอก ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบแหลมหรือเบี้ยว ดอกออกเป็นช่อสีขาวตามปลายกิ่ง แต่ละดอกมีขนาดเล็ก มี 5 กลีบเกสรมีตัวเมียแยกเป็นสี่แฉก ผลสดมีเนื้อฉ่ำน้ำ ลักษณะรูปไข่หรือรูปรี เมื่อสุกผลสีเหลืองหม่น มีรอยแต้มสีน้ำตาลทั่วผล มะกอกเป็นพืชที่ให้ผลตลอดปี ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค เป็นไม้กลางแจ้ง สามารถขึ้นได้โดยทั่วไป พบในป่าเบญจพรรณและป่าแดงทั่วไป ขึ้นได้ดินแทบทุกชนิด และเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุยที่ชุมชื่น ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ซึ่งอาจปลุกลงหลุมได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกอก · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกฝรั่ง

มะกอกฝรั่ง, มะกอกหวาน หรือ มะกอกดง เป็นไม้ยืนต้นเขตร้อนขนาดกลาง ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน มีขนาดเล็ก ผลกลมรี สีเขียวเข้ม พอแก่สีจะอ่อนลง เนื้อมีรสมัน เปรียวอมหวาน ติดผลตลอดปี มีชื่อเรียกแตกต่างกันมากมาย เช่น พอมซิเทย์ (pomsitay) ในตรินิแดดและโตเบโก,Davidson, Alan, and Tom Jaine.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกอกฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกออลิฟ

ผลมะกอกสีดำ ต้นมะกอกโบราณในกรีซ การเก็บเกี่ยวมะกอกในคริสต์ศตวรรษที่ 14 มะกอกออลิฟ (olive) เป็นมะกอกชนิดที่นำมาทำน้ำมันมะกอก เป็นพืชท้องถิ่นในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นออกสีเทาออกขาวนวล ต้นโค้งงอ ดอกสีขาวครีมขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลเล็กเท่านิ้วหัวแม่มือ ผลดิบสีเขียว ผลสุกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงหรือสีม่วง.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกอกออลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกแดง

มะกอกแดง เป็นพืชในสกุลมะกอก วงศ์มะม่วง เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกา โดยทั่วไปรู้จักในชื่อสามัญว่า Jocote ซึ่งมาจากคำในภาษานาฮวต xocotl หมายถึงผลไม้ ชื่อสามัญอื่นๆคือ Red Mombin Purple Mombin Hog Plum Sineguela และ Siriguela เป็นไม้พื้นเมืองในเขตร้อนของทวีปอเมริกา ชาวสเปนนำมาปลูกที่ฟิลิปปินส์ ผลมะกอกแดง มะกอกแดงเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ เปลือกต้นสีเทาหรือสีน้ำตาล กิ่งขนาดใหญ่ เปราะหักง่าย ใบประกอบ ใบบางคล้ายกระดาษ ดอกช่อดอกสีแดงหรือม่วง ผลสดมีเมล็ดเดียวแข็ง เปลือกสีแดง ม่วง หรือเหลือง เนื้อสีเหลืองมีกลิ่นหอม รับประทานผลสุกเป็นผลไม้ ในเอลซัลวาดอร์นำไปเป็นส่วนผสมในการทำไซรับ ผลสุกนำไปเชื่อมหรือทำเยลลี่ ผลดิบนำไปดอง ใช้เป็นอาหารสัตว์ เนื้อไม้เบาเหมาะแก่การทำกระดาษ เปลือกลำต้นใช้รับประทานแก้ท้องเสีย มะกอกแดงในฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกอกแดง · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกโคก

มะกอกโคก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Shrebera swieteniodes) มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น โยนีปีศาจ หีผี มะกอกดอน สำโรง มะกักป่า มะกอกเผือก เป็นต้น มะกอกโคก เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูงประมาณ 10 – 15 เมตร เป็นพืชถิ่นเดียว พบตามภูเขาไฟเก่า เช่นแถบเขากระโดง เขาอังคาร เขาพนมรุ้งซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทนานแล้ว ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ เรียงตรงข้าม ช่อใบยาว ใบย่อย 2 – 3 คู่ เรียงตรงข้ามรูปไข่ รูปใบหอก หรือรูปขอบขนาน แกมรูปรี ปลายแหลม โคนสอบเรียวปลายแคบไปตามก้าน ขอบเรียบ ด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ด้านล่างมีขนนุ่ม ดอก ดอกเล็กออกเป็นช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ผลของมะกอกโคกเป็นรูปไข่กลับ เปลือกแข็ง แตกเป็นสองซีกเมื่อแห้ง เมล็ดมีปีก ผลที่แก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มองเห็นเมล็ดข้างในได้ตามชื่อที่เรียกกัน หากนำไปกดบนดินทราย จะยิ่งดูแปลกคล้ายอวัยวะเพศหญิงมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกอกโคก · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกไทย

มะกอกไทย เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ ผิวของลำต้นมีเลนติเซลมาก ใบประกอบ ฐานใบบวม ผิวใบเรียบ หนาและมัน ดอกช่อออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาดเล็ก สีขาว ก้านช่อดอกย่อยสั้นมากหรือไม่มี กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลแบบเมล็ดเดียว แก่แล้วเป็นสีเหลืองน้ำตาล เปลือกเหนียว เนื้อผลมีเส้นใย ผลรับประทานได้ มีรสเปรี้ยว ยอดและใบอ่อนกินกับลาบ ผลสุกใส่น้ำพริก ชาวกะเหรี่ยงใช้ย้อมผ้าให้สีน้ำตาลแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกอกไทย · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกเกลื้อน

มะกอกเกลื้อน หรือ หมากเหลี่ยม เป็นพืชในวงศ์ Burseraceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เปลือกสีน้ำตาล ค่อนข้างเรียบ ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ดอกสีขาวแกมเหลือง ผลรูปกระสวย สีเขียว ผลและเมล็ดใช้รับประทานได้ ใช้ปรุงอาหารแทนหนำเลี้ยบ เนื้อไม้ใช้ทำพิณ เปลือกใช้รักษาโรคลักปิดลักเป.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกอกเกลื้อน · ดูเพิ่มเติม »

มะกัก

มะกัก อยู่ในวงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีเทา ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกเล็ก สีขาว กลิ่นหอมอ่อน ผลกลมรี สีเหลืองอมเขียว เป็นพืชเฉพาะถิ่นของไทย พบตามเขาหินปูนหรือป่าผลัดใ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะกัก · ดูเพิ่มเติม »

มะก่อ

มะก่อ เป็นไม้ในวงศ์ก่อ ขึ้นตามป่าดิบเขา เป็นไม้ผลัดใบไม่มียาง เปลือกต้นหนา ติดผลเป็นกลุ่มใกล้ปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีครีมอมเหลือง เปลือกนอกสีเขียวมีหนามแหลม กะลาสีน้ำตาล เนื้อในสีขาวครีม รสมัน นำเมล็ดมาคั่วหรือต้มให้สุก เพื่อรับประทานเนื้อในเมล็ด มีกรดไขมันโอเมกา 3 ที่ช่วยบำรุงสมอง.

ใหม่!!: พืชดอกและมะก่อ · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วง

มะม่วงเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Mangifera ซึ่งเป็นไม้ผลเมืองร้อนในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับถั่วพิสตาชีโอและมะม่วงหิมพานต์)  เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เพราะการที่ภูมิภาคนั้นมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและร่องรอยฟอสซิลที่หลากหลาย นับย้อนไปได้ถึง 25-30 ล้านปีก่อน มะม่วงมีความแตกต่างประมาณ 49 สายพันธุ์กระจายอยู่ตามประเทศในเขตร้อนตั้งแต่อินเดียไปจนถึงฟิลิปปินส์ จากนั้นจึงแพร่หลายไปทั่วโลก เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบโต ยาว ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบอ่อนสีแดง ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาว ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เมล็ดแบน เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง มะม่วงเป็นผลไม้เศรษฐกิจ ปลูกเป็นพืชสวน ประเทศไทยส่งออกมะม่วงเป็นอันดับ 3 รองจากฟิลิปปินส์ และเม็กซิโก เป็นผลไม้ประจำชาติของอินเดีย ปากีสถาน และฟิลิปปินส์ รวมทั้งบังกลาเท.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วง · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงชัน

มะม่วงชัน เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae พบในอินโดนีเซีย มาเลเซียและภาคใต้ของไท.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงชัน · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงกะเลิง

มะม่วงกะเลิงหรือมะม่วงขี้กวาง เป็นพืชในวงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบบางคล้ายกระดาษ ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง ดอกสีเขียวอมขาวหรือเหลืองอ่อน ก้านดอกยาว ดอกย่อยขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลคล้ายมะม่วงขนาดเล็ก สุกแล้วสีเหลืองอ่อน เนื้อสีเหลือง นุ่มมีเส้นใยมากและฉ่ำน้ำ พบทั่วไปในภาคใต้ของไทยไปจนถึงปาปัวนิวกินี ผลเมื่อสุกเนื้อเหลวเป็นน้ำ รับประทานโดยการเจาะผลแล้วดูด ผลดิบกินกับน้ำปลาหวาน ไฟล์:Mangga pari 071209-2355 plrtu.jpg ไฟล์:Mangga pari 071210-2455 plrtu.jpg ไฟล์:Mango ManggaAer Asit ftg.jpg.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงกะเลิง · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงหัวแมงวัน

มะม่วงหัวแมงวัน หรือรักหมู (चारोली; चिरौन्जी; चारोळी) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง เมื่อแก่จะเกลี้ยง ใบเดี่ยว ก้านใบยาว ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน เกสรตัวผู้มี 10 อัน ผลเดี่ยว ขนาดเล็ก ค่อนข้างกลม เมื่ออ่อนเป็นสีเขียว แก่แล้วเป็นสีดำ เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง ทำเครื่องใช้ต่างๆ ผลรับประทานได้ทั้งอ่อนและสุก แต่ยางของผลอาจทำให้ระคายเคืองในลำคอได้ ในอินเดียนำเมล็ดไปคั่ว ทำเป็นขนมกะเหรี่ยงเรียกสะโก่เร เปลือกต้นใช้ย้อมผ้าได้สีน้ำตาลอ่อนหรือชมพู.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงหัวแมงวัน · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงหิมพานต์

มะม่วงหิมพานต์ เป็นไม้ดอกยืนต้น ในวงศ์ Anacardiaceae กลุ่มเดียวกับมะม่วง (mango) และถั่วพิสตาชีโอ มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล ซึ่งเรียกเป็นภาษาโปรตุเกสว่า "กาฌู" (caju - ผล) หรือ "กาฌูเอย์รู" (cajueiro - ต้น) ปัจจุบันเติบโตแพร่หลายทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน เพื่อใช้ประโยชน์จากเมล็ด และผล นำเข้ามาปลูกครั้งแรกที่ภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงหิมพานต์ · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงจิ้งหรีด

มะม่วงจิ้งหรีด ภาคกลางเรียกมะม่วงป่า นราธิวาสเรียกกินนิง มาเลเซียเรียกกุยนี เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae พบในกวม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม มะม่วงจิ้งหรีดเป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทา มีน้ำยางทำให้ระคายเคือง ใบเหนียวคล้ายหนัง โคนก้านใบโป่งพอง ดอกช่อ ดอกย่อยสีออกเหลืองอมชมพูอ่อน ผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง เนื้อหนา สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง ผลของมะม่วงจิ้งหรีดเมื่อสุกเป็นสีส้มอ่อน รสหวาน ออกดอกตลอดปี เนื้อผลสีเหลืองอมส้ม แน่น มีเส้นใย รสหวานอมเปรี้ยว ฉ่ำน้ำ มีกลิ่นฉุนและกลิ่นขี้ไต้ เป็นพืชที่พบตามธรรมชาติน้อย มักพบเป็นพืชปลูก คาดว่าเป็นลูกผสมระหว่างมะม่วงกับส้มมุด ผลสุกรับประทานได้ ผลดิบใช้ดองเกลือหรือตำน้ำพริก ในชวานำเมล็ดไปผลิตเป็นแป้ง เปลือกลำต้นใช้แก้โรคลมบ้าหมู ยางของผลดิบมีพิษ ต้นผลิตเรซินที่มีกลิ่น ดอกกลิ่นแรง.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงจิ้งหรีด · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงขี้ยา

มะม่วงขี้ยา var.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงขี้ยา · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงขี้ไต้

มะม่วงขี้ไต้ ภาคเหนือเรียก มะม่วงช้างเหยียบ มะม่วงแป๊บ ภาคใต้เรียก ส้มม่วงกล้วย ชาวกะเหรี่ยง จังหวัดลำปางเรียก โค๊ะแมงซา เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่บังกลาเทศ กัมพูชา จีน อินเดีย พม่า เนปาล ไทย ชื่อสามัญอื่นๆได้แก่ มะม่วงหิมาลัย (Himalayan Mango) มะม่วงเนปาล (Nepal Mango) หรือ Pickling Mango.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงขี้ไต้ · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงป่า

มะม่วงป่า เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง เห็นเส้นใบชัดเจนทั้งสองด้าน ใบแห้งสีออกแดง ผลสดคล้ายมะม่วงลูกเล็ก สีเขียวอมเหลือง ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมเหลืองหรือขาวครีม เนื้อผลนุ่ม ฉ่ำน้ำ สีส้ม รสหวานพบการแพร่กระจายในมาเลเซีย สิงคโปร์ และภาคใต้ของไทย เมื่อสุก เนื้อเหลวเป็นน้ำ รับประทานโดยการเจาะผลดูด ผลดิบกินกับน้ำปลาหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะม่วงป่า · ดูเพิ่มเติม »

มะยม

มะยม ภาคอีสานเรียกว่า หมากยม ภาคใต้เรียกว่า ยม เป็นไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลำต้นตั้งตรง เปลือกต้นขรุขระสีเทาปนน้ำตาล แตกกิ่งที่ปลายยอด กิ่งก้านจะเปราะและแตกง่าย ใบประกอบ มีใบย่อยออกเรียงแบบสลับกันเป็น 2 แถว แต่ละก้านมีใบย่อย 20 – 30 คู่ ใบรูปขอบขนานกลมหรือค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือมน ขอบใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาลเรื่อๆ ติดผลเป็นพวง ผลมีสามพูชัดเจน เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือขาวแกมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ เมล็ดรูปร่างกลม แข็ง สีน้ำตาลอ่อน 1 เมล็ด มีทั้งพันธุ์เปรี้ยวและพันธุ์หวาน ซึ่งมีรสหวานอมฝาดนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะยม · ดูเพิ่มเติม »

มะยมฝรั่ง

มะยมฝรั่ง เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ใบเกลี้ยงเป็นมัน มีตุ่มใสบนผิวใบ ใบจะเป็นสีแดง ดอกหอม สีขาวครีม กลีบเลี้ยงเป็นหลอด กลีบดอกสีขาว ผลสดแบบมีเนื้อหลายเมล็ด ห้อยลง ทรงกลมแบน ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีส้ม แก่สีแดงสดหรือค่อนข้างดำ ฉ่ำน้ำ รสเปรี้ยวอมหวาน เป็นไม้พื้นเมืองในบริเวณสุรินัมในอเมริกาใต้ ไปจนถึงกายอานาและปารากวัย ปัจจุบันมีปลูกทั่วไป ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกที่เกาะชวา ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย แต่ไม่มากนัก รับประทานผลสดหรือแปรรูปเป็นแยม เยลลี่ หรือดอง ในบราซิลใช้ผลิตน้ำส้มสายชูหรือไวน์ ใช้เป็นไม้ประดับ ใบมีน้ำมันเมื่อขยี้จะมีกลิ่นฉุน ใช้ไล่แมลง เปลือกลำต้นมีแทนนินใช้ฟอกหนัง ในสุรินัมและบราซิลใช้ใบบดละเอียดเป็นยาเจริญอาหาร ในชวาใช้ผลเป็นยาลดความดันโลหิต.

ใหม่!!: พืชดอกและมะยมฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

มะยมทอง

มะยมทอง เป็นพืชในวงศ์ Phyllanthaceae โคนต้นพองออกเป็นหัว ใบคล้ายมะยม ใบอ่อนสีแดงเรื่อๆ แก่แล้วก้านใบเป็นสีแดง เวลากลางคืนก้านใบหุบ ชอบขึ้นตามหน้าผ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะยมทอง · ดูเพิ่มเติม »

มะยมแก้ว

มะยมแก้ว เป็นพืชในวงศ์ Campanulaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ลำต้นเกลี้ยงหรือมีขนปกคลุม ลำต้นกลวงและมีเหง้าเป็นหัว ใบออกตรงข้าม ก้านใบยาว ขอบใบหยักแบบซี่เลื่อย ดอกสีขาวหรือสีชมพูอ่อน ออกตามซอกใบ ผลมีเนื้อหลายเมล็ด สีขาว มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เปลือกเป็นเส้นใย พบในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีนตอนใต้และไต้หวัน ผลรับประทานได้ เหง้ามีแป้ง ลำต้นและใบนำมาทำอาหารได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะยมแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

มะระ

มะระ หรือ ผักไห่ เป็นไม้เลื้อยเขตร้อนในวงศ์แตง (Cucurbitaceae) นิยมปลูกเพื่อใช้ผลและยอดเป็นอาหาร มีรสขม ที่รู้จักกันดีมี 2 สายพันธุ์ คือ มะระขี้นกและมะระจีน ซึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Momordica charantia สำหรับชื่อในภาษาอังกฤษมีหลายชื่อ เช่น balsam apple, balsam pear, bitter cucumber, bitter gourd, bitter melon (สำหรับชื่อ bitter gourd หรือ biiter melon นี้มีที่มาจากชื่อจีนที่เรียกว่า 苦瓜).

ใหม่!!: พืชดอกและมะระ · ดูเพิ่มเติม »

มะริด (พืช)

มะริด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae ผลัดใบ แยกเพศ ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือออกสีชมพู มีขนเป็นมันปกคลุม ดอกตัวผู้ออกเป็นกระจุก กลีบเลี้ยงรูปท่อ ปลายเว้าเป็นสี่กลีบ กลีบดอกสีขาวอมเหลือง ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกสั้นมากดอกใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผลเปลือกบางมีขนสั้นๆสีน้ำตาลแดงปกคลุม กลิ่นคล้ายเนยแข็ง เนื้อสีขาว รสหวานฝาด ผลมะริด มะริดเป็นไม้พื้นเมือง ขึ้นได้ทั่วไปในฟิลิปปินส์ ผลสุกรับประทานได้ รสหวาน เนื้อไม้สีดำ ผิวเรียบทนทาน ในฟิลิปปินส์นิยมใช้ในงานหัตถกรรม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะริด (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มะละกอ

มะละกอ เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง สูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง ถูกนำเข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ ฯลฯ หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะละกอ · ดูเพิ่มเติม »

มะละกอภูเขา

มะละกอภูเขา เป็นพืชในวงศ์ Caricaceae มีลักษณะเช่นดียวกับมะละกอแต่มีขนาดเล็กกว่า ก้านดอกสั้นมาก ผลรูปไข่กลับ เนื้อสีเหลืองอมส้ม ไม่เละ รสเปรี้ยว กลิ่นหอม เป็นพืชพื้นเมืองในแถบเทือกเขาแอนดีส ตั้งแต่โคลัมเบียจนถึงชิลีตอนกลาง นำมาปลูกในสหรัฐ ศรีลังกา และอินโดนีเซีย รับประทานผลสุก หรือนำไปต้มกับน้ำตาล ในอเมริกาใต้ใช้ทำน้ำผลไม้และแยม พืชชนิดนี้มีความต้านทานต่อไวรัสใบด่างวงแหวนมากกว่ามะละกอ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะละกอภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

มะลิ

มะลิ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถาในวงศ์มะลิ มีประมาณ 200 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแถบทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะดอกและกลิ่นมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดหรือพัน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะลิ · ดูเพิ่มเติม »

มะลิภูหลวง

มะลิภูหลวง เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์มะลิ ใบเดี่ยวรูปไข่หรือรูปรี ดอกช่อออกที่ปลายยอด ดอกย่อยมีตั้งแต่ 10 ดอกขึ้นไป กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 7 กลีบ กลิ่นหอมแรง ออกดอกเดือนกันยายน–พฤศจิกายน กระจายพันธุ์ในป่าดิบเขาในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะลิภูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

มะลิลา

มะลิลา หรือ มะลิซ้อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum sambac) เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 15-25 ซม. ใบออกตรงข้าม รูปไข่กว้าง 3.5 - 4.5 ซม. ยาว 4-7 ซม. ปลายแหลม โคนมน ก้านใบสั้น มี 3 ใบใน 1 ข้อ ดอกสีขาว กลิ่นหอมแรง ออกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ใช้ทำเป็นน้ำลอยมะลิ ใช้ทำเป็นขนมไทยมะลิลาและมะลิซ้อนเป็นพืชชนิดเดียวกันแต่เป็นคนละรูปแบบ สังเกตได้จากดอกที่มีความแตกต่างอย่างชัดเจนเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549 มะลิลามีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: ข้าวแตก (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) เตียมูน (ละว้า เชียงใหม่) มะลิ (กลาง) มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่) มะลิซ้อน (กลาง) มะลิป้อม (เหนือ) มะลิลา (กทม., กลาง) และ มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน) ชาวโอรังอัสลี ในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย นำใบอ่อนแช่ในน้ำเย็น ใช้ดื่มแก้นิ่วในถุงน้ำดี รากนำไปต้ม แล้วดื่มน้ำแก้เบาหวานเป็นดอกไม้ประจำชาติของฟิลิปปินส์ เรียกว่าซัมปากีตา (sampaguita) และเป็นดอกไม้ประจำชาติหนึ่งในสามชนิดของอินโดนีเซีย ซึ่งเรียกว่าเมอลาตี ปูติห์ (melati putih).

ใหม่!!: พืชดอกและมะลิลา · ดูเพิ่มเติม »

มะลิวัลย์

มะลิวัลย์ หรือผักแส้ว Wall.

ใหม่!!: พืชดอกและมะลิวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

มะลิสยาม

มะลิสยามหรือมะลิเมาหรือเสี้ยวดิน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Oleaceae ออกดอกที่ปลายยอด มี 1-3 ดอก กลิ่นหอมแรง ผลกลม สุกแล้วเป็นสีแดง เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย กระจายพันธุ์ตามเขาหินปูนและป่าผลัดใบในภาคกลางและภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและมะลิสยาม · ดูเพิ่มเติม »

มะลินก

มะลินกหรือเขี้ยวงู ไส้ไก่ต้น มะลิฟ้า แส้วน้อย subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและมะลินก · ดูเพิ่มเติม »

มะลิไส้ไก่

มะลิไส้ไก่ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Oleaceae เลื้อยไปตามพื้นดินหรือต้นไม้อื่น เมื่ออ่อนเป็นสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาล ต้นเรียบ เมื่อแก่จะแตกเล็กน้อย มีเนื้อไม้แข็ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ขอบใบเรียบ ใบห่อมาข้างหน้าเล็กน้อย ใบค่อนข้างหนา ช่อดอกเป็นกระจุก สีขาว กลีบเลี้ยงสีเขียว ผลเดี่ยว กลมรีเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีดำ มีเมล็ดเดียว ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและมะลิไส้ไก่ · ดูเพิ่มเติม »

มะลุลี

มะลุลี เป็นไม้เถาเลื้อยที่มีดอกสีขาวคล้ายมะลิ มีกลิ่นหอมตลอดทั้งวัน เลื้อยไกลราว 1-2 เมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและมะลุลี · ดูเพิ่มเติม »

มะสัง

มะสัง หรือ หมากกะสัง ((Scheff.) Swingle) เป็นพืชในวงศ์ Rutaceae เป็นไม้ยืนต้นแผ่กิ่งก้านจำนวนมาก ลำต้นและกิ่งก้าน มีหนามแหลมยาว แข็ง ใบประกอบแบบขนนก แผ่นใบโค้งขึ้นด้านบนเล็กน้อย สีเขียวเข้ม เป็นมันวาว ตามผิวใบมีต่อมน้ำมัน ดอกออกเป็นช่อแยกแขนงที่ซอกใบ คล้ายดอกกระถิน เป็นปุย ๆ มีสีขาว ผลทรงกลมสีเขียวคล้ายผลมะนาว ผิวเปลือกมีลายเป็นคลื่น เปลือกแข็งและหนามาก ผลอ่อนเปลือกสีเขียว เมื่อแก่จัดสีน้ำตาล มีเมล็ดจำนวนมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะสัง · ดูเพิ่มเติม »

มะส้าน

มะส้าน อยู่ในวงศ์ Dilleniaceae เป็นไม้ต้น ดอกสีเหลือง ผลกลม สุกแล้วเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม น้ำต้มเปลือกต้นปรุงเป็นยาฝาดสมานและแก้ท้องเสี.

ใหม่!!: พืชดอกและมะส้าน · ดูเพิ่มเติม »

มะหลอด

มะหลอด จังหวัดราชบุรีเรียกสลอดเถา ภาคใต้เรียกส้มหลอด เป็นไม้ผลในวงศ์ Elaeagnaceae ในไทยพบมากทางภาคเหนือ เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง มีเกล็ดละเอียดสีเทาหรือสีเงินอยู่ทั่วไป แผ่นใบสีเขียว ด้านล่างสีน้ำตาล มีเกล็ดเงินติดอยู่ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน ผลทรงรีหรือรูปไข่ เมื่ออ่อนสีเขียว มีจุดสีขาวหรือสีเงินบนผล เมื่อสุกสีแดงหรือส้มแดง มีสองชนิดคือ ชนิดเปรี้ยว ผลใหญ่ สุกเป็นสีเหลืองส้ม มีรสเปรี้ยว และชนิดหวาน ผลเล็กกว่า สีอ่อนกว่า รสหวานอมฝาด เมล็ดสีน้ำตาลเป็นพู มะหลอดชนิดเปรี้ยวนิยมบริโภคสดเป็นผลไม้ การนำไปแปรรูปมีน้อย ทางภาคเหนือนำไปทำส้มตำ นอกจากนั้น ยังมีสรรพคุณเป็นยาฝาดสมาน ยาระบาย แก้ท้องผูก เถาใช้แก้ไข้พิษ เปลือกต้นช่วยขับเสมหะ ดอกใช้แก้ริดสีดวงจมูก แก้ปวดศีรษะ และใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่นใช้ทำยาแก้ปวด แก้นิ่วได้ ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8011 qsbg11mar.jpg ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8012 qsbg11mar.jpg ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8015 qsbg11mar.jpg.

ใหม่!!: พืชดอกและมะหลอด · ดูเพิ่มเติม »

มะหวด

มะหวดหรือกำชำ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Sapindaceae ผิวเปลือกเรียบหรือเป็นแผ่นสะเก็ด สีน้ำตาลอมแดง แตกกิ่งจำนวนมาก ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ขอบใบเรียบ ดอกช่อแบบแตกแขนง แยกเพศไม่แยกต้น กลีบเลี้ยงมีขนสีน้ำตาล กลีบดอกสีขาวอมชมพู ดอกตัวผุ้มีเกสรตัวผู้ 8 อัน ผลเดี่ยว กลมรี อ่อนเป็นสีเขียว สุกแล้วเป็นสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นดำ มีเมล็ดเดียว ใบอ่อนกินเป็นผัก ผลกินเป็นผลไม้ รสหวาน รากใช้แก้ไข้ ปวดศีรษะ พอกรักษาโรคผิวหนังผื่นคัน แก้พิษฝี ตำพอกที่หัวฝี แก้โรคผิวหนัง เมล็ดแก้โรคไอ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะหวด · ดูเพิ่มเติม »

มะหาด

มะหาด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae ต้นกำเนิดจากภูมิภาคเอเชียใต้ นิยมปลูกเอาไว้ใช้ประโยชน์ทุกส่วนของต้น สามารถเจริญเติบโตได้ในดินทราย, ดินร่วนปนทราย, ดินร่วน และ ดินเหนียว มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดีมาก ชอบบริเวณที่มีความชื้นสูงและแสงแดดเข้าถึงได้น้อย มักขึ้นกระจายตามป่าดิบทั่วไป.

ใหม่!!: พืชดอกและมะหาด · ดูเพิ่มเติม »

มะอึก

มะอึก หรือ Solanum stramonifolium Hairy-fruited eggplant เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นพืชพื้นเมืองของไทยและอินโดนีเซีย ผลกลมมีขนอ่อนๆปกคลุมอยู่โดยรอบ ผลอ่อนสีเขียว รสขื่น สุกแล้วเป็นสีเหลืองอมส้ม มีรสเปรียวและหอม เมื่อสุกเป็นสีเหลือง มีเมล็ดมาก รับประทานได้ ผลทั้งดิบและสุก มีรสเปรี้ยว ใส่ในน้ำพริก ใช้ปรุงแกงที่ออกรสเปรี้ยวเช่น แกงคั่วส้ม แกงคั่ว แกงหมูตะพาบน้ำ โดยต้องขูดขนออกก่อนนำไปทำอาหาร แล้วหั่นเป็นแว่น ชาวม้งนำผลไปใส่น้ำพริกทางจังหวัดจันทบุรีนิยมนำมายำ ทางภาคเหนือและภาคอีสานนำมาทำส้มตำ ใส่แกงส้ม ทางภาคใต้ใส่ในแกงเนื้อและปลาย่าง ดอกมะอึกกำลังบาน เมล็ดจำนวนมากในลูกมะอึกซึ่งมีลักษณะคล้ายเมล็ดมะเขือ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะอึก · ดูเพิ่มเติม »

มะฮอกกานีใบใหญ่

มะฮอกกานีใบใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Swietenia macrophylla King), big leaf, Brazillian, Hondurus(English), caoba/aguono/mara(Spanish), mogno/aguano(Portuguese), mahogani grands feuillis(French), Echtes mahagoni(German), mogano(Italian), cheria mahogany(Malay).

ใหม่!!: พืชดอกและมะฮอกกานีใบใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

มะจอเต๊ะ

วามหมายอื่น ดูที่: สาลิกาลิ้นทอง มะจอเต๊ะ หรือ ไทรไข่มุก หรือ สาริกาลิ้นทอง เป็นไม้ทรงพุ่มขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ไทร (Moraceae) โดยที่ชื่อ "มะจอเต๊ะ" เป็นภาษายาวี ทั้งนี้เนื่องจากยังไม่มีการกำหนดชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไท.

ใหม่!!: พืชดอกและมะจอเต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

มะจ้ำก้อง

มะจ้ำก้อง หรือ เหมือด กาลังกาสาตัวผู้ อ้ายรามใบใหญ่ อยู่ในวงศ์ Myrsinaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว หนา ใบอ่อนสีแดง ดอกช่อ สีแดงหสลับขาว ผลกลม สุกแล้วเป็นสีดำ ใบใช้แก้ท้องเสีย เมล็ดแก้ลมพิษ ต้นแก้โรคเรื้อน ในรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบต้มรักษาอาการติดเชื้อไวรั.

ใหม่!!: พืชดอกและมะจ้ำก้อง · ดูเพิ่มเติม »

มะขวิด

ผลแห้งของมะขวิดที่ขายในประเทศอินเดีย ผลมะขวิดอยู่บนต้น เปลือกต้นมะขวิด มะขวิด ภาคอีสานเรียกมะยม ภาคเหนือเรียกมะฟิด เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง อยู่ในกลุ่มไม้ยืนต้นผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย สูงถึง 12 เมตร กิ่งแขนงมีหนามเรียวแหลมตรง ยาว 4 เซนติเมตร ใบประกอบ แบบขนนกปลายคี่ ใบออกตรงข้าม มี 2-3 คู่ รูปไข่กลับ ยาวถึง 4 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะขวิด · ดูเพิ่มเติม »

มะขาม

วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะขาม · ดูเพิ่มเติม »

มะขามป้อม

มะขามป้อม หรือ มะขามป้อมอินเดีย เป็นต้นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง และมีคุณค่าทางสมุนไพรด้วย มะขามป้อมเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดสระแก้ว มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ กันโตด (เขมร - กาญจนบุรี) กำทวด (ราชบุรี) มะขามป้อม (ทั่วไป) มั่งลู่, สันยาส่า (กะเหรี่ยง - แม่ฮ่องสอน) ศูนย์ปฏิบัติการพืชเศรษฐกิจ มะขามป้อมจัดเป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงที่สุด ในบรรดาผลไม้ทั้งหมด เพราะมะขามป้อมลูกเล็กๆเพียงลูกเดียว ให้วิตามินซีสูงกว่าวิตามินซีสังเคราะห์ถึง 12 เท่า และมากกว่าน้ำส้มคั้นถึง20 เท.

ใหม่!!: พืชดอกและมะขามป้อม · ดูเพิ่มเติม »

มะขามแขก

มะขามแขก (Indian Senna,Tinnevelly Senna) มีทรงต้นเป็นพุ่มหรือกอขนาดเล็กแตกกิ่งก้านสาขามากมาย จะสูงประมาณ 60-150 เซนติเมตร ใบเหมือนกับกับมะขามทั่วไป แต่จะยาวกว่า และที่ปลายใบแหลมกว่า ก้านใบมีใบย่อย ประมาณ 7 คู่ และ ใบมีสีเขียว มีรสเปรี้ยวหวานชุ่ม ยอดของกิ่งจะออกดอกเป็นช่อสีเหลือง จะมีกลีบที่รองดอกและกลีอดอกเกือบมีขนาดที่เท่ากันจำนวน 5 กลีบ ออกผลเป็นฝักลักษณะเหมือนกับถั่วลันเตา แต่จะแบนกว่า กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 7 เซนติเมตร มีสีเขียวใสตอนยังอ่อน เมื่อแก่จะกลายเป็นสีดำ มีเมล็ดประมาณ 6 เมล็ด มีรสเปรี้ยว.

ใหม่!!: พืชดอกและมะขามแขก · ดูเพิ่มเติม »

มะขามเทศ

มะขามเทศ เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย หลักฐานบางแหล่งกล่าวว่าเป็นพืชพื้นเมืองของเม็กซิโก อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ตอนบนจากนั้นจึงแพร่กระจายไปสู่อเมริกาเหนือ กวม ฟิลิปปินส์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาษาเตลูกูเรียกว่า సీమ చింత "seema chintakaya" ชื่ออื่นๆได้แก่ guamúchil / cuamúchil / huamúchil (ในเม็กซิโก ภาษาสเปน), guamá americano (ในเปอร์โตริโก) opiuma (ภาษาฮาวาย), kamachile (ภาษาฟิลิปิโน),கோன புளியங்கா/ கொடுக்காப்புளி kodukkappuli (ภาษาทมิฬ), વિલાયતી આંબલી vilayati ambli (ภาษาคุชราต), जंगल जलेबी jungle jalebi หรือ ganga imli (ภาษาฮินดี), তেঁতুল tetul (ภาษาเบงกาลี), seeme hunase (ภาษากันนาดา) และ विलायती चिंच vilayati chinch (ภาษามราฐี) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นมีหนาม ใบบางและเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ดอกช่อ ขนาดเล็ก สีขาว เห็นเกสรตัวผู้เป็นพู่ชัดเจน ผลเป็นฝักโค้งเป็นปล้องๆ ฝักอ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือแดง เนื้อในเป็นสีชมพูหรือสีขาว รสหวานหรือหวานอมฝาด ถ้าทิ้งไว้นาน เนื้อจะนุ่ม รสหวานจัดขึ้น แต่ถ้านานเกินไปจะมีกลิ่นเหล้าออกมา เมล็ดสีดำ มีปล้องละ 1 เมล็ด ฝักมะขามเทศ มะขามเทศในประเทศไทยแบ่งตามลักษณะฝักเป็นสามกลุ่มคือนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะขามเทศ · ดูเพิ่มเติม »

มะดะหลวง

มะดะหลวง เป็นพืชในวงศ์ Guttiferae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลแกมเทา ยางสีขาวเหนียว ลำต้นเกลี้ยง ใบมักห้อยลง ใบสีเขียวเข้ม ด้านบนเป็นมันเหนียวคล้ายหนัง ดอกสีขาว ผลเปลือกบางนิ่มสีส้มอ่อนหรือสีเหลืองเข้ม เมล็ดสีน้ำตาลเนื้อสีเหลืองแกมส้ม ลักษณะโดยทั่วไปใกล้เคียงกับมะพูด ผลดิบรับประทานได้หรือทำแยม รสเปรี้ยว ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร น้ำต้มผลแห้งปรุงรสด้วยน้ำตาลใช้ดื่มแก้ตับผิดปกติ บางครั้งใช้ยางเป็นสีย้อม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะดะหลวง · ดูเพิ่มเติม »

มะดัน

มะดัน (pierre.)หรือส้มไม่รู้ถอย หรือส้มมะดัน เป็น ผลไม้ที่เป็นประเภทไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ อยู่ในวงศ์ GUTTIFERAE มีกิ่งก้านเล็กๆจำนวนมาก โคนกิ่งเล็กเป็นเต้านูน บางต้นมีกิ่งเล็กๆงอกสานกันคล้ายรังนก เรียกรกมะดัน ใบเดี่ยวรูปไข่ ปลายแหลม ดอกสีเขียว ผลมะดันนั้นมีลักษณะที่ยาวรีสีเขียวและเปรี้ยวจัด เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งและขรุขร.

ใหม่!!: พืชดอกและมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

มะดูก

มะดูก เป็นพืชในวงศ์ Celastraceae มีหูใบแต่ร่วงง่าย ใบเดี่ยว มักจักเป็นซี่ฟันตื้นๆ ดอกช่อออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ ดอกสีขาวครีม มีจุดสีน้ำตาลแดง มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก เกสรตัวผู้ 5 อัน ก้านชูแบน ผลรูปรีหรือกลม สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง ผลสุกรับประทานได้ รากใช้แก้พิษฝี หรือผสมกับสมุนไพรอื่นเพื่อทำเป็นยาบำรุงกระดูก ดับพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะดูก · ดูเพิ่มเติม »

มะคังแดง

มะคังแดง หรือ ตุมกาแดง ชื่ออื่นๆคือ กาญจนบุรี เรียก จงก่าขาว ตะลุมพุกแดง ราชบุรีเรียก จิ้งก่าขาว ชันยอด เชียงใหม่เรียก มะคัง นครราชสีมาเรียก มุยแดง ลุมพุกแดง เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae ลำต้นและกิ่งก้านสีน้ำตาลแดง มีขนนุ่มๆเหมือนกำมะหยี่สีน้ำตาลแดงปกคลุมทั่วไป โคนต้นและกิ่งมีหนามโดยรอบ หนามขนาดใหญ่ พุ่งตรงออกเป็นระยะ เนื้อไม้สีขาวนวล มะคังแดงมีฤทธิ์เป็นยา ลำต้น ต้มน้ำดื่ม แก้เลือดลมเดินไม่สะดวก ผสมกับหัวยาข้าวเย็น ต้มน้ำดื่มแก้ไตพิการ แก้ปวดท้อง ขับพิษโลหิต และน้ำเหลือง เปลือกต้น ตำพอกแผลสด ห้ามเลือด ทางจังหวัดอุบลราชธานีใช้เปลือกต้น เข้ายากับมุ่ยขาว ทำเป็นลูกกลอน แก้ปวดเส้นเอ็น อัมพฤกษ์ อัมพาต แก้ริดสีดวงทวาร แก่น ต้มน้ำดื่มแก้ปวดเมื่อย แก้ปวดประจำเดือน แก่นผสมกับยาชนิดอื่นๆ ใช้รักษาโรคกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและมะคังแดง · ดูเพิ่มเติม »

มะคำดีควาย

มะคำดีควาย (A.DC.) หรือเรียกว่า มะซัก ประคำดีควาย เป็นชื่อต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ SAPINDACEAE มีลักษณะของใบประกอบที่เรียงสลับกัน ผลออกเป็นพวง ค่อนข้างกลม ผลแก่จะแห้ง ค่อนข้างกลม ผิวย่น เปลือกแห้งสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ ผลมี 3 พู ส่วนใหญ่จะฝ่อไป 1 หรือ 2 พู เนื้อเหนียว ใส สีน้ำตาล เมล็ดกลมสีดำ เป็นมัน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะคำดีควาย · ดูเพิ่มเติม »

มะค่าแต้

มะค่าแต้ หรือ มะค่าหนาม มะค่าหลุม มะค่าลิง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Leguminosae ผลัดใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ดอกช่อมีดอกย่อยจำนวนมาก ฝักแบนหรือกลมแบน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดราชบุรี โดย J.E. Teijsmann ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย กระจายพันธุ์ในกัมพูชา ลาว มาเลเซีย ไทย และ เวียดนาม ในภาคอีสานของไทยมีมะค่าแต้สองสายพันธุ์คือแต้โหลน ฝักแบบรูปไข่ ไม่มีหนาม และแต้หนาม ฝักแบนรูปไข่ มีหนาม นิยมใช้เนื้อไม้ในการก่อสร้าง ของใช้ เปลือกนำมาแช่น้ำให้ได้น้ำสีน้ำตาลแดง ใช้แช่แผลจากการคลอดบุตรให้สมานตัวเร็ว ไม่ติดเชื้อ ใบใช้แทนช้อนในการตักอาหารที่มีน้ำเช่นแกงได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะค่าแต้ · ดูเพิ่มเติม »

มะค่าโมง

มะค่า เป็นชื่อของไม้เนื้อแข็งยืนต้นที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่สามารถปลูกเป็นไม้ทางเศรษฐกิจได้ เป็นต้นไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดสุโขทัย ผลัดใบช่วงสั้น ๆ สูงได้ถึง 30 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกว้าง เปลือกต้นสีเทาอ่อน หรือสีชมพูอมน้ำตาล ผิวต้นขรุขระ กิ่งอ่อนมีขนประปราย ต้นแก่มักมีปุ่มปม เนื้อไม้มีลวดลายสวยงามสีน้ำตาลอมเหลือง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคู่ ออกเรียงสลับ ใบกว้าง 4-5 เซนติเมตร ยาว 5-9 เซนติเมตร แกนกลางใบประกอบยาว 18-30 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะค่าโมง · ดูเพิ่มเติม »

มะงั่ว

มะงั่วหรือส้มมะงั่ว หรือ มะนาวควาย เป็นพืชในวงศ์ Rutaceae เป็นไม้พุ่มมีกิ่งมาก เปลือกลำต้นสีเทาอ่อน ไม้เนื้ออ่อน ยอดอ่อนสีม่วงหรือเขียวอมม่วง กิ่งอ่อนสีอมม่วง เป็นเหลี่ยม กิ่งแก่กลม ผิวเกลี้ยงมีหนามแหลมตามซอกใบ ใบประกอบลดรูปเหลือใบเดียว ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกช่อออกตามซอกใบ ดอกสีชมพูหรือขาว ผลทรงกลมยาว ผิวหยาบ ผลสดเปลือกเป็นปุ่มปมเล็กน้อย เปลือกหนา สีเหลือง กลิ่นหอม แต่ละกลีบขนาดเล็ก รสออกเปรี้ยว เมล็ดรูปไข่จำนวนมาก มีสองพันธุ์คือ พันธุ์ที่มีรสเปรี้ยว ยอดและตาดอกสีชมพู เนื้อมีรสเปรี้ยว และพันธุ์ที่รสไม่เปรี้ยว ยอดและตาดอกไม่เป็นสีชมพู เนื้อรสไม่เปรี้ยว ส้มโอมือและส้มซ่าหวานจัดเป็นสายพันธุ์ย่อยของมะงั่ว เค้กมะงั่ว Yuja cha, ชาพื้นบ้านของเกาหลีทำจากมะงั่วและน้ำตาล ถิ่นกำเนิดของมะงั่วอยู่ในอินเดีย กระจายพันธุ์ไปจนถึงจีนและอิหร่าน ใช้เปลือกผลทำขนมหวานและเค้ก ใช้ทำน้ำหอม ในจีนใช้รากต้มน้ำรักษาอาการผิดปกติของระบบหายใจและปวดหลัง ผิวมะงั่วมีน้ำมันมากเรียกน้ำมันผิวมะงั่ว น้ำมะงั่วรสเปรี้ยว ใช้แก้ไอ ใช้เป็นน้ำกร.

ใหม่!!: พืชดอกและมะงั่ว · ดูเพิ่มเติม »

มะตาด

มะตาด เป็นพืชในสกุลส้าน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และทางตะวันออกของศรีลังกาจรดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน (มณฑลยูนนาน) และเวียดนาม และทางตอนใต้ของไทยถึงมาเลเซีย และอินโดนีเซียGermplasm Resources Information Network: มะตาดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: ส้มปรุ ส้านกว้าง ส้านท่า ส้านใหญ่ (สุราษฎร์ธานี) ส้านป้าว (เชียงใหม่) แส้น (ตรัง, สงขลา).

ใหม่!!: พืชดอกและมะตาด · ดูเพิ่มเติม »

มะตูม

ผลมะตูมผ่าครึ่ง มะตูม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos ภาคเหนือเรียกว่า มะปิน ภาคใต้เรียกว่า กะทันตาเถร, ตูม และตุ่มตัง ภาคอีสานเรียกว่า หมากตูม ภาษาเขมรเรียกว่า พะโนงค์ ชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า มะปีส่า นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะตูม · ดูเพิ่มเติม »

มะปราง

มะปราง เป็นชื่อของผลไม้เมืองร้อนชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Anacardiaceae (วงศ์เดียวกับ มะม่วง มะกอก ฯลฯ) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มะปรางมีทรงต้นค่อนข้างแหลม มีใบมาก ไม่มีผลัดใบนอก กิ่งก้านแตกแขนงจนทึบ รากแก้วค่อนข้างแข็งแรงมากจึงสามารถทนความแห้งแล้งได้ดี ดอกออกเป็นช่อและก็มีสีเหลืองเมื่อบาน ผลของมะปรางจะมีขนาดพอๆ กับไข่ของนกพิราบและก็มีสีเหลืองหรือสีเหลืองอมส้มเวลาสุก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะปราง · ดูเพิ่มเติม »

มะปริง

มะปริง หรือปริง ตง ส้มปริง ภาษาเขมรสุรินทร์เรียกโค้ง เป็นผลไม้พื้นเมืองของประเทศไทย ลักษณะคล้ายมะปราง ต่างกันที่ผลเล็กและป้อมกว่า เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทาดำ มียางสีเหลือง ใบเดี่ยวออกตรงข้าม แผ่นใบสีเขียวเข้มแกมม่วง ยอดอ่อนมีใบสีม่วงห้อยลง ดอกช่อ ออกตามซอกใบหรือตามกิ่ง ดอกสีเหลืองอ่อนหรือขาวปนเขียว ผลกลมรี ผลดิบสีเขียวอ่อน เนื้อกรอบชุ่มน้ำ ผลสุกสีเหลือง เนื้อนุ่ม เมล็ดสีม่วงมีรสฝ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะปริง · ดูเพิ่มเติม »

มะปี๊ด

มะปี๊ดหรือส้มจี๊ด คนจีนแต้จิ๋วเรียกกำกั๊ดหรือกิมกิก เชื่อกันว่ามีต้นกำเนิดในประเทศจีนแล้วจึงแพร่กระจายมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย ฮาวาย อินดีสตะวันตก อเมริกากลาง และอเมริกาเหนือ Morton, J. (1987).

ใหม่!!: พืชดอกและมะปี๊ด · ดูเพิ่มเติม »

มะป่วน

มะป่วน หรือนมหนู (Kurz) มีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น กระโปกกระจ้อน (จันทบุรี) กล้วยขี้เห็น ขี้เห็น (อุดรธานี) กล้วยเห็น (สกลนคร) แดงดง (เลย) นมหนู (กรุงเทพฯ) นางนวล (ลำปาง) ปอแฮด แฮด (เชียงใหม่) มะดัก (สระบุรี) ลำดวนดง (ขอนแก่น) มะป่วน เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 เมตร ใบลักษณะเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับสองด้านในระนาบเดียวกันของกิ่ง รูปรี กว้าง 4-6 เซนติเมตร ยาว 8-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนสาก ส่วนดอกออกเป็นกระจุก 2-3 ดอก ตรงข้ามใบ กลีบดอกเรียง 2 ชั้น ๆ ละ 3 กลีบ สีชมพูอมเหลือง รูปขอบขนาน ปลายแหลมและโค้ง ขอบกลีบเป็นคลื่น กลีบดอกชั้นในประสานกันคล้ายยอดโดม ผล ออกเป็นกลุ่มๆ เมื่อสุกสีเหลือง มีขนสีน้ำตาลคลุม มีกลิ่นหอมตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน แต่หอมแรงในช่วงกลางคืน ออกดอกพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงเดือน มีนาคม - พฤษภาคม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะป่วน · ดูเพิ่มเติม »

มะนาว

มะนาว(Lime) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ยวจัด จัดอยู่ในสกุลส้ม (Citrus) ผลสีเขียว เมื่อสุกจัดจะเป็นสีเหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชุ่มน้ำมาก นับเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า นิยมใช้เป็นเครื่องปรุงรส นอกจากนี้ยังถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและมะนาว · ดูเพิ่มเติม »

มะนาวผี

มะนาวผี หรือ กรูดผี เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rutaceae ต้นสีน้ำตาลเข้ม มีหนามแหลมตามต้น เนื้อไม้สีเทา ใบเดี่ยว มีกลิ่นเหมือนมะนาว ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลือง ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วย สีเขียว เกสรตัวผู้สีเหลือง ผลเดี่ยว รูปไข่ ปลายผลมีปุ่มออกมาเล็กน้อย สีเขียวอมเหลือง มีต่อมน้ำมันที่ผิว นิยมใช้ทำเครื่องเรือนต่าง.

ใหม่!!: พืชดอกและมะนาวผี · ดูเพิ่มเติม »

มะนาวไม่รู้โห่

ผลมะนาวไม่รู้โห่ มะนาวไม่รู้โห่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carissa carandas L.; ชื่อสามัญ: Karanda; Carunda; Christ's thorn) หรือชื่อพื้นเมืองอื่นเช่น มะนาวโห่, หนามแดง, หนามขี้แฮด (เชียงใหม่) เป็นพืชที่มีลักษณะเป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดย่อม สูง 2-3 เมตร ตามกิ่งก้านมีหนามค่อนข้างยาวและแหลม ลักษณะใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่รี ปลายและโคนมน ขอบเรียบ ดอกมีขนาดเล็กมีสีขาวเป็นช่อ หอมกลีบดอกเป็นรูปหอก ผลขนาดเท่าหัวแม่มือ เป็นพวงสีแดงสดแก่สีดำรับประทานได้ ชื่อ "มะนาวไม่รู้โห่" นั้นเป็นชื่อพืชที่มีปรากฏเรียกกันมาแต่โบราณ ซึ่งเห็นได้จากที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีเช่นในเรื่อง พระรถเมรี นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายเป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ที่ขึ้นได้ดีในดินเกือบทุกชน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะนาวไม่รู้โห่ · ดูเพิ่มเติม »

มะแฟน

มะแฟน วงศ์ Burseraceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกเสอะพี่ ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เปลือกต้นสีน้ำตาล กิ่งอ่อนมีขนปกคลุมเล็กน้อย ใบประกอบ ไม่มีหูใบ ผิวใบและท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกช่อ ผลรับประทานได้ รสเปรี้ยวอมหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะแฟน · ดูเพิ่มเติม »

มะแว้งต้น

มะแว้งต้น เป็นไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ลำต้นมีขนนุ่ม ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 4-10 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะแว้งต้น · ดูเพิ่มเติม »

มะแว้งนก

มะแว้งนก เป็นพืชในสกุล Solanum เป็นพืชพื้นเมืองในยูเรเชีย เป็นพืชที่ใช้เป็นอาหารและยาได้Mohy-ud-dint, A., Khan, Z., Ahmad, M., Kashmiri, M.A., Chemotaxonomic value of alkaloids in Solanum nigrum complex, Pakistan Journal of Botany, 42(1): 653-660, 2010.

ใหม่!!: พืชดอกและมะแว้งนก · ดูเพิ่มเติม »

มะแข่น

มะแข่น (Alston) ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ มะกรูดตาพราหมณ์ (นครราชสีมา); กำจัดต้น, พริกหอม, หมากมาศ (กรุงเทพฯ); มะข่วง, มะแขว่น, บ่าแข่น (ภาคเหนือ); มะแข่น (ไทสิบสองพันนา); มะแขว่น (ลาว); ลูกระมาศ (ภาคกลาง); หมักข่วง (แม่ฮ่องสอน); มะเข่น, มะแข่สะ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) (50px) เป็นพืชสมุนไพรสกุลเดียวกับพริกไทยเสฉวน (Sichuan pepper) ผลและใบใช้เป็นเครื่องเทศชูรสอาหาร โดยผลใช้ผลสดหรือผลแห้งหรือทั้งสองอย่าง แล้วแต่ชนิดอาหาร เช่น ลาบ หลู้ แกง และอาหารพื้นเมืองและอาหารท้องถิ่น เช่น ตำหวาย หลามบอน ตำน้ำพริก ฯลฯ มะแข่นมีรสชาติเผ็ด กลิ่นฉุนแต่หอม มีสรรพคุณทางยาคือสามารถแก้หวัดได้ ต้นและกิ่งเป็นหนาม ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย 6–8 คู่ ก้านใบสีแดง ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี ปลายแหลม ต้นที่เก็บเกี่ยวผลผลิตได้จะมีอายุตั้งแต่ 3–15 ปี ผลค่อนข้างกลมผลเล็ก ๆ ขนาดผลพริกไทย ผิวขรุขระ สีเขียว มีกลิ่นฉุน คล้ายกลิ่นเมล็ดผักชียี่หร่า ผลแก่เปลือกหุ้มเมล็ดสี แดง แก่จัดสีดำ ออกผลเดือนกันยายนถึงธันวาคม เมล็ดกลม ๆ ดำเป็นมัน ใช้เปลือกผลผสมชูรสอาหาร ใช้รากและเนื้อไม้ เป็นยาขับลมในลำไส้ ลดความดัน เป็นยาขับโลหิตระดูของสตรี ผลเป็นยาบำรุงหัวใจ บำรุงโลหิต บำรุงธาตุ พบมากหรือปลูกมากในเขตพื้นที่ หมู่บ้านผาสิงห์ บ้านผาหลัก บ้านปางส้าน บ้านยอด ตำบลยอด อำเภอสองแคว จังหวัดน่าน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะแข่น · ดูเพิ่มเติม »

มะไฟ

มะไฟ (วงศ์: Phyllanthaceae) ภาคใต้เรียกส้มไฟ เพชรบูรณ์เรียกหัมกัง เป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ต่อมาจึงแพร่หลายไปทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบเดี่ยว รูปไข่ ดอกเป็นช่อสีชมพูอ่อนหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ผลออกเป็นช่อ ผลอ่อนมีขนคล้ายกำมะหยี่ พอแก่ผิวเกลี้ยง เปลือกสีเหลือง เนื้อสีขาวขุ่นหรือขาวใสอมชมพู แล้วแต่พันธุ์ เมล็ดแบนสีน้ำตาล พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะไฟ · ดูเพิ่มเติม »

มะไฟกา

มะไฟกา หรือมะไฟเตา ส้มไฟดิน ส้มไฟป่า เป็นไม้ยืนต้นในสกุล Baccaurea เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ออกรวมเป็นกลุ่ม ข้อต่อระหว่างโคนใบกับก้านใบบวมพอง ดอกออกที่ลำต้นและปลายกิ่งเป็นช่อ ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ มีขนสีขาวปกคลุม ดอกตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า ผลกลม เปลือกหุ้มเหนียวและหนา แก่แล้วผลเป็นสีแดงแกมม่วง เนื้อหุ้มเมล็ดสีเหลืองอ่อน รสเปรี้ยว เมล็ดกลมแบน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะไฟกา · ดูเพิ่มเติม »

มะไฟจีน

มะไฟจีน หรือส้มมะไฟ (wampee ซึ่งได้จากชื่อพ้อง Clausena wampi (Blanco), D. Oliver) เป็นพืชตระกูลสัมชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายมะไฟ ในภาษาจีนเรียกว่า หวงผี (黄皮, พินอิน:huángpí) แปลว่า (ผลไม้)ผิวสีเหลือง มะไฟจีนเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ต้นสูงประมาณ 3-8 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียวเข้ม ผลมีลักษณะคล้ายกับมะไฟ คือเป็นพวง แต่เปลือกจะบางกว่าและมีรสเฝื่อนเล็กน้อยเนื่องจากมีต่อมน้ำมัน เนื้อในรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานสดหรือนำไปแปรรูปได้ ภายในมีเมล็ดตั้งแต่ไม่มีไปจนถึง 5 เมล็ด เมล็ดมีรูปทรงแบนรีสีเขียว ปลายแหลมสีน้ำตาล มะไฟจีนขึ้นได้ดีในดินเกือบทุกชนิด แต่ดินที่เหมาะสมคือดินที่มีการระบายน้ำพอสมควร นอกจากนี้ ยังต้องให้น้ำด้วยถ้าหากอากาศแล้งมาก มะไฟจีนเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดตลอดทั้งปี และอากาศไม่ร้อนหรือหนาวจนเกินไป นิยมปลูกกันมากทางภาคใต้ของจีน ภาคเหนือของเวียดนาม และที่จังหวัดน่าน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะไฟจีน · ดูเพิ่มเติม »

มะไฟควาย

มะไฟควาย เป็นพืชท้องถิ่นในมาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และภาคใต้ของไทย ภาคกลางเรียกลังแขหรือลำแข ปัตตานีเรียกมะแค้ ลังแข ภาษาอินโดนีเซียเรียกตัมปุยซายาหรือตัมปุยบูลัน ภาษามลายูเรียกตัมโปย เงาะซาไกเรียกลารัก เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบเกลี้ยง ไม่มีขนอ่อน แผ่นใบเรียวเข้าหาโคน ไม่เว้า ช่อดอกยาว ออกเป็นกลุ่มตามกิ่งหรือลำต้น ผลมีขนาดใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับพืชในสกุลเดียวกันทั้งหมด ผลกลม เปลือกหนามาก มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ก้านของผลยาว แข็ง ผลดิบสีชมพูอมม่วง มีขน เมื่อแก่กลายเป็นสีน้ำตาล ไม่มีขน เนื้อสีขาวขุ่น แต่เมื่อถูกอากาศจะกลายเป็นสีดำอย่างรวดเร็ว มี 3-6 เมล็ด รสหวานอมเปรี้ยว ใช้รับประทานเป็นผลไม้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะไฟควาย · ดูเพิ่มเติม »

มะเฟือง

มะเฟือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Averrhoa carambola L.; ชื่อสามัญ: Carambola) เป็นไม้ต้นพื้นเมืองของอินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา และเป็นที่นิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวันออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชย์อยู่ที่ฟลอริดาตอนใต้และฮาว.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเฟือง · ดูเพิ่มเติม »

มะเฟืองช้าง

มะเฟืองช้าง เป็นพืชในวงศ์เงาะ (Sapindaceae) กระจายพันธุ์ในอินเดีย อินโดจีนถึงปาปัวเซีย ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-23 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มมนค่อนข้างกลม โคนต้นเป็นพูพอน ใบเป็นใบประกอบขนนกชั้นเดียวปลายคู่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อยเรียงตรงข้าม 2 คู่ ใบรูปไข่ กว้าง 3-11 เซนติเมตร ยาว 5-28 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสั้น ๆ ขอบใบเรียงหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกสีขาว ขาวอมเขียวหรือครีมถึงชมพู มีกลิ่นคล้ายดอกพิกุล ออกเป็นช่อแบบกระจะตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นนอก 2 กลีบ ชั้นใน 3 กลีบ รูปรีถึงรูปไข่หรือไข่กลับ กลีบดอกมี 4 กลีบ รูปรีขอบขนานถึงรูปไข่ โคนดอกมีขน ผลทรงกลมแบบเมล็ดเดียว สีเหลืองถึงเทา เมล็ดสีน้ำตาล ชาวพื้นเมืองใช้ใบและลำต้นในการรักษาอาการไอ เนื้อไม้ใช้ทำของใช้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเฟืองช้าง · ดูเพิ่มเติม »

มะเกลือ

มะเกลือ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป เรือนยอดเป็นพุ่มกลมกิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ผลดิบของมะเกลือมีสรรพคุณเป็นยา จัดเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง สมัยก่อนนิยมใช้ยางผลมะเกลือไปย้อมผ้า ผลที่เปลือกเป็นสีดำ เมื่อรับประทานทำให้หน้ามืด ตาลายตาพร่ามัว อาเจียน ท้องเดินและตาบอดได้ มะเกลือเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาคเหนือเรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า มะเกีย มะเกือ หรือ ผีผา ทางใต้เรียกว่า เกลือ แถบเขมร-ตราดเรียก มักเกลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเกลือ · ดูเพิ่มเติม »

มะเม่า

มะเม่า หรือ หมากเม่า ทางพิษณุโลกเรียกเม่าหลวง ระนองเรียกมัดเซ เป็นไม้ยืนต้นในสกุล Antidesma ใบเดี่ยว สีเขียวเป็นมัน โคนใบเรียวมน ดอกออกเป็นช่อ ตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกแยกเพศแยกต้น ผลกลม ออกรวมกันเป็นพวง ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีแดง สุกเต็มที่เปลี่ยนเป็นสีดำ พบมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเม่า · ดูเพิ่มเติม »

มะเม่าดง

มะเม่าดงหรือเม่าช้าง ภาษากะเหรี่ยงเรียกส่าคู่โพ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Phyllanthaceae แยกเพศ ลำต้นตรง ใบหนาและเหนียวเป็นมันวาว เส้นกลางใบนูนเด่นด้านหลังใบ ใบอ่อนสีม่วงแดงเป็นมัน หลังใบสีเขียวเข้มกว่าท้องใบ ดอกช่อมีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกตัวผู้ไม่มีก้านดอก กลีบดอกกลม ดอกตัวเมียมีก้านดอก ผลสดมีเมล็ดเดียว สีแดงอมเหลืองไปจนถึงม่วง แดงอมน้ำเงิน เนื้อผลฉ่ำน้ำ เมล็ดรูปไข่ มีถิ่นกำเนิดในอินเดียแถบเทือกเขาหิมาลัย กระจายพันธุ์ลงมาทางใต้จนถึงศรีลังกา พม่า มาเลเซีย ปลูกเป็นการค้าในอินโดนีเซียและอินโดจีน ผลสดรับประทานได้ มีสีติดมือและปาก สุกไม่พร้อมกัน เมื่อดิบเปรี้ยว นิยมใช้ทำแยม น้ำคั้นผลสุกใช้ทำเครื่องดื่มหรือไวน์ อินโดนีเซียใช้ผลิตน้ำปลาที่มีรสเปรี้ยว ใบอ่อนใช้ปรุงแต่งรสเปรี้ยวและรับประทานเป็นผัก เปลือกลำต้นมีอัลคาลอยด์และมีรายงานว่าเป็นพิษ รสเปรี้ยวของผลเกิดจากกรดซิตริก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเม่าดง · ดูเพิ่มเติม »

มะเม่าควาย

มะเม่าควาย เม่าหินหรือเม่าเล็ก เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Phyllanthaceae มีขนสีเหลืองปกคลุมทั้งต้น ใบรูปรี ผลสด เมล็ดเดียวแข็ง มีขนละเอียดปกคลุมบนผล สีขาวอมแดง ผลรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเม่าควาย · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือบ้าดอกขาว

อกในไฮเดอราบัด อินเดีย มะเขือบ้าดอกขาว เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นพืชฤดูเดียว ดอกเป็นหลอดปลายบานคล้ายแตรสีขาว ผลเป็นแบบกระเปาะ ที่ผิวมีหนาม มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโก และทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ มีฤทธิ์หลอนประสาท ทุกส่วนของพืชชนิดนี้มีพิษทั้งต่อคนและสัตว์ ในบางท้องที่ห้ามซื้อขายพืชชนิดนี้ ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือบ้าดอกขาว · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือพวง

มะเขือพวง (Turkey berry) เป็นพืชตระกูลมะเขือ เป็นไม้ข้ามปี มีถิ่นกำเนิดในแถบรัฐฟลอริดา, หมู่เกาะเวสต์ อินดีส์, เม็กซิโก จนถึงอเมริกากลาง และทวีปอเมริกาใต้แถบประเทศบราซิล เป็นวัชพืชขึ้นกระจัดกระจายเกือบทั่วเขตร้อน มะเขือพวงใช้ตำผสมลงในน้ำพริกหลายชนิดเช่น น้ำพริกกะปิ น้ำพริกขี้กา ใช้ใส่ในแกงเช่น แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน แกงป่า แกงอ่อม ซุบ กินดิบเป็นผักจิ้ม หรือกินสุกโดยการเผา ปิ้ง ย่างในภาษาใต้จะเรียกว่า "มะเขือเทศ" หรือ "เขือเทศ".

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือพวง · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือยาว

หมวดหมู่:สกุลมะเขือ หมวดหมู่:ผัก มะเขือยาว เป็นพืชข้ามปี สามารถเจริญ เติบโตในดิน ทุกสภาพ ดินมีความเป็น กรดเป็นด่าง อยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ปลูกได้ ตลอดปี และทั่วทุกภาค ของไปประเทศไทย มะเขือยาว เป็นพืชที่เรา ใช้ส่วนผล ในการบริโภค ใช้เป็นผักสด หรือประกอบ อาหารได้หลายชนิด การเตรียมแปลงและเพาะกล้ามะเขือยาว ขุดดินลึก 15-20 เซนติเมตร (1 หน้าจอบ) ใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักที่สลาย ตัวดีแล้วพรวนดิน และย่อยดินให้ละเอียด ยกเป็นแปลง ตามขนาดและตามความต้องการ ปรับหน้าดินให้เรียบหว่าน เมล็ดพันธุ์ให้กระจายให้ทั่วแปลง แล้วหว่านกลบด้วย ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก คลุดด้วยฟางข้าวกลบหน้าบางๆ รดน้ำให้ชุ่ม ดูแลรักษากล้านาน 25-30 วัน ต้นกล้ามีใบจริง 2-3 ใบ จึงย้ายลงแปลงปลูก การเตรียมแปลงปลูกและการย้ายปลูก มะเขือยาว เป็นพืชที่มีรากค่อนข้างลึก ในแปลงปลูกควรโรยปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ยกแปลงให้สูง 20-30 เซนติเมตร กว้างประมาณ 1.5 เมตร ความยาวแปลงแล้วแต่พื้นที่ ขุดหลุมปลูกลึก 15-20 เซนติเมตร (1 หน้าจอบ) ใช้ระยะ ระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ระหว่างแถว 10 เซนติเมตร รองกันหลุมด้วยปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตราหลุมละ 1/2 ช้อนชา ทับหน้าปุ๋ยเคมีด้วยปุ๋ยคอก หลุมละ 1 กะลามะพร้าว เสร็จแล้วให้นำต้นกล้าลงปลูกในหลุม แล้วรดน้ำให้ชุ่ม การดูแลรักษามะเขือยาว การใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 13-13-21 อัตรา 1 ช้อนชา/ต้น ทุกๆ 15-20 วัน โรยห่างโคนต้น 5-10 เซนติเมตร (บริเวณชายทรงพุ่ม) หรือใช้ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักอย่างสม่ำเสมอโดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์น้อยลงก็ได้ การให้น้ำ ควรทำอย่างสม่ำเสมอทุกวัน การพรวนดินกำจัดวัชพืช หลังจากปลูกแล้ว ถ้ามีวัชพืชให้รีบกำจัดอย่างปล่อยให้รบกวน เพราะจะทำให้แย่งน้ำอาหาร และควรพรวนดินไปด้วยเพื่อให้ดินร่วน การเก็บเกี่ยวมะเขือยาว อายุการเก็บเกี่ยวของมะเขือยาวประมาณ 60-80 หลังย้ายกล้าลงปลูกสามารถเก็บได้ ให้เลือกเก็บผลที่มีขนาดพอเหมาะ.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือยาว · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือขม

ผลมะเขือขมในบูร์กินาฟาโซ มะเขือขม หรือมะเขือเอธิโอเปีย ภาษากะเหรี่ยงเรียก สะกอข่าป่าล่ะ สะกอค่าซ่า หรือสะกอข่า เป็นไม้พุ่ม ลำต้นกิ่งก้านเกลี้ยง ใบเดี่ยว ขอบใบหยัก ผิวใบเป็นคลื่น ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกสีขาว ผลมีแนวหยักตื้นตามยาวรอบผล แก่แล้วเป็นสีส้มแดง ผิวเป็นมัน พบในเขตร้อนของเอเชียและแอฟริกา ผลรับประทานสดหรือต้มกินกับน้ำพริก มีรสขมใบรับประทานได้ ผลสุกที่แก่เป็นสีเหลืองมีแคโรทีนสูง.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือขม · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือขื่น

มะเขือขื่น เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย เป็นพืชสมุนไพรในอินเดีย มีขนและหนามปกคลุมตามลำต้น ใบเดี่ยว ผิวใบทั้งสองด้านมีหนามและขนรูปดาว ดอกเดี่ยวหรือดอกช่อ ออกตามซอกใบ กลีบดอกสีม่วง กลีบยับย่น เกสรตัวผู้มีอับเรณูสีเหลือง ผลแบบเบอร์รี แก่เต็มที่สีเหลือง ชาวขมุใช้ผลใส่แกงหรือเป็นผักจิ้ม ในลาวนำมาเจาะเอาแกนและไส้ออก หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ แช่น้ำปูนใส นำไปยำกับหมูสับ ใส่ใบขิงซอยชาวเผ่านิลกิริสใช้ผลรักษาฝีที่นิ้วRémi Tournebize,, Institute of Research for Development (Marseille), Thesis 2013, p. 103 ในเนปาลใช้รากเป็นยาต้ม รักษาอาการไอ หอบหืด เจ็บหน้าอก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือขื่น · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือเทศ

มะเขือเทศ (Mill.) เป็นพืชชนิดหนึ่งที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหาร มะเขือเทศขนาดปานกลางจะมีปริมาณวิตามินซีครึ่งหนึ่งของส้มโอทั้งผล มะเขือเทศผลหนึ่งจะมีวิตามินเอราว 1 ใน 3 ของวิตามินเอที่ร่างกายต้องการในหนึ่งวัน นอกจากนี้มะเขือเทศยังมีโปแตสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียมและแร่ธาตุอื่นๆ อีกหลายชน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือเทศราชินี

มะเขือเทศราชินี เป็นมะเขือเทศที่ผลเล็ก รสชาติหวาน เนื้อแน่นมีกลิ่นหอมต่าง และมีสารบีตา-แคโรทีน วิตามินซี และวิตามินอีสูง การปลูกจะเก็บเกี่ยวได้ภายใน 90 วัน ผลผลิตเฉลี่ย 2,000-4,000 กิโลกรัม/ไร่ การแปรรูป สามารถนำผลไปทำมะเขือเทศราชินีอบแห้ง และมะเขือเทศราชินีแช่อิ่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือเทศราชินี · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือเทศต้น

กลุ่มดอก ผลดิบ ผลสุก มะเขือเทศต้น หรือ Solanum betaceum เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Solanaceae กิ่งเปราะหักง่าย ใบเดี่ยว มีกลิ่นฉุน ก้านใบยาว ดอกช่อขนาดเล็กสีชมพูหรือสีน้ำเงินอ่อน ผลสดแบบผลมีเนื้อหลายเมล็ด กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล ผลสีแดงอมม่วง แดงอมส้ม หรือเหลือง ฉ่ำน้ำ เมล็ดกลมแบน มะเขือเทศต้นมีถิ่นกำเนิดในเทือกเขาแอนดีส ประเทศเปรูก่อนจะแพร่กระจายพันธุ์ออกไป ผลใช้ทำอาหารและของหวาน ผลดิบใช้ทำน้ำผลไม้ ใส่ในแกงและน้ำพริก ผลสุกใส่ในสตูว์ ซุป สลัด เปลือกมีสารรสขมซึ่งทำให้หายไปได้โดยปอกเปลือกออกหรือลวกในน้ำเดือดประมาณ 4 นาที.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเขือเทศต้น · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อ

มะเดื่อ หรือ มะเดื่อฝรั่ง หรือ มะเดื่อญี่ปุ่น เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบตะวันออกกลาง เป็นพืชคนละชนิดกับมะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F. racemosa) ที่เป็นไม้พื้นเมืองในอินเดียและศรีลังกา มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเป็นปุ่มแตกกิ่งก้านออก ใบเดี่ยว ด้านหนึ่งหยาบ อีกด้านหนึ่งมีขนอ่อน ลำต้นมียางสีขาว ผลออกเป็นกระจุก กลมแป้นหรือรูปไข่ เปลือกบาง ผลอ่อนสีเขียว พอสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดงหรือชมพูแล้วแต่พันธุ์ เนื้อในสีแดงเข้ม สุกแล้วมีกลิ่นหอม การปลูกเป็นการค้าเริ่มที่เอเชียตะวันตก แล้วจึงแพร่หลายสู่ซีเรีย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเดื่อ · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อชุมพร

มะเดื่อชุมพร หรือ มะเดื่ออุทุมพร เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ Moraceae ลำต้นตรงสูงเต็มที่ 20 เมตร เปลือกต้นสีเทา มีถิ่นกำเนิดที่ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และออสเตรเลีย และเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานและเป็นพันธุ์ไม้ประจำจังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเดื่อชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อฟาโรห์

มะเดื่อฟาโรห์ หรือ มะเดื่อไซคามอร์ เป็นพืชในวงศ์ Moraceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลรับประทานได้ ชาวอียิปต์นิยมนำไปหมักทำสุรา ผลเป็นอาหารสัตว์หลายชนิด ยางใช้รักษาหูด เนื้อไม้เบา ไม่ผุพังเมื่อแช่น้ำ นิยมใช้ทำกังหันวิดน้ำ กรุขอบบ่อบาดาล ใช้สร้างสุสาน เฟอร์นิเจอร์ ประตู และใช้ทำขื่อในโบสถ์วิหารและสุเหร่า ผลมีความหวานใช้ปรุงรสหวานในอาหารได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเดื่อฟาโรห์ · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อหว้า

มะเดื่อหว้า ภาษากะเหรี่ยงเรียก เตอะกี เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีน้ำตาลเทา ใบเดี่ยว เนื้อใบเหนียวหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ดอกช่อแบบดอกมะเดื่อ ออกเป็นกระจุกตามลำต้นหรือกิ่งขนาดใหญ่ สีเขียว เมื่อสุกสีแดงหรือสีส้มอมแดง ผิวเกลี้ยงหรือมีขนสั้น ดอกไม่สมบูรณ์เพศ แยกเพศแยกต้น ชาวกะเหรี่ยงนำผลดิบไปลวก ผลสุกกินสดกับน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเดื่อหว้า · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อหอม

มะเดื่อหอมหรือมะเดื่อขน ภาษากะเหรี่ยงเรียก ซาโปล่แปล่ะ หรือซาหวีโซ หรือโป่แประสะ เป็นไม้พุ่ม กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาวปกคลุมหนาแน่น ผิวใบมีขนยาวปกคลุมหนาแน่น ดอกแยกเพศแยกต้น ช่อดอกแบบดอกมะเดื่อ มีขนยาวปกคลุม สุกเป็นสีส้มหรือสีน้ำตาล ผลสุก รับประทานได้ รสหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเดื่อหอม · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อปล้อง

ผล มะเดื่อปล้อง หรือ เดื่อสาย ตะเออน่า เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae กระจายพันธุ์ในเอเชียจนถึงออสเตรเลียลำต้นเรียบมียางสีขาวข้นเหนียว ใบเดี่ยว ผิวใบจับแล้วสากมือ ดอกช่อ ดอกย่อยเจริญบนฐานรองดอก ดอกมีสามแบบคือดอกสมบูรณ์เพศ ดอกตัวผู้ และดอกตัวเมีย ผลเดี่ยวอยู่ภายในฐานรองดอก สีเขียว มียางสีขาว เมื่อแก่แล้ว ฐานรองดอกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมส้ม ใบต้มน้ำดื่ม รักษาไข้ ปัสสาวะเป็นเลือด รากและลำต้นตัมน้ำดื่ม กระตุ้นการหลั่งน้ำนม แก้หวัด รากและเปลือกต้นใช้ตำแก้ฝี แก้ผื่นคันตามผิวหนัง.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเดื่อปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

มะเนียงน้ำ

มะเนียงน้ำ จัดเป็นสปีชีส์เดียวกับ Aesculus assamica พบในจีนและเวียดนาม มะเนียงน้ำที่สกัดด้วยเอทานอลมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการยับยั้งการเจริญของ Propionibacterium acnes มะเนียงน้ำที่สกัดด้วยเอทานอลมีความเป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง (Vero cell) โดยมีค่า CD50 เท่ากับ 0.04.

ใหม่!!: พืชดอกและมะเนียงน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรคาบแก้ว

มังกรคาบแก้ว (bagflower) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยสูง 3 - 6 เมตร มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาตะวันตกจากประเทศแคเมอรูนถึงประเทศเซเนกัล เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ออกดอกเป็นช่อ กลีบดอกมีสีแดงเข้ม 5 กลีบ หลอดดอกเชื่อมติดกับกลีบเลี้ยงสีขาวคล้ายรูปหัวใจ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับเป็นไม้ที่ชอบแสงแดด วิลเลียม คูเปอร์ ธอมสัน มิชชันนารีและนายแพทย์ในไนจีเรียเป็นผู้ตั้งชื่อไม้ดอกชนิดนี้ว่า Bleeding heart.

ใหม่!!: พืชดอกและมังกรคาบแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

มังคะ

มังคะ หรือแตดลิง เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Leguminosae วงศ์ย่อย Caesalpinodeae มีเนื้อไม้ กิ่งขรุขระ สีน้ำตาลอมแดง ใบเดี่ยว ผิวเรียบ ขอบใบเรียบ ดอกเป็นดอกช่อ เกิดตามข้อของลำต้น สีขาว ผลเดี่ยว เมื่ออ่อนสีเขียวอมขาว มีเมล็ดเดียว ในทางยา ใช้น้ำต้มเปลือกแก้บวมพอง น้ำต้มใบใช้ล้างแผลสด แผลเปื่อย ฝีหนอง น้ำต้มรากแก้ไข้มาลาเรี.

ใหม่!!: พืชดอกและมังคะ · ดูเพิ่มเติม »

มังคุด

มังคุด Linn.

ใหม่!!: พืชดอกและมังคุด · ดูเพิ่มเติม »

มังคุดทะเล

มังคุดทะเลหรือวา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Guttiferae ไม่ผลัดใบ ต้นสีเทาดำ เปลือกแตกเป็นสะเก็ดตามยาว มียางสีเหลือง ใบเดี่ยว สีเขียว ผิวเรียบเป็นมัน ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยงสีเขียว ติดทยจนเป็นผล เมื่อแกเป็นสีส้มอมแดง เปลือกหนา มีเนื้อหุ้มเมล็ด ไม้ใช้ในการก่อสร้างและทำเครื่องมือต่างๆ ผลใช้รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมังคุดทะเล · ดูเพิ่มเติม »

มังตาน

อกมังตาน ต้นมังตาน มังตาน เป็นชื่อไม้ต้นชนิด Schima wallichii (DC.) Korth.

ใหม่!!: พืชดอกและมังตาน · ดูเพิ่มเติม »

มังเคร่ช้าง

ื่อสามัญ โคลงเคลงขน ชื่อท้องถิ่น เหมรฺช้าง หรือ มังเครช้าง(กระบี่) ลำต้น เป็นไม้พุ่ม (S) สูง 1-5 เมตร สีน้ำตาลอมม่วง แตกกิ่งก้านในระดับต่ำและแตกเป็นจำนวนมาก ทรงพุ่มกว้างครึ่งทรงกลม ใบเป็นใบเดี่ยวแตกตรงข้าม รูปร่างเป็นใบหอก ปลายใบเรียวแหลม ส่วนฐานใบโค้งมน ขอบใบเรียบ ตวใบสากมีขนปกคลุม ขนาดของใบ กว้าง3-5 เซนติเมตร ยาว 5-10 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อ กระจกที่ปลายกิ่ง ประกอบด้วยดอก 3-6ดอก กลีบดอกมี 5กลีบ เป็นสีชมพู ม่วง เส้นผ่าศูนย์กลางของดอกประมาณ 5-6 เซนติเมตร ผล เป็นผลเดี่ยวเกิดแต่ฐานรองดอกมีรูปร่างคล้ายคนโท มีขนจำนวนมาก ผลสีน้ำตาลอมเขียว เมื่อแก่จะเป็นสีม่วง เนื้อในแบบเปียกสีน้ำเงินเข้ม ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ผลแตกออกตามขวาง ที่อยู่ บริเวณป่าชายเลน ดินค่อนข้างแข็ง สูงกว่าระดับน้ำทะเล 5-10 เมตร ประโยชน์น้ำต้มใบหรือน้ำคั้นจากใบใช้แก้โรคท้องร่วง โรคบิด และระดูขาว ราก ช่วยบำรุงธาตุเ เจริญอาหาร บำรุงกำลัง บำรุงตับ แก้อ่อนเพลีย และ เพิ่มภูมิคุ้มกันโร.

ใหม่!!: พืชดอกและมังเคร่ช้าง · ดูเพิ่มเติม »

มันฝรั่ง

มันฝรั่ง (Solanum tuberosum) เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก เดิมเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและมันฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

มันมือเสือ

มันมือเสือ เป็นพืชในวงศ์กลอย และเป็นพืชที่มีหัวเล็กที่สุดในสกุลเดียวกัน มีขนาดใกล้เคียงมันฝรั่ง เป็นไม้เลื้อย ไม่มีเนื้อไม้ มีขนและหนามปกคลุม รากของพันธุ์ป่าจะแข็งเป็นหนาม พันธุ์ปลูกมักไม่มีหนาม เปลือกหัวสีน้ำตาลหรือแกมเทา เนื้อสีขาว เลื้อยพันไปทางซ้าย มีหนามมากที่โคน ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ดอกแยกเพศ ดอกตัวผู้เป็นช่อเดี่ยว ดอกตัวเมียเป็นช่อกระจะหรือช่อเชิงลด โค้งลงด้านล่างผลเป็นแคบซูลโค้งงอ มันมือเสือแบ่งเป็น 2 พันธุ์คือ variety spinosa มีหนามในส่วนราก variety fasiculata มีหนามในส่วนรากน้อย ถิ่นกำเนิดอยู่ในไทยและอินโดจีน กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย พม่า ไปจนถึงนิวกินี ในเวียดนามเรียกว่าkhoai từ หรือ củ từ ซึ่งนำแป้งจากมันชนิดนี้ไปทำขนมได้ มีหัวขนาดเล็กกว่ามันเสา เนื้อหัวเหนียว นำไปทำแกงเลียง ใช้แทนมันฝรั่งในแกงกะหรี่หรือแกงมัสมั่นได้หัวนำมาต้มหรือเผารับประทาน สกัดแป้งจากหัว หัวขูดเป็นฝอยใช้พอก ลดอาการบวม มีรสหวานเพราะมีน้ำตาลมาก ในอาหารจีน นำมันมือเสือไปทำเป็นอาหารหวาน เช่น มันมือเสือในน้ำเชื่อม ส่วนในอาหารญี่ปุ่นใช้ทำพิซซ่าญี่ปุ่น ใส่ในข้าวห่อสาหร่าย และสลัดมันมือเสือ ชาวมอญนิยมนำมาทำแกงเลียง หรือนำไปต้มกินเป็นอาหารว่าง.

ใหม่!!: พืชดอกและมันมือเสือ · ดูเพิ่มเติม »

มันสำปะหลัง

''Manihot esculenta'' มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง เป็นพืชอาหารที่สำคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง ชื่อสามัญเรียกหลายชื่อเช่น Cassava, Yuca, Mandioa, Manioc, Tapioca ชาวไทยเดิมเรียกกันว่า มันสำโรง มันไม้ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า มันต้นเตี้ย ภาคใต้เรียกมันเทศ (แต่เรียกมันเทศว่า "มันหลา") คำว่า "สำปะหลัง" ที่นิยมเรียกอาจมาจากคำว่า "ซำเปอ (Sampou)" ของชวาตะวันตก มันสำปะหลังมีแหล่งกำเนิดแถบที่ลุ่มเขตร้อน (Lowland tropics) มีหลักฐานแสดงว่าปลูกกันในโคลัมเบีย และเวเนซูเอลา มานานกว่า 3,000-7,000 ปีมาแล้ว นิยมใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ สามารถปลูกได้ง่ายในพื้นที่ร้อน และร้อนชื้น จึงได้มีการสนับสนุนแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีสภาพภูมิอากาศดังกล่าวปลูกเป็นพืชเศรษฐก.

ใหม่!!: พืชดอกและมันสำปะหลัง · ดูเพิ่มเติม »

มันขี้หนู

มันขี้หนู เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้ล้มลุก อายุยืน กิ่งอวบน้ำ สะสมอาหารที่รากเป็นหัว สีออกดำ น้ำตาล หรือสีออกแดง ออกขาว ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม ใบค่อนข้างหนา อวบน้ำ ขยี้แล้วมีกลิ่นหอม ขอบใบหยักเป็นซี่หยาบๆ เป็นพืชที่มีความหลากหลายและแบ่งเป็นพันธุ์ตามสีของหัว ถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของแอฟริกาหรือมาดากัสการ์ มีปลูกทั่วไปในมาดากัสการ์ ศรีลังกา อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หัวมีกลิ่นหอม ดอกมันขี้หนู หัวมันขี้หนู.

ใหม่!!: พืชดอกและมันขี้หนู · ดูเพิ่มเติม »

มันดง

มันดงหรือมันทราย เป็นไม้เถาในวงศ์ Dioscoreaceae แยกเพศ เถาเลื้อยพันไปด้านขวา ผิวเรียบ โคนต้นมีหนาม มีหัวเดี่ยวลึกลงไปใต้ดิน ก้านหัวยาว เนื้อหัวสีขาว ใบเดี่ยว ใบเปราะหักง่าย ดอกช่อ ผลเป็นแบบแคปซูล มีปีก ใบแห้งและแคปซูลเป็นสีขาวนวล พบในคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอันดามัน หัวต้มสุกแล้วเหนียว รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมันดง · ดูเพิ่มเติม »

มันคันขาว

มันคันขาว หรือมันเลือด (fiveleaf yam) เป็นพืชในวงศ์กลอย เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียและทางตะวันออกของโพลีเนเชียGucker, Corey L. 2009.

ใหม่!!: พืชดอกและมันคันขาว · ดูเพิ่มเติม »

มันตาหยง

มันตาหยง เป็นไม้เถาในวงศ์ Dioscoreaceae แยกเพศ เถาเลื้อยพันไปด้านขวา ผิวเรียบ หัวรูปยาว สีขาว ไม่มีหัวย่อยบนเถา ใบเดี่ยว ก้านใบยาว มีขนละเอียดปกคลุม ใบอ่อนมีขนปกคลุม ปลายใบแหลม ดอกช่อ ผลเป็นแบบแคบซูล มีปีก พบทั่วไปในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย กระจายพันทางภาคใต้ของไทยไปจนถึงเกาะสุมาตรา หัวต้มสุกแล้วรับประทานได้ หัวดิบทำให้ระคายคออย่างรุนแรง.

ใหม่!!: พืชดอกและมันตาหยง · ดูเพิ่มเติม »

มันนกดอย

มันนกดอย เป็นพืชในสกุลกลอย วงศ์ Dioscoreaceae เป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน มีหัวอยู่ใต้ดิน ช่วงฤดูแล้งจะฟุบแห้งหายไป แตกต้นใหม่ช่วงฤดูฝน ใบรูปไข่ โคนใบหยักเว้า เส้นแขนงใบมี 7 เส้น ดอกเป็นดอกช่อ ผลมีครีบตามยาว 3 สัน แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน พบตามป่าดิบแล้ง บนเขาหินปูนทางภาคเหนือ หัวใช้ต้มรับประทานได้ พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดย H.B.G. Garrett ชาวอังกฤษ ชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งตามชื่อผู้ค้น.

ใหม่!!: พืชดอกและมันนกดอย · ดูเพิ่มเติม »

มันแกว

มันแกว (Jícama) เป็นพืชตระกูลถั่ว มีชื่อทวินามว่า "Pachyrhizus erosus (L.) Urbar" ลักษณะต้นเป็นเถาเลื้อย หัวอวบใหญ่ โคนตันเนื้อแข็ง ใบประกอบด้วย 3 ใบย่อยมีจักใหญ่ ดอกมีสีขาวหรือชมพูเป็นช่อ เมล็ดมีสีเหลือง สีน้ำตาล หรือสีแดงลักษณะสี่เหลี่ยมจตุรัสแบน โดยต้นมันแกว 1 ต้นมีเพียงหัวเดียว ส่วนที่ใช้รับประทานคือส่วนของรากแก้ว ชาวเม็กซิโกชอบรับประทานมันแกวตั้งแต่สมัยอารยธรรมมายาและแอซเต็ก นิยมใช้เป็นอาหารว่าง ใส่น้ำมะนาว พริกผง และเกลือ มันแกวเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในหลายพื้นที่เช่นในแถบอเมริกากลาง แอฟริกาตะวันออก และในประเทศแถบทวีปเอเชียคือ ฟิลิปปนส์ อินเดีย จีน อินโดจีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ในประเทศไทยมันแถวมีอยู่ 2 ชนิดคือ พันธุ์หัวใหญ่ และพันธุ์หัวเล็ก อาจจะมีชื่อเรียกต่างกันไปตามแต่ภูมิภาคได้แก่ ภาคใต้เรียกว่า "หัวแปะกัวะ" ภาคเหนือเรียกว่า "มันละแวก" "มันลาว" ส่วนภาคอีสานเรียกว่า "มันเพา" นอกจากนี้ยังอาจเรียกด้วยชื่ออื่นๆ เช่น "เครือเขาขน" "ถั้วบ้ง" และ"ถั่วกินหัว" ส่วนหัวของมันแกว (รากแก้ว) เป็นส่วนที่ใช้รับประทาน ลักษณะภายนอกมีสีน้ำตาลอ่อนภายในมีสีขาว เมื่อเคี้ยว รู้สึกกรอบคล้ายลูกสาลี่สด อีกทั้งยังมีรสคล้ายแป้งแต่ออกหวาน โดยทั่วไปจะรับประทานสดๆ หรือจิ้มกับพริกเกลือ แล้วยังสามารถนำไปประกอบอาหารได้ทั้งคาวและหวานอีกด้วย เช่น แกงส้ม แกงป่า ผัดเปรี้ยวหวาน ผัดไข่ เป็นส่วนผสมของไส้ซาลาเปา และทับทิมกรอบ แต่ในทางกลับกัน ต้นมันแกวสามารถใช้เป็นยากำจัดศัตรูพืช โดยใช้ส่วนของเมล็ด ฝักแก่ ลำต้น และราก แต่ส่วนเมล็ดจะมีสารพิษมากที่สุด ทำให้มีประสิทธิภาพในการกำจัดแมลงดีที่สุด นอกจากนั้นถ้ามนุษย์รับประทานเมล็ดเข้าไปจะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งถ้าได้รับในปริมาณมาก สารพิษ Routinone จะกระตุ้นระบบหายใจ แล้วกดการหายใจ ชัก และอาจเสียชีวิตได้ คุณค่าทางอาหารของมันแกวนั้นประกอบด้วยน้ำ 90.5% โปรตีน 0.9% คาร์โบไฮเดรต 7.6% โดยรสหวานนั้นมาจาก oligofructose ซึ่ง inulin ในร่างกายของมนุษย์ ไม่สามารถเผาผลาญได้ ดังนั้นมันแกวจึงเหมาะสำหรับผู้เป็นโรคเบาหวาน หรือผู้ควบคุมน้ำหนัก มันแกวควรเก็บในที่แห้ง อุณหภูมิระหว่าง 12 - 16 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิต่ำกว่านี้จะทำให้ส่วนรากช้ำได้ ถ้าเก็บรักษาถูกวิธีสามารถอยู่ได้นานถึง 1-2 เดือน.

ใหม่!!: พืชดอกและมันแกว · ดูเพิ่มเติม »

มันแซง

มันแซง เป็นพืชในวงศ์กลอย ใบเรียวยาว เนื้อสีขาวนวล รสจืด เถามีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ขึ้นพันกับต้นไม้อื่น หน้าแล้งจะเหลือแต่เถา ทิ้งใบหมด รากและหัวเป็นพวง นิยมนำมานึ่งกินกับข้าวเหนียว ทำแกงจืด แกงเลียง แกงบว.

ใหม่!!: พืชดอกและมันแซง · ดูเพิ่มเติม »

มันเสา

มันเสา ภาคเหนือเรียกมันเสียม ภาคใต้เรียกมันทู่ ภาคกลางเรียก มันเลือดนก เป็นพืชมีหัวในวงศ์กลอย หัวสีม่วง ทำให้บางครั้งสับสนกับเผือกและมันเทศพันธุ์ Ayamurasaki เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของเอเชีย เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีปลูกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทะเลแคริบเบียน และแอฟริกา เป็นอาหารของมนุษย์ตั้งแต่สมัยโบราณ.

ใหม่!!: พืชดอกและมันเสา · ดูเพิ่มเติม »

มันเทศ

ต้นมันเทศในไร่ หัวมันเทศสีม่วงที่พบในเอเชีย มันเทศ (sweet potato) เป็นพืชหัวเกรียนใต้ดินเถาเลื้อยราบไปบนพื้นดิน ปลูกเป็นพืชไร่ มีเนื้อสีหลายสีตามสายพันธุ์ ใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน เช่น เถา ใบ หัว นิยมนำมารับประทานโดย ต้ม หรือ เผา ทำเป็นอาหารคาวหวาน ส่วนผสมของอาหารสำหรับเด็ก ใช้เป็นอาหารสัตว์ เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและมันเทศ · ดูเพิ่มเติม »

มันเทียน

มันเทียน เป็นไม้เถาในวงศ์ Dioscoreaceae แยกเพศ เถาเลื้อยพันไปด้านขวา ผิวเกลี้ยง ไม่มีหนาม ลำต้นรูปหลอด มีหัวย่อยเกิดบนลำต้น ใบเดี่ยว ใบเปราะหักง่าย ก้านใบสั้นกว่าแผ่นใบ ช่อดอกเพศผู้ออกตามกิ่งที่ไม่มีใบ ดอกไม่มีก้านดอกย่อย ผลเป็นแบบแคปซูลมีปีก แห้งเป็นมัน มักพบตามผาหินปูน กระจายพันธุ์ในไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย หัวต้มสุก รับประทานได้ หัวดิบทำให้คันในลำคอ.

ใหม่!!: พืชดอกและมันเทียน · ดูเพิ่มเติม »

มากี้เบอร์รี่

มากี้เบอร์รี (Maqui หรือ Chilean Wineberry) เป็นพืชดอกในสกุล Aristotelia กลุ่มเดียวกับ บลูเบอร์รี่,แบล็กเบอร์รี currants, acai, ราสเบอร์รี่ และ elderberries เป็นพืชหลายปี มีผลเล็กๆสีม่วงเข้มข้น ผลสามารถรับประทานได้ รสชาติอร่อย อมเปรี้ยวถึงหวาน ขึ้นอยู่กับผลที่สุก พบในป่าของชิลี ผลของมากี้มีแอนโทไซยานิน รับประทานได้ นำไปอบแห้ง ทำแยม น้ำผลไม้ หรือเครื่องดื่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและมากี้เบอร์รี่ · ดูเพิ่มเติม »

มามอนซีโย

มามอนซีโย (Mamoncillo) หรือ มามันซีโอ ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ เป็นไม้ผลอยู่ในวงศ์ Sapindaceae (วงศ์เดียวกับลิ้นจี่และลำไย) เป็นผลไม้เมืองร้อน ตามธรรมชาติจะมีในเขตร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรและมีในทวีปอเมริกาเท่านั้น เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ลำต้นมีความสูงถึง 30 เมตร ใบยาว 5-8 เซนติเมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและมามอนซีโย · ดูเพิ่มเติม »

มารัง

ใบและผล ผลสุกในฟิลิปปินส์ มารัง (marang) ชื่ออื่นๆได้แก่ johey oak, เปอดาไลเขียว มาดัง ตารับ เตอรับ หรือตีมาดัง เป็นพืชพื้นเมืองในเกาะบอร์เนียว เกาะปาลาวัน และเกาะมินดาเนา ในฟิลิปปินส์พบกระจายพันธุ์ในมินโดโร เกาะมินดาเนา บาซิลัน และคาบสมุทรซูลู ในเกาะบอร์เนียว พบเป็นพืชป่ามีลักษณะใกล้เคียงกับ ขนุน จำปาดะและ สาเก ผลของมารังขนาดใหญ่เนื้อรสหวาน รับประทานได้ โดยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแก่เมื่อสุก เนื้อภายในผลคล้ายขนุน แต่ยวงใหญ่กว่าและเป็นสีขาว รับประทานสด หรือใช้ทำเค้ก แต่ต้องรับประทานทันทีหลังจากผ่าเพราะจะเสียรสชาติและเกิดสีดำเร็วมาก เมล็ดรับประทานได้ โดยนำไปต้มหรืออบ ผลอ่อนต้มในกะทิรับประทาน ใช้เป็นผัก.

ใหม่!!: พืชดอกและมารัง · ดูเพิ่มเติม »

มารูลา

มารูลา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae ใบเป็นใบประกอบ ดอกตัวผู้เป็นดอกช่อ ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ผลมีเมล็ดเดียว ขนาดเท่าลูกพลัม สุกแล้วเป็นสีเหลือง พบในแอฟริกาใต้ มีสารออกฤทธิ์หลอนประสาท.

ใหม่!!: พืชดอกและมารูลา · ดูเพิ่มเติม »

มาลัย (พืช)

มาลัย (ภาษาอูรดู: فالسہ, ภาษาฮินดี: फ़ालसा) เป็นพืชในวงศ์ Tiliaceae เป็นไม้ผลัดใบ เปลือกหยาบสีเทา กิ่งห้อยลง กิ่งอ่อนมีขนแข็งห่อหุ้มหนาแน่น ใบเดี่ยว ร่วงง่าย ใบด้านบนมีขนปกคลุม ด้านล่างมีผงรังแค ดอกช่อ สีเหลือง ผลสดแบบเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมเป็นพูไม่ชัดเจน สีแดงหรือสีม่วง เนื้อผลนุ่ม มีเส้นใย สีขาวแกมเขียว รสเปรี้ยว เป็นไม้พื้นเมืองในแถบเทือกเขาหิมาลัย ในปากีสถานและอินเดียFlora of Pakistan: Pacific Island Ecosystems at Risk: นิยมปลูกในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบทางภาคเหนือของไทยและเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ผลมาลั.

ใหม่!!: พืชดอกและมาลัย (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มาเต

มาเต (yerba mate), มาชี (โปรตุเกสแบบบราซิล: erva-mate) หรือ ชาบราซิล เป็นพืชในวงศ์ Aquifoliaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งมาก ใบหนาและเหนียว ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกช่อออกตามซอกใบ แยกเพศ ดอกสีขาว ผลสุกสีแดงหรือสีดำ เมล็ดเดียว แข็ง แบ่งเป็น 2 สายพันธุ์คือ var. paraguariensis ไม่มีขนปกคลุม เป็นพันธุ์ที่นิยมปลูก และ var.

ใหม่!!: พืชดอกและมาเต · ดูเพิ่มเติม »

มิราเคิล (พืช)

มิราเคิล (Miracle fruit; Miracle berry) เป็นไม้ผลพื้นเมืองของประเทศกานา ลักษณะต้นมีขนาดทรงพุ่มเล็ก ชอบความชื้นสูงแต่ไม่ชอบแดดจัด ผลสุกแก่จะมีสีแดงสดใส เมื่อรับประทานผลสุกแก่เข้าไปแล้ว ประมาณ 1-2 ชั่วโมง แล้วรับประทานผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น มะนาว มะยม ระกำ ตามเข้าไปจะไม่รู้สึกเปรี้ยว ในทางตรงกันข้ามกลับกลายเป็นรสชาติหวานคล้ายน้ำตาล.

ใหม่!!: พืชดอกและมิราเคิล (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มิลา

มิลา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Euphorbiaceae เปลือกต้นสีเทาเรียบ มีช่องหายใจเป็นจุดเล็กๆมีหูใบและมีขนหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างมีนวลเคลือบขาวเด่นชัดหรือเป็นสีเงิน เส้นใบนูนเด่น เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทยพบโดย J.F. Maxwell เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและมิลา · ดูเพิ่มเติม »

มินต์ (พืช)

มินต์ (Mint, มาจากภาษากรีกคำว่า míntha, หรือในอักษรไลเนียร์บี mi-ta) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์กะเพรา (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวงศ์มินต์) สปีชีส์ของมินต์นั้นได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 13 ถึง 18 สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและมินต์ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มินต์ออสเตรเลีย

มินต์ออสเตรเลีย (Mentha australis) มีอีกชื่อหนึ่งว่า มินต์แม่น้ำ, มินต์พื้นเมือง, สะระแหน่พื้นเมือง เป็นมินต์ชนิดหนึ่งในสกุลมินต์ มีถิ่นฐานอยู่บริเวณตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย ในทุก ๆ รัฐและทุก ๆ เขตการปกครอง ยกเว้นรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย มินต์ออสเตรเลียแท้จริงแล้วมีต้นกำลังมาจากเกาะเหนือของประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: พืชดอกและมินต์ออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

มินต์ป่า

thumbnail มินต์ป่า (पुदीना/ Pudina,"Podina" ในภาษาฮินดี) (มินต์ทุ่ง หรือ มินต์ข้าวโพด) เป็นสปีชีส์หนึ่งของมินต์ พบได้ในเขตอากาศอบอุ่นของทวีปยุโรป, ทางตะวันตกและตอนกลางของทวีปเอเชีย สิ้นสุดบริเวณตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย, ทางตะวันออกของไซบีเรีย และทวีปอเมริกาเหนือEuro+Med Plantbase Project: Germplasm Resources Information Network: Flora of NW Europe.

ใหม่!!: พืชดอกและมินต์ป่า · ดูเพิ่มเติม »

มินต์น้ำ

มินต์น้ำ (ชื่อพ้อง: Mentha hirsuta Huds.Euro+Med Plantbase Project) เป็นพืชซึ่งมีอายุยืนประมาณสองปี ในสกุลมินต์ มักเจริญเติบโตในที่ชื้น และพบมากในทวีปยุโรป, ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา และทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียFlora of NW Europe.

ใหม่!!: พืชดอกและมินต์น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

มินต์เอเชีย

มินต์เอเชีย (Asian mint) เป็นสกุลหนึ่งของมินต์ พบได้ในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: พืชดอกและมินต์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

มือสยาม

มือสยาม เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Araliaceae กิ่งมีเลนติเซลเป็นจุดนูน สีขาว ใบรูปฝ่ามือ มีตุ่มสีขาวหรือสีเหลืองใต้ใบย่อย ดอกช่อ ผลกลม ออกดอกช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม เป็นพืชที่ทนความหนาวเย็นได้ดี ขึ้นตามซอกหินปูน ใช้เป็นไม้ประดับ พบครั้งแรกเมื่อ 28 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและมือสยาม · ดูเพิ่มเติม »

มูกเขา

มูกเขา หรือ นวล, มูกขาว, ยางขาว เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) กระจายพันธุ์ในแอฟริกาตะวันออก ทางตอนใต้ของโซมาเลียและโมซัมบิกถึงเขตร้อนในทวีปเอเชีย เนื้อไม้ใช้ทำของใช้ ใบใช้รักษาแผลสด ผลสามารถรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและมูกเขา · ดูเพิ่มเติม »

มธุลดา

มธุลดา (American campsis) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของทวีปอเมริกาเหนือ ทางตะวันออกของทวีป มธุลดานั้นจากการศึกษาทางสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุลพบว่ามธุลดาและรุ่งอรุณเคยเป็นพืชชนิดเดียวกันและขึ้นอยู่ในบริเวณเดียวกันมาก่อน โดยอ้างอิงทฤษฎีที่ว่าพื้นที่ทางเอเชียตะวันออกเคยเชื่อมติดกับทวีปอเมริกาเหนือโดยเรียกส่วนนี้ว่า "Bering land bridge" และต่อมาเมื่อมีช่องแคบเบริ่งเกิดขึ้นทำให้มีวิวัฒนาการแยกเป็นต่างชนิดกันเมื่อประมาณ 24.4 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและมธุลดา · ดูเพิ่มเติม »

มณเฑียรระนอง

มณเฑียรระนอง เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Linderniaceae มีรากตามข้อ ลำต้นมักเป็นเหลี่ยม เกลี้ยง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ขอบใบจักฟันเลื่อย ไร้ก้านหรือเกือบไร้ก้าน ใบบางครั้งมีสีน้ำตาลอมแดง ดอกเดี่ยว กลีบเลี้ยงคล้ายรูปปากเปิด หลอดกลีบมีสันเป็นครีบ 5 อัน เกลี้ยงหรือมีขนประปราย กลีบดอกรูปปากเปิด สีม่วง เกสรเพศผู้ 4 อัน คู่ล่างยาวกว่า มีเดือยที่โคนรูปเส้นด้าย อับเรณูเชื่อมติดเป็นคู่ กางออก โคนมีรยางค์ ผลแบบผลแห้งแตก แตกตามแนวตะเข็บเป็น 2 ซีก มีกลีบเลี้ยงหุ้ม เมล็ดขนาดเล็ก จำนวนมาก มณเฑียรระนองนี้เป็นพืชถิ่นเดียวในไทย พบเฉพาะทางภาคใต้แถบจังหวัดระนอง กระบี่ และสงขล.

ใหม่!!: พืชดอกและมณเฑียรระนอง · ดูเพิ่มเติม »

มณเฑียรไทย

|image.

ใหม่!!: พืชดอกและมณเฑียรไทย · ดูเพิ่มเติม »

ม่วงมณีรัตน์

ม่วงมณีรัตน์ หรือ บานบุรีสีม่วง (Duyand, ชื่อสามัญ: Purple Bignonia) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้และปานามา เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ใบประกอบแบบใบย่อยสองใบ แผ่นใบเข้ม เขียวเป็นมัน มีมือพันตามซอกใบ ดอกรูปกรวย กลีบสีม่วง โคนดอกเชื่อมเป็นหลอด สีขาวปนเหลือง ผลเป็นฝัก แก่แตก เมล็ดมีปีก ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและม่วงมณีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ม่อนไข่

ผลม่อนไข่ผ่าครึ่ง ผลม่อนไข่พร้อมรับประทานในลาว ผลม่อนไข่อยู่บนต้น ม่อนไข่ เป็นผลไม้เนื้อสีทอง ภาคเหนือและภาคอีสานเรียกม่อนไข่ ราชบุรีเรียกว่า ลูกท้อพื้นบ้าน ปราจีนบุรีเรียกว่าท้อเขมร เพชรบูรณ์เรียกทิสซา ฟิลิปปินส์ เรียก chesa ศรีลังกาเรียก Laulu Lavulu หรือ Lawalu มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา บราซิล และเอลซัลวาดอร์ ม่อนไข่เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบบาง มัน เรียวแหลม ลำต้นมียางสีขาว ก้านอ่อนเป็นสีน้ำตาล ดอกสีครีม มีกลิ่นหอม ผลสุกสีเหลืองอ่อน เปลือกบาง เนื้อผลสีเหลืองสด เหนียวคล้ายแป้งทำขนม ภายในผลมีเมล็ดขนาดใหญ่ รสหวาน เนื้อผลนิ่มคล้ายไข่แดง.

ใหม่!!: พืชดอกและม่อนไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ม้ากระทืบโรง

ม้ากระทืบโรง (Wall) เป็นไม้ในวงศ์ MORACEAE มีชื่อท้องถิ่นอื่นว่า เช่น เดื่อเครือ ม้าทะลายโรง ม้าคอกแตก มันฤๅษี เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย เลื้อยเกาะไปตามพรรณไม้อื่นมีน้ำยางขาว สูงถึง 25 เมตร กิ่งอ่อน ก้านใบผิวใบด้ายล่าง และฐานรองดอกอ่อนมีขน ใบเดี่ยว เรื่องสลับ รูปใบหอก รูปไข่หรือรูปของขนานแกมวงรี กว้าง 7-9 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและม้ากระทืบโรง · ดูเพิ่มเติม »

ยมหิน

มหิน เป็นต้นไม้ประจำจังหวัดแพร่ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานเพื่อปลูกเป็นต้นไม้ประจำจังหวัด ต้นยมหินมีความสูง 15-25 เมตร เปลือกมีสีน้ำตาลถึงน้ำตาลดำ เพื่อลำต้นมีอายุเพิ่มขึ้น เปลือกในสีแดงออกน้ำตาลชมพู แก่นไม้มีสีเหลืองเข้มถึงน้ำตาลแดง ใบของต้นยมหิน จะเป็นแบบขนนกปลายคี่ ยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ใบแก่จะมีรูปร่างใบแบบรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ฐานใบกลมหรือมน ปลายใบแหลม ผลของต้นยมหิน เป็นแบบผลแห้งมีเปลือกแข็งสีน้ำตาลมีรูปทรงแบบไข่ ขนากยาวประมาณ 2.5-50 เซนติเมตร เมล็ดของต้นยมหิน มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ สีน้ำตาล มีความยาวเป็นสองเท่าของความกว้าง ในแต่ละช่วงของผลจะมีเมล็ดอยู่ประมาณ 60-100 เมล็ด การใช้ประโยชน์ เป็นไม้ที่เหมาะสำหรับงานที่ใช้ในที่ร่ม สามารถนำไปแปรรูปเป็นสินค้าได้ เช่น ทำเครื่องเรือน, ก่อสร้างบ้านเรือน.

ใหม่!!: พืชดอกและยมหิน · ดูเพิ่มเติม »

ยอ

อกยอ ยอ (L.) เป็นพืชพื้นเมืองในแถบพอลินีเชียตอนใต้ แล้วแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ ภาษามลายูเรียกเมอกาดู ในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกเรียกโนนู เป็นไม้ยืนต้น ต้นสี่เหลี่ยม เปลือกต้นเรียบ ใบสีเขียวเข้ม ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ฐานดอกติดกันแน่นเป็นทรงกลม ผลทรงยาวรี เมื่ออ่อนสีเขียว พอสุกเปลี่ยนเป็นสีขาวนวล เนื้อนุ่ม รสเผ็ด กลิ่นแรง มีเมล็ดจำนวนมาก สีน้ำตาลเข้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและยอ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดิน

อดิน ภาษากะเหรี่ยงเรียก เคาะ ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง ใบเดี่ยว ปิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน ผิวใบด้านล่างสากมือเล็กน้อย ดอกช่อ ออกตามปลายยอด ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกสีขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ อับละอองเรณูสีเหลืองอ่อน ชาวกะเหรี่ยงนำรากมาใช้ย้อมผ้าให้สีน้ำตาลเข้ม ใบต้มน้ำดื่มหรือเคี้ยวกินสด แก้ปวดท้อง.

ใหม่!!: พืชดอกและยอดิน · ดูเพิ่มเติม »

ยอป่า

อป่า หรือ ยอเถื่อน กะมูดู มูดู เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผิวแตกเป็นร่องตามยาว สีเทาอมน้ำตาล ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ด้านบนเรียบเขียวเป็นมัน หลังใบสีอ่อนกว่าอมขาว ใบห่อมาด้านหน้าเล็กน้อย ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว ผลรวมเกือบกลม ผิวนูนเป็นปุ่มเมื่ออ่อน แก่แล้วจะเรียบ สีเขียวอมเทา สุกเป็นสีดำ ผลเป็นอาหารสัตว์ ใบใช้ทำอาหารได้เช่นเดียวกับยอบ้าน.

ใหม่!!: พืชดอกและยอป่า · ดูเพิ่มเติม »

ยาสูบ (พืช)

ูบ (common tobacco ชื่อวิทยาศาสตร์: Nicotiana tabacum L.) หรือ จะวั้ว มีแหล่งกำเนิดในบริเวณตอนกลางของทวีปอเมริกา แม้มนุษย์จะรู้จักใบยาสูบมาประมาณสองพันปีแล้ว แต่ก็มิได้สูบกันอย่างจริงจังจนเป็นนิสัย จนกระทั่งพวกอินเดียแดง ซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองของอเมริกา รู้จักใช้ยาสูบกันอย่างแพร่หลาย จึงได้มีการทำไร่ยาสูบกันทั่วไป การบันทึกประวัติของยาสูบ มีขึ้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและยาสูบ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ยาสูบเล็ก

ูบเล็กหรือยาสูบนิโคติน เป็นไม้ล้มลุก ตั้งตรง ผิวใบหยาบ ปลายใบเรียวแหลม ดอกออกเป็นช่อ สีเหลืองแกมเขียว ผลเป็นแบบแคบซูล กลีบเลี้ยงติดทน มีหลายเมล็ดรูปรีหรือรูปไข่ เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ เป็นยาสูบชนิดแรกที่มีการปลูกเป็นการค้า ก่อนจะแทนที่ด้วย Nicotiana tobaccum ที่มีรสอ่อนนุ่มกว่า ปัจจุบันมีความสำคัญทางการค้าน้อยลง ใช้สูบหรือใช้เป็นยานัตถุ์ บุหรี่บางชนิดในปากีสถานจะผสมยาสูบเล็ก 40% ทำให้มีรสและกลิ่นฉุน นิโคตินในยาสูบนี้มี 4-9.5% ซึ่งสูงกว่ายาสูบที่มี 1-3%.

ใหม่!!: พืชดอกและยาสูบเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ยางพารา

งพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" (cao tchu) แปลว่า ต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี..

ใหม่!!: พืชดอกและยางพารา · ดูเพิ่มเติม »

ยางกราด

งกราด หรือ สะแบง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Dipterocarpaceae ลำต้นแตกเป็นร่องลึกยาวหรือเป็นสะเก็ดตามขวาง สีน้ำตาลปนเทา ใบเดี่ยว ผิวใบด้านบนมีขนหยาบและสาก ด้านล่างมีขนรูปดาว ดอกช่อ กลีบดอกบิดเป็นรูปกังหัน สีขาวหรือแซมสีแดงเป็นแนวตรงกลางกลีบ ผลกลมเป็นจีบพับ มีปีก 5 ปีก เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องเรือน ยางใช้ทำยางชัน ใช้เป็นส่วนผสมของยารักษาอหิวาตกโรค เป็นไม้ประจำโรงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตร.

ใหม่!!: พืชดอกและยางกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยางดง

งดง หรือตองห่ออ้อย ยางอึ่ง ช้ายาว เป็นไม้ยืนต้นในสกุลยางโอน วงศ์กระดังงา เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว ดอกออกตามกิ่งแก่ เป็นช่อแบบกระจุก กลีบดอก 6 กลีบ สีเขียว ผลกลุ่ม ผลย่อยเป็นรูปรี ผลแก่สีเขียวอมเหลือง ออกดอกกุมภาพันธ์ – เมษายน กระจายพันธุ์ในป่า ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง พบครั้งแรกในประเทศไทย โดยหมอคาร์ เมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: พืชดอกและยางดง · ดูเพิ่มเติม »

ยางนา

งนา เป็นไม้ยืนต้นเขตร้อน สูงถึง 40-50 เมตร ในพบในประเทศไทย, กัมพูชา, ลาว และเวียดนาม นอกจากนี้ ยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีก คือ กาตีล (เขมร ปราจีนบุรี) ขะยาง (ชาวบน นครราชสีมา) จ้อง (กะเหรี่ยง) จะเตียล (เขมร) ชันนา (ชุมพร) ทองหลัก (ละว้า) ยาง (กลาง,ตะวันออกเฉียงเหนือ) ยางกุง (เลย) ยางขาว (กลาง,ลำปาง) ยางควาย (หนองคาย) ยางตัง (ชุมพร,ใต้) ยางเนิน (จันทบุรี) ยางแม่น้ำ (กลาง) ยางหยวก (กลาง,หนองคาย) ราลอย (ส่วย สุรินทร์) และ ลอยด์ (โซ่ นครพนม)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและยางนา · ดูเพิ่มเติม »

ยางน่องเถา

งน่องเถา หรือยางน่องเครือ เป็นไม้พุ่มเลื้อย ทุกส่วนของต้นมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงตรงกันข้ามกัน แผ่นใบหนา สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดที่โคน สีขาว กางดอกสีเหลืองอ่อน ปลายกลีบดอกแผ่แยกเป็น 5 กลีบ ชื่อพื้นเมืองอื่น: เครืองน่อง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แม่ฮ่องสอน) ตะเกาะแบเวาะ (มลายู ภาคใต้) น่อง (ภาคกลาง นครราชสีมา) บานบุรีป่า (ภาคใต้) ยางน่องเครือ (อุบลราชธานี) ยางน่องเถา (จันทบุรี ปราจีนบุรี) เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและยางน่องเถา · ดูเพิ่มเติม »

ยางโอน

งโอน เป็นไม้ยืนต้นในสกุลยางโอน วงศ์ Annonaceae เปลือกหนาค่อนข้างเรียบ ใบรูปรี ดอกออกตามกิ่งเป็นกระจุก กลีบดอก 6 กลีบ สีเขียวยาวเป็นแถบ ผลกลุ่ม โดยผลย่อยเป็นรูปกลมรี เรียบเป็นมัน สุกแล้วเป็นสีเหลืองอมส้ม ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ – มีนาคม พบในป่าทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง พบครั้งแรกในไทย โดยหมอคาร์เมื่อเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและยางโอน · ดูเพิ่มเติม »

ยาแก้

แก้ อยู่ในวงศ์ Asteracae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ลำต้นเกลี้ยง ใบเดี่ยว ขอบใบจักเป็นหนามห่างๆ แผ่นใบมีขนประปรายทั้งสองด้าน กิ่งฝนผสมน้ำอุ่น แก้อาการเมาหัว ปวดท้อง.

ใหม่!!: พืชดอกและยาแก้ · ดูเพิ่มเติม »

ยูคาลิปตัส

ูคาลิปตัส (Eucalyptus) เป็นพรรณไม้มีถิ่นกำเนิดในทวีปออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่หมู่เกาะมินดาเนา เซลีเบส ปาปัวนิวกินี ในพื้นที่ชุ่มที่มีน้ำขังในเขตร้อน มีมากกว่า 700 ชนิด ในประเทศไทยเริ่มมีการนำเข้ามาปลูกครั้งแรกที่ พระที่นั่งวิมานเมฆ สมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปี..

ใหม่!!: พืชดอกและยูคาลิปตัส · ดูเพิ่มเติม »

ยี่หร่า

มล็ดยี่หร่า หรือ เทียนขาว อยู่ในวงศ์ Apiaceae เมื่อใช้เป็นเครื่องเทศเรียกยี่หร่า (cumin) มีถิ่นกำเนิดในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นไม้ล้มลุก ไม่มีขน ดอกช่อแบบก้านซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพู ผลแบบผักชี มีรสเผ็ดร้อน ขม ใช้แก้ลม ดีพิการ ขับเสมหะ ยี่หร่าใช้เป็นเครื่องเทศที่สำคัญในแกงกะหรี่และมัสมั่น อาหารไทยใช้ใบยี่หร่าในการปรุงแต่งกลิ่นอาหาร โดยคั่วเมล็ดโขลกผสมกับเครื่องแกง เช่นแกงกะหรี่ แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน ส่วนต้นและรากตากให้แห้ง ช่วยย่อย ยาขับลม แก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ มีน้ำมันระเหยง่ายเรียกน้ำมันยี่หร่า (cumin oil) ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม น้ำหอม เครื่องดื่มและยาขับลม สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้ เมล็ดยี่หร.

ใหม่!!: พืชดอกและยี่หร่า · ดูเพิ่มเติม »

ยี่โถ

ี่โถ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Nerium oleander L.) มีถิ่นกำเนิดแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เช่น แถบโปรตุเกสไปจนถึง อินเดีย อิหร่าน โดยสันนิษฐานว่ามีการแพร่เข้ามาในไทยโดยชาวจีน ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและยี่โถ · ดูเพิ่มเติม »

ย่ามควาย

มควาย เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกเรียบมีรอยแตกสีขาว สีเทาหรือน้ำตาล เนื้อไม้แข็ง แก่นไม้สีน้ำตาลอมเหลืองอ่อน ใบออกตรงข้ามหนาคล้ายหนัง ดอกขนาดเล็ก ออกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ผลขนาดเล็ก เนื้อหนา สุกแล้วเป็นสีส้ม กระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของไทยไปจนถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ใช้ใบต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ.

ใหม่!!: พืชดอกและย่ามควาย · ดูเพิ่มเติม »

ย่าหยา (พืช)

หยา มีชื่ออื่นๆคือ ต้นอ่อมแซบ เบญจรงค์ ๕ สี บุษบาริมทางหรือ ตำลึงหวาน (Chinese violet; Coromandel; Ganges primrose; Philippine violet); (L.) T. Anders.) คล้ายต้นต้อยติ่ง แต่ไม่มีขน ใบสากไม่แหลม ดอกมีห้าสี ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ ควรปลูกให้โดนแดดพอสมควร ประโยชน์ใช้เป็นไม้ประดับ มีสรรพคุณบำรุงเลือด บำรุงกำลัง บำรุงสายต.

ใหม่!!: พืชดอกและย่าหยา (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ย่านพาโหม

*P.

ใหม่!!: พืชดอกและย่านพาโหม · ดูเพิ่มเติม »

ย่านาง

นาง หรือ ย่านางขาว เป็นไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ในวงศ์ Menispermaceae เถากลม เหนียว เมื่ออ่อยสีเขียว แก่แล้วเป็นสีเทา ใช้ลำต้นเลื้อยพันต้นอื่น ใบเดี่ยว ดอกช่อแบบแตกแขนง ผิวเกลี้ยงเป็นมันสีเขียว สุกเป็นสีส้มอมแดง เมล็ดแข็งเพียงเมล็ดเดียว เถากินแก้ไข้ รากแก้ไข้ รักษาโรคประดง อาหารไทยอีสานและอาหารลาวใช้ใบย่านางเป็นส่วนผสมในแกงลาว ใช้ทำเครื่องดื่ม ในเวียดนามใช้ทำเยลลี่ เยลลี่ที่เรียก "Sương sâm" ในเวียดนาม ใส่ใบย่านางด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและย่านาง · ดูเพิ่มเติม »

รสสุคนธ์

รสสุคนธ์ เป็นพืชดอกชนิดหนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetracera loureiri Pierre และมีชื่อพื้นเมืองอื่นเช่น เถาะปดใบเลื่อม (ประจวบคีรีขันธ์) บอระคน อรคนธ์ (ตรัง) ปดคาย ปดเลื่อน (สุราษฎร์ธานี) ปดน้ำมัน (ปัตตานี) ปะละ สะปัลละ (มลายู-นราธิวาส) มะตาดเครือ รสสุคนธ์ขาว สุคนธรส เสาวรส (กรุงเทพฯ) ย่านปด (นครศรีธรรมราช).

ใหม่!!: พืชดอกและรสสุคนธ์ · ดูเพิ่มเติม »

รสสุคนธ์แดง

รสสุคนธ์แดง เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Dilleniaceae เปลือกต้นเรียบสีน้ำตาล เมื่อแก่จะแตกเป็นสะเก็ดบางๆ เถาอ่อนสีน้ำตาลอมเขียว ใบเดี่ยว ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อยห่างๆ ดอกช่อ กลีบเลี้ยงสีเขียวอมแดง กลีบดอกสีขาวอมชมพู กลีบดอกร่วงง่าย เกสรตัวผู้จำนวนมาก โผล่พ้นกลีบดอกเป็นสีขาวอมชมพู กลินหอมเย็น ผลกลุ่ม โดยกลีบเลี้ยงหุ้มผลไว้เกือบหมด ลูกกลมปลายแหลมสีเขียวแดง แก่แล้วแตก มีเมล็ดเดียว ดอกใช้เป็นส่วนผสมของยาหอม บำรุงหัวใจ แก้ลม.

ใหม่!!: พืชดอกและรสสุคนธ์แดง · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีฝาหอย

รองเท้านารีฝาหอย เป็นกล้วยไม้ในประเทศไทย อยู่ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Messrs Low และ Co.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีฝาหอย · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีสีทอง

รองเท้านารีสีทอง เป็นกล้วยไม้ดินชนิดหนึ่ง ดอกขนาดใหญ่ กลีบปากสีเหลืองเป็นมัน มีจุดสีแดงเข้มหรือสีม่วงภายใน ถิ่นกำเนิดอยู่ในแคนาดา และมลรัฐจอร์เจีย อริโซนา และนิวเม็กซิโกในสหรัฐอเมริกา มีสารที่ออกฤทธิ์ให้เซื่องซึม ตามัว หงอย อิดโร.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีอินทนนท์

รองเท้านารีอินทนนท์ เป็นกล้วยไม้อยู่ในสกุลรองเท้านารี มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัม สาธารณรัฐอินเดีย จนถึงทางตอนใต้ของประเทศจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีอินทนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีอินทนนท์ลาว

รองเท้านารีอินทนนท์ลาว เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี พบในประเทศลาวไปจนถึงประเทศเวียดนาม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีอินทนนท์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีขาวพังงา

รองเท้านารีขาวพังงา, รองเท้านารีไทยอานัม หรือ รองเท้านารีไทย เป็น กล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี พบทางภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีขาวพังงา · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีขาวสตูล

รองเท้านารีขาวสตูล เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี พบทางตอนใต้ของประเทศไทย และมาเลเซียตะวันตก.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีขาวสตูล · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีดอยตุง

รองเท้านารีดอยตุงเป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Mr.R.Moore ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีดอยตุง · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีคางกบ

รองเท้านารีคางกบ เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่งในสกุลรองเท้านารีพบในแถบอินโดจีนไปจนถึงตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก พบที่ระดับสูงจากระดับน้ำทะเล 500-700 เมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีคางกบ · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีปีกแมลงปอ

รองเท้านารีปีกแมลงปอ หรือ รองเท้านารีสุขะกูล เป็นกล้วยไม้ถิ่นเดียวในสกุลรองเท้านารี พบได้เพียงในทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเท่านั้น ค้นพบครั้งแรกโดย ประสงค์ สุขะกูล ในปี พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีปีกแมลงปอ · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีเหลืองกระบี่

รองเท้านารีเหลืองกระบี่เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Mr.H.Ridley ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีเหลืองกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีเหลืองตรัง

รองเท้านารีเหลืองตรัง หรือ รองเท้านารีเหลืองพังงา เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ถูกค้นพบโดยชาวอังกฤษชื่อ Mr.Murton แห่งสวนพฤกษศาสตร์หลวงเมืองคิว ประเทศอังกฤษ รองเท้านารีเหลืองตรังเป็นสายพันธุ์หนึ่งของรองเท้านารีขาวชุมพร.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีเหลืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีเหลืองปราจีน

รองเท้านารีเหลืองปราจีน เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ถูกค้นพบโดย Mr.C. Parish ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีเหลืองปราจีน · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีเหลืองเลย

รองเท้านารีเหลืองเลยหรือรองเท้านารีคอขาว เป็นกล้วยไม้ดิน พบตามซอกหินหรือที่ร่ม แพร่กระจายตั้งแต่จีนตอนใต้ พม่าและทางเหนือของอินเดีย ใบรูปขอบขนาน หนา ก้านช่อดอกยาว ดอกสีเขียวหรือเขียวอมม่วง มีขน ดอกเดี่ยว ออกดอกเดือนธันวาคมถึงมีนาคม.

ใหม่!!: พืชดอกและรองเท้านารีเหลืองเลย · ดูเพิ่มเติม »

ระกำ

ระกำ เป็นพืชตระกูลปาล์ม ซึ่งมีต้นหรือเหง้าเตี้ย ยอดแตกเป็นกอ ใบมีลักษณะยาวเป็นทาง ยาวประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นมีหนามแหลมยาวประมาณ 1 นิ้ว ออกผลเป็นทะลาย ทะลายหนึ่งมีตั้งแต่ 2-5 กระปุก เปลือกผลมีหนามแข็งเล็ก ๆ อุ้มไปทางท้ายผล ผลหนึ่ง ๆ มี 2-3 กลีบ เป็นส่วนมากเมื่อดิบมีรสฝาดและเปรี้ยว เมื่อสุกจะมีรสหวานอมเปรี้ยว เนื้ออ่อน บาง กลิ่นหอม ฉ่ำน้ำ ลักษณะใกล้เคียงกับสละ แต่ผลป้อมกว่า เมล็ดใหญ่กว่า สีจางกว่า เนื้อจะออกสีอมส้มมากกว่านิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและระกำ · ดูเพิ่มเติม »

ระย่อมพินเก้

ระย่อมพินเก้ เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้พุ่มใบเรียงเป็นวง จำนวนวงไม่เท่ากัน ดอกเกิดในซอกใบ เกิดที่ยอดมีสีขาวแกมเขียวขนาดเล็ก ผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง สุกแล้วเป็นสีดำ พบในอเมริกากลาง อเมริกาใต้ หมู่เกาะเวสต์อินดีส ในบริเวณทุงหญ้าสะวันน.

ใหม่!!: พืชดอกและระย่อมพินเก้ · ดูเพิ่มเติม »

ระย่อมน้อย

ระย่อมน้อย เป็นพืชพื้นบ้านภาคใต้และมีสรรพคุณทางยาหลายประการ ระย่อมน้อยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rauvolfia serpentina Benth.

ใหม่!!: พืชดอกและระย่อมน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ระฆังแคนเตอร์บรี

ระฆังแคนเตอร์บรี หรือเรียกง่ายๆ ว่า ดอกระฆัง (Canterbury Bells หรือ Campanula medium) เป็นไม้ดอกวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก สกุล Campanula ระฆังแคนเตอร์บรีอาจจะเป็นได้ทั้งทั้งพืชปีเดียว หรือ พืชสองปี ดอกมีลักษณะเป็นรูประฆังหรือกระดิ่งซึ่งทำให้ได้รับการขนานนามว่า “Campanula” ที่แปลว่าระฆังในภาษาอิตาลี สีของดอกก็อาจจะเป็นสีน้ำเงิน, ม่วง, ม่วงแดง หรือขาว แต่สีที่พบบ่อยจะเป็นสีม่วงน้ำเงิน ความสูงประมาณ 2 ถึง 3 ฟุต ถ้าปลูกในสวนให้สวยก็ควรจะปลูกเป็นกลุ่มใหญ่ตามขอบหรือท่ามกลางพุ่มไม้ ชอบอากาศเย็นหรืออุ่นไม่เหมาะกับอากาศร้อนหรือแห้ง ในภาษาดอกไม้ระฆังแคนเตอร์บรีเป็นสัญลักษณ์ของความรู้สึกในบุญคุณ.

ใหม่!!: พืชดอกและระฆังแคนเตอร์บรี · ดูเพิ่มเติม »

ระงับ

ระงับ เป็นไม้ล้มลุกขนาดเล็กในสกุลอังกาบ วงศ์ Acanthaceae แตกกิ่งน้อย กิ่งก้านมีขนอ่อนปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบเรียบเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดหรือซอกใบ กลีบดอกสีม่วง โคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นสองแฉก ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกในประเทศไทย ชอบขึ้นในป่าดิบชื้น ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและระงับ · ดูเพิ่มเติม »

ระงับพิษ

ระงับพิษ หรือจ้าสีเสียด ผักหวานด่าง เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Phyllanthaceae เปลือกต้นสีน้ำตาลอมเทา แก่แล้วแตกเป็นสะเก็ด อ่อนเป็นสีแดงอมเขียว ใบเดี่ยว เรียบเขียว เป็นมัน ด้านหลังใบสีเขียวนวล แห้งแล้วเป็นสีดำ ดอกช่อ แยกเพศไม่แยกต้น ดอกตัวเมียออกตามซอกใบ เป็นดอกเดี่ยวสีแดง ดอกตัวผู้เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบ สีเหลืองแกมเขียว ผลเดี่ยวกลม สีแดงอมเขียวเล็กน้อย ปลายผลมีแฉกตื้นๆ 3 แฉก ภายในมี 6 เมล็ด ใบปรุงเป็นยาเขียว รากแก้พิษไข้และแก้ไข้จับสั่น.

ใหม่!!: พืชดอกและระงับพิษ · ดูเพิ่มเติม »

รัก (ไม้พุ่ม)

รัก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Calotropis gigantea (Linn.) R.Br.ex Ait.) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ Apocynaceae วงศ์ย่อย Asclepiadoideae ลำต้นสูง 1.5–3 เมตร ดอกมีสีขาวหรือม่วง มีรยางค์เป็นคล้ายมงกุฎ รักเป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย ศรีลังกา อินเดีย และจีน ดอกของพืชชนิดนี้เรียกว่า ดอกรัก.

ใหม่!!: พืชดอกและรัก (ไม้พุ่ม) · ดูเพิ่มเติม »

รักทะเล

ผลรักทะเล ภาพใกล้ๆของดอกรักทะเลในรัฐอันธรประเทศ อินเดีย รักทะเล (Sea Lettuce; Merambong) ภาษาฮาวายเรียก Naupaka kahakai ภาษาตองกาเรียก Ngahu เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Goodeniaceae พบในชายฝั่งเขตร้อนในแถบอินโด-แปซิฟิก เป็นที่พบได้ทั่วไปในเกาะคริสต์มาสและเป็นวัชพืชในบางประเทศ ลักษณะเป็นไม้พุ่ม ขึ้นตามชายหาด รากแผ่กว้าง ใบดก หนา มันวาว ป้องกันการสูญเสียน้ำ ใบแตกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว บานเป็นรูปพัดครึ่งวงกลม ผลกลมสีขาว ลอยน้ำได้ สามารถเป็นพืชบุกเบิกในพื้นที่ใหม่ได้ รักทะเลมีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร โดยรากใช้แก้พิษอาหารทะเล ใบตำพอกแก้ปวดบวม ใช้เป็นยาสูบได้.

ใหม่!!: พืชดอกและรักทะเล · ดูเพิ่มเติม »

รักใหญ่

รักใหญ่ (Burmese lacquer at ZipcodeZoo.com) เป็นพืชในวงศ์มะม่วง มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคอินโดจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและรักใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

รักเร่

รักเร่ เป็นพันธุ์ไม้ดอกในสกุล Dahlia ที่มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโก โคลัมเบีย และทั่วไปในทวีปอเมริกากลาง ดอกมีรูปทรงและสีสันสวยงามสะดุดตา ก้านดอกแข็งแรง นิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก เช่นเดียวกับกุหลาบ แต่ในประเทศไทยไม่นิยมปลูก เนื่องมาจากมีชื่อที่ไม่เป็นมงคล.

ใหม่!!: พืชดอกและรักเร่ · ดูเพิ่มเติม »

รัง

รัง (Burmese sal, Ingyin, Dark red meranti, Light red meranti, Red lauan) เป็นไม้ยืนต้นประเภทใบเดียวชนิดหนึ่งที่มีอยู่ตามป่าเบญจพรรณแล้งและป่าแดงทั่วไป มีคุณสมบัติในการทนแล้งและทนไฟได้ดีมาก พบในประเทศอินโดนีเซีย, มาเลเซีย, พม่า และไทย เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ มีความสูง 15–20 เมตร เปลือกต้นสีเทาแตกเป็นร่องตามความยาวลำต้น ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบมน โคนใบหยักเว้า ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อ กลิ่นหอมอ่อน ออกดอกเดือนมีนาคม-เมษายน ผลรูปกระสวย มีปีกยาว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดอุดรธานี มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "เปา, เปาดอกแดง" ในภาษาเหนือ หรือ "เรียง, เรียงพนม" ในภาษาเขมร.

ใหม่!!: พืชดอกและรัง · ดูเพิ่มเติม »

รังไก่

รังไก่ เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม ภาคใต้เรียกว่ารังกับ เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ออกดอกแล้วตาย ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 6-12 ใบ ขอบใบเป็นรอยแหว่ง ดอกช่อ ช่อดอกเพศผู้เหมือนช่อดอกตัวเมีย ไม่มีก้านดอกย่อย ผลกลม สุกแล้วเป็นสีเขียวแกมดำ เป็นไม้พื้นเมืองในไทย เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู เป็นพืชที่สะสมแป้งในลำต้นปริมาณมาก เพื่อเปลี่ยนเป็นน้ำตาลส่งไปยังก้านช่อดอก สามารถปาดช่อดอกเพื่อเก็บน้ำหวานมาผลิตน้ำตาลได้ โดยปาดช่อดอกตัวผู้ ยอดอ่อนรับประทานได้ ใบใช้มุงหลังคา ทำเครื่องจักสาน ผลเป็นพิษ เปลือกผลมีแคลเซียมออกซาเลต ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับได้.

ใหม่!!: พืชดอกและรังไก่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชพฤกษ์

ผลของต้นราชพฤกษ์ ราชพฤกษ์ หรือ คูน ลมแล้ง ชัยพฤกษ์ เป็นไม้ดอกในตระกูล Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียใต้ ตั้งแต่ทางตอนใต้ของปากีสถาน ไปจนถึงอินเดีย ศรีลังกา พม่า และ ไทย ดอกราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจำชาติไท.

ใหม่!!: พืชดอกและราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาวดี

ราชาวดี (butterfly bush) เป็นไม้ประดับในวงศ์ Buddlejaceae มีถิ่นกำเนิดทางตอนเหนือของอินเดียและจีน ลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงไม้พุ่ม สูง 2-5 เมตร ตามกิ่งมีขน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ออกตรงข้าม กว้าง 3.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-7 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบหยักฟันเลื่อยถี่ เนื้อใบหยาบ ท้องใบสีเขียวอมเทา มีขนสากหลังใบสีเขียว ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ยาว 6-10 เซนติเมตร ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีขาว โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ผลเมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่งและตอนกิ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและราชาวดี · ดูเพิ่มเติม »

ราชดัด

ราชดัด (L.) Merr.

ใหม่!!: พืชดอกและราชดัด · ดูเพิ่มเติม »

รามใหญ่

รามใหญ่ (Thunb) มีชื่อเรียกอื่นๆ ว่า กระดูกไก่ ก้างปลา ก้างปลาเขา เหมือด อ้ายรามใบใหญ่ มีถิ่นกำเนิดมาจากแถบทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบตามริมชายฝั่งแม่น้ำ ด้านในของป่าชายเลน ที่มีอิทธิพลของน้ำขึ้น-น้ำลง ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ชอบความชื้นสูง แสงแดดปานกลาง.

ใหม่!!: พืชดอกและรามใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อกล้วยไม้ดาว

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พืชดอกและรายชื่อกล้วยไม้ดาว · ดูเพิ่มเติม »

รางจืด

รางจืด (Laurel clock vine, Blue trumpet vine) เป็นชื่อของพืชสมุนไพรประเภทไม้เลื้อยหรือไม้เถา มีลักษณะเนื้อแข็ง เลื้อยพาดพันไปตามต้นไม้ เถาจะมีลักษณะเป็นข้อปล้องกลมมีสีเขียวสดหรือสีเขียวเข้ม ดอกจะเป็นสีม่วงอ่อนๆหรือสีคราม ออกดอกเป็นช่อห้อยลงตามซอกใบ มีสรรพคุณทางยาในด้านการถอนพิษต่างๆ หรือใช้เป็นยาพอกบาดแผล น้ำร้อนลวก ไฟไหม้ รวมถึงใช้เป็นยารับประทานเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ รางจืดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ กำลังช้างเผือก เครือเขาเขียว ขอบชะนาง ยาเขียว(ภาคกลาง)คาย รางเย็น (ยะลา) จอลอดิเออ ซั้งกะ ปั้งกะล่ะ พอหน่อเตอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ดุเหว่า (ปัตตานี) ทิดพุด (นครศรีธรรมราช) น้ำนอง (สระบุรี) ย่ำแย้ แอดแอ (เพชรบูรณ์).

ใหม่!!: พืชดอกและรางจืด · ดูเพิ่มเติม »

รางแดง

รางแดง อยู่ในวงศ์ Rhamnaceae เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ เนื้อแข็ง เถาที่มีอายุมาก มักมีรอยแตกตามยาว กิ่งอ่อนมีขนสั้นๆ ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีเขียวแกมเหลืองอ่อน ผลแห้ง ไม่แตก ใบปิ้งไฟให้กรอบ ชงน้ำดื่มเป็นยาขับปัสสาว.

ใหม่!!: พืชดอกและรางแดง · ดูเพิ่มเติม »

ราตรี (พรรณไม้)

ราตรี หรือ หอมดึก มีถิ่นกำเนิดในแคริบเบียนเป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้ไม่ผลัดใบ เป็นไม้พุ่ม เปลือกสีเทาอ่อนเกือบขาว ใบเดี่ยวรูปหอกแคบเรียบเป็นมัน ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว วงกลีบดอกรูปหลอดผอม บานตอนกลางคืน กลิ่นหอมแรง มักส่งกลิ่นในตอนกลางคืน ผลค่อนข้างกลม สีขาวขุ่น มีหลายเมล็ด ผลสุกถ้ารับประทานทำให้คลื่นไส้ ปวดศีรษะ อาเจียน ประสาทหลอน ใจสั่น ระคายเคืองเยื่อบุลำไส้เล็ก นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและราตรี (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

รำเพย

รำเพย (Yellow oleander; Lucky nut; Juss. ex Steud.) ชื่ออื่น ๆ คือ ยี่โถฝรั่ง กระบอก เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูง 2 - 3 เมตร มียางสีขาวเป็นพิษระคายเคืองผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นคัน ใบเป็นใบเดี่ยวมีลักษณะใบแคบเรียวยาวคล้ายใบยี่โถ หนาแต่ไม่แข็ง ใบกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 8-12 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อ ออกทีละ 3-4 ดอกที่ปลายกิ่ง ดอกมีลักษณะเป็นกรวย มีกลีบ 5 กลีบเรียงซ้อนทับกัน โคนดอกเป็นหลอดมีสีอมเขียว มีกลีบเลี้ยง ยาวแหลม 5 กลีบเช่นกัน ดอกมีหลายสี เช่น สีเหลือง ส้ม ขาว เมื่อดอกโรยจะติดผล ผลมีลักษณะกลม ปลายผลแบนมีรอยหยักเป็น 2 แฉก เมื่อสุกมีสีดำ มีเมล็ดข้างใน 1-2 เมล็ด ออกดอกในฤดูฝนถึงฤดูหนาว ขึ้นได้ดีในดินทั่วไป โดยเฉพาะดินปนทราย และชอบแสงแดดจัด ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด และตอนกิ่ง ปลูกเป็นไม้ประดับสวน ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกตลอดปี เป็นดอกไม้ประจำโรงเรียนเทพศิรินทร์ รำเพยเป็นพืชมีพิษ ยางเมื่อถูกผิวหนังทำให้ระคายเคือง รับประทานเข้าไปทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ชัก หมดสติ หัวใจเป็นอัมพาต ไฟล์:ramphei1.jpg|รำเพยขาว ไฟล์:ramphei2.jpg|รำเพยเหลือง ไฟล์:ramphei3.jpg|รำเพยส้ม ไฟล์:Thevetia peruviana 05.JPG|ผลสุกเป็นสีดำ ไฟล์:Thevetia peruviana MHNT.BOT.2007.27.24.jpg|ตัวอย่างชนิด Thevetia peruviana.

ใหม่!!: พืชดอกและรำเพย · ดูเพิ่มเติม »

รุทรักษะ

รุทรักษะ หรือเรียกกันว่า น้ำตาพระศิวะ เป็น เครื่องรางคล้ายเมล็ดพุทรา ที่เชื่อว่า ช่วยรักษาสุขภาพ ให้ดีและแข็งแรง เสริมงาน-ความรัก ให้ราบรื่น สำเร็จ นิยมร้อยรวมกับหินธิเบต น้ำตาพระศิว.

ใหม่!!: พืชดอกและรุทรักษะ · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งอรุณ

รุ่งอรุณ (Chinese trumpet vine) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ อยู่ในวงศ์แคหางค่าง และอยู่ในสกุล Campsis เดิมรุ่งอรุณมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bignonia grandiflora Thunb.

ใหม่!!: พืชดอกและรุ่งอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

รง

รง หรือรงทอง เป็นพืชในวงศ์ Guttiferae เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบเปลือกสีเทาเรียบ ยางเหนียวสีเหลือง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม เหนียวคล้ายหนัง ดอกสีเหลืองซีด กลิ่นหอม ผลกลม เนื้อนุ่ม เมล็ดมีเนื้อเป็นเยื่อหุ้มอยู่ ยางเหนียวนี้เรียก gamboge ได้จากรอยกรีดบนเปลือกลำต้น สีเหลืองทอง ใช้เป็นยาทาไม้ แลกเกอร์ สีและหมึก เป็นยาถ่ายอย่างแรง ทำให้อาเจียน ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิตัวตืดในสัตว์ ในน้ำยางสีเหลืองประกอบด้วยเรซิน 70 – 80% ยางเหนียว 15 – 25% กรดที่มีมากคือกรดแคมโปอิก เป็นไม้พื้นเมืองในกัมพูชา เวียดนามใต้และไท.

ใหม่!!: พืชดอกและรง · ดูเพิ่มเติม »

ลองกอง

ลองกอง เป็นลางสาดพันธุ์หนึ่งชนิดที่เปลือกหนาและยางน้อย โดยลางสาดเป็นไม้ต้นชนิด Lansium domesticum Corrêa ในวงศ์ Meliaceae ผลกลม ๆ ออกเป็นพวง กินได้ เม็ดในขม ลางสาดนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย มีหลายชื่อ อาทิ ลังสาด, ดูกู โดยชื่อ "ลางสาด" หรือ "ลังสาด" นั้นมาจากภาษามลายูว่า "langsat", ชื่อ "ดูกู" มาจากภาษาอินโดนีเซียว่า "duku" และชื่อ "ลองกอง" มาจากภาษายาวีว่า "ดอกอง".

ใหม่!!: พืชดอกและลองกอง · ดูเพิ่มเติม »

ละมุด

ละมุด (Sapodilla) เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบชนิดหนึ่ง ผลมีรสหวานหอมนิยมรับประทานเป็นอาหารว่างและนิยมรับประทานในประเทศไทย ผลละมุดสุกมีน้ำตาลสูง และประกอบไปด้วย วิตามินเอและซี ธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส ละมุดดิบมียางสีขาวเหมือนน้ำนม มีสารที่ชื่อว่า “gutto” ละมุดมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ ชวานิลอ (ปัตตานี,มลายู ยะลา).

ใหม่!!: พืชดอกและละมุด · ดูเพิ่มเติม »

ละมุดขาว

ละมุดขาว หรือcochitzapotl ใน ภาษานาฮวต แปลตรงตัวว่าละมุดหลับ เป็นพืชในวงศ์ส้ม ใบประกอบ ผลกลมแก่แล้วเป็นสีเหลือง สุกรับประทานได้ รสชาติคล้ายท้อหรือสาลี่ เมล็ดเมื่อเผาแล้วเป็นผงใช้เป็นยานอนหลับ ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ ผลสุก ในละมุดขาวพบสารออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหลายตัว เช่น ''N''-methylhistamine, ''N'',''N''-dimethylhistamine histamine 2′,5,6-Trimethoxyflavone, 2′,5,6,7-tetramethoxyflavone (ซาโพทิน) และ 5-hydroxy-2′,6,7-trimethoxyflavone (ซาโพทินิน) ซาโพทินมีฤทธิ์เป็นสารต้านการเกิดมะเร็งในเซลล์มะเร็งลำไส้ ผลละมุดขาว ต้นที่กำลังติดผล.

ใหม่!!: พืชดอกและละมุดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ละหุ่ง

ละหุ่ง เป็นพืชในวงศ์ยางพารา (Euphorbiaceae) และเป็นพืชชนิดเดียวในสกุล Ricinus มีถิ่นกำเนิดในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนและแอฟริกาตะวันออก.

ใหม่!!: พืชดอกและละหุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ละอองเรณู

ละอองเรณู เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของพืชดอก อยู่ในอับเรณู (anther) เมื่อแก่เต็มที่อับเรณูจะแตกออก ทำให้ละอองเรณูที่อยู่ภายในถูกพาไปผสมพันธุ์กับไข่ได้ ทั้งนี้อาจอาศัยกระแสลม กระแสน้ำ แมลง มนุษย์ และ สัตว์อื่นๆ หากพิจารณาลักษณะของละอองเรณู อาจจำแนกได้เป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีเซลล์เดี่ยว กลุ่มที่มีสองเซลล์ กลุ่มที่มีสี่เซลล์ และกลุ่มที่มีหลายเซลล์ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีจำนวนเซลล์ยึดเกาะกันในจำนวนเฉพาะและเป็นลักษณะของชนิดพืช ในการบรรยายลักษณะของละอองเ___ลรณูต้องพิจารณาหลายลักษณะ ได้แก่ ขนาด รูปร่าง ขั้ว สมมาตรของเรณูและโครงสร้างของผนังเซลล์ (exine) ช่องเปิดของเรณู (aperture) ได้แก่รูเปิด (pore) หรือร่องเปิด (furrow) หรือเป็นช่องเปิดแบบผสมก็มี และลวดลายของพื้นผิวละอองเรณู (exine sculturing) หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์ของพืช หมวดหมู่:ดอกไม้ หมวดหมู่:เซลล์สืบพันธุ์ mzn:گرده (نمین).

ใหม่!!: พืชดอกและละอองเรณู · ดูเพิ่มเติม »

ละไม

ผลละไม ต้นละไมกำลังติดผล ละไม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Euphorbiaceae และเป็นผลไม้พื้นเมืองทางภาคใต้ ใบขนาดใหญ่ ผลออกเป็นพวงยาว ห้อยย้อยตามลำต้น ลักษณะคล้ายผลมะไฟ ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีขาวหรือสีน้ำตาลอ่อน ภายในผลแบ่งเป็นกลีบๆ มี 3-5 กลีบ เนื้อสีขาว รสอมเปรี้ยวอมหวาน รับประทานเป็นผลไม้สด ใส่ในแกงต่างๆ ผลมีวิตามินซีสูง หรือนำไปแปรรูปเป็นแยมและไวน.

ใหม่!!: พืชดอกและละไม · ดูเพิ่มเติม »

ลัดวิเจียเล็ก

ลัดวิเจียเล็ก เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ที่เป็นไม้น้ำในสกุลลัดวิเจีย วงศ์พญารากดำ ใช้เป็นไม้ประดับสวยงาม หมวดหมู่:วงศ์พญารากดำ หมวดหมู่:ไม้ประดับ.

ใหม่!!: พืชดอกและลัดวิเจียเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ลั่นทม

ลั่นทม หรือ ลีลาวดี เป็นไม้ดอกยืนต้นในวงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม (Plumeria) มีหลายชนิดด้วยกัน บางคนมีความเชื่อว่า ไม่ควรปลูกต้นลั่นทมในบ้านเพราะมีความเชื่อว่า เนื่องจากมีชื่อเป็นอัปมงคล คือไปพ้องกับคำว่า 'ระทม' ซึ่งแปลว่า เศร้าโศก ทุกข์ใจ นิยมปลูกกันแพร่หลายอย่างมาก ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ จำปา, จำปาลาว และจำปาขอม เป็นต้น (สำหรับชื่อภาษาอังกฤษ ได้แก่ Frangipani, Plumeria, Temple Tree, Graveyard Tree) ต้นลีลาวดีเป็นพืชนิยมปลูกเพราะดอกมีสีสันหลากหลาย สวยงาม ได้แก่ขาว เหลืองอ่อน แดง ชมพู สีขาวขุ่น ฯลฯ บางดอกมีมากกว่า 1 สี อาจมีมากถึงหลายสีในดอกเดียว ดอกลีลาวดียังเป็นดอกไม้ประจำชาติของประเทศลาว โดยเรียกว่า "ดอกจำปา" และพบได้มากบริเวณทางขึ้นพระธาตุที่เมืองหลวงพระบาง สำหรับในประเทศไทยนั้นมักพบต้นลั่นทมตามธรรมชาติทางภาคเหนือเป็นส่วนใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและลั่นทม · ดูเพิ่มเติม »

ลาน

ลาน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ปาล์ม ใบเดี่ยว ใบใหญ่คล้ายพัด ช่อดอกขนาดใหญ่ทรงกรวย ดอกสีเหลืองอ่อน ผลแก่เต็มที่สีเหลืองกลมรี มีเปลือกหุ้ม สีเขียว เนื้อในสีขาว รสหวาน ผลแก่ เปลือกแข็ง สีดำ ตรงกลางผลกลวง มีน้ำอยู่ข้างใน ออกผลครั้งเดียวในชีวิต จากนั้นจะตาย ใบลานใช้ทำเครื่องจักสาน มุงหลังคา ลำต้นทำครก ผลกินสดหรือเชื่อม ในทางยา เปลือกลานใช้เป็นยาระบาย ใบลานเผาไฟใช้เป็นยาดับพิษ แก้อักเสบ รากใช้ฝนแก้ร้อน ขับเหงื่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและลาน · ดูเพิ่มเติม »

ลานพรุ

ลานพรุ เป็นปาล์มในวงศ์ย่อยลาน (Coryphoideae) กระจายพันธุ์ในหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงออสเตรเลีย ลักษณะเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 15 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 0.8-1 เมตร กาบใบแยกจรดโคน ใบรูปพัดเรียงเวียน เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4-3 เมตร ใบแยก 80-100 แฉก แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่งหรือเกือบจรดเส้นกลางใบ ก้านใบยาว 2.5-4 เมตร แกนก้านเป็นร่องลึก ขอบมีหนามสีดำยาวประมาณ 2 เซนติเมตร แฮสทูลาหรือปลายก้านจุดเชื่อมติดใบมีขอบหนาชัดเจนทั้งสองด้าน ช่อดอกออกที่ยอด สูงได้ถึง 5 เมตร แยกแขนงจำนวนมาก ใบประดับช่อแยกแขนงแรกมี 2 สัน ใบประดับช่อแขนงเป็นหลอด ช่อย่อยแบบช่อวงแถวเดี่ยว ดอกสมบูรณ์เพศ มีก้านดอกเทียมสั้น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้ 6 อัน รังไข่มี 3 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว เมื่อออกดอกแล้วต้นจะตาย ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร ผนังผลชั้นกลางสด มีเมล็ดเดียว เนื้อในผลอ่อนรับประทานได้ น้ำหวานจากช่อดอกใช้ทำน้ำตาลสดหรือหมักเป็นน้ำตาลเมา แป้งในลำต้นนำมาใช้ได้เหมือนแป้งสาคู รากใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ท้องร่วงและแก้ไอ ใบนำมาสานทำของใช้.

ใหม่!!: พืชดอกและลานพรุ · ดูเพิ่มเติม »

ลานไพลิน

ลานไพลิน (Giant bacopa; ชื่อวิทยาศาสตร์: Bacopa caroliniana (Walt) Rob.) เป็นพืชสะเทินน้ำสะเทินบกอายุข้ามปี มีลำต้นกลมใหญ่มีขน อาจขึ้นใต้น้ำหรือเลื้อยทอดไปตามพื้น แล้วชูยอดตั้งขึ้น ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ส่วนโคนใบกว้างกว่าปลายใบ ขอบใบเรียบ แตกจากลำต้นแบบตรงกันข้าม ใบเหนือน้ำหนาและแข็งกว่าใบใต้น้ำ ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกตามซอกใบ เจริญเหนือน้ำ มีก้านดอกสั้น กลีบดอกสีฟ้าคราม โคนกลีบติดกันเป็นรูปกรวย ปลายกลีบดอกมี 5 แฉก ภายในมีขน เกสรตัวผู้มี 4 อัน หมวดหมู่:วงศ์มณเฑียรทอง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ใหม่!!: พืชดอกและลานไพลิน · ดูเพิ่มเติม »

ลาเวนเดอร์

ลาเวนเดอร์ (Lavandula) เป็นสกุลของพืชดอก ประกอบไปด้วยพืช 39 ชนิด ในวงศ์มินต์ (Lamiaceae) เป็นพืชพื้นเมืองในยุคโบราณซึ่งถูกค้นพบจากเคปเวิร์ดและหมู่เกาะคานารี ทางตอนใต้ของยุโรปข้ามไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา, เมดิเตอร์เรเนียน, เอเชียตะวันตกเฉียงใต้จรดไปอินเดียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและลาเวนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาเวนเดอร์สามัญ

ลาเวนเดอร์สามัญ, ลาเวนเดอร์อังกฤษ, ลาเวนเดอร์แท้, ลาเวนเดอร์ใบแคบ หรือลาเวนเดอร์ เป็นพืชดอกในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชประจำถิ่นในเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก หลัก ๆ ในเทือกเขาพิเรนีสและเทือกเขาอื่นทางเหนือของประเทศสเปน เป็นไม้พุ่มมีกลิ่นแรง โตได้สูง 1 ถึง 2 เมตร ไม่ผลัดใบ ใบยาว 2–6 เซนติเมตร และกว้าง 4–6 เซนติเมตร ดอกสีชมพู-ม่วง (สีลาเวนเดอร์) ออกที่ช่อเชิงลดยาว 2–8 เซนติเมตรที่ปลายสุดของลำต้นเรียวไม่มีใบยาว 10–30 เซนติเมตร มักปลูกลาเวนเดอร์สามัญเป็นไม้ประดับ ได้รับความนิยมจากดอกสีสวยงาม กลิ่นหอมและทนแล้งได้ เติบโตไม่ดีในดินชื้นต่อเนื่อง ค่อนข้างทนได้ดีต่ออุณหภูมิต่ำ ทนต่อดินกรดแต่ชอบดินกลางถึงด่าง ในบางภาวะอาจมีอายุสั้น.

ใหม่!!: พืชดอกและลาเวนเดอร์สามัญ · ดูเพิ่มเติม »

ลำบิดทะเล

ลำบิดทะเล var.

ใหม่!!: พืชดอกและลำบิดทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ลำพู

ลำพู (Cork tree, Mangrove apple) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ Sonneratiaceae พบทั่วไปตามดินเลนริมแม่น้ำหรือคลอง ที่มีระดับน้ำขึ้นน้ำลงท่วมถึง ขึ้นได้ทั้งในน้ำจืดหรือน้ำกร่อย ลำพูมีลักษณะเรือนยอดเป็นทรงพุ่ม ลำต้นเป็นแบบ Pettis's model มีการเจริญติดต่อกันไป ลำต้นค่อนข้างกลมมีกิ่งเกิดในแนวตั้ง เจริญทางด้านข้างมากกว่าทางยอด เมื่อลำต้นแตกหักจะสร้างกิ่งใหม่ขึ้นได้เนื่องจากมีตาสำรองอยู่เป็นจำนวนมาก ลักษณะใบเป็นใบเดี่ยวขนาดเล็ก สีเขียว ขอบใบเรียบ แตกใบตรงกันข้ามกันเป็นคู่ มีก้านใบสีชมพูมองเห็นแต่ไกล ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกบริเวณปลายยอด ลักษณะผลแก่มีเปลือกหนาสีเขียวอมเหลือง เนื้ออ่อนนุ่ม ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ประมาณ 1000 ถึง 2500 เมล็ด ผลลำพูแก่มีกลิ่นแรง จะร่วงหล่นระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกันยายน เป็นพืชที่รับประทานได้ ดอกนำไปแกงส้ม หรือใช้เป็นผักสด รับประทานกับขนมจีน ลำพูไม่มีรากแก้ว จะเกิดรากแผ่กระจายไปด้านข้างขนานกับผิวดินตื้นๆ และมีรากเล็กๆ แตกแขนงทางด้านล่างทำหน้าที่ยึดเกาะ และมีรากฝอยอีกชั้นทำหน้าที่ดูดซึมน้ำและสารอาหาร ลำพูยังมีรากพิเศษช่วยในการหายใจ ลักษณะรูปกรวยแหลมยาวแทงโผล่พื้นดินรอบโคนต้น มีความยาวประมาณ 10-50 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและลำพู · ดูเพิ่มเติม »

ลำพูป่า

อกลำพูป่าในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย ลำพูป่า หรือ ลำแพนเขา ลำพูขี้แมว เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Sonneratiaceae เปลือกลำต้นขรุขระเล็กน้อย สีออกเทา ส่วนปลายกิ่งห้อยลง ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม ท้องใบสีเขียวอ่อนอมขาว ดอกเป็นดอกช่อออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยงสีเขียวหุ้มไว้ มี 5-6 กลีบ และติดทนจนเป็นผล เกสรตัวผู้มีเป็นจำนวนมาก สีขาว เกสรตัวเมียมีอันเดียว ปลายยอดของเกสรตัวเมียจะติดทนจนเป็นผลเช่นกัน ผลเดี่ยว สีเขียว เรียบ เป็นมัน มีพูเล็กน้อย เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องมือต่างๆ มีสีขาวและเป็นไม้เนื้ออ่อน ยอดอ่อนและผลใช้รับประทานเป็นผัก.

ใหม่!!: พืชดอกและลำพูป่า · ดูเพิ่มเติม »

ลำยา

ลำยา หรือ ลำไย ภาษามลายูปัตตานีเรียกบินยา ภาษามลายูเรียกบินไย ภาษาบาหลีเรียกวานี เป็นพืชในสกุลเดียวกับมะม่วง พบในมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ปาปัวนิวกินี รัฐเกรละ และฟิลิปปินส์ บินยาหรือลำยาเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เปลือกต้นสีน้ำตาลแกมเทา มีรอยแตกที่เปลือก มียางที่ทำให้ระคายเคือง ใบหนาและเหนียวคล้ายหนัง ดอกช่อสีชมพูอ่อน หรือสีชมพูอมม่วง ผลเปลือกสีออกเหลือง เนื้อสีขาว นุ่ม ฉ่ำน้ำ มีเส้นใย ผลสุกรสหวานอมเปรี้ยว นิยมนำไปทำน้ำมะม่วง ตำน้ำพริกหรือนำไปดอง โดยเฉพาะพันธุ์วานีที่ไม่มีกลิ่นขี้ไต้ ผลดิบรับประทานได้โดยจิ้มกับส่วนผสมของซอสถั่วเหลืองกับพริก ใช้ปรุงรสเปรี้ยวในซัมบัล ยางสีขาวจากผลดิบเป็นพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและลำยา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดวน

ลำดวน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Melodorum fruticosum Lour.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดศรีสะเกษ นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและลำดวน · ดูเพิ่มเติม »

ลำแพน

ลำแพน วงศ์ SONNERATIACEAE เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 4- 12 เมตร กิ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยม เปราะ รากหายใจรูปคล้ายหมุด ยาว 15- 30 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและลำแพน · ดูเพิ่มเติม »

ลำโพงกาสลัก

ลำโพงกาสลัก (Thorn Apple; L.) หรือ มะเขือบ้าอินเดีย หรือ ลำโพงดอกชมพู เป็นพืชล้มลุก ประเภทเดียวกับมะเขือ ชื่อพื้นเมืองเช่น มะเขือบ้าดอกดำ เมื่อโตเต็มที่มีความสูงประมาณ 1-1.5 เมตร ลำต้น กิ่ง และก้านใบมีสีม่วงเข้มดำมัน ใบเดี่ยว รูปไข่ สีเขียวเข้ม เรียงสลับกัน กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 10-20 เซนติเมตร ขอบใบหยักเป็นซี่ฟันหยาบ ๆ ฐานหรือโคนใบมักไม่เสมอกัน ดอกมีสีม่วง ขนาดของดอกยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร ก้านดอกสั้น เมื่อดอกโตเต็มที่ปากดอกจะบานออกดูคล้ายรูปแตร ขนาดของดอกยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร ก้านดอกสั้น ดอกมักจะซ้อนกัน 3 ชั้น เป็นส่วนใหญ่ ถ้าเป็นพันธุ์ผสม ดอกจะซ้อนกัน 2 และ 4 ชั้น ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ลำโพงจัดอยู่ในประเภทเป็นพืชที่มีพิษ มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย และชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีฤทธิ์หลอนประสาท.

ใหม่!!: พืชดอกและลำโพงกาสลัก · ดูเพิ่มเติม »

ลำโพงม่วง

ลำโพงม่วง เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae แตกกิ่งน้อย ต้นตั้งตรง วงกลีบดอกเป็นรูปหลอด สีขาวหรือสีม่วงซีด ผลเป็นกระเปาะทรงกลม ผิวมีหนามสั้น หรือผิวเรียบ ทุกส่วนของพืชมีสารอัลคาลอยด์ชนิดโทรเพนในระดับอันตราย ได้แก่ อะโทรปีน, ไฮออสไซยามีนและสโคโพลามีน.

ใหม่!!: พืชดอกและลำโพงม่วง · ดูเพิ่มเติม »

ลำโพงราชินีมืด

ลำโพงราชินีมืด เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ดอกคล้ายลำโพงปากแตร ห้อยลง สีขาว ใบมีขนนุ่มปกคลุม ผลแห้งแตก มีเมล็ดมาก เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีบอเมริกาใต้ มีฤทธิ์สะกดจิต ทำให้ประสาทหลอน.

ใหม่!!: พืชดอกและลำโพงราชินีมืด · ดูเพิ่มเติม »

ลำโพงแดง

ลำโพงแดง เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเป็นกระจุก กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ดอกสีแดงอมส้มมีลายสีเหลือง ผลเป็นแบบกระเปาะแห้งแตกคล้ายรูปลูกข่าง พบตามป่าดิบเขาในพื้นที่สูง มีฤทธิ์หลอนประสาท.

ใหม่!!: พืชดอกและลำโพงแดง · ดูเพิ่มเติม »

ลำไย

ลำไย (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็.

ใหม่!!: พืชดอกและลำไย · ดูเพิ่มเติม »

ลิลี

ลิลี (lily; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lilium) เป็นไม้ดอกประเภทหัว (bulbhttps://en.wikipedia.org/wiki/Bulb) ที่มีการชื้อขายกันมากเป็นอันดับห้า รองจากกุหลาบ เบญจมาศ ทิวลิป และคาร์เนชัน ส่วนใหญ่จะปลูกบนที่สูง ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และจังหวัดเลย เนื่องจากมันเป็นพืชที่เจริญเติบโตในสภาพอากาศที่หนาวเย็น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศจีน และบริเวณตอนเหนือของญี่ปุ่น มีฉายาว่า "ดอกไม้ของเจ้าหญิงhttp://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10-46/Lily.htm" ดอกลิลี่เป็นตัวแทนของความบริสุทธิ์ สดใส ไร้เดียงสา จึงมักนำมาใช้ประดับในงานสังสรรค์รื่นเริง เป็นตัวกลางในการสื่อความหมาย โดยจะมีความหมายจำเพาะตามสีของดอก.

ใหม่!!: พืชดอกและลิลี · ดูเพิ่มเติม »

ลิงลาว

ลิงลาวหรือนางลาว หรือนางเลว เป็นไม้พุ่ม ในวงศ์ Asparagaceae มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นแตกเป็นกอ ใบสีเขียวสด ดอกช่อ สีขาวปนม่วง สีเขียวปนม่วงหรือสีม่วงเข้ม ผลกลม ผิวขรุขระ ต้นที่มีก้านดอกสีเขียว จะมีรสหวานปนขม ก้านดอกสีขาวมรรสหวานเฝื่อน นิยมบริโภค แต่ต้นที่มีก้านดอกสีม่วง รสขม ไม่นิยมบริโภคยกเว้นในกลุ่มผู้สูงอายุ นำมาทำแกง แกงแค ส้มตำ หรือกินกับน้ำพริก นอกจากนั้นยังนำมาผัดน้ำมันหอยและชุบแป้งทอด ดอกและผลเป็นอาหารสัตว์ ดอกลิงลาวมีสารต้านอนุมูลอิสระ ชาวถิ่นเรียกนางแลว นิยมนำช่อดอกอ่อนไปแกง.

ใหม่!!: พืชดอกและลิงลาว · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้นมังกร

ลิ้นมังกร วงศ์ Dracaenaceae เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ใบเดี่ยว สีเขียวเข้มแกมเทา อวบน้ำ ดอกช่อ สีขาวมีกลิ่นหอม เป็นพืชท้องถิ่นในแอฟริกาตะวันตกตั้งแต่ไนจีเรียถึงคองโก ใช้เป็นไม้ประดับ ใบใช้ตำละเอียด แก้พิษตะขาบ แมงป่อง.

ใหม่!!: พืชดอกและลิ้นมังกร · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้นจี่

ลิ้นจี่ เป็นชื่อของผลไม้ประเภทผลเดี่ยวซึ่งมีลักษณะเปลือกสีแดงชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ SAPINDACEAE (ซึ่งก็คือวงศ์เดียวกับเงาะและลำไยนั้นเอง) ลิ้นจี่นั้นเป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อยให้ผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุนจึงถือว่าเป็นผลไม้ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่สามารถนำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายในรูปของผลไม้สดและผลไม้แปรรูป ปัจจุบันนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความหลากหลายขึ้นเรื่อยๆจากสายพันธุ์ดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเป็นผลไม้โปรดของหยางกุ้ยเฟย พระสนมของจักรพรรดิถังเสวียนจง ทรงบัญชาให้ทหารม้านำลิ้นจี่จากแหล่งปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่ฉางอาน เปลือกผลของลิ้นจี่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสร.

ใหม่!!: พืชดอกและลิ้นจี่ · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้นงูเห่า

ลิ้นงูเห่า เป็นไม้ล้มลุกกึ่งเลื้อยในวงศ์ Acanthaceae ไม่ค่อยแตกกิ่งแขนง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบบาง ขอบใบเป็นคลื่น ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยช่อละ 12 – 20 ดอก ดอกย่อยในช่อบานไม่พร้อมกัน สีส้ม ปลายแยกเป็น 2 แฉก เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออก กระจายพันธุ์ในเขตฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย ลักษณะต้นคล้ายพญายอแต่ใบกว้างกว่า สีเขียวเข้มกว่า ช่อดอกโตกว่า ใช้เป็นยาได้เช่นเดียวกับพญายอใช้เป็นไม้ประดับได้ด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและลิ้นงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

ลูพิน

''Lupinus polyphyllus '' ลูพิน (Lupin หรือ lupine) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลลูพินนัส (Lupinus) ในวงศ์ถั่วที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 200 ถึง 600 สปีชีส์ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูล มีศูนย์กลางอยู่ในอเมริกาใต้, ทางตะวันตกของอเมริกาเหนือ, บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน และ แอฟริกา ลูพินส่วนใหญ่เป็นพืชยืนต้นสูงราว 0.3 ถึง 1.5 เมตร แต่บางชนิตก็เป็นพืชปีเดียว และบางชนิดก็เป็นไม้พุ่มที่สูงถึง 3 เมตร (ลูพินพุ่ม) และมีอยู่สปีชีส์หนึ่งจากเม็กซิโกที่สูงถึง 8 เมตรและมีลำต้นที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร ใบมีลักษณะเด่นที่จำได้ง่ายสีเขียวออกไปทางเขียวอมเทาเล็กน้อย บางสปีชีส์ก็มีขนหนาสีเงินบนใบ ใบมีลักษณะเหมือนใบปาล์มที่แยกออกเป็น 5 ถึง 28 แฉก แต่บางสปีชีส์ก็ไม่มีแฉกเช่นที่พบทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ทรงดอกเหมือนข้าวโพดที่เป็นดอกเหมือนดอกถั่วกระจายออกไปรอบแกนกลางแต่ละดอกก็ยาวราว 1 ถึง 2 เซนติเมตร เมล็ดออกจากฝักแต่ละฝักก็มีหลายเมล็ด ลูพินก็เช่นเดียวกับพืชวงศ์ถั่วอื่นๆ ที่สามารถเปลี่ยนไนโตรเจนจากบรรยากาศให้เป็นไนโตรเจนให้เป็นแอมโมเนียได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มปุ๋ยให้แก่พืชอื่นสกุลลูพินนัสมีไรโซเบียมแบบที่เรียกว่า Bradyrhizobium ลูพินเป็นทั้งดอกไม้ป่าและไม้บ้าน โครงสร้างของพุ่มและดอกมีลักษณะเด่นเหมาะแก่การปลูกตกแต่งสวน สีก็มีแทบทุกสีที่รวมทั้งเหลือง ชมพู แดง ม่วงน้ำเงิน ม่วงแดง และขาว.

ใหม่!!: พืชดอกและลูพิน · ดูเพิ่มเติม »

ลูกซัด (พืช)

ลูกซัดเขียว ลูกซัด อยู่ในวงศ์ถั่ว เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว รากแก้วขนาดใหญ่ ลำต้นตั้งตรง ใบประกอบ มีหูใบเป็นเยื่อบาง ปลายแหลม ดอกเหมือนดอกถั่ว สีครีมหรือสีเหลืองอ่อน โคนสีม่วง ผลเป็นฝัก รูปกรวย ปลายเป็นจงอยยาว ภายในมีเมล็ด 10 – 20 เมล็ด สีน้ำตาล ต้นและใบของพืชชนิดนี้รับประทานได้ เมล็ดใช้เป็นยา ใช้ลูกซัดต้มน้ำกับเปลือกชะลูด ใช้แช่เสื้อผ้าให้แข็งขึ้นเงา ลูกซั.

ใหม่!!: พืชดอกและลูกซัด (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ลูกปืนใหญ่ (พืช)

ผลลูกปืนใหญ่ ลูกปืนใหญ่ หรือ สาละลังกา (Cannonball tree) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและลูกปืนใหญ่ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ลูกน้ำนม

ลูกน้ำนมผ่าครึ่ง ผลสีเขียวหรือม่วง ผลสด ลูกน้ำนม ภาษาเขมรเรียกว่า แพรตึกเดาะ เป็นพืชพื้นเมืองของฟิลิปปินส์ ไทย เวียดนาม กัมพูชา เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ยาวรี หน้าใบเป็นมัน เขียวเข้ม หลังใบเป็นสีแดง เป็นมัน ดอกออกเป็นช่อ ตามซอกใบ สีเขียวอมเหลือง หรือชมพูอมขาว กลื่นหอม ผลทรงกลม มีทั้งพันธุ์สีเขียว พันธุ์สีเหลืองและพันธุ์สีม่วงแดง พันธุ์เปลือกเขียว เนื้อสีขาว ส่วนพันธุ์เปลือกม่วง เนื้อสีขาวอมม่วง รสหวานหอม เมล็ดสีน้ำตาลอ่อน กินเป็นผลไม้สด ชื่อสามัญของลูกน้ำนมได้แก่ cainito, caimito, star apple, golden leaf tree, abiaba, pomme dulait, estrella, milk fruit และ aguay ใน เวียดนาม เรียกว่า vú sữa (ตรงตัว: breast-milk) ผลของลูกน้ำนมมีสารต้านอนุมูลอิสระ เปลือกต้นเป็นยาบำรุงและยาชูกำลัง ยาต้มจากเปลือกใช้เป็นยาแก้ไอ สปีชีส์ใกล้เคียงเรียกสตาร์แอปเปิล พบในทวีปแอฟริกา เช่น C. albidum และ C. africanum ในเวียดนาม พันธุ์ที่มีชื่อเสียงมากคือ Lò Rèn มาจากจังหวัดเตี่ยนซาง ในเซียร์ราลีโอน เรียกว่า "Bobi wata".

ใหม่!!: พืชดอกและลูกน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

ลูกใต้ใบ

ลูกใต้ใบ (L.) เป็นพืชล้มลุก ต้นเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตัวคล้ายใบประกอบ ทำให้บางครั้งเกิดความสับสนว่าเป็นใบประกอบ ออกดอกตามข้อ หนึ่งข้อมีหนึ่งใบ โคนก้านใบติดกับลำต้น สีม่วงแดง ดอกสีเขียว ดอกออกตามซอกก้านใบย่อยและห้อยลง ผลกลมเรียบ เมื่อแก่แตกเป็นสามพู ในทางยาสมุนไพร ลูกใต้ใบมีฤทธิ์แก้โรคเบาหวาน ขับปัสสาวะ เป็นยาบำรุงธาตุ ขับประจำเดือน มีการศึกษาวิจัยทางการแพทย์เกี่ยวกับการนำไปใช้ประโยชน์ทางยาและอาจจะมีฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์และไวรัสตับอักเสบบี ลดความดันโลหิต ลดความเป็นพิษต่อตับ ในบราซิลและเปรูใช้เป็นยารักษาโรคนิ่วในไต และสามารถยับยั้งการเกิดก้อนนิ่วในหนูที่กินน้ำคั้นของพืชนี้ได้ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเปรัก ประเทศมาเลเซีย ใช้ทั้งต้นนำไปต้มใช้รักษาดีซ่าน.

ใหม่!!: พืชดอกและลูกใต้ใบ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกเขยตายแม่ยายทำศพ

ลูกเขยตายแม่ยายทำศพ เป็นชื่อไม้ล้มลุกชนิด Euphorbia cyathophora Murr.

ใหม่!!: พืชดอกและลูกเขยตายแม่ยายทำศพ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกเดือย

ลูกเดือย เป็นธัญพืชประเภทคาร์โบไฮเดรตเดือยเป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีเส้นใยอาหารสูง เป็นพืชตระกูลเดียวกับข้าว โดยมีลักษณะเป็นเม็ดสีขาว เม็ดจะออกกลม ๆ รี ๆ รสชาติออกมันเล็กน้อ.

ใหม่!!: พืชดอกและลูกเดือย · ดูเพิ่มเติม »

วอลนัต

มล็ดวอลนัต วอลนัต (walnut) เป็นพืชในตละกูล Juglandaceae ขนาดของต้นมีหลายขนาดสูงตั้งแต่ 10-40 และใบมีขนาดยาวตั้งแต่ 200-900 มม.

ใหม่!!: พืชดอกและวอลนัต · ดูเพิ่มเติม »

วาซาบิ

วาซาบิ เป็นเครื่องปรุงที่ทำมาจากการบดลำต้นของพืช Canola (Japanese horseradish) จัดเป็นไม้ล้มลุกที่อยู่ในตระกูลเดียวกับพวกบรอกโคลีและกะหล่ำ เป็นสมุนไพรดั้งเดิมของญี่ปุ่น สามารถปลูกได้ทั้งบนดิน และพื้นน้ำ โดยปลูกบนพื้นน้ำจะให้คุณภาพที่ดีกว่า ในหลายประเทศมักจะเรียกวาซาบิกันผิด ๆ ว่าฮอร์สแรดิชญี่ปุ่น ฮอร์สแรดิชสีเขียว หรือแม้แต่มัสตาร์ดญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและวาซาบิ · ดูเพิ่มเติม »

วีสเตียเรีย

วีสเตียเรีย (Wisteria, Wistaria หรือ Wysteria) เป็นพืชในสกุลไม้ดอก ในพืชวงศ์ถั่ว, พืชที่มีฝักซึ่งเป็นหนึ่งใน10 ของสายพันธุ์ไม้เถาวัลย์ มีต้นกำเนิดทางทิศตะวันออกของสหรัฐอเมริกา และจีน เกาหลี และญี่ปุ่น บางสายพันธุ์นิยมปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจีนและญี่ปุ่น แต่สำหรับไม้น้ำที่มีชื่อว่า 'water wisteria' ที่จริงแล้วคือพืช Hygrophila difformis ในวงศ์ Acanthaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวีสเตียเรีย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ชบา

ืชวงศ์ฝ้ายหรือวงศ์ชบา เป็นวงศ์พืชดอกที่ประกอบไปด้วย 200 สกุล ประมาณ 2,300 ชนิด Judd & al.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ชบา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ชมพู่

''Pimenta dioica'' วงศ์ชมพู่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Myrtaceae) เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงคู่ ซึ่งมีสมาชิกที่สำคัญคือชมพู่ กานพลู ฝรั่ง และยูคาลิปตัส สมาชิกในวงศ์ทั้งหมดเป็นพืชมีเนื้อไม้ มีน้ำมันหอมระเหย มีโฟลเอมอยู่ทั้งสองด้านของไซเลม ไม่ได้อยู่ด้านนอกเหมือนพืชวงศ์อื่นๆ ใบมีสีเขียว กลีบดอกมี 5 กลี.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ชมพู่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์บอระเพ็ด

วงศ์บอระเพ็ด หรือ Menispermaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ระบบ APG II จัดให้อยู่ในอันดับ Ranunculales ในกลุ่ม พืชใบเลี้ยงคู่แท้ วงศ์นี้มีสมาชิก 70 สกุลและ 420 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นไม้เลื้อย อยู่ในเขตร้อน มีเพียงเล็กน้อย (ในสกุล Menispermumและ Cocculus) อยู่ในเขตอบอุ่นทางตะวันออกของอเมริกาเหนือและเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์บอระเพ็ด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์บอน

''Spathiphyllum cochlearispathum'' แสดงลักษณะดอกช่อแบบช่อเชิงลดมีกาบ วงศ์บอน หรือ Araceae เป็ยนวงศ์ของพืชมีดอก ที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ที่มีดอกเป็นดอกช่อแบบช่อเชิงลดมีกาบ (spadix) ประกอบด้วยสมาชิก 107สกุลและมากกว่า 3700 สปีชีส์ ส่วนใหญ่กระจายพันธุ์ในโลกใหม่เขตร้อน บางส่วนอยู่ในเขตร้อนของโลกเก่าและเขตอบอุ่นทางเหนือ ยางของพืชวงศ์นี้มีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์บอน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์บัวสาย

วงศ์บัวสาย หรือ Nymphaeaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่เป็นไม้น้ำ มีไรโซม มีสมาชิกประมาณ 70 สปีชีส์ สกุล Nymphaea ประกอบด้วย 35สปีชีส์ในซีกโลกเหนือ สกุลVictoria มีสองสปีชีส์ที่เป็นพืชท้องถิ่นในอเมริกาใต้ ขึ้นในดินโคลนที่มีน้ำท่วมขัง ใบลอยบนผิวน้ำ ใบกลม มีส่วนขาดไปเล็กน้อยในสกุล Nymphaea และ Nuphar แต่จะกลมสมบูรณ์ในสกุล Victoria..

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์บัวสาย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์บัวหลวง

วงศ์บัวหลวง หรือ Nelumbonaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก แต่เดิมเคยรวมอยู่ในวงศ์ Nymphaeaceae ต่อมาได้แยกวงศ์นี้ออกมาต่างหาก โดยมีข้อมูลทางชีววิทยาโมเลกุลสนับสนุน ว่ามีวิวัฒนาการอยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่แท้ จัดอยู่ในอันดับ Proteales มีความใกล้ชิดกับวงศ์ Platanaceae และ Proteaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์บัวหลวง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ชา

วงศ์ชา หรือTheaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีทั้งไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น รวมทั้งพืชในสกุล Camellia นักพฤกษศาสตร์บางคนได้รวมวงศ์ Ternstroemiaceae ไว้ในวงศ์ชาด้วยRoyal Botanic Gardens, Kew.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ชา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์บานไม่รู้โรย

วงศ์บานไม่รู้โรย หรือ Amaranthaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกขนาดใหญ่ในอันดับ Caryophyllales ปัจจุบันได้นำพืชจากวงศ์ Chenopodiaceae มารวมด้วย ทำให้มี 180 สกุลและ 2,500 สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์บานไม่รู้โรย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์บานเย็น

วงศ์บานเย็น หรือชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nyctaginaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิก 33 สกุลและ 290 สปีชีส์ กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ผลมีลักษณะพิเศษเรียก "anthocarp" หลายสกุลมีละอองเรณูขนาดใหญ่มาก (>100 µm) อยู่ในอันดับ Caryophyllales.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์บานเย็น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พญารากดำ

วงศ์พญารากดำ หรือOnagraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 640-650 สปีชีส์ มีทั้งไม้ล้มลุก ไม้พุ่มและไม้ยืนต้น มี 20-24 สกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พญารากดำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก

วงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก หรือ Campanulaceae เป็นวงศ์อยู่ในอันดับ Asterales, ประกอบด้วย 2400 สปีชีส์ใน 84 สกุล ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก ไม้พุ่ม ส่วนน้อยเป็นไม้ยืนต้น มักมียางสีขาวที่ไม่มีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พริกไทย

วงศ์พริกไทย หรือ Piperaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่ามีสมาชิกประมาณ 3,610 สปีชีส์ใน 5 สกุล ส่วนใหญ่จะพบในสองสกุลหลักคือPiper (2000 สปีชีส์) และ Peperomia (1600 สปีชีส์)Stevens, P. F. (2001 onwards).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พริกไทย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พลับพลึง

วงศ์พลับพลึง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Amaryllidaceae) เป็นวงศ์ของพืชล้มลุก หลายฤดู มีลำต้นใต้ดินแบบหัวหอม จัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในอันดับ Asparagales ชื่อวงศ์มาจากสกุล Amaryllis ขอบเขตของวงศ์นี้มีความแตกต่างกัน ดารจัดจำแนกล่าสุดของ APG (APG III) จัดให้วงศ์นี้ครอบคลุมอย่างกว้างโดยมีถึง 3 วงศ์ย่อยคือ Agapanthoideae (เดิมเป็นวงศ์ Agapanthaceae), Allioideae (เดิมเป็นวงศ์ Alliaceae) และ Amaryllidoideae (วงศ์ Amaryllidaceae เดิม).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พลับพลึง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พวงแก้วกุดั่น

วงศ์พวงแก้วกุดั่น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranunculaceae) เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกราว 1,700 สปีชีส์ ชื่อของวงศ์นี้มาจากภาษาละติน rānunculus หมายความว่า "กบน้อย" วงศ์พวงแก้วกุดั่นประกอบด้วยพืช 60 สกุล โดยสกุลที่ใหญ่ที่สุดคือ Ranunculus (มีพืชจำนวน 600 สปีชีส์), Delphinium (365 สปีชีส์), Thalictrum (330 สปีชีส์), Clematis (325 สปีชีส์), และ Aconitum (300 สปีชีส์).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พวงแก้วกุดั่น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พิกุล

วงศ์พิกุล หรือ Sapotaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกอยู่ในอันดับ Ericales มีสมาชิก 800 สปีชีส์ เป็นพืชไม่ผลัดใบ ทั้งไม้พุ่มและไม้ยืนต้น มีประมาณ 65สกุล (หรือ 35-75, ขึ้นกับการให้คำจำกัดความ) กระจายพันธุ์ในเขตร้อน หลายสปีชีส์ผลรับประทานได้ หรือมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ พืชที่มีผลรับประทานได้ ได้แก่ ละมุด ลูกน้ำนม ม่อนไข่ ผลของมิราเคิล (Synsepalum dulcificum) อยู่ในวงศ์นี้เช่นกัน ไม้ยินต้นในสกุล Palaquium ผลิตลาเท็กซ์ ที่ใช้งานได้หลากหลาย เมล็ดของ Argania spinosa (L.) ใช้ผลิตน้ำมัน (Argan oil)ใน โมร็อกโก ชื่อของวงศ์นี้มาจาก zapote ชื่อของพืชชนืดหนึ่งในเม็กซิโก ซึ่งสะกดในภาษาละตินว่า sapota.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พิกุล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พิศวง

วงศ์พิศวง หรือ Thismiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ได้รับการยอมรับจากนักพฤกษศาสตร์หลายท่าน เช่น J. Hutchinson, Chase et al. 1995, 2000; Angiosperm Phylogeny Group 1998; Caddick et al. 2000; Neyland 2002; Thiele & Jordan 2002, Merckx et al. 2006 และ Woodward et al. 2007) แต่บางครั้งก็จัดรวมให้อยู่ในฐานะเผ่า Thismieae ในวงศ์ Burmanniaceae ในระบบ Kubitzki และอื่นๆ ประกอบด้วย 5 สกุลโดยมี 3 สกุล (Afrothismia, Haplothismia และ Oxygyne) พบในโลกเก่า Thismia พบในเขตร้อนของอเมริกาและเอเชีย และเขตอบอุ่นในอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ Tiputinia พบในอมาโซเนีย;รายชื่อสกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พิศวง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พุทรา

วงศ์พุทรา หรือ Rhamnaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น มีที่เป็นไม้พุ่มและไม้เลื้อย ประกอบด้วย 50-60 สกุล และประมาณ 870-900 สปีชีส์ กระจายพันธุ์ทั่วโลก พบมากในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พุทรา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พุทธรักษา

วงศ์พุทธรักษา (Cannaceae) เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีสมาชิกสกุลเดียวคือสกุลพุทธรักษา (Canna) พบกระจายในหลายบริเวณ ตั้งแต่เทือกเขาแอนดีส ฮาวาย ออสเตรเลีย เวียดนาม จีน จนถึงอินโดนีเซีย Judd, W. S.; C. S. Campbell, E. A. Kellogg, P. F. Stevens, M. J. Donoghue (2007).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์พุทธรักษา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กก

ืชวงศ์กก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cyperaceae; Sedge) เป็นไม้ล้มลุก มีประมาณ 4,000 ชนิดแพร่พันธุ์กระจายทั่วโลก ชอบที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ระดับต่ำตามหนอง บึง ทางระบายคันคูน้ำและโคลนเลน ใน 46 ประเทศจัดพืชวงศ์กกเป็นวัชพืช มีหลายชนิดใช้เป็นอาหารเช่น Eleocharis toberosa และ Scirpus toberosus และหลายชนิดนำมาทำเครื่องจักสานได้อย่าง เสื่อ กระจาด กระเช้า หมวก เช่นกกชนิด Scirpus mucronatus, Lepironia mucronata, Carex brizoides เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระบก

วงศ์กระบก หรือ Irvingiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิก 20 สปีชีส์ ใน 3 สกุล วงศ์นี้ตั้งตามชื่อของทหารเรือชาวสกอตแลนด์ Edward George Irving.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระบก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระถินทุ่ง

วงศ์กระถินทุ่ง หรือ Xyridaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ระบบ APG และ APG II มีวงศ์นี้อยู่ และจัดให้อยู่ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เคลด commelinids อันดับ Poales โดยในระบบ APG II ต่างไปเล็กน้อยคือ รวมพืชบางชนิดจากวงศ์ Abolbodaceae เข้ามา และไม่จัดให้อยู่ในอันดับใ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระถินทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระทืบยอด

วงศ์กระทืบยอด หรือ Oxalidaceae เป็นวงศ์ขนาดเล็กที่ประกอบด้วยพืชล้มลุก ไม้พุ่มและไม้ยืนต้น ประกอบด้วย 8 สกุลและ 900 สปีชีส์ ใบย่อยสามารถเคลื่อนไหวได้โดยจะกางเมื่อมีแสงและหุบเมื่อไม่มีแสง สกุล Averrhoa ของมะเฟืองส่วนใหญ่จัดอยู่ในวงศ์นี้ มีนักพฤกษศาสตร์บางคนจัดแยกเป็นวงศ์ Averrhoaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระทืบยอด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระทงลาย

ผลของ ''Loeseneriella africana'' ช่อดอกของ ''Gymnosporia senegalensis'' วงศ์กระทงลาย หรือ Celastraceae หรือในระบบ Cronquist เป็นวงศ์ Canotiaceae, Chingithamnaceae, Euonymaceae, Goupiaceae, Lophopyxidaceae, and Siphonodontaceae มีสมาชิก 90-100 สกุล และ 1,300 สปีชีส์ของไม้เลื้อย ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้น อยู่ในอันดับ Celastrales.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระทงลาย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระท้อน

วงศ์กระท้อน (Meliaceae หรือ Mahogany family) เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ส่นใหญ่เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่ม มีส่วนน้อยที่เป็นไม้ล้มลุก หรือเป็นพืชป่าชายเลน อยู่ในอันดับ Sapindales ลักษณะการเรียงของใบเป็นแบบเรียงสลับ (alternate) เส้นใบเป็นแบบขนนก ไม่มีหูใบ ดอกเป็นดอกช่อแบบ panicles, cymes, spikes, หรือ clusters สปีชีส์ส่วนใหญ่ไม่ผลัดใบ วงศ์นี้ประกอบด้วย 50 สกุลและ 550 สปีชีส์ มีการกระจายตัวอย่างกว้างขวางในเขตร้อนตั้งแต่จีนจนถึงออสเตรเลีย ผลของ ''Chisocheton paniculatus'' ใน Pakke Tiger Reserve.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระดังงา

วงศ์กระดังงา หรือ Annonaceae หรือ custard apple family เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และมีบางส่วนเป็นไม้เลื้อย ประกอบด้วย 2300 - 2500 สปีชีส์และมีมากกว่า 130 สกุล จัดเป็นวงศ์ที่ใหญ่ที่สุดในอันดับ Magnoliales พืชในวงศ์นี้ 7 สกุล ได้แก่ Annona, Anonidium, Rollinia, Uvaria, Melodorum, Asimina, และ Stelechocarpus มีผลที่รับประทานได้ says 6, but overlooks anonidium mannii, definitely edible --> สกุลที่เป็นแม่แบบของวงศ์นี้คือ Annona ซึ่งพบมากในเขตร้อน พบในเขตอบอุ่นไม่กี่สปีชีส์ ประมาณ 900 สปีชีส์อยู่ในเขตร้อนของโลกใหม่ 450 สปีชีส์พบในเขตร้อนของแอฟริกา ที่เหลือพบในเขตอินโดมลายา ทุเรียนเทศ (''Annona muricata'') ผลของ ''Asimina triloba''.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระดังงา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระดุมเงิน

วงศ์กระดุมเงิน หรือ Eriocaulaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในอันดับ Poales ประกอบด้วยสมาชิก 1,150-1,200 ใน 10 สกุล แพร่กระจายทั่วไป โดยเฉพาะในเขตร้อนของอเมริกา มี 16 สปีชีส์ที่พบในสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่อยู่ในรัฐทางใต้ ตั้งแต่แคลิฟอร์เนีย ถึง ฟลอริดา มีเพียงสองสปีชีส์พบในแคนาดาและมีเพียงสปีชีส์เดียว (Eriocaulon aquaticum) ที่พบใน ยุโรป ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุกหลายฤดู;สกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระดุมเงิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระดูกไก่

วงศ์กระดูกไก่ หรือ Chloranthaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วยสี่สกุล และมีสมาชิก 12 สปีชีส์ มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้ล้มลุก พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มาดากัสการ์ อเมริกากลางและอเมริกาใต้ และหมู่เกาะเวสต์อินดีส สกุลที่สูญพันธ์ไปแล้วคือ Chloranthistemon อยู่ในวงศ์นี้ด้วย สมาชิกในวงศ์นี้มีกลิ่นหอม ไม่ผลัดใบ ใบออกตรงข้าม มีหูใบอยู่ระหว่างใบทั้งสองเช่นเดียวกับวงศ์ Rubiaceae ดอกเป็นดอกช่อ ไม่มีกลีบดอก บางครั้งเหมือนกับกลีบเลี้ยง ผลมีเมล็ดเดียว.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระดูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระโถนฤๅษี

วาดของ ''Rhizanthes'' (ต่อมารู้จักในชื่อ''Brugmansia''), เป็นพืชในวงศ์กระโถนฤๅษีจาก''Der Bau und die Eigenschaften der Pflanzen'' (1913). วงศ์กระโถนฤๅษี (Rafflesiaceae) เป็นวงศ์ของพืชเบียนที่พบในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง Rafflesia arnoldii ซึ่งเป็นพืชที่มีดอกที่ใหญ่ที่สุดในโลก พืชกลุ่มนี้เป็นปรสิตภายในของไม้เถาในสกุล Tetrastigma (วงศ์ Vitaceae) ไม่มีกิ่งก้าน ใบ รากและส่วนที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ จะมีเฉพาะดอกที่โผล่ออกมาจากรากหรือกิ่งด้านล่างของพืชเจ้าบ้านเท่านั้น.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กระโถนฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กฤษณา

วงศ์กฤษณา หรือ Thymelaeaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ประกอบด้วย 50 สกุล และ 898 สปีชีส์Zachary S. Rogers (2009 onwards).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กฤษณา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กลอย

วงศ์กลอย หรือ Dioscoreaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีประมาณ 750 สปีชีส์ 9 สกุล ในระบบ APG II system จัดให้อยู่ในอันดับ Dioscoreales และได้นำพืชจากวงศ์ Taccaceae และ Trichopodaceae มารวมไว้ด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กลอย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กล้วย

วงศ์กล้วย หรือ Musaceaeเป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Zingiberales เป็นพืชท้องถิ่นของเอเชียและแอฟริกา มีลำต้นเทียมขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่แล้ว แบ่งพืชในวงศ์นี้ออกเป็นสองสกุลคือ Musa และ Ensete.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กล้วย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กล้วยพัด

วงศ์กล้วยพัด หรือ Strelitziaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ซึ่งเป็นวงศ์ของพืชที่มีลักษณะคล้ายวงศ์ Heliconiaceae และ Musaceae สกุลในวงศ์นี้เคยรวมอยู่ในวงศ์ Musaceae ในการจำแนกบางระบบ แต่ในระบบ APG II ไดกำหนดให้วงศ์กล้วยพัด อยู่ในอันดับ Zingiberales ในกลุ่ม commelinid วงศ์กล้วยพัดมี 3 สกุล พบในเขตร้อนทั้งหมดคือ Strelitzia มี 5 สปีชีส์ทางใต้ของแอฟริกา, Ravenala มีสปีชีส์เดียวใน มาดากัสการ์ และ Phenakospermum มีสปีชีส์เดียวทางเหนือของอเมริกาใต้ สปีชีส์ที่รู้จักมากที่สุดคือปักษาสวรรค์ (Strelitzia reginae) และอีกสปีชีส์ที่พบบ่อยคือกล้วยพัด (Ravenala madagascariensis).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กล้วยพัด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กะลังตังช้าง

วงศ์กะลังตังช้าง หรือ Urticaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ชื่อของวงศ์นี้ตั้งตามสกุล Urtica มีสมาชิกทั้งสิ้น 2600 สปีชีส์ ประกอบด้วย 54 - 79 สกุล geสกุลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ Pilea (500 to 715 สปีชีส์) รองลงมาคือ Elatostema (300 สปีชีส์), Urtica (80สปีชีส์) และ Cecropia (75 สปีชีส์) กระจายพันธุ์ทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กะลังตังช้าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กะทกรก

วงศ์กะทกรก หรือ Passifloraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 530 สปีชีส์ อยู่ใน 27 สกุล มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย ไม้พุ่ม ส่วนใหญ่พบในเขตร้อน ชื่อของวงศ์มาจากสกุล (Passiflora) ซึงเป็นสกุลของกะทกรกและเสาวรส ระบบการจัดจำแนกแบบ Cronquist จัดให้วงศ์นี้อยู่ในอันดับ Violales แต่การจัดจำแนกแบบใหม่ๆของ Angiosperm Phylogeny Group จัดให้อยู่ในอันดับ Malpighiales.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กะทกรก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กะตังใบ

วงศ์กะตังใบ หรือ Leeaceae เป็นวงศ์เก่าในระบบการจัดจำแนกที่ใช้สัณฐานวิทยาเป็นหลัก ในระบบ APG จะรวมสกุล Leea เข้าในวงศ์ Vitaceae เช่นในระบบ APG II ให้ Leea อยู่ในวงศ์ย่อย Leeoideae (Vitaceae).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กะตังใบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กะเพรา

วงศ์กะเพรา หรือ วงศ์มินต์ (Lamiaceae เดิมคือ Labiatae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้ของพืชดอกในอันดับแลเมียลิส ที่มีลักษณะเด่นคือ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถา ลำต้นเหลี่ยม ดอกออกเป็นช่อยกสูงคล้ายฉัตร หรือบ้างก็ไม่ยกสูงมาก เป็นวงศ์ของ กะเพรา โหระพา แมงลัก สะระแหน่ ยี่หร่า ลาเวนเดอร์ โรสแมรี บลูซัลเวีย ซัลเวียฮัมมิ่งเบิร์ดแดง ออริกาโน เดิมวงศ์มินต์ (Labiatae) หมายความรวมถึงพืชจำพวก สัก ผกากรอง มังกรคาบแก้ว ตรีชะวา พัดโบก และพืชอื่นๆในวงศ์สัก (Verbenaceae) ด้วย แต่ภายหลังมีการแยกเอาพืชกลุ่มนี้ไปตั้งวงศ์ใหม่เป็นวงศ์สัก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กะเพรา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กัญชา

วงศ์กัญชา หรือ Cannabaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกขนาดเล็ก ประกอบด้วย 170 สปีชีส์ จาก 11 สกุล ได้แก่ Cannabis (กัญชา), Humulus (ฮอบส์) และ Celtis (hackberries).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กัญชา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กันเกรา

วงศ์กันเกราหรือ Loganiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Gentianales มีสมาชิก 13 สกุล แพร่กระจายในเขตร้อนทั่วโลก แต่เดิม วงศ์นี้มีสมาชิก 29 สกุล การศึกษาทางด้านไฟโลเจเนติกนั้นแสดงให้เห็นว่าบางกุลในวงศ์กันเกราอย่างกว้างนั้นควรย้ายออกไปวงศ์อื่น เช่น Gentianaceae, Gelsemiaceae, Plocospermataceae, Tetrachondraceae, Buddlejaceae, และ Gesneriaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กันเกรา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กาฝาก

''Psittacanthus'' ออกดอกบนต้นไม้ วงศ์กาฝาก (Loranthaceae) เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 75 สกุล และ 1,000 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชปรสิต.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กาฝาก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กำลังเสือโคร่ง

วงศ์กำลังเสือโคร่ง หรือ Betulaceae มีสมาชิกทั้งสิ้น 6 สกุล และมีประมาณ 130 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชท้องถิ่นทางซีกโลกเหนือ มีบางส่วนพบทางซีกโลกใต้ทางเทือกเขาแอนดีส ในอดีตวงศ์นี้แยกออกเป็น 2 วงศ์คือ Betulaceae (ประกอบด้วยสกุล Alnus, Betula) และ Corylaceae (สกุลที่เหลือ) ในระบบ APG ได้รวมเป็นวงศ์ใหญ่ที่มีวงศ์ย่อย Betuloideae และ Coryloideae วงศ์ที่ใกล้เคียงคือ Casuarinaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กำลังเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กุหลาบ

Rosaceae หรือ วงศ์กุหลาบ เป็นวงศ์ของพืช มีประมาณ 3000 ชนิด ใน 100 สกุล ชื่อวงศ์มาจากสกุล Rosa สกุลใหญ่สุดคือ Sorbus, Crataegus และ Cotoneaster.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กุหลาบหิน

อก Rosularia วงศ์กุหลาบหิน หรือCrassulaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงคู่ ใบพืชกลุ่มนี้อวบน้ำ เก็บน้ำไว้ได้ดี พบได้ทั่วโลก แต่มักพบในซีกโลกเหนือและแอฟริกาใต้ โดยเฉพาะในพื้นที่แห้งหรือหนาวเย็น วงศ์นี้ประกอบด้วย 1,400 สปีชีส์ใน 33 สกุล การสังเคราะห์ด้วยแสงแบบแคม (Crassulacean acid metabolism) ตั้งตามชื่อวงศ์ของพืชวงศ์นี้ เพราะพบครั้งแรกในพืชวงศ์นี้.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กุหลาบหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กุหลาบป่า

วงศ์กุหลาบป่า (Heath, Heather) เป็นวงศ์ของไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใช้ชื่อวงศ์ว่า Ericaceae ลักษณะเด่นประจำวงศ์ คือ ไม่มีหูใบ ใบเป็นแบบใบเดี่ยว ติดแบบเรียงเวียนสลับ มีต่อมด้านล่าง มีเส้นใบออกจาก 2 ข้างของเส้นกลางใบแบบขนนก บางครั้งมีเส้นใบออกจากโคนใบ 3 เส้น หรือมากกว่านั้น ดอกมีลักษณะสมมาตรตามรัศมี ดอกเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ กลีบดอกเป็นรูปท่อหรือรูปโถ เกสรเพศผู้มี 10 อัน อับเรณูแตกโดยมีรูเปิดที่ปลาย ก้านเกสรเพศเมียมี 1 อัน รังไข่มี 5 ช่อง เมล็ดมีจำนวนมาก บางชนิดเป็นพืชกินซาก ใบมีเกล็ดรังแค หรือมีต่อมที่ขอบใบตอนโคน ดอกแบบดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกเป็นรูปท่อหรือรูปโถ เกสรเพศผู้มี 10 อัน เป็นพืชที่พบกระจายพันธุ์ไปทั่วโลก มีมากกว่า 4,000 ชนิด ประมาณ 126 สกุลStevens, P. F. (2001 onwards).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กุหลาบป่า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กุ่ม

วงศ์กุ่ม หรือ Capparaceae หรือ Capparidaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Brassicales ในปัจจุบันประกอบด้วย 33 สกุลและประมาณ 700 สกุลขนาดใหญ่ได้แก่ Capparis (150), Maerua (100), Boscia (37) และ Cadaba (30) วงศ์นี้มีความใกล้เคียงกับวงศ์ Brassicaceae และเคยรวมอยู่ด้วยกัน (APG, 1998) บางสกุลในวงศ์นี้ใกล้เคียงกับวงศ์ Brassicaceae มากกว่าสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน ปัจจุบันจึงนำไปรวมในวงศ์Brassicaceae (เป็นวงศ์ย่อย Clemoideae) หรือแยกไปเป็นวงศ์ Cleomaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กง

วงศ์กง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hanguanaceae) เป็นวงศ์พืชใบเลี้ยงเดี่ยวจัดอยู่ในอันดับ Commelinales ร่วมกับวงศ์ Commelinaceae และวงศ์อื่นอีก 3 วงศ์ที่ไม่พบในประเทศไทย พืชในวงศ์กงเป็นไม้ล้มลุก ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ช่อดอกเป็นแบบช่อแยกแขนง ดอกไร้ก้าน มีกลีบรวม 6 กลีบเรียง 2 วง เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อันในดอกเพศเมีย ส่วนเกสรเพศเมียจะไม่มีก้าน ยอดเกสรมี 3 พู ผลของพืชในวงศ์กงจะมีเนื้อและมีเมล็ด 1-3 เมล็ด จากสารานุกรมพืชในประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้, สืบค้นวันที่ 31 ตุลาคม 2553 วงศ์กงประกอบด้วยสกุลเพียงสกุลเดียว คือ สกุลกง (Hanguana) มี 6 ชนิด (สปีชีส์) ทั่วโลก โดยเขตกระจายพันธุ์อยู่ในศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียวคือ กง (Hanguana malayana (Jack.) Merr.).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์กง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ก่วม

วงศ์ก่วม (Aceraceae) เป็นวงศ์พืชของไม้ดอก ประกอบด้วย 2 ถึง 4 สุกลขึ้นกับขอบเขต มีประมาณ 120 ชนิดที่เป็นไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม ทั่วไปมีลักษณะใบเป็นแฉกและผลแยกแล้วแตก วงศ์ก่วมเป็นญาติใกล้ชิดกับวงศ์เงาะ นักอนุกรมวิธานหลายคน (รวมถึงกลุ่มวิวัฒนาการชาติพันธุ์พืชดอก) ได้รวมวงศ์ก่วมและ Hippocastanaceae ไว้ใน Sapindaceae งานวิจัยเมื่อเร็วๆนี้ (Harrington et al. 2005) แสดงว่าถึงแม้ว่าวงศ์ก่วมและ Hippocastanaceae มีสายวิวัฒนาการที่มาจากบรรพบุรุษร่วมกัน การย้ายของทั้ง 2 วงศ์จาก Sapindaceae sensu lato น่าจะละทิ้ง Sapindaceae sensu stricto ตามกลุ่มสายวิวัฒนาการที่ไม่ได้มาจากบรรพบุรุษร่วมกันแต่มีความใกล้ชิดกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการอ้างถึงสกุล Xanthoceras.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ก่วม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ก่อ

วงศ์ก่อ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Fagaceae) เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้นและไม้พุ่มราว 900 สปีชีส์ มีใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกแยกเพศ ผลมีลักษณะคล้ายนัท มีเปลือกแข็ง ผลไม่มีเอนโดสเปิร์ม ตัวอย่างของพืชในวงศ์นี้ที่รู้จักกันดีคือ โอ๊ก ในสกุล Quercus ซึ่งผลมีเปลือกแข็งแบบนัทและมีเมล็ดเดียว.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ก่อ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ฝิ่น

วงศ์ฝิ่น หรือ Papaveraceae หรือวงศ์ป๊อบปี้ เป็นวงศ์ของพืชมีดอกซึ่งมีสมาชิกราว 30 สกุล ประมาณ 600 สปีชีส์ อยู่ในอันดับ Ranunculales วงศ์นี้กระจายตัวในที่อุณหภูมิปานกลางหรือกึ่งเขตร้อน แต่พบน้อยในเขตร้อน ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก ส่วนน้อยที่เป็นไม้พุ่มและไม้ยืนต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ฝิ่น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะพลับ

วงศ์มะพลับ หรือ Ebenaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Ericales ซึ่งสมาชิกได้แก่ ตะโก มะพลับ มะเกลือ มีสมาชิกประมาณ 768 สปีชีส์ ทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม ดอก ''Diospyros chloroxylon'' ''Diospyros dichrophylla'' ฟอสซิลของดอก ''Royena graeca'' ส่วนใหญ่เป็นไม้ไม่ผลัดใบ กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน พืชในวงศ์นี้ที่มีเนื้อไม้สามารถเจริญในบริเวณดินเสียหรือเป็นกรดโดยอยู่ร่วมกับไมคอไรซา หลายสปีชีส์ในสกุลมะพลับ (Diospyros) เป็นที่มาของ ebony wood ไม่ได้เป็นพืชที่รับประทานผลได้ทุกสปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะพลับ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะพอก

วงศ์มะพอก หรือ Chrysobalanaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ที่เป็นพืชมีดอกจำนวน 17 สกุลและประมาณ 460 สปีชีส์ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน พบทั่วไปในทวีปอเมริกา บางสปีชีส์มีซิลิกา ในส่วนของต้นที่แข็งแรง และชั้นมีโซฟิลล์ของใบมักมีสเคลอเรนไคม.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะพอก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะม่วง

วงศ์มะม่วง หรือ Anacardiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ผลมีเมล็ดเดียวและผลิตยางที่มีความระคายเคือง มีหลายสกุลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เช่น มะม่วงหิมพานต์ มะม่วง มะปราง สกุล Pistaciaรวมอยู่ในวงศ์นี้แม้ว่าบางครั้งจะแยกไปอยู่วงศ์ต่างหากคือ Pistaciaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะม่วง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะรุม

วงศ์มะรุม หรือ Moringaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Brassicales ตามระบบ APG (1998) และระบบ APG II (2003) ส่วนในระบบ Cronquist (1981) อยู่ในอันดับ Capparales มีสกุลเดียวคือ Moringa.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะรุม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะละกอ

วงศ์มะละกอ หรือ Caricaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงคู่ในอันดับ Brassicales,พบในเขตร้อนของอเมริกากลาง อเมริกาใต้และแอฟริกา เป็นพืชไม่ผลัดใบ อายุสั้น มีสปีชีส์เดียวคือ Vasconcellea horoviziana เป็นไม้เลื้อยและมีสามสปีชีส์ของสกุล Jarilla เป็นไม้ล้มลุก หลายสปีชีส์มีผลที่รับประทานได้และเป็นแหล่งของปาเปน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะละกอ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะลิ

วงศ์มะลิ หรือ Oleaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ประกอบด้วย 24 สกุลและราว 600 สปีชีส์ มีทั้งไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น และไม้เลื้อย ชื่อของวงศ์นี้ตั้งตามสกุล Olea ซึ่งเป็นสกุลของมะกอกออลิฟ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะลิ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะหลอด

วงศ์มะหลอด หรือ วงศ์สลอดเถา หรือ Elaeagnaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Rosales ประกอบด้วยไม้พุ่มและไม้ยืนต้นขนาดเล็ก พบในเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือไปจนถึงเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลีย ประกอบด้วยสมาชิก 45-50 สปีชีส์ในสามสกุล พืชเหล่านี้มักมีหนาม ใบมีขนหรือเกล็ดขนาดเล็ก ส่วนใหญ่เป็นพืชทนแล้ง และหลายชนิดเป็นพืชทนเค็ม พืชในวงศ์นี้มักมีแบคทีเรียสกุล Frankia อยู่ในราก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะหลอด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะขามป้อม

วงศ์มะขามป้อม หรือ Phyllanthaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Malpighiales ใกล้เคียงกับวงศ์ Picrodendraceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะขามป้อม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะแฟน

วงศ์มะแฟน หรือ Burseraceae เป็นสกุลขนาดกลางที่มี 17-18 สกุลและประมาณ 540 สปีชีส์ วงศ์นี้มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่มเป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย แอฟริกา และอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะแฟน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มะเขือ

วงศ์มะเขือ (Solanaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกที่มีความสำคัญทางการเกษตร แม้ว่าบางชนิดเป็นพืชมีพิษ ชื่อของวงศ์นี้ตั้งตามชื่อสกุล Solanum วงศ์นี้ประกอบด้วยสกุล Datura, Mandragora (mandrake), Atropa belladonna (deadly nightshade), Lycium barbarum (wolfberry), Physalis philadelphica (tomatillo), Physalis peruviana (Cape gooseberry flower), Capsicum (พริก), Solanum (มันฝรั่ง, มะเขือเทศ, มะเขือ), Nicotiana (ยาสูบ), และ Petunia พืชเศรษฐกิจในวงศ์นี้ยกเว้นยาสูบ (Nicotianoideae) และพิทูเนีย (Petunioideae) แล้ว สกุลอื่นๆอยู่ในวงศ์ย่อยSolanoideae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มะเขือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มังคุด

Clusiaceae หรือ Guttiferae Juss.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มังคุด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มุ่นดอย

วงศ์มุ่นดอย หรือ Elaeaocarpaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 605 สปีชีส์ ใน 12 สกุล"Elaeocarpaceae" In: Klaus Kubitzki (ed.). The Families and Genera of Vascular Plants vol.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มุ่นดอย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์มณเฑียรทอง

วงศ์มณเฑียรทอง หรือ Scrophulariaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ที่สมาชิกส่วนใหญ๋อยู่ในเขตอบอุ่น และภูเขาในเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์มณเฑียรทอง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ยางพารา

วงศ์ยางพารา (Euphorbiaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกที่มี 300 สกุลและประมาณ 7,500 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นไม้พุ่ม พบมากในเขตร้อน โดยเฉพาะในแถบอินโด-มลายา และเขตร้อนในทวีปอเมริกา มีความหลากหลายมากในเขตร้อนของแอฟริกา แต่ยังน้อยกว่าสองเขตข้างต้น สกุล Euphorbia เป็นสกุลที่พบนอกเขตร้อนมากที่สุด เช่นในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตะวันออกกลาง แอฟริกาใต้ และทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:พืชมีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ยางพารา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ยางนา

วงศ์ยางนา หรือ วงศ์ไม้ยาง หรือDipterocarpaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้นมีสมาชิก 17 สกุลและประมาณ 500 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชเขตร้อน ในป่าฝนเขตร้อนระดับล่าง ชื่อของวงศ์นี้มาจากสกุล Dipterocarpus ซึ่งมาจากภาษากรีก (di.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ยางนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยระย่อม

วงศ์ย่อยระย่อม หรือRauvolfioideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชมีดอกในวงศ์ Apocynaceae (อันดับ Gentianales) พืชส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยระย่อม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยราชพฤกษ์

Caesalpinia sappan วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ หรือ Caesalpinioideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชวงศ์ถั่ว ชื่อตั้งตามชื่อสกุล Caesalpinia ในการจัดจำแนกบางระบบ เช่นระบบ Cronquist วงศ์ย่อยนี้ยกขึ้นเป็นวงศ์ เรียก Caesalpiniaceae ส่วนใหญ่กระจายพันธุ์ในเขตร้อย ดอกสมมาตรครึ่งซีก เกิดปมรากได้น้อย วงศ์ย่อยนี้แบ่งเป็นสี่เผ่า ได้แก่ Caesalpinieae, Cassieae, Cercideae และ Detarieae เผ่า Cercideae บางครั้งเคยรวมเข้ากับวงศ์ย่อย Faboideae (Papilionoideae)ในอดีต.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยลาน

วงศ์ย่อยลาน หรือ Coryphoideae เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ปาล์ม สมาชิกคือปาล์มที่มีใบประกอบแบบนิ้วมือ เช่น ลาน กะพ้อ อินทผลัม จั๋ง ค้อดอ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยลาน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยศรนารายณ์

วงศ์ย่อยศรนารายณ์ หรือAgavoideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในวงศ์ Asparagaceae อันดับ Asparagales แต่เดิมเคยจัดเป็นวงศ์ต่างหากคือวงศ์ศรนารายณ์หรือ Agavaceae ส่วนใหญ่เป็นพืชทะเลทราย เช่น อากาเว่ ยุกคา มีประมาณ 640 สปีชีส์ใน 23 สกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยศรนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยสีเสียด

วงศ์ย่อยสีเสียด หรือ Mimosoideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชวงศ์ Fabaceae (Leguminosae) ดอกมีลักษณะเด่นคือเห็นก้านชูเกสรตัวผู้ชัดเจน แบ่งเป็นสี่เผ่า: Acacieae, Ingeae, Mimoseae, and Mimozygantheae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยสีเสียด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยส้มลม

''Holarrhena pubescens'' วงศ์ย่อยส้มลม หรือ Apocynoideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชมีดอกในวงศ์ Apocynaceae (อันดับ Gentianales) ประกอบด้วย 78 สกุลและ 860 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางยา พืชที่สำคัญได้แก่ ยางน่องเถา ส้มลม Nerium oleander เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยส้มลม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยหมาก

วงศ์ย่อยหมาก หรือ Arecoideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชตระกูลปาล์ม ที่มีใบประกอบแบบขนนก ดอกแยกเพศไม่แยกต้น ตัวอย่างเช่น หมากสง เต่าร้าง มะพร้าว หมวดหมู่:วงศ์ย่อยหมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยหมาก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยหวาย

วงศ์ย่อยหวาย หรือ Calamoideae เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ Arecaceae มีสมาชิก 21 สกุลและประมาณ 620 สปีชีส์ที่กระจายพันธ์ทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยหวาย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยถั่ว

วงศ์ย่อยถั่วหรือวงศ์ย่อยประดู่ หรือ Faboideaeเป็นวงศ์ย่อยของพืชมีดอกในวงศ์ Fabaceae หรือ Leguminosae บางครั้งเรียก Papilionoideae Faboideae เป็นได้ทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม หรือไม้ล้มลุก ตัวอย่างสมาชิกได้แก่ ถั่วลันเตา ประดู่ พืชในวงศ์ย่อยนี้จะเกิดปมราก ดอกจะมีลักษณะเฉพาะที่เรียกดอกทรงดอกถั่ว.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยถั่ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยแหน

วงศ์ย่อยแหน หรือ Lemnoideae ในระบบ APG ส่วนในระบบเดิมจะเป็นวงศ์ต่างหากคือวงศ์แหน ฟรือ Lemnaceae เป็นวงศ์ของพืชน้ำ ที่ลอยอยู่ในน้ำ เช่น แหน ผำ จัดอยู่ในวงศ์Araceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่อยแหน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่านตีเมีย

วงศ์ย่านตีเมีย หรือ Santalaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับSantalales ตัวอย่างเช่น ไม้จันทน์ ในปัจจุบันได้รวมวงศ์ Viscaceae เข้ามาด้วย;สกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ย่านตีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์รักทะเล

วงศ์รักทะเล หรือ Goodeniaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Asterales มีสมาชิก 404 สปีชีส์ และ 12 สกุล การกระจายพันธุ์ส่วนใหญ่อยู่ในออสเตรเลีย ยกเว้นสกุล Scaevola.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์รักทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ลิลี

วงศ์ลิลี หรือ Liliaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีสมาชิกทั้งหมด 15 สกุล และมีประมาณ 600 สปีชีส์ อยู่ในอันดับ Liliales ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก อายุหลายปี มักมีหัวแบบหัวหอม.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ลิลี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ว่านน้ำ

วงศ์ว่านน้ำ หรือ Acoraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกเพียงสกุลเดียว ในระบบ Cronquist ไม่มีวงศ์นี้ โดยจัดให้สกุล Acorus อยู่ในวงศ์บอน ส่วนในระบบ APG ได้แยกวงศ์นี้ออกมา หมวดหมู่:วงศ์ว่านน้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ว่านน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ว่านแม่ยับ

วงศ์ว่านแม่ยับ หรือ Iridaceae เป็นวงศ์ในอันดับ Asparagales สมาชิกของวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักดี ได้แก่ หญ้าฝรั่น และแกลดิโอลั.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ว่านแม่ยับ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ว่านไก่แดง

วงศ์ว่านไก่แดง หรือ Gesneriaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกประมาณ 150 สกุลและประมาณ 3,200 สปีชีส์ในเขตร้อนของโลกเก่าและโลกใหม่ หลายสปีชีส์มีดอกสีสดใสและใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ว่านไก่แดง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สมอ

วงศ์สมอ (Combretaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกในอันดับ Myrtales มีสมาชิกประมาณ 600 สปีชีส์ รวมถึง Combretum imberbe พืชในวงศ์นี้ 3 สกุลคือ Conocarpus, Laguncularia และ Lumnitzera เจริญในป่าชายเลน พืชในวงศ์นี้แพร่กระจายในเขตร้อนและกึ่งร้อน บางชนิดเป็นไม้ก่อสร้างที่มีคุณภาพดี เช่น Terminalia ivorensis.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สมอ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สร้อยสุวรรณา

Lentibulariaceae - ''Utricularia humboldtii'' วงศ์สร้อยสุวรรณา หรือ Lentibulariaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มี 3 สกุล Genlisea Pinguicula Utricularia ส่วนสกุล Polypompholyx และ Biovularia เคยจัดอยู่ในวงศ์นี้ Biovularia ถูกรวมเข้ากับ Utricularia และ Polypompholyx กลายเป็นสกุลย่อยในสกุล Utricularia เดิมวงศ์นี้เคยอยู่ในอันดับ Scrophulariales ต่อมาในระบบ APG จึงย้ายมาอยู่ในอันดับ Lamiales.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สร้อยสุวรรณา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สะเดาดิน

วงศ์สะเดาดิน หรือ Molluginaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ในระบบ APG จัดให้วงศ์นี้อยู่ในอันดับ Caryophyllales ในเคลดพืชใบเลี้ยงคู่แท้ มีสมาชิก 100 สปีชีส์ แต่เดิมวงศ์นี้เคยรวมอยู่กับวงศืที่ใหญ่กว่าคือวงศ์ Aizoaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สะเดาดิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สับปะรด

ืชวงศ์สับปะรดโตบนสายโทรศัพท์ในโบลิเวีย วงศ์สับปะรด หรือ Bromeliaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีสมาชิกประมาณ 3,170 สปีชีส์ โดยเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของทวีปอเมริกา มีบางสปีชีส์พบในเขตกึ่งร้อน และมี 1 สปีชีส์ที่เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาตะวันตก คือ Pitcairnia feliciana จัดอยู่ในอันดับ Poales แต่มีความแปลกเพราะเป็นวงศ์เดียวในอันดับนี้ที่มีเนกตารีและรังไข่อยู่ใต้วงชั้นของกลีบดอกJudd, Walter S. Plant systematics a phylogenetic approach.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สับปะรด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สันตะวา

วงศ์สันตะวา หรือ Hydrocharitaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ประกอบด้วยสปีชีส์ของ พืชน้ำ ซึ่งเรียกรวมๆว่า Tape-grasses มีเส้นใบแบบร่างแห ดอกสมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกสีขาว เกสรตัวผู้วงในมักเป็นหมัน ตัวอย่างพืชที่รู้จักกันดี เช่น Canadian Waterweed Frog's Bit สันตะวาใบข้าว สันตะวาใบพาย สาหร่ายหางกระรอก ตับเต่านา วงศ์นี้แบ่งเป็น 4 วงศ์ย่อย- Hydrocharitoideae (Hydrocharis, Limnobium), Stratiotoideae (Stratiotes), Anacharidoideae (Apalanthe, Appertiella, Blyxa, Egeria, Elodea, Lagarosiphon และ Ottelia) และ Hydrilloideae (Enhalus, Halophila, Hydrilla, Maidenia, Najas, Nechamandra, Thalassia, Vallisneria).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สันตะวา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สายน้ำผึ้ง

วงศ์สายน้ำผึ้ง หรือ Caprifoliaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงคู่ มีสมาชิก 860 สปีชีส์ 42 สกุล พบความหลากหลายมากในอเมริกาเหนือและเอเชียตะวันออก ไม่พบในเขตร้อนและแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สายน้ำผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สาหร่ายบัว

วงศ์สาหร่ายบัว หรือ Cabombaceae เป็นวงศ์ของพืชดอกที่เป็นไม้น้ำ ประกอบด้วยไม้น้ำสองสกุลคือ Brasenia และ Cabomba ระบบ APG I รวมวงศ์นี้ในวงศ์ Nymphaeaceae และแยกออกมาในระบบ APG III.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สาหร่ายบัว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สนุ่น

วงศ์สนุ่น หรือ Salicaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ประกอบด้วย 55 สกุล ในระบบ Cronquist วงศ์นี้อยู่ในอันดับ Salicales และมีสมาชิก 3 สกุลเท่านั้น (Salix, Populus และ Chosenia) ส่วนระบบ APG จัดให้อยู่ในอันดับ Malpighiales และรวมวงศ์ Flacourtiaceae เข้ามา รวมทั้งสกุลที่เคยอยู่ใน Bembiciaceae Caseariaceae Homaliaceae Poliothyrsidaceae Prockiaceae Samydaceae และ Scyphostegiaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สนุ่น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สนทะเล

วงศ์สนทะเล หรือ Casuarinaceaeเป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Fagales ประกอบด้วย 3-4 สกุล มี 70 สปีชีส์ มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม เป็นไม้พื้นเมืองของโลกเก่าในเขตร้อนตั้งแต่ อินโด-มลายา ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงเวลาหนึ่ง ทุกสปีชีส์ในวงศ์นี้จัดอยู่ในสกุล Casuarina ทั้งสิ้น ต่อมาระหว่าง..

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์สนทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ส้ม

วงศ์ส้ม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rutaceae) เป็นวงศ์ของของพืชที่ปกติแล้วจะถูกจัดให้อยู่ในอันดับ Sapindales โดยทั่วไปแล้วพืชในวงศ์นี้จะมีดอกที่แบ่งออกเป็น 4 หรือ 5 ส่วน ปกติจะมีกลิ่นแรง ลักษณะของต้นมีตั้งแต่ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไปจนถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สกุลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากที่สุดคือ Citrus ซึ่งมีทั้งส้ม (C. sinensis) เลมอน (C. x limon) เกรปฟรุต (C. x paradisi) และมะนาว (มีหลายชนิด ส่วนใหญ่จะเป็น C. aurantifolia หรือ Key lime) Boronia เป็นสกุลใหญ่จากออสเตรเลีย สมาชิกบางชนิดของสกุลนี้มีดอกที่มีกลิ่นหอมมากและใช้ในการผลิตน้ำมันหอมระเหยเชิงพาณิชย์ ส่วนสกุลใหญ่สกุลอื่นๆคือ Zanthoxylum และ Agathosma.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ส้ม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ส้าน

วงศ์ส้าน หรือ Dilleniaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก พืชในวงศ์นี้ที่ใช้แต่งสวนอยู่ในสกุล Hibbertia ซึ่งมีสปีชีส์ที่เป็นที่รู้จักทางการค้าจำนวนมาก ในระบบ APG II ใน..

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ส้าน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หญ้าข้าวก่ำ

วงศ์หญ้าข้าวก่ำ หรือ Burmanniaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกประมาณ 100 ชนิด มีสมาชิกของวงศ์นี้ที่เป็นพืชอาศัยซาก ในระบบ APG II จัดให้อยู่ในอันดับ Dioscoreales ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และได้รวมวงศ์ Thismiaceae เข้ามาด้วย ภายในวงศ์แบ่งเป็นเคลดดังนี้: Burmanniaceae อย่างแ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์หญ้าข้าวก่ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หญ้างวงช้าง

วงศ์หญ้างวงช้าง หรือ Boraginaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีไม้พุ่ม ไม้ยืนต้นและไม้ล้มลุก สมาชิกมีประมาณ 2,000 สปีชีส์ใน 146 สกุลทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์หญ้างวงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หนอนตายหยาก

วงศ์หนอนตายหยาก หรือ Stemonaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในอันดับ Pandanales ประกอบด้วยสกุล 4 สกุล มีสมาชิกประมาณ 25-35 สปีชีส์กระจายในพื้นที่ตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงเขตร้อนของออสเตรเลีย มีบางสปีชีส์เป็นพืชพื้นเมืองในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์หนอนตายหยาก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หน่อไม้ฝรั่ง

วงศ์หน่อไม้ฝรั่ง หรือ Asparagaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Asparagales และเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ในระบบการจัดจำแนกก่อนหน้านี้ สปีชีส์ในวงศ์นี้เคยจัดอยู่ในวงศ์ Liliaceae ระบบ APG II ได้จัดให้มีการจัดจำแนกของวงศ์นี้เป็นสองระดับ คือ: Asparagaceae sensu lato (อย่างกว้าง) โดยรวมวงศ์อื่นอีกเจ็ดวงศ์เข้ามา หรือ Asparagaceae sensu stricto (อย่างแคบ) ประกอบด้วยไม่กี่สกุล (โดยเฉพาะ Asparagus, และ Hemiphylacus) ในระบบ APG III จะมีแต่อย่างกว้างเท่านั้น โดยประกอบด้วยวงศ์ย่อยจำนวน 7 วงศ์ย่อย ซึ่งมาจากวงศ์เดิมที่รวมกันเข้าเป็นวงศ์นี้ ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์หน่อไม้ฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์อบเชย

''Cassytha filiformis'' ใบของ ''Cinnamomum tamala'' Lindera triloba'' วงศ์อบเชย หรือ Lauraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกมากกว่า 3000 สปีชีส์ใน 50 สกุล ส่วนใหญ่พบในเขตอบอุ่นและเขตร้อน โดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอเมริกาใต้ เป็นไม้ไม่ผลัดใบและมีกลิ่นหอม แต่มีบางสกุล เช่น Sassafras เป็นพืชผลัดใบและ Cassytha เป็นสกุลของพืชเบียน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์อบเชย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์องุ่น

วงศ์องุ่นหรือ Vitaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกโดยมีสมาชิกที่สำคัญคือองุ่น และParthenocissus quinquefolia ชื่อของวงศ์ตั้งตามชื่อสกุลVitis บางครั้งเรียกวงศ์นี้ว่า Vitidaceae แต่ชื่อ Vitaceae เป็นชื่อดั้งเดิมและนิยมใช้มากกว่า บางแห่งจะใช้ Ampelidaceae ซึ่งหมายถึงวงศ์องุ่นเช่นเดียวกัน ความสัมพันธ์ของพืชในวงศ์องุ่นยังไม่ชัดเจน และยังไม่พบความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด ในระบบของ Cronquist จัดให้วงศ์นี้มีความใกล้ชิดกับวงศ์ Rhamnaceae ในอันดับRhamnales ในขณะที่ระบบของAngiosperm Phylogeny Group (APG).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์องุ่น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผกากรอง

วงศ์ผกากรอง หรือ Verbenaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่มและไม้ล้มลุก มีดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก มีกลิ่น (2001-): -. Version 9, June 2008.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผกากรอง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักบุ้ง

''Jacquemontia paniculata'' วงศ์ผักบุ้ง หรือConvolvulaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก โดยมีสมาชิกที่โดดเด่นคือ มอร์นิงกลอรี ประกอบด้วย 60 สกุลและมากกว่า 1,650 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุก ไม้เลื้อย ส่วนน้อยเป็นไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักบุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักชี

วงศ์ผักชี หรือ Apiaceae หรือ Umbelliferae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง มีสมาชิกมากกว่า 3,700 สปีชีส์ และ 434 สกุล จัดเป็นวงศ์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 16 ของพืชมีดอกStevens, P.F. (2001 onwards).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักชี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักกาด

วงศ์ผักกาด หรือ Brassicaceae, เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ชื่อวงศ์ตั้งตามชื่อสกุล Brassica วงศ์นี้แต่เดิมใช้ชื่อว่า Cruciferae หมายถึงลักษณะดอกที่มีสี่กลีบ วงศ์นี้ประกอบด้วย 330 สกุล มีสมาชิกประมาณ 3,700 สปีชีส์ สกุลที่ใหญ่ที่สุดคือ Draba (365 สปีชีส์) รองลงไปได้แก่ Cardamine (200 สปีชีส์แต่คำจำกัดความยังมีข้อโต้แย้ง) Erysimum (225 สปีชีส์), Lepidium (230 สปีชีส์) และ Alyssum (195 สปีชีส์) สปีชีส์ในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ Brassica oleracea (กะหล่ำ) Brassica napus (เรปสีด) Raphanus sativus (ผักกาดหัว) Armoracia rusticana (ฮอร์สเรดิช) Arabidopsis thaliana (พืชที่ใช้เป็นแบบจำลองในการศึกษาทางด้านชีวโมเลกุล).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักกาด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักหวาน

Agonandra brasiliensis วงศ์ผักหวาน หรือOpiliaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก บางสกุลเป็นพืชปรสิต สกุลที่ใหญ่ที่สุดคือ Agonandra นอกจากสกุล Anthobolus (ที่เคยอยู่ในวงศ์ Santalaceae) สกุลที่เหลืออยู่ในโลกเก่าทั้งหม.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักหวาน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักควบ

วงศ์ผักควบ หรือ Aponogetonaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Alismatales ประกอบด้วยสกุลเดียวคือ Aponogeton ประกอบด้วยไม้น้ำ40–50 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักควบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักคาวตอง

วงศ์ผักคาวตอง หรือ Saururaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกประกอบด้วย 4 สกุลและ 7 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และอเมริกาเหนือ ในระบบ APG จัดให้อยู่ในอันดับ Piperales ในเคลดmagnoliids.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักคาวตอง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักตบ

วงศ์ผักตบ หรือ Pontederiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ในระบบ APG II และ APG จัดให้อยู่ในอันดับ Commelinales เป็นวงศ์ขนาดเล็กของพืชน้ำ ตัวอย่างเช่น ผักตบไทย, ผักตบชว.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักตบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักปลัง

วงศ์ผักปลัง หรือ Basellaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Caryophyllales ในเคลดพืชใบเลี้ยงคู่แท้, ตามระบบของ Angiosperm Phylogeny Group วงศ์นี้มีสมาชิกประมาณ 24 สปีชีส์ ที่เป็นไม้ล้มลุก แบ่งเป็น 4 สกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักปลัง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักปลาบ

วงศ์ผักปลาบ หรือ Commelinaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก อยู่ในอันดับCommelinales มีสมาชิกประมาณ 650 สปีชีส์ใน 40 สกุล มีความหลากหลายทั้งในโลกเก่าและโลกใหม่ โดยในสกุลเดียวกันจะพบทั้งสองที่ มีรูปร่างที่ผันแปรโดยเฉพาะดอกและช่อดอก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักปลาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักไผ่

วงศ์ผักไผ่ หรือ Polygonaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ชื่อวงศ์ตั้งตามชื่อสกุล Polygonum ใช้เป็นครั้งแรกโดย Antoine Laurent de Jussieu เมื่อปี 1789 ใน Genera Plantarum.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักเบี้ย

วงศ์ผักเบี้ย หรือ Portulacaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกประกอบด้วย 20 สกุล และประมาณ 500 สปีชีส์ มีทั้งไม้ล้มลุกและไม้พุ่ม มีความหลากหลายในซีกโลกใต้ ตั้งแต่แอฟริกา ออสเตรเลีย และอเมริกาใต้ มีลักษณะคล้ายกับวงศ์ Caryophyllaceae ต่างกันที่กลีบเลี้ยงเท่านั้น ระบบ APG II system จัดให้อยู่ในอันดับCaryophyllales ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่แท้แกน และได้ย้ายหลายสกุลไปยังวงศ์ Montiaceae, Didiereaceae, Anacampserotaceae และ Talinaceae ทำให้ในปัจจุบันมีเพียงสกุลเดียวคือ Portulaca.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักเบี้ย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักเบี้ยทะเล

วงศ์ผักเบี้ยทะเล หรือ Aizoaceae หรือ Ficoidaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกมีสมาชิก 135 สกุลและประมาณ 1900 สปีชีส์ พืชบางชนิดในวงศ์นี้มีลักษณะคล้ายก้อนหิน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักเบี้ยทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ผักเสี้ยน

วงศ์ผักเสี้ยน หรือ Cleomaceae เป็นวงศ์ขนาดเล็กของพืชมีดอก อยู่ในอันดับ Brassicales ประกอบด้วย 300 สปีชีส์ใน 10 สกุลหรือประมาณ 150 สปีชีส์ใน 17 สกุลCleomaceae, Zhang Mingli (张明理)1; Gordon C. Tucker2, Harvard.edu, แต่เดิมสกุลเหล่านี้อยู่ในวงศ์ Capparaceaeแต่ถูกแยกออกมาเพราะมีข้อมูลดีเอ็นเอที่แสดงถึงความใกล้เคียงกับวงศ์ Brassicaceae มากกว่า Capparaceae ระบบ APG II ให้ Cleomaceae รวมอยู่ใน BrassicaceaeStevens, P. F. (2001 onwards) Angiosperm Phylogeny Website:.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ผักเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์จันทน์เทศ

วงศ์จันทน์เทศ หรือ Myristicaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่พบในยูเรเชียและอเมริกา พืชในวงศ์นี้ที่รู้จักกันดีที่สุดคือ จันทน์เทศ (Myristica fragrans) มี 20 สกุล 440 สปีชีส์ มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม เป็นไม้ไม่ผลัดใบ กระจายพันธ์ตั้งแต่ บราซิล โคลอมเบีย อินเดีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเกาะนิวกินี ผลของ''Horsfieldia kingii'' ในอินเดีย เมล็ด ''Horsfieldia amygdalina'' ในคุนหมิง.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์จันทน์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์จำปา

วงศ์จำปี หรือ วงศ์จำปา (Magnoliaceae) ลักษณะที่เด่นชัดของวงศ์นี้คือ มีหูใบที่เด่นชัด และจะมีรอยแผลของหูใบตามโคนของใบ (เกิดจากการหลุดร่วงของหูใบ) ชัดเจน พืชในวงศ์นี้แบ่งได้เป็น.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์จำปา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์จิก

''Barringtonia acutangula'' ในกัลกัตตา ประเทศอินเดีย ''Careya arborea'' ในประเทศอินเดีย วงศ์จิก หรือ Lecythidaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้น ประกอบด้วย 20 สกุลและ 250-300 สปีชีส์ เป็นพืชท้องถิ่นในอเมริกาใต้แลมาดากัสการ์ จากการวิเคราะห์ทางชีววิทยาโมเลกุลของ Mori et al. (2007), มี 3 วงศ์ย่อย.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์จิก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ธูปฤๅษี

วงศ์ธูปฤๅษี หรือ Typhaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ระบบ APG II จัดให้วงศ์นี้อยู่ในอันดับ Poales โดยมีสกุลเดียวคือ Typha ต่อมาในระบบ APG III ได้เพิ่มสกุล Sparganium อีกสกุลหนึ่ง ในระบบ Cronquist จัดให้วงศ์นี้อยู่ในอันดับ Typhales ฟอสซิลของพืชวงศ์นี้ พบครั้งแรกในยุคครีตาเชียสตอนปลายBremer, K. (2002).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ธูปฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ถอบแถบ

วงศ์ถอบแถบหรือ Connaraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก มีสมาชิก 16 สกุลและราว 350 สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ถอบแถบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ถั่ว

ืชตระกูลถั่ว เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Fabaceae หรือ Leguminosae เป็นพืชกลุ่มใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจากพืชวงศ์ทานตะวัน (Compositae) และพืชวงศ์กล้วยไม้ มีสมาชิกประมาณ 550 สกุล 18,000 สปีชีส์ พบกระจายไปทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ถั่ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ทานตะวัน

วงศ์ทานตะวัน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Asteraceae หรือ Compositae) จัดเป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางStevens, P. F. (2001 onwards) Angiosperm Phylogeny Website.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ทานตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ขาเขียด

วงศ์ขาเขียด หรือ Alismataceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีสมาชิก 11 สกุล และมี 85 และ 95 สปีชีส์ พบมากในเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือ สมาชชิกส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก และพืชน้ำที่ขึ้นในดินโคลน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ขาเขียด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ขิง

ืชวงศ์ขิง (Zingiberaceae) เป็นพืชที่มีเหง้า มีด้วยกัน 47 สกุล ประมาณ 1,000 ชนิดพืชตระกูลขิงหลายชนิดมีความสำคัญในฐานะเป็นไม้ดอกไม้ประดับ บ้างก็ใช้เป็นเครื่องเทศ หรือยาสมุนไพร พืชสำคัญได้แก่ ขิง ข่า ดาหลา กร.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ขิง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ขนุน

วงศ์ขนุน หรือ Moraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิก 40 สกุลและมีมากกว่า 1000 สปีชีส์ แพร่กระจายในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน มียางสีขาวเหมือนน้ำนม ดอกเป็นดอกช่อและผลเป็นผลรวม พืชในวงศ์นี้ที่รู้จักกันดีได้แก่ มะเดื่อ, บันยัน, สาเก, หม่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ขนุน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ขนุนดิน

วงศ์ขนุนดิน หรือ Balanophoraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่เป็นพืชเบียน ประกอบด้วย 17 สกุลและมีสมาชิกประมาณ 50 สปีชีส์ พบในพื้นที่ชื้น โดยเจริญกับไม้ยืนต้น และจะโผล่ให้เห็นเฉพาะช่อดอก มีดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก ผลเป็นแบบเมล็ดเดียวหรือแบบเปลือกแข็ง ส่วนที่อยู่ใต้ดินยึดกะโฮสต์ มองคล้ายหัวแต่ไม่มีราก พืชเหล่านี้ไม่มีคลอโรฟิลล์ ระบบ APG IIไม่ได้จัดให้วงศ์นี้อยู่ในอันดับใด แต่ในระบบ APG III และ จัดให้อยู่ในอันดับ Santalales (post APG II), ซึ่งงในระบบ Cronquist ได้จัดไว้เช่นกัน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ขนุนดิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ข้าวสารหลวง

วงศ์ข้าวสารหลวง หรือ วงศ์ Myrsinaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกขนาดใหญ่ในอันดับ ประกอบด้วย 35 สกุลและประมาณ 1000 สปีชีส์ แพร่กระจายในเขตอบอุ่นและเขตร้อนตั้งแต่ ยุโรป ไซบีเรีย ญี่ปุ่น เม็กซิโก ฟลอริดา นิวซีแลนด์ อเมริกาใต้ และแอฟริกาใต้ พืชในวงศ์นี้นำไปใช้ปประโยชน์ทางเศรษฐกิจน้อย บางสกุล เช่น Ardisia, Cyclamen, Lysimachia, และ Myrsine ใช้เป็นไม้แต่งสวนโดยเฉพาะ Ardisia crispa และ Myrsine africana Ardisia japonica (ภาษาจีน: 紫金牛; พินอิน: zǐjīn niú) ใช้เป็นสมุนไพรจีน ระบบ APG III ไม่มีวงศ์ข้าวสารหลวง แต่จัดรวมให้อยู่ในวงศ์ Primulaceae ซึ่งมีขนาดใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ข้าวสารหลวง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ข้าวเย็นเหนือ

วงศ์ข้าวเย็นเหนือ หรือSmilacaceaeเป็นวงศ์ของพืชมีดอก รวมอยู่ในวงศ์ Liliaceae แต่เคยแยกเป็นสปีชีส์ต่างหาก ลักษณะที่ต่างจากพืชชนิดอื่นในวงศ์ Liliaceae คือเส้นใบเรียงแบบร่างแห ระบบ APG II ยังจดจำวงศ์นี้และจัดให้อยู่ในอันดับ Liliales ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยว โดยมีสองสกุลคือ Heterosmilax และ Smilax.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ข้าวเย็นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ดอกหรีดเขา

วงศ์ดอกหรีดเขา หรือ Gentianaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่อยู่ในกลุ่มของพืชใบเลี้ยงคู่แท้ ประกอบด้วย 87 สกุลและมากกว่า 1500 สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ดอกหรีดเขา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ดอกดิน

วงศ์ดอกดิน หรือ Orobanchaceaeเป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Lamiales มีสมาชิก 90 สกุล และมากกว่า 2000 สปีชีส์ หลายสกุลในวงศ์นี้เคยยรวมอยู่ในวงศ์ Scrophulariaceae อย่างกว้าง (sensu lato) พบในเขตอบอุ่นของยูเรเชีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ บางส่วนของออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และเขตร้อนของแอฟริก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ดอกดิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ดองดึง

วงศ์ดองดึง หรือ Colchicaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ในระบบ APG III จัดในวงศ์นี้อยู่ในอันดับ Liliales วงศ์นี้ประกอบด้วยพืชล้มลุกราว 100 ชนิดที่มีเหง้าหรือหัวใต้ดินแบบหัวเผือก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ดองดึง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ดาดตะกั่ว

วงศ์ดาดตะกั่ว หรือ Begoniaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกมีสมาชิกประมาณ 1400 สปีชีส์ พบในเขตกึ่งเขตร้อนทั้งโลกเก่าและโลกใหม่ พืชในวงศ์นี้มีสองสกุลคือ Begonia และอีกสกุลหนึ่งคือ Hillebrandia ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นของหมู่เกาะฮาวาย และมีสปีชีส์เดียว สกุล Symbegonia ปัจจุบันถูกลดป็นส่วนหนึ่งของสกุล Begonia ตามข้อมูลทางชีววิทยาโมเลกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ดาดตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์คำแสด

วงศ์คำแสดหรือ Bixaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงคู่ ในระบบ Cronquist จัดอยู่ในอันดับViolales อย่างไรก็ตาม ในการจัดแบบใหม่ ได้ย้ายวงศ์ในอันดับ Violales ไปสู่อันดับMalvales วงศ์คำแสดประกอบด้วย 25 สปีชีส์ แม้ว่าสกุล Cochlospermum บางครั้งจัดอยู่ในวงศ์ของตนเอง คือวงศ์ Cochlospermaceae แม้จะเป็นวงศ์ขนาดเล็ก แต่พืชในวงศ์นี้ก็มีความหลากหลาย ทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก พืชในวงศ์นี้มักมียางสีแดงหรือเหลือง.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์คำแสด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ค่าหด

วงศ์ค่าหด หรือ Juglandaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้น บางส่วนเป็นไม้พุ่มอยู่ในอันดับ Fagales ส่วนใหญ่เป็นพืชท้องถิ่นในทวีปอเมริกา ยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ค่าหด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งา

วงศ์งา เป็นวงศ์ของพืชมีดอกอยู่ในอันดับ Scrophulariales ตามระบบ Cronquist และLamiales ในระบบ APG ซึ่งระบบ Cronquist ได้รวมวงศ์Martyniaceae เข้ามาด้วย แต่การศึกษาทางด้านไฟโลเจเนติกทรีพบว่าไม่มีความใกล้เคียงกัน จึงแยกทั้งสองวงศ์ออกจากกันในระบบ APG ตัวอย่างพืชสำคัญในวงศ์นี้คืองา (Sesamum indicum).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์งา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ตะแบก

วงศ์ตะแบก หรือ Lythraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกมีสมาชิก 620 สปีชีส์ มีไม้พุ่มและไม้ยืนต้น อยู่ใน 31 สกุล สกุลส่วนใหญ่ได้แก่ Cuphea (275 spp.), Lagerstroemia (56), Nesaea (50), Rotala (45), and Lythrum (35).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ตะแบก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ตานเหลือง

วงศ์ตานเหลือง (Ochnaceae) เป็นวงศ์ของพืชที่พบในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อน ส่วนใหญ่พบในอเมริกาใต้ ประกอบด้วย 53 สกุล และ 600 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ตานเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ติ้ว

วงศ์ติ้ว หรือ Hypericaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Malpighiales ประกอบด้วยสกุลต่อไปนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ติ้ว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ตีนเป็ด

วงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Apocynaceae‎) เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ของพืชตระกูล ลั่นทม ลีลาวดี ตีนเป็ด ลักษณะเด่นคือทุกส่วนของต้นพืชมีน้ำยางขาวมี ใบเป็นเดี่ยวติดตรงข้ามหรือติดเป็นวงรอบข้อ ขอบใบเรียบเส้นแขนงใบเป็นร่างแห กลีบดอกเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้มี 5 อันติดบนท่อกลีบดอก มีเกสรเพศเมีย 2 อันเชื่อมติดกัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ รังไข่มี 2 ช่อง ผลเป็นฝักคู่ หรือเดี่ยวแตกตามแนวเดียว เมล็ดมีขนเป็นกระจุกที่ปลาย ในวงศ์นี้เป็นไม้หวงห้าม 4 สกุล คือ สกุลตีนเป็ด สกุลไยลูตง สกุลโมกหลวง และสกุลโมกมัน ไม้ตีนเป็ด จัดเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม..

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ตีนเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ต่างไก่ป่า

วงศ์ต่างไก่ป่าหรือ Polygalaceae (ชื่อพ้อง Diclidantheraceae, Moutabeaceae, Xanthophyllaceae) เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Fabales มีสมาชิก 17 สกุลและ 900–1,000 สปีชีส์ สมาชิกมากกว่าครึ่งหนึ่งอยู่ในสกุล Polygala ในระบบ Cronquist วงศ์นี้อยู่ในอันดับต่างหากคืออันดับ Polygalaceae ส่วนในระบบ APG จัดให้อยู่ในอันดับ Fabales.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ต่างไก่ป่า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปรู๋

''Alangium platanifolium'' พืชชนิดหนึ่งในวงศ์ปรู๋ วงศ์ปรู๋ (Alangiaceae) เป็นวงศ์ขนาดเล็กของพืชดอกมีความใกล้เคียงกับวงศ์ Cornaceae ประกอบด้วยพืชสกุลเดียวคือ Alangium ตามระบบ AGP II วงศ์นี้ถือว่าเป็นชื่อพ้องของวงศ์ Cornaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ปรู๋ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาไหลเผือก

วงศ์ปลาไหลเผือกหรือSimaroubaceae เป็นวงศ์ขนาดเล็ก พบในเขตร้อน อยู่ในอับดับ Sapindales ข้อมูลทางไฟโลเจเนติกทรีที่ตีพิมพ์ใน..

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ปลาไหลเผือก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นมตำเลีย

''Asclepias syriaca'' ''Caralluma acutangula'' ''Leptadenia pyrotechnica'' ''Microloma calycinum'' วงศ์นมตำเลีย หรือ Asclepiadaceae เป็นวงศ์เก่าในระบบ APG II ซึ่งต่อมาได้ลดระดับเป็นวงศ์ย่อยนมตำเลีย ('Asclepiadoideae) ในวงศ์ Apocynaceae (Bruyns, 2000) มีทั้งไม้พุ่ม ไม้เลื้อย ส่วนไม้ยืนต้นพบน้อย จัดอยู่ในอันดับ Gentianales ชื่อวงศ์ตั้งตามสกุล Asclepias (milkweeds) มี 348 สกุล ประมาณ 2,900 สปีชีส์ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อนของแอฟริกาและอเมริกาใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์นมตำเลีย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์น้ำใจใคร่

วงศ์น้ำใจใคร่ หรือOlacaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Santalales ระบบ APG และ APG II จัดให้อยู่ในอันดับSantalalesValéry Malécot and Daniel L. Nickrent.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์น้ำใจใคร่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์แคหางค่าง

วงศ์แคหางค่าง หรือ วงศ์ไม้ปีบ (ชื่อวิทยาศาสตร์:Bignoniaceae) เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ของพืชในตระกูล ปีบ เพกา แคสันติสุข แคแสด ศรีตรัง ชมพูพันธุ์ทิพย์ เหลืองปรีดียาธร ลักษณะเด่นคือ สัณฐานดอกลักษณะปากแตร ส่วนลักษณะเด่นอื่น ๆ ใบเดี่ยวติดเป็นวงรอบข้อ หรือใบประกอบติดตรงข้ามแต่ละคู่ตั้งฉากกัน ใบด้านล่างมีต่อม ดอกใหญ่บานเด่นชัด เกสรเพศผู้มี 4 อัน สั้น 2 ยาว 2 มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 1 อัน ผลแห้งแตก แข็ง ผิวเรียบ เมล็ดมีปีก และมีจำนวนมาก เดิมทีวงศ์แคหางค่างอยู่ในอันดับ Scrophulariales แต่ภายหลังยุบรวม อันดับ Scrophulariales เข้ากับอันดับกะเพรา (Lamiales) จึงทำให้วงศ์แคหางค่างถูกจัดอยู่ในอันดับแลเมียลิส ไปด้วยโดยปร.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์แคหางค่าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์แตง

ืชในวงศ์แตง (Cucurbitaceae) ประกอบไปด้วยพืชจำพวกสควอช, เมล่อน, และบวบ และยังรวมถึงพืชที่เพาะปลูกกันอย่าง แตงกวา, ฟักทอง, และแตงโมด้วย พืชวงศ์นี้ ส่วนมากกระจายพันธุ์ในเขตร้อนทั้งในเขตโลกเก่าและโลกใหม่ พืชวงศ์แตงมีประมาณ 125 สกุล 960 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ส่วนมากเป็นพืชเถาปีเดียว แต่สามารถเป็นไม้เถาเนื้อแข็ง, ไม้พุ่มมีหนาม, และต้นไม้ (Dendrosicyos) หลายชนิดมีดอกขนาดใหญ่สีขาวหรือเหลือง ลำต้นเป็นห้าเหลี่ยม มีขน มือจับทำมุม 90° กับก้านใบตรงข้อ ใบไร้หูใบสลับใบแฉกเหมือนนิ้วมือหรือใบประกอบแผ่เหมือนนิ้วมือ ดอกมีเพศเดียวอยู่ต่างต้น (dioecious) หรือต้นเดียวกัน (monoecious) ดอกเพศเมียมีรังไข่ใต้วงกลีบ ผลมีเนื้อหลายเมล็ดแบบแตง.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์แตง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์โกงกาง

วงศ์โกงกาง หรือ Rhizophoraceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกเขตร้อน ส่วนใหญ่เป็นไม้ในป่าชายเลน พบทั้งสิ้น 149 สปีชีส์ มี 16 สกุล มักเป็นพืชพื้นเมืองในโลกเก่า ส่วนใหญ่เป็นพืชมีเนื้อไม้ มีดอก และมีกลีบดอก 5 กลีบ ปัจจุบันอยู่ในอันดับ Malpighiales แต่ใน Cronquist systemจะอยู่ในอันดับ Rhizophorales.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์โกงกาง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์โคกกระสุน

วงศ์โคกกระสุน เป็นวงศ์ของพืชดอกที่มีอยู่ราว 250 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์โคกกระสุน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์โคลงเคลง

วงศ์โคลงเคลง เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ จำพวก โคลงเคลง จุกนารี และแปร้น้ำเงิน ซึ่งมีลักษณะเด่นคือ ใบเป็นใบเดี่ยวติดตรงข้าม กลีบดอกเด่นชัด รังไข่เชื่อมติดกับฐานดอก มีระยางค์ยื่นออกมาตรงโคนอับเรณู.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์โคลงเคลง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์โคคา

วงศ์โคคา หรือ Erythroxylaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ประกอบด้วยสมาชิก 4 สกุลและประมาณ 240 สปีชีส์ พืชที่เป็นที่รู้จักดีของวงศ์นี้คือโคคา ซึ่งใช้ผลิตสารเสพติดที่เรียกโคเคน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์โคคา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์โนรา

วงศ์โนรา หรือ Malpighiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Malpighiales ประกอบด้วย 75 สกุลและ 1300 สปีชีส์ ส่วนใหญ่พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ประมาณ 80% ของสกุลและ 90% ของสปีชีส์พบในโลกใหม่ ทะเลแคริบเบียนและทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ไปจนถึงอาร์เจนตินา ส่วนที่เหลือพบในโลกเก่า ได้แก่ แอฟริกา มาดากัสการ์ และแถบอินโดมลายา ไปจนถึงออสเตรเลียและฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์โนรา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ไก่ฟ้า

วงศ์ไก่ฟ้า หรือ Aristolochiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 7 สกุลมีสมาชิกประมาณ 400อยู่ในอันดับ Piperales สกุลหลักคือ Aristolochia L.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์ไก่ฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เล็บครุฑ

วงศ์เล็บครุฑ หรือ Araliaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 254 สปีชีส์ มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก แบ่งเป็น 2 วงศ์ย่อย ใบมักเป็นใบประกอบรูปฝ่ามือ ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กอยู่ในช่อขนาดใหญแบบพานิเคิล ไฟล์:Scheflera1.jpg|Schefflera arboricola ไฟล์:Oplopanax horridus0.jpg|(Oplopanax horridus) ไฟล์:Eleutherococcus-sieboldianus.JPG|Eleutherococcus sieboldianus ไฟล์::Starr 070515-7041 Osmoxylon lineare.jpg|Osmoxylon lineare ไฟล์::Illustration Hydrocotyle vulgaris0.jpg|(Hydrocotyle vulgaris) ไฟล์:Starr_010419-0021_Hedera_helix.jpg|Hedera helix ไฟล์:Aralia spinosa, Georgia, USA.jpg|Aralia spinosa ไฟล์:Starr 070515-7041 Osmoxylon lineare.jpg|Osmoxylon lineare.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เล็บครุฑ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เหมือดคน

วงศ์เหมือดคนหรือ Proteaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่กระจายพันธุ์ในซีกโลกใต้ มีสมาชิกประมาณ 80 สกุลและประมาณ1,600 สปีชีส์ อยู่ในอันดับProtealesเช่นเดียวกับวงศ์ Platanaceae และ Nelumbonaceae สกุลที่เป็นที่รู้จักทั่วไปได้แก่ Protea, Banksia, Embothrium, Grevillea, Hakea, Dryandra และ Macadamia.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เหมือดคน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เหงือกปลาหมอ

วงศ์เหงือกปลาหมอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acanthaceae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้วงศ์หนึ่ง เป็นพืชดอกมีใบเลี้ยงคู่ มีประมาณ 250 สกุลและ 2500 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เหงือกปลาหมอ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เอื้องหมายนา

วงศ์เอื้องหมายนา หรือ Costaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในอันดับ Zingiberales มีสมาชิก 7 สกุล และประมาณ 100 สปีชีส์ (1 ใน Monocostus, 2 ใน Dimerocostus, 16 ใน Tapeinochilos, 2 ใน Paracostus, ประมาณ 8ใน Chamaecostus, ประมาณ 4 ใน Cheilocostus, ประมาณ 80 ใน Costus) พบในเขตร้อนของเอเชีย แอฟริกาและอเมริกาใต้ ''Costus speciosus''.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เอื้องหมายนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เอี้ยบ๊วย

วงศ์เอี้ยบ๊วย หรือMyricaceae เป็นวงศ์ขนาดเล็กของพืชใบเลี้ยงคู่ในอันดับFagales มีสามสกุล แต่นักพฤกษศาสตร์บางคนได้แยกสกุลMyrica ออกเป็นสกุลที่สี่คือสกุล Morella.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เอี้ยบ๊วย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เจตมูลเพลิง

ในอินเดีย ''Dyerophytum africanum'' ในนามิเบีย วงศ์เจตมูลเพลิง หรือ Plumbaginaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ผสมเกสรด้วยแมลง พบทั้งในเขตร้อน ชายฝั่งทะเล ดินเค็ม ระบบ APG II จัดให้อยู่ในอันดับ Caryophyllales ในเคลด พืชใบเลี้ยงคู่แท้ ประกอบด้วย 24 สกุลและมีสมาชิกราว 800 สปีชีส์ ส่วนการจัดจำแนกตามระบบ Cronquist จัดให้อยู่ในอันดับ Plumbaginales ส่วนในระบบ Dahlgren ได้แยกพืชในสกุลนี้บางตัวไปอยู่ในวงศ์ Limoniaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เจตมูลเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เทียนดอก

วงศ์เทียนดอก หรือ Balsaminaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 2 สกุลและมากกว่า 850 สปีชีส์ โดยสกุลที่สำคัญคือสกุล Impatiens มีทั้งพืชฤดูเดียวและพืชหลายฤดู พบทั้งในอเมริกาเหนือ เอเชีย ยุโรป และแอฟริก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เทียนดอก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เทียนเกล็ดหอย

วงศ์เทียนเกล็ดหอย หรือ Plantaginaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Lamiales สกุลหลักคือ Plantago ส่วนการจัดจำแนกในระบบเก่า จัดให้อยู่ในอันดับ Plantaginales.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เทียนเกล็ดหอย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เข็ม

วงศ์เข็ม หรือ Rubiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกเป็นพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น ต้นกาแฟ (Coffea), ต้นควินิน (Cinchona), และสกุล Uncaria Carapichea ipecacuanha และพืชที่มีความสำคัญทางการจัดสวนได้แก่ สกุลRubia Ixora Mitchella Morinda, Gardenia และ Pentas สมาชิกส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อน ปัจจุบันประกอบด้วย 611 สกุลและมากกว่า 13,000 สปีชีส์Stevens, P. F. (2001 onwards).

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เข็ม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เงาะ

วงศ์เงาะ หรือ วงศ์ไม้ลำไย (Sapindaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกในอันดับ Sapindales มีอยู่ประมาณ 140-150 สกุล หรือ 1400-2000 ชนิด เช่น เมเปิล Horse chestnut และลิ้นจี่ สมาชิกของวงศ์ Sapindaceae พบได้ในภูมิภาคเขตอบอุ่นไปจนถึงเขตร้อนทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เงาะ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เตยทะเล

วงศ์เตยทะเล หรือ Pandanaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่พบในเขตร้อนของโลกเก่า พืชในวงศ์นี้เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้เลื้อย พบตามระดับน้ำทะเลตามชายหาด ไปจนถึงภูเขาระดับป่าเมฆ ผลมีเมล็ดเดียว ระบบ APG II ใน..

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เตยทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เน่าใน

วงศ์เน่าในหรือ Aquifoliaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่แท้ มีสมาชิกเหลืออยู่เพียงสกุลเดียวคือสกุล Ilex.

ใหม่!!: พืชดอกและวงศ์เน่าใน · ดูเพิ่มเติม »

ว่านชักมดลูก

ว่านชักมดลูก เป็นพืชในวงศ์ขิง ลำต้นตั้งตรง แตกหน่อมาก เหง้ามีใบเกล็ดที่แก่และแห้งหุ้มเป็นวง เหง้าสีออกเหลืองหรือน้ำตาลอมส้มหรือแดง เหง้าแก่เปลี่ยนเป็นสีออกเทา เนื้อเหง้าสีส้มเข้มหรือแดงเข้ม ส่วนที่อ่อนสีจะจางลง กาบใบเรียงซ้อนเป็นลำต้นเทียม ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม กลางใบเป็นแถบสีน้ำตาลอมแดง ผิวใบด้านล่างสีเขียวน้ำทะเลหรือเขียวอ่อน ดอกช่อแบบเชิงลด ทรงกระบอก ริ้วประดับเรียงเวียน แต่ละริ้วมีกลีบย่อยอยู่ภายในซอก ริ้วประดับสีม่วง ดอกย่อยสีออกเหลือง ลักษณะลำต้นโดยทั่วไปคล้ายขมิ้นอ้อย ถิ่นกำเนิดอยู่ในเกาะบาหลี เกาะชวา กระจายพันธุ์มาจนถึงมาเลเซีย ไทย และอินเดีย เหง้าสีเหลืองเข้ม กลิ่นฉุนและขม สกัดแป้งออกมาโดยใช้การขูดกับตะแกรงและล้างแป้งจนหมดกลิ่น แป้งที่ได้นิยมใช้ทำพุดดิ้งและโจ๊ก ในชวา นำเหง้าแห้งที่หั่นเป็นชิ้นบางๆไปต้ม เติมน้ำตาล ทำเป็นเครื่องดื่มรสหวาน ส่วนอ่อนของลำต้น เหง้า และช่อดอกอ่อนนำมารับประทานเป็นผักได้ เหง้าให้สีย้อมสีเหลือง และเป็นยาสมุนไพร น้ำสกัดจากเหง้าใช้รักษาโรคตับ แก้ไข้ อาหารไม่ย่อย ปวดตามข้อ ใช้เป็นยาบำรุงหลังคลอดบุตร ในเหง้าแห้งมีคูเคอร์มิน 1-4% เมื่ออ่อนสารนี้มีมากกว่าแป้ง แป้งจะมีมากที่สุดในเหง้าโตเต็มที.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านชักมดลูก · ดูเพิ่มเติม »

ว่านพระฉิม

ว่านพระฉิม หรือ แผ่นดินเย็น, บัวสันโดษ เป็นพืชมีดอกในวงศ์กล้วยไม้ ใบบาง เกลี้ยง เป็นรูปหัวใจหรือเกือบกลม บางชนิดมีจุดประสีม่วงเป็นแถวกลางใบ ดอกช่อ ก้านตรง ดอกในช่ออยู่ห่างกัน พบกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และ ออสเตรเลีย ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านพระฉิม · ดูเพิ่มเติม »

ว่านกาบหอย

ว่านกาบหอย เป็นพืชในวงศ์ Commelinaceae แตกพุ่มเป็นกอแน่น นิยมปลูกเป็นพืชคลุมดิน ใบเดี่ยวรูปหอก โคนใบเป็นกาบหุ้มลำต้น ใบด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีม่วงอมแดง ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวนวล มีกาบหุ้มสองอันรองรับช่อดอก รูปร่างคล้ายเรือหรือเปลือกหอยสีม่วงอมเขียว ผลรูปรีแก่แล้วแตก เมล็ดขนาดเล็ก เป็นพืชทนแล้งได้ดี ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านกาบหอย · ดูเพิ่มเติม »

ว่านมหาบัว

ว่านมหาบัว อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae เป็นไม้ล้มลุก มีลำต้นและหัวใต้ดินแบบหัวหอม ใบเดี่ยวรูปหอก แผ่นใบหนา ดอกช่อ สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านมหาบัว · ดูเพิ่มเติม »

ว่านมหากาฬ

ว่านมหากาฬ var.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านมหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านมหาลาภ

ว่านมหาลาภ อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอกวาดอร์และเปรู ได้นำมาปลูกในยุโรปเพื่อใช้เป็นไม้ประดับ เป็นไม้ล้มลุกมีลำต้นใต้ดินคล้ายหัวหอม ใบเดี่ยวรูปหอกกว้าง ดอกช่อ ออกตามซอกใบ กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ดอกสีแดง เกสรสีส้ม ปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านมหาลาภ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านมหาเมฆ

ว่านมหาเมฆ อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในหัวมีทั้งขาว เหลือง เขียวและดำ ใบเดี่ยว กลางใบมีสีแดงเป็นเส้น หัวสดโขลกผสมเหล้าขาว ใช้แก้ปวดท้อง จุกเสี.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านมหาเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านสามพันตึง

ว่านสามพันตึง หรือว่านพระฉิม หรือ มันขมิ้น บางท้องที่เรียก มันเหน็บ มันอีโม้ เป็นพืชในวงศ์กลอย ภาษาสันสกฤตเรียกว่า Varahi ภาษามาลายาลัมเรียก Kaachil และภาษามราฐีเรียก Dukkar Kand เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาและเอเชีย เป็นพืชรุกรานในฟลอริดา เป็นไม้เลื้อย ดอกแยกเพศแยกต้น มีทั้งหัวบนดินและใต้ดิน หัวใต้ดินแข็ง อยู่ได้นาน และมีการสะสมของลิกนิน หัวเกิดบริเวณผิวดิน รูปกลมหรือเหมือนลูกแพร์ มีขนปกคลุม หัวบนดินออกตามกิ่ง กลมหรือเป็นรูปไต เปลือกเรียบสีน้ำตาล เนื้อสีเหลืองอ่อน ใช้ลำต้นเลื้อยพัน เหนียว ใบเดี่ยวรูปหัวใจ ส่วนลำต้นไม่มีขน ไม่มีปีกและหนาม เลื้อยพันไปทางซ้าย ผิวใบด้านบนเป็นมัน เป็นถุงเล็กน้อยระหว่างเส้นใบ มีนวลสีน้ำเงิน หัวขนาดเล็กมีปุ่มปม หัวขนาดใหญ่ผิวเรียบ หรือเป็นเหลี่ยม เนื้อของหัวสีเหลืองอ่อนหรือเหลือบม่วง ทำปฏิกิริยากับอากาศได้เป็นสีส้ม เป็นเมือกมาก ช่อดอกตัวผู้ห้อยลง สีเขียวแกมชมพูหรือขาว ช่อดอกตัวเมียห้อยลง ผลยาวรี มีปีก สีน้ำตาลเป็นมัน เมล็ดมีปีก.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านสามพันตึง · ดูเพิ่มเติม »

ว่านหัวสืบ

ว่านหัวสืบ D. Don เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Colchicaceae มีเหง้าใต้ดิน รากสด ลำต้นแตกกิ่ง ใบเรียงเวียน ปลายใบแหลมยาว ช่อดอกแบบช่อซี่ร่มออกตามกิ่งด้านข้างตรงข้ามใบ ก้านช่อสั้น ก้านดอกมีริ้วและปุ่มกระจาย ดอกรูปคล้ายระฆัง สีชมพูอมแดงหรือม่วง กลีบรวม 6 กลีบ แยกกัน โคนมีเดือยทรงกระบอก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบรวมก้านชูอับเรณูแบน ก้านแกสรเพศเมียเรียวยาวแยกเป็น 3 แฉก บานออก ผลสด ทรงกลม สุกสีดำ ส่วนมากมี 2 เมล็ด พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ไทย ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา หัวใต้ดินนำไปตากแห้ง แช่น้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านหัวสืบ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านหาวนอน

ว่านหาวนอน หรือ ว่านทิพยเนตร (blackhorm:; ในภาษากันนาดา: Nela Sampige) อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ส้มลุก มีเหง้าใต้ดิน สีน้ำตาล ผ่าออกเนื้อในสีขาว มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว สีเขียวอ่อน หลังใบมีลายม่วงสลับเขียว ดอกสีม่วงอ่อน ออกเป็นช่อสั้นจากเหง้าใต้ดิน ออกดอกแล้วจึงแตกใบ กระจายพันธุ์ในอินเดีย ศรีลังกา จีน และ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ พบตามภูเขาหินปูนทุ่งหญ้าเปิดหรือพื้นที่เปิดโล่ง ของป่าผลัดใบ หัวใต้ดินใช้ต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง ในดอกมีสารพิษ benzyl benzoate ใช้ทำยาทารักษาหิด มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ชาวม้งในไทยนำไปต้มกับไก่ให้มีรสเผ็ด ต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง กินสดก่อนอาหารแก้ปวดท้อง ใช้เป็นไม้ประดับ ใช้เป็นยารักษาโรคตาแดง ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่ามีฤทธิ์ทางเมตตามหานิยมและคงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านหาวนอน · ดูเพิ่มเติม »

ว่านหางช้าง

ว่านหางช้าง เป็นพืชล้มลุก ในวงศ์ IRIDACEAE ป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีลำต้นใต้ดินและรากมาก ใบเดี่ยว ออกหนาแน่นที่โคนต้น ใบส่วนบนมักมีขนาดเล็ก แผ่นใบรูปดาบ โคนเป็นกาบ ดอกออกเป็นช่อ ดอกด้านนอกสีเหลือง ขอบกลีบและด้านในสีส้ม มีประสีแดงเข้ม ผลมีสามพู เปลือกบาง แก่แล้วแตกเป็นสามซีก เมล็ดสีดำ ผิวเป็นมัน เป็นไม้ประดับ ใช้เป็นยาขับลม ขับเสมหะ ใบใช้ต้มเป็นยาระบาย แก้ระดูพิการ ใบ ดอก ต้น และราก มีฤทธิ์แก้คุณไสย พืชที่ใกล้เคียงกับว่านหางช้างคือว่านดาบนารายณ์ โดยว่านหางช้างมีดอกและใบเล็กกว่า และว่านดาบนารายณ์ไม่มีฤทธิ์เป็น.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านหางช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ว่านหางจระเข้

ว่านหางจระเข้ เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ จัดอยู่ในตระกูลลิเลี่ยม (Lilium) แหล่งกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและบริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกา พันธุ์ของว่านหางจระเข้มีมากมายกว่า 300 ชนิด ซึ่งมีทั้งพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่มากจนไปถึงพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 เซนติเมตร ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลมคล้ายกับเข็ม เนื้อหนา และเนื้อในมีน้ำเมือกเหนียว ว่านหางจระเข้ผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน เช่น เหลือง ขาว และแดง เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของมัน คำว่า "อะโล" (Aloe) เป็นภาษากรีซโบราณ หมายถึงว่านหางจระเข้ ซึ่งแผลงมาจากคำว่า "Allal" มีความหมายว่า ฝาดหรือขม ในภาษายิว ฉะนั้นเมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้ ก็จะทำให้นึกถึงว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้เดิมเป็นพืชที่ขึ้นในเขตร้อนต่อมาได้ถูกนำไปแพร่พันธุ์ในยุโรปและเอเชีย และทุกวันนี้ทั่วโลกกำลังเกิดกระแสนิยมว่านหางจระเข้กันเป็นการใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านหางจระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านหงส์เหิร

ว่านหงส์เหิร เป็นพืชในวงศ์ Coriariaceae เป็นไม้พุ่ม ลำต้นสูงชะลูด มีใบสลับระนาบเดียวบนกิ่งสั้นๆที่เกิดในแนวข้าง ดอกช่อขนาดเล็ก ผลสีม่วงเข้ม ฉ่ำน้ำ มีถิ่นกำเนิดในเทือกเขาแอนดีส ประเทศเอกวาดอร์ มีสารออกฤทธิ์หลายชนิด เช่น เซสคิวเทอร์พีน ซูโคตูตีน ทำให้เกิดอาการประสาทหลอน รู้สึกเหมือนจะบินไปในอากาศได้คล้ายนก พืชนี้มักจะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นบลูเบอร์รี แต่ผลของพืชชนิดมีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านหงส์เหิร · ดูเพิ่มเติม »

ว่านอ้ายใบ้

ว่านอ้ายใบ้ เป็นพืชในสกุลสาวน้อยประแป้ง วงศ์ Araceae ในสมัยก่อนนักเลงและนักมวยเชื่อว่าว่านชนิดนี้ทำให้คงกระพัน ชกมวยแล้วไม่เกิดแผลแตก โดยจะนำว่านส่วนลำต้นมาห่อด้วยมะขามเปียกแล้วกลืนลงไป ทำให้มีอาการชาตามผิวหน้า แขน ขา คอบวม ลิ้นคับปาก พูดไม่ได้ เมื่อใช้มีดฟันจะเกิดรอยช้ำหรือเป็นรอยแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านอ้ายใบ้ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านจูงนาง

ว่านจูงนาง หรือ ว่านเขียด (ภาคเหนือ) หรือ อึ่งเปราะ Griff.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านจูงนาง · ดูเพิ่มเติม »

ว่านทรหด

ว่านทรหด อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae ลำต้นเป็นหัวอยู่ใต้ดิน เปลือกเหง้าสีขาวอมเหลือง เนื้อในสีขาว กลิ่นหอมเปรี้ยว ใบเดี่ยว ผิวใบนูนเป็นสันเล็กน้อยตามแนวเส้นใบ ดอกช่อ ทรงกระบอก แทงช่อขึ้นมาจากหัวใต้ดิน ดอกย่อยสีขาวนวล กลีบปากสีเหลือง ริ้วประดับสีขาว มีแต้มชมพู โดยอันที่อยู่บนสุดมีแต้มใหญ่กว่าอันข้างล่าง ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่ามีฤทธิ์ทางคงกระพันชาตรี หน้า 38 เป็นพืชท้องถิ่นในไทย มาเลเซีย อินโดนีเซียQu, Y., et al.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านทรหด · ดูเพิ่มเติม »

ว่านดอกสามสี

ว่านดอกสามสี เป็นพืชเบียนในวงศ์ดอกดิน เป็นพืชปีเดียว ขึ้นบนรากของพืชชนิดอื่น ลำต้นขนาดเล็กอยู่ใต้ดิน ดอกเดี่ยว กลีบสีม่วงเข้ม บานอยู่ได้ 2-3 วันจึงเริ่มโรย ผลเป็นฝัก แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม–ตุลาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยโดยหมอคาร์ ชาวไอริชที่จังหวัดน่าน เมื่อ 22 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและว่านดอกสามสี · ดูเพิ่มเติม »

ว่านดาบนารายณ์

ว่านดาบนารายณ์ หรือว่านกำแพง ว่านไชยมงคล อยู่ในวงศ์ Iridaceae เป็นไม้ล้มลุกมีเหง้าใต้ดิน ใบเดี่ยว เรียงซ้อนกันเป็นแผง ใบสีเขียวเป็นมัน กลางใบนูนเป็นเส้น ดอกช่อออกตามซอกใบ ดอกสีขาว เป็นพืชท้องถิ่นในบราซิล เป็นพืชที่ขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ มีลักษณะคล้ายว่านหางช้าง แต่ใบสีเขียวเข้มกว่า ดอกโตกว่า ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าช่วยป้องกันคุณไสย ลมเพลมพัดได้.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านดาบนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านงาช้าง

ว่านงาช้าง เป็นพืชในวงศ์ Agavaceae เป็นไม้ล้มลุก มีลำต้นใต้ดิน ไม่มีใบ ลำต้นสีเขียวโผล่ขึ้นจากดิน รูปร่างเหมือนงาช้าง ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว มีกลิ่นหอม ลำต้นนำมาตำหรือหั่นเป็นแว่นผสมสุรา กินแก้ลมตีขึ้น น้ำคั้นจากรากใช้แก้พยาธิ ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าปลูกไว้ป้องกันภัยร้.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านงาช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ว่านงูเห่า

ว่านงูเห่า อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดินทรงกระบอกเป็นไหลยาว เหง้าทอดเลื้อยด้านนอกสีเหลือง ข้างในสีขาว มีหัวสะสมอาหารขนาดเล็กออกตามข้อ กลิ่นฉุน ใบเดี่ยว ใบรูปไข่หรือแกมรูปขนาน ยาวประมาณ 25-60 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

ว่านตะขาบ

ว่านตะขาบ (F.v.Muell.) Meissn.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านตะขาบ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านนกคุ่ม

ว่านนกคุ่ม เป็นพืชในวงศ์ Araceae เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ ตั้งต้นตรง ลำต้นขนาดใหญ่ สะสมแป้ง น้ำยางใสหรือขุ่น มีกลิ่นฉุน เหง้าแตกแขนง ก้านใบติดตรงกลาง แผ่นใบรูปหัวใจ มีรอยหยักเว้าตื้นๆ ชอบขึ้นในที่โล่งแจ้งและชื้นแฉะ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ หัว หัวย่อยและลำต้นใช้เป็นอาหารสัตว์ หรือรับประทานเป็นผัก ในจีนใช้เป็นยาสมุนไพร ใช้ทาภายนอกแก้งูกัด แก้ปวดBoyce, P. C. (2008).

ใหม่!!: พืชดอกและว่านนกคุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ว่านนางคำ

ว่านนางคำ เป็นพืชในวงศ์ขิง มีเหง้าขนาดใหญ่ หัวทรงกระบอก มีสีเหลืองทั้งข้างนอกและข้างในใบรูปใบหอก ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียดปกคลุม ช่อดอกอยู่แยกจากต้น แทงช่อดอกออกจากเหง้าก่อนแตกใบ ดอกช่อแบบช่อเชิงลด ดอกสั้นกว่าริ้วประดับ ริ้วประดับสีเขียวอ่อน ส่วนปลายสีชมพู กลีบดอกสีขาวแกมชมพู เกสรตัวผู้ฝ่อ สีเหลืองเข้ม กลีบปากรูปกลม กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีปลูกในอินเดียแถบเชิงเขาหิมาลัย ศรีลังกา มีพบในอินโดจีน ญี่ปุ่น ว่านนางคำใช้ผลิตแป้ง สีย้อม เครื่องสำอางและยา ดอกมีกลิ่นหอม เหง้าสดและหัวมีกลิ่นหอม ใช้รักษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ใช้เป็นไม้ประดับ มีน้ำมันหอมระเหยหลายชนิด มีสารกลุ่ม curcuminoids ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ เป็นยาสมุนไพร เพื่อลดกรด ขับลม ตำรายาจีนใช้เป็นยาฆ่าเชื้อ นอกจากนั้น ยังมีผู้ใช้ว่านนางคำในรูปผงแห้งเป็นยาบำรุงผิวเพื่อเสริมความงาม และยากันยุงด้วย ขยายพันธุ์โดยการแยกหัวไปปลูก ในจีนเรียกพืชชนิดนี้ว่ายวี่จิน (ภาษาจีนกลาง) หรืออิกกิม (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) รากเป็นยากระตุ้นการหมุนเวียนของเลือด ระงับปว.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านนางคำ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านนางคุ้ม

ว่านนางคุ้ม หรือ ว่านผู้เฒ่าเฝ้าบ้าน หรือ ว่านนกคุ้ม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Proiphys amboinensis; อังกฤษ: Cardwell lily, Northern christmas lily) เป็นพืชในกลุ่มว่านมีหัวใต้ดินลักษณะคล้ายหอมหัวใหญ่ เปลือกสีเหลือง เนื้อในขาวขุ่นหรือเหลืองอมขาว ใบกลมใหญ่หนาสีเขียว ปลายใบเป็นคลื่นเล็กน้อย มีลายสีขาวเทาสลับสีเขียวเป็นระยะตลอดทั้งใบ ก้านใบยาวสีเขียวแก่ ดอกออกเป็นช่อจากกลางกอ ก้านดอกเป็นแท่งสูงตรง ดอกช่อ สีม่วงปนขาว ดอกประกอบด้วยกลีบ 6 กลีบ เกสรสีเหลือง มีกลิ่นหอม ขยายพันธุ์โดยการแยกหัว ดอกว่านนางคุ้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านนางคุ้ม · ดูเพิ่มเติม »

ว่านนางตัด

ว่านนางตัด วงศ์ Myrsinaceae เป็นไม้พุ่มลำต้นสีเขียวอมน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบสีม่วงหยักเล็กน้อย เส้นใบเป็นสีเขียวปนเทา ดอกช่อออกตามซอกใบ ดอกสีขาวขนาดเล็ก ใช้เป็นไม้ประดับ ทั้งต้นตำให้ละเอียด ใช้ทาท้องแก้ปวดท้อง.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านนางตัด · ดูเพิ่มเติม »

ว่านน้ำ

ลักษณะดอกมีขนาดเล็กเป็นช่อ ว่านน้ำ เป็นพืชสมุนไพรที่มีพลังร้อน มีลำต้นเป็นเหง้าอยู่ใต้ดินเป็นแท่งค่อนข้างแบน ใบมีลักษณะแข็งตั้งตรง ปลายใบจะแหลม ใบเรียงสลับกันซ้ายขวาเป็นแผง ดอกมีสีเขียวขนาดเล็กจะออกดอกเป็นช่อ มีจำนวนมากอัดกันแน่นเป็นแท่งรูปทรงกระบอก ชอบขึ้นตามที่น้ำขัง หรือที่ชื้นแฉะส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ได้เช่น.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านแร้งคอคำ

ว่านแร้งคอคำ อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae เป็นไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดินแบบหัวหอม ใบเดี่ยวยาว ขอบใบเป็นคลื่น คนก้านใบเป็นสีม่วง ดอกสีขาว ดอกตูมเป็นรูปหอกมีกาบหุ้มยาว กระจายพันธุ์ในเอเชียจากอินเดียไปจนถึงศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงจีนตอนใต้ และพบตามธรรมชาติในหมู่เกาะเวสต์อินดีส ใช้เป็นไม้ประดับ ใช้แก้พิษแมลงกัดต่อย ใช่ฝนทารักษาอาการเคล็ดขัดยอก บวม.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านแร้งคอคำ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านแสงอาทิตย์

ว่านแสงอาทิตย์หรือว่านกุมารทอง อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีหัวใต้ดินแบบหัวหอม ใบเป็นรูปรีแกมขอบขนาน มีจุดแดงอมดำตลอดลำต้น ยุบตัวเหลือแต่หัวในช่วงฤดูแล้ง พอเข้าสู่ฤดูฝนจะออกดอกก่อนแล้วจึงแตกใบ ดอกเป็นฝอยคล้ายพู่สีแดง ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์เป็นว่านเมตตามหานิยม เชื่อว่าถ้านำดอกไปเคี่ยวกับน้ำมันมาทาตามตัวทำให้อยู่ยงคงกระพัน.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านเพชรกลับ

ว่านเพชรกลับ อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae มีเหง้าใต้ดิน รูปกลม ใบเดี่ยว แผ่นใบด้านล่างสีเขียวแต้มน้ำตาลแดงจางๆ ไม่มีก้านใบ กาบใบมีขน ดอกสีชมพูอมขาว ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่าทำให้คงกระพันชาตรีและป้องกันคุณ.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านเพชรกลับ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านเพชรหึง

ว่านเพชรหึง หรือที่เรียกว่า กล้วยไม้ยักษ์, กล้วยไม้เสือโคร่ง หรือ ราชินีแห่งกล้วยไม้ เป็นกล้วยไม้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใช้เป็นยาแก้พิษแมลงกัดต่อยได้.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านเพชรหึง · ดูเพิ่มเติม »

ว่านเพชรนารายณ์

ว่านเพชรนารายณ์ อยู่ในวงศ์ Agavaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ใบรูปร่างคล้ายหอก ดอกออกเป็นช่อยาว สีขาว กลิ่นหอมอ่อนๆ ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านเพชรนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านเทพประชุมพร

ว่านเทพประชุมพร อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae มีเหง้าใต้ดิน ทรงสูง มีรากสะสมอาหาร ใบเดี่ยว เส้นกลางใบนูนอย่างชัดเจน ดอกช่อออกตามซอกใบ ก้านดอกเป็นกาบ สีเหลือง ทรงคล้ายดอกกระเจียว ใช้เป็นไม้ประดับ นิยมปลูกตามร้านค้า เชื่อว่าให้โชคลาภ ไฟล์:Curcuma cordata tag.jpg|ป้ายในสวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร์ ไฟล์:Curcuma cordata roots.jpg|รากในสวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร์ ไฟล์:Curcuma cordata leaves.jpg|ใบในสวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านเทพประชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

ว่านเฒ่าหนังแห้ง

ว่านเฒ่าหนังแห้ง เป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน ใบหนา นิ่ม หัวมีลักษณะคล้ายหัวผักกาดขนาดเล็ก เนื้อสีขาว ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าช่วยให้คงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: พืชดอกและว่านเฒ่าหนังแห้ง · ดูเพิ่มเติม »

ศุภโชค

() เป็นไม้ยืนต้น พืชเขตร้อน มีถิ่นกำเนิดแถบทวีปอเมริกาใต้ เช่น ประเทศเม็กซิโก บราซิล หมู่เกาะฮาวาย นิยมนำมาถักเป็นไม้แคระกระถาง และมีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคลhttp://www.maithip.com/plantofweek_002.htm ภาษาจีนเรียกว่า “เหยาเฉียนซู่” แปลว่า เรียกเงิน หรือ เขย่าเงิน ถ้าปลูกลงดินโตเต็มที่สูง 15-20 ฟุต ทรงพุ่มกว้าง 2-3 เมตร แตกกิ่งเป็นชั้นๆ เป็นไม้เนื้ออ่อนขึ้นได้ดีในเขตที่มีอากาศอบอุ่น ทนต่อสภาพแห้งแล้ง ขยายพันธุ์โดยตอนกิ่งปักชำ มีระบบรากใหญ่ และลึกเหมาะสำหรับที่จะส่งเสริมปลูกเป็นพืชในเชิงอนุรักษ์ต้นน้ำ http://www.doae.go.th/library/html/detail/supashok/page01.html.

ใหม่!!: พืชดอกและศุภโชค · ดูเพิ่มเติม »

สบู่ดำ

ู่ดำ เป็นพืชน้ำมันชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ชาวโปรตุเกสนำเข้ามาปลูกในประเทศไทย ในช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันมีการสกัดน้ำมันจากเมล็ดสบู่ดำใช้ทดแทนน้ำมันดีเซล ในหลายประเทศได้มีความเห็นคัดค้านการปลูกสบู่ดำเพื่อสกัดน้ำมัน โดยเสนอแนะให้นำพื้นที่เหล่านั้นไปปลูกพืชสำหรับบริโภคแทน และนอกจากนี้ปัญหาการใช้น้ำเป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อคิดเทียบเท่าต่อพลังงานที่ได้จากพืชชนิดอื่นเช่นอ้อยหรือข้าวโพด สบู่ดำใช้น้ำเป็นปริมาณ 5 เท.

ใหม่!!: พืชดอกและสบู่ดำ · ดูเพิ่มเติม »

สบู่แดง

ู่แดง (bellyache bush) หรือ ละหุ่งแดง หรือ สบู่เลือด เป็นไม้ประดับในวงศ์ยางพารา (Euphorbiaceae) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: พืชดอกและสบู่แดง · ดูเพิ่มเติม »

สบู่เลือด

ู่เลือด ((Blume) Spreng) สบู่เลือดเป็นพรรณไม้เถาชอบพาดพันไปตามไม้ต้นคล้ายบอระเพ็ดเถากลม มียางสีแดงจึงเรียก สบู่เลือด บางแห่งเรียกกระท่องเลือด กลิ้งกลางดง บอระเพ็ดพุงช้าง บอระเพ็ดยางแดง บัวเครือ บัวบก เปล้าเลือดเครือ หัวสันโดด สบู่เลือด สบู่เครือ.

ใหม่!!: พืชดอกและสบู่เลือด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชบา

กุลชบา (Hibiscus) เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Malvaceae เป็นสกุลขนาดใหญ่ มีด้วยกันราว 200 ถึง 230ชนิด พบในเขตอากาศอุ่นในกึ่งเขตร้อนและเขตร้อนทั่วโลก ไม้สกุลนี้มีทั้งพืชปีเดียวและพืชหลายฤดู มีทั้งไม้ล้มลุกและพืชที่มีเนื้อไม้ ชื่อสกุลนี้มาจากภาษากรีก ἱβίσκος (hibískos) ซึ่งเป็นชื่อที่นักปรัชญาและนักพฤกษศาสตร์ชาวกรีก พีดาเนียส ไดออสคอริดีส ตั้งให้กับ Althaea officinalis.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลชบา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบลูเบอร์รี

กุลบลูเบอร์รี หรือ Vaccinium ออกเสียง v|æ|k|ˈ|s|ɪ|n|i|ə|m เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Ericaceae หลาบสปีชีส์ที่ผลรับประทานได้ เช่น แครนเบอร์รี บลูเบอร์รี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลบลูเบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบัวสาย

กุลบัวสาย (water lily) หรือ Nymphaea เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง มีลำต้นใต้ดินเป็นหัว หรือเหง้า ใบและดอกเกิดจากตาหรือหน่อที่เจริญขึ้นมาที่ผิวน้ำด้วยก้านส่งใบและยอด บางชนิดมีใบใต้น้ำ ใบเป็นใบเดี่ยว มีขอบใบทั้งแบบเรียบ และแบบคลื่น ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนละเอียด หรืออาจจะไม่มขน ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีทั้งชนิดที่บานกลางคืน และบานกลางวัน บางชนิดมีกลิ่นหอม มีสีสันหลากหลายแตกต่างกันไป มีชื่อเรียกกันทั่วไปว่า "อุบลชาติ" แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ อุบลชาติล้มลุก ได้แก่ บัวผัน บัวเผื่อน บัวสาย และจงกลนี ดอกจะชูพ้นน้ำ และขอบใบหยัก และอุบลชาติยืนต้น ได้แก่ บัวฝรั่ง ดอกจะเป็นรูปถ้วยลอยเหนือผิวน้ำ มีขอบใบเรี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลบัวสาย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบัวหลวง

ัวหลวง ชื่อสกุล Nelumbo มีชื่อเรียกกันทั่วไปว่า ปทุมชาติ หรือ บัวหลวง มีถิ่นกำเนิดแถบเอเชีย เช่น จีน อินเดีย และไทย มีลำต้นใต้ดินแบบเหง้า และไหล ใบเมื่อยังอ่อนจะลอยปิ่มน้ำ ส่วนใบแก่จะโผล่พ้นน้ำ ก้านใบ และก้านดอกมีหนาม ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ชูสูงพ้นผิวน้ำ มีทั้งดอกทรงป้อมและแหลม กลีบดอกมีทั้งชนิดซ้อนและไม่ซ้อน สีขาว ชมพู หรือเหลือง แล้วแต่ชนิดพันธุ์ บัวในสกุลนี้เป็นบัวที่รู้จักกันดีเพราะเป็นบัวที่มีดอกใหญ่นิยมนำมาไหว้พระ และใช้ในพิธีทางศาสนา เหง้าหรือที่มักเรียกกันว่ารากบัว และไหลบัว รวมทั้งเมล็ดสามารถนำมาเป็นอาหารได้ บัวหลวงเป็นไม้ล้มลุก ซึ่งเจริญเติบโตอยู่ใต้ดิน ลำต้นสีเขียวอ่อนจนถึงเหลือง แข็งเล็กน้อย ใบเป็นใบเดี่ยวรูปกลม แผ่นใบจะชูเหนือน้ำ รูปใบเกือบกลมขนาดใหญ่ ใบมีสีเขียว ผิวใบมีนวล ก้านใบแข็งเป็นหนาม ถ้าตัดตามขวาง จะเห็นเป็นรูภายใน ก้านใบมีน้ำยางขาว เมื่อหักจะมีสายใยสีขาว ใบอ่อนสีเทานวล ปลายม้วนงอขึ้นทั้งสองด้าน ก้านใบจะติดตรงกลางแผ่นใบ ดอก เดี่ยวมีสีขาว สีชมพู กลิ่นหอม บัวหลวงจะเริ่มบานตั้งแต่ตอนเช้า ก้านดอกยาวมีหนามเหมือนก้านใบ ชูดอกเหนือน้ำ และชูสูงกว่าใบเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียวหรือสีชมพู ร่วงง่าย กลีบดอกจำนวนมากเรียงซ้อนหลายชั้น นฐานรองดอกรูปกรวย สีเหลืองนวล ผล รูปกลมรีสีเขียวนวล มีจำนวนมากฝังอยู่ในส่วนที่เป็นรูปกรวย เมื่ออ่อนมีสีเหลือง รูปกรวยนี้เมื่อเป็นผลแก่จะขยายใหญ่ขึ้นมีสีเทาอมเขียวที่เรียกว่า "ฝักบัว" มีผลสีเขียวอ่อนฝังอยู่เป็นจำนวนมาก รูปดอกจะเป็นพุ่มทรงสูงกลีบดอกสีชมพู ซ้อนกันหลายชั้น แต่ละกลีบโค้ง มีเกสรตัวผู้สีเหลืองเป็นจำนวนมาก ถัดเข้าไปตรงกลางเป็นส่วนฐานรองดอก จะขยายเป็นรูปกรวยสีเหลืองเป็นส่วนที่ไข่จะฝังอยู่และไข่จะเจริญไปเป็นผลบัวและฝังอยู่บนฝักบัว บัวชนิดนี้ มีชื่อเรียกว่า ปทุม ปัทมา โกกระนต โกกนุต.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลบัวหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบัวผุด

กุลบัวผุด หรือ Rafflesia เป็นสกุลของพืชเบียนที่เป็นพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 28 สปีชีส์ พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลบัวผุด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบานไม่รู้โรย

กุลบานไม่รู้โรย (Gomphrena) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลกอมฟรีนา (Gomphrena) ในวงศ์บานไม่รู้โรยที่มีด้วยกัน 4 สปีชีส์.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลบานไม่รู้โรย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชิงชี่

กุลชิงชี่ หรือCapparis เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Capparaceae ซึ่งรวมอยู่กับวงศ์ Brassicaceae ในระบบ APG II กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลชิงชี่ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชงโค

กุลชงโค (Bauhinia)เป็นสกุลของพืชที่เป็นได้ทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้เถา อยู่ในวงศ์ Fabaceae พบในเขตร้อนทั่วโลกกว่า 300 ชนิด ลักษณะเด่นคือปลายใบแยกเป็นสองแฉก มองดูคล้ายรูปเมล็ดถั่วหรือไต บางชนิดแยกเป็นสองใบย่อย ในประเทศไทยพบประมาณ 34 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลชงโค · ดูเพิ่มเติม »

สกุลช้าง

กุลช้าง (Rhynchostylis, Rhy) เป็นพืชในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) มี 6 ชนิด เป็นพืชถิ่นเดียวในอินเดีย, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลช้าง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลช้างสารภี

กุลช้างสารภี หรือ Acampe เป็นสกุลของกล้วยไม้ที่กระจายพันธุ์ระหว่างแอฟริกาจนถึงอินเดีย จีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย นิวกินี และฟิลิปปินส์ ชื่อสกุล Acampe ได้มาจากภาษากรีก akampas, หมายถึง แข็งแรง หมายถึงดอกแข็ง ขนาดเล็ก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลช้างสารภี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลฟีนิกซ์

กุลฟีนิกซ์ (Phoenix) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์ปาล์ม มีสมาชิก 14 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในหมู่เกาะคานารี และแอฟริกาจากเหนือจนถึงตอนกลาง ส่วนใต้สุดของยุโรป และในเอเชียจากตุรกีไปจนถึงจีนตอนใต้และมาเลเซีย แหล่งที่อยู่เป็นทั้งที่ลุ่มน้ำ ทะเลทราย และป่าชายเลน พืชในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นพืชกึ่งทนแล้ง แต่พบบ่อยใกล้บริเวณที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง แม่น้ำ หรือน้ำพุ เป็นสกุลที่มีความโดดเด่นในวงศ์ย่อย Coryphoideae โดยมีใบประกอบแบบขนนกแทนที่จะเป็นแบบฝ่ามือRiffle, Robert L. and Craft, Paul (2003) An Encyclopedia of Cultivated Palms.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพระยาฉัททันต์

กุลพระยาฉัททันต์ หรือ Vandopsis เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งมีสมาชิก 5 สปีชีส์ พบใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้,จีน ฟิลิปปินส์ และเกาะนิวกินี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลพระยาฉัททันต์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพริกนก

กุลพริกนก หรือ Orophea เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae ตัวอย่างของพืชในสกุลนี้ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลพริกนก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพรุน

กุลพรุน เป็นสกุลของต้นไม้และไม้พุ่มซึ่งรวมถึงพลัม, เชอร์รี, ลูกท้อ, เอพริคอต, ซากุระ และอัลมอนด์ ใช้ชื่อสกุลว่า Prunus ในวงศ์กุหลาบ แต่เดิมอยู่ในวงศ์ย่อย Prunoideae (หรือ Amygdaloideae) แต่บางครั้งก็มีวงศ์เป็นของตนเองคือ Prunaceae (หรือ Amygdalaceae) เมื่อเร็วๆนี้ เห็นได้ชัดว่า Prunus วิวัฒน์มาจากวงศ์ย่อย Spiraeoideae มีประมาณ 430 สปีชีส์ กระจายทั่วพื้นที่ส่วนบนของโลก ดอกเป็นสีขาวถึงชมพู มี 5 กลีบเลี้ยง 5 กลีบดอก เป็นดอกเดี่ยวหรือในช่อซี่ร่ม 2-6 หรือมากกว่าบนช่อกระจะ ผลเป็นแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง ใบเป็นรูปหอก ไม่มีหยักหรือฟันบนขอบใ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลพรุน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพวงแก้วกุดั่น

กุลพวงแก้วกุดั่น เป็นสกุลที่มีสมาชิกประมาณ 300 สปีชีส์ อยู้ในวงศ์ Ranunculaceae พันธุ์ผสมหลายชนิดเป็นที่นิยมของนักจัดสวน เช่น Clematis × jackmanii ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในจีนและญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลพวงแก้วกุดั่น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพิศวง

กุลพิศวง หรือ Thismia เป็นสกุลของพืชอาศัยซาก อยู่ในวงศ์ Burmanniaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อมเริกากลาง อเมริกาใต้;สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลพิศวง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพิสตาชีโอ

มล็ดพิสตาชีโอ เรซินจาก ''Pistacia lentiscus'' Pistacia เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วย 20 สปีชีส์ที่เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาและยูเรเชีย จากหมู่เกาะคะแนรี แอฟริกา และ ยุโรปใต้ เขตอบอุ่นและกึ่งทะเลทรายของเอเชียและอเมริกาเหนือ จากเม็กซิโกไปจนถึงเทกซัสหรือแคลิฟอร์เนี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลพิสตาชีโอ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพุด

กุลพุด หรือ Gardenia เป็นสกุลของพืชมีดอกที่มีสมาชิก 142 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์เข็ม หรือ Rubiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของแอฟริกา เอเชียใต้ ออสเตรเลีย และพื้นที่ในแถบมหาสมุทร เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกออกเป็นกลุ่ม สีขาวหรือเหลือง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลพุด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกก

กุลกก หรือ Cyperus เป็นสกุลขนาดใหญ่ มีสมาชิกประมาณ 700 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Cyperaceae กระจายพันธุ์ทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกระชาย

กุลกระชาย หรือ Boesenbergia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ขิง มีสมาชิกประมาณ 60-70 สปีชีส์ เป็นพืชท้องถิ่นในจีน อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกระชาย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกระดุม

กุลกระดุม หรือ Eriocaulon เป็นสกุลที่มีสมาชิก 400 สปีชีส์ในวงศ์ Eriocaulaceae มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางในเขตร้อนโดยเฉพาะเอเชียใต้และอเมริกา มีส่วนน้อยพบในเขตอบอุ่น โดยมีประมาณ 10 สปีชีส์ในสหรัฐอเมริกา พบ 2 สปีชีส์ในแคนาดา ในจีนพบ 35 ส่วนใหญ่พบทางใต้ มีเพียงสปีชีส์เดียวที่พบในยุโรป (E. aquaticum) ในไอร์แลนด์และสกอตแลนด์ที่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกระดุม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกระโถนฤๅษี

กระโถนฤๅษี เป็นสกุลพืชไม้ดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน ขึ้นอาศัยบนเถาองุ่นและพืชสกุลเครือเขาน้ำ (Tetrastigma) พืชสกุลนี้พบแค่ในป่าร้อนชื้นของเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดอกของพืชสกุลกระโถนฤๅษีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกระโถนฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกฤษณา

กุลกฤษณา (Aquilaria) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กฤษณา (Thymelaeaceae) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ พบมากโดยเฉพาะในป่าดิบชื้นของอินโดนีเซีย, ไทย, กัมพูชา, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินเดียตอนเหนือ, ฟิลิปปินส์ และนิวกินี พรรณไม้ในสกุลนี้ปกติมีเนื้อไม้สีขาว เมื่อเกิดบาดแผล ต้นไม้จะหลั่งสารเคมีออกมาเพื่อรักษาบาดแผลนั้น แต่สารเคมีจะขยายวงกว้างออกไปอีก ก่อให้เกิดเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ กลิ่นหอม เรียกว่า "กฤษณา".

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกฤษณา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกลอย

กุลกลอย หรือ Dioscorea เป็นสกุลของพืชในวงศ์กลอย มีสมาชิก 600 พบทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น ชื่อสกุลตั้งตามนายแพทย์ชาวกรีก ไดออสคอริดี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกลอย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกล้วย

กุลกล้วย (Musa) เป็นหนึ่งในสามสกุลของวงศ์กล้วย (Musaceae) ประกอบด้วยกล้วยและกล้าย มีมากกว่า 50 ชนิด มีการนำไปใช้งานหลากหลาย พืชสกุลนี้แม้จะเติบโตสูงเหมือนต้นไม้ แต่กล้วยและกล้ายไม่มีเนื้อไม้และที่ปรากฏให้เห็นเป็นลำต้นนั้น เป็นเพียงก้านใบที่มีขนาดใหญ่ ทำให้มันกลายเป็นพืชโตชั่วฤดูขนาดยักษ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกล้วยผา

Ensete เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์กล้วย เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของเอเชียและแอฟริกา รวมทั้งกล้วยเทียม หรือเอ็นเซท (E. ventricosum) ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในเอธิโอเปี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกล้วยผา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะพ้อ

กุลกะพ้อ เป็นสกุลของพืชวงศ์ปาล์มที่มักพบในเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี และฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นปาล์มที่ใบแผ่เป็นรูปพัด จะแบ่งเท่าหรือไม่เท่าก็ได้;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกะพ้อ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะหนานปลิง

กุลกะหนานปลิง หรือ Pterospermum เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Sterculiaceae ซึ่งปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ Malvaceae ในระบบ Angiosperm Phylogeny Group Pterospermum มาจากภาษากรีก 2 คำ "Pteron" และ "Sperma" หมายถึง "เมล็ดมีปีก".

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกะหนานปลิง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะทกรก

กุลกะทกรก (Passiflora) เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์กะทกรก มีสมาชิกประมาณ 500 สปีชีส์ ชื่อของสกุลนี้ได้นำไปตั้งเป็นชื่อวงศ์ Passifloraceae ส่วนใหญ่เป็นไม้เลื้อย บางส่วนเป็นไม้พุ่ม มี 2-3 สปีชีส์เป็นไม้ล้มลุก ยังมีข้อโต้แย้งในการแยกหรือไม่แยกสกุล Hollrungia ออกจากสกุล Passiflora ซึ่งต้องศึกษาต่อไป.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกะทกรก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะตังใบ

กุลกะตังใบ หรือ Leea (ภาษาตากาล็อก: Talyantan) เป็นสกุลของพืชที่กระจายพันธุ์ในออสเตรเลียทางเหนือและทางตะวันออก เกาะนิวกินี เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของทวีปแอฟริกา สกุลนี้มีสมาชิกประมาณ 70 สปีชีส์และอยู่ในวงศ์ Vitaceae ระบบ APG II จัดสกุลนี้ในวงศ์ย่อย Leeoideae (Vitaceae).

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกะตังใบ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะเพรา-โหระพา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกะเพรา-โหระพา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกะเรกะร่อน

Cymbidium Clarisse 'Best Pink' ''Cymbidium dayanum'' ''Cymbidium Hybrid'' Golden Leaf-edge Orchid (''Cymbidium floribundum'') สกุลกะเรกะร่อน หรือ Cymbidium, เป็นสกุลของกล้วยไม้ไม่ผลัดใบ มี 52 สปีชีส์ ชื่อสกุลนี้มาจากภาษากรีก kumbos หมายถึงช่อง ซึ่งหมายถึงฐานของกลีบปาก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกะเรกะร่อน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกัญชา

กุลกัญชา หรือCannabis (Cán-na-bis) เป็นสกุลของพืชมีดอกที่ประกอบด้วย 3 สปีชีส์ Cannabis sativa หรือกัญชง Cannabis indica หรือกัญชา และ Cannabis ruderalisที่เป็นวัชพืชในยุโรป พืชเหล่านี้เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียกลาง และเอเชียใต้ พืชในสกุลนี้เป็นพืชให้เส้นใย สมุนไพร และเป็นยาเสพติด นอกจากนั้นยังสามารถคั้นน้ำมันจากเมล็ดได้ด้วยErowid.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกัญชา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลการเวก

กุลการเวก หรือ Artabotrys เป็นสกุลที่มีสมาชิกมากกว่า 100 สปีชีส์ในเขตร้อนของโลกเก่า มี 31 สปีชีส์พบในแอฟริกา อยู่ในวงศ์ Annonaceae สมาชิกส่วนใหญ่เป็นไม้พุ่มหรือไม้รอเลื้อย ใบเดี่ยว ไม่มีขน ดอกสมบูรณ์เพศ ดอกมี 6 กลีบ ผลเป็นผล.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลการเวก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกาแฟ

''Coffea canephora''. สกุลกาแฟหรือ Coffea เป็นสกุลของพืชมีดอกซึ่งเมล็ดนำไปใช้ทำกาแฟ อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาใต้และเขตร้อนของเอเชีย เป็นพืชที่มีความสำคัญทางการค้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)

กุลกุหลาบ (Aerides ตัวย่อทางการค้า Aer.) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นโดย Jado de Loureiro นักพฤกษศาสตร์ชาวโปรตุเกส เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลกุหลาบ (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลฝาด

กุลฝาด (Lumnitzera) เป็นสกุลของไม้ป่าชายเลนในบริเวณอินโด-แปซิฟิกตะวันตก อยู่ในวงศ์ Combretaceae ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษคือ black mangrove.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลฝาด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมหาพรหม

กุลมหาพรหม หรือ Mitrephora เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae มีสมาชิกประมาณ 40 สปีชีส์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กและไม้พุ่ม พบในเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลียเหนือ แพร่กระจายจากจีนไปจนถึงเกาะไหหลำจนถึงรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย พืชสกุลนี้พบมากในอินเดียและมีความหลากหลายในเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมหาพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะพลับ

กุลมะพลับ หรือ Diospyros เป็นสกุลที่มีสมาชิก 450–500 สปีชีส์ ซึ่งไม่ผลัดใบ มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อน หลายสปีชีส์จะเป็นที่รู้จักในชื่อพลับ บางชนิดเนื้อไม้แข็ง คุณภาพดี บางชนิดผลรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะพลับ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะกอก

กุลมะกอก (Spondias) เป็นสกุลของพืชดอกในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วยพืช 17 สปีชีส์ โดย 7 ชนิดอยู่ในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ และ 10 ชนิดอยู่ในเอเชีย แต่มีเพียง 10 ชนิดเท่านั้นที่ผลสามารถรับประทานได้และมีการนำไปเพาะปลูก ได้แก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะกอก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะม่วง

Mangifera เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงคู้ในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วย 69 สปีชีส์ ที่รู้จักกันดีได้แก่ มะม่วง (Mangifera indica) ซึงมีการแพร่กระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยแหล่งที่หลากหลายที่สุดอยู่ที่คาบสมุทรมลายู เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตร.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะม่วง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะม่วงหัวแมงวัน

กุลมะม่วงหัวแมงวัน หรือ Buchanania เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Anacardiaceae สปีชีส์ในสกุลนี้ ได้แก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะม่วงหัวแมงวัน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะม่วงหิมพานต์

กุลมะม่วงหิมพานต์ หรือ Anacardium เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Anacardiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของทวีปอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะม่วงหิมพานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะละกอ

กุลมะละกอ หรือ Carica เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Caricaceae มีเพียง มะละกอ สปีชีส์เดียว อต่เดิมสกุลนี้เคยมีสมาชิก 20 - 25 สปีชีส์ แต่ต่อมาถูกย้ายไปยังสกุล Vasconcellea, และบางส่วนไปยังสกุล Jacaratia และ Jarilla, ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะละกอ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะขามป้อม

กุลมะขามป้อมหรือPhyllanthus เป็นสกุลขนาดใหญ่ในวงศ์ Phyllanthaceae คาดว่ามีสมาชิกประมาณ 750David J. Mabberley.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะขามป้อม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะขามเทศ

กุลมะขามเทศ หรือ Pithecellobium เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Fabaceae ชื่อสกุลนี้มาจาก ภาษากรีก πιθηκος (pithekos), หมายถึงลิง และ ελλοβιον (ellobion), หมายถึง ต่างหู ซึ่งหมายถึงรูปร่างของฝัก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะขามเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะค่าแต้

กุลมะค่าแต้ หรือ Sindora เป็นสกุลของพืชในวงศ์ iFabaceae ประกอบด้วยสปีชีส์ดังนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะค่าแต้ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะแฟน

กุลมะแฟนหรือProtium เป็นสกุลของพืชที่มีสมาชิกมากกว่า 140 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Burseraceae เป็นพืชท้องถิ่นในบริเวณมาดากัสการ์ นิวกินี และเอเชียใต้ตั้งแต่ปากีสถานจนถึงเวียดนาม บางครั้งรวมสกุลนี้เข้ากับสกุล Bursera และมีความใกล้เคียงกับสกุล Crepidospermum และ Tetragastris.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะแฟน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะแข่น

กุลมะแข่น หรือ Zanthoxylum (รวมสกุล Fagara) เป็นสกุลที่มีสมาชิก 250 สปีชีส์ของพืชไม่ผลัดใบในวงศ์ Rutaceae พืชหลายชนิดมีแก่น ผลของพืชในสกุลนี้หลายชนิดเป็นเครื่องเทศเช่น พริกหอม และใช้ปลูกเป็นบอนไซ เปลือกไม้เคยเป็นยาแก้ปวดฟันและรูมาติซึม.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะแข่น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะไฟ

Baccaurea เป็นสกุลของพืชมีดอก อยู่ในวงศ์ Phyllanthaceaeประกอบด้วยสปีชีส์มากกว่า 100 สปีชีส์ แพร่กระจายจากอินโดนีเซีย จนถึงแปซิฟิกตะวันตก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะเฟือง

กุลมะเฟือง หรือ Averrhoa เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Oxalidaceae ในอันดับOxalidales ตั้งชื่อตามAverroes - นักปรัชญาจากอัลอันดาลุส บางครั้งยกเป็นวงศ์ต่างหาก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะเฟือง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะเมื่อย

กุลมะเมื่อย (Gnetum) เป็นสกุลหนึ่งของกลุ่มพืชเมล็ดเปลือย ซึ่งมีวิวัฒนาการใกล้เคียงกับพืชดอกมากที่สุด ทุกชนิดในสกุลนี้พบเป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง ลักษณะเด่นของพืชสกุลนี้คือ กิ่งเป็นข้อและพองบวมามข้อ สตรอบิลัสทำหน้าที่คล้ายช่อดอก แยกเพศ เมล็ดของพืชกลุ่มนี้งอยากมาก ทำให้มีความเสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ ในไทยพบ 8 ชนิดคือ เมื่อยดำ ปีแซ ผักเหมียง มะม่วย เมื่อยดูกหรือม่วยเลือด เมื่อยนก เมื่อย และเมื่อยนก พืชในสกุลนี้นิยมนำเมล็ดไปอบ ใช้ใบเป็นผัก บางชนิดเป็นยาสมุนไพร.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะเมื่อย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะเม่า

Antidesma เป็นสกุลของพืชเขตร้อนในวงศ์ เป็นพืชที่มีความสูงได้หลากหลาย มีทั้งต้นเตี้ยและต้นสูง ช่อดอกเป็นช่อยาว และเมื่อติดผลจะเป็นช่อยาวด้วย ผลกลม ขนาดเล็ก มักมีรสเปรี้ยวเมื่อดิบ สุกแล้วเป็นสีแดงแล้วกลายเป็นดำ รสจะหวานขึ้น Antidesma เป็นสกุลของพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของโลกเก่า มีประมาณ 100 สปีชีส์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมี 18 สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะเม่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะเขือ

กุลมะเขือ (Solanum) ประกอบด้วยพืชปีเดียวและพืชสองปีมากมายหลายชนิด ปัจจุบัน มีอยู่ประมาณ 1,500-2,000 สปีชีส์ กลุ่มใบและผลมีเนื้อหลายเมล็ดของมันมีพิษ โดยสารหลักที่ออกฤทธิ์ คือ โซลานิน ซึ่งอาจทำให้ชักและเสียชีวิตได้หากรับประทานในปริมาณมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมะเขือ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมังคุด

กุลมังคุด หรือGarcinia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Clusiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในออสเตรเลีย เอเชีย แอฟริกาใต้และโพลีเนเซีย ตัวอย่างพืชในสกุลนี้เช่น มังคุด ชะมวง ส้มแขก เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลมังคุด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยอ

กุลยอ หรือ Morindaเป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Rubiaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลยอ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยางนา

กุลยางนา หรือ Dipterocarpus เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ยางนา พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อสกุลนี้มาจากภาษากรีก หมายถึง ผลที่มีสองปีก สกุลนี้เป็นสกุลของพืชที่มีความสำคัญในการนำเนื้อไม้ไปใช้ทางการค้า Dipterocarpus turbinatus ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่พบในหมู่เกาะอันดามัน และมีความสำคัญในการนำไปผลิตไม้อั.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลยางนา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยางโอน

สกุลยางโอน หรือ Polyalthia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae ประกอบด้วยสมาชิกดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลยางโอน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลรองเท้านารี

กุลรองเท้านารี (Paphiopedilum) เป็นพันธุ์ไม้ประเภทกล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลรองเท้านารี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลราชพฤกษ์

กุลราชพฤกษ์ หรือ Cassia เป็นสกุลไม้ดอกไม้ประดับหนึ่งในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) นอกจากนี้ยังมีพืชชื่อ Cassia หลายชนิดในสกุลขี้เหล็ก (Senna) และสกุลอบเชย (Cinnamomum) สกุลราชพฤกษ์มีลักษณะทั่วไปเป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบเรียงเวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว ใบย่อยเรียงตรงข้าม ช่อดอกเป็นช่อแยกแขนงหรือช่อกระจะ ก้านดอกมีใบประดับ 2 ใบที่โคนหรือเหนือโคนเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ พับงอกลับ ดอกสมมาตรด้านข้าง มี 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาว 3 อัน ก้านชูอับเรณูโค้งงอ ส่วนอีก 7 อันสั้นกว่า ก้านชูอับเรณูตรง อับเรณูแตกหรือมีรูเปิดที่โคนหรือปลาย ผลเป็นแบบแห้งไม่แตก ทรงกระบอกหรือแบน เมล็ดจำนวนมาก เรียง 1-2 แถว.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลลัดวิเจีย

กุลลัดวิเจีย หรือ Ludwigia(primrose-willow, water-purslane, หรือ water-primrose) เป็นพืชตระกูลพืชน้ำ มีประมาณ 75 ชนิด สามารถพบได้ทุกพื้นที่ แต่ส่วนมากจะกระจายอยู่ในเขตร้อน;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลลัดวิเจีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลลิ้นมังกร

กุลลิ้นมังกร (เป็นสกุลของพืชใบประดับ มีถิ่นกำเนิดในภูมิประเทศเขตร้อนแห้งแล้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลลิ้นมังกร · ดูเพิ่มเติม »

สกุลลิ้นมังกร (กล้วยไม้)

อก''Habenaria roxburghii'' ในอินเดีย ใบ''Habenaria roxburghii'' ในอินเดีย สกุลลิ้นมังกร หรือ Habenaria เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิกประมาณ 800 สปีชีส์ พบทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลลิ้นมังกร (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลวอลนัต

กุลวอลนัต หรือJuglans เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Juglandaceae เมล็ดมีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่าวอลนัต เป็นพืชที่ดอกแยกเพศแยกต้น ใบประกอบแบบขนนก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลวอลนัต · ดูเพิ่มเติม »

สกุลวานิลลา

กุลวานิลล หรือ Vanilla เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิกประมาณ 110 สปีชีส์ ชนิดที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ Vanilla planifoliaซึ่งเป็นพืชที่ผลิตกลิ่นวานิลลาที่ใช้ในทางการค้า เป็นกล้วยไม้เพียงชนิดเดียวที่มีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม อีกชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์ทางการค้าแต่ไม่ได้ใช้ในระดับอุตสาหกรรมคือ Vanilla pompona.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลวานิลลา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลว่านจูงนาง

กุลว่านจูงนาง หรือ Geodorum เป็นสกุลหนึ่งของพืชมีดอกในวงศ์กล้วยไม้ กระจายพันธุ์ในเอเชียและออสเตรเลีย มีสมาชิกประมาณ 10 ชนิด พบในไทย 7 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลว่านจูงนาง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลว่านน้ำทอง

สกุลว่านน้ำทอง หรือ Ludisia เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิกเพียงชนิดเดียวคือว่านน้ำทอง ซึ่งพบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมวดหมู่:สกุลว่านน้ำทอง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลว่านน้ำทอง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสบู่เลือด

กุลสบู่เลือด หรือ Stephania เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Menispermaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ออกสเตรเลีย ไม้พุ่มหรือไม้เลื้อย ใบเรียงเกลียว Stephania มาจากภาษากรีก "มงกุฏ" ซึ่งอ้างถึงลักษณะของอับเรณูที่คล้ายมงกุฏ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลสบู่เลือด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสละ

Salacca เป็นสกุลของวงศ์ปาล์มมีสมาชิก 20 สปีชีส์ ที่เป็นพืชพื้นเมืองในอินโดนีเซียและบริเวณใกล้เคียง ใบยาว 6–8 m แผ่นใบแบ่งเป็นแผ่นใบย่อย ยกเว้น S. magnifica, ที่ไม่แบ่งย่อยอีก ผลเกิดเป็นกลุ่มที่โคนต้น หลายสปีชีส์กินได้ สละ (S. zalacca) เป็นสปีชีส์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ผิวของพืชในสกุลนี้มีลักษณะพิเศษคือมีลักษณะคล้ายหนังงู ผลระกำในประเทศไทย หมวดหมู่:สกุลสละ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลสละ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสะแล่งหอมไก๋

กุลสะแล่งหอมไก๋ หรือ Rothmannia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Rubiaceae ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพืชในสกุลนี้ซึ่งยังไม่สมบูรณ์.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลสะแล่งหอมไก๋ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสะเดาดิน

กุลสะเดาดิน หรือ Glinus เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Molluginaceae พืชในสกุลนี้มักเรียกด้วยชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า sweetjuice เป็นไม้ล้มลุกฤดูเดียว ผลเป็นแบบแคปซูล มีเมล็ดรูปไตจำนวนมาก ใช้รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลสะเดาดิน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสาคู

กุลสาคู หรือ Metroxylon เป็นสกุลของปาล์มที่ดอกแยกเพศแต่ไม่แยกต้น มีสมาชิก 7 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในซามัวตะวันตก นิวกินี หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะโมลุกกะ และฟิจิ มีการนำมาปลูกในไทยและมาเลเซีย ชื่อสกลุมาจากภาษากรีกสองคำคือmetra - "ครรภ์" หรือแก่น และ xylon - "ไม้" ซึ่งหมายถึงมีแก่นหรือพิธขนาดใหญ่ ประกอบด้วยสปีชีส์ต่อไปนี้ WCSP, World Checklist of Arecaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลสาคู · ดูเพิ่มเติม »

สกุลสิงโตพัด

thumb สกุลสิงโตพัด หรือ Cirrhopetalum เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง เป็นสกุลที่ใกล้เคียงกับสกุล Bulbophyllum กล้วยไม้บางชิดในสกุลเคยถูกจัดอยู่ในสกุล Bulbophyllum.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลสิงโตพัด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลส้ม

กุลส้ม (Citrus) อยู่ในวงศ์ Rutaceae มีต้นกำเนิดในเขตร้อนและเขตร้อนชื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้พุ่มขนาดใหญ่หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 5-15 เมตร มีหนามที่ต้น มีใบแบบสลับและเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อดอกขนาดเล็ก แต่ละดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลส้ม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหญ้าจิ้มฟันควาย

กุลหญ้าจิ้มฟันควายหรือ Arundina เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิกเพียงชนิดเดียวคือยี่โถปีนัง แต่บางแหล่งกล้าวว่ามีสองสปีชีส์ กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหญ้าจิ้มฟันควาย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหญ้าดอกลาย

กุลหญ้าดอกลาย หรือ Swertia เป็นสกุลของพืชวงศ์Gentianaceaeซึ่งพืชที่มีชื่อสามัญว่าfelworts อยู่ในวงศ์นี้ด้วย พืชบางชนิดในวงศ์นี้มีดอกสีน้ำเงินหรือสีม่วง พืชในสกุลFrasera บางครั้งถือว่าอยู่ในสกุลนี้ด้วย บางครั้งถือว่าเป็นสกุลต่างหาก บางครั้งถือว่าเป็นชื่อพ้อง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหญ้าดอกลาย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหมากพระราหู

กุลหมากพระราหู หรือ Maxburretia เป็นสกุลของปาล์มหายากสามชนิดพบทางภาคใต้ของไทยและคาบสมุทรมลายู ชื่อสกุลตั้งให้เป็นเกียรติแก่ Max Burret.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหมากพระราหู · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหมากตอก

กุลหมากตอก หรือIguanura เป็นสกุลของพืชดอกแยกเพศไม่แยกต้นในวงศ์ปาล์ม พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใกล้เคียงกับสกุล Heterospathe ชื่อสกุลนี้มาจาก ภาษาสเปน หมายถึง จิ้งจก และภาษากรีก หมายถึงหางRiffle, Robert L. and Craft, Paul (2003) An Encyclopedia of Cultivated Palms.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหมากตอก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหมามุ่ย

กุลหมามุ่ย หรือMucuna เป็นสกุลของพืชที่มีสมาชิก 100 สปีชีส์ ที่เป็นไม้เลื้อยและไม้พุุ่ม ในวงศ์ Fabaceae พบได้ทั่วไปในเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหมามุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหลาวชะโอน

กุลหลาวชะโอน หรือ Oncosperma เป็นสกุลของพืชในวงศ์ปาล์ม ประกอบด้วยสปีชีส์ที่สำคัญคือ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหลาวชะโอน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหวาย

กุลหวาย (Calamus) เป็นสกุลของปาล์มในวงศ์ Arecaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหวาย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหวาย (กล้วยไม้)

กุลหวาย (Dendrobium; /เดน-โด-เบียม/) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหวาย (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหวายกุ้งน้ำพราย

กุลหวายกุ้งน้ำพราย หรือPlectocomiopsis เป็นสกุลของพืชในวงศ์ปาล์มที่แยกต้นตัวผู้และต้นตัวเมีย พบในไทย มาเลเซีย เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา จัดเป็นหวายชนิดปีนป่าย ใกล้เคียงกับหวายในสกุล Myrialepis Uhl, Natalie W. and Dransfield, John (1987) Genera Palmarum - A classification of palms based on the work of Harold E. Moore.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหวายกุ้งน้ำพราย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหนอนตายหยาก

กุลหนอนตายหยาก หรือ Stemona เป็นสกุลของไม้เถาหรือไม้กึ่งพุ่มในวงศ์ Stemonaceae ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลหนอนตายหยาก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลอบเชย

ใบของ''Cinnamomum tamala'' สกุลอบเชย หรือCinnamomum เป็นสกุลของไม้ยืนต้นที่มีกลิ่นหอมในวงศ์อบเชย พืชในสกุลนี้จะมีน้ำมันหอมระเหยในใบและเปลือกไม้ มีมากกว่า300 สปีชีส์ แพร่กระจายในเขตร้อนและกึ่งเชตร้อนของอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง เอเชีย โอเชียเนีย ออสเตรเลีย และอเมริกาใต้ มีสมาชิกที่เป็นไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจหลายชน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลอบเชย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลอังกาบ

กุลอังกาบ หรือ Barleria เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์ Acanthaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลอังกาบ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลฮาโลไซลอน

กุลฮาโลไซลอน หรือ Haloxylon เป็นสกุลของไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ Amaranthaceae พืชในสกุลนี้มีชื่อสามัญว่า saxaul มาจากภาษารัสเซียว่า саксаул (saksaul) ซึ่งมาจากภาษาคาซัค сексеуiл (seksewil) อีกต่อหนึ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลฮาโลไซลอน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลผักบุ้ง

กุลผักบุ้ง (Ipomoea, มาจากคำภาษากรีก ipos แปลว่า หนอน และ homoios แปลว่า คล้าย) เป็นสกุลที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์ผักบุ้ง มีมากกว่า 500 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ชื่อสามัญของสกุลนี้คือ มอร์นิงกลอรี (morning glory) สกุลนี้มีลักษณะเป็นไม้เถาล้มลุกหรือไม้พุ่ม ใบเรียงเวียน เรียบหรือจักเป็นพู ดอกออกเป็นแบบช่อกระจุก ส่วนมากออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ ติดทน ดอกรูปแตรหรือรูประฆัง ปลายจักตื้น ๆ หรือเกือบเรียบ มีแถบกลางกลีบชัดเจน เกสรเพศผู้ 5 อัน ส่วนมากขนาดไม่เท่ากัน จุดติดก้านชูอับเรณูกับหลอดกลีบมีขนหรือต่อม อับเรณูไม่บิดเวียน เรณูเป็นหนามละเอียด จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่มี 2-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรจัก 2 พู เป็นตุ่ม เกสรเพศผู้และเพศเมียส่วนมากไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ ผลแห้งแตก ส่วนมากมี 4 หรือ 6 ซีก แต่ละซีกมีเมล็ดเดียว รูปสามเหลี่ยมหรือคล้ายครึ่งวงกลม พืชหลายชนิดในสกุลผักบุ้งนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ บางชนิดนิยมนำมารับประทาน เช่น มันเทศ (Ipomoea batatas) และผักบุ้ง (Ipomoea aquatica) ชาวพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใช้พืชบางชนิดในสกุลนี้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านและยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลผักบุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลผักกาดหอม

กุลผักกาดหอมหรือ Lactuca เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Asteraceae ประกอบด้วย 50 สปีชีส์ แพร่กระจายไปทั่วโลก พืชในสกุลนี้ที่รู้จักดีที่สุดคือผักกาดหอม (Lactuca sativa) ที่มีหลายสายพันธุ์ บางสปีชีส์เป็นวัชพืช มีทั้งพืชฤดูเดียว พืชสองฤดูและพืชหลายฤดูLebeda, A., et al.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลผักกาดหอม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลผักปลัง

กุลผักปลังหรือ Basella เป็นสกุลหลักของวงศ์ Basellaceae Basella มีสมาชิก 5 สปีชีส์ The Plant List.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลผักปลัง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลจันทนา

กุลจันทนา หรือ Tarenna เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Rubiaceae ตัวอย่างสปีชีส์ในสกุลนี้ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลจันทนา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลจันทน์เทศ

กุลจันทน์เทศ หรือ Myristica เป็นสกุลของพืชที่เป็นเครื่องเทศสำคัญหลายชนิด ที่สำคัญที่สุดคือ Myristica fragrans ซึ่งเป็นแหล่งสำคัญของลูก จันทน์เทศ และดอกจันทน์เท.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลจันทน์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลจั่น

กุลจั่น เป็นสกุลในวงศ์ Fabaceae ประกอบด้วยสปีชีส์ 150 สปีชีส์ แพร่กระจายในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลจั่น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลถ่อน

ฝัก ''Albizia procera'' สกุลถ่อน หรือAlbizia เป็นสกุลของพืชที่มีสมาชิก 150 สปีชีส์ เป็นกลุ่มของพืชโตเร็วในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน อยู่ในวงศ์ย่อย Mimosoideae วงศ์ Fabaceae การกระจายพันธุ์ส่วนใหญ่พบในโลกเก่า บางสปีชีส์เป็นวัชพืช หมวดหมู่:สกุลถ่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลถ่อน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขมิ้น

กุลขมิ้นหรือCurcuma เป็นสกุลของพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 80 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae ซึ่งประกอบด้วยพืชที่สำคัญเช่น ขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย ชื่อสกุลนี้มาจากภาษาอาหรับ kurkum (كركم) หมายถึงขมิ้น.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลขมิ้น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขิง

กุลขิง หรือ Zingiber เป็นสกุลของพืชพื้นเมืองในจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี และอินเดีย ตัวอย่างที่สำคัญได้แก่ ขิง ขิงญี่ปุ่น กระทือ เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลขิง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขี้เหล็ก

กุลขี้เหล็ก หรือ Senna (มาจาก ภาษาอาหรับ sanā) เป็นสกุลขนาดใหญ่ในวงศ์ Fabaceaeและวงศ์ย่อย Caesalpinioideae พืชในสกุลนี้เป็นพืชท้องถิ่นในเขตร้อน พบในเขตอบอุ่นไม่กี่ชนิด จำนวนสปีชีส์ประมาณ 260 - 350 สปีชีส์Randell, B. R. and B. A. Barlow.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลขี้เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขนุน

กุลขนุน หรือ Artocarpus เป็นสกุลของพืชในวงศ์ขนุนประมาณ 60 ชนิดเป็นไม้พุ่มและไม้ยืนต้น พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแถบมหาสมุทรแปซิฟิก พืชในสกุลนี้หลายชนิด เช่น ขนุน สาเกหรือจำปาดะ ผลใช้รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลขนุน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขนุนดิน

กุลขนุนดิน หรือ Balanophora เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Balanophoraceae บางชนิดเป็นพืชเบียนตามรากของไม้ใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลขนุนดิน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลข่า

กุลข่า หรือAlpinia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Zingiberaceae ตั้งตามชื่อของ Prospero Alpini นักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลีในศตวรรษที่ 17 เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย ออสเตรเลียและหมู่เกาะแปซิฟิก Flora of China.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลข่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลข้าว

กุลข้าว เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Poaceae ในเผ่า Oryzeae อยู่ในวงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียและออสเตรเลียเหนือ และแอฟริกา เป็นสกุลของพืชอาหารที่สำคัญ ทั้ง Oryza sativa และ Oryza glaberrima สมาชิกของสกุลนี้ขึ้นในที่น้ำขัง มีทั้งพืชฤดูเดียวและหลายฤดู;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลข้าว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลข้าวฟ่าง

้าวฟ่าง เป็นกลุ่มพืชตระกูลหญ้าในจีนัส Sorghum บางชนิดเพาะปลูกเพื่อเป็นอาหารทั้งของมนุษย์และสัตว์ มีแหล่งเพาะปลูกอยู่ในเขตอบอุ่นทั่วโลก และจัดว่าเป็นพืชท้องถิ่นในภูมิภาคเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในทุกทวีป ยกเว้นออสเตรเลียและโอเชียเนี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลข้าวฟ่าง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลดาวเงิน

กุลดาวเงิน หรือ Argostemmaเป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Rubiaceae พบในเขตกึ่งร้อนของเอเชีย และเขตร้อนในแอฟริกาตะวันตกและตอนกลาง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลดาวเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลคราม

''Indigofera pendula'' ''Indigofera spicata'' ''Indigofera astragalina'' ''Indigofera decora'' สกุลครามหรือIndigofera เป็นสกุลขนาดใหญ่ที่มีสมาชิกมากกว่า 750 สปีชีส์ Flora of China.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลคราม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลค้อ

''Livistona nitida'' สกุลค้อ หรือ Livistona เป็นสกุลในวงศ์ปาล์มที่มี 36 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และจะงอยแอฟริกา ใบรูปพัดเป็นทรงกลม พืชในสกุลนี้ใช้เป็นอาหารได้อะนาฮอว์ (L. rotundifolia) เป็นพืชประจำชาติอย่างไม่เป็นทางการของฟิลิปปินส์ ส่วนค้อ (L. speciosa)เป็นพืชประจำถิ่นในอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลค้อ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลค้อดอย

กุลค้อดอย หรือ Trachycarpus เป็นสกุลของพืชในวงศ์ปาล์มที่เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตั้งเต่เทือกเขาหิมาลัยจนถึงทางตะวันออกของจีน ฐานใบมีเส้นใยที่ปรากฏให้เห็นนเป็นเส้น ทุกชนิดแยกเพศ แต่ต้นตัวเมียบางครั้งจะสร้างดอกตัวผู้ ทำให้ผสมในตัวเองได้.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลค้อดอย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลงิ้ว

กุลงิ้ว หรือBombax เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ชบา เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาตะวันตก อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลียภาคเหนือ ปัจจุบันมีประมาณ 4 สปีชีส์ โดยพืชหลายชนิดถูกย้ายไปสกุลอื่น.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลงิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลตาว

กุลตาว หรือ Arenga เป็นสกุลของพืช 24 ชนิดในวงศ์ปาล์ม เป็นพืชพื้นเมืองทางเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นปาล์มขนาดกลางถึงเล็ก ใบประกอบแบบขนนก;ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลตาว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลตานขโมย

กุลตานขโมย หรือ Apostasia เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีสมาชิก 7 สปีชีส์ พบในเทือกเขาหิมาลัย อินเดีย ศรีลังกา เกาะนิวกินี และทางเหนือของออสเตรเลี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลตานขโมย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลตีนเป็ดทะเล

กุลตีนเป็ดทะเล หรือ Cerbera iเป็นสกุลที่มีสมาชิก 10-15 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของเอเชีย ออสเตรเลีย มาดากัสการ์ เซเชลล์ และหมู่เกาะในแปซิฟิกตะวันตก มีพืชในสกุลนี้สามชนิดเป็นไม้ป่าชายเลน ได้แก่ Cerbera floribunda, Cerbera manghas and Cerbera odollam ผลมีเมล็ดเดียว มียางสีขาว ชื่อสกุลตั้งชื่อตามเซอร์เบอรัส สุนัขในนรกในเทพปกรณัมกรีกเพราะยางมีพิษ มีสารพิษคือเซอเบอริน ซึ่งจะยับยั้งการส่งกระแสไฟฟ้าในร่างกาย โดยเฉพาะหัวใจ กิ่งนิยมใช้ทำฟืน แม้ว่าควันอาจเป็นพิษ;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลตีนเป็ดทะเล · ดูเพิ่มเติม »

สกุลประทัดดอย

กุลประทัดดอย (Agapetes) เป็นไม้กึ่งเลื้อที่เป็นพืชพื้นเมืองในเขตเทือกเขาหิมาลัย ดอกมีสีสดและบานเป็นเวลานาน เจริญในเขตหนาวจนถึงกึ่งเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลประทัดดอย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปาหนันช้าง

กุลปาหนันช้างหรือ Goniothalamus เป็นสกุลขนาดใหญ่สกุลหนึ่งในวงศ์กระดังง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลปาหนันช้าง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลป่านรามี

กุลป่านรามี (Boehmeria) เป็นสกุลของพืชมีดอกที่มีสมาชิกประมาณ 100 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Urticaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียและอเมริกาเหนือ สมาชิกในสกุลนี้มีทั้งไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ชื่อสกุลนี้ตั้งชื่อตามนักพฤกษศาสตร์เยอรมัน Georg Rudolf Boehmer พืชที่สำคัญในสกุลนี้คือป่านรามี (Boehmeria nivea) เป็นพืชเส้นใยที่สำคัญ บางชนิดใช้ปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลป่านรามี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลนมตำเลีย

กุลนมตำเลีย หรือ Hoya เป็นสกุลของพืชในวงศ์นมตำเลีย มี 200–300 สปีชีส์ในเขตร้อน ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย ได้แก่ อินเดีย จีน ไทย มาเลเซีย, และ อินโดนีเซีย และยังพบใน ฟิลิปปินส์ โพลีเนเซีย นิวกินี และ ออสเตรเลี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลนมตำเลีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแสลงใจ

กุลแสลงใจ หรือ Strychnos เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Loganiaceae (บางครั้งเป็น Strychnaceae).

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลแสลงใจ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแอสโตรไฟตัม

กุลแอสโตรไฟตัม (Astrophytum) เป็นสกุลของกระบองเพชร มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ มีทั้งสิ้น 6 ชนิด ชื่อ Astrophytum มาจากภาษากรีก άστρον (astron) หมายความว่า "ดาว" และ φυτόν (phyton) หมายความว่า "พืช".

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลแอสโตรไฟตัม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแผ่นดินเย็น

กุลแผ่นดินเย็น หรือ Nervilia iเป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งมีสมาชิก 65 สปีชีส์ มี 6 สปีชีส์ที่พบในออสเตรเลีย ส่วนใหญ่กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของเอเชีย ในอินเดียพบ 16 สปีชีส์ และพบในแอฟริกาใต้ 5 สปีชีส์ สปีชีส์ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลแผ่นดินเย็น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแคทลียา (กล้วยไม้)

แคทลียา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cattleya John Lindley; ชื่อสามัญ: Cattleya) เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์กล้วยไม้ 'มี 113 สปีชีส์ แพร่กระจายจากคอสตาริกาไปจนถึงเขตร้อนของอเมริกาใต้ สกุลนี้ตั้งชื่อเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลแคทลียา (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแคตนิป

แคตนิป (catnip) คือชื่อเรียกรวมทั้งหมดของพืชประมาณ 250 สปีชีส์ในสกุล เนเพต้า (Nepeta) ในวงศ์มินต์ พืชกลุ่มนี้มีน้ำมันชื่อว่า เฮพาตาแล็กโตน (Hepetalactone) เป็นสารประกอบของแล็กโตน (Lactone) ชนิดไม่อิ่มตัว มีฤทธิ์คล้ายกัญชา เมื่อแมวได้กลิ่นน้ำมันนี้จะเคลิบเคลิ้มเป็นเวลาประมาณ 10 นาที พืชกลุ่มนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แคตมินต์ (catmint).

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลแคตนิป · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโพ

กุลโพ-ไทร-มะเดื่อ เป็นสกุลของไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Ficus บางชนิดอาจขึ้นเป็นไม้พุ่มหรือไม้เถา ขึ้นบนดินหรือกึ่งอิงอาศัย โดยมีรากเกาะอาศัยต้นไม้อื่นแล้วเจริญโอบรัดต้นไม้ที่เกาะลักษณะคล้ายกาฝาก แยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้น ส่วนต่าง ๆ มีน้ำยาง หูใบหุ้มตาใบชัดเจน กิ่งมีรอยแผลหูใบเป็นวงรอบข้อ ใบเดี่ยว ส่วนมากเรียงเวียนหรือเรียงสลับในระนาบเดียวกัน เแผ่นใบด้านล่างส่วนมากมีต่อมไขตามโคนเส้นใบใกล้ฐานใบ บางครั้งมีซิสโทลิท ดอกขนาดเล็กจำนวนมากเรียงแน่นอยู่ภายในฐานรองดอกที่โอบหุ้มดอกทั้งหมดไว้ภายใน หรือ ซิทโอเนียม หรือฟิก โดยมีช่องเปิด ส่วนใหญ่มีใบประดับที่โคน ดอกเพศผู้ กลีบรวมส่วนมากมี 2-6 กลีบ แยกกันหรือติดกัน หรือไม่มีกลีบรวม เกสรเพศผู้ 1-5 อัน ดอกเพศเมียก้านยาว กลีบรวมส่วนมากมี 3-5 กลีบ แยกกันหรือติดกัน ยอดเกสรเพศเมีย 2 อัน แยกกันหรือติดกัน ดอกที่เป็นหมันเป็นปม ก้านเกสรเพศเมียสั้น เป็นที่อยู่ของแมลงขนาดเล็ก บางชนิดมีดอกแบบไม่มีเพศ คือไม่มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ลักษณะเฉพาะนี้มีความสัมพันธ์กับแมลงในลักษณะพึ่งพากัน ชนิดของแมลงมีความเฉพาะกับไทรแต่ละชนิด ผลขนาดเล็ก คล้ายผลมีผนังชั้นในแข็งหรือผลแห้งเมล็ดล่อน เมล็ดมีเอนโดสเปิร์ม ผลของมะเดื่อ (''F. carica'') ผ่าครึ่ง ไม้ที่อยู่ในสกุลนี้มีมากกว่า 800 ชนิดทั่วโลก (แบ่งออกได้เป็น 6 สกุลย่อย) ส่วนใหญ่กระจายพันธุ์อยู่ในเขตร้อน พบในประเทศไทยประมาณ 115 ชนิด มีประมาณ 7-8 ชนิดที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ซึ่งคนไทยมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าไม้เหล่านี้เป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สิงสถิตย์ของเทพารักษ์หรือนางไม้ เป็นไม้มงคล นำมาสู่คึวามร่มเย็นหรือโชคลาภแก่ผู้ปลูก เช่น โพ (F. religiosa), ไทร (F. benjamina) ส่วนที่นำมาปลูกเพื่อใช้รับประทานผล ได้แก่ มะเดื่อ (F. carica) ที่มีคุณค่าทางสารโภชนาการสูงมาก, มะเดื่อชุมพร (F. racemosa) เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นอาหารหลักของสัตว์และนกหลายชนิด เช่น นกเงือก, นกโพระดก ด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลโพ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโกฐน้ำเต้า

กุลโกฐน้ำเต้า หรือ Rheum เป็นสกุลของพืชประมาณ 60 ชนิดในวงศ์ Polygonaceae สมาชิกในสกุลนี้รวมทั้งรูบาบที่เป็นผักในยุโรปและโกฐน้ำเต้าที่เป็นยาที่ได้จากรากและเหง้าแห้งของพืชในสกุลนี้หลายชนิด โกฐน้ำเต้าในจีนใช้แก้อาการไข้ที่ท้องผูกร่วมด้วย แก้ปวดท้อง แก้ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก องค์ประกอบทางเคมีเป็นสารพวกแอนทราควิโนนที่แสดงฤทธิ์เป็นยาถ่ายระบาย และไกลโคไซด์แอนทราควิโนน กลูโคอีโมดิน พัลเมทิน และไบแอนโทรน ซึ่งมีฤทธิ์เป็นยาถ่ายร.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลโกฐน้ำเต้า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโมกมัน

กุลโมกมัน หรือ Wrightia เป็นสกุลที่มีสมาชิก 23 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Apocynaceae เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม ชื่อสกุลนี้ตั้งชื่อตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์ วิลเลียม ไรท์ (William Wright) ในบางครั้ง จะเกิดความสับสนกันระหว่างพุดพิชญา (Wrightia antidysenterica) กับโมกหลวง (Holarrhena pubescens) ซึ่งมีชื่อพ้อง Holarrhena antidysenterica โดยพืชทั้งสองชนิดอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่คนละสกุล.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลโมกมัน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโนรา

กุลโนรา หรือ Hiptage เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Malpighiaceae ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นไม้เถาหรือไม้พุ่มมีเนื้อไม้ 30 สปีชีส์ พบในป่าเขตร้อนในเอเชียตั้งแต่ปากีสถานและอินเดีย ไปจนถึงไต้หวัน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สกุลนี้ผลเป็นแบบมีปีก และมีสามปีก สปีชีส์ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ โนรา (Hiptage benghalensis) ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นในอินเดียและศรีลังกา จนถึงฟิลิปปินส์ ดอกมีกลิ่นหอม.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลโนรา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไก่ฟ้า (พืช)

กุลไก่ฟ้า หรือ สกุลนกกระทุง (Aristolochia) เป็นสกุลของพืชขนาดใหญ่มีสมาชิกมากกว่า 500 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Aristolochiaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลไก่ฟ้า (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไคร้น้ำ

Homonoia เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Euphorbiaceae ประกอบด้วย 2 สปีชีส์ H. retusa พบในอินเดียตอนกลาง ส่วน H. riparia หรือไคร้น้ำ พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงจีนไต้หวัน มาเลเซียเกาะนิวกินี มักพบตามริมฝั่งแม่น้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลไคร้น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเพชรหึง

กุลเพชรหึง (Grammatophyllum) เป็นสกุลหนึ่งของกล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2368 มาจากรากศัพท์ภาษากรีก gramma หมายถึงระบุด้วยสัญลักษณ์ กับ phyllon หมายถึงใบ เป็นการระบุถึงเอกลักษณ์ที่เป็นจุดขนาดใหญ่บนกลีบเลี้ยงและกลีบดอก พบในประเทศไทยเพียงชนิดเดียวคือ เพชรหึง.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเพชรหึง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเอื้องหมายนา

กุลเอื้องหมายนา หรือ Costus เป็นสกุลของไม้ล้มลุกอายุหลายปีอยู่ในวงศ์ Costaceae ซึ่งตั้งชื่อโดยลินเนียสใน..

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเอื้องหมายนา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเอื้องน้ำต้น

กุลเอื้องน้ำต้นหรือCalanthe เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งที่มีสมาชิกประมาณ 200 สปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเอื้องน้ำต้น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเจินจูฉ่าย

กุลเจินจูฉ่าย (珍珠菜, 真珠菜) ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกเตียวจูฉ่าย เป็นคนละชนิดกับจิงจูฉ่ายที่ชาวจีนแต้จิ๋วนิยมนำไปใส่ในเกาเหลาเลือดหมูเป็นกลุ่มพืชสกุล Lysimachia ถือเป็นสมุนไพรจีน เการแพทย์แผนจีนโบราณถือว่าผักชนิดนี้มีคุณสมบัติเป็นยาเย็น(หยิน)มีรสขม ลักษณะต้นขึ้นเป็นกอคล้ายต้นใบบัวบก เจริญงอกงามในที่แดดรำไร ชื้น ดินโปร่งแต่ไม่แฉ.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเจินจูฉ่าย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเจตมูลเพลิง

กุลเจตมูลเพลิง เป็นสกุลของพืชที่มีสมาชิก 10-20 สปีชีส์ในวงศ์ Plumbaginaceae พบในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน plumbum ("ตะกั่ว") และ agere ("to resemble") ใช้ครั้งแรกโดย Pliny the Elder (23-79) กับพืชชื่อ μολυβδαινα (molybdaina) to Pedanius Dioscorides (ca. 40-90).

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเจตมูลเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเถาคัน

''Cissus verticillata'' สกุลเถาคัน หรือ Cissusเป็นสกุลที่มีสมาชิกประมาณ 350 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Vitaceae พบมากในเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเถาคัน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเทียนดอก

กุลเทียนดอก หรือ Impatiens เป็นสกุลชอ พืชมีดอกที่มีสมาชิก 850 - 1,000 สปีชีส์ พบแพร่กระจายในซีกโลกเหนือ และเขตร้อน อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเทียนดอก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเขากวางอ่อน

สกุลเขากวางอ่อน หรือฟาแลนน็อปซิส (Phalaenopsis) เป็นสกุลของกล้วยไม้ พบได้ทั่วไปในประเทศพม่า ไทย ลาว มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และหมู่เกาะใกล้เคียงในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทั้งตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย จึงกล่าวได้ว่ามีการกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปเอเชีย ฟาแลนน็อปซิสเป็นกล้วยไม้ที่เจริญเติบโตขึ้นทางยอด (Monopodial) ต้นสั้น ใบกว้างค่อนข้างรี หนา และอวบน้ำ รากค่อนข้างใหญ่ ช่อดอกยาว ปกติจะมีใบติดอยู่กับลำต้น 5-6 ใบ และถ้าหากต้นสมบูรณ์ก็สามารถมีใบมากกว่านี้ ดอกบานทนนาน 2-3 สัปดาห์ หรืออาจเป็นเดือน ฟาแลนน็อปซิสเป็นกล้วยไม้ที่มีเหมาะกับสถานที่ทำงาน เนื่องจากมีคุณสมบัติคายออกซิเจนในเวลากลางคืน สามารถดูดสารพิษจำพวกแอลกอฮอล์และสารที่ระเหยจากพริ้นเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร และสีทาอาคารได้ หมวดหมู่:สกุลเขากวางอ่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเขากวางอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเข็ม (กล้วยไม้)

กุลเข็ม (Ascocentrum) เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเข็ม (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเครือเขาน้ำ

กุลเครือเขาน้ำ หรือ Tetrastigma เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Vitaceae เป็นไม้เลื้อย ใบประกอบ พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของเอเชีย มาเลเซีย และออสเตรเลีย พืชในสกุลนี้มักเป็นเจ้าบ้านขอพืชปรสิตในวงศ์ Rafflesiaceae รวมทั้ง Rafflesia arnoldii ที่มีดอกที่ใหญ่ที่สุดในโลก ภายในวงศ์ Vitaceae Tetrastigma มีความใกล้เคียงกับ Cayratia และCyphostemma.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเครือเขาน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเงาะ

กุลเงาะ หรือ Nephelium เป็นสกุลที่ประกอบด้วย 25 สปีชีส์ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีผลที่รับประทานได้ โดยเงาะเป็นชนิดที่เป็นที่รู้จักดีที่สุด พืชในสกุลนี้มีความใกล้เคียงกับสกุล Litchi และ Dimocarpus;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเงาะ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเตยทะเล

กุลเตยทะเล หรือ Pandanus เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีสมาชิกประมาณ 600 สปีชีส์ มีลักษณะคล้ายปาล์ม ดอกแยกเพศแยกต้น เป็นพืชพื้นเมืองในโลกเก่าเขตร้อน อยู่ในอันดับ Pandanales วงศ์ Pandanaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเตยทะเล · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเต่าร้าง

กุลเต่าร้าง หรือ สกุลเต่ารั้ง เป็นสกุลของปาล์มที่อยู่ในสกุล Caryota มีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ชัดคือดอกอยู่รวมกันเป็นช่อใหญ่ยาวย้อยลงมา และใบคู่สุดท้ายที่ปลายก้านมีลักษณะคล้ายหางปลา มักขึ้นในป่าทึบหรือตามสวนยางที่ร่มครึ้ม สามารถขึ้นได้ดีในที่ร่ม บางชนิดมีลำตัวที่สูงได้ถึง 8-12 เมตร ออกลูกเป็นทลาย พืชในสกุลเต่าร้างเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปเอเชีย ทางแถบเอเชียแปซิฟิก ปัจจุบันมีการนำเข้าไปปลูกในสหรัฐอเมริกา แถบรัฐฟลอริดา ประโยชน์ คือ ใช้ยอดอ่อนทำแกง, รากใช้ทำยา, น้ำหวานจากงวงใช้ทำน้ำตาล และยังปลูกกันเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเต่าร้าง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเปราะ

กุลเปราะ (Kaempferia) เป็นสกุลที่มีสมาชิกมากกว่า 100 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเปราะ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเปราะทอง

กุลเปราะทอง หรือ Cornukaempferiaเป็นสกุลของพืชในวงศ์ขิง มีสมาชิก 3 สปีชีส์ เป็นพืชท้องถิ่นในประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและสกุลเปราะทอง · ดูเพิ่มเติม »

สมอพิเภก

มอพิเภก ภาษาสันสกฤตเรียก Vibhitaka विभितक หรือ Aksha अक्ष เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Combretaceae เปลือกต้นสีน้ำตาลอมแดง มีรอยแตกขนาดเล็ก บางและหลุดร่อนง่าย เปลือกชั้นในสีเหลือง ใบเป็นใบเดี่ยว ดอกเป็นดอกช่อโดยก้านดอกย่อยสั้นมากจนติดกับก้านดอกหลัก ช่อดอกชี้ขึ้น ดอกขนาดเล็ก สีเหลืองหรือเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบเชื่อมติดกัน ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วย ผลเดี่ยว ทรงกลมรี สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง ผิวเกลี้ยง เนื้อแข็งติดเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและสมอพิเภก · ดูเพิ่มเติม »

สมอจีน

มอจีน หรือกาน้า เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Burseraceae ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง ผลแก่สีเขียว เมล็ดแข็ง ชาวอวดที่อาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจีน ใช้ไม้ทำใบพาย นำใบและยางไม้มาเคี่ยวได้น้ำยางสีดำ ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกกานาทึ้ง ภาษาจีนกลางเรียกกานหล่านถัง ใช้ยาเรือหรือกินเป็นยาแก้ท้องร่วง ชาวจีนแต้จิ๋วนำผลมารับประทานสด แช่อิ่ม หรือเชื่อม นำผลสดมาตำกับข่าแล้วหมักเกลือ เรียกกานาซัม ใช้แก้รสคาวปลาในอาหาร นำผลสดไปผัดกับผักกาดดองเปรี้ยงหรือซึงฉ่าย ได้อาหารที่เรียกกานาฉ่าย กินกับข้าวต้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและสมอจีน · ดูเพิ่มเติม »

สมอทะเล

มอทะเล เป็นพืชในวงศ์ Euphorbiaceae เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นเกลี้ยงมียาง ใบรูปรีแคบ มีต่อมเล็กๆ 2 ต่อมที่โคนใบ ดอกช่อ ผลเป็นแบบแคปซูล ผลสุกสีน้ำตาลแกมเทา กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย พม่าไปจนถึงเกาะนิวกินี แต่ไม่พบในฟิลิปปินส์ สีย้อมสกัดจากใบ ใช้ย้อมด้ายให้เป็นสีเหลืองแกมเขียว หรือย้อมหวายเป็นสีดำ ผลอ่อนเป็นพิษใช้เบื่อปลา เปลือกผลมียางกัดผิวหนัง น้ำต้มเปลือกรากเป็นยาระบาย ทำให้อาเจียน.

ใหม่!!: พืชดอกและสมอทะเล · ดูเพิ่มเติม »

สมอดีงู

มอดีงู Roxb.

ใหม่!!: พืชดอกและสมอดีงู · ดูเพิ่มเติม »

สมอไทย

ปลือกต้นสมอในเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย สมอไทย หรือสมออัพยา (Retz.) กะเหรียงเรียกว่าม่าแนหรือหมากแหน่ะ อยู่ในวงศ์ Combretaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียใต้ ภาคอีสานเรียกหมากแน่ะ หรือม่าแน่ เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เปลือกลำต้นสีเทาอมน้ำตาล แตกเป็นร่องตามยาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ ปลายแหลม ใบใหญ่ขนาดประมาณใบกระท้อนสีเขียวเข้ม มีขนอ่อนสีน้ำตาลปกคลุม ปลายใบเป็นติ่งแหลม ดอกสีขาวนวลขนาดเล็กกลิ่นหอม ออกเป็นช่อ ผลค่อนข้างกลมหรือรูปไข่ ผิวเรียบ สีเขียวอมเหลืองหรืออมแดง มีเมล็ดเดียว แห้งแล้วเป็นสีดำ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและสมอไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมุลแว้ง

มุลแว้ง, ขนุนมะแวง, อบเชยญวน หรือ ฝนแสนห่า เป็นพืชในวงศ์ Lauraceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกหอม หนา ลอกได้เป็นแผ่น ไม่ค่อยแตกกิ่ง เปลือกสีอมเทา ใบเดี่ยว เนื้อใบหนาคล้ายหนัง ใบรูปรี ด้านบนของใบมีเส้นแขนงใบออกจากจุดโคนใบเป็นร่องลึกเด่นชัด 3 เส้น ก้านใบค่อนข้างใหญ่ ช่อดอกออกที่ปลายยอด ดอกออกเป็นช่อใหญ่ แตกแขนงใกล้ยอด ผลมีเนื้อ อวบน้ำ รูปรีหรือค่อนข้างกลม สมุลแว้งใช้เป็นพืชสมุนไพร พบครั้งแรกในไทยที่อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด เมื่อ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและสมุลแว้ง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พืชดอกและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สยามมนัส

มมนัส เป็นพืชชนิดเดียวในสกุล Siamanthus และเป็นพืชถิ่นเดียวที่พบทางภาคใต้ของไทย แถบจังหวัดนราธิวาส ลักษณะเป็นไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 เมตร แตกกอแน่น เหง้ามีเส้นใยหนาแน่น ใบเป็นรูปหอก ปลายแหลมยาว โคนเรียวสอบ ขอบมีขนยาว ก้านใบยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร ช่อดอกออกที่ยอด มีได้ถึง 20 ดอก ดอกสีส้มอมแดงออกเดี่ยว ๆ บนแกนช่อ ไม่มีใบประดับ ก้านดอกยาวได้ถึง 3 เซนติเมตร หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 เซนติเมตร หลอดกลีบดอกยาว 5-6 เซนติเมตร ไม่มีแผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้าง ก้านชูอับเรณูยาวได้ถึง 2 เซนติเมตร อับเรณูยาว 2.5-3 เซนติเมตร ผลรูปแถบแบบแห้งแตกห้อยลง ยาว 5-11 เซนติเมตร เมล็ดเป็นเหลี่ยมขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและสยามมนัส · ดูเพิ่มเติม »

สร้อยสยาม

ร้อยสยามหรือชงโคสยาม เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในสกุลชงโค วงศ์ Leguminosae ยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นดอกช่อ ดอกย่อยสีชมพู ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ – เมษายน นิยมนำมาปลูกเป็นไม้ประดับเลื้อยแต่งรั้วหรือซุ้ม พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและสร้อยสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สร้อยสุวรรณา

ร้อยสุวรรณา (bladderwort) เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย เป็นไม้ล้มลุกปีเดียวขนาดเล็ก มีไหลเป็นเส้นขนาดเล็ก มีใบหลายใบออกจากไหล รูปแถบ ยาวได้ประมาณ 2 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและสร้อยสุวรรณา · ดูเพิ่มเติม »

สร้อยอินทนิล

ร้อยอินทนิล หรือ ช่ออินทนิล ช่องหูปากกา น้ำผึ้ง ปากกา ย่ำแย้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thunbergia grandiflora Roxb.ชื่อสามัญคือ Bengal Trumpet มีถิ่นกำเนิดในอินเดียตอนเหนือ พม่า และไทย ชอบขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง อายุหลายปี ใช้ยอดเลื้อยพันได้ไกล 15-20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปหัวใจหรือเว้าตื้น 5-7 แฉก กว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 10-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเว้า ขอบหยักฟันเลื่อย ผิวใบสาก ดอกสีฟ้าอมม่วง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามซอกใบ ช่อดอกห้อยลงยาว 0.8-1 เมตร ใบประดับสีเขียวและมีสีแดงเรื่อ ดอกรูปแตร โคนกลีบเป็นหลอดสั้นสีเหลืองปลายแยก 5 แฉก รูปกลม โคนกลีบล่างอันกลางมีแต้มสีม่วงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 6-8 เซนติเมตร ปลูกได้ในดินทั่วไป ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวัน ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำเถา หรือหน่อ เปลือกและรากนำมาตำพอกแก้อาการช้ำบวมและแผลอักเสบ ใบนำมาชงเป็นชาแก้ปวดท้อง.

ใหม่!!: พืชดอกและสร้อยอินทนิล · ดูเพิ่มเติม »

สลอด

ลอด อยู่ในวงศ์ Euphorbiaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ใบมีสีน้ำตาลปน ยอดอ่อนสีน้ำตาล ดอกช่อสีเขียวขาว ผลกลมทุย มีสามพู และมี 3 เมล็ด ผลสลอดมีเปลือกแข็ง เปราะ ผิวด้านในสีดำเรียบยางเมื่อถูกผิวหนังทำให้เป็นตุ่มพุพอง เมล็ดเมื่อรับประทานทำให้ท้องร่วงอย่างรุนแรง มีน้ำมันระเหยยากอยู่ร้อยละ 50 มีพิษร้อยละ 1-3 มีโปรตีนที่เป็นพิษชื่อโครทิน น้ำมันที่ได้จากการบีบหรือสกัดเมล็ดสลอดเรียกน้ำมันสลอด เป็นของเหลวหนืดสีเหลืองจาง เรืองแสงได้เล็กน้อย เคยใช้เป็นยาถ่ายอย่างแรง.

ใหม่!!: พืชดอกและสลอด · ดูเพิ่มเติม »

สละ (ปาล์ม)

ละ (salak) เป็นพืชในวงศ์ปาล์มและอยู่ในสกุลเดียวกับระกำ ลักษณะต้นเป็นทรงพุ่มคล้ายระกำ มีหนามแหลมแข็ง ออกตามก้านใบ ดอกแยกเพศ สีน้ำตาล แต่เกสรตัวผู้ของสละมักไม่แข็งแรง ผสมติดน้อย เกษตรกรจึงนิยมเอาเกสรตัวผู้ของระกำมาผสม นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและสละ (ปาล์ม) · ดูเพิ่มเติม »

สลัดได

ลัดได เป็นพันธุ์ไม้ประดับอีกชนิดหนึ่ง ที่เป็นพืชสมุนไพรรักษาโรคได้ ต้นพืชชนิดนี้ถ้าจะนำมาใช้จะต้องมีความระมัดระวังให้มาก เพราะสลัดได ส่วนที่เป็นลำต้น กิ่งก้าน ดอก จะมียาง และ ยางนี้จะมีพิษค่อนข้างรุนแรง ถ้าใช้อย่างถูกวิธี ก็จะให้ประโยชน์ แก่นกลางต้นที่อายุมาก ๆ จะมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เรียก "กะลำพัก".

ใหม่!!: พืชดอกและสลัดได · ดูเพิ่มเติม »

สวาด

วาด หรือภาษาถิ่นทางภาคใต้เรียกว่า หวาด หรือ ตามั้ด มะกาเลิง เป็นไม้เลื้อย พบทั่วไปในเขตร้อน ประเทศไทยพบมากตามป่าละเมาะใกล้ทะเล ลักษณะลำต้นและกิ่งก้านของเถาสวาดมีหนามแหลมอยู่ทั่วไป เลื้อยพันต้นไม้อื่นโดยใช้หนามช่วยประคอง ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ขนาดใหญ่ ยาว 30-50 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและสวาด · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: พืชดอกและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สะบันงาป่า

ันงาป่า เป็นพืชในสกุลปาหนันช้างในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกลำต้นเรียบสีดำ มีกลิ่นฉุน ใบเดี่ยว หนา มันทั้งสองด้าน ปลายใบเรียวแหลมและมีติ่ง ดอกเดี่ยว กลีบดอก 6 กลีบเรียงสองชั้น ผลกลุ่ม ผลย่อยกลมเรียบ ออกดอกช่วงเมษายน – กันยายน พบครั้งแรกที่อุทยานเขาหลวง จังหวัดสุโขทัย เมื่อ 4 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและสะบันงาป่า · ดูเพิ่มเติม »

สะบ้า (พืช)

้า อยู่ในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ เลื้อยพาดพันต้นไม้อื่น ลำต้นมักคดงอหรือบิดเป็นเกลียว เปลือกนอกเรียบสีน้ำตาลแก่ ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ดอกออกเป็นกระจุก สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผล เป็นฝักตรง หรือคดงอและบิดไปมา เปลือกผลแข็งเป็นเนื้อไม้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด เมื่อแก่ข้อจะหักเป็นท่อนๆ เมล็ดสีน้ำตาล ถึงแดงคล้ำ รูปกึ่งกลม แบน แข็ง เมล็ดใช่เล่นสะบ้.

ใหม่!!: พืชดอกและสะบ้า (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

สะพานก๊น

นก๊น อยู่ในวงศ์ Caprifoliaceae เป็นไม้พุ่ม กิ่งก้านขนาดเล็ก ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว พบตามธรรมชาติในภูฏาน พม่า กัมพูชา จีน (ยกเว้นทางเหนือ) อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ลาว มาเลเซีย (รัฐซาบะฮ์) ฟิลิปปินส์ ภาคใต้ของไทย และเวียดนาม ใบและก้านขยี้ให้คนไข้ดม แก้ชัก ต้นต้มน้ำอาบแก้ผดผื่น ผลกินเป็นยาระบาย ช่วยให้ถ่ายท้อง ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย นำใบบดกับน้ำใช้ทาแก้อาการอัก.

ใหม่!!: พืชดอกและสะพานก๊น · ดูเพิ่มเติม »

สะระแหน่

ระแหน่ เป็นพืชในตระกูลมินต์ วงศ์กะเพรา มีแหล่งกำเนิดมาจากแถบยุโรปตอนใต้และแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 70 - 150 เซนติเมตร ส่วนใบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับใบพืชในตระกูลมิ้นต์ มีกลิ่นหอมคล้ายใบมะนาว และทุก ๆ ปลายฤดูร้อนต้นสะระแหน่จะออกดอกสีขาว ๆ ที่เต็มไปด้วยน้ำหอมและน้ำหวานอยู่ภายใน นี้ดึงดูดใจให้ผึ้งมาดูดน้ำหวาน จากเหตุนี้ทำให้สะระแหน่อยู่ในสกุลเมลิสซา (Melissa: ภาษากรีก แปลว่าน้ำผึ้ง) และยังมีรสชาติคล้ายคลึงกับ ตะไคร้หอม, มะนาวและแอลกอฮอล.

ใหม่!!: พืชดอกและสะระแหน่ · ดูเพิ่มเติม »

สะตอ

ตอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Parkia speciosa) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) มีกิ่งก้านที่มีขนละเอียดใบประกอบแบบขนนกสองชั้น จะออกช่อที่ปลายของกิ่งตามตำราแพทย์แผนไทย จะใช้เมล็ด ขับลมในลำไส้ แก้ปัสสาวะพิการ ไตพิการ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียใช้เมล็ดสดรับประทาน แก้อาการผิดปกติของไต สะตอ มีเมล็ดที่มีกลิ่นเหม็นเขียวรุนแรง แต่นิยมนำมารับประทานกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาหารไทยปักษ์ใต้ หลังจากรับประทานสะตอเข้าไปจะมีกลิ่น สามารถดับกลิ่นสะตอ ด้วยการรับประทานมะเขือเปราะตามสักสองสามลูก สะตอเมื่อสุกจนฝักเป็นสีดำ เนื้อสะตอเป็นสีเหลืองบางๆ รับประทานได้ทั้งเม็ด เมล็ดในระยะนี้รสมัน เนื้อมีรสหวาน ถ้าแก่กว่าระยะนี้ ฝักจะแห้ง เมล็ดเป็นสีดำ แข็งและมีกลิ่นฉุนจัด กินไม่ได้.

ใหม่!!: พืชดอกและสะตอ · ดูเพิ่มเติม »

สะแล

แล เป็นสายพันธุ์ของพืชดอกอยู่ในวงศ์ขนุน และเป็นไม้พุ่มพื้นถิ่นในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบในเขตป่าดิบชื้นหรือป่าดิบแล้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและสะแล · ดูเพิ่มเติม »

สะแอะ

แอะ เป็นพืชในวงศ์ Capparaceae เป็นไม้เลื้อย เนื้อใบเหนียวคล้ายแผ่นหนัง มีขนสีน้ำตาลแดง กิ่งมีหนามโค้ง ดอกช่อ สีชมพูแกมเขียว มีแถบสีชมพูเข้ม ผลสดสีน้ำตาลแดง มีเมล็ดมาก รากฝนน้ำทาแก้ฝี พบได้ทั่วไปในจีนและอินเดีย สารสกัดเมทานอลจากใบใช้แก้โรคท้องร่วงในหนู หนอนหลายชนิดกินใบพืชนี้เป็นอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและสะแอะ · ดูเพิ่มเติม »

สะเดา

''Azadirachta indica'' สะเดา เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เจริญได้ดีในที่แล้ง ใช้ประโยชน์ได้มากมายทั้งเป็นอาหารและสร้างที่อยู่อาศัย ในใบและเมล็ดสะเดามีสารอาซาดิเรซติน (Azadirachtin) ซึ่งมีฤทธิ์เป็นสารฆ่าแมลง ในเมล็ดมีน้ำมันที่เรียกว่า margosa oil ใช้เป็นสีย้อมผ้าและยาฆ่าพยาธิในสัตว์เลี้ยง ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด แต่ต้องรีบนำไปเพาะทันทีหลังจากเมล็ดร่วง มิฉะนั้น จะสูญเสียความสามารถในการงอกไปอย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: พืชดอกและสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

สะเดาเทียม

ทียม, สะเดาช้าง หรือ เทียม เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานประจำจังหวัดสงขลา เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงราว 20-35 เมตร ชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs.

ใหม่!!: พืชดอกและสะเดาเทียม · ดูเพิ่มเติม »

สับปะรด

ับปะรด (ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Ananas comosus) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่มีต้นกำเนิดมาจากบริเวณทวีปอเมริกาใต้ ลำต้นมีขนาดสูงประมาณ 80-100 เซนติเมตร การปลูกสามารถปลูกได้ง่ายโดยการฝังกลบหน่อหรือส่วนยอดของผลที่เรียกว่า จุก เปลือกของผลสับปะรดภายนอกมีลักษณะคล้ายตาล้อมรอบผล แต่ละท้องถิ่นเรียกสับปะรดแตกต่างกันออกไปเช่น.

ใหม่!!: พืชดอกและสับปะรด · ดูเพิ่มเติม »

สัก (พรรณไม้)

ัก เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่ำ ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตามความยาวลำต้น ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลางและภาคตะวันตก มีอยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สักมักจะได้รับความเข้าใจผิดเสมอว่าเป็นไม้เนื้อแข็งเนื่องจากว่ามันมีลักษณะพิเศษที่เป็นไม้เนื้ออ่อนที่มีความทนทานกว่าไม้เนื้อแข็งหลาย ๆ ชนิด ชื่อสามัญอื่นอื่น: เซบ่ายี้, ปีฮือ, ปายี้, เป้อยี.

ใหม่!!: พืชดอกและสัก (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สักขี

ักขี เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์ถั่ว ลำต้นสีน้ำตาลอมม่วง มีปุ่มทั่วไป ใบประกอบแบบขนนก ขอบใบเรียบ ดอกช่อแยกแขนง ดอกย่อยขนาดเล็กสีขาว ผลเดี่ยวเป็นฝักแบนงอโค้ง ไม้ใช้ทำเครื่องมือประมงหรือทำเชือก.

ใหม่!!: พืชดอกและสักขี · ดูเพิ่มเติม »

สังวาลย์พระอินทร์

ังวาลย์พระอินทร์ในฮาวาย พุ่มสังวาลย์พระอินทร์ในบาฮามาส สังวาลย์พระอินทร์ หรือต้นตายปลายเป็น เป็นพืชเบียนในวงศ์อบเชย เกาะเลื้อยไปตามยอดของไม้อื่น ลำต้นอ่อนคล้ายเส้นลวด ยอดอ่อนและช่อดอกมีขนนุ่มสีเหลือง ใบเดี่ยว ขนาดเล็กมากหรือไม่มีใบ ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก ค่อนข้างกลม กลีบดอกสีขาวอมเหลือง ผลเดี่ยว เมื่อแก่สีขาว เนื้อนุ่ม ค่อนข้างกลม ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ใช้เป็นอาหารสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและสังวาลย์พระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สังเครียดกล้อง

ังเครียดกล้อง ตรังเรียกสังเครียดดอหด สุราษฎร์ธานีเรียก สังขะมา เป็นพืชในวงศ์ Meliaceae พบในออสเตรเลีย บรูไน อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า ปาปัวนิวกินี ฟิลิปปินส์ หมู่เกาะโซโลมอน และ ไท.

ใหม่!!: พืชดอกและสังเครียดกล้อง · ดูเพิ่มเติม »

สันตะวาใบพาย

ันตะวาใบพาย หรือ ผักโตวา หรือ หอบแหบ เป็นพืชในวงศ์สันตะวา ลักษณะเป็นพืชน้ำอายุปีเดียว มีเหง้าอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่แตกเป็นกอรอบต้น กว้าง 8-20 เซนติเมตร ยาว 10-22 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกเดี่ยวสีขาว เมื่อบานเต็มที่กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบดอกมี 3 กลีบ รวมกันเป็นก้านชูยาว 4 มิลลิเมตร ภายในรังไข่มี 6 ช่อง ผลเป็นผลเดี่ยวรูปรีแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก สันตะวาใบพายกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลีย ในอเมริกาเหนือจัดเป็นพืชรุกราน สันตะวาใบพายนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ในประเทศจีนใช้เป็นยารักษาฝี ในประเทศฟิลิปปินส์ใช้ลดไข้และรักษาโรคริดสีดวงทวาร.

ใหม่!!: พืชดอกและสันตะวาใบพาย · ดูเพิ่มเติม »

สันโสก

ันโสก หรือ สามโสก หรือ เพี้ยฟาน (Burm. f.) อยู่ในวงศ์ Rutaceae ที่มีน้ำมันหอมระเหยในใบและส่วนต่างๆ ของต้น เป็น พืชสมุนไพรที่เชื่อว่ามีสรรพคุณในการรักษาโรคเอดส์และโรคมะเร็ง.

ใหม่!!: พืชดอกและสันโสก · ดูเพิ่มเติม »

สาบหมา

''Ageratina adenophora'' สาบหมา หรือพาพั้งดำในภาษาไทใหญ่ เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Asteraceae ชื่อสามัญที่รู้จักกันทั่วไปคือ eupatory, sticky snakeroot, crofton weed, และ Mexican devil ลำต้นสีม่วงแดง ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่ หรือรูปสามเหลี่ยม ขอบใบหยัก ปลายแหลม ดอกเป็นช่อกลม ดอกย่อยสีขาว อัดแน่นเป็นกระจุกกลม ผลแห้ง มีขนสีขาวจำนวนมาก ชาวไทใหญ่ใช้ใบขยี้ห้ามเลือด รากต้มรักษาโรคกระเพาะ สาบหมาเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาทีชัดเจน สารสกัดด้วยมทานอลจากใบยับยั้งการงอกและการเจริญของไมยราบเครือ ข้าวน้ำรู โสนขน ผักโขมหนาม ผักโขมหัด ถั่วผี หญ้าปากควาย หงอนไก่ป่า กะหล่ำปลี คะน้า และข้าวพันธุ์ กข 23 ได้สารสกัดด้วยเมทานอลจากส่วนเหนือดินยับยั้งการเจริญของผักโขมหนาม ปืนนกไส้ กระดุมใบใหญ่ หงอนไก่ป่า หญ้าขจรจบ โสนขนและหญ้าปากคว.

ใหม่!!: พืชดอกและสาบหมา · ดูเพิ่มเติม »

สาบแร้งสาบกา

แร้งสาบกา (Billygoat-weed, Chick weed) เป็นพืชในวงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางและแคริบเบียน มักถูกจัดเป็นวัชพืช เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว สูง 1-2 ฟุต ทั้งต้นมีขนปกคลุม มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบออกเป็นใบเดี่ยวรูปมนรี ปลายแหลม โคนใบเว้าคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย เรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ แต่ส่วนยอดจะเรียงสลับกัน ยาวประมาณ 2-5 นิ้ว ดอกออกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น ช่อหนึ่งจะมีดอกขนาดเล็กประมาณ 6 มิลลิเมตร มีสีม่วงน้ำเงินหรือขาว ผลเป็นรูปเส้นตรงสีดำ ส่วนบนจะมีขนสั้นอยู่ 5 เส้น สาบแร้งสาบกาเป็นพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณหลายอย่าง น้ำต้มจากใบดื่มแก้ไข้ ขับระดู รากแก้อาการปวดท้อง ใบตำพอกแผลสด แต่ไม่ควรใช้มากเพราะในสาบแร้งสาบกามีสารแอลคาลอยด์ที่ก่อให้เกิดมะเร็งตั.

ใหม่!!: พืชดอกและสาบแร้งสาบกา · ดูเพิ่มเติม »

สาบเสือ

ือ (Bitter bush, Siam weed) เป็นสมุนไพรอย่างหนึ่งที่หาง่ายมากมีอยู่ทั่วไป จัดว่าเป็นวัชพืชที่มีสรรพคุณทางยาที่ใช้ประโยชน์ได้ดีที่เดียว เราใช้" ต้นสาบเสือ" เป็นดรรชีชี้วัดอุณหภูมิความแห้งแล้งของอากาศ เพราะหากอากาศไม่แล้งต้นสาบเสือก็จะไม่ออกดอก สาเหตุที่ได้ชื่อว่า สาบเสือ ก็เพราะว่าดอกของมันไม่มีกลิ่นหอมเลยแต่กลับมีกลิ่นสาบ คนโบราณเวลาหนีสัตว์ร้ายอื่นเข้าดงสาบเสือจะปลอดภัย เพราะสัตว์อื่นนั้นจะไม่ได้กลิ่นคน.

ใหม่!!: พืชดอกและสาบเสือ · ดูเพิ่มเติม »

สามเกลอข้อโปน

มเกลอข้อโปน เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ในวงศ์องุ่น เลื้อยได้ไกล เถากลมหรือแบน แตกกิ่งน้อย มีตุ่มนูนตามเถา ใช้เป็นช่องหายใจ ใบหนา ผิวใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน ขอบใบจักเว้าตื้น ออกดอกช่วงตุลาคม - พฤศจิกายน กระจายพันธุ์ตามป่าดิบเขาในภาคเหนือตอนบนของไทย พบครั้งแรกที่ดอยดินแดง จังหวัดลำพูน โดยหมอคาร.

ใหม่!!: พืชดอกและสามเกลอข้อโปน · ดูเพิ่มเติม »

สายหยุด

หยุด หรือ สาวหยุด หรือ กาลัด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Desmos chinensisเป็นพืชมีดอกในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้เลื้อยหรือไม้รอเลื้อยสูงได้ถึง 4 เมตร ดอกสีเขียวอมเหลือง คล้ายกับดอก Cananga odorata หรืออีลางอีลาง บางครั้งจึงเรียกอีลางอีลางแคร.

ใหม่!!: พืชดอกและสายหยุด · ดูเพิ่มเติม »

สายน้ำผึ้ง (พรรณไม้)

น้ำผึ้ง (Japanese honeysuckle; スイカズラ/吸い葛Suikazura Jinyinhuaใน ภาษาจีน)เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เป็นไม้เลื้อย ดอกสีขาว ผลแบบเบอร์รีสีดำ มีเมล็ดไม่มากเกสรเป็นสีเหลืองอ่อน มีขนเล็กๆอยู่ด้านบน เกสรดอกไม้ใช้ทำยา มีฤทธิ์ขับร้อน ขับพิษ ใช้เป็นยาจีนเรียกจินหยิงฮวา (ภาษาจีนกลาง)หรือกิมหงึ่งฮวย (ภาษาจีนแต้จิ๋ว).

ใหม่!!: พืชดอกและสายน้ำผึ้ง (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สารพัดพิษ

รพัดพิษ หรือ ส้มพอ กักไม้ฝอย สะนาน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Leguminosae วงศ์ย่อย Papilionoideae ต้นอ่อนเปลือกสีเขียวนวล แก่เป็นสีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ดอกช่อ ดอกย่อยทรงดอกถั่ว สีเหลือง ผลเดี่ยว ฝักเป็นทรงกระบอกยาว ฝักแก่จะนูนที่ตำแหน่งเมล็ด เป็นสีน้ำตาล เมล็ดใช้รักษาอาการติดเชื้อเป็นฝีหนอง.

ใหม่!!: พืชดอกและสารพัดพิษ · ดูเพิ่มเติม »

สารภี (พรรณไม้)

รภี เป็นไม้ดอกยืนต้นพบในประเทศไทย ลาว เวียดนามและกัมพูชา เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดพะเยา สารภียังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: ทรพี (จันทบุรี) สร้อยพี (ใต้) สาหละปี (เชียงใหม่, เหนือ).

ใหม่!!: พืชดอกและสารภี (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สารภีดอย

รภีดอย อยู่ในวงศ์ Theaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก ทื่อ ไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ใบเรียบและเหนียว ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกาบสีเขียวรองรับ 2 อัน ผลคล้ายผลแบบโปม เมล็ดมีแอริล ชาวกะเหรี่ยงใช้ทำฟืน เปลือกต้นใช้ย้อมผ้าได้สีเท.

ใหม่!!: พืชดอกและสารภีดอย · ดูเพิ่มเติม »

สาละ

ละ เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและสาละ · ดูเพิ่มเติม »

สาลี่ (ผลไม้)

left ดอกบานเต็มที่ สาลี่ หรือสาลี่จีน (Chinese pear; L.) มีชื่ออื่นๆอีกหลายชื่อ เช่น nashi pearในญี่ปุ่นเรียก nashi ภาษาเกาหลีเรียก shingo เป็นชื่อไม้ต้นชนิดหนึ่งในวงศ์ Rosaceae เป็นพืชเมืองหนาว ถิ่นกำเนิดในภาคตะวันตกของจีน พบขึ้นตามธรรมชาติในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น ต้นชะลูด ทรงพีระมิด ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ผลมีหลายสี ตั้งแต่เหลือง แดงอมส้ม น้ำตาล เขียว เนื้อกรอบ ฉ่ำน้ำ บางพันธุ์เนื้อเป็นทราย รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย กลิ่นหอม เมล็ดขนาดเล็ก แบนรี สีดำหรือสีน้ำตาลเกือบดำ.

ใหม่!!: พืชดอกและสาลี่ (ผลไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สาวน้อยประแป้ง

สาวน้อยประแป้ง หรือ ดิฟเฟนบาเกีย(ชื่อวิทยาศาสตร์ Dieffenbachia) เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศเขตร้อนทั่วไป ในอเมริกาใต้และหมู่เกาะอินดีสตะวันตก นิยมปลูกเป็นไม้กระถางกันทั่วไป ใช้ประดับภายในอาคาร หมวดหมู่:พืชมีพิษ หมวดหมู่:ไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์บอน.

ใหม่!!: พืชดอกและสาวน้อยประแป้ง · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่าย

หร่ายทะเลที่เกาะอยู่ตามหินชายฝั่ง สาหร่าย เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดในอาณาจักรโครมาลวีโอลาตา เอกซ์คาวาตา ไรซาเรีย มีลักษณะคล้ายพืช แต่ไม่มีส่วนที่เป็นราก ลำต้น และใบที่แท้จริง มีขนาดตั้งแต่เล็กมากมีเซลล์เดียว ไปจนถึงขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมาก อาจเป็นเส้นสายหรือมีลักษณะคล้ายพืชชั้นสูงก็มี การแบ่งพวกสาหร่ายแบ่งตามรูปร่างลักษณะภายนอกหรือดูตามสี จึงมีสาหร่ายสีเขียว เขียวแกมน้ำเงิน น้ำตาล และสีแดง สาหร่ายสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศก็มี อาศัยเพศก็มี อย่าสับสนกับสาหร่ายบางชนิด เช่น สาหร่ายหางม้า สาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายข้าวเหนียว สาหร่ายเหล่านี้ คือพืชดอกไม่ใช่โพรทิสต์ แหล่งที่อยู่ของสาหร่ายมีต่าง ๆ กัน ส่วนใหญ่อยู่ในน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย น้ำเค็ม คุณค่าทางอาหารของสาหร่ายพบว่าไม่สูงมากนัก คาร์โบไฮเดรตที่มีอยู่เป็นพวกที่ย่อยยากในตัวคน โปรตีนก็มีน้อยแต่สิ่งที่ได้จากสาหร่าย คือ แร่ธาตุและวิตามินหลายชนิด นอกจากเป็นอาหารคน เช่น สาหร่ายอบกรอบ และปัจจุบันนำมาประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แล้วยังใช้เป็นอาหารสัตว์ เป็นปุ๋ยและเป็นยา สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน สามารถจับไนโตรเจนในอากาศได้อย่างอิสระ (Nonsymbiotic Nitrogen Fixer) Anabaena, Oscillatoria, nostoc.

ใหม่!!: พืชดอกและสาหร่าย · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่ายหางกระรอก

หร่ายหางกระรอก เป็นพืชชนิดเดียวในสกุล Hydrilla ลักษณะเป็นพืชใต้น้ำ ต้นเป็นสายเรียวยาว รากยึดติดพื้นดินหรืออาจลอยน้ำ ใบเป็นใบเดี่ยวรูปแถบแกมหอกหรือรูปไข่ ขอบใบจักฟันเลื่อย ออกรอบข้อ 3-8 ใบ กว้าง 1.5 มิลลิเมตร ยาว 8-40 มิลลิเมตร ดอกมีขนาดเล็กแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกตามซอกใบ มีใบประดับหุ้ม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้มี 3 อัน ดอกเพศเมียมีใบประดับหุ้มที่โคนก้าน มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 3 กลีบเช่นเดียวกับดอกเพศผู้ มียอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลคล้ายรูปทรงกระบอก มีขนาดเล็ก สาหร่ายหางกระรอกกระจายพันธุ์ในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของซีกโลกตะวันออก ในสหรัฐจัดเป็นพืชรุกรานที่ทำความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม สาหร่ายหางกระรอกนิยมปลูกเป็นไม้ประดับในตู้ปลา ในทางโภชนาการอุดมไปด้วยวิตามินบี12, เหล็กและแคลเซียม.

ใหม่!!: พืชดอกและสาหร่ายหางกระรอก · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่ายข้าวเหนียว

หร่ายข้าวเหนียว (golden bladderwort) เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย, ญี่ปุ่นและออสเตรเลียTaylor, Peter.

ใหม่!!: พืชดอกและสาหร่ายข้าวเหนียว · ดูเพิ่มเติม »

สาธร (พรรณไม้)

ร เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดนครราชสีมาและต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเท.

ใหม่!!: พืชดอกและสาธร (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สาดรากลำเทียน

รากลำเทียน เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Asteraceae เป็นไม้ล้มลุกสองฤดู แตกกิ่งน้อย ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม มีขนอ่อนปกคลุม ใบออกเป็นกระจุกที่โคนต้น ออกดอกที่ปลายยอด กลีบดอกสั้น มีเกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลแก่แห้งมปุยปลิวตามลม ออกดอกเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกในไทยโดยหมอคาร์ เมื่อ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและสาดรากลำเทียน · ดูเพิ่มเติม »

สาคู (ปาล์ม)

การเก็บเกี่ยวแป้งสาคูจากต้น การกรองแป้งสาคู ปาล์มสาคู เป็นพืชจำพวกปาล์มชนิดหนึ่ง ซึ่งมีแป้งในลำต้นและนำมาผลิตเป็นสาคู ภาษามลายูเรียก sagu เป็นที่พบตามที่ชื้นแฉะ ถิ่นกำเนิดอยู่ที่นิวกินีและหมู่เกาะโมลุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย และบริเวณใกล้เคียง Germplasm Resources Information Network: กระจายพันธุ์ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย ปาปัวนิวกินี และตอนใต้ของไทย ต้นสาคูที่อายุ 9 ปี ขึ้นไปจะสะสมแป้งในลำต้นมาก เมื่อโค่นต้นจะจะลอกเอาแป้งที่มีลักษณะข้นเหนียวมาทำอาหารได้ เป็นอาหารที่ใช้ในยามขาดแคลนข้าว ในเกาะบอร์เนียว โดยนำแป้งไปใส่ถุงเสื่อแขวนไว้ให้ลอดช่องออกมาเป็นเม็ดๆ นำไปตากแห้ง แล้วจึงนำไปทำอาหาร เมื่อเริ่มมีพ่อค้าจากจีนและตะวันตกเข้ามาค้าขายในบริเวณหมู่เกาะโมลุกกะ เมื่อได้ชิมอาหารที่ปรุงจากสาคูและมีความชื่นชอบ ทำให้แป้งสาคูกลายเป็นสินค้า ก่อนจะถูกแทนที่ด้วยเม็ดสาคูที่ทำจากแป้งมันสำปะหลัง แป้งสาคูบริสุทธิ์มีอะไมโลส 27% อะไมโลเพกติน 73% แป้งจากปาล์มสาคูเป็นอาหารหลักในนิวกินี ส่วนในอินโดนีเซียและมาเลเซียใช้ทำเค้กและคุกกี้ เส้นก๋วยเตี๋ยวและขนมแห้งต่างๆ ในสหรัฐใช้ทำคัสตาร์ด ในทางอุตสาหกรรมใช้รักษารูปทรงในการผลิตกระดาษและเส้นใย ผสมในการผลิตไม้อัด ลำต้นอ่อนไส้กลวง และเศษน้ำที่เหลือจากการผลิตแป้งใช้เป็นอาหารสัตว์ เปลือกลำต้นใช้เป็นวัสดุก่อสร้างและเชื้อเพลิง ก้านใบใช้ทำฝาผนัง เพดาน และรั้ว ใบอ่อนใช้สานตะกร้า ยอดอ่อนรับประทานเป็นผัก หนอนของด้วงสาคูนำมารับประทานได้ ในหมู่เกาะโมลุกกะนิยมนำเห็ดฟางที่ขึ้นอยู่ในกากที่เหลือจากการผลิตแป้งมารับประทาน ใบสาคูนำมาเย็บเป็นตับใช้มุงหลังคาและฝาบ้าน ก้านใบนำมาลอกเปลือกนอกออก นำไปจักสานเป็นชะลอมหรือแผงวางของได้ ผลของต้นสาคูรับประทาน ในภาคใต้ของไทยนิยมนำต้นสาคูไปสับใช้เป็นอาหารสัตว์ ไม่ได้นำไปทำแป้งสาคูแล้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและสาคู (ปาล์ม) · ดูเพิ่มเติม »

สาคูฟีจี

ูฟีจี (vitiense หมายถึงมีต้นกำเนิดในฟีจี) เป็นปาล์มชนิดหนึ่งที่เป็นพืชพื้นเมืองในเกาะวีตีเลวู โอวาลู และวานัวเลวู ในฟีจี มีการยืนยันว่าพบสาคูฟีจีในวานัวเลวูเพียงครั้งเดียวและพบนอกซาวูซาวู IUCN ได้กล่าวถึงสาคูฟีจีในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและสาคูฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

สาเก (พรรณไม้)

ก หรือขนุนสำปะลอ (Breadfruit, มาลายาลัม: kada-chakkai, ฮาวาย: อุลุ, อินโดนีเซีย: สุกุน ตากาลอก: โคโล) เป็นไม้ผลพื้นเมืองของหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ต่อมาจึงแพร่หลายไปยังหมู่เกาะอินดีสตะวันตก และปลูกแพร่หลายทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน ต้นสาเกที่ปลูกในฮอโนลูลู รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและสาเก (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สำมะงา

ำมะงา เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นเรียบสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ผิวใบเรียบเป็นมัน ดอกช่อ ก้านดอกสั้น ดอกเป็นหลอดยาวปลายเป็นแฉกตื้นๆ 5 แฉก กลีบดอกสีขาวอมชมพู ก้านเกสรตัวผู้สีม่วงแดง ผลเดี่ยวกลมรี เป็นพูเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีดำ ใบสดต้มน้ำใช้ทำความสะอาดแผล ใบแห้งบดเป็นผง ใช้โรยแผลแก้ติดเชื้อ ใบและผลสดต้มรวมกับเหล้าพออุ่น ทาแก้รอยฟกช้ำหรือบวม รากแห้งต้มกับน้ำดื่ม แก้ไข้หวัด ตับอักเสบและแผลบวม.

ใหม่!!: พืชดอกและสำมะงา · ดูเพิ่มเติม »

สำรอง

ำรอง (Malva nut; Beaum)หรือ พุงทะลาย หมากจอง เป็นพืชที่อยู่ใน วงศ์ Sterculiaceae หรือ Malvaceae ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นดั้งเดิมในเขตจังหวัดจันทบุรีและตราดวรัญญา โนนม่วง ชาติชาย ไชยช่วย ทองจวน วิพัฒน์เจริญลาภ และ นฤมล มงคลธนวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและสำรอง · ดูเพิ่มเติม »

สำโรง (พรรณไม้)

ำโรง เป็นพืชในวงศ์ชบา กระจายพันธุ์ในแอฟริกาตะวันออก อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงออสเตรเลี.

ใหม่!!: พืชดอกและสำโรง (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สิรินธรวัลลี

รินธรวัลลี หรือ สามสิบสองประดง เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในสกุลชงโค วงศ์ Leguminosae กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง เมื่อแก่ เปลือกเถาเรียบ บิดตามยาวเล็กน้อย เนื้อไม้เมื่อตัดตามขวาง สีน้ำตาลเข้มออกแดง มีลวดลายสีน้ำตาลอ่อนเป็นกลุ่มเหมือนกลีบดอกไม้ ดอกออกเป็นช่อสีน้ำตาล ออกดอกตลอดปี แต่ดอกจะบานมากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดย ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและสิรินธรวัลลี · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตพู่รัศมี

งโตพู่รัศมี (Bulbphyllum gracillimum) หรือสิงโตเคราแดง เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกยาวกว่าใบ ดอกสีม่วงแดง ขอบกลีบดอกมีขน ออกดอกช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ในไทยพบที่ระนอง สุราษฎร์ธานีและนราธิว.

ใหม่!!: พืชดอกและสิงโตพู่รัศมี · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตกลอกตา

งโตกลอกตา เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า "บัลโบฟิลลัม" (Bulbophyllum) ซึ่งมาจากรากศัพท์ในภาษากรีกคือ bulbos แปลว่า "หัว" กับ phyllon แปลว่า "ใบ" หมายถึงลักษณะที่ก้านใบพองคล้ายหัว.

ใหม่!!: พืชดอกและสิงโตกลอกตา · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตดอกไม้ไฟ

งโตดอกไม้ไฟ เป็นกล้วยไม้ขนาดเล็กในสกุลสิงโต ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกแบบกระจุก มีดอกจำนวนมากอยูปลายท่อ สีขาว ผิวกลีบไม่เรียบ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายนพบในประเทศไทย คาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว ในไทยพบที่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และนราธิว.

ใหม่!!: พืชดอกและสิงโตดอกไม้ไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตตาแดง

งโตตาแดง อยู่ในวงศ์Orchidaceae เป็นกล้วยไม้อิงอาศัย ขนาดเล็ก เหง้าสั้น ดอกสีชมพู สีม่วงหรือแดงเรื่อ มักขึ้นบนก้อนหิน.

ใหม่!!: พืชดอกและสิงโตตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

สือชังผู่

ือชังผู่ ในภาษาจีนกลางหรือเจียะเซียงผู้ในภาษาจีนแต้จิ๋ว เป็นพืชท้องถิ่นของญี่ปุ่นและเอเชียตะวันออก ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ อยู่ในวงศ์ Acoraceae ด้านนอกเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาล ด้านในเป็นสีเหลืองอมขาวอ่อนๆ ในตำรายาจีนเป็นยาขับเสมหะ ทำให้จิตใจสง.

ใหม่!!: พืชดอกและสือชังผู่ · ดูเพิ่มเติม »

สุพรรณิการ์

อกสุพรรณิการ์แบบชั้นเดียวในบราซิล กำลังแก้ไข สุพรรณิการ์ สุพรรณิการ์ เป็นไม้ผลัดใบที่มีถิ่นกำเนิดในแถบทุ่งหญ้าเขตร้อนแซราดู (Cerrado) ในทวีปอเมริกาใต้ (บริเวณประเทศบราซิล, โบลิเวีย, ปารากวัย) แต่ปัจจุบันพบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นกัน สุพรรณิการ์มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ใกล้เคียงกับฝ้ายคำมาก ข้อแตกต่างที่สำคัญประการหนึ่งคือ ฝ้ายคำจะออกดอกเพียงชั้นเดียว มี 5 กลีบ และบานทีละดอก ในขณะที่สุพรรณิการ์จะมีทั้งชนิดที่ออกดอกชั้นเดียวและชนิดที่ออกดอกซ้อนกันเป็นกระจุกแน่น โดยบานพร้อม ๆ กัน ในประเทศไทยนิยมปลูกสุพรรณิการ์เป็นไม้ประดับ โดยได้รับการกำหนดให้เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดนครนายก และเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดนครนายก สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี และอุทัยธานี.

ใหม่!!: พืชดอกและสุพรรณิการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สีฟันกระบือ

ีฟันกระบือ หรือขนหนอนสะเหล่า เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Phyllanthaceae กิ่งอ่อนมีขน เปลือกสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นร่องตื้นตามความยาวของลำต้น ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกแยกเพศแต่อยู่ในช่อเดียวกัน ผลเดี่ยว กลม ผิวเรียบเป็นมัน สีเขียว สุกแล้วเป็นสีดำ ใบใช้ต้มน้ำดื่มเป็นยาถ่าย รากต้มเป็นยาบำรุงร่างกาย หลังคลอดบุตร.

ใหม่!!: พืชดอกและสีฟันกระบือ · ดูเพิ่มเติม »

สีง้ำ

ีง้ำ (nilad; nila, chengam ในสิงคโปร์) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Rubiaceae ต้นอ่อนลำต้นสีเหลืองแดง แก่แล้วเป็นสีเทาอมดำ เปลือกแตกเป็นร่อง ใบเดี่ยว หลังใบสีเขียวอ่อนออกนวล ดอกช่อออกตามง่ามใบ ผลเดี่ยว ติดเป็นกระจุก ทรงรี สีเขียวอ่อน ผิวเป็นร่องตามยาว ไม้สีง้ำใช้ทำเครื่องประมงพื้นบ้าน ชื่อเมืองหลวงของฟิลิปปินส์ (กรุงมะนิลา) ในภาษาตากาล็อกเรียกว่า Maynila แปลว่า "มีต้นสีง้ำ" เนื่องจากบริเวณอ่าวมะนิลามีต้นสีง้ำขึ้นอยู่มาก คำว่านีลัดหรือนีลาที่แปลว่าสีง้ำ อาจมาจากภาษาสันสกฤต nila (नील).

ใหม่!!: พืชดอกและสีง้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สีเสียดแก่น

ีเสียดแก่น หรือชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า สีเสียด สีเสียดไทย สีเสียดเหนือ สีเสียดเหลือง สีเสียดหลวง สีเสียดลาว เป็นพืชในวงศ์ถั่ว กระจายพันธุ์ในเอเชีย จีน, อินเดีย และบริเวณ มหาสมุทรอินเดีย เมล็ดเป็นแหล่งของโปรตีน แก่นต้นนำมาใช้เป็นยา โดยนำแก่นต้นสีเสียด สับให้เป็นชิ้น ๆ แล้วต้มและเคี่ยว หลังจากนั้นระเหยน้ำที่ต้มได้ให้เหนียวข้น จะได้ของแข็งเป็นก้อน สีน้ำตาลดำ เป็นมัน แข็ง รูปร่างไม่แน่นอน ผิวนอกหยาบ มีด้านในด้านหนึ่งที่แตกจะมันวาว ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นสารกลุ่มแทนนินที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ก่อเกิดอาการท้องร่วง (Escherichia coli) Staphylococcus aureus ฤทธิ์ต้านเชื้อบิด มีฤทธิ์ยับยั้งการบีบตัวของลำไส้ เปลือกสีเสียดแก่น ดอกสีเสียดแก่น ฝักสีเสียดแก่น ในทางยาสมุนไพร ใช้สีเสียดแก่นแก้ท้องเสียเรื้อรัง ลำไส้อักเสบ รักษาบาดแผล แก้ปากเป็นแผล ใส่แผลเปื่อยและริดสีดวง และอาการบาดเจ็บที่มีเลือดออก บดหรือต้มกินแก้ท้องร่วง คุมธาตุ แก้บิดมูกเลือด แก้ลงแดง ทารักษาบาดแผล รักษาโรคผิวหนัง ต้มล้างบาดแผล เป็นยาฝาดสมาน แก้ท้องร่วง ห้ามเลือดกำเดา แก้บิด ล้างแผลหัวนมแตก ล้างแผลถูกไฟไหม้ ทำให้แผลหายเร็ว และเป็นส่วนผสมใน "ยาเหลืองปิดสมุทร" ที่ใช้รักษาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ.

ใหม่!!: พืชดอกและสีเสียดแก่น · ดูเพิ่มเติม »

สตรอว์เบอร์รี

ตรอว์เบอร์รี (strawberry) เป็นสกุลไม้ดอกในวงศ์กุหลาบ ผลสามารถรับประทานได้ ในอดีตปลูกเป็นพืชคลุมดินให้กับต้นไม้ปลูกเลี้ยงอื่น ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อก็เป็นได้ มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมีลูกผสมมากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa) ผลของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึงเปรี้ยว สตรอเบอร์รีเป็นผลไม้ทางการค้าที่สำคัญ มีปลูกกันเป็นวงกว้างหลายสภาพอากาศทั่วโลก.

ใหม่!!: พืชดอกและสตรอว์เบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

สนุ่น

นุ่นหรือตะไคร้บก เป็นพืชวงศ์สนุ่นเพียงชนิดเดียวที่เป็นพืชท้องถิ่นในประเทศไทย เป็นไม้ผลัดใบระยะสั้น ลำต้นอ้วน สั้น บิดงอ กิ่งชูขึ้น ปลายลู่ลงเล็กน้อย ยอดอ่อนมีขนสีเงิน ขอบใบเป็นซี่ ดอกเป็นช่อห้อยลง สีขาวหรือเหลืองอ่อน มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ดอกตัวเมียมีต่อมน้ำหวาน 1 ต่อม ผลขนาดเล็ก แตกได้ ปลายข้างหนึ่งมีขนสีขาว ช่วยให้ปลิวตามลมได้ดี พบทั่วไปตามบริเวณธารน้ำ พบในอินเดีย คาบสมุทรอินโดจีน ฟิลิปปินส์ เนื้อไม้เบาใช้ทำฟืน เปลือกมีแทนนินมาก ใช้เป็นยารักษาโรคหัวใจ แก้ไข้ ใบสดใช้รักษางูสวัด นิยมปลูกริมน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้ตลิ่งพัง ในรัฐมณีปุระ ดอกอ่อนของสนุ่นเรียก ঊযুম (Ooyum) นำมารับประทานได้ เปลือกต้นใช้ย้อมผ้าให้สีน้ำตาลแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและสนุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สนทราย

นทราย ชื่ออื่นๆ ก้านถินแดง สน (พังงา) สนนา (สุราษฎร์ธานี) สนหอม (จันทบุรี); สนดง สนหิน (อุบลราชธานี) สนหางสิงห์ (เลย) สนขี้ไก่ (กาญจนบุรี) ปอโฮ่งรุห์ สนเล็ก สนสร้อย (นครศรีธรรมราช)เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae ลำต้นสีเทาอมน้ำตาล เนื้อไม้สีน้ำตาล แข็งแรงทนทาน กิ่งแตกเป็นเนื้อมีขนสีน้ำตาลแดง กิ่งมีน้ำตาลอ่อน เรียวยาว เปลือกแตกเป็นขุย ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม คล้ายรูปเข็มแบน หนา ยาวไม่เกิน 8 มิลลิเมตร กว้าง 1-2 มิลลิเมตร โคนเป็นครีบ ไม่มีก้านใบ ใบมีกลิ่นหอม ใบใช้ ต้มดื่มแก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้ไข้หวัด แก้ไอ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ ทั้งต้น ต้มน้ำดื่ม ขับปัสสาวะ ใบ ใช้ชงเป็นชาดื่มแก้ไข้ปวดเมื่อย ทางจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ ลำต้น ต้มน้ำดื่ม แก้หน้ามืด วิงเวียน แก้ปวดหลัง ปวดเอว ช่วยขับปัสสาวะ ใบ ต้มน้ำดื่ม ช่วยขับลม ในมาเลเซียและสุมาตรา ใช้ในการอยู่ไฟ ในเวียดนามใช้ต้นทำเป็นไม้กวาด ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและสนทราย · ดูเพิ่มเติม »

สนทะเล

''Casuarina equisetifolia” สนทะเล เป็นพืชท้องถิ่นในบริเวณตั้งแต่พม่าถึงเวียดนาม และออสเตรเลีย พบในมาดากัสการ์ด้วย แต่ไม่แน่ใจว่าเป็นพืชท้องถิ่นในบริเวณนั้นหรือไม่ มีการนำไปปลูกในสหรัฐและแอฟริกาตะวันตกและเป็นพืชรุกรานในฟลอริดา สนทะเล เป็นพืชมีดอก ส่วนปลายกิ่งเปลี่ยนไปทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงจึงมีสีเขียว ใบจริงติดเป็นวงรอบข้อ ผลขนาดเล็กคล้ายลูกทุเรียน แข็ง แห้งแตก ปล่อยเมล็ดกระจายออกไป เมล็ดมีปีก ปลิวตามลมได้ดี ลำต้นลู่ลมได้ดี ลดแรงต้านจากพายุ เปลือกลำต้นขรุขระทำให้น้ำฝนไหลผ่านได้ช้า สามารถดูดซับแร่ธาตุจากน้ำฝนได้ดี มีเห็ดอาศัยร่วมกับรากสนช่วยย่อยสลายเศษซากพืชเพื่อให้สนใช้เป็นปุ๋ย เปลือกไม้ใช้ทำสีย้อมผ้าได้.

ใหม่!!: พืชดอกและสนทะเล · ดูเพิ่มเติม »

สนเกรวิลเลีย

นเกรวิลเลีย (Grevillea;ชื่อสามัญ: Grevillea;; Spider Flower; Silky-oak; Toothbrush) เป็นสกุลที่หลากหลายมีสามชิกประมาณ 360 ชนิด อยู่ในวงศ์ Proteaceae เป็นพืชพื้นเมืองในออสเตรเลีย เกาะนิวกินี เกาะนิวคาลาโดเนียและเกาะสุลาเวสี ตั้งชื่อตาม Charles Francis Greville.

ใหม่!!: พืชดอกและสนเกรวิลเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ส่องฟ้า

องฟ้า เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Rutaceae ใบประกอบแบบขนนก เนื้อใบมี่จุดใสซึ่งเป็นต่อมน้ำมันกระจายทั่วไปมีกลิ่น ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่งสีขาวแกมเหลือง ผลสด ค่อนข้างกลม ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักสด กินกับน้ำพริก รากต้มน้ำดื่มช่วยลดไข้ แก้ปวดศีรษะ ผสมกับสมุนไพรอื่นแก้โรคหลอดลมอักเสบ แก้ปวด แก้จุกเสี.

ใหม่!!: พืชดอกและส่องฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ส้ม

'ส้ม' เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโตกระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ำมันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉุน หากนำใบขึ้นส่องกับแสงแดด จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจุดเหล่านั้นก็คือแหล่งน้ำมันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้จำพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคำ ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น อนุกรมวิธานของส้มนั้น มีความยุ่งยากและสับสนมาช้านาน และเป็นที่ถกเถียงในการจำแนกและตั้งชื่อชนิด (สปีชีส์) ของส้มอยู่เสมอ และการจำแนกกลุ่มยังขึ้นกับนักอนุกรมวิธานด้วย เช่น สวิงเกิล (Swingle) จำแนกได้ 16 ชนิด, ทานาคา (Tanaka) จำแนกได้ 162 ชนิด และฮอจสัน (Hodgson) จำแนก 36 ชนิด ขณะที่บางท่านเสนอว่าส้มทั้งหลายจัดเป็นพืชชนิดเดียวกัน ที่สามารถผสมพันธุ์ระหว่างกันได้ ขณะเดียวกัน การจำแนกอย่างละเอียดของทานาคา ก็สร้างความสำเร็จได้ เนื่องจากพบในภายหลังว่า บางชนิดเป็นเพียงการผสมข้ามสายพันธุ์เท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงไม่แปลกหากเราจะพบชื่อวิทยาศาสตร์ของส้มหลายชนิดที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อความแน่นอน จึงมักจะระบุถึงนักอนุกรมวิธานผู้จำแนกเอาไว้ด้วยพืชตระกูลส้ม ปัจจุบันนี้ มีการใช้เทคนิคในการระบุเอกลักษณ์ด้วยดีเอ็นเอ (DNA) และมีการเสนอว่าอาจจะมีชนิดพื้นฐานของส้มอย่างกว้างๆ 4 ชนิด ด้วยกัน คือ.

ใหม่!!: พืชดอกและส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ส้มกบ

้มกบ Linn.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มกบ · ดูเพิ่มเติม »

ส้มกุ่ย

้มกุ่ย อยู่ในวงศ์ Mysinaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกแบล๊ะเบลาะ เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ไม่มีหูใบ ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกาบหุ้มรองรับช่อดอกและดอกย่อย กลีบดอกสีเขียวอ่อน มีขนสั้นสีขาวปกคลุมตามขอบกลีบ ผลแบบเบอร์รี สุกเป็นสีม่วงดำ ชาวกะเหรี่ยงนำยอดอ่อนไปจิ้มน้ำพริก ผลสุกรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มกุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ส้มกุ้ง

้มกุ้ง ส้มกุ่ย หรือเถาวัลย์ขน เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Vitaceae รากเป็นหัวใต้ดิน มีมือจับชัดเจน ใบเป็นสามพู ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียดปกคลุม มีดอกย่อยจำนวนมาก สีชมพู ผลสด ทรงกลมเป็นพวงแน่นแบบพวงองุ่น มีหลายเมล็ด สีม่วงแดงจนถึงสีดำ รวมกันเป็นช่อขนาดใหญ่ ผลรับประทานได้ มีรสเปรี้ยว ในอินโดจีนนำผลดิบไปจิ้มเกลือรับประทาน ใบใช้เป็นยาแก้ไอ เถาเป็นยาระบายอ่อน รากใช้แก้ไข้ เปลือกต้มน้ำใช้แก้ฝี รักษาอาการบวม.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ส้มมือ

้มมือ หรือ ส้มโอมือ เป็นผลไม้ชนิดหนึ่งจำพวกส้ม เป็นส้มที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง พบได้ทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน ส้มชนิดนี้มีชื่อต่าง ๆ กันในหลากหลายภาษา แต่โดยมากมีความหมายคล้ายกันว่า นิ้วมือ เช่น ภาษาจีนเรียก ฝอโส่ว ซึ่งแปลว่า นิ้วพระหัตถ์ของพระพุทธเจ้า ภาษาอังกฤษเรียก Buddha's Hand ซึ่งแปลว่า พระหัตถ์ของพระพุทธเจ้า หรือ fingered citron ซึ่งแปลว่า ส้มนิ้ว ส้มมือเป็นไม้พุ่ม มีหนามยาวแข็ง ใบประกอบลดรูปเหลือใบเดียว ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกสีขาว กลิ่นหอม ผลรูปร่างแปลกกว่าส้มอื่น ๆ กล่าวคือ มีรูปร่างเรียวยาวห้อยลงมาเป็นแฉก ๆ คล้ายนิ้วมือ ขนาดใกล้เคียงหรือใหญ่กว่านิ้วมือผู้ใหญ่ และอาจมีความยาวได้ถึง 12 นิ้ว เมื่อสุกผลมีสีเหลืองสด เปลือกหนาคล้ายฟองน้ำอย่างส้มโอ เนื้อแห้งไม่ชุ่มน้ำ มีกลิ่นหอมอย่างมะนาว นิยมใช้ทำยาดมส้มโอมือ เครื่องหอม ผสมน้ำยาทำความสะอาด ไม่ใช้ผลรับประทาน แต่อาจนำเปลือกมาใช้ผสมอาหารได้ ในประเทศจีนและญี่ปุ่นนิยมนำไปไว้ในห้องนอนและห้องน้ำเพื่ออบกลิ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มมือ · ดูเพิ่มเติม »

ส้มมุด

้มมุด เป็นพืชในสกุลเดียวกับมะม่วง เป็นผลไม้พื้นเมืองของภาคใต้ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า สิงคโปร์ และเวียดนาม กระบี่เรียกว่า ส้มมุดหรือมะมุด นราธิวาสเรียกว่า มะม่วงป่าหรือมาแซอูแต เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม เรียบเป็นมัน ดอกเป็นดอกช่อ สีชมพูอมแดง หอมเย็น เปลือกต้นแตกเป็นสะเก็ดเปลือกนอกสีน้ำตาลคล้ำ เปลือกในสีน้ำตาลแดง ผลอ่อนสีเขียวเข้ม ผลสุกสีเหลืองแกมเขียว เมื่ออ่อน เนื้อสีขาวเช่นเดียวกับมะม่วง แต่เปรี้ยวกว่า เนื้อแน่น เหนียวกว่า สุกแล้วเนื้อสีเหลือง กลิ่นแรงมาก ทำให้เป็นผลไม้ที่ถูกห้ามนำขึ้นรถโดยสารหรือห้องประชุม ส้มมุดเป็นผลไม้กินสด เนื้อผลรับประทานได้ มีกลิ่นขี้ไต้ และนำมาปรุงรสเปรี้ยวในอาหาร เช่น น้ำพริก นำมากินเป็นผักแกล้ม นำมายำกับปลาใส่มะพร้าวคั่ว หรือใส่ในแกงส้ม แกงเหลือง ผลดิบใช้เป็นผักหรือดองโดยเฉพาะในกาลิมันตันตะวันออกนิยมนำไปใช้แทนมะขาม ในมาเลเซียใช้ทำน้ำพริกและนำไปดอง ชาวโอรังอัสลีในคาบสมุทรมลายูใช้น้ำยางในการสักผิวหนัง เพื่อให้รอยสักติดลึก ใบใช้เป็นยาลดไข้ เมล็ดใช้แก้โรคติดเชื้อราบางชนิด ผลดิบมียางซึ่งทำให้ระคายเคืองในปากและริมฝีปาก ผลสุกมียางเฉพาะที่เปลือก ส้มมุดจากชวาตะวันตก อินโดนีเซี.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มมุด · ดูเพิ่มเติม »

ส้มม่วงคัน

้มม่วงคัน เป็นพืชในวงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง ดอกช่อ สีขาวหรือขาวแกมเขียว ผลรูปกลมป้อม เปลือกสีม่วงเข้ม เนื้อผลสีเหลืองมีเส้นใยมาก เป็นไม้พื้นเมืองในเกาะบอร์เนียว สุมาตรา สิงคโปร์ และคาบสมุทรมลายู ผลมีรสหวานอมเปรี้ยว เนื้อผลหนาเพียง 1 เซนติเมตร เมล็ดมีเส้นใยมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มม่วงคัน · ดูเพิ่มเติม »

ส้มลม

้มลม เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Apocynaceae ลำต้นมีน้ำยางขาวเหนียว ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเป็นหลอด สีขาวอมเขียว ปลายแยก สีแดงหรือสีชมพู ผลเป็นฝักคู่ ผลกลุ่มแก่แล้วแตกเมล็ดสีน้ำตาลมีขนสีขาว ใบและผลมีรสเปรี้ยว เป็นพืชพื้นเมืองในภูมิภาค อินโดจีน (ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม)ในกัมพูชาเรียก /vɔə tʰnɜŋ/ (វល្លិថ្នឹង) หรือ /kaɔt prɷm/ (កោតព្រំ) กินเป็นผักสดกับน้ำพริกหรือแจ่ว รากต้มน้ำดื่มช่วยขับลม คลายกล้ามเนื้อ หรือผสมกับยาสมุนไพรอื่นๆ รักษาอาการปวดเมื่อย ปัสสาวะขัด ในเวียดนาม นำไปใส่ในอาหารประเภทต้มที่เรียกกัญจัว.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มลม · ดูเพิ่มเติม »

ส้มสันดาน

้มสันดานหรือส้มข้าว เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Vitidaceae ไม่มีเนื้อไม้ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม โดยมีปีกบางๆตามยาวของลำต้น และมีคราบขาวตามลำต้น ต้นอ่อนสีม่วงอมแดง แก่เป็นสีเขียวแล้วเป็นสีน้ำตาลอมเทา ใช้หนวดในการยึดพันกับต้นไม้อื่น ใบเดี่ยว ขอบใบหยักเป็นคลื่น ก้านใบเรียวเล็ก ดอกช่อแบบแยกแขนง ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงสีม่วง กลีบดอกสีเหลืองแกมเขียวผลเดี่ยว กลม ผิวเกลี้ยงเป็นมันอมเขียว เมื่ออ่อนสีม่วงแดง แก่แล้วเป็นสีดำ มีเมล็ดเดียว ใบรับประทานได้ ใส่ในต้มส้ม มีรสเปรี้ยวเป็นเอกลักษณ์ เถาใช้ดองเหล้าดื่มแก้ปวดเมื่อย แก้ไอ.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มสันดาน · ดูเพิ่มเติม »

ส้มหูก

้มหูก หรือส้มโหลก เป็นพืชในสกุลเดียวกับมะไฟ ผลคล้ายมะไฟ ผลมีรสเปรี้ยวจัด เปลือกหนา รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มหูก · ดูเพิ่มเติม »

ส้มผด

้มผด วงศ์ Anacardiaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกเส่ฉี่สะ เป็นไม้ยืนต้น เปลือกลำต้นสีน้ำตาลแดง กิ่งอ่อนและก้านใบมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ใบประกอบ โคนก้านใบประกอบมีปีก หลังใบและท้องใบมีขนสีขาว ดอกช่อ ก้านช่อดอกมีขนปกคลุม มีกาบรองรับ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงมีขน กลีบดอกสีขาว เกสรตัวผู้ 5 อันเรียงตรงข้ามกับกลีบดอก อับเรณูสีเหลือง ผลแบบเมล็ดเดียว ขนาดเล็ก สุกแล้วเป็นสีแดง เมล็ดค่อนข้างกลม ชาวกะเหรี่ยงใช้ผลแห้งทำเครื่องดื่ม ผลแช่น้ำใช้ทามือและเท้าที่แตก ยอดอ่อนและช่อดอกนำมายำ ชาวขมุ ชาวลัวะและชาวถิ่น นำผลสดที่มีรสเปรี้ยวใส่แกง โกฐกักกราจีน เป็นปุ่มหูดที่ได้จากพืชชนิดนี้ เมื่อมีแมลงมาเจาะกิ่งอ่อนจะสร้างปุ่มหูดขึ้น ภาษาจีนกลางเรียกอู่เป้ยจื่อ ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกโหงวปวยจื่อหรือ chinese gall ใช้แก้ไอขับเสมหะ แก้ท้องเสีย รักษาริดสีดวงทวาร ไฟล์:Rhus javanica var chinensis1.jpg|ใบ ไฟล์:Rhus javanica var chinensis3.jpg|ดอก ไฟล์:Rhus javanica var chinensis4.jpg|ผล.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มผด · ดูเพิ่มเติม »

ส้มจี๊ด

ผลส้มจี๊ดผ่าครึ่ง พายส้มจี๊ด ส้มจี๊ด หรือ ส้มกิมจ๊อ ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrus Japonica Thunb ชื่อวงศ์: RUTACEAE ไม้พุ่มขนาดกลาง แตกแขนงเป็นพุ่มแน่น ใบรูปไข่ สีเขียวสดเป็นมัน มีหูใบขนาดเล็ก ดอกออกดอกเดี่ยว แต่มักออกรวมกันเป็นกลุ่ม มีสีขาว ติดผลดก ผลกลมเหมือนส้มทั่วไป แต่มีขนาดเล็ก เป็นส้มชนิดที่กินเปลือก ผลขนาดเล็ก มีทั้งกลมและรี เปลือกสีเหลือง เหลืองอมเขียว หรือเหลืองทอง ผลดก ผิวที่หนา มีรสเปรี้ยว อมหวานเฝื่อนนิดๆ จึงนิยมนำเปลือกไปดองเค็มเรียกกิมจ๊อ เป็นพืชท้องถิ่นในประเทศจีน แล้วจึงแพร่หลายไปสู่ญี่ปุ่น ไต้หวัน และเกาหลี ภาษาจีนกวางตุ้งเรียกว่าก่ำควิด ซึ่งเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ kumquat เป็นได้ทั้งไม้กินผลและไม้ประดับ เปลือกส้มมีสรรพคุณช่วยขับลม ช่วยย่อย ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ดองเกลือและทำให้แห้ง อมแก้เจ็บคอ แต่งรสเปรี้ยวในการทำน้ำผลไม้ ใช้ทำแยม.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มจี๊ด · ดูเพิ่มเติม »

ส้มซ่า

้มซ่า เป็นพืชในวงศ์ Rutaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีหนามยาวตามลำต้น ใบประกอบแบบลดรูป เหลือใบย่อยใบเดียว ใบหนาเป็นมัน มีต่อมน้ำมันอยู่ทั่วไป ก้านใบมีปีก ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลกลม ขนาดใกล้เคียงกับผลมะนาว เปลือกหนา เปลือกนอกเป็นสีเขียวอมน้ำตาล เปลือกตะปุ่มตะป่ำ เนื้อในคล้ายส้มโอ รสเปรี้ยวอมหวาน ใช้ผิวแต่งกลิ่นอาหารเช่นหมี่กรอบ ปลาแนม น้ำคั้นจากผลใช้ปรุงรสเปรี้ยวในอาหาร ใช้เป็นยาแก้ไอ กัดเสมหะ ใช้เป็นน้ำกระสายยา ในตำรายาจีนเรียกจื๋อเบอ (ภาษาจีนกลาง) หรือจี๋ปัก (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ใช้เป็นยาเจริญอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มซ่า · ดูเพิ่มเติม »

ส้มซ่าหวาน

้มซ่าหวาน var.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มซ่าหวาน · ดูเพิ่มเติม »

ส้มป่อย

้มป่อย อยู่ในวงศ์ Fabaceae วงศ์ย่อย Mimosoideae ภาษากะเหรี่ยงเรียกเบ๊อะฉี่สะหรือพีจีสะ เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย มีหนามแข็ง ลำต้นและกิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ปลายใบเป็นติ่งหนามแหลมอ่อนโค้ง ใบประกอบ มีหูใบ ใบย่อยไม่มีก้านใบ ดอกช่อแบบกระจุก ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดเล็ก เป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงรูปถ้วยสีแดง กลีบดอกเป็นหลอดสีขาว เกสรตัวผู้จำนวนมากติดกับกลีบดอก มี 5 มัด ก้านชูสีขาว ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน แบน หนา เมื่อแห้งผิวย่น ขรุขระมาก ฝักอ่อนและใบอ่อนมีรสเปรี้ยว ชาวกะเหรี่ยงนำไปประกอบอาหาร ฝักแก่ตากให้แห้ง ต้มกับขมิ้นใช้สระผม ใบใช้เป็นส่วนประกอบในการย้อมผ้า ในฝักมีสารกลุ่มซาโปนินหลายชนิด ทำให้เกิดฟองเมื่อนำฝักส้มป่อยตีกับน้ำ รากใช้เป็นยาแก้ไข้ ใช้เป็นยาขับเสมหะ แก้บิด ดอกส้มป่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มป่อย · ดูเพิ่มเติม »

ส้มแก้ว

้มแก้ว เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในมาเลเซีย แล้วจึงแพร่หลายไปยังประเทศต่างๆ ในไทยปลูกมากที่จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นส้มที่มีขนาดใหญ่รองจากส้มโอ เป็นไม้ยืนต้น ใบเรียบ มีต่อมน้ำมัน ผลรูปร่างกลมแป้น ใหญ่ เปลือกนอกสีส้ม เปลือกล่อน แกะง่าย ใช้ทำน้ำส้มคั้น และเป็นผลไม้เซ่นไหว้ในช่วงเทศกาลตรุษจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ส้มแมนดาริน

้มแมนดาริน (mandarin orange) เป็นส้มผลขนาดเล็ก ใช้กินสด หรือใส่ในสลัดผลไม้ สายพันธุ์ของส้มแมนดารินที่มีสีแดงมีชื่อทางการค้าว่าแทงเกอรีน ส้มชนิดนี้ใช้เป็นส่วนผสมของยาจีนในรูปผลแห้ง ภายนอกเป็นสีเหลืองอมทอง มีปุ่มเล็กบุ๋มเข้าไป ภายในสีขาว ภาษาจีนกลางเรียก เฉินผี ภาษาจีนแต้จิ๋ว เรียก กิ่งพ้วยเปลือกใช้ทำยาบำรุงม้าม ละลายเสมห.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มแมนดาริน · ดูเพิ่มเติม »

ส้มแขก

้มแขก ชื่ออื่นคือ ส้มควาย ส้มมะวน ชะมวงช้าง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Guttiferae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับมังคุด ชะมวง เปลือกต้นเมื่ออ่อนสีเขียว พอแก่เป็นสีน้ำตาลอมดำ ใบเดี่ยว เรียบเป็นมัน ดอกช่อ แยกเพศ แยกต้น เมื่ออ่อนมีกลีบเลี้ยงสีเขียวหุ้ม ผลเป็นผิวเดี่ยว ผิวเรียบ เนื้อผลที่เป็นเนื้อแข็งมีรสเปรี้ยว เนื้อหุ้มเมล็ดสีส้มมีรสหวาน มี 5-8 เมล็ด ใบส้มแขก เนื้อส่วนที่แข็ง มีกรดซิตริก กรดทาทาร์ริก กรดมาลิก และ กรดแอสคอร์บิก กรดไฮดรอกซีซิตริก และ ฟลาโวนอยด์ นำมาปรุงรสเปรี้ยวในอาหารเช่น แกงส้ม หรือทำเครื่องดื่มลดความอ้วน ผลส้มแขกสุกเป็นสีส้มเหลือง ส้มแขกที่หั่นเป็นชิ้นแล้วตากแดดให้แห้ง ในภาษามลายูเรียก อาซัมเกอปิง มีขายทางการค้า ใช้แต่งรสเปรี้ยวในสลัด แกง และต้มต่างๆ ผลดิบเมื่อโตเต็มที่นำมาตากแห้งนำไปต้มเคี่ยวในน้ำเชื่อม รับประทานเป็นของหวาน ผลแห้งเป็นตัวช่วยให้สีย้อมติดแน่นทนทาน น้ำต้มเคี่ยวใบและรากใช้แก้อาการปวดหูใช้แปรรูปได้หลายอย่าง เช่น น้ำส้มแขก ส้มแขกกวน ส้มแขกหยี แยมส้มแขก ส้มแขกแช่อิ่ม รสเปรี้ยวของส้มแขกเกิดจากกรดหลายชนิดเช่นกรดซิตริก กรดทาร์ทาริก กรดมาลิก กรดแอสคอร์บิกและกรดไฮดรอกซีซิตริก.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มแขก · ดูเพิ่มเติม »

ส้มแปะ

้มแปะ หรือส้มปี้ อยู่ในวงศ์ Ericaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก เส่อแบละ ไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ก้านใบสั้น สีแดงอ่อนหรือเขียว ดอกช่อ ก้านช่อดอกมีขนปกคลุม มีกาบหุ้มช่อสีแดงเข้ม ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพูอ่อน ผลสด มีหลายเมล็ด อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีแดงเข้ม ยอดอ่อน กินสดกับน้ำพริกหรือใส่ในแกงปลา มีรสเปรี้ยว ผลสุกรับประทานได้ เนื้อไม้สับเป็นชิ้นๆ ตากให้แห้ง ใช้เป็นไส้บุหรี่ขี้.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มแปะ · ดูเพิ่มเติม »

ส้มโอ

้มโอ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในตระกูลเดียวกับส้ม มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ โกร้ยตะลอง (ภาษาเขมร) มะขุน (เหนือ) มะโอ (เหนือ) ลีมาบาลี (มลายู ยะลา) และ สังอู (กะเหรี่ยง มลายู) มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า Pomelo ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาดัตช์ pompelmoes ซึ่งแปลตรงตัวว่า "ส้มที่ลูกเท่าฟักทอง" นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มโอ · ดูเพิ่มเติม »

ส้มเขียวหวาน

้มเขียวหวาน เป็นส้มชนิดหนึ่ง ที่พัฒนาสายพันธุ์มาจากส้มจีน (C. reticulata) ในประเทศไทยมีผู้สันนิษฐานว่ามีผู้นำเข้าต้นพันธุ์มาจากประเทศจีนเมื่อระยะเวลากว่า 100 ปีมาแล้ว โดยลักษณะทั่วไปของส้มเขียวหวานมีรูปกลมมน แป้นเล็กน้อย ฐานผลกลมมน ด้านล่างเป็นแอ่งตื้น ๆ ผิวผลเรียบ มีเปลือกบาง เนื้อส้มภายในเป็นสีส้มอมทอง ฉ่ำน้ำ กลีบแยกออกจากกันได้โดยง่าย มีรสชาติอร่อยหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย เมื่อแกะออกมาแล้วกลิ่นจะติดจมูก ทำให้เป็นที่นิยมกันเป็นอย่างมาก ทั้งในรูปของผลไม้สดและในรูปของน้ำส้มคั้น ซึ่งนอกจากจะให้คุณค่าทางอาหารสูงแล้ว การบริโภคในลักษณะที่รวมทั้งเส้นใยและกากจะเป็นยาระบายอ่อนๆได้เป็นอย่างดีอีกด้วยส้มเขียวหวานที่ผลิตในแต่ละปีจะใช้บริโภคทั้งภายในประเทศและส่งออกไปจำหน่ายประเทศเพื่อนบ้าน นำรายได้เข้าประเทศปีละหลายล้านบาท แหล่งที่ขึ้นชื่อว่าปลูกส้มเขียวหวานกันมากและมีชื่อเสียงในประเทศไทย คือ ตำบลบางมดในพื้นที่อำเภอราษฎร์บูรณะและอำเภอบางขุนเทียนของจังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือแขวงบางมดในเขตทุ่งครุและเขตจอมทองของกรุงเทพมหานคร) จนได้ชื่อว่า "ส้มบางมด" แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 มีน้ำทะเลได้หนุนเข้ามาทำให้ไม่สามารถปลูกได้ จึงได้เปลี่ยนมาปลูกที่ทุ่งรังสิต โดยเริ่มที่คลองสอง ธัญบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 จึงมาปลูกที่อำเภอหนองเสือ จนได้ชื่อว่า "ส้มรังสิต" แต่ปัจจุบันก็มีการเพาะปลูกน้อยลง รวมถึงในพื้นที่บางมดด้วย ส้มเขียวหวาน มีสรรพคุณทางยาและโภชนาการ ตรงที่ผลนำมารับประทานหรือคั้นน้ำดื่มมีรสชาติเปรี้ยวอมหวานบรรเทาอาการกระหายน้ำ ป้องกันโรคหวัดและการติดเชื้อแบคทีเรีย ลดปริมาณโคเลสเตอรอลในโลหิต ช่วยระบบย่อยอาหารของร่างกาย ระบายได้มีแก้อาการท้องผูก และมีคุณค่าทางอาหาร ส้มเขียวหวานน้ำหนัก 100 กรัม ให้วิตามินซี 42 มิลลิกรัม นอกจากนี้แล้ว ส้มเขียวหวานยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ส้มแก้วเกลี้ยง", "ส้มจันทบูร", "ส้มแป้นกระดาน", "ส้มแสงทอง", "ส้มแป้นเกลี้ยง", "ส้มจุก" หรือ "ส้มบางมด" เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและส้มเขียวหวาน · ดูเพิ่มเติม »

ส้านช้าง

อก ส้านช้าง เป็นพืชที่มีลักษณะคล้ายส้านหิน แต่ใบยาวกว่า ใบอ่อนมีขนปกคลุม ใบแก่เรียบ ไม่มีขน กลีบเลี้ยงไม่มีขน เกสรตัวผู้จำนวนมาก การกระจายพันธุ์จะพบในบริเวณเดียวกับส้านหิน แต่จะพบในบริเวณที่ชุ่มชื้นกว่า พบในอินเดีย พม่า ยูนนาน ลาว เวียดนาม เกาะชวา เกาะสุลาเวสี เนื้อไม้คงทน ใช้ทำเครื่องใช้ภายในบ้าน พื้นบ้าน เสาบ้าน และรางรถไฟ เผาถ่าน ผลมีรสเปรี้ยว รับประทานได้ นำมาทำน้ำผลไม้ วุ้น แกง ทางยาใช้เป็นยาแก้ไอ เปลือกใช้แก้โรครูมาติก ใช้มุงหลังคาได้.

ใหม่!!: พืชดอกและส้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ส้านหิน

้านหิน หรือ ส้านหิ่ง อยู่ในวงศ์ Dilleniaceae เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ลำต้นค่อนข้างตรง ผิวใบด้านบนมีขนสาก ผิวใบด้านล่างมีขนสีเทานุ่มหรือสาก ดอกเดี่ยว ดอกออกเป็นกระจุก สีเหลือง กลีบดอกบอบบางและหลุดง่าย ผลอวบน้ำ เมื่อแก่สีส้ม เนื้อไม้ใช้ทำกระดาน และก่อสร้างบ้าน ภาษากะเหรี่ยงเรียก ลาน.

ใหม่!!: พืชดอกและส้านหิน · ดูเพิ่มเติม »

สเปียร์มินต์

ปียร์มินต์ เป็นพืชในสกุลมินต์ กระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกา ยุโรป แอฟริกาเหนือถึงเอเชีย ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 30-100 เซนติเมตร มีเหง้าใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปรีแกมใบหอก ขอบใบจักฟันเลื่อย ออกตรงข้าม กว้าง 1.5-3 เซนติเมตร ยาว 5–9 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อสีชมพูขาว ยาว 2.5–3 มิลลิเมตร ผลกลมภายในมีเมล็ด สเปียร์มินต์มีน้ำมันที่มีส่วนประกอบหลักเป็นคาร์โวนและลิโมนีน และมีเมนทอลและเมนโทนในปริมาณเล็กน้อย น้ำมันสเปียร์มินต์มีคุณสมบัติไล่แมลงและต้านเชื้อรา ใช้ผสมในชามินต์ แต่งกลิ่นยาสีฟัน ขนมและเครื่องดื่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและสเปียร์มินต์ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้า

หญ้า เป็นพืชล้มลุกหลายชนิด หลายสกุล ในชั้น Liliopsida วงศ์ Poaceae หรือเป็นที่รู้จักกันดีว่าวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าคา (Imperata cylindrica Beauv.) หญ้าตีนกา (Eleusine indica Gaertn.) หญ้าแพรก (Cynodon dactylon Pers.) หญ้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชื่อว่า ธูปฤาษี มีพืชชนิดนี้ประมาณ 600 สกุล และมีประมาณ 10,000 ชนิด มีการประเมินกันว่าหญ้าเป็นพืชที่ปกคลุมผิวโลกกว่า 20% ของพืชทั้งหมดบนโลก พืชในวงศ์นี้เป็นพืชที่มีความสำคัญที่สุดต่อเศรษฐกิจมนุษย์ รวมไปถึง ใช้เป็นสนามหญ้า, อาหารหลักที่ปลูกทั่วโลก, และไม้ไผ่ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างในเอเชีย แต่บางชนิดจัดเป็นวัชพืช ปัจจุบัน หญ้าเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในด้านการนำมาใช้ผลิตพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนอีกด้วย เช่นหญ้ามิสแคนทัส และ หญ้ามิสแคนทัสช้าง พืชในวงศ์หญ้าที่เรารู้จักดี เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ข้าวโอ้ต ข้าวไรย์ ลูกเดือย หญ้าไรย์ อ้อย ไผ่ ตะไคร้ เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าชะเงา

หญ้าชะเงา() เป็นหญ้าทะเลที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ขึ้นเป็นกอสูง 1 เมตร มี 2-5 ใบ ใบแบนยาว แตกขึ้นมาจากไรโซม ก้านดอกยาว ม้วนงอเหมือนสปริง พบได้ทั้งบริเวณน้ำกร่อยและทะเล เป็นพืชท้องถิ่นในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันตก ในตำรายาไทยใช้เป็นยาฟอกโลหิต ขับน้ำเหลืองเสีย แก้ลมในลำไส้.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าชะเงา · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าชันกาด

หญ้าชันกาด (torpedograss) เป็นพืชวงศ์หญ้าและเป็นพืชหลายฤดู กระจายตัวโดยการแตกหน่อ สูง 50-100 เซนติเมตร ใบค่อนข้างเป็นเส้นตรง ยาว 7-15 เซนติเมตร มีขนเล็กน้อยที่ด้านบนของใบและตามขอบ ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิล ยาว 10 -20 เซนติเมตร ขยายพันธุ์โดยใช้เหง้า เมล็ดส่วนใหญ่ไม่งอก ชอบดินแห้ง พบตามบริเวณริมถนน ที่รกร้าง บางครั้งเป็นวัชพืชในเขตเกษตรกรรม โดยเฉพาะสวนทุเรียน แพร่กระจายทั่วประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าชันกาด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าช้างน้อย

หญ้าช้างน้อย เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Caprifoliaceae ยอดอ่อนมีขนนุ่ม ใบเดี่ยว รูปไข่ ผิวใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบไม่เท่ากัน ผลรูปกลม ออกดอกช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พบตามพื้นที่สูงของภาคเหนือและภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยโดยหมอคาร์เมื่อ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าช้างน้อย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าพองลม

หญ้าพองลม หรือ ปู่เจ้าลอยท่า เป็นพืชในวงศ์หญ้า ขึ้นอยู่ในน้ำเป็นแพแน่นในน้ำนิ่งหรือเกาะเลื้อยบนที่ชื้นแฉะเกาะกันเป็นกระจุก สามารถพบได้ตามห้วย หนอง คลอง บึง บ่อ สระ ร่องสวนโดยทั่วไป ลำต้นมีลักษณะคล้ายฟองน้ำ แตกแขนงมาก มีรากที่ข้อ ใบแข็งหนา มีความกว้าง 1.2 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร ใบรูปรีมีลักษณะมน ๆ ก้านใบโป่งพอง เพื่อกักน้ำไว้เลียงตัว ดอกช่อ กระจายพันธุ์ในอินเดีย พม่า ไทย และอินโดจีน ในรัฐอัสสัมปลูกเป็นแพในแม่น้ำเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ เมล็ดใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลนได้ ต้นเหมาะสำหรับเป็นอาหารของวัวควาย บางครั้งเป็นวัชพืชกีดขวางทางน้ำ เมล็ดมีรสหวานมันมีสรรพคุณเป็นยาเย็น รักษาอาการตับอ่อนผิดปกติ ดับพิษและถอนพิษร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าพองลม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าพง

หญ้าพง เป็นหญ้าอายุหลายปี มีเหง้ารูปป้อม ดอกช่อ เมล็ดรูปไข่กลับ แก่แล้วร่วง พบตั้งแต่อินเดียใต้ ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีนตอนใต้ พบตามชายฝั่งแม่น้ำ เมล็ดใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลนได้ ลำต้นใช้เป็นอาหารสัตว์ ในไต้หวันปลูกเป็นพืชอาหารสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าพง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ากาย

หญ้ากาย เป็นพืชวงศ์หญ้า กอใหญ่ ก้านช่อดอกสูงกว่ากอ ช่อดอกออกที่ปลายก้าน แตกออกจากจุดเดียวกัน ผลขนาดเล็ก ออกดอกช่วงตุลาคม – พฤศจิกายน พบในทุ่งหญ้าบนที่สูงที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเลย พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ากาย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ากุศะ

หญ้ากุศะ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Desmostachya bipinnata) เป็นหญ้าในวงศ์ Gramineae (Poaceae) มีถิ่นกำเนิดที่ประเทศอินเดียและเนปาล ชอบขึ้นในที่แห้งแล้งริมฝั่งแม่น้ำ โดยจะขึ้นเป็นกอเหง้าใหญ่ ใบอวบรูปยาวเหมือนหอก ขอบใบคม ดอกเป็นช่อรูปพีระมิด หรือเป็นแท่งตั้งตรง แข็ง สีน้ำตาลอ่อน ออกดอกตลอดฤดูฝน ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด และแยกกอ หญ้ากุศะเป็นหญ้าชนิดหนึ่งซึ่งถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก เนื่องจากเป็นหญ้าที่ปรากฏในพุทธประวัติว่า ในวันก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้ เจ้าชายสิทธัตถะได้รับถวายหญ้าชนิดนี้จำนวน 8 กำมือจากพราหมณ์โสตถิยะ และเจ้าชายสิทธัตถะได้นำหญ้ากุศะไปปูรองนั่งเป็นพุทธบัลลังก์ในวันที่พระองค์ตรัสรู้ ทำให้ชาวพุทธถือว่าหญ้านี้มีความสำคัญมาก และจัดให้หญ้านี้เป็นต้นไม้สำคัญชนิดหนึ่งในพุทธประวัติ ชาวฮินดูนับถือว่าหญ้านี้มีความศักดิ์สิทธิ์เช่นกัน โดยนำหญ้านี้มาประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ในวันแรม 15 ค่ำ​เดือน 9 หรือที่เรียกว่า กุโศตปาฎนีอมาวสยา เพื่อเป็นการบูชาพระกฤษณะ เทพเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู หญ้ากุศะยังมีสรรพคุณทางยาสมุนไพร คือ ใช้ทั้งต้นเป็นยาฝาดสมาน​ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ รากมีรสหวาน เป็นยาเย็น แก้อาการกระหายน้ำได้อีกด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ากุศะ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าฝรั่น

หญ้าฝรั่น หรือ สรั่น บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าฝรั่น · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ามิสแคนทัส

หญ้ามิสแคนทัส (ชื่อสกุลทางวิทยาศาสตร์ Miscanthus) เป็น สกุล (genus) ของหญ้าพืชหลายปี ประมาณ 15 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในถิ่นกึ่งโซนร้อนของแอฟริกาและเอเซียใต้ โดยมีหญ้ามิสแคนทัสชนิดไซเนนซิส หรือ "หญ้าซูซูกิ" (M. sinensis) ชนิดเดียวที่สามารถขึ้นเหนือขึ้นไปได้ในเขตอบอุ่นของเอเชียตะวันออก ชนิดที่เลือก.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ามิสแคนทัส · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ามิสแคนทัสช้าง

หญ้ามิสแคนทัสช้าง (Miscanthus giganteus) เป็นหญ้ามิสแคนทัสชนิดพืชหลายฤดูชนิดหนึ่ง (perennial grass) ขนาดใหญ่ (ที่สามารถสูงได้ถึง 4 เมตร) ที่นำมาใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ ปัจจุบันมีการผลิตเชิงการค้าในสหราชอาณาจักรซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดที่เพิ่มกำลังเพิ่มอย่างรวดเร็ว นอกจากการใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าและความร้อนที่มีราคาประหยัดแล้ว หญ้ามิสแคนทัสช้างยังเป็นพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ด้วยระบบรากที่มีขนาดใหญ่มันจึงสามารถหาอาหารได้ดีกว่า นอกจากนี้ลำต้นส่วนล่างที่สูงยังใช้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ต่างๆ ตามธรรมชาติได้ดีด้วย การให้ผลผลิตต่อไร่ที่สูงและไม่ต้องการการดูแลมาก หญ้ามิสแคนทัสช้างจึงมีความเหมาะสมมากในการเก็บกักคาร์บอนและใช้ในการสร้างดิน.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ามิสแคนทัสช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ายอนหู

หญ้ายอนหู หรือ หญ้าดอกขาว (Red sprangletop) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ ออกรากตามข้อ สูง 50 - 100 เซนติเมตร ใบเรียบ เป็นเส้นตรง ยาว 10 - 20 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิล ยาว 20-60 เซนติเมตร มีช่อดอกย่อยแบบ spike จำนวนมาก ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร แต่ละช่อมี 3-7 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินที่ระบายน้ำได้ไม่ดี พบในนาหว่าน พบได้ทั่วประเทศไทย หญ้ายอนหูเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาธี สารสกัดด้วยเอทิลอะซีเตตจากลำต้น ยับยั้งการเจริญของแตงกวา แตงโม ฟักทอง ถั่วลิสงนา ผักเสี้ยนผี ผักเบี้ยใหญ่ ข้าว ไมยราบยักษ์ ผักกาดขาวและหญ้าข้าวนกได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ายอนหู · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ารัดเขียด

หญ้ารัดเขียด (Lesser Fimbristylis) เป็นพืชวงศ์กก ฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 25-50 เซนติเมตร ใบติดที่โคนต้น มีปลอกหุ้มยาว 2-4 เซนติเมตร ดอกช่อแบบซี่ร่ม มีช่อดอกย่อย 50 - 100 ช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบพื้นที่เปียกชื้น พบในท้องนา กระจายพันธุ์ได้ทั่วประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ารัดเขียด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ารังกาแก้ว

หญ้ารังกาแก้ว (Umbrella sedge; rice flatsedge) เป็นพืชล้มลุกวงศ์กก และเป็นพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 20-60 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง สั้นกว่าความสูงของกอ ดอกช่อเป็นแบบซี่ร่ม ยาวถึง 20 เซนติเมตร มีช่อดอกย่อย 3-5 ช่อ ในแนวรัศมี แต่ละช่อดอกย่อยมีดอกย่อย 6-24 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ขึ้นได้ทั้งในที่แห้งและที่ชื้น พบเป็นวัชพืชในท้องนาและที่ดอน.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ารังกาแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ารังนก

หญ้ารังนก (Swollen finger grass) เป็นพืชในวงศ์หญ้า และเป็นพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกลุ่มก้อน สูง 50 - 100 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้ารังนก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าลอยลม

หญ้าลอยลม เป็นหญ้าที่ขึ้นตามชายหาด ลำต้นทอดเกาะติดกับผืนทราย ลำต้นเหนียวขึ้นทอดต่อกันเป็นร่างแหคลุมพื้นทราย โดยหยั่งรากยึดเป็นจุด ๆ ใบงอกจากต้นเป็นรูปดาวกระจาย เมื่อถูกทรายกลบจะแทงยอดใหม่ขึ้นมาใหม่ได้ และใบที่หลุดออกจากต้นก็จะปลิวตามลมแล้วไปงอกเป็นต้นใหม่ได้เช่นกัน ใบแข็ง ป้องกันการสูญเสียน้ำ ระบบรากและลำต้นแบบร่างแหช่วยยึดผืนทรายและหาน้ำ และคอยดักเศษไม้เศษใบไว้ย่อยสลายสะสมเป็นสารอินทรีย์หน้าผิวดิน ช่อดอกออกเป็นรัศมีทุกทาง เมื่อผลแก่ ช่อผลจะหลุดจากต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าลอยลม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าละออง

หญ้าละออง Less.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าละออง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าสนกระจับ

หญ้าสนกระจับ (ภาษาอังกฤษ:burgrass, hedgehog grass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว ออกรากตามข้อ แตกเป็นกอ สูง 50 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าสนกระจับ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหวาน

หญ้าหวาน หรือ สเตเวีย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia rebaudiana Bertoni อยู่ในวงศ์ Asteraceae เป็นพืชพื้นเมืองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปารากวัยในทวีปอเมริกาใต้ ความพิเศษของหญ้าหวาน คือ ส่วนของใบให้ความหวานมากกว่าน้ำตาลถึง 10-15 เท่า แต่ความหวานนี้ไม่ก่อให้เกิดพลังงานแต่อย่างไร (0 แคลอรี/กรัม) นอกจากนี้ยังมีสารสกัดที่เกิดจากหญ้าหวานชื่อว่า สตีวิโอไซด์ (stevioside) เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่า 200-300 เท่าของน้ำตาล ด้วยความพิเศษของหญ้าหวานนี้ หญ้าหวานจึงเป็นพืชที่ได้รับความสนใจทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การแพทย์ ยาสมุนไพร เครื่องดื่ม เป็นต้น มนุษย์รู้จักนำสารสกัดที่มีรสหวานจากหญ้าหวานมาบริโภคหลายศตวรรษแล้วโดยชาวพื้นเมืองในประเทศปารากวัย โดยนำหญ้าหวานมาผสมกับเครื่องดื่ม เช่น ชา นอกจากนี้ชาวญี่ปุ่นยังนำสารให้ความหวานมาผสมกับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ผักดอง ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว เนื้อปลาบด เป็นต้น หญ้าหวานเริ่มเข้าสู่ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2550 และปลูกกันมากในภาคเหนือ โดยเฉพาะที่จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และเชียงราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้มีการใช้สารสตีวิโอไซด์เพื่อการบริโภค หญ้าหวานจึงจัดอยู่ในพืชสมุนไพรอีกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าหวาน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหางหมาจิ้งจอก

หญ้าหางหมาจิ้งจอก (Knotroot foxtail; Slender pigeongrass) เป็นหญ้าฤดูเดียว มักขึ้นเป็นกอ แตกกิ่งออกรากตามข้อ สูง 50 – 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ลิกุลเป็นขน ดอกเป็นดอกช่อ ทรงคล้ายลำเทียน สีฟางข้าว ยาว 10 – 20 เซนติเมตร มีขนตามข้อ ออกดอกที่ปลายช่อ ออกดอกปีละครั้ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบขึ้นในที่ชื้น พบในนาหว่าน และพื้นที่เกษตรกรรมในฤดูแล้ง ส่วนใหญ่พบทางภาคกลางและภาคเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าหางหมาจิ้งจอก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหนวดฤๅษี

หญ้าหนวดฤๅษี (Tangle head) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชหลายฤดู ขึ้นเป็นกอ สูง 20 - 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ยาว 6-20 เซนติเมตร มีปลอกหุ้มเรียบ ดอกเป็นดอกช่อแบบราซีม ยาว 4-7 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยเป็นแบบ spiked ด้านเดียว ยาว 7 มิลลิเมตร ออกดอกทั้งปี ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและการแตกหน่อ ชอบขึ้นในดินแห้ง พบตามบริเวณข้างถนนและพื้นที่รกร้าง ชาวฮาวายใช้หญ้าชนิดนี้มุงหลังคาบ้าน ไฟล์:Heteropogon contortus seed.jpg ไฟล์:Heteropogon contortus seedhead.jpg ไฟล์:Heteropogon contortus W IMG_3500.jpg.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าหนวดฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหนวดแมว

หญ้าหนวดแมว (ชื่อพ้อง: O. grandiflorus Bold, O. stamineus Benth.) หรือ พยับเมฆ (กรุงเทพฯ), อีตู่ดง (เพชรบูรณ์), บางรัก (ประจวบคีรีขันธ์) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae (Labiatae) ซึ่งเป็นพืชที่จัดอยู่ในพวกเดียวกับกะเพราและโหร.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าหนวดแมว · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหนูต้น

หญ้าหนูต้น (L.) DC.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าหนูต้น · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าทราย

หญ้าทราย (southern cutgrass; swamp ricegrass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชหลายฤดู มีเหง้า ออกรากที่โคนเหง้า ต้นสูง 50 - 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ยาว 15-30 เซนติเมตร มีปลอกหุ้มบริเวณข้อ เห็นเป็นขอบชัดเจน มีขน ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิลยาว 5-12 เซนติเมตร ประกอบด้วยช่อดอกย่อย 10 - 15 ช่อ และช่อยาว 2-3 เซนติเมตร ในประเทศไทย ออกดอกช่วง พฤศจิกายน - ธันวาคม ขยายพันธุ์ด้วยเหง้าและเมล็ด การสังเคราะห์ด้วยแสงคาดว่ามีการตรึงคาร์บอนแบบ C3 ชอบดินชื้นแฉะ พบในนาข้าว และที่ลุ่มน้ำขังทั้วประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าทราย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าทะเล

หญ้าตะกานน้ำเค็ม (''Ruppia maritima'') หญ้าทะเล (Seagrass) เป็นกลุ่มของพืชดอกเพียงกลุ่มเดียว ที่ได้มีวิวัฒนาการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ในทะเล โดยมีลักษณะโครงสร้างภายนอกคล้ายคลึงกับหญ้าที่เจริญอยู่บนบก ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1.ราก เป็นส่วนที่ใช้ในการดูดซึมสารอารหารและแร่ธาตุจากในดิน ทั้งยังช่วยในการยึดเกาะกับพื้นดินทำให้หญ้าทะเลมีความมั่นคง 2.เหง้า เป็นส่วนของลำต้นที่เจริญคืบคลานไปใต้พื้นผิวดิน 3.ใบ เป็นส่วนที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหาร มีรูปร่างแตกต่างกันตามแต่ชนิดของหญ้าทะเล มีทั้งชนิดที่ใบมีลักษณะเป็นแผ่นแบน และชนิดที่เป็นท่อกลม ใบของหญ้าทะเลใช้เป็นลักษณะสำคัญในการจำแนกชนิดของหญ้าทะเล หญ้าทะเล เดิมเคยเป็นพืชที่อยู่บนบกมาก่อน ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตโบราณแบบเดียวกับฟองน้ำหรือปะการัง จึงมีโครงสร้างแบบพืชบนบกในปัจจุบันปรากฏให้เห็น.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าทะเล · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าขัดใบยาว

หญ้าขัดใบยาว หรือ หญ้าขัดมอน หญ้าไม้กวาด เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Malvaceae ไม่ผลัดใบ ลำต้นเหนียว เรียบ สีเขียว ใบเดี่ยว ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลือง เกสรตัวผู้ขนาดสั้นสีเหลืองไม่โผล่เหนือกลีบดอก ผลเดี่ยว แห้ง ขั้วใหญ่ปลายผลเรียวแหลม มีกลีบเลี้ยงหุ้มสีเขียว สุกเป็นสีเหลืองออกน้ำตาลมีสี่พู แก่แล้วแตก รากต้มน้ำดื่ม ขับปัสสาวะ รักษานิ่วในกระเพาะปัสสาวะ แก้ท้องผูก ใบตำแล้วคั้นน้ำทาหรือพอกสิว ฝี.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าขัดใบยาว · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าขจรจบ

หญ้าขจรจบ หรือ หญ้าคอมมิวนิสต์ (desho grass, desho) เป็นพืชดอกใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดหนึ่งในสกุล Pennisetum วงศ์หญ้า มีถิ่นกำเนิดในประเทศเอธิโอเปีย ขึ้นมากตามที่สูงชันบริเวณพื้นที่ภูเขาของประเทศSmith, G. (2010).

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าขจรจบ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าขน

หญ้าขน (Paragrass, buffalograss, panicum grass)เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นพืชหลายฤดู แพร่กระจายด้วยเมล็ด และการแตกไหล ออกรากตามข้อ สูงประมาณ 2 เมตร ใบมีขน ยาว 10 - 30ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าขน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าขนตาวัว

หญ้าขนตาวัวชุมศรี ชัยอนันต.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าขนตาวัว · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวก่ำ

หญ้าข้าวก่ำ เป็นพืชในวงศ์หญ้าข้าวก่ำ กระจายพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงออสเตรเลีย ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกลำต้นสีเขียว ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 2-15 เซนติเมตร ใบที่โคนต้นเรียงรอบโคนเป็นช่อกระจุกซ้อน ดอกออกเป็นช่อกระจุกด้านเดียว แยกเป็นคู่ ก้านช่อดอกยาว 30-60 เซนติเมตร มีได้ถึง 20 ดอก ใบประดับรูปใบหอก ยาว 0.5-2.5 เซนติเมตร ดอกยาว 1-3 เซนติเมตร หลอดกลีบสีน้ำเงินมี 3 ปีก กว้าง 1-3.5 มิลลิเมตร กลีบรวมสีเหลืองรูปสามเหลี่ยม วงนอกยาว 1.5-4.5 มิลลิเมตร วงกลีบในรูปใบหอก ยาว 1-2 มิลลิเมตร โคนอับเรณูมีเดือย รังไข่รูปรี ยาว 0.6-1.2 เซนติเมตร ผลเป็นแบบแห้งแตก รูปไข่กลับ ยาวได้ถึง 2 เซนติเมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าข้าวก่ำ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวผี

หญ้าข้าวผี เป็นพืชในสกุลข้าว มีวิวัฒนาการใกล้ชิดกับข้าว (Oryza sativa) ขึ้นเป็นกอ ลำต้นทอดขนาน ชูยอดตั้งตรง กาบใบเกลี้ยงใบรูปแถบ ใบหยาบจับที่ขอบจะคายมือ ดอก เป็นช่อดอกแบบแยกแขนง อาหารสะสมภายในเมล็ดไม่เป็นก้อนแข้งแห้งแบบข้าว มักมีลักษณะเหลวข้น เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย กระจายพันธุ์ตามหนองน้ำและที่ลุ่ม เป็นวัชพืชร้ายแรงในนาข้าว เมล็ดที่เกี่ยวปนไปกับข้าว ทำให้ข้าวเน่าและขึ้นราได้ง่าย หญ้าข้าวผีจัดเป็นวัชพืชในสหรัฐอเมริกา หญ้าข้าวผีจะขึ้นปนในแปลงปลูกข้าว และเมล็ดจะหลุดร่วงก่อนจะเกี่ยวข้าว ทำให้แพร่กระจายพันธุ์ได้ดี เมล็ดหญ้าข้าวผีที่ปนไปในข้าวสารจะถือเป็นของแปลกปลอม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าข้าวผี · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวทาม

หญ้าข้าวทาม ลำต้นตั้งตรง กาบใบคล้ายทรงกระบอก ลิ้นใบรูปรอยต่อ คล้ายสามเหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม ผิวในส่วนข้อเกลี้ยง ใบรูปแถบ ดอกช่อแบบแยกแขนง เมล็ดสีน้ำตาล จัดเป็นข้าวพันธุ์ป่าชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญในการนำมาใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมสำหรับปรับปรุงพันธุ์ข้าว ใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลน ใช้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือในงานพิธีทางศาสนาต่างๆ องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดใกล้เคียงกับข้าว.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าข้าวทาม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวนก

หญ้าข้าวนก(Jungle Rice) หญ้าข้าวนก (ภาษาอังกฤษ: jungle rice, birdsrice) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 30-60 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าข้าวนก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าดอกชมพู

หญ้าดอกชมพู (Natalgrass; Natal redtop) เป็นหญ้าฤดูเดียว แตกเป็นกอ ออกรากตามข้อ สูง 50 - 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง มีขนเล็กน้อย ยาว 20 - 30 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิล ยาว 10 - 20 เซนติเมตร ก้านช่อดอกผอม ดอกสีขาว สีม่วงหรือสีชมพู ดอกมีขนคล้ายเส้นไหม ออกดอกช่วงพฤศจิกายน - ธันวาคม ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินแห้ง พบในพื้นที่รกร้างและพื้นที่เกษตรกรรม แพร่กระจายในสวนสับปะรด และบริเวณปลูกพืชอื่นๆในประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าดอกชมพู · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าคา

หญ้าคา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Imperata cylindrica Beauv.) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในตระกูลหญ้า มีลำต้นสูงประมาณ ๕๐-๑๐๐ เซนติเมตร ลักษณะลำต้นเป็นทรงกลมเรียวยาวขนาดเล็ก ลักษณะใบเป็นขนกระจุก ขอบใบมีลักษณะคมกริบ ออกดอกเป็นช่อก้านยาวสีขาว คล้ายหางกระรอก มีสรรพคุณในการรักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคไต โรคมะเร็งคอ แก้ลมพิษ ผื่นคัน เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ประโยชน์จากหญ้าคาในการมุงหลัง.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าคา · ดูเพิ่มเติม »

หญ้างวงช้าง

หญ้างวงช้างในประเทศอินเดีย หญ้างวงช้าง เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Boraginaceae ลำต้นไม่มีเนื้อไม้ มีขนสั้นๆ จับแล้วเหนียวมือ มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว มีขนสั้นๆกระจายทั่วผิวใบ จับแล้วรู้สึกเหนียวมือ ดอกช่อ ปลายช่อม้วน มีดอกย่อยอยู่ที่ช่อดอกเพียงด้านเดียว ดอกมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยวกลม ปลายผลเป็นร่อง มีกลีบเลี้ยงหุ้มเป็นรูปสามเหลี่ยม อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีน้ำตาล ผลแห้งแตก เมล็ดสีเทาดำ ในฟิลิปปินส์ใช้เป็นยาแก้บวม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้างวงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าตะกรับ

หญ้าตะกรับ เป็นพืชวงศ์กกและเป็นพืชหลายฤดู ขึ้นเป็นกอ มีไหล สูง 50–150 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง สั้นกว่ากอ ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม ช่อดอกย่อยยาว 1–3 เซนติเมตร สีน้ำตาลหรือแดง มีดอกย่อย 10–30 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยไหลหรือเมล็ด ชอบขึ้นในดินชื้น พบทั่วไปบริเวณท้องนาและที่ที่มีน้ำท่วมขัง.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าตะกรับ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าตะกานน้ำเค็ม

หญ้าตะกานน้ำเค็ม (wigeongrass) เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่งซึ่งไม่จัดเป็นพืชในทะเลแต่จัดเป็นพืชน้ำจืดที่ทนเค็มKantrud, H. A. (1991).

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าตะกานน้ำเค็ม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าต้นติด

หญ้าต้นติด (Running grass) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นพืชหลายฤดู มีไหล ออกรากตามข้อ สูงประมาณ 10 - 20 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าต้นติด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปล้อง

หญ้าปล้อง เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชหลายฤดู สูงมากกว่า 2 เมตร ออกรากตามข้อ บริเวณปล้องมีเนื้อเยื่อพิธ (pith) ซึ่งมีรูพรุน ใบเป็นเส้นตรงยาว 15-30 เซนติเมตร ดอกช่อ เป็นรูปทรงกระบอก ยาว 15-20 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยการแตกหน่อและเพาะเมล็ด การสังเคราะห์ด้วยแสงใช้การตรึงคาร์บอนแบบ C3 ชอบขึ้นในดินที่ชื้นแฉะหรือมีน้ำขัง หรือในท้องน.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปล้องละมาน

|name.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าปล้องละมาน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปล้องข้าวนก

หญ้าปล้องข้าวนก (ภาษาอังกฤษ: Finger grass, Tropical crabgrass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและเป็นพืชฤดูเดียว อยู่เป็นกลุ่มก้อน แตกกิ่งตามข้อสูง 30-50 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าปล้องข้าวนก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปากควาย

หญ้าปากควาย (อังกฤษ: Crowfoot grass, Beach wiregrass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและเป็นพืชฤดูเดียว แตกหน่อเป็นกลุ่ม ออกรากและยอดจากข้อของไหลที่อยู่ด้านล่าง สูง 30 - 50 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าปากควาย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้านิ้วหนู

หญ้านิ้วหนู (Tall-fringerush)เป็นพืชวงศ์กก ฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ ใบสั้นกว่าลำต้น มีลิกุลเป้นขนสั้นๆ ดอกช่อแบบซี่ร่ม ยาว 2-4 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบที่ชื้นแฉะ พบในท้องนาและพื้นที่รกร้าง.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้านิ้วหนู · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าน้ำค้าง

หญ้าน้ำค้าง หรือ หยาดน้ำค้าง เป็นพืชกินแมลงในสกุลหยาดน้ำค้าง กระจายพันธุ์ในเขตร้อน พบได้ในประเทศออสเตรเลียและทวีปเอเชียจนถึงทวีปแอฟริกาแต่ไม่พบในเขตนีโอทรอป.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าน้ำค้าง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแพรก

หญ้าแพรก เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และยุโรปใต้ ส่วนชื่อ หญ้าเบอร์มิวดา มาจากการที่หญ้าแพรกเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานในเบอร์มิวดา แต่ไม่ได้เกิดขึ้นที่นั่น ในประเทศไทย ชาวเหนือ เรียกว่า "หญ้าเป็ด" ส่วนชาวกะเหรี่ยง เรียกว่า "หน่อเก่เด".

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าแพรก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแฝก

หญ้าแฝก เป็นพืชที่มีระบบรากลึกและแผ่กระจายลงไปในดินตรงๆ เป็นพืชที่มีอายุได้หลายปี ขึ้นเป็นกอแน่น มีใบเป็นรูปขอบขนานแคบปลายขอบแหลม ยาว 35-80 เซนติเมตร มีส่วนกว้าง 5-9 มิลลิเมตร สามารถขยายพันธุ์ที่ได้ผลรวดเร็ว โดยการแตกหน่อจากลำต้นใต้ดิน ในบางโอกาสสามารถแตกแขนงและรากออกในส่วนของก้านช่อดอกได้ เมื่อหญ้าแฝกโน้มลงดินทำให้มีการเจริญเติบโตเป็นกอหญ้าแฝกใหม่ได้ หญ้าแฝกมีอยู่ 2 สายพันธุ์คือ.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าแฝก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแดง

หญ้าแดง (Wrinkle duck-beak) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว สูง 60 -120 เซนติเมตร ใบยาว 20-30 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบราซีมคู่ ยาว 5-10 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยเป็นแบบ spike ที่สั้นมาก ยาว 5-10 เซนติเมตร สีออกแดง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินชื้นแฉะ โดยเฉพาะในท้องน.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าใบมะกรูด

หญ้าใบมะกรูด (paddle weed) เป็นพืชในวงศ์ Hydrocharitaceae จัดเป็นหญ้าทะเลชนิดหนึ่ง ใบแบนรูปไข่ แตกออกมาจากไรโซม มีเส้นใบที่ขวางใบมากกว่า 10 คู่ รากยาวได้ถึง 800 mm มีขนรากละเอียด พบได้ทั้งในบริเวณที่เป็นดินเลนปนดินทราย หรือดินเลนปนซากปะการัง น้ำกร่อย พืชชนิดนี้ช่วยยึดพื้นทรายและเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตอื่น เป็นอาหารของพะยูน Robert Brown เป็นผู้อธิบายทางอนุกรมวิธานของพืชชนิดนี้ครั้งแรก โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caulinia ovalis ต่อมา Joseph Dalton Hooker ได้มาอยู่ในสกุล Halophila เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าใบมะกรูด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าใบมะกรูดขน

หญ้าใบมะกรูดขน (Ostenf.) เป็นหญ้าทะเลในวงศ์ Hydrocharitaceae ใบแบน บาง รูปไข่ ขอบใบมีรอยหยักและมีขนบนผิวใบทั้ง 2 ด้าน เส้นใบที่เป็นเส้นขวางใบมีไม่เกิน 8 คู่ มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียเจริญบนแขนงของต้นเดียวกัน (monoecious) โดยมีกาบดอกหุ้มดอกทั้ง 2 ไว้ด้วยกัน หญ้าใบมะกรูดขนพบในน้ำที่มีระดับความลึก 6 -36 เมตร พบในเขตร้อนของมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติกฝั่งตะวันตก Smithsonian Marine Station at Fort Pierce.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าใบมะกรูดขน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าใต้ใบ

หญ้าใต้ใบ (chamberbitter, gripeweed, shatterstone, stonebreaker) เป็นพืชล้มลุกในสกุลมะขามป้อม สูงได้ถึง 60 เซนติเมตร ลำต้นและกิ่งเกลี้ยง มีลักษณะแบนและมีปีกเล็กน้อย หูใบรูปไข่แกมรูปใบหอกหรือสามเหลี่ยม ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่แกมขอบขนาน ก้านใบยาว 0.3-0.9 มิลลิเมตร โคนใบเบี้ยว ขอบใบมีขนเล็กน้อย ปลายใบมนหรือเป็นติ่งหนามสั้น ใบจะหุบในเวลากลางคืนและกางออกในเวลากลางวัน ดอกแยกเพศ โดยดอกเพศผู้เป็นช่อกระจุกกลม 5-7 ดอกย่อย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยว มีขนาดใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผลเป็นแบบแห้งแตก สีเขียว-แดง รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มิลลิเมตร ผิวมีปุ่ม ออกใต้ก้านใบ เมล็ดมีลักษณะสามมุม หญ้าใต้ใบกระจายพันธุ์ในจีน อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก บางแห่งจัดเป็นวัชพืชและพืชรุกราน หญ้าใต้ใบทั้งต้นต้มกับสมุนไพรอื่นมีสรรพคุณแก้มะเร็งมดลูก แก้ไข้ ขับปัสสาว.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าใต้ใบ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าไฟตะกาด

หญ้าไฟตะกาด (shield sundew) เป็นพืชในสกุลหยาดน้ำค้างที่มีหัวใต้ดิน มีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชื่อในภาษาละติน peltata แปลว่า รูปโล่ ซึ่งหมายถึงรูปทรงของก้านใบBruce Salmon, "Carnivorous Plants of New Zealand", Ecosphere publications, 2001โดยทั่วไปหยาดน้ำค้างชนิดมีหัวใต้ดินส่วนมากจะเป็นใบกระจุกแนบดิน แต่หญ้าไฟตะกาดลำต้นจะตั้งขึ้น ช่อดอกเป็นกิ่งแขนง หญ้าไฟตะกาดยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆอีกดังนี้: หยาดน้ำค้าง (เลย) ปัดน้ำ (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เลย).

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าไฟตะกาด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเหลี่ยม

หญ้าเหลี่ยม เป็นพืชในวงศ์ดอกหรีดเขา ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกสูงได้ถึง 1 เมตร ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2.5-16 เซนติเมตร ก้านใบสั้นหรือเกือบไร้ก้าน ดอกออกเป็นช่อแยกแขนง ก้านดอกยาวได้ถึง 1 เซนติเมตร ใบประดับรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 2.5 เซนติเมตร ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาวได้ถึง 1 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 5-6 มิลลิเมตร ดอกมีสีขาวอมชมพูหรือม่วง โคนมีสีเหลืองแต้ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 1.3 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู้ 4 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูโค้งยาว 6-7 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่ารังไข่ประมาณ 2 เท่า ยาว 1-1.2 เซนติเมตร ผลรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 3.5 มิลลิเมตร หญ้าเหลี่ยมกระจายพันธุ์ในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงออสเตรเลีย มีสรรพคุณลดไข้และแก้โรคทางกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเหล็กขูด

หญ้าเหล็กขูด มีชื่อสามัญภาษาอังกฤษหลายชื่อ ได้แก่ frog fruit, sawtooth fogfruit, turkey tangle เป็นพืชในวงศ์ Verbenaceae และเป็นพืชพื้นเมืองในอเมริกาใต้และสหรัฐ พบได้ในเขตร้อนทั่วโลก นิยมปลูกเป็นพืชคลุมดิน ทางภาคใต้ของไทยนำส่วนเหนือดินไปลวกจิ้มน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าเหล็กขูด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเหงาหลับ

หญ้าเหงาหลับ เป็นพืชในวงศ์ Poaceae เป็นหญ้าอายุหลายปี ทรงพุ่มสวยงาม พบในสหรัฐและเม็กซิโก มีฤทธิ์ทำให้เซื่องซึม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าเหงาหลับ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเอ็นยืด

ผลที่กำลังพัฒนาของหญ้าเอ็นยืด หญ้าเอ็นยืด อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกตาซื่อเดาะ ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินขนาดเล็กตั้งตรง ใบเดี่ยว ไม่มีหูใบ ขอบใบบริเวณโคนหยักเล็กน้อย ขอบใบสีม่วง ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกาบหุ้มสีเขียวรองรับ 1 อัน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด สีขาว ก้านชูเกสรตัวผู้สีขาว อับเรณูสีเหลือง ผลมีเมล็ดจำนวนมาก สีดำ ชาวกะเหรี่ยงนำใบและต้นมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าเอ็นยืด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเจ้าชู้

หญ้าเจ้าชู้ (gold beard grass) เป็นไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งในวงศ์หญ้า มีหัวและเหง้าแผ่กระจายตามหน้าดิน ดอกเป็นช่อ รูปกลมเรียวคล้ายเมล็ดข้าว มีหนามแหลม สามารถปักติดเสื้อผ้าและผิวหนังได้ โดยเฉพาะเมื่อติดผิวหนังจะรู้สึกเจ็บแสบและคันยิบ ๆ แกะออกจากเสื้อผ้ายากมาก จึงถูกเรียกชื่อว่า หญ้าเจ้าชู้, สืบค้นเดือนกันยายน 2558.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าเจ้าชู้ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเข็มมรกต

หญ้าเข็มมรกต เป็นพืชในวงศ์ Poaceae เป็นหญ้าอายุหลายปี ช่อดอกผอมสูง พบในแคนาดาและสหรัฐอเมริกา มีฤทธิ์ทำให้เซื่องซึม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าเข็มมรกต · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน

หญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน เป็นพืชในวงศ์กก แพร่กระจายในพื้นที่ชื้นในทวีปอเมริกา เอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย มาดากัสการ์ และเกะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นพืชฤดูเดียว ดอกช่อ ผลแบบอะคีน มีเปลือกสีน้ำตาลอมม่วงหุ้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและหญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน · ดูเพิ่มเติม »

หมักก้าก

หมักก้าก อยู่ในวงศ์ Rutaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกห่อโพหล่า เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นสีน้ำตาลอ่อน มีร่องตามยาวชัดเจน ลำต้นและกิ่งมีหนามแบน ใบประกอบ ดอกช่อออกตามปลายยอดและซอกใบ ผลแห้งแตกได้ แก่แล้วเป็นสีส้ม ใบหั่นเป็นฝอยใส่ลาบ มีกลิ่นหอม ผลนำไปคั่วใช้เป็นเครื่องเทศใส่ลาบ รสเผ็ดร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและหมักก้าก · ดูเพิ่มเติม »

หมักม่อ

หมักม่อ บุรีรัมย์เรียกต้นขี้หมู เป็นพืชในสกุลสะแล่งหอมไก๋ วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลอมดำ ใบเดี่ยว ดอกออกเป็นกระจุก ปลายยอดสีขาวนวล ช่อละ 1-12 ดอก รูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกด้านในมีจุดประสีม่วงแดง ออกดอกพร้อมกันทั้งต้น บานนานประมาณ 1 สัปดาห์ มีกลิ่นหอมอ่อนตอนกลางคืน ผลกลม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน พบครั้งแรกที.

ใหม่!!: พืชดอกและหมักม่อ · ดูเพิ่มเติม »

หมัน (พรรณไม้)

หมัน เป็นพืชในวงศ์หญ้างวงช้าง (Boraginaceae) กระจายพันธุ์ในอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลรับประทานได้ ยางเหนียวจากผลบางครั้งใช้เป็นกาว.

ใหม่!!: พืชดอกและหมัน (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

หมันทะเล

หมันทะเล เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Boraginaceae พบตั้งแต่ แอฟริกา เอเชียใต้ ไปจนถึงออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ลำต้นมีรอยแตกสีน้ำตาลอมขาว มีรอยแตกตื้นๆ แตกกิ่งจำนวนมาก ดอกช่อ กลีบดอกเชื่อมติดกัน บานออกคล้ายปากแตร สีส้มออกแดง เกสรตัวผู้สีเหลือง ผลเดี่ยว กลมรี กลีบเลี้ยงติดที่ผล ผลอ่อนสีเขียวอมเหลือง แก่แล้วเป็นสีขาวอมเหลือง ในไทยใช้เป็นไม้ประดับ เมล็ดรับประทานได้ใช้เป็นอาหารในแอฟริกา ไม้เนื้ออ่อน ใช้ในงานช่างได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหมันทะเล · ดูเพิ่มเติม »

หมากพระราหู

หมากพระราหู เป็นปาล์มชนิดหนึ่ง แตกกอ มีหนามแข็งปกคลุมลำต้นหนาแน่น สีดำ ใบรูปพัด ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกแยกเพศแยกต้น ผลกลมรี สีเหลืองอมส้ม แก่เป็นสีดำ พบครั้งแรกในประเทศไทยที่เขาพระราหู อุทยานแห่งชาติเขาสก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชื่อสกุลตั้งเป็นเกียรติแก่ Karl Enald Borret ส่วนชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ C.X. Fortado.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากพระราหู · ดูเพิ่มเติม »

หมากพน

หมากพน หรือ พน เป็นปาล์มลำเดี่ยวขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 20 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางต้น 15-25 เซนติเมตร ใบประกอบแบบขนนก 15-20 ทาง กาบใบยาว 60 เซนติเมตร ก้านใบยาว 50-75 เซนติเมตร มีใบย่อยด้านละ 60-75 ใบ ช่อดอกออกระหว่างกาบใบ 3-5 ช่อ รวมยาว 75-90 เซนติเมตร ผลทรงกลมขนาด 3.5-4 เซนติเมตร สีเหลืองหรือสีเหลืองอมเขียว กระจายพันธุ์อยู่ทางตอนใต้ของไทย มาเลเซีย สิงคโปร์และอินโดนีเซีย ลำต้นของหมากพนใช้เป็นวัสดุก่อสร้างและใบใช้มุงหลังคาได้ แต่ยอดอ่อนและผลมีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากพน · ดูเพิ่มเติม »

หมากสง

หมากสง หรือที่เรียกทั่วไปว่า "หมาก" (พืชที่เรียกว่า "หมาก" นั้น มีด้วยกันหลายชนิด นักพฤกษศาสตร์จึงเรียกหมากที่ใช้กินกับใบพลูว่า "หมากสง") เป็นพืชจำพวกปาล์ม เป็นชนิดหนึ่งในสกุล Arecaceae นับว่ามีความสำคัญมากทั้งในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในหลายท้องถิ่น ในทวีปเอเชีย รวมทั้งประเทศไทยด้วย ส่วนสำคัญของพืชชนิดนี้ คือ เมล็ด ซึ่งมีสารจำพวก อัลคาลอยด์ (alkaloid) อันประกอบด้วย อาเรเคน (arecaine) และ อาเรโคลีน (arecoline) นิยมนำมาเคี้ยวกับหมากใบและใบพลู ซึ่งนับว่าเป็นสารเสพติดอย่างอ่อน หมากพบได้ในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ แถบมหาสมุทรแปซิฟิกในส่วนที่เป็นเขตร้อน และบางส่วนของทวีปแอฟริกา ในภาษาอังกฤษ เรียกหมากว่า "Betel palm" หรือ "Betel nut" ทั้งๆ ที่ คำว่า " betel" แปลว่า พลู ที่เรียกเช่นนี้ เพราะชาวอังกฤษ (ในสมัยโบราณ) เห็นว่าหมากนิยมเคี้ยวกับพลูนั่นเอง.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากสง · ดูเพิ่มเติม »

หมากผู้หมากเมีย

หมากผู้หมากเมีย เป็นพืชในวงศ์หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงเกาะนิวกินี เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง สูง 3-4 เมตร ลำต้นกลมเป็นลำเดี่ยวหรือเป็นกอ เมื่อโตเต็มที่จะมีเนื้อไม้ ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงเวียนสลับรอบต้น แผ่นใบมีหลายแบบ ทั้งใบรูปใบหอก รูปหอกกลับ รูปแถบ ปลายใบเรียวแหลมมีสีสันแตกต่างกัน ทั้งสีเขียว เขียวขอบขาว แดงเข้มหรือแดงอมน้ำตาล ดอกออกเป็นช่อแยกแขนงที่ซอกใบใกล้ปลายยอด มีดอกย่อยสีขาวครีมหรือขาวอมแดงเรื่อจำนวนมาก บานตอนกลางคืนและมีกลิ่นหอม กลีบดอกมี 6 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดเล็ก ๆ ผลกลมสีแดง เนื้อนุ่ม ภายในมีเมล็ดรูปโค้ง หมากผู้หมากเมียนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชาวฮาวายเรียกพืชชนิดนี้ว่า "ติ" (Ti plant) ถือเป็นไม้มงคล มีสรรพคุณลดไข้ คลายกล้ามเนื้อ ลดอาการคัดจมูก รากนำมาทำเป็นขนมหรือหมักเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ส่วนใบใช้ห่ออาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากผู้หมากเมีย · ดูเพิ่มเติม »

หมากตอกเขาสก

หมากตอกเขาสก var.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากตอกเขาสก · ดูเพิ่มเติม »

หมากนางลิง

หมากนางลิงหรือหมากชะแวก หมากหน่อ เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม เป็นปาล์มกอหรือขึ้นเป็นต้นเดียวในบางครั้ง ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ กลิ่นคล้ายส้ม ดอกแยกเพศไม่แยกต้น ผลสุกสีแดงส้ม มีจะงอย พบในบริเวณตั้งแต่อินเดีย อินโดจีน มาเลเซียไปจนถึงฟิลิปปินส์ เมล็ดใช้รับประทานแทนหมากแต่มีคุณภาพต่ำกว่า ยอดอ่อนรับประทานได้ ในหมู่เกาะอันดามันนำใบมามุงหลังคา ลำต้นทำเสาบ้าน ไฟล์:Areca_triandra.JPG|หมากางลิงที่ Nong Nooch Tropical Garden.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากนางลิง · ดูเพิ่มเติม »

หมากแดง

หมากแดง เป็นปาล์มกอ ขนาดลำต้นประมาณ 2 -2.5 นิ้ว สูงได้ถึงประมาณ 4 เมตร ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ดินมีอินทรีย์วัตถุมากๆ เช่นป่าพรุในภาคใต้ ในธรรมชาติพบได้แถวป่าพรุโต๊ะเด็งในจังหวัดนราธิวาส แต่ปัจจุบันหายากมาก แต่จะหาได้ตามร้านขายไม้ประดับ เพราะปัจจุบันนียมขยายพันธุ์เป็นไม้ประดับ สำหรับจัดสวนทั่วไป ลักษณะเด่นคือกาบที่หุ้มใบเป็นสีส้มเข้มจนถึงสีแดง ใบเป็นรูปก้างปลาสีเขียวเข้ม ลักษณะผลเป็นทะลาย ผลเมื่ออ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาล เมื่อสุกเต็มที่พร้อมที่จะเพาะพันธุ์ได้จะมีเปลือกสีดำ ขยายพันธุ์ได้ทั้งวิธีการแยกหน่อและเพาะเมล็ด left.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากแดง · ดูเพิ่มเติม »

หมากเหลือง

หมากเหลือง (yellow palm, butterfly palm) เป็นปาล์มประดับที่มีถิ่นกำเนิดในมาดากัสการ์ เป็นปาล์มแตกกอ สูงได้ถึง 8 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-8 เซนติเมตร ลำต้นและคอใบมีสีเหลืองส้มจนถึงเขียว ใบรูปขนนก ทางใบยาว 2 เมตร ช่อดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกใต้คอ แผ่กระจาย ยาว 50-70 เซนติเมตร ผลรูปรี ขนาด 1.5 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลืองส้ม ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือแยกหน่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและหมากเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

หมามุ่ยช้าง

หมามุ่ยช้าง อยู่ในวงศ์ถั่ว เป็นไม้เลื้อยขนาดใหญ่ ใบประกอบแบบสามใบย่อย ดอกช่อออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงสีเหลืองอ่อน มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ทำให้ระคายเคือง ดอกสีขาวอมเขียวหรืออมเหลือง ผลแบนรูปรีเบี้ยว กระจายพันธุ์ทั่วเอเชียและแปซิฟิก.

ใหม่!!: พืชดอกและหมามุ่ยช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หมามุ้ย

หมามุ้ย หรือ หมามุ่ย ชื่อวิทยาศาสตร์ Mucuna pruriens DC.

ใหม่!!: พืชดอกและหมามุ้ย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่ตันผี

หมู่ตันผี หรือหมู่ตาน เป็นพืชในสกุลโบตั๋นที่เป็นพืชพื้นเมืองในจีน ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษคือ tree peony Jade Institute.

ใหม่!!: พืชดอกและหมู่ตันผี · ดูเพิ่มเติม »

หมีเหม็น

หมีเหม็น, หมี่ หรือ หมูทะลวง (จันทบุรี) (ภาษาชอง: กำปรนบาย; ภาษามลายูปัตตานี: มือเบาะ) เป็นพืชในวงศ์ Lauraceae พบในป่าดงดิบตั้งแต่ อินเดีย เนปาล ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกสีขาวอมเหลือง ออกตามง่ามใบ ผลอ่อนสีเขียวผลแก่สีแดง-ดำ รับประทานได้ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ทางยาสมุนไพรใช้ได้หลายส่วน เช่น ใช้รากแก้ปวดกล้ามเนื้อ เปลือกแก้ปวดมดลูก เมล็ดตำพอกฝี เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและหมีเหม็น · ดูเพิ่มเติม »

หม่อน

หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (Mulberry) ภาคอีสานเรียก มอน ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียก เก้ซิวเอียะ เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100 ปี ถ้าไม่ได้รับความกระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ ผลหม่อนสามารถรับประทานได้ สารสกัดด้วยเมทานอลจากกากหม่อนที่เหลือจากการทำน้ำผลไม้มีฤทธิ์กำจัดอนุมูลอิสร.

ใหม่!!: พืชดอกและหม่อน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อนอ่อน

หม่อนอ่อน เป็นพืชพื้นเมืองในแถบหุบเขาของเนปาล และพื้นที่สูงของอินเดียโดยเฉพาะรัฐปัญจาบ พบในเอเชียใต้ คาบสมุทรอินโดจีน คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เป็นไม้พุ่ม ลำต้นสั้นและคดงอ เปลือกต้นสีน้ำตาล มีรอยแตกตามยาว เปลือกชั้นในสีแดงอมส้ม ใบอ่อนมีชนสีออกชมพู ใบแก่เหนียว สีเขียวเป็นมัน มีจุดน้ำยางเหนียวกระจายทั่วผิว ดอกขนาดเล็กมาก เป็นช่อแน่น ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ดอกตัวผู้สีแดง ดอกตัวเมียสีเขียว ผลสีแดงอมส้ม ผิวมีตุ่มเล็กๆ ขรุขระ ในจีนใช้เปลือกไม้เป็นแหล่งของแทนนินในการฟอกหนัง ผลรสหวานอมเปรี้ยวรับประทานได้หรือใช้ทำน้ำผลไม้ น้ำต้มเปลือกแก้ท้องเสีย หลอดลมอักเสบและลำไส้อักเสบเปลือกใช้เป็นยาสมาน ป้องกันแผลเน่า รักษาโรคบิด รูมาติก ท้องร่วง ทำยาเบื่อปลา ไม้ใช้ทำฟืน ไขที่หุ้มผลแยกออกได้โดยการต้ม ใช้ทำเทียนและสบู่ ในเปลือกมีสารสีเหลืองจำพวก myrisetin, myricitrin และ glycoside ใช้ทำสีย้อมผ้าโดยย้อมผ้าฝ้ายได้สีเหลืองอมน้ำตาล.

ใหม่!!: พืชดอกและหม่อนอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ใหม่!!: พืชดอกและหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง (Nepenthes ampullaria) (มาจากภาษาละติน: ampulla.

ใหม่!!: พืชดอกและหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หยั่งสมุทร

หยั่งสมุทร (ภาษาจีน: 毛车藤 (Pinyin: máo chē téng; ภาษาลาว: ຊີມ) เป็นไม้พุ่ม เลื้อยพัน ลำต้นมีขนปกคลุม ใบเดี่ยว ท้องใบมีขนนุ่มหนาแน่น หลังใบมีขนประปราย ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกด้านนอกสีชมพูอ่อนแกมขาว ด้านในสีชมพูเข้ม ผลเป็นฝักแข็ง รูปกรวยแหลม มีขนยาวปกคลุมหนาแน่น เมล็ดจำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนสีขาวติดเป็นกระจุก ชาวเผ่าถิ่นใช้ผลเป็นผักจิ้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและหยั่งสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

หยาดหิมะ

กาแลนธัส (Galanthus หรือ Snowdrop) เป็นพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 สปีชีส์ ที่รู้จักกันในชื่อง่ายๆ ว่า หยาดหิมะ เป็นดอกไม้หนึ่งในดอกไม้ชนิดแรกที่บานในฤดูใบไม้ผลิ แต่ก็มีบางสายพันธุ์ที่บานตอนปลายฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว “หยาดหิมะ” บางครั้งก็สับสนกับ “เกล็ดหิมะ” (Spring Snowflake) ที่อยู่ในสปีชีส์ “Galanthus nivalis” ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่แพร่หลายที่สุดในสกุลนี้ ถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรป ตั้งแต่เทือกเขาพิเรนีสทางตะวันตกไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี โปแลนด์ อิตาลี ตอนเหนือของกรีซ และตุรกีในยุโรป กาแลนธัสถูกนำไปปลูกในบริเวณอื่นและขึ้นงามดี แม้ว่ามักจะคิดกันว่าเป็นดอกไม้ป่าท้องถิ่นของอังกฤษแต่อันที่จริงแล้วเป็นสายพันธุ์ที่อาจจะนำเข้ามาในอังกฤษโดยโรมัน หรืออาจจะราวประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 สปีชีส์ส่วนใหญ่มาจากทางตะวันออกของเมดิเตอเรเนียน แต่ก็มีบ้างที่มาจากทางใต้ของรัสเซีย จอร์เจีย และ อาเซอร์ไบจาน ส่วน “Galanthus fosteri” มาจาก จอร์แดน เลบานอน ซีเรีย ตุรกี และอาจจะจากอิสราเอล หยาดหิมะทุกสายพันธุ์เป็นพืชยืนต้นที่ปลูกจากหัว.

ใหม่!!: พืชดอกและหยาดหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

หยาดน้ำค้าง (สกุล)

หยาดน้ำค้าง (Sundew) เป็นพืชกินสัตว์สกุลใหญ่สกุลหนึ่ง ในวงศ์หญ้าน้ำค้าง มีประมาณ 194 ชนิด สามารถล่อ จับ และย่อยแมลงด้วยต่อมเมือกของมันที่ปกคลุมอยู่ที่ผิวใบ โดยเหยื่อที่จับได้จะใช้เป็นสารเสริมทดแทนสารอาหารที่ขาดไป พืชในสกุลหยาดน้ำค้างมีหลายรูปแบบและหลายขนาดต่างกันไปในแต่ละชนิด สามารถพบได้แทบทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ชื่อวิทยาศาสตร์ของหยาดน้ำค้าง คือ Drosera มาจากคำในภาษากรีก δρόσος: "drosos" แปลว่า "หยดน้ำ หรือ น้ำค้าง" รวมทั้งชื่อในภาษาอังกฤษ "sundew" กลายมาจาก ros solis ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า "น้ำตาพระอาทิตย์" โดยมีที่มาจากเมือกบนปลายหนวดแต่ละหนวดที่แวววาวคล้ายน้ำค้างยามเช้า ในประเทศไทยพบหยาดน้ำค้างอยู่ 3 ชนิดคือ จอกบ่วาย (Drosera burmannii Vahl), หญ้าน้ำค้าง (Drosera indica L.) และ หญ้าไฟตะกาด (Drosera peltata Sm.).

ใหม่!!: พืชดอกและหยาดน้ำค้าง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หยี

หยี ทางภาคใต้เรียก เขลง กาหยี ภาคอีสานเรียกนางดำ เป็นพืชท้องถิ่นในรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ พบในกัมพูชา ลาว มาเลเซีย พม่า ไทย และเวียดนาม เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบรูปไข่คล้ายใบพิกุล ดอกสีขาว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อ ผลออกเป็นพวง เมื่อดิบสีเขียว สุกแล้วเป็นสีดำ เนื้อสีน้ำตาล หวานอมเปรี้ยว เมล็ดสีน้ำตาล รูปร่างแบน ผลมีวิตามินซีสูง ไม่รับประทานสดแต่นิยมนำมาแปรรูป เช่น ลูกหยีฉาบ ลูกหยีกวน ลูกหยีทรงเครื่อง ใช้ทำน้ำผลไม้.

ใหม่!!: พืชดอกและหยี · ดูเพิ่มเติม »

หยีน้ำ

หยีน้ำ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 15-25 เมตร ดอกสีม่วงอมชมพู รูปร่างของดอกคล้ายดอกแคแต่เล็กกว่า ผลเป็นฝักสั้นและแบน เป็นพืชตระกูลถั่ว จึงมีไรโซเบียมอยู่ในปมราก ช่วยในการตรึงไนโตรเจน เป็นพืชพื้นเมืองในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น มาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่ออื่น ๆ ได้แก่ Indian Beech, Pongam Oiltree, Karanj (ภาษาฮินดี), ಹೊಂಗೆ Honge (ภาษากันนาดา), புங்கை Pungai (ภาษาทมิฬ), కానుగ Kānuga (ภาษาเตลูกู), नक्तमाल Naktamāla (ภาษาสันสกฤต) พืชชนิดนี้ใช้ทำไบโอดีเซลในอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและหยีน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

หลังกับ

หลังกับ เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม ในอินโดนีเซียเรียกลังกับ ในมาเลเซียเรียกรังกับหรือปังกับ เป็นปาล์มกอ ออกดอกได้ตลอดปี ไม่ตายหลังออกดอก มีไหลในส่วนโคนต้น ใบประกอบขนนก ใบย่อยประมาณ 8 ใบ ขอบใบเป็นรอยแหว่งห่าง ๆ ดอกช่อ ช่อดอกเพศผู้เหมือนช่อดอกตัวเมีย ผลกลมรี รูปไข่ สีแดงเข้ม กระจายพันธุ์ในไทย กัมพูชา มาเลเซีย เกาะสุมาตรา และเกาะชวา สามารถปาดช่อดอกเพื่อเก็บน้ำหวานมาผลิตน้ำตาลได้ โดยปาดช่อดอกตัวผู้ ยอดอ่อนรับประทานได้ ใบใช้มุงหลังคา ทำเครื่องจักสาน ผลเป็นพิษ เปลือกผลมีแคลเซียมออกซาเลต ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหลังกับ · ดูเพิ่มเติม »

หลาวชะโอนทุ่ง

หลาวชะโอนทุ่ง หรือ หลาโอน หรือ นิบง เป็นพรรณไม้ชนิดหนึ่งในวงศ์ปาล์ม โดยทั่วไป เมื่อพูดถึงหลาวชะโอน จะหมายถึงหลาวชะโอนทุ่ง ส่วนอีกชนิดพันธุ์จะเรียกว่าหลาวชะโอนเขา ชื่อหลาวชะโอน เป็นชื่อเรียกในภาษาไทยกลาง ขณะที่มักจะย่อเหลือ หลาโอน และในภาษามลายู เรียกว่า นิบง.

ใหม่!!: พืชดอกและหลาวชะโอนทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หลิว

หลิว เป็นไม้ต้นผลัดใบในวงศ์สนุ่น (Salicaceae) สูง 10-20 เมตร มีกิ่งยาวและห้อยลง กิ่งอ่อนมีขนเล็กน้อย ใบรูปหอกยาว 9-16 เซนติเมตร กว้าง 5-15 มิลลิเมตร ปลายยาวแหลม ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อยถี่ ๆ หลังใบสีเขียว ท้องใบสีขาว ก้านใบยาว 6-12 มิลลิเมตร ดอกเดี่ยวเป็นดอกแยกเพศ ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่คนละต้น ดอกตัวผู้ยาว 1.5-2 เซนติเมตร ดอกตัวเมียอาจยาวถึง 5 เซนติเมตร ดอกและยอดอ่อนต้นหลิวมีสรรพคุณลดไข้ แก้ปวด กิ่งต้นหลิวแก้โรคปวดตามข้อ เป็นยาขับปัสสาวะ ขับนิ่ว ขับลม แก้ตับอักเสบ แก้ฝี แก้ไฟลามทุ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและหลิว · ดูเพิ่มเติม »

หลุมพอทะเล

หลุมพอทะเล หรือ ประดู่ทะเล เป็นต้นไม้พืชดอกในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในอินโดแปซิฟิก มีการกระจายพันธุ์จากประเทศแทนซาเนียและประเทศมาดากัสการ์ไปทางตะวันออกผ่านประเทศอินเดียและรัฐควีนส์แลนด์, ประเทศออสเตรเลียถึงหมู่เกาะแปซิฟิกของประเทศซามัว ต้นสูงได้ถึง 50 เมตร พบในป่าชายเลน.

ใหม่!!: พืชดอกและหลุมพอทะเล · ดูเพิ่มเติม »

หลุมพี

หลุมพี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Eleiodoxa conferta (Griff.) Burr.) เป็นปาล์มชนิดหนึ่ง พวกปาล์มลำต้นสั้นแตกหน่อเป็นกอใหญ่ออกดอกผลแล้วตายไป ขึ้นในที่ลุ่มน้ำขังและป่าพรุ ออกดอกตั้งแต่เดือนมิถุนายน - กันยายน ออกผลตั้งแต่ดือนพฤศจิกายน - มีนาคม ตั้งแต่เริ่มออกช่อดอกจนถึงผลสุก ใช้ระยะเวลา ประมาณ 18 - 20 เดือน หลุมพี เป็นพืชที่มีความสัมพันธ กับระบบนิเวศ ในป่าพรุอย่างเหนียวแน่น โดยสภาพทางธรรมชาติเป็นไม้ชั้นล่างในป่าพรุขึ้นได้และเจริญเติบโตได้ดีในที่มีร่มเงา และต้องมีน้ำขังตลอดปี ลักษณะของต้นหลุมพีออกเป็นกอใหญ่ แต่ละต้นออกผล แต่ละต้นออกผลครั้งเดียวแล้วตาย ต้นอื่นซึ่งเป็นหน่อในกอเดียวกัน จะออกผลหมุนเวียน กันต่อไป ทำให้พื้นที่ยึดครองของหลุมพี ขยายกว้างขึ้นตลอด สามารถเก็บความชื้นและน้ำไว้ได้ ซึ่งเอื้อต่อการดำรงชีวิต ของพืชและสัตว์ชนิดอื่นๆในป่าพรุ ที่ผูกพันเป็น ห่วงโซ่อาหาร เกิดผลดี ต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมโดยรวม อันเป็นปัจจัยหลักในการ ดำรงชีวิตของชุมชนรอบป่าพร.

ใหม่!!: พืชดอกและหลุมพี · ดูเพิ่มเติม »

หล่อฮังก๊วย

หล่อฮังก๊วย เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์แตง (Cucurbitaceae) เป็นพืชพืนเมืองของทางตอนใต้ของจีนและภาคเหนือของไทย หล่อฮังก๊วยจัดได้ว่าเป็นพืชสมุนไพรจีนชนิดหนึ่ง ผลของหล่อฮังก๊วยมีลักษณะกลมเหมือนไข่เป็ด มีเปลือกแข็งล้อมรอบเนื้อผลไม้แต่มีความเปราะ ในช่วงที่ยังไม่สุกผลจะมีสีเขียวและเข้มขึ้นเรื่อยๆจนกลายเป็นสีเขียวเข้มแกมดำและผลจะรีลง ในการแพทย์แผนจีนจะนำผลของหล่อฮังก๊วยไปตากแห้งหรือลนไฟจนแห้ง จากนั้นจะทำการเคาะหากใช้ได้แล้วจะมีเสียงกังวาน สามารถนำมาต้มหรือผสมกับจับเลี้ยงเพื่อปรุงเครื่องดื่มแก้ร้อนในได้ สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและหล่อฮังก๊วย · ดูเพิ่มเติม »

หวาย

ก้าอี้หวาย การทำเฟอร์นิเจอร์จากหวายในอินโดนีเซีย หวาย (Rattan palm) เป็นพืชที่อยู่ในเผ่าหวาย (Calameae) พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปแอฟริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสตราเลเชีย ทั่วโลกมีหวายเกือบ 600 ชนิด เฉพาะในประเทศไทย มีหวายเกือบ 60 ชนิด เช่น หวายโคก หวายดง หวายน้ำผึ้ง เป็นต้น ลักษณะโดยทั่วไปของหวายเป็นพันธุ์ไม้เลื้อยหรือไม้รอเลื้อยตระกูลปาล์ม ลำเถาชอบพันเกาะต้นไม้ใหญ่ มีกาบหุ้มต้น และมีหนามแหลม มีความเหนียว ใบเป็นรูปขนนกเล็กๆ ใบย่อยนั้นเรียวยาว มีสีเขียวสด ก้านใบหนึ่งๆ มีใบย่อยราว 60 - 80 คู่ ออกดอกเป็นช่อ สีขาวปนเหลือง ผลค่อนข้างกลม เปลือกเป็นเกล็ด ลูกอ่อนเปลือกสีเขียว เนื้อสีขาว ผลแก่เปลือกสีเหลือง เปลือกล่อน เนื้อแข็ง รสเปรี้ยวฝ.

ใหม่!!: พืชดอกและหวาย · ดูเพิ่มเติม »

หวายชุมพร

หวายชุมพร เป็นหวายชนิดหนึ่งที่เป็นพืชพื้นเมืองในอินเดีย รัฐอัสสัม บังกลาเทศ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม เกาะชวา และเกาะสุมาตรา ชอบขึ้นในเขตร้อนที่เป็นพื้นที่ลุ่มต่ำหรือบนภูเขาที่มีความชื้นสูง เป็นพืชใกล้สูญพัน.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

หวายช้าง

หวายช้าง เป็นหวายกอขนาดใหญ่ แยกเพศ ส่วนข้อโป่งพอง ใบขนาดใหญ่ กาบหุ้มลำสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้ม มีหนามขนาดใหญ่ สีดำ โคนหนามสีเหลือง ปลายหนามชี้ขึ้นด้านบน โคนก้านใบบวมพองชัดเจน หูใบสั้น ขาดเป็นริ้ว ๆ มือเกี่ยวขนาดใหญ่สีเขียวเข้ม ดอกช่อ ผลกลมรี เปลือกผลเป็นเกล็ดสีน้ำตาลอมเหลืองไปจนถึงสีเกือบดำกระจายพันธุ์ทางภาคใต้ของไทย ไปจนถึงเกาะสุมาตรา ซูลาเวซี บอร์เนียวไปจนถึงฟิลิปปินส์ ใช้ทำเครื่องเรือนและของใช้ต่าง ๆ ในฟิลิปปินส์รับประทานผล ในซาราวะก์เชื่อว่าพืชชนิดนี้เป็นยา น้ำคั้นจากยอดอ่อนรักษาอาการท้องเสียได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หวายพนขนหนอน

หวายพนขนหนอน เป็นหวายกอขนาดปานกลาง แยกเพศ กาบหุ้มลำมีสีเขียวคล้ำ มีหนามสีดำหรือสีน้ำตาลเป็นแถบ ๆ แถบหนามทำมุมเฉียงกับลำต้น มีขนรังแคปกคลุมในช่องว่างระหว่างแถบหนาม ปลอกใบเห็นไม่ชัดเจน ก้านใบยาว มีหนามแหลมโค้งงอ ใบประกอบ ดอกช่อ ผลแก่รูปกลมหรือรูปไข่ ปกคลุมด้วยเกล็ดสีเหลือง ลักษณะเด่นของหวายชนิดนี้คือมีกาบหุ้มกิ่งเป็นท่อ และมักมีมดมาทำรัง พบทั่วไปทางภาคใต้ของไทย มาเลเซียและบอร์เนียว ในซาราวะก์ใช้สานเสื่อหรือตะกร้า ผลนำมาสกัดสีแดงได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายพนขนหนอน · ดูเพิ่มเติม »

หวายกำพวน

หวายกำพวน เป็นหวายกอขนาดใหญ่ โตเร็ว ใบย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กาบหุ้มลำมีหนามสีดำหนาแน่น โคนของหนามสีเหลืองอ่อน มีมือเกี่ยวเนื้อค่อนข้างหยาบ ในไทยใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ชาวเกาะในทะเลอันดามันนำผลมารับประทาน พบในบังกลาเทศไทย พม่า หมู่เกาะนิโคบาร.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายกำพวน · ดูเพิ่มเติม »

หวายกุ้ง

หวายกุ้ง เป็นหวายกอขนาดใหญ่เป็นพุ่มหนาม มีมือเกาะ หนามบนกาบหุ้มลำที่ยังอ่อนเรียงตัวเป็นวง หนามแหลมโค้งงอ ต้องการแสงแดดจัดในการเจริญเติบโต พบในสุมาตรา สิงคโปร์ คาบสมุทรมลายู ไทย ไปจนถึงพม่า กัมพูชาและเวียดนาม ใช้สานตะกร้าแบบห.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

หวายกุ้งน้ำพราย

หวายกุ้งน้ำพราย เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ออกดอกครั้งเดียวแล้วตาย กาบหุ้มลำเมื่อสดมีสีเขียวอ่อนมีขุยสีน้ำตาล และมีสีน้ำตาลมีขุยสีเทาเมื่อแห้ง หนามขนาดใหญ่ค่อนข้างแน่น ผลกลมเมื่อแห้งมีสีน้ำตาลแดง ขอบเกล็ดหุ้มผลสีดำสลับกับริ้วสีเหลือง กระจายพันธุ์ในบอร์เนียว สุมาตรา คาบสมุทรมลายู ไปจนถึงภาคใต้ของไทย ใช้ผูกมัดหรือสานตะกร้าแบบหยาบๆ ใช้สานเครื่องมือดักปลาหรือกรงไก่ ยอดรับประทานได้และมีจำหน่ายในท้องตลาดในซาราวะก์ แต่ชนพื้นเมืองในคาบสมุทรมลายูเชื่อว่ามีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายกุ้งน้ำพราย · ดูเพิ่มเติม »

หวายมน

หวายมนหรือหวายส้ม หวายสามใบเถา เป็นหวายกอ ใบมีหลายแบบ มีมือเกี่ยวยาว กระจายพันธุ์ในไทย กัมพูชา คาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตราและเกาะบาหลี ใช้จัดสานตะกร้าและทอเสื่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายมน · ดูเพิ่มเติม »

หวายลิง

หวายลิง (whip vine) เป็นพืชในวงศ์ Flagellariaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายลิง · ดูเพิ่มเติม »

หวายสยาม

หวายสยาม เป็นพืชในสกุลหวาย วงศ์ปาล์ม เป็นหวายแตกกอมีเถาเลื้อยพันไปได้ไกลตามกาบใบและก้านใบมีหนามแหลม ดอกช่อ ผลกลม เปลือกผลเป็นเกล็ด ปลายผลเป็นติ่ง ผลแก่ช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน พบตามป่าดิบชื้นในไทยและมาเลเซีย แต่นิยมปลูกทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อรับประทานหน่ออ่อน ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายสยาม · ดูเพิ่มเติม »

หวายหิน

หวายหิน เป็นหวายกอ ลำต้นเรียวเล็ก ปีนป่ายได้สูง ลำต้นสีเขียวอ่อนเป็นมัน กาบหุ้มลำมีสีเขียวเมื่อสด สีเทาแกมน้ำตาลเมื่อแห้ง มีหนามรูปเล็บเหยี่ยวขนาดเล็ก ฐานเป็นปุ่มนูนขึ้นเป็นสันกลม มีสีเหลืองปลายหนามชี้ขึ้น ผลรูปไข่ ปลายยังคงมีส่วนปลายของเกสรตัวเมียยื่นออกเล็กน้อย พบในสุมาตรา มาเลเซีย สิงคโปร์และไทย ใช้ทำหวายเส้นเพื่อจักสานงานที่ต้องการความละเอียด ชาวทีมวนในมาเลเซียใช้มัดของ นำกาบหุ้มที่มีหนามมาใช้ขูดเนื้อมันสำปะหลังเป็นเส้นๆ หรือใช้สีเมล็ดข้าวโพดออกจากฝัก.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายหิน · ดูเพิ่มเติม »

หวายจาก

หวายจาก เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ลำต้นปีนป่ายไปได้สูงถึง 20 เมตร กระจายพันธุ์ในแถบสุมาตรา สิงคโปร์ คาบสมุทรมลายู และไทย ใบใช้มุงหลังคา ก้านใบใช้ทำเบ็ดตกปลา ชนพื้นเมืองในคาบสมุทรมลายูใช้เปลือกนอกของก้านใบสานตะกร้าและกระด้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายจาก · ดูเพิ่มเติม »

หวายจากจำ

หวายจากจำ เป็นหวายกอเจริญเป็นพุ่ม ออกดอกแล้วตาย เกือบจะไม่มีลำต้น ไม่ปีนป่ายบนต้นไม้อื่น ใบใช้มุงหลังคา เปลือกนอกของก้านใบใช้สานตะกร้า พบทั่วไปในคาบสมุทรมลายู และตอนเหนือของเกาะสุมาตร.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายจากจำ · ดูเพิ่มเติม »

หวายจากเขา

หวายจากเขาหรือหวายเขา เป็นหวายกอ เจริญบนพื้นล่าง ไม่พุ่งขึ้นไปด้านบน ไม่มีมือเกาะ กาบหุ้มลำมีหนามแหลมปกคลุม โคนหนามสีเทาแกมเหลือง ใบย่อยมีผงรังแคสีเทาปกคลุมด้านล่าง พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย และตอนเหนือของสุมาตรา ใช้มุงหลังคา ในมาเลเซียใช้ผลอ่อนแก้ไอ.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายจากเขา · ดูเพิ่มเติม »

หวายทราย

หวายทราย เป็นหวายกอลำต้นขนาดเล็ก เกือบทุกส่วนมีสีดำ กาบหุ้มลำเมื่อสดมีสีเขียวออกเหลือง และมีสีน้ำตาลออกเขียวค่อนข้างดำเมื่อแห้ง หนามรูปสามเหลี่ยมฐานโค้งคว่ำ มีหนามขนาดเล็กกว่าแทรกอยู่สม่ำเสมอ หนามเป็นมันมีสีอ่อนกว่ากาบหุ้มลำ สันหนามตอนโคนมีรอยแตก ผลกลม มีสีเหลืองออกน้ำตาล ปลายแหลม สันเกล็ดเป็นร่อง พบในสุมาตรา มาเลเซียและไทย ใช้ทำหวายซีกเพื่อใช้ในการผูกมั.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายทราย · ดูเพิ่มเติม »

หวายขม

หวายขม เป็นหวายกอ ลำต้นค่อนข้างเล็ก กาบหุ้มลำต้นมีหนามปกคลุมเป็นแถบสีดำมันวาว ปลายหนามเป็นขน พบได้ทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ในการผูกมัด จักสานตะกร้า ทำเครื่องมือดักปลาและดักสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายขม · ดูเพิ่มเติม »

หวายขริง

หวายขริง เป็นหวายกอเริ่มออกดอกเมื่อความสูงไม่มากนัก มีมือเกาะ กาบหุ้มลำมีสีเขียวออกเหลืองเมื่อสด เมื่อแห้งมีสีน้ำตาลแกมเทา มีหนามสีน้ำตาล โคนหนามสีเหลือง กาบหุ้มลำที่อ่อนมีผงรังแคสีน้ำตาลแดงปกคลุมหนา ปลอกใบสีน้ำตาลเข้มไม่มีหนาม ดอกช่อ ผลรูปรีมีสีเขียวเมื่อสดและมีสีเหลืองแกมส้นเมื่อแห้ง สันเกล็ดหุ้มผลเป็นร่อง ขอบเกล็ดมีสีดำ กระจายพันธุ์ตั้งแต่พม่า จีนตอนใต้ ไปจนถึงมาเลเซียและหมู่เกาะในทะเลอันดามัน ใช้เป็นโครงของเฟอร์นิเจอร์ได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายขริง · ดูเพิ่มเติม »

หวายขี้ผึ้ง

หวายขี้ผึ้งหรือหวายขนุน เป็นหวายกอ มีมือเกี่ยว ปลายใบย่อยเป็นรูปสามเหลี่ยม พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เป็นหวายคุณภาพดี แต่มีไม่มากพอสำหรับการค้า ในซาราวะก์นำไปสานตะกร้าและเสื่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายขี้ผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

หวายขี้เหร่

หวายขี้เหร่ เป็นหวายกอขนาดกลาง มีมือเกาะ โคนก้านใบบวมงอคล้ายหัวเข่า มีหนามสีทึบปกคลุมหนาแน่นพบในไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์และจักสานตะกร้.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายขี้เหร่ · ดูเพิ่มเติม »

หวายขี้เป็ด

หวายขี้เป็ด เป็นหวายกอขนาดปานกลาง เกล็ดบนเปลือกผลมีเรซินสีแดง ชาวซีไมในคาบสมุทรมลายู สกัดเรซินจากผลไปใช้เป็นสมุนไพร ในซาราวะก์นำผลไปรับประทาน พบในบอร์เนียว สุมาตรา คาบสมุทรมลายู และตอนใต้ของไท.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายขี้เป็ด · ดูเพิ่มเติม »

หวายดำ

หวายดำ เป็นหวายลำต้นเดี่ยวไม่ค่อยปีนป่าย พบในไทย มาเลเซีย และเกาะสุมาตรา ค่อนข้างหายากบนเกาะบอร์เนียว ใช้ทำไม้เท้.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายดำ · ดูเพิ่มเติม »

หวายงวย

หวายงวย เป็นหวายลำต้นเดี่ยวโคนกาบหุ้มลำรูปเข่าเห็นชัดเจน ปลายใบสั้น สีดำ มือเกี่ยวยาว เมื่อเกิดแผลบริเวณผิวจะมียางสีเหลืองไหลออกมา พบในไทยและมาเลเซีย ใบไทยใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ผลรับประทานได้ มีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงรสเปรียวในแกง.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายงวย · ดูเพิ่มเติม »

หวายตะมอย

หวายตะมอย (pigeon orchid) หรือ เอื้องมะลิ หรือ แส้พระอินทร์ เป็นกล้วยไม้ในสกุลหวาย กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพืชอิงอาศัย โคนต้นเป็นลำทรงกระบอก ส่วนปลายเป็นเส้นกลมเรียวและแข็ง ยาวได้ถึง 70 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายตะมอย · ดูเพิ่มเติม »

หวายตะค้าทอง

หวายตะค้าทอง เป็นหวายกอ ขนาดกลาง ลำต้นป่ายปีนขึ้นสูง กาบหุ้มลำสีเขียวหม่น หนามเป็นรูปสามเหลี่ยม ระหว่างหนามมีขนสีเทาหรือสีน้ำตาล ดอกช่อ ผลรูปไข่ ปกคลุมด้วยเกล็ดสีเขียวอมขาว แห้งแล้วเปลือกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง พบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ทำตะกร้า สานเสื่อ ทำเครื่องใช้ต่างๆ เป็นหวายคุณภาพดีสำหรับทำเฟอร์นิเจอร์ โดยเฉพาะการทำเสื่อตาตามิส่งไปขายที่ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายตะค้าทอง · ดูเพิ่มเติม »

หวายตะค้าน้ำ

หวายตะค้าน้ำ เป็นหวายกอขนาดกลาง ลำต้นเลื้อยพันขึ้นที่สูง ลักษณะคล้ายหวายตะค้าทองแต่ไม่มีสีเหลือบขาวบริเวณด้านล่างของใบ พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เป็นหวายค่อนข้างหายากในมาเลเซีย พบเฉพาะในปะหัง ยะโฮร์ และเประก์ ใช้สานตะกร้า เครื่องมือดักปลา และใช้ผูกมั.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายตะค้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

หวายไม้เท้า

หวายไม้เท้า เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ปีนป่ายได้สูงมาก มีหนามรูปแบน ทรงสามเหลี่ยมปลายหนามสีดำ โคนสีเหลือง โคนก้านใบเป็นรูปเข่าชัดเจน มือเกี่ยวขนาดใหญ่สีเขียวเข้ม ปลายใบมีขนแข็งๆปกคลุม ดอกช่อ ผลแก่มีลักษณะกลมรี มีจะงอยสั้นๆ เปลือกนอกสีเขียวทึบ พบทั่วไปในพม่า เวียดนาม ไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เกาะปาลาวัน ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ลำต้นช่วงที่ปล้องยาวนิยมใช้ทำไม้เท้าและก้านร่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายไม้เท้า · ดูเพิ่มเติม »

หวายเล็ก

หวายเล็ก เป็นหวายกอเรียวเล็ก แยกเพศ ใบประกอบ ใบย่อยที่ปลายมีขนาดใหญ่กว่าที่โคน ใบย่อยล่างสุดมักโค้งงอวกมาห่อหุ้มลำต้น กาบหุ้มลำสีเขียวสด กาบอ่อนมีสีเหลือบแดง หนามมีหลายแบบ ดอกช่อ ผลกลมหรือรูปไข่ มีเปลือกเป็นเกล็ดสีเขียวอ่อนอมขาว พบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในมาเลเซียใช้ทำเชือก สานตะกร้า เครื่องใช้ต่างๆ ชาวเซไมใช้กาบใบที่มีหนามทำเครื่องขูด ส่วนยอดรับประทานได้ ใช้แก้ไอ.

ใหม่!!: พืชดอกและหวายเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

หว้า

หว้า เป็นไม้ประเภทไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดจากอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบทั่วไปตามป่าดิบชื้นและป่าผลัดใบ ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,100 เมตร เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำเพชรบุรี.

ใหม่!!: พืชดอกและหว้า · ดูเพิ่มเติม »

หว้านา

หว้านา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae ลำต้นเรียบหรือแตกเป็นร่อง สีน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในหนา สีน้ำตาลแกมชมพูหรือน้ำตาลอ่อน เหนียว ลอกออกเป็นแผ่นได้ ใบเดี่ยว ผิวเกลี้ยง ก้านใบบวม ดอกช่อ ผลเดี่ยว เมื่ออ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีดำ ผลรับประทานได้ เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง เปลือกต้นแก้โรคบิด ท้องร่วง ล้างแผลเปื่อย แก้ปากเปื่อย ใบ ผล และเมล็ดใช้แก้ท้องร่วง.

ใหม่!!: พืชดอกและหว้านา · ดูเพิ่มเติม »

หอมหมื่นลี้

หอมหมื่นลี้ (sweet osmanthus, sweet olive) หรือ สารภีฝรั่ง หรือ สารภีอ่างกา เป็นพืชในวงศ์มะลิ มีถิ่นกำเนิดแถบเทือกเขาหิมาลัยและจีน กระจายพันธุ์ไปทางใต้ของญี่ปุ่นและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หอมหมื่นลี้นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ในรัฐอุตตราขัณฑ์ ประเทศอินเดียใช้ดอกในการไล่แมลง, James Sykes Gamble, S. Low, Marston & Co, 1922,...

ใหม่!!: พืชดอกและหอมหมื่นลี้ · ดูเพิ่มเติม »

หอมต้นเดี่ยว

หอมต้นเดี่ยว มักเรียกว่า ต้นหอม เป็นพืชในสกุล Allium ที่สามารถรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหอมต้นเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

หอมแดง

หอมแดง เป็นพืชในวงศ์ Alliaceae โดยยึดเอา French grey challot หรือ griselle เป็นหอมที่แท้จริง จัดอยู่ในสปีชีย์นี้ มีการเพาะปลูกในเอเชียกลางและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนความหลากหลายอื่นที่มีคือ Allium cepa var.

ใหม่!!: พืชดอกและหอมแดง · ดูเพิ่มเติม »

หอมใหญ่

หอมใหญ่ เป็นพืชหัว (bulb) ปลูกได้ในช่วงฤดูหนาว สามารถปลูกได้ในดินทุกชนิดที่มีการระบายน้ำและอากาศดี เจริญได้ดีที่ค่าความเป็นกรด-เบสช่วง 6.0–6.8 อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 15–24 องศาเซลเซียส และมีความเค็มของดินปานกลาง เป็นพืชล้มลุก ตระกูลเดียวกับหอมแดง ต้นสูงประมาณ 30-40 เซนติเมตร ลำต้นเป็นหัวอยู่ใต้ดิน มีลักษณะกลม มีเปลือกนอกบางๆหุ้มอยู่ เมื่อแห้งจะมีสีน้ำตาลอ่อน ภายในเป็นกาบสีขาวซ้อนกัน ลักษณะของดอกมีสีขาว เป็นช่อ มีดอกย่อยเป็นจำนวนมาก ก้านช่อดอกยาว แทงออกจากลำต้นใต้ดิน ช่วงเวลาในการเพาะปลูกและเก็บผลผลิต: ให้ผลผลิต 2 ครั้งใน 1 ปี คือ ช่วงเดือน มกราคม ถึง เมษายน และในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์http://www.adirek.com/stwork/fruitvet/hom.htm.

ใหม่!!: พืชดอกและหอมใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หัวร้อยรู

หัวร้อยรู หรือ ปุ่มฟ้า ดาลูบูตาลิมา เป็นพืชจำพวกลงหัว ในวงศ์ Rubiaceae เป็นพืชอิงอาศัยกับต้นไม้ชนิดอื่น มักขึ้นตามคาคบไม้ ต้นแก่มีหัวกลมโตขนาดเท่ามะพร้าว ภายในหัวเป็นรูพรุนไปทั่ว จัดเป็นพืชที่อยู่ร่วมกับมด (myrmecophyte) ชนิดหนึ่ง ถ้าผ่าออกดู มักมีมดดำอาศัยอยู่เต็มหัว เนื้อนิ่ม สีน้ำตาลไหม้ เมื่อจะนำมาใช้ ต้องนำมาแช่น้ำทิ้งไว้จนกว่ามดจะออกไปหมด ในตำรายาไทย หัวร้อยรูอยู่ใน “พิกัดมหากาฬทั้ง 5” ที่ใช้ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ แก้พิษอักเสบ ช้ำบวม แก้พิษไข้ ไข้กาฬ ประดงผื่นคัน น้ำเหลืองเสีย ส่วนหัวของหัวร้อยรูเองมีฤทธิ์บำรุงหัวใจ ขับพยาธิ แก้พิษในข้อในกระดูก แก้พิษประดง แก้ข้อเข่าข้อเท้าบวม.

ใหม่!!: พืชดอกและหัวร้อยรู · ดูเพิ่มเติม »

หัวฆ้อนกระแต

หัวฆ้อนกระแต Roxb.

ใหม่!!: พืชดอกและหัวฆ้อนกระแต · ดูเพิ่มเติม »

หัสคุณ

หัสคุณ หรือหมุย เป็นพืชในวงศ์ Rutaceae ต้นสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นร่องตื้นตามยาว ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ผิวใบเรียบ จับดูแล้วรู้สึกเหนียว มีกลิ่นน้ำมันหอมระเหย ดอกช่อ ดอกบานเต็มที่กลีบม้วนไปด้านหลังเล็กน้อย กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง ผลเดี่ยว ผิวเรียบ มีขนสั้นสีขาว ผิวมีน้ำมันจับอยู่ทั้งผล เมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีส้ม รากใช้ผสมกับรากปลาไหลเผือก ใช้เป็นยาแก้นิ่ว แก้หืด ขั.

ใหม่!!: พืชดอกและหัสคุณ · ดูเพิ่มเติม »

หันลัด

หันลัด หรือเลือดเบา กระเบาเลือด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myristicaceae เปลือกต้นสีน้ำตาลหรือเทาเข้ม เปลือกชั้นในสีชมพู มียางสีแดง ใบเดี่ยว เรียงสลับ ผิวใบเกลี้ยง หลังใบเขียวเป็นมัน ท้องใบสีขาวนวล ดอกเป็นดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก สีเหลืองนวล ดอกแยกเพศแยกต้น ผลเป็นผลเดี่ยว เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีส้ม แตกออกเป็นสองกลีบ เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดง พบมากในบริเวณใกล้ชายฝั่งทะเลและป่าพรุ พบในกัมพูชา จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ไทย สิงคโปร์ และเวียดนาม ผลเป็นอาหารสัตว์ป.

ใหม่!!: พืชดอกและหันลัด · ดูเพิ่มเติม »

หาดรุม

หาดรุม เป็นพืชในสกุลขนุนที่พบในเกาะสุมาตรา สารสำคัญที่พบในหาดรุมได้แก่ oxyresveratrol, (+)-catechin, afzelechin-3-O-alpha-L-rhamnopyranoside, (-)-epiafzelechin, dihydromorin, epiafzelechin-(4beta→8)-epicatechin, dadahol A dadahol B, resveratrol, steppogenin, moracin M, isogemichalcone B, gemichalcone B, norartocarpetin และ engeletin.

ใหม่!!: พืชดอกและหาดรุม · ดูเพิ่มเติม »

หางหมาจอก

หางหมาจอก (L.) Desv.

ใหม่!!: พืชดอกและหางหมาจอก · ดูเพิ่มเติม »

หางนกยูงฝรั่ง

หางนกยูงฝรั่ง (Flam-boyant, The Flame Tree, Royal Poinciana) หรือที่เรียกว่า นกยูง, นกยูงฝรั่ง, ชมพอหลวง, ส้มพอหลวง (ภาคเหนือ), หงอนยูง (ภาคใต้), อินทรี (ภาคกลาง), และยูงทอง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) พันธุ์ไม้จากทวีปแอฟริกาอยู่ในวงศ์พืชตระกูลถั่ว เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบในหน้าแล้ง ทรงพุ่มต้นแผ่กว้าง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่ง มีกลีบห้ากลีบ สีแดงจัดจนถึงสีส้ม ฝักเป็นลักษณะฝักถั่วแบนยาว เมื่อแก่จะเป็นฝักแห้งแข็งสีดำ.

ใหม่!!: พืชดอกและหางนกยูงฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

หางไหล

หางไหลหรือโล่ติ๊น (Bentham) เป็นไม้เลื้อยชนิดเนื้อแข็ง จัดเป็นพืชตระกูลถั่วชนิดหนึ่ง พืชชนิดนี้มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สำคัญคือโรติโนน (Rotenone) พบมากในราก มีฤทธิ์ฆ่าแมลงโดยการกินหรือการสัมผัสตัว และเป็นสารที่สลายตัวได้ง่ายเมื่อถูกความร้อนหรือแสงแดด สามารถนำมาใช้เป็นสารฆ่าแมลงได้ทั้งในรูปรากแห้งและรากสด โดยสารสกัดจากรากหางไหลแห้งนี้ สามารถใช้กำจัดหนอนแมลงวัน แมลงวัน ลูกน้ำ ยุงและเห็บโคได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและหางไหล · ดูเพิ่มเติม »

หิรัญญิการ์

หิรัญญิการ์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Beaumontia grandiflora Wall., ชื่อสามัญอื่น: Herald's Trumpet, Easter Lily Vine) เป็นไม้เถาขนาดใหญ่เนื้อแข็ง ทุกส่วนของต้นเมื่อรับประทานทำให้หัวใจถูกกระตุ้น เร่งการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจวายได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหิรัญญิการ์ · ดูเพิ่มเติม »

หิ่งเม่น

หิ่งเม่น เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Leguminosae วงศ์ย่อย Papilionoideae ลำต้นสีเขียวออกเหลือง เปลือกด้านนอกเหนียว มีกลิ่นเหม็นเขียว ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลือง ลักษณะแบบดอกถั่ว ผลเดี่ยวเป็นฝักกลม ปลายแหลมยื่นไปด้านหนึ่ง ผลแห้ง อ่อนสีเขียว แก่สีน้ำตาล แตกตามตะเข็บ เมล็ดสีน้ำตาลอมดำขนาดเล็กจำนวนมาก รากต้มน้ำดื่ม แก้ร้อนใน.

ใหม่!!: พืชดอกและหิ่งเม่น · ดูเพิ่มเติม »

หูกระจง

หูกระจง หรือ แผ่บารมี (Terminalia ivorensis Chev.) มีถิ่นกำเนิดในป่าแอฟริกาตะวันตก แถบเส้นศูนย์สูตร ตั้งแต่ประเทศกินีไปจนถึงประเทศแคเมอรูน เป็นพืชเศรษฐกิจ มีการปลูกเพื่อใช้เนื้อไม้ ในแถบถิ่นกำเนิด เป็นไม้ที่มีการเจริญเติบโตเร็ว และมีอายุยืน.

ใหม่!!: พืชดอกและหูกระจง · ดูเพิ่มเติม »

หูกวาง

''Terminalia catappa'' หูกวาง เป็นไม้ยืนต้นประเภทผลัดใบ มีความสูงประมาณ 8-25 เมตร มีเปลือกเรียบ กิ่งแตกรอบลำต้นตามแนวนอนเป็นชั้น ๆ คล้ายฉัตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับถี่ตอนปลายกิ่ง ใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลมเป็นติ่งสั้น ๆ โคนใบสอบแคบ เว้า ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ขนาดเล็ก มีสีขาวนวล ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ผลเป็นรูปไข่หรือรูปรีป้อม ๆ แบนเล็กน้อยคล้ายเมล็ดแอลมอนด์ มีขนาดกว้างประมาณ 2-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร มีสีเขียว เมื่อแห้งมีสีดำคล้ำ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในเขตร้อนของอนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ ไปจนถึงภูมิภาคโอเชียเนียและหมู่เกาะฮาวาย โดยมักจะพบประจำที่บริเวณชายหาดหรือป่าชายหาดริมทะเล เพราะเป็นไม้ที่ขึ้นได้ดีในดินแบบดินร่วนปนทราย มีประโยชน์โดยเปลือกและผลมีรสฝาดมาก ใช้แก้อาการท้องเสีย ย้อมหนังสัตว์ ทำหมึก เมล็ดในผลรับประทานได้ และให้น้ำมันคล้ายน้ำมันอัลมอนด์ นอกจากนี้แล้วใบของหูกวางโดยเฉพาะใบแห้ง เป็นที่รู้จักดีของผู้นิยมเลี้ยงปลาสวยงามหรือปลากัด เนื่องจากใช้ใบแห้งหมักน้ำที่ใช้เลี้ยงปลาได้ เพราะสารแทนนินในใบหูกวาง จะทำให้สภาพน้ำมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) สูงขึ้น เหมาะสำหรับใช้เลี้ยงปลาที่มาจากแหล่งน้ำที่มีค่าความเป็นกรดสูง ทั้งนี้ยังช่วยลดการสะท้อนแสงของน้ำ เพื่อให้ปลาสบายตา ไม่เสียสายตา รู้สึกปลอดภัย ไม่ใช้ปากคีดกระจก และใช้รักษาอาการบาดเจ็บของปลากัดได้เป็นอย่างดี เพราะมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราและแบคทีเรียได้เป็นอย่างดี หูกวางเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดตราด และเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยสยาม หูกวางยังมีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามแต่ละจังหวัดหรือภูมิภาคด้วย เช่น โคน (นราธิวาส), ดัดมือ หรือ ตัดมือ (ตรัง), ตาปัง (พิษณุโลก, สตูล), ตาแปห์ (มลายู-นราธิวาส), หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี) เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและหูกวาง · ดูเพิ่มเติม »

หูปลาช่อน

หูปลาช่อน เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งตรงสูง 10 -45 เซนติเมตร ปลายใบแหลมเรียว โคนใบกว้างรูปไข่ ขอบใบหยักเว้า หลังใบสีเขียวเข้ม ท้องใบสีม่วงแดง ดอกออกเป็นช่อกลางลำต้น ช่อหนึ่งแยกเป็น 2 แขนง ดอกสีแดง ขนาดเล็ก ผลมีเปลือกแข็ง ในทางสมุนไพร รากสดนึ่งกับเนื้อหมูแก้ตานขโมย ต้นสดต้มน้ำดื่มเป็นยาแก้เจ็บคอ ทอนซิลอักเสบ ต้นสดตำคั้นน้ำพอกบริเวณที่เป็นฝี แก้บวมน้ำ ยานี้ห้ามใช้ในหญิงมีครร.

ใหม่!!: พืชดอกและหูปลาช่อน · ดูเพิ่มเติม »

หีบไม้งาม

หีบไม้งาม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carissa macrocarpa (Eckl.) A.DC.,ชื่อสามัญ: Natal Plum) ที่มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาใต้ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ตีนเป็ดที่สูงถึง 20 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านมีหนามปลายแหลมแยกเป็น 2 แฉก ยาวได้ถึง 3 ซม.ทุกส่วนของต้นมีน้ำยางขาว ด้วยทรงพุ่มสวยจึงใช้ปลูกในสวนหย่อม ทำเป็นรั้ว ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากซ้อนกันถี่ ใบรูปไข่ กว้าง 3-5 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและหีบไม้งาม · ดูเพิ่มเติม »

หงส์เหิร

หงส์เหิรเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและหงส์เหิร · ดูเพิ่มเติม »

หงอนไก่ไทย

หงอนไก่ไทย เป็นพืชล้มลุก ลำต้นตั้งตรง สีแดง ใบเดี่ยวสีแดง ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก ริ้วประดับติดทนนาน สีขาวหรือชมพู ผลแห้ง เมล็ดกลมแบน สีดำมันวาว.

ใหม่!!: พืชดอกและหงอนไก่ไทย · ดูเพิ่มเติม »

หงอนไก่เทศ

หงอนไก่เทศ (Celosia argentea var. cristata) เป็นสายพันธุ์หนึ่งของสปีชีส์ Celosia argentea เชื่อกันว่ามีต้นกำเนิดที่อินเดีย และได้รับการอนุรักษ์ไว้ด้วยความเชื่อทางศาสนาในอินเดีย พม่า และจีน โดยนิยมปลูกในวัด จำนวนโครโมโซมร่างกายของสายพันธุ์นี้เป็น 2n.

ใหม่!!: พืชดอกและหงอนไก่เทศ · ดูเพิ่มเติม »

หนอนตายหยาก

หนอนตายหยากหรือปงช้าง เป็นพืชในสกุลหนอนตายหยาก อยู่ในวงศ์ Stemonaceae เป็นไม้เถาล้มลุก ลำต้นเกลี้ยง มีนวลฉาบอยู่ มีรากจำนวนมาก ใบเดี่ยว โคนใบหยักเว้ารูปหัวใจ ดอกเดี่ยว สีขาว บานเดือนกรกฎาคม พบในภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก เป็นพืชสมุนไพร พบครั้งแรกที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีโดย D.J. Collins ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ผู้ค้น.

ใหม่!!: พืชดอกและหนอนตายหยาก · ดูเพิ่มเติม »

หนามพุงดอ

หนามพุงดอ หรือ ปิ๊ดเต๊าะ (ภาคเหนือ) หรือ พุงดอ (ภาคกลาง) เป็นพืชในวงศ์ Salvadoraceae ลักษณะเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งมักห้อยลง ยาว 2-4 เมตร แยกเพศต่างต้น มีหนามแหลม 1-2 อันตามซอกใบ มีหูใบขนาดเล็ก 2 อัน รูปลิ่มแคบ ใบเรียงตรงข้ามรูปรี รูปไข่กว้างหรือกลม ยาว 2-6 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่งคล้ายหนาม ดอกออกเป็นช่อแบบแยกแขนง ยาวได้ถึง 25 เซนติเมตร ดอกสีเหลืองอมเขียว ดอกเพศผู้เกือบไร้ก้าน ออกหนาแน่น กลีบเลี้ยงรูประฆังมี 4 กลีบ กลีบดอกมี 4 กลีบ ยาวกว่ากลีบเลี้ยงเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4 อัน เรียงสลับกับกลีบดอก ไม่มีรังไข่ที่เป็นหมัน ดอกเพศเมียขนาดเล็กกว่าดอกเพศผู้เล็กน้อย รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรจัก 2 พู ผลสดกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 มิลลิเมตร ภายในเมล็ดมี 1-3 เมล็ด ผลอ่อนมีสีเขียวอ่อนปนเหลือง เมื่อสุกมีสีขาวขุ่น หนามพุงดอมีถิ่นกำเนิดในกัมพูชา, มาเลเซีย, พม่า, ฟิลิปปินส์และเวียดนาม รากมีสรรพคุณแก้พิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและหนามพุงดอ · ดูเพิ่มเติม »

หนามวัวซัง

หนามวัวซัง อยู่ในวงศ์ Capparaceae เป็นไม้พุ่มเลื้อยขึ้นเป็นกอ กลีบดอกสีขาว เกสรตัวผู้จำนวนมาก ทั้งต้นเป็นยาแก้ไข้และขับน้ำเหลืองเสี.

ใหม่!!: พืชดอกและหนามวัวซัง · ดูเพิ่มเติม »

หนามแท่ง

หนามแท่งหรือเค็ด เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีหนามขนาดใหญ่แหลม ลำต้นสีเทา ผิวเรียบ ใบเดี่ยว แตกสลับเรียงเวียนเป็นกระจุก ใบเรียบ สีเขียว ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบดอกขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยก ผลเดี่ยวกลม ปลายผลมีแผลเกิดจากกลีบดอก ผลสีเขียวมีขนสั้นสีน้ำตาลปกคลุม เมื่อแก่เป็นสีน้ำตาลเข้ม อมดำ ใช้ทำเครื่องมือประมง.

ใหม่!!: พืชดอกและหนามแท่ง · ดูเพิ่มเติม »

หนามแดง (พืช)

หนามแดง (Maytenus marcanii) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Celastraceae สูงประมาณสามถึงสี่เมตร ลำต้นตรง มีหนามตามกิ่ง ลักษณะใบเป็นใบเดียว กว้างราวสองถึงสี่เซนติเมตร และยาวสี่ถึงเก้าเซนติเมตร ดอกสีขาวนวล ออกตามปลายกิ่งและซอกใบ ผลเมื่อแก่มีสีแดงเข้มถึงสีม่วง เมื่อบีบแตกจะมีสีแดงเข้มติดมือแต่สามารถล้างออกได้ ต้นหนามแดงนั้นจัดเป็นพืชสมุนไพร รากหนามแดงมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ ส่วนแก่นสามารถใช้เป็นยาบำรุงร่างก.

ใหม่!!: พืชดอกและหนามแดง (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

หนามไข่กุ้ง

หนามไข่กุ้ง อยู่ในวงศ์ Rosaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกโกวาสะ ไม้พุ่ม มีเนื้อไม้ ลำต้นเป็นเหลี่ยม มีหนามโค้ง มีขนสีแดงปกคลุมหนาแน่น มีหูใบ 1 อัน ใบประกอบ สีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีขนสั้นปกคลุม ดอกช่อ ออกตามซอกใบ มีขนปกคลุม ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกและดอกย่อยมีกาบหุ้มสีเขียวรองรับ กลีบดอกสีขาว ผลสุก รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและหนามไข่กุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

หนาด

หนาด หรือ หนาดใหญ่ หรือ หนาดหลวง (L.) DC.

ใหม่!!: พืชดอกและหนาด · ดูเพิ่มเติม »

หนุมานประสานกาย

หนุมานประสานกาย เป็นพืชชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์เล็บครุฑ (Araliaceae) เป็นไม้พุ่มสูงประมาณ 1-4 เมตร แตกกิ่งก้านต่ำใกล้พื้นดิน เปลือกต้นสีเรียบเป็นสีน้ำตาล ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กสีขาว ผลมีเนื้อนิ่มรูปทรงกลมขนาดเล็ก หนุมานประสานกาย ใช้เป็นพืชสมุนไพรไทย ใช้ประโยชน์ในการรักษาโรค โดยใช้ใบสดเล็ก ๆ เคี่ยวให้เหลือ 1 ใน 3 ดื่มเป็นน้ำวันละ 2 ครั้ง ก่อนมื้ออาหารเช้า-เย็น เป็นเวลา 49 วัน รักษาโรคหื.

ใหม่!!: พืชดอกและหนุมานประสานกาย · ดูเพิ่มเติม »

หนุมานนั่งแท่น

หนุมานนั่งแท่น (Buddha belly plant, bottleplant shrub, ชื่อวิทยาศาสตร์: Jatropha podagrica) เป็นไม้ประดับในวงศ์ยางพารา (Euphorbiaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลาง.

ใหม่!!: พืชดอกและหนุมานนั่งแท่น · ดูเพิ่มเติม »

หน้าวัว

หน้าวัว (Flamingo Flower หรือ Boy Flower) เป็นสกุลของพืชในวงศ์หน้าวัว (ARACEAE) มีถิ่นกำเนิดในฮาวาย ปัจจุบันกระจายพันธุ์ได้เกือบทุกทวีป แต่จะเจริญดีในภูมิอากาศแบบร้อนหรือร้อนชื้น (15 - 30 องศาเซลเซียส) จากฐานข้อมูลพืช ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557) ได้รายงานไว้ว่าเกี่ยวกับ "ชื่อค้นหา" ของคำว่า "หน้าวัว" ในประเทศไทยทั้งหมด 4 ชื่อ คือ 1.

ใหม่!!: พืชดอกและหน้าวัว · ดูเพิ่มเติม »

ห่วยหงู่ฉิก

ห่วยหงู่ฉิก (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) หรือ หวยหนิวซี (ภาษาจีนกลาง) Blume เป็นพืชที่พบในอินเดีย เนปาล จีน และญี่ปุ่น รากด้านนอกเป็นสีเหลืองคล้ายดิน ด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน ตำรายาจีนใช้รากทำยาบำรุงตับและไต ลดบวม แก้ปวด ในเนปาลใช้น้ำคั้นจากรากแห้ปวดฟัน เมล็ดใช้เป็นอาหารในยามอดอยาก สำหรับสตรีวัยที่ยังมีประจำเดือน งู่ฉิกเป็นยาบำรุงสตรีช่วยขับเลือดลม ช่วยแก้อาการ ประจำเดือนมาไม่ปกติ ขาดๆหายๆ ขับประจำเดือน ทำให้ลดการมีเลือดคั่งในมดลูก.

ใหม่!!: พืชดอกและห่วยหงู่ฉิก · ดูเพิ่มเติม »

ห้อม

ห้อม หรือ ฮ่อม มีชื่ออื่นๆคือ ฮ่อมเมือง ครามหลอย ครามเหล็กขูด ครามย่าน ใบเบิก เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ลักษณะเป็นไม้พุ่มลำต้นกลมและตั้งตรง สูง 50-80 เซนติเมตร ลำต้นและเหง้าเป็นรูปทรงกระบอก บริเวณข้อเป็นปล้องคล้ายขาไก่ แตกกิ่งก้านตามข้อ ลักษณะใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม โคนใบเรียวปลายใบแหลม ขอบใบหยักฟันเลื่อยละเอียด กว้าง 2.5 – 6 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและห้อม · ดูเพิ่มเติม »

ห้อมช้าง

ห้อมช้าง (Wall.) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Acanthaceae ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามปลายกิ่ง ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีขนหนาแน่นด้านใน กลีบดอกรูปปากเปิด สีม่วงอมแดงหรืออมชมพู ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบล่าง 3 กลีบ กลีบรูปรี กลีบบน 2 กลีบ สั้นกว่ากลีบล่างเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเกลี้ยง กสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน ขนาดเล็ก ผลแห้งแตก รูปแถบ มีสันเป็นเหลี่ยม มีขนสั้นนุ่ม การกระจายพันธุ์ พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบมากทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและห้อมช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อบเชยชวา

อบเชยชวา เป็นพืชในสกุลอบเชย (Cinnamomum) โดยเปลือกนำไปทำเครื่องเทศเรียก อบเชย น้ำมันจากอบเชยชวาจะไม่มียูกลีนอล อบเชยชวาเป็นไม้ไม่ผลัดใบ เปลือกเรียบมีกลิ่นหอม ดอกขนาดเล็กสีเหลือง บานในฤดูร้อนเป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินโดนีเซีย นอกจากนั้นบังพบที่ฮาวาย โดยนำต้นจากเอเชียไปปลูกที่ฮาวายราว..

ใหม่!!: พืชดอกและอบเชยชวา · ดูเพิ่มเติม »

อบเชยญวน

อบเชยญวน (Quế Trà My / Quế Thanh) เป็นไม้ไม่ผลัดใบ และเป็นพืชท้องถิ่นในคาบสมุทรอินโดจีน มีความใกล้เคียงกับอบเชยจีนมากกว่าอบเชยลังกา มีน้ำมันหอมระเหย 1-5% และมี cinnamaldehyde 25% ในน้ำมันหอมระเหยซึ่งมากกว่าชนิดอื่นๆ จึงมีราคาสูงกว่าอบเชยจีนและอบเชยลังก.

ใหม่!!: พืชดอกและอบเชยญวน · ดูเพิ่มเติม »

อบเชยญี่ปุ่น

อบเชยญี่ปุ่น เป็นไม้ไม่ผลัดใบที่พบใน ญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี ไต้หวัน และจีนตะวันออก ในจีนถือเป็นพืชอนุรักษ.

ใหม่!!: พืชดอกและอบเชยญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

อบเชยมะละบาร์

อบเชยมะละบาร์ เป็นไม้ไม่ผลัดใบชนิดหนึ่งในสกุลอบเชย เปลือกมีน้ำมันหอมระเหย ใช้ทำเครื่องเท.

ใหม่!!: พืชดอกและอบเชยมะละบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อบเชยลังกา

อบเชยลังกา ลักษณะทั่วไปเป็นไม้ยืนต้น ตัวต้นจะสูงประมาณ 4 - 10 เมตร ส่วนเปลือกและใบมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามกัน เส้นใบหยัก 3 เส้น เวลาออกดอกจะออกที่บริเวณซอกใบ หรือปลายกิ่ง โดยออกดอกย่อยสีเหลืองอ่อนรวมกันเป็นช่อ เป็นพืชพื้นเมืองในศรีลังกา เปลือกลำต้นใช้ทำเครื่องเทศ เรียก อ.

ใหม่!!: พืชดอกและอบเชยลังกา · ดูเพิ่มเติม »

อบเชยจีน

อบเชยจีน เป็นไม้ไม่ผลัดใบพบทางตอนใต้ของจีน และกระจายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออก เป็นพืชชนิดหนึ่งที่นำเปลือกไปทำเครื่องเทศที่เรียกอบเชย ตาอ่อนใช้เป็นเครื่องเทศได้เช่นกัน โดยพบในอินเดียและในจักรวรรดิโรมัน เปลือกไม้สีเทา ใบอ่อนเป็นสีแดง ในตำรายาจีน ก้านอ่อนใช้เป็นยาเรียกกุ้ยจือ (ภาษาจีนกลาง) หรือกุยกี (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ใช้ขับเหงื่อ แก้หวัด ใช้ทำยาขับเหงื่อ กระตุ้นการไหลเวียนเลือดและแก้ปวด เปลือกเรียกโร่วกุ้ย (จีนกลาง)หรือเหน็กกุ่ย (จีนแต้จิ๋ว) ใช้เป็นยากระตุ้นกระเพาะอาหาร บำรุงไต น้ำมันหอมระเหยจากอบเชยจีน(''Cinnamomum cassia'').

ใหม่!!: พืชดอกและอบเชยจีน · ดูเพิ่มเติม »

อรพิม

อรพิม หรือ คิ้วนาง เป็นไม้เถาเนื้อแข็งในสกุลชงโค มีมือเกาะ มีขนสีน้ำตาลที่กิ่งอ่อน ใบประกอบ ดอกมี 5 กลีบ สีขาว 4 กลีบ สีเหลือง 1 กลีบ ติดฝักเป็นรูปดาบ เปลือกบาง ผิวเรียน เมล็ดข้างในแบน มีจำนวนมาก แก้ท้องเสีย แก้ปวดศีรษะ ขับเสมหะ แก้บิด จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นที่พบได้ในประเทศไทยเท่านั้น และเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี โดยชื่อวิทยาศาสตร์นั้น ตั้งขึ้นเป็นเกียรติแก่ พระยาวินิจวนันดร (โต โกเมศ) นักพฤษศาสตร์ชาวไทย ที่ได้รับการยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งพฤษศาสตร์ไทย".

ใหม่!!: พืชดอกและอรพิม · ดูเพิ่มเติม »

อวัยวะเพศ

อวัยวะเพศ (sex organ) หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ (reproductive organ, primary sex organ, primary sexual characteristic) เป็นโครงสร้างทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่มีความซับซ้อน และเป็นส่วนหนึ่งของระบบสืบพันธุ์ อวัยวะที่เห็นได้จากด้านนอกในเพศหญิงและชายเรียกว่าเป็น อวัยวะเพศปฐมภูมิ หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ (genitals, genitalia) ส่วนอวัยวะภายในเรียกว่าเป็น อวัยวะเพศทุติยภูมิ หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ลักษณะที่เริ่มเกิดขึ้นในวัยเริ่มเจริญพันธุ์ เช่น ขนหัวหน่าวในผู้หญิงและผู้ชาย และหนวดในผู้ชาย เรียกว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเพศทุติยภูมิ (secondary sex characteristics) มอสส์, เฟิร์น และพืชบางชนิดที่คล้ายกันมีอับเซลล์สืบพันธุ์ (gametangia) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแกมีโทไฟต์ (gametophyte) ดอกไม้ของพืชดอกสร้างละอองเรณูและเซลล์ไข่ ทว่าอวัยวะเพศอยู่ข้างในแกมีโทไฟต์ภายในละอองเรณูและออวุล (ovule) พืชจำพวกสนก็ผลิตโครงสร้างการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศข้างในแกมีโทไฟต์ภายในลูกสนและละอองเรณู โดยลูกสนและละอองเรณูเองไม่ใช่อวัยว.

ใหม่!!: พืชดอกและอวัยวะเพศ · ดูเพิ่มเติม »

อวดเชือก

อวดเชือก เป็นพืชในวงศ์ Combretaceae เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่อ สีขาวอมเหลือง ออกตามง่ามใบหรือปลายยอด ผลแห้งมีปีก 4 อัน รากใช้รักษากามโรค แก่นบำรุงโลหิต ผลช่วยเจริญอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและอวดเชือก · ดูเพิ่มเติม »

ออริกาโน

ออริกาโนแห้งสำหรับปรุงอาหาร ออริกาโน (Oregano; หรือ) เป็นพืชในสกุล Origanumที่พบบ่อย อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเขตอบอุ่นและทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของยูเรเชีย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ออริกาโนเป็นเครื่องปรุงสำคัญในอาหารอิตาลี ใส่ในพิซซา ซอส และอาหารจานผัก นิยมใช้แบบแห้งมากกว่าแ.

ใหม่!!: พืชดอกและออริกาโน · ดูเพิ่มเติม »

ออลสไปซ์

ออลสไปซ์ (Allspice) เป็นเครื่องเทศ ทำจากผลอ่อน ของต้น Pimenta dioica นำมาตากแห้ง มีถิ่นกำเนิด แถบแคริบเบียน เม็กซิโกตอนใต้ และอเมริกากลาง ซึ่งปัจจุบันมีการปลูกในเขตร้อนหลายส่วนของโลก ชื่อ "ออลสไปซ์" ได้รับการตั้งโดยชาวอังกฤษใน..

ใหม่!!: พืชดอกและออลสไปซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อะกาเว

อะกาเว (Agave, หรือ) เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์ย่อย Agavoideae วงศ์ AsparagaceaeMark W. Chase, James L. Reveal, and Michael F. Fay.

ใหม่!!: พืชดอกและอะกาเว · ดูเพิ่มเติม »

อะราง

อะราง, นนทรีป่า หรือ อินทรี เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Caesalpiniaceae เปลือกเรียบ สีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อออกตามปลายกิ่งแล้วห้อยลง สีเหลือง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ กลีบดอกย่น เกสรตัวผู้ 10 อัน ผลเป็นฝักแบน ปลายและโคนฝักเรียวแหลม เมล็ดแบนสีน้ำตาล ลักษณะคล้ายนนทรีแต่ต่างกันที่ช่อดอกของอะรางห้อยลงแต่นนทรีชี้ขึ้น เปลือกต้นอะรางเป็นยาขับเสมหะ และใช้รักษาโรคเกี่ยวกับเลือด ใช้เป็นสีย้อม ให้สีน้ำตาลแดง เปลือกต้นที่มีอายุมากรับประทานได้ โดยขูดผิวด้านในออกมาแล้วสับละเอียด ใส่ในส้มตำร่วมกับสับปะรดและมดแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและอะราง · ดูเพิ่มเติม »

อัญชัน

อัญชัน (L.) เป็นไม้เถา ลำต้นมีขนนุ่ม มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ปลูกได้ทั่วไปในเขตร้อน มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือแดงชัน (เชียงใหม่) และเอื้องชัน,เองชัญ (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและอัญชัน · ดูเพิ่มเติม »

อัญชันป่า

อัญชันป่าหรือขี้หนอน เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Papilionaceae ลำต้นกลม ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ดอกย่อยทรงแบบดอกถั่ว สีขาว ผลเป็นฝักแห้งแตก ทั้งต้นตำพอกแผลช่วยห้ามเลือด ใส่ในไหปลาร้าหรือใช้ปิดปากไหป้องกันหนอนแมลงวัน.

ใหม่!!: พืชดอกและอัญชันป่า · ดูเพิ่มเติม »

อัมพวา (ผลไม้)

อัมพวา เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Leguminosae ภาคใต้เรียก นัมนัม เช่นเดียวกับภาษาอินโดนีเซียและภาษามัลดีฟส์ ชื่ออื่น ๆ คือมะเปรียง บูรานัม นางอาย ใบเดี่ยว รูปไข่ ใบห้อยลง ดอกออกเป็นช่อ กลีบเลี้ยงสีขาวปนชมพู กลีบดอกสีขาว ผลอ่อนสีน้ำตาลแกมเขียว แก่แล้วเป็นสีเหลือง ผลมีรูปร่างแบนคล้ายมะม่วง แต่ผลหยักเป็นลอนไม่เรียบ รสเปรี้ยวคล้ายมะม่วงดิบ ภายในผลมีเมล็ดเดียว ผลสุกรับประทานเป็นผลไม้ เนื้อไม้ใช้ในงานก่อสร้างได้ ผลอัมพว.

ใหม่!!: พืชดอกและอัมพวา (ผลไม้) · ดูเพิ่มเติม »

อัลมอนด์

อัลมอนด์ หรือ แอลมอนด์ ในภาษาอังกฤษ almond อ่านว่า อามึนด์ หรือ แอมึนด์ โดยไม่ออกเสียง l แต่ในภาษาไทยนิยมสะกดว่า อัลมอนด์ หรือ แอลมอนด์ (almond) เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Prunus เมล็ดรับประทานได้ เป็นพืชพื้นเมืองในตะวันออกกลางและเอเชียใต้ ผลของอัลมอนด์เป็นผลแบบมีเมล็ดเดียว มีเปลือกชั้นนอกและและเปลือกแข็งหุ้มเมล็ดโดยที่ไม่จัดเป็นผลแบบนัท อัลมอนด์จะขายทั้งแบบที่เอาเปลือกออกแล้วหรือขายทั้งเปลือก หรือนำไปผ่านน้ำร้อนเพื่อทำให้เปลือกอ่อนลง และเอ็มบริโอยังคงเป็นสีขาว ไฟล์:Green almonds.jpg|อัลมอนด์เขียว ไฟล์:Mandel Gr 99.jpg| อัลมอนด์มีเปลือก (ซ้าย) และไม่มีเปลือก (ขวา) ไฟล์:Blanched_almonds.jpg|อัลมอนด์ที่ผ่านน้ำร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและอัลมอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

อัคคีทวาร

อัคคีทวาร หรือ ตรีชะวา (Moon var. wallichii Clarke)ในวงศ์.

ใหม่!!: พืชดอกและอัคคีทวาร · ดูเพิ่มเติม »

อังกาบ

อังกาบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Barleria cristata L.) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นพรรณไม้พุ่มเตี้ย มีลำต้นเป็นข้อ สูงประมาณ 3 ฟุต ใบเป็นรูปหอก โคนและปลายเรียวแหลม ขนาดกว้างประมาณ 4 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและอังกาบ · ดูเพิ่มเติม »

อังกาบสีปูน

อังกาบสีปูน (หรือ ไม้พุ่มคลุมดินขนาดเล็ก เป็นกิ่งทอดเลื้อย สูง 15 - 40 ซม. ใบรูปไข่ ปลายแหลม ยาว 2 - 4 ซม. มีสีเขียวเป็นมัน ดอกมีสีแดงอมส้ม คล้ายสีปูนแดงที่กินกับหมาก กลีบดอกกลมมน ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงามได้ทั้งในที่ร่มรำไร และกลางแจ้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและอังกาบสีปูน · ดูเพิ่มเติม »

อังกาบหนู

อังกาบหนู เป็นพืชที่เป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย เป็นพืชสมุนไพรในตำรับยาอายุรเวท น้ำคั้นจากใบใช้ป้องกันเท้าเปื่อยและแตกในฤดูมรสุม, Willliam Dymock, C. J. H. Warden & David Hooper, 1893.

ใหม่!!: พืชดอกและอังกาบหนู · ดูเพิ่มเติม »

อันดับชบา

อันดับชบาหรือ Malvales เป็นอันดับของพืชมีดอกในระบบ APG ประกอบด้วย 6000 สปีชีส์จาก 9 วงศ์ จัดอยู่ในกลุ่มโรสิดแท้ ของพืชใบเลี้ยงคู่แท้.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับชบา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับชมพู่

อกและตาของ'''Blue Eyes Fuchsia''' จากอันดับชมพู่และวงศ์ Onagraceae อันดับชมพู่ หรือ Myrtales เป็นอันดับของพืชมีดอกในกลุ่มโรสิดแท้ 2 หรือกลุ่มมัลวิด ในระบบ APG III ประกอบด้วยวงศ์ต่อไปนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับชมพู่ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับบัวสาย

อันดับบัวสายหรือ Nymphaealesเป็นอันดับของพืชมีดอกประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นไม้น้ำ 3 วงศ์ คือ Hydatellaceae Cabombaceae และ Nymphaeaceae (บัวสาย) เป็นหนึ่งในสามอันดับที่อยู่ในกลุ่มพื้นฐานของพืชมีดอก และจัดเป็นกลุ่มของพืชมีดอกที่เกิดขึนในช่วงแรกของสายวิวัฒนาการ Peter F. Stevens.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับบัวสาย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับพริกไทย

อันดับพริกไทย หรือPiperales เป็นอันดับของพืชมีดอก ซึ่งมีพืชที่สำคัญในอันดับนี้ เช่น กระเช้าสีดา พลู พริกไท.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับพริกไทย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับพวงแก้วกุดั่น

อันดับพวงแก้วกุดั่น หรือRanunculales เป็นอันดับของพืชมีดอก จัดอยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่แท้ ในกลุ่มพืชใบใบเลี้ยงคู่แท้พื้นฐาน.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับพวงแก้วกุดั่น · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกระทืบยอด

อันดับกระทืบยอด หรือ Oxalidales เป็นอันดับของพืชมีดอกที่อยู่ในกลุ่มโรสิด ที่อยู่ในพืชใบเลี้ยงคู่แท้ ส่วนใหญ่มีใบประกอบ มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก 5-6 กลีบ ประกอบด้วย.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับกระทืบยอด · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกระทงลาย

อันดับกระทงลาย หรือ Celastrales เป็นอันดับของพืชมีดอกที่พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน มีเพียงไม่กี่ชนิดที่พบในเขตอบอุ่น มีประมาณ 1200 "Lepidobotryaceae", "Parnassiaceae", and "Celastraceae" In: Klaus Kubitzki (ed.). The Families and Genera of Vascular Plants vol.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับกระทงลาย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกลอย

อันดับกลอย หรือ Dioscoreales iเป็นอันดับในพืชมีดอก ประกอบด้วยวงศ์ Dioscoreaceae ซึ่งเป็นวงศ์ของมันและกลอย ซึ่งเป็นอาหารสำคัญในหลายพื้นที่ ในระบบ APG II อันดับนี้เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ประกอบด้วยวงส์ Burmanniaceae Dioscoreaceae และ Nartheciaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับกลอย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกะเพรา

อันดับกะเพรา หรือ Lamiales เป็นอันดับของพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 11,000 สปีชีส์ แบ่งเป็น 20 วงศ์ สมาชิกที่สำคัญของอันดับนี้เช่น มะกอกออลิฟ มะลิ สัก ลิ้นมังกร สะระแหน่ และโหระพา เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับกะเพรา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกุหลาบ

อันดับกุหลาบ หรือ Rosales เป็นอันดับของพืชมีดอกPeter F. Stevens (2001 onwards).

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกุหลาบป่า

อันดับกุหลาบป่า หรือ Ericales เป็นอันดับของพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีความหลากหลายมาก มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื้อยและไม้ล้มลุก เช่น ต้นชา บลูเบอร์รี บราซิลนัท และยังมีพืชที่อยู่ร่วมกับเชื้อรา (เช่น Sarcodes sanguinea) และพืชกินแมลง (เช่น สกุล Sarracenia).

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับกุหลาบป่า · ดูเพิ่มเติม »

อันดับก่อ

อันดับก่อ หรือ Fagales เป็นอันดับของพืชมีดอกที่รวมของพืชที่เป็นที่รู้จักหลายชนิดเช่น เกาลัด วอลนัต และสนทะเล อยู่ในกลุ่มโรสิดของพืชใบเลี้ยงคู่แท้ ในระบบ APG ประกอบด้วยวงศ์ต่อไปนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับก่อ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับมะเขือ

อันดับมะเขือ (Solanales)เป็นอันดับของพืชมีดอกที่อยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่แท้ บางครั้งใช้ชื่ออันดับนี้ว่า Polemoniales ในเอกสารรุ่นเก่า ในระบบ Angiosperm Phylogeny Group (APG) ประกอบด้วยวงศ์ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับมะเขือ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับย่านตีเมีย

อันดับย่านตีเมีย หรือ Santalales เป็นอันดับของพืชมีดอกที่พบมากในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ระบบ APG III จัดให้อันดับนี้ประกอบด้วยวงศ์.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับย่านตีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับหญ้า

อันดับหญ้า หรือ Poales เป็นอันดับขยาดใหญ่ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และรวมวงศ์ของพืชที่สำคัญหลายชนิด เช่น หญ้า กก และสับปะรด มีสมาชิก 16 วงศ์ พืชในอันดับนี้พบตั้งแต่ยุคครีตาเชียสตอนปลาย พืชกลุ่มนี้ดอกขนาดเล็ก มีกาบหุ้ม และเป็นดอกช่อ ผสมเกสรด้วยลม และเมล็ดมักสะสมแป้ง ระบบ APG III จัดให้อันดับนี้อยู่ในกลุ่มคอมเมลินิด (commelinids) ประกอบไปด้วย.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

อันดับหน่อไม้ฝรั่ง

อันดับหน่อไม้ฝรั่งหรือAsparagales เป็นอันดับของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่ใช้การจัดจำแนกพืชระบบ APG III ตั้งชื่อตามวงศ์ Asparagaceae อันดับนี้เสนอขึ้นครั้งแรกโดย Huber เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับหน่อไม้ฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับอบเชย

อันดับอบเชยหรือLaurales เป็นอันดับของพืชมีดอกในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่หรือกลุ่มแมกโนลิดในระบบ APG มีความใกล้เคียงกับอันดับ Magnoliales อันดับนี้มีสมาชิก 2500-2800 สปีชีส์ จาก 85-90 สกุล มีทั้งไม้พุ่มและไม้ยืนต้น สปีชีส์ในอันดับนี้ ที่รู้จักกันดีได้แก่ อบเชย อาโวก.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับอบเชย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับอัสดง

อับดับอัสดง หรือ Saxifragales เป็นอันดับของพืชมีดอก มีความใกล้เคียงกับพืชในกลุ่ม พืชใบเลี้ยงคู่แท้ ส่วนใหญ่โดยอยู่ในกลุ่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับอัสดง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับผักชี

อันดับผักชี (Apiales) เป็นอันดับของพืชมีดอก ที่ยังคงอยู่ในระบบ APG IIIพืชที่สำคัญเช่น ผักชี แครอท บัวบก.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับผักชี · ดูเพิ่มเติม »

อันดับผักกาด

อันดับผักกาด หรือ Brassicales เป็นอันดับของพืชมีดอกในกลุ่มโรสิดแท้ ของระบบ APG II สมาชิกของอันดับนี้สามารถผลิต glucosinolate (น้ำมันมัสตาร์ด)ได้ อันดับนี้บางครั้งเรียก Capparales สมาชิกในอันดับนี้ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับผักกาด · ดูเพิ่มเติม »

อันดับผักปลาบ

อันดับผักปลาบ หรือ Commelinales เป็นอันดับของพืชมีดอก ประกอบด้วย 5 วงศ์: Commelinaceae, Haemodoraceae Hanguanaceae Philydraceae และ Pontederiaceae ทั้งอันดับประกอบด้วยสมาชิกมากกว่า 800 สปีชีส์ ในสกุลประมาณ 70 ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์Commelinaceae พืชในกลุ่มนี้ไม่อยู่ร่วมกับไมคอไรซา อันดับที่มีความใกล้เคียงทางพันธุกรรมกับอันดับนี้คือ Zingiberales ซึ่งรวมทั้ง ขิง กล้วย กระวาน และอื่น.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับผักปลาบ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับจำปา

''Myristica fragrans'' จากวงศ์ ''Myristicaceae'' ในอินเดีย อันดับจำปา หรือ Magnoliales เป็นอันดับของพืชมีดอก.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับจำปา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับถั่ว

''Desmodium gangeticum'' อันดับถั่วหรือ Fabales Bromhead เป็นอันดับของพืชมีดอกในกลุ่มโรสิด พืชใบเลี้ยงคู่แท้ ตามระบบ APG II ประกอบไปด้วยวงศ์ Fabaceae (มี 3 วงศ์ย่อยคือCaesalpinioideae Mimosoideae and Faboideae) Quillajaceae Polygalaceae (รวมวงศ์ Diclidantheraceae Moutabeaceae และ Xanthophyllaceae) และ Surianaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับถั่ว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับทานตะวัน

อันดับทานตะวัน หรือ Asterales (AST-er-ALE'-eez) เป็นอันดับของพืชใบเลี้ยงคู่ที่รวมวงศ์ขนาดใหญ่คือ Asteraceae (หรือ Compositae) และวงศ์ของพืชที่ใกล้เคียงรวมเป็น 10 วง.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับทานตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับขาเขียด

''Ottelia alismoides'' วงศ์ Hydrocharitaceae อันดับขาเขียด หรือ Alismatales เป็นอันดับของพืชมีดอกที่มีสมาชิก 4500 สปีชีส์ พืชในอันดับนี้ส่วนใหญ่เป็นพืชน้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับขาเขียด · ดูเพิ่มเติม »

อันดับขิง

อันดับขิง หรือ Zingiberales เป็นอันดับของพืชมีดอก เป็นอันดับที่มีสมาชิกเป็นพืชที่รู้จักกันดีหลายชนิด เช่น ขิง ข่า ขมิ้น กระวาน กล้วย สาคู เฮลิโคเนี.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับขิง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับดอกหรีดเขา

อันดับดอกหรีดเขา หรือ Gentianales เป็นอันดับของพืชมีดอก ที่เป็นพืชใบเลี้ยงคู่แท้ กลุ่มแอสเทอริด พืชสำคัญในอันดับนี้ เช่น กาแฟ ลั่นทม กันเกร.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับดอกหรีดเขา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับคาร์เนชัน

อันดับคาร์เนชัน หรือ Caryophyllales เป็นอันดับของพืชมีดอก ซึ่งรวมพืชวงศ์กระบองเพชร คาร์เนชัน วงศ์ผักเบี้ยทะเล วงศ์บานไม่รู้โรย และอีกหลายชนิด พืชส่วนใหญ่มีลำต้นสด ไม่มีเนื้อไม้.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับคาร์เนชัน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับแตง

อันดับแตง หรือ Cucurbitales เป็นอันดับของพืชมีดอกในพืชใบเลี้ยงคู่แท้ กลุ่มโรสิด อันดับนี้พบมากในเขตร้อน พบในเขตอบอุ่นน้อย มีทั้งไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก ไม้เลื้อย และไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของอันดับนี้คือดอกแยกเพศ การผสมเกสรเกิดขึ้นโดยแมลง แต่ก็มีที่อาศัยลม (Coriariaceae และ Datiscaceae).

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับแตง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับโคกกระสุน

อันดับโคกกระสุน หรือ Zygophyllales เป็นอันดับของพืชใบเลี้ยงคู่ที่ประกอบด้วยพืชสองวงศ์คือ.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับโคกกระสุน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับโนรา

''Aspidopterys cordata'' (Malpighiaceae) อันดับโนรา หรือ Malpighiales เป็นอันดับขนาดใหญ่ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 16000 สปีชีส์ คิดเป็น 7.8% ของ พืชใบเลี้ยงคู่แท้Peter F. Stevens (2001 onwards).

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับโนรา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเหมือดคน

อันดับเหมือดคน (Proteales) เป็นอันดับหนึ่งของพืชดอก มีสมาชิก 2–3 วง.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับเหมือดคน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเงาะ

อันดับเงาะหรือ Sapindales เป็นอันดับของพืชมีดอกที่มีสมาชิกที่สำคัญคือเมเปิล เงาะ ลิ้นจี่ สะเดา มะม่วง ระบบ APG II ได้จัดให้อันดับนี้อยู่ในกลุ่มโรสิดแท้ ในกลุ่มใหญ่โรสิด และในพืชใบเลี้ยงคู่แท้ มี 9 วงศ์.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับเงาะ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเตยทะเล

อันดับเตยทะเล หรือ Pandanales เป็นอันดับหนึ่งของพืชมีดอกในกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อันดับนี้มีความสัมพันธ์ในระดับพี่น้องกับอันดับกลอ.

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับเตยทะเล · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเน่าใน

อันดับเน่าใน หรือ Aquifoliales เป็นอันดับของพืชมีดอก ประกอบด้วยวงศ์ Aquifoliaceae และ Helwingiaceae และ Phyllonomaceae ใน..

ใหม่!!: พืชดอกและอันดับเน่าใน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์รากาชา

อาร์รากาชา (arracacha) เป็นพืชในวงศ์ Umbelliferae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ผิวเกลี้ยง ลำต้นกลวง เหง้าใต้ดินเป็นหัว รูปร่างทรงกระบอก รากสะสมมีลักษณะเป็นหัว เนื้อหัวสีขาวครีมหรือสีม่วง ใบเรียงสลับ ก้านใบมีลักษณะเป็นกาบ ดอกช่อแบบซี่ร่ม ดอกสีม่วงหรือสีเหลือง ตรงกลางช่อเป็นดอกตัวผู้ รอบนอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ผลแก่แล้วแตก อาร์รากาชาเมื่อสุกแล้ว เนื้อจะนิ่มกว่ามันฝรั่ง คำว่าอาร์รากาชานี้มาจากภาษาสเปนซึ่งยืมมาจากภาษาเกชัวที่เป็นภาษาพื้นเมืองในแถบเทือกเขาแอนดีส อาร์รากาชาเป็นพืชพื้นเมืองในแถบที่สูงของเทีอกเขาแอนดีส ตั้งแต่เวเนซุเอลาจนถึงโบลิเวีย นำไปปลูกในอเมริกากลาง อินเดีย หัวย่อยมีแป้งมาก นำมาต้มรับประทาน ใส่ในอาหาร ลำต้นอ่อนใส่ในสลัด ใบแก่ใช้เป็นอาหารสัตว์ ในบราซิลนิยมรับประทานเป็นผัก ในโคลอมเบีย นิยมรับประทานแทนมันฝรั่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและอาร์รากาชา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ทิโชก

อาร์ทิโชก (artichoke) เป็นพืชเมืองหนาว มีถิ่นกำเนิดในยุโรปเขตเมดิเตอร์เรเนียน มีสรรพคุณทางยา สามารถบริโภคสดหรือปรุงเป็นอาหาร ซึ่งเป็นเมนูสำคัญของงานเลี้ยงทางยุโรป และยังมีการนำมาสกัดสารไซนาริน ลักษณะทรงต้นและใบจะมีขนาดใหญ่โตเต็มที่จะมีขนาด 1.80 เมตร ใบหยักเป็นแฉกลึกสีเขียวอมเทาหรือขาวอมเทา ดอกประกอบไปด้วยกลุ่มของกลีบดอกจำนวนมากเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ บนก้านดอกลักษณะของดอกทรงแตกต่างกันไปตามลักษณะสายพันธุ์ ออกดอกในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม.

ใหม่!!: พืชดอกและอาร์ทิโชก · ดูเพิ่มเติม »

อาโวคาโด

อาโวคาโด หรือ ลูกเนย (avocado) เป็นผลไม้ที่มีเนื้อมันเป็นเนย เป็นต้นไม้พื้นเมืองของรัฐปวยบลาในประเทศเม็กซิโก จัดเป็นพืชดอกในวงศ์ Lauraceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับอบเชย, กระวาน และเบย์ลอเรล (bay laurel) ผลของอาโวคาโดมีรูปทรงคล้ายสาลี่ รูปไข่ หรือรูปกลม มิชชันนารีชาวอเมริกันนำมาปลูกในประเทศไทยครั้งแรกที่จังหวัดน่านนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและอาโวคาโด · ดูเพิ่มเติม »

อาเคเชีย

''Acacia drepanolobium'' ''Acacia sp.'' อาเคเชีย (Acacia) เป็นไม้สกุลของไม้พุ่มหรือไม้ต้นที่อยู่ในวงศ์ย่อย Mimosoideae ของวงศ์ถั่ว บันทึกเป็นครั้งแรกในแอฟริกาโดยนักชีววิทยาชาวสวีเดนคาโรลัส ลินเนียส ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและอาเคเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อินถวาน้อย

อินถวาน้อย เป็นพืชในสกุลพุดน้ำ (Kailarsenia) เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย ลักษณะเป็นไม้พุ่มสูงได้ถึง 2 เมตร แตกกิ่งก้านหนาแน่น มีขนสั้น ๆ ตามส่วนต่าง ๆ ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-4 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว ก้านใบยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร ดอกรูประฆังออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกสั้นมาก มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยงอย่างละ 5 กลีบ ฐานรองดอกมี 5 สัน หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.3 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู้ 5 อัน อับเรณูรูปแถบ ก้านเกสรเพศเมียรูปกระบอง ผลสดรูปรี มีสันตามยาว 5 สัน ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและอินถวาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อินทผลัม

อินทผลัม เป็นปาล์มชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและอินทผลัม · ดูเพิ่มเติม »

อินทผลัมไทย

อินทผลัมไทย เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม ลำต้นเดี่ยว ดอกแยกเพศแยกต้น ผิวเกลี้ยง ออกดอกต่อเนื่อง ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อยจำนวนมาก ช่อดอกออกระหว่างใบ ดอกช่อแบบ spadix ผลรูปรียาว สีเหลืองจนถึงสีส้มเปลือกชั้นนอกเรียบ ชั้นกลางเป็นเนื้อ ชั้นในเป็นเยื่อบาง มี 1 เมล็ด เป็นพืชที่พบตามธรรมชาติในที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุในปากีสถาน มีปลูกทั่วไปในอินเดีย พม่า ไทย ศรีลังกา ส่วนยอดของต้นใช้ผลิตน้ำตาลสด เพื่อทำเครื่องดื่ม หมักเหล้า หรือเคี่ยวเป็นน้ำตาล ใบใช้สานเสื่อและตะกร้า ผลและเมล็ดรับประทานได้ สกัดแป้งจากลำต้นได้ ลำต้นใช้ก่อสร้างและใช้ทำเชื้อเพลิง หรือใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและอินทผลัมไทย · ดูเพิ่มเติม »

อินทนิล

อินทนิล หรือ อินทนิลน้ำ เป็นไม้ยืนต้น เป็นพรรณไม้ที่พบขึ้นทั่วไปตามที่ราบลุ่มและบริเวณริมฝั่งแม่น้ำ ลำห้วย ในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดงดิบทั่วทุกภาค จะพบมากในป่าดงดิบภาคใต้ มีดอกสีม่วง สวยงาม มีชื่อในแต่ละท้องถิ่นต่าง ๆ กัน เช่น ตะแบกอินเดีย ฉ่องมู ซอง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) บาเอ (ปัตตานี) บางอบะซา (ยะลา นราธิวาส มาเลเซีย) อินทนิล (ภาคกลาง ภาคใต้) ตะแบกดำ (กรุงเทพฯ) อินทนิลเป็นพรรณไม้ประจำจังหวัดสกลนครและจังหวัดระนอง.

ใหม่!!: พืชดอกและอินทนิล · ดูเพิ่มเติม »

อึ่งคี้

อึ่งคี้ภาษาจีนแต้จิ๋ว หรือมีชื่ออื่นว่า ปักคี้ หวงฉีภาษาจีนกลาง หรือ เป่ยฉี และมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Astragalus propinquus เป็นพืชในวงศ์ถั่ว และในสกุล Astragalus และเป็นพืชที่ใช้เป็นยาในตำรายาจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและอึ่งคี้ · ดูเพิ่มเติม »

อึ่งงิ้ม

อึ่งงิ้มในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือหวงจินในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Lamiaceae พืชชนิดนี้เป็นพืชปลูกในไซบีเรีย มองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย จีน และเกาหลี รากแห้งเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ตรงกลางมีเส้นสีแดงอมน้ำตาล ตำรายาจีนใช้รากทำยาขับพิษ ขับร้อน สารสำคัญในรากได้แก่ baicalein, baicalin, wogonin, norwogonin, oroxylin Aและ β-sitosterol.

ใหม่!!: พืชดอกและอึ่งงิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

อึ่งน้อย

อึ่งน้อยในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือหวงเหลียนในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Ranunculaceae เป็นพืชท้องถิ่นในจีน เปลือกสีน้ำตาล เนื้อในสีเหลืองทอง ตรงกลางมีลายแดงอมน้ำตาล ในเหง้ามีสารจำพวก isoquinoline อัลคาลอยด์ และ berberineในตำรายาจีนใช้ทำยาขับพิษ ขับร้อน ใช้ย้อมสีผ้าฝ้ายและเส้นใยได้.

ใหม่!!: พืชดอกและอึ่งน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานดอกไม้

อุทยานดอกไม้ เป็นเพลงลูกกรุงของไทยที่มีเนื้อหากล่าวถึงพรรณไม้ดอกมากที่สุด 48 ชนิด แต่งคำร้องโดย สกนธ์ มิตรานนท์ แต่งทำนองโดย ชูศักดิ์ รัศมีโรจน์ ขับร้องโดย วงจันทร์ ไพโรจน์ เพลงนี้แต่งขึ้นใน พ.ศ. 2499 ภายหลังมีการนำเพลงนี้ไปเรียบเรียงเสียงประสานใหม่และขับร้องโดยศิลปินอื่นเช่น สุนารี ราชสีมา, อรวี สัจจานนท์ แต่เนื้อร้องและทำนองยังคงเดิม นอกจากนี้ เพลงที่มีพรรณไม้ดอกรองลงมาคือ มาลีแดนสรวง ซึ่งมีเพียง 32 ชนิด ขับร้องโดย มัณฑนา โมรากุล นักร้องในวงสุนทราภรณ์ และมีการแปลงเพลงเพื่อล้อเลียน อาทิ อุทยานผลไม้ ขับร้องโดย สุรพล สมบัติเจริญ และ อุทยานผี ขับร้องโดย มีศักดิ์ นาครัตน์ * ในเนื้อเพลงร้องว่า "จันทน์กระพ้อ" แต่คำที่ถูกต้องคือ "จันทน์กะพ้อ".

ใหม่!!: พืชดอกและอุทยานดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

อุตพิด

อุตพิด หรือ มะโหรา หรือ ว่านคางคก เป็นพืชในวงศ์ Araceae เป็นไม้ล้มลุก มีหัว เปลือกย่นเหมือนหนังคางคก ก้านใบยาว ใบขอบเว้าลึกเป็นสามพู ดอกเป็นช่อเชิงลด แกนกลางช่ออวบใหญ่ กาบหุ้มช่อดอกปลายสีแดงเข้ม พบตั้งแต่อินเดียจนถึงอินโดจีนและมาเลเซีย ขึ้นเป็นวัชพืชในมาเลเซีย ในอินโดจีนนำหัวมาหั่นตากแห้งรับประทาน ใบใช้เลี้ยงสัตว์ได้ ในอินโดจีนใช้หัวเป็นยาแก้ไอ หอบหืดและวิงเวียน ในไทยใช้ใบอังไฟประคบแผลน้ำร้อนลวก ใช้เป็นไม้ประดับ ใช้รักษาโรคเรื้อนและโรคผิวหนัง ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าทำให้คงกระพัน หัวแห้งเรียกว่าโหรามหุรา ใช้แก้เถาดานในท้อง หุงเป็นน้ำมัน ใช้ทาแผลเป็นฝ้าเป็นหนอง.

ใหม่!!: พืชดอกและอุตพิด · ดูเพิ่มเติม »

องุ่น

องุ่น เป็นพืชยืนต้น มีลักษณะเป็นไม้พุ่มเลื้อย มีลักษณะเนื้อแข็งและมีลำต้น กิ่งถาวรอายุเกิน 1 ฤดู ถ้าปล่อยให้เจริญเติบโตตามธรรมชาติจะเลื้อยเกาะกิ่งไม้ ใบกลมขอบหยักเว้าลึก 5 พู โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกออกเป็นช่อแยกแขนง ดอกย่อยขนาดเล็กสีเขียวมีหมวก จะหลุดออกเมื่อดอกบานกลีบดอกเมื่อบานสีขาว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ เป็นผลเดี่ยวที่ออกเป็นพวง (เป็นผลเดี่ยวที่เกิดจากดอกช่อแต่ดอกไม่หลอมรวมกัน) ผลย่อยรูปกลมรีและฉ่ำน้ำ มีผิวนวลเกาะและรสหวาน มีสีเขียว, ม่วงแดงและม่วงดำแล้วแต่พันธุ์ ในผลมีเมล็ดประมาณ 1 - 4 เมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและองุ่น · ดูเพิ่มเติม »

องุ่นบราซิล

องุ่นบราซิล, องุ่นต้น หรือ ฌาบูชีกาบา (jabuticaba) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ชมพู่ (Myrtaceae) เป็นไม้โตช้า ไม่ผลัดใบ เปลือกต้นสีน้ำตาลเทา ใบเดี่ยว ใบอ่อนเป็นสีแดง แก่แล้วเป็นสีเขียว ดอกเป็นดอกช่อ สีขาว ผลมีลักษณะคล้ายองุ่น กลมรี ออกเป็นกระจุกแน่นตามลำต้น และกิ่งก้าน ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่เป็นสีม่วงเกือบดำ ลักษณะคล้ายผลตะขบไทย มีเมล็ดอยู่ข้างใน ผลสุกใช้แปรรูปเป็นน้ำผลไม้ วิสกี้ ไวน์ และแชมเปญ และรับประทานสดเป็นผลไม้ในตลาดบราซิล นิยมรับประทานสด ใช้ทำแยม ทาร์ต พบสารต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ และต้านมะเร็งในผล.

ใหม่!!: พืชดอกและองุ่นบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

อนุพรหม

อนุพรหม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Annonaceae ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว ดอกแยกเพศ แต่ไม่แยกต้น กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองชั้น ชั้นในหนามาก และเชื่อมกันกลมคล้ายผล ผลเดี่ยว กลมรี สุกแล้วเป็นสีดำ ออกดอกช่วงธันวาคม – กุมภาพันธ์ ผลแก่เดือนกรกฎาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยที่หมู่บ้านพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี โดย ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและอนุพรหม · ดูเพิ่มเติม »

อโศกอินเดีย

อโศกอินเดีย หรือ อโศกเซนต์คาเบรียล เป็นไม้ยืนต้นสูง ในวงศ์ Annonaceae มีลักษณะเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มเป็นรูปปิรามิดแคบ ๆ สูงเต็มที่ได้ถึง 25 เมตร กิ่งโน้มลู่ลงทั้งต้น ทำให้แลดูต้นสูงชลูดมาก เปลือกต้นเกลี้ยงสีเทาเข้ม หรือเทาปนน้ำตาล ใบเดี่ยวรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายแหลมยาว 15 - 20 เซนติเมตร สีเขียวเป็นมันเงางาม ขอบใบเป็นคลื่น ออกดอกในระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน จะออกดอกสีเขียวอ่อนเป็นกระจุกตามข้างๆ กิ่ง แต่ละดอกเป็นรูปดาว 6 แฉก กลีบดอกเป็นคลื่นน้อย ๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 - 2 เซนติเมตร ดอกบานอยู่นาน 3 สัปดาห์ ผลรูปไข่ ยาว 2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีดำ เป็นไม้ต้นทรงสูงชะลูด สามารถสูงได้เกินกว่า 30 ฟุต เป็นแท่งกลมปลายแหลม ทรงพุ่มแผ่นทึบ ใบรูปหอก แนว ยาวสีเขียวเข้ม ขอบใบเป็นคลื่น ดอกออกเป็นช่อสีเขียวอ่อน รูปดาว 6 แฉก ดอกมีกลิ่นอ่อน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและเป็นร่มเงา มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดียและศรีลังก.

ใหม่!!: พืชดอกและอโศกอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อโศกน้ำ

อโศกน้ำ, โสก หรือ โสกน้ำ (Ashoka tree;; บางครั้งใช้ผิดเป็น Saraca indica) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ ยาว 10-15 เซนติเมตร ใบย่อย 1-7 คู่ เรียงสลับรูปใบหอก กว้าง 2-10 เซนติเมตร ยาว 5-30 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน รูปลิ่ม แผ่นใบหนา ดอกสีส้มหรือแดง ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่นที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดเรียว ยาวประมาณ1-2 เซนติเมตร บริเวณปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ปลายมน ผลแห้งแตก เป็นฝักทรงแบน กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 6-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดรูปไข่ แบน มี 1-3 เมล็ด อโศกน้ำนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ยอดอ่อนและดอกสามารถรับประทานได้ โดยดอกมีรสเปรี้ยวอมฝาด ช่วยขับเสมหะ เปลือกต้นมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เช่น Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa และ Staphylococcus aureus.

ใหม่!!: พืชดอกและอโศกน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

อโศกเหลือง

อโศกเหลือง, โสกเหลือง หรือ ศรียะลา เป็นไม้ต้นไม่ผลัดใบชนิดหนึ่งในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) ดอกสีเหลืองอมน้ำตาล มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัด หมวดหมู่:วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น หมวดหมู่:ไม้ประดับ.

ใหม่!!: พืชดอกและอโศกเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

อ้อย

อ้อย (อังกฤษ: Sugar-cane; ชื่อวิทยาศาสตร์: Saccharum officinarum  L.) เป็นพืชวงศ์ POACEAE วงศ์เดียวกับ ไผ่ หญ้าและธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าว ข้าวโพด และ ข้าวบาร์เลย์ มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในลำต้นอ้อยที่นำมาใช้ทำน้ำตาลมีปริมาณซูโครสประมาณ 17-35% ชานอ้อย (bagasse) ที่ถูกบีบเอาน้ำอ้อยออกไปแล้ว สามารถนำมาใช้ทำกระดาษ พลาสติก เป็นเชื้อเพลิง และอาหารสัตว์ ส่วนกากน้ำตาล (molasses) ที่แยกออกจากน้ำตาลในระหว่างการผลิต สามารถนำไปหมักเป็นเหล้ารัม (rum) ได้อีกด้วย อ้อยเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากเมื่อพิจารณาในแง่ของผลผลิต เพราะอ้อยสามารถใช้ปัจจัยสำหรับการเจริญเติบโต เช่น แสงแดด น้ำ อากาศ และธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้อ้อยยังเป็นพืชที่ปลูกง่าย และเมื่อปลูกครั้งหนึ่งแล้ว สามารถเก็บเกี่ยวได้หลายครั้ง อ้อยชอบอากาศร้อนและชุ่มชื้น ดังนั้นประเทศที่ปลูกอ้อย ซึ่งมีประมาณ 70 ประเทศจึงอยู่ในแถบร้อนและชุ่มชื้นในระหว่างเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ และ 35 องศาใต้ ประเทศผู้ปลูกอ้อยที่สำคัญ ได้แก่ บราซิล คิวบา อินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและอ้อย · ดูเพิ่มเติม »

อ้อยช้าง

กอกกัน หรือ อด หรือกุ๊ก เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae เปลือกสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นสะเก็ดรูปสี่เหลี่ยม ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ สีเหลืองอ่อน ออกดอกแล้วจะทิ้งใบหมด ผลขนาดเล็ก สุกแล้วสีเหลืองหรือแดง เป็นพืชที่รับประทานได้ โดยนำยอดอ่อนมารับประทานเป็นผัก รากสะสมน้ำไว้มาก สามารถตัดรากแล้วรองน้ำมาดื่มได้ นิยมนำรากไปผสมในยาตำรับต่างๆเพื่อให้รสดีขึ้น ไฟล์:Lannea coromandelica (Wodier Tree) in Hyderabad W IMG 5647.jpg|เปลือกต้นกอกกันในอินเดีย ไฟล์:Lannea coromandelica (Wodier Tree) in Hyderabad W IMG 5634.jpg|ดอกกอกกันในอินเดีย ไฟล์:Lannea coromandelica (Wodier Tree) fruits in Hyderabd W IMG 7389.jpg|ผลกอกกันในอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและอ้อยช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อ้อยสามสวน

อ้อยสามสวน อยู่ในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้เถา มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยขนาดเล็ก ผลรูปกระสวยเป็นพู ทรงกลม แก่แล้วแห้งแตกตามรอยตะเข็บ เถาของพืชชนิดนี้ตัดเป็นท่อนแล้วเคี้ยว ทำให้ชุ่มคอ แก้เจ็บคอ.

ใหม่!!: พืชดอกและอ้อยสามสวน · ดูเพิ่มเติม »

ฮาโลไซลอนขาว

ลไซลอนขาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Amaranthaceae แพร่กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันตกตั้งแต่อิสราเอล จอร์แดน อียิปต์ คาบสมุทรไซนาย อิรักตอนใต้ ซาอุดิอาระเบีย อิหร่าน โอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัฟกานิสถาน และปากีสถาน ไปจนถึงเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน และซินเจียงในจีน ชอบขึ้นในทรายที่มีผลึกหินยิปซัม ตันมีกิ่งก้านขรุขระ เปลือกสีน้ำตาล ไม่มีใบ โดยใบลดรูปเป็นกุ่งที่อวบน้ำ พบในภูเขาทราย ทะเลทร.

ใหม่!!: พืชดอกและฮาโลไซลอนขาว · ดูเพิ่มเติม »

ฮาโลไซลอนดำ

ลไซลอนดำ (saksaul; seksevil) อยู่ในวงศ์ Amaranthaceae ชอบขึ้นในดินเหนียวที่มีเกลือสูง ในจีนนิยมปลูกในพื้นที่แห้งแล้งเพื่อสร้างร่มเงาและลดการกลายเป็นทะเลทร.

ใหม่!!: พืชดอกและฮาโลไซลอนดำ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิอิรากิ (พืช)

อิรากิ (มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Osmanthus heterophyllus หรือรู้จักกันในชื่อ Holly Osmanthus เป็นพืชชนิดหนึ่งที่พบในแถบเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: พืชดอกและฮิอิรากิ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่วยซัว

ฮ่วยซัว (nagaimo, Chinese yam, Korean yam) เป็นพืชในสกุลกลอยซึ่งต่างจากสมาชิกอื่นที่สามารถรับประทานดิบได้ ในอาหารญี่ปุ่น นำไปรับประทานดิบหรือบด โดยนำทั้งหัวไปล้างด้วยน้ำส้มสายชู เพื่อล้างผลึกออกซาเลตออกก่อน หมวดหมู่:วงศ์กลอย หมวดหมู่:พืชที่รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและฮ่วยซัว · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่อสะพายควาย

อสะพายควาย เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้เถา ใบเดี่ยว พาดพันบนต้นไม้ใหญ่ พบตามเขาสูง เถาใช้ต้มน้ำหรือดองสุรา บำรุงกำลัง บำรุงข้อ.

ใหม่!!: พืชดอกและฮ่อสะพายควาย · ดูเพิ่มเติม »

ผกากรอง

ผกากรอง เป็นพืชในวงศ์ Verbenaceae เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกา นำไปปลูกเป็นไม้แต่งสวนในบริเวณจนอาจกลายเป็นพืชรุกรานในเขตร้อนได้ เป็นไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย เส้นใบเห็นเป็นร่องชัดเจน ดอกเป็นช่อกระจุก มีหลายสี ดอกย่อยเป็นทรงปากแตร ดอกมีกลิ่นฉุน ขนตามลำต้นเมื่อถูกผิวหนังทำให้คัน ถ้ารับประทาน ทำให้ปวดท้อง อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง หายใจขัด หมดสติ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียนำใบไปต้มกับน้ำ ใช้ฉีดพ่นไล่แมลง ผลดิบของผกากรอง.

ใหม่!!: พืชดอกและผกากรอง · ดูเพิ่มเติม »

ผักบุ้ง

ผักบุ้ง เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) พบทั่วไปในเขตร้อน และเป็นผักที่คนท้องถิ่น เช่น ไทย เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และกานา นิยมรับประทานเป็นอาหาร ผักบุ้งที่คนไทยนิยมนำมาประกอบอาหารมี 3 สายพันธุ์ คือ ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนาและผักบุ้งจีน โดยผักบุ้งไทยมักปลูกในน้ำเพราะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบนบก ส่วนผักบุ้งจีนจะปลูกในดินเพราะต้องการธาตุอาหารจากในดินมากกว.

ใหม่!!: พืชดอกและผักบุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ผักบุ้งรั้ว

ผักบุ้งรั้ว หรือ บ้องเลน, มันจระเข้, มันหมู เป็นพืชในวงศ์ Convolvulaceae ลักษณะเป็นไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 5 เมตร ใบรูปรี รูปไข่ถึงแกมใบหอก ยาว 2.5-5 เซนติเมตร แฉกกลางขนาดใหญ่กว่าแฉกข้าง ก้านใบยาว 2-8 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อรูปกรวยสีม่วงอมชมพู 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-2 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 2-8 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกสีม่วงอ่อน ด้านในสีม่วงเข้ม ผลกลมเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร เมล็ดขนาดประมาณ 5 มิลลิเมตร สีดำ มีขนสั้นนุ่มสารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ), ราชันย์ ภู่มา และคณะ, หน้า 279,..

ใหม่!!: พืชดอกและผักบุ้งรั้ว · ดูเพิ่มเติม »

ผักบุ้งจีน

ผักบุ้งจีน เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea aquatica Forsk.

ใหม่!!: พืชดอกและผักบุ้งจีน · ดูเพิ่มเติม »

ผักบุ้งทะเล

ผักบุ้งทะเลริมหาด อ่าวต้นไทร เกาะพีพีดอน ผักบุ้งทะเล เป็นไม้ล้มลุกเถาเลื้อย ลำต้นทอดไปตามยาวบนพื้นดิน มักขึ้นใกล้ทะเล ผิวเถาเรียบสีเขียวและม่วง ใบเป็นรูปหัวใจปลายเว้าเข้าหากัน ตามเถาและใบมียางสีขาว ดอกจะออกเป็นช่ออยู่ตามง่ามใบ ช่อหนึ่งจะมีดอกอยู่ประมาณ 2 - 6 ดอก แต่จะทยอยกันบานทีละดอกเท่านั้น ลักษณะของดอกเป็นรูปปากแตรยาวประมาณ 2.5 นิ้ว มีสีม่วงอมชมพู ม่วงอมแดง ชมพูหรือม่วง ผักบุ้งทะเลมีพิษ ถ้ารับประทานจะเกิดอาการเมา คลื่นไส้ วิงเวียน และ เสียชีวิตได้.

ใหม่!!: พืชดอกและผักบุ้งทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ผักบุ้งขัน

ผักบุ้งขัน เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Convolvulaceae เลื้อยทอดไปตามพื้นดิน ลำต้นสีม่วงอมเขียวแตกรากตามข้อ ใบเดี่ยว มียางสีขาว ดอกเดี่ยวกลีบเลี้ยงสีเขียวปลายแหลม กลีบดอกสีม่วงเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายไม่แยก ผลเดี่ยวกลม เป็นผลแห้งแก่แล้วแตก เมล็ดข้างในสีน้ำตาล ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและผักบุ้งขัน · ดูเพิ่มเติม »

ผักบุ้งไทย

ผักบุ้งไทย เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea aquatica พบได้บริเวณแม่น้ำลำคลองเพราะเจริญเติบโตในน้ำได้ดีกว่าบนดิน มักสานตัวเป็นกลุ่มและลอยตัวบนผิวน้ำ ชูส่วนยอดหรือบริเวณสีเขียวเพื่อสังเคราะห์แสง โดยทั่วไปแล้วผักบุ้งไทยได้รับความนิยมในการนำมาประกอบอาหารน้อยกว่าผักบุ้งจีน เพราะลำต้นมีความแข็งมากกว่าและนิยมนำมาประกอบอาหารบางประเภทเท่านั้น.

ใหม่!!: พืชดอกและผักบุ้งไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผักชี

ใบผักชี ผลแห้งของผักชีที่มักเรียกว่าเมล็ดผักชีหรือลูกผักชี ใช้เป็นเครื่องเทศ ผักชี, ผักชีลา หรือ ผักหอมป้อม เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Apiaceae ใบติดกับลำต้น มีใบย่อยเป็นจำนวนมาก ใบหยักลึกเข้าหากลางใบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมชมพู ผลมีลักษณะรี ค่อนข้างกลม แก่จัดเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล มีเมล็ด 2 เมล็ด ใช้รับประทานเป็นผัก และตกแต่งในอาหารหลายชนิด เช่น ใส่ในลาบ ก้อย แหนมสด รากผักชีใช้เป็นส่วนประกอบในน้ำพริกแกง ใส่ในทอดมัน ห่อหมก น้ำจิ้ม เมล็ดใช้เป็นเครื่องเทศ ใส่ในน้ำพริกแกง สะเต๊ะ บาเยีย ข้าวหมกไก.

ใหม่!!: พืชดอกและผักชี · ดูเพิ่มเติม »

ผักชีช้าง

ผักชีช้าง หรือ จ๋วงเครือ (คำเมือง) สามร้อยราก (กาญจนบุรี) หรือ สามสิบ หรือ รากสามสิบ เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบในแอฟริกา จีน อินโดจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ปลายรากเป็นหัวยาว ลำต้นเกลี้ยงมีหนามยาว เลื้อยพันได้ ใบจริงลดรูปเป็นใบเกล็ดขนาดเล็ก ดอกมีกลิ่นหอม ดอกสีขาวมีแถบสีเขียว เกสรตัวผู้ยาวเท่ากลีบดอก ผลมีเนื้อหลายเมล็ด ผลสุกสีแดงมี 1-3 เมล็ด ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี ต้นรากสามสิบมีสรรพคุณในเรื่องการฟื้นฟูความสาว เป็นสมุนไพรที่ได้กล่าวไว้ในคัมภีร์พระเวท ของประเทศอินเดีย มีชื่อเป็นภาษาบาลีสันสกฤตว่า ศตาวรี (Shatawari) หมายความว่า ต้นไม้ที่มีรากเป็นร้อยๆ หรือบางตำราหมายถึงผู้หญิงที่มีสามีเป็นคนร้อยคน เรียกได้ว่ามีการใช้สมุนไพรชนิดนี้มานานเป็นพันๆ ปี มีสารสำคัญในรากคือ อัลคาลอยด์ แอสพาราจีน จึงนำรากมาใช้เป็นยาสมุนไพร ทั้งยาบำรุงครรภ์ ขับปัสสาวะ บำรุงกำลัง แก้ท้องเสีย และโรคเกี่ยวกับลำไส้ ในอินโดนีเซียนำรากที่มีลักษณะเป็นหัวใบเคลือบน้ำตาลใช้เป็นของหวาน ในอินเดียใช้หัวเคลือบน้ำตาลรับประทานเป็นยากระตุ้นสมรรถภาพทางเพศ ใช้กระตุ้นน้ำนมในวัวนม และใช้เป็นไม้ประดับ ในไทยนำรากไปเชื่อมหรือแช่อิ่มรับประทาน ทางภาคใต้นำส่วนเหนือดินมาใส่ในแกงส้มและแกงเลียง.

ใหม่!!: พืชดอกและผักชีช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ผักชีฝรั่ง

ผักชีฝรั่ง (Culantro) เป็นไม้ล้มลุกเมืองร้อนปีเดียวหรือหลายปี ในวงศ์ผักชี (Apiaceae) มีถิ่นกำเนิดในประเทศเม็กซิโกและทวีปอเมริกาใต้ แต่มีการปลูกเลี้ยงไปทั่วโลก ผักชีฝรั่งมีชื่อพื้นเมืองอื่นดังนี้ ผักชีดอย (เชียงใหม่,เหนือ) มะและเด๊าะ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) หอมป้อมกุลา (เหนือ) ผักหอมเป (อีสาน)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและผักชีฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ผักชีลาว

ผักชีลาว เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) ตัวอย่างพืชที่อยู่ในวงศ์นี้ ได้แก่ แคร์รอต, ขึ้นฉ่าย, ผักชี ฯลฯ.

ใหม่!!: พืชดอกและผักชีลาว · ดูเพิ่มเติม »

ผักชีล้อม

''Foeniculum vulgare'' ผักชีล้อม (ชื่อวิทยาศาสตร์ Foeniculum vulgare Mill.) เป็นเครื่องเทศที่มีลักษณะใบสีเขียวสด ขี้นในน้ำหรืออาจปลูกในอ่างบัวก็ได้ นิยมใช้แพร่หลายมาช้านาน ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก กล่าวกันว่าเดิมนั้นเป็นพืชประจำท้องถิ่นของแถบเมดิเตอร์เรเนียน นับเป็นพืชที่ให้น้ำมันระเหย ซึ่งมีกล่าวไว้ในนิทานปรัมปราของกรีก และนิทานพื้นบ้านของอิตาลีด้วย ในช่วงขณะหนึ่งที่ยังเรียกกันอย่างสับสนนั้น เรียกผักชีล้อมว่า ยี่หร่าบ้าง ผักชีฝรั่งบ้าง เพื่อความเป็นกลาง กรมวิชาการเกษตร จึงประกาศไว้ใน บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย กำหนดให้เรียกเครื่องเทศชนิดนี้ ว่า ผักชีล้อม เป็นชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไทย อันหมายถึง fennel ในภาษาอังกฤษ ส่วนชื่อในท้องถิ่นอื่นของไทยเรียกว่า เทียนแกลบ ผักชีเดือนห้า หรือเรียกแค่ ผักชี ก็มี ในภาษาอังกฤษเรียกว่า fennel มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า fenum อันเป็นคำศัพท์ที่ใช้บรรยายกลิ่นที่หอมหวาน เล่ามาว่าสตรีชาวโรมันนิยมรับประทานผักชีล้อมเพื่อลดความอ้วน ปัจจุบันมีการใช้ผักชีล้อมมากมายในตำรับอาหาร ซึ่งมีส่วนช่วยให้อาหารที่มีมันมากไม่เลี่ยน และย่อยได้ง่าย เชื่อกันว่าผักชีล้อมนั้นช่วยเสริมความแข็งแกร่งและความกล้าหาญ และยังทำให้มีชีวิตยืนยาวด้วย เชื่อกันว่างูนั้นกินผักชีล้อมเพื่อช่วยให้ลอกคราบ ในสมัยกลางนั้น มีการห้อยผักชีล้อมไว้เหนือประตูเพื่อขจัดวิญญาณชั่วร้าย ดอกผักชีล้อมนั้นสีขาว เป็นพืชปรุงรสที่สำคัญอย่างหนึ่ง มีกลิ่นฉุนรสร้อนแรง ใช้ปรุงอาหารหลายชนิด เชื่อว่ายังช่วยรักษาโรคตา และรักษาสายตาด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและผักชีล้อม · ดูเพิ่มเติม »

ผักกระชับ

ผักกระชับ; rough cocklebur clotbur, common cocklebur, large cocklebur, woolgarie bur) จังหวัดเชียงใหม่ เรียก หญ้าผมยุ่ง จังหวัดราชบุรี เรียก ขี้ครอก เป็นพืชฤดูเดียวอยู่ใน วงศ์ทานตะวัน คาดว่ามีถิ่นกำเนิดในอเมริกาเหนือ และแพร่กระจายตามธรรมชาติทั่วโลก ผักกระชับเป็นผักพื้นบ้านของจังหวัดระยอง ต้นอ่อนใส่ในแกงส้ม กินกับน้ำพริก หรือผัดน้ำมันหอย ใช้เป็นยาได้โดยถอนทั้งรากมาต้มอาบแก้ผื่นแพ้ ต้มกินแก้ไซนัสอักเสบ นอกนั้นยังแก้อาการปวดฟันได้ เมล็ดของผักกระชับมีสารอัลคาลอยด์ที่เป็นพิษต่อสัตว์ เรียก carboxyatratyloside พืชนี้มีฤทธิ์ทางยา ใช้เป็นยาพื้นบ้านใน เอเชียใต้ และการแพทย์แผนจีน ในภาษาเตลูกู เรียกพืชนี้ว่ามารูลา มาตางี พืชชนิดนี้เกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตอย่างน้อย 19 คนและเจ็บป่วย 76 คนใน สิลเหต บังกลาเทศ เมื่อ พ.ศ. 2550 มีคนรับประทานพืชนี้จำนวนมากเพราะความอดอยากระหว่างเกิดน้ำท่วมในช่วงมรสุมและไม่มีพืชอื่นรับประทาน อาการได้แก่ อาเจียน อารมณ์เปลี่ยนแปลง และไม่มีสติ File:Xanthium strumarium 000.jpg|ผล File:Xanthium strumarium 001.jpg|ใบ File:Cocklebur Seedling West Texas 2003.jpg|ต้นอ่อน File:Xanthium strumarium MHNT.BOT.2004.0.213.jpg|Xanthium strumarium - MHNT.

ใหม่!!: พืชดอกและผักกระชับ · ดูเพิ่มเติม »

ผักกาดช้าง

มล็ดของผักกาดช้าง หญ้าคออ่อนหรือผักกาดช้าง ภาษากะเหรี่ยงเรียกหน่อบออึ เป็นพืชล้มลุก ลำต้นอวบน้ำ มีขนปกคลุมเล็กน้อย ใบเดี่ยว ผิวใบค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกช่อแบบกระจุกแน่น มีเกล็ดสีขาวปกคลุมบริเวณก้านช่อดอก ใบและต้นนำไปต้มใช้เป็นอาหารเลี้ยงหมู มีสารที่เป็นพิษต่อตับและก่อเนื้องอกFu, P.P., Yang, Y.C., Xia, Q., Chou, M.C., Cui, Y.Y., Lin G., "Pyrrolizidine alkaloids-tumorigenic components in Chinese herbal medicines and dietary supplements", Journal of Food and Drug Analysis, Vol.

ใหม่!!: พืชดอกและผักกาดช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ผักกาดกบ

ผักกาดกบ (L.) DC.

ใหม่!!: พืชดอกและผักกาดกบ · ดูเพิ่มเติม »

ผักกาดก้านขาว

ผักกาดก้านขาว (Brassica napus) เป็นพืชดอกสีเหลืองสดในวงศ์ Brassicaceae (วงศ์เดียวกับกะหล่ำปลี) ผักกาดขาวเป็นแหล่งใหญ่อันดับสามที่ใช้ในการผลิตน้ำมันพืชของโลกในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและผักกาดก้านขาว · ดูเพิ่มเติม »

ผักกาดหอม

ผักกาดหอม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Lactuca sativa) เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae ลำต้นเตี้ย แต่ส่วนที่เจริญมากที่สุดคือใบ แต่ละสายพันธุ์ก็มีช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมไม่เหมือนกัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชียและยุโรป ประเทศจีนปลูกผักกาดหอมมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ผักกาดหอมมีชื่อเรียกอื่นๆ อีกเช่น ผักสลัด ผักกาดยี พังฉ้าย เป็นต้น มนุษย์นำใบของผักกาดหอมมาบริโภค มักใช้เป็นส่วนประกอบของสลัด แซนด์วิช แฮมเบอร์เกอร์ ทาโก้ หรือรับประทานเป็นผักสด แกล้มกับอาหารรสจัดจำพวกยำหรือลาบ สาคูไส้หมู หรือข้าวเกรียบปากหม้อ หรือแม้แต่ใช้เป็นผักตกแต่งเพื่อความสวยงาม ผักกาดหอมมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ความต้องการใช้ผักกาดหอมของผู้บริโภคมีอยู่ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วงที่มีเทศกาลงานต่าง ๆ เช่น งานปีใหม่ จะขายดีเป็นพิเศษ.

ใหม่!!: พืชดอกและผักกาดหอม · ดูเพิ่มเติม »

ผักกาดหัว

ผักกาดหัว (subsp. longipinnatus) หรือชื่ออื่น ๆ เช่น หัวผักกาด, หัวไช้เท้า หรือ หัวไชเท้า เป็นสปีชีส์ย่อยของ ผักกาดหัวสีแดง (R. sativus) ในอาหารญี่ปุ่นหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงในซีอิ๊วและซอสต่างๆ ใช้เป็นน้ำจิ้ม ใส่ในต้มเค็ม และนิยมต้มปลาหมึกสดกับผักกาดหัวเพื่อช่วยให้เนื้อปลาหมึกนุ่มน่ารับประทานหน้า 22 เกษตร, ผักกาดหัว.

ใหม่!!: พืชดอกและผักกาดหัว · ดูเพิ่มเติม »

ผักกาดนกยูง

ผักกาดนกยูง เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Asteraceae อวบน้ำ ลำต้นกลวง ใบเดี่ยว ไม่มีก้านใบ ขอบใบหยักลึก ไม่สม่ำเสมอ และเป็นหยักฟันเลื่อยห่างๆ ดอกช่อขนาดเล็ก สีชมพู เบียดกันแน่น ผลเดี่ยว เป็นผลแห้ง รูปร่างยาว มีพู่สีขาว ปลิวไปตามลมได้ ต้นอ่อนกินเป็นผัก.

ใหม่!!: พืชดอกและผักกาดนกยูง · ดูเพิ่มเติม »

ผักลิ้นห่าน

ผักลิ้นห่าน เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Asteraceae ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน แตกกอเป็นช่วงๆ ต้นสีเขียวอมเหลือง ตามข้อมีใบแตกเป็นกระจุก หลังใบสีขาวนวล ดอกช่อ มีริ้วประดับซ้อนกันเป็นรูปกรวยคว่ำ ช่อดอกชั้นนอกมีกลีบสีเหลือง ช่อดอกชั้นในไม่มีกลีบดอก ผลแห้ง รูปยาวรี อยู่ในกรวยของริ้วประดับ ปลายเมล็ดมีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ ใช้เป็นผักแกล้มหรือนำไปปรุงอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและผักลิ้นห่าน · ดูเพิ่มเติม »

ผักหวานบ้าน

ผักหวานบ้าน ภาษากะเหรี่ยงเรียก ตาเชอเด๊าะ เป็นผักพื้นเมืองที่เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง แตกกิ่งโน้มลงด้านล่าง ใบเดี่ยว ก้านใบสั้น ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ ก้านดอกห้อยลง ดอกแยกเพศ กลีบรวมอวบน้ำ ใบผักหวานบ้านนั้นมีส่วนที่คล้ายใบมะยม แต่ว่าแตกต่างจากใบมะยมตรงที่ผักหวานบ้านจะมีนวลสีขาว ๆ บนหน้าใบ ผักหวานบ้านเป็นผักชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงมาก นอกจากนั้น สารสกัดด้วยเอทานอลยังมีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาที สามารถยับยั้งการเจริญของคะน้าได้ ชาวกะเหรี่ยงนำยอดอ่อนและใบอ่อนลวกหรือต้ม รับประทานกับน้ำพริก หรือใส่ในแกงปลาแห้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและผักหวานบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ผักหวานทะเล

ผักหวานทะเล หรือ คันทรง, ผักไห, ผักก้านถึ่ง เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อยในวงศ์ Rhamnaceae ลำต้นเรียบ เมื่ออ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีน้ำตาล เปลือกล่อนออกได้และเหนียว ใบเดี่ยว ขอบใบเป็นหยัก ดอกเดี่ยว ขนาดเล็ก สีเหลืองอ่อน ออกตามง่ามใบ ผลเดี่ยว กลม มีพูตื้นๆสามพู เขียวเป็นมัน เป็นพืชที่รับประทานได้ ใบใช้เป็นผักสดจิ้มน้ำพริก หรือนำไปลวกก่อน หรือใส่ในแกงกะทิ ใบเป็นยาแก้บวม น้ำเหลืองเสีย รากแก้เหน็บชา บวม ตานขโมย ร้อนใน.

ใหม่!!: พืชดอกและผักหวานทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ผักหวานป่า

ผักหวานป่า เป็นพืชในวงศ์ Opiliaceae ป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ต้นที่โตเต็มที่อาจสูงถึง 13 เมดร ที่พบโดยทั่วไปมักมีลักษณะเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก หรือเป็นไม้พุ่ม เนื่องจากมีการหักกิ่งเด็ดยอดเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิ่งและยอดอ่อนซึ่งเป็นส่วนที่ใช้บริโภค ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน ใบอ่อนรูปร่างแคบรี ปลายใบแหลม สีเขียวอมเหลือง ใบแก่เต็มที่รูปร่างรีกว้าง ถึงรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ใบสีเขียวเข้ม เนื้อใบกรอบ ขอบใบเรียบ ปลายใบมน ขนาดของใบประมาณ 2.5-5 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและผักหวานป่า · ดูเพิ่มเติม »

ผักหวานเมา

ผักหวานเมา หรือ ช้าผักหวาน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Opiliaceae ตามลำต้นมีตุ่มและหนามแข็ง ใบเดี่ยว กลีบดอกสีเหลืองอมเขียว ดอกเป็นดอกช่อ ผลสด เมล็ดแข็ง สุกแล้วเป็นสีแดง ออกดอกเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกในประเทศไทยที่จังหวัดกำแพงเพชรโดย Soerensen ชาวเดนมาร์ก พบทุกภาคของประเทศไทยยกเว้นภาคใต้ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและผักหวานเมา · ดูเพิ่มเติม »

ผักหนอก

ผักหนอก เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Araliaceae แตกไหลไปตามพื้นดิน ใบรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม มีขนทั้งสองด้าน ขอบใบเว้าเป็น 5 ซี่ ดอกเป็นดอกช่อ กลีบดอกสีเขียวอมเหลือง ผลเป็นรูปไต พบในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชาวไอริช ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและผักหนอก · ดูเพิ่มเติม »

ผักหนอกเชียงดาว

ผักหนอกเชียงดาว เป็นพืช ในวงศ์ Apiaceae เป็นพืชฤดูเดียว ช่วงข้อเรียวยาว ใบรูปไข่ ขอบใบหยักเว้าตื้นๆ ดอกช่อมีดอกย่อย 2-4 ดอก ผลรูปไข่ ออกดอกเดือนกันยายน – พฤศจิกายน ใช้รับประทานเป็นผัก พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดย G. Murata T. Iwatsuki และ ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและผักหนอกเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

ผักหนาม

ผักหนาม หรือกะลี เป็นพืชล้มลุกที่อยู่ในวงศ์ Araceae มันเป็นพืชที่มีเหง้าอยู่ใต้ดินโดยมีหนามเกาะอยู่เต็มลำต้น ใบเดี่ยว ผิวใบด้านล่างและก้านใบมีหนาม ดอกช่อมีกาบหุ้มช่อดอกขนาดใหญ่รองรับช่อดอก สีเหลือง ดอกย่อยจำนวนมาก ผลมีเมล็ดเดียว พบทั่วไปบริเวณริมน้ำหรือพื้นที่ชื้น ชาวขมุใช้ดอกและยอดอ่อนใส่แกงหรือต้มจิ้มน้ำพริก ยอดอ่อนใช้ทานเป็นผัก เหง้าใช้เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ ต้มน้ำอาบแก้คัน ใบแก้ปวดท้อง รากต้มน้ำดื่มแก้เจ็บคอ นักวิจัยจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีการทดลองนำผักหนามมาบดผสมไปในอาหารเลี้ยงไก่ ทำให้ไก่มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นทดแทนการใช้ยาปฏิชีวน.

ใหม่!!: พืชดอกและผักหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ผักอีหลืน

ผักอีหลืน เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae กระจายพันธุ์ในเทือกเขาหิมาลัย จีนตอนใต้ จนถึงภาคเหนือของไทย ชาวกะเหรี่ยงรับประทานเป็นผัก ใบและช่อดอกนำไปแกง มีกลิ่นหอม ช่อดอกมัดรวมกัน ใช้บูชาผีหลองข้าวหรือยุ้งข้าว.

ใหม่!!: พืชดอกและผักอีหลืน · ดูเพิ่มเติม »

ผักอีเปา

ผักอีเปา เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Umbelliferae ใบประกอบ มี 3-4 ใบย่อย ใบเป็นรูปหัวใจ ขอบเรียบหรือจักฟันคลื่น ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม แบ่งเป็นกลุ่มย่อย 10 – 20 กลุ่ม ดอกย่อยมีขนาดเล็กมาก เกสรตัวผู้มีเป็นจำนวนมาก สีเหลืองอ่อน ผลเป็นก้อน แก่แล้วแตกให้เมล็ดร่วงออกมา ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม –พฤศจิกายน พบครั้งแรกเมื่อ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและผักอีเปา · ดูเพิ่มเติม »

ผักจินดา

ผักจินดา หรือ ผักเชียงดา เป็นไม้เถาเลื้อยพบได้ในประเทศแถบทวีปเอเซีย เช่น อินเดีย พม่า ในประเทศไทยนิยมนำมารับประทานเป็นผักหรือใช้ปรุงอาหาร มีสรรพคุณช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผู้เป็นเบาหวานทั้งสองชนิดได้ข้อมูลของ ผักเชียงดา “เชียงดา” ผักฆ่าน้ำตาล ช่วยรักษา “เบาหวาน” ผักเชียงดาผักสมุนไพรพื้นบ้านรักษาโรคเบาหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและผักจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ผักคราดหัวแหวน

ผักคราดหัวแหวน (ชื่อวิทยาศาสตร์เดิมคือ Spilanthes oleracea และ Spilanthes acmella; toothache plant, paracress) จัดอยู่ในวงศ์ Asteraceae ผักชนิดนี้เป็นผักพื้นบ้าน นิยมรับประทานกันมาแต่รุ่นปู่ย่าตายาย โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเป็นผักที่เป็นทั้งอาหารและยาสมุนไพร และเป็นหนึ่งในยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน อีกทั้งทางด้านเภสัชวิทยาช่วยต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านยีสต์ ต้านไวรัส ยับยั้งการหดเกร็งของลำไส้ ลดความดันโลหิต เพิ่มฤทธิ์ของฮิสตามีนในการทำให้ลำไส้หดเกร็ง ปรับปรุงระบบภูมิคุ้มกันฆ่ายุง ฆ่าลูกน้ำยุง ทำให้ชัก เป็นยาชาเฉพาะที่ แก้ปวด ลดความแรงและความถี่ของการบีบตัวของหัวใจห้องบน ยับยั้งการหดตัวของมดลูกซึ่งเหนี่ยวนำด้วย oxytocin.

ใหม่!!: พืชดอกและผักคราดหัวแหวน · ดูเพิ่มเติม »

ผักควบ

ผักควบ เป็นพืชในวงศ์ Aponogetonaceae เป็นไม้น้ำ หัวรูปยาวหรือรูปไข่กลับ ใบจมน้ำหรือลอยน้ำ ใบจมน้ำมีขนาดใหญ่กว่าใบที่ลอย ก้านช่อดอกยาว โผล่พ้นผิวน้ำ พบตามบริเวณน้ำนิ่งหรือน้ำตื้น พบในอินเดีย มณฑลกวางตุ้งในจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในหัวมีแป้งสะสม รับประทานได้ ใบอ่อนใช้เป็นผัก เป็นไม้ประดับในอ่างเลี้ยงปล.

ใหม่!!: พืชดอกและผักควบ · ดูเพิ่มเติม »

ผักคา

ผักคา เป็นไม้เลื้อยใน วงศ์ถั่ว วงศ์ย่อย Mimisoidae เป็นไม้เถาเนื้อแข็งเลื้อยได้ไกลลักษณะคล้ายชะอม ลำต้นมีหนาม ยอดและใบอ่อนกินได้ มีกลิ่นเหม็นเขียว ออกดอกเดือนธันวาคม – มกราคม พบครั้งแรกในไทยโดยนายขรรชัย บุญช่วย และนายบุญชู นิ่มอนงค์ ที่จังหวัดเชียงราย กระจายพันธุ์ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง ชื่อสปีชีส์ย่อยตั้งเป็นเกียรติแก่หมอคาร์ ชาวไอร.

ใหม่!!: พืชดอกและผักคา · ดูเพิ่มเติม »

ผักปลัง

ผักปลัง ฟรือ ผักปั๋ง วงศ์ Basellaceae ไม้เลื้อย ลำต้นอวบน้ำ เกลี้ยง กลม ลำต้นมีสีเขียว ใบเดี่ยว อวบน้ำ เป็นมันหนานุ่มมือ ฉีกขาดง่าย ขยี้จะเป็นเมือกเหนียว ขอบใบเรียบ ดอกช่อเชิงลด ออกตรงซอกใบ ดอกย่อยจำนวนมาก ขนาดเล็ก ไม่มีก้านชูดอก แต่ละดอกมี 5 กลีบ ดอกสีขาว มีริ้วประดับ ติดที่โคนของกลีบรวม กลีบรวมรูประฆัง โคนเชื่อมติดกันเป็นท่อ ปลายแยกเป็นห้าแฉกเล็กน้อย เกสรเพศผู้มีจำนวน 5 อัน ติดที่ฐานของกลีบดอก อับเรณูรูปกลม ติดก้านชูเกสรที่ด้านหลัง เกสรเพศเมีย 1 อัน กลม ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ผลสด กลมแป้น ฉ่ำน้ำ ผิวเรียบ ปลายผลมีร่องแบ่งเป็นลอน ไม่มีก้านผล ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีม่วงอมดำ ภายในผลมีน้ำสีม่วงดำ เมล็ดเดียว ใบผักปลังขาวในอินเดีย ผักปลังแดงใน ฟิลิปปินส์ ผักปลังมี 2 ชนิดต่างกันตามสีของลำต้นและดอก ถ้าลำต้นเขียว ดอกขาวเรียกผักปลังขาว ถ้าลำต้นแดง ดอกแดงเรียกผักปลังแดง ทั้งสองชนิดรับประทานได้เช่นเดียวกัน ชาวมอญในไทยเรียกผักปลังทั้งสองชนิดรวมกันว่าผักปลังป่า ในขณะที่ภาษามอญเรียกผักปลังว่าฮะลอน ชาวมอญนำมาทำแกงเลียง แกงส้ม ผัดน้ำมัน ลวกจิ้มน้ำพริกทางภาคเหนือนิยมนำไปทำแกงจิ้นส้มหรือแกงกับแหนม เพราะผักปลังมีเมือกจึงต้องรับประทานกับเครื่องปรุงรสเปรี้ยว นอกจากนี้ ทางภาคเหนือและอีสานนำมาแกงกับถั่วเน่า ทำจอผักปลัง ดอกตูมใส่ในแกงส้ม ผัดกับแหนม แกงเลียง ในกรุงเทพฯ นิยมนำมาผัดไฟแดงหรือผัดน้ำมันหอย ชาวไทยทางภาคเหนือและชาวไทลื้อนำยอดอ่อนมาแกง ชาวไทยภาคเหนือและชาวเมี่ยนต้มยอดอ่อนให้สตรีที่อยู่ไฟกินเป็นยาบำรุง ชาวม้งนำยอดอ่อน แกงหรือใส่ต้มไก่เป็นยาบำรุงเลือดลมสำหรับคนที่เลือดลมไม่ดี ชาวไทเมืองนำเถามัดเอวให้สตรีใกล้คลอดเชื่อว่าช่วยให้คลอดง่าย ผลสุก ใช้แต่งสีม่วงในขนม เช่น ขนมบัวลอย ซ่าหริ่ม ผลผักปลัง ในตำรายาไทย ดอก ใช้ทาแก้กลากเกลื้อน แก้โรคเรื้อน ดับพิษฝีดาษ แก้เกลื้อน คั้นเอาน้ำทาแก้หัวนมแตกเจ็บ ต้น แก้อึดอัดแน่นท้อง ระบายท้อง แก้อักเสบบวม ต้มดื่มแก้ไส้ติ่งอักเสบ ราก แก้รังแค แก้โรคผิวหนัง แก้ท้องผูก แก้พรรดึก ขับปัสสาวะ ใช้ทาถูนวดให้ร้อน เป็นผักที่มีเมือกมาก กินแล้วช่วยร.

ใหม่!!: พืชดอกและผักปลัง · ดูเพิ่มเติม »

ผักปลาบ

ผักปลาบ (Benghal dayflower, tropical spiderwort หรือ wandering JewUmberto Quattrocchi.) เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ผักปลาบ เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ลำต้นทอดเลื้อย มีขนนุ่ม ก้านใบแผ่เป็นกาบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด สีฟ้าอ่อน ผลเป็นรูปรี เมล็ดใหญ่ ผิวขรุขระ ทั้งต้นเป็นยาเจริญอาหาร ยาร.

ใหม่!!: พืชดอกและผักปลาบ · ดูเพิ่มเติม »

ผักปลาบนา

ผักปลาบนาหรือกินกุ้งหลวง ชื่อวิทยาศาสตร์ Cyanotis axillaria เป็นพืชในวงศ์ Commellinaceae เป็นไม้เลื้อยกึ่งอวบน้ำ แตกรากตามข้อ กาบใบหุ้มลำต้น ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ไม่มีก้านดอก ดอกสีม่วงแกมน้ำเงิน ผลแบบแคปซูล แตกได้ เมล็ดสีน้ำตาล มีรอยเว้าขนาดเล็กและปลายแหลม เป็นวัชพืชขึ้นอยู่ทั่วไปตามที่ชื้นแฉะและทุ่งนา พบตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา จีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมล็ดมีแป้งประมาณ 60% และโปรตีนประมาณ 15% ใช้รับประทานเป็นอาหารเมื่อขาดแคลน.

ใหม่!!: พืชดอกและผักปลาบนา · ดูเพิ่มเติม »

ผักแพว

ผักแพว หรือ ผักไผ่ เป็นผักพื้นบ้านจำพวกพืชล้มลุกที่มีลักษณะใบเรียวยาวและมีกลิ่นแรงชนิดหนึ่ง ผักแพวเป็นผักที่อยู่ในวงศ์ Polygonaceae มีลักษณะลำต้นคล้ายต้นไผ่ มีข้อตามต้นเหมือนเป็นปล่องไผ่ มีใบยาวรี ปลายแหลมเหมือนใบไผ่ เกิดเองตามธรรมชาติตามที่ชื้นพื้นราบ ตามแอ่งน้ำต่าง ๆ นอกจากนั้นยังพบขึ้นตามป่า ตามโคนกอไผ่อีกด้วย มีอายุเพียงปีเดียว กินยอด กินใบได้ตลอดลำต้น เพราะใบอ่อน เส้นใยไม่หยาบกระด้าง ขยายพันธุ์ด้วยการชำกิ่งเท่านั้น.

ใหม่!!: พืชดอกและผักแพว · ดูเพิ่มเติม »

ผักแขยง

ผักแขยง หรือ Limnophila aromatica ชื่ออื่นๆ กะออม กะแยง(ตะวันออกเฉียงเหนือ) กะแยงแดง(อุบลราชธานี) ผักพา(เหนือ) เป็นพืชในวงศ์ Scorphulariaceae หรือ Plantaginaceae ไม้ล้มลุกฤดูเดียว ลำต้นเรียวยาว ตั้งตรง กลมกลวง อวบน้ำ มีขนแน่น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ทุกข้อ ตลอดลำต้น รูปขอบขนานแกมใบหอกขอบใบหยักมนแกมฟันเลื่อย ปลายใบแหลม โคนใบห่อติดลำต้น ดอกช่อกระจะออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ออกพร้อมกันทั้งต้น ดอกย่อย 2-10 ดอก ดอกเป็นรูปหลอดคล้ายถ้วย รูปกรวย ปลายบานเล็กน้อย แยกออกเป็น 4 กลีบ กลีบดอกสีม่วง ผิวด้านนอกเรียบ ผิวด้านในตอนล่างของกลีบดอกมีขน ผลแห้งแตกได้ รูปกระสวย เมล็ดรูปร่างกลมรี สีน้ำตาลดำ ขนาดเล็กมาก ชอบขึ้นบริเวณที่มีน้ำขังเล็กน้อย ผักแขยงเป็นเป็นวัชพืชในนาข้าว ทั้งต้นมีกลิ่นหอมฉุน เผ็ดร้อนชาวอีสานใช้ใส่ในแกงต้มปลา อ่อมต่างๆ มีกลิ่นหอม ช่วยดับกลิ่นคาว และเป็นพืชสมุนไพร ทางภาคอีสาน ใช้ ทั้งต้น เป็นยาขับน้ำนม ขับลม และเป็นยาระบายท้อง น้ำคั้นจากต้นใช้แก้ไข้ แก้คัน ฝี และกลาก แก้อาการบวม เป็นยาระบายอ่อนๆ ต้นแห้ง ที่เก็บไว้นาน 1 ปี ต้มน้ำดื่ม แก้พิษเบื่อเมา ผักแขยง จัดเป็นผักพื้นบ้านที่สำคัญของภาคอีสาน แต่ไม่พบในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและผักแขยง · ดูเพิ่มเติม »

ผักแปม

ผักแปม อยู่ในวงศ์ Araliaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก ต๋าเนอส่อเด๊าะหรือตาส่อเอ๊ะซีเด๊าะ เป็นไม้พุ่ม ลำต้นมีหนามแหลมงุ้ม ใบประกอบ ดอกช่อแบบซี่ร่ม ดอกย่อยจำนวนมาก ผลรูปแบน ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริกหรือใส่ล.

ใหม่!!: พืชดอกและผักแปม · ดูเพิ่มเติม »

ผักโขม

ผักโขม (Amaranth) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Amaranthus viridis จัดอยู่ในวงศ์ Amaranthaceae ผักโขมจะขึ้นอยู่ทั่วไปตามแหล่งธรรมชาติเช่น ป่าละเมาะ ริมทาง ชายป่าที่รกร้าง เป็นต้น และยังขึ้นเป็นวัชพืชในบริเวณสวนผัก สวนผลไม้ ไร่นาของชาวบ้าน ผักโขมเป็นพืชที่ขึ้นง่ายชาวบ้านจึงมักเก็บมาบริโภคในช่วงหน้าฝน รักษ์ พฤษชาติ,ผักพื้นบ้าน ครบเครื่องเรื่องผักพื้นบ้าน ทั้งการปลูกและการตลาด,สำนักพิมพ์ นีออน บุ๊ค มีเดีย,พิมพ์ครั้งที่ 4 มีนาคม 2553 ผักโขมมีชื่ออื่นๆ อีกคือ ผักขม (กลาง), ผักโหม, ผักหม (ใต้), ผักโหมเกลี้ยง (แม่ฮ่องสอน), กระเหม่อลอเตอ (กะเหรี่ยง, แม่ฮ่องสอน) ผักโขมมักจะถูกเข้าใจผิดหรือแปลผิดว่าเป็นผักที่ป๊อบอายใช้เพิ่มพลัง ความจริงแล้วคือผักปวยเล้ง (Spinach) ซึ่งในการ์ตูนป๊อบอายจะปรากฏคำว่า Spinach อย่างชัดเจน.

ใหม่!!: พืชดอกและผักโขม · ดูเพิ่มเติม »

ผักโขมหนาม

ผักโขมหนาม มีชื่อภาษาท้องถิ่นในภาคใต้เรียกว่า ผักโหมหนาม ส่วนที่แม่ฮ่องสอนและกะเหรี่ยงเรียกว่า กะเหม่อลอมี แม่ล้อกู่ และที่เขมรเรียกว่า ปะตี ส่วนภาคกลางจะเรียกว่า ผักขมสวน (spiny amaranth, prickly amaranth หรือ thorny amaranth) เป็นพืชล้มลุก ฤดูเดียว อายุสั้นประมาณ 2–4 เดือน หรือเมื่อออกดอก ติดเมล็ดแล้วก็จะค่อยๆ เหี่ยวแห้งตาย หรือเรียกว่าพืชที่มีอายุปีเดียว.

ใหม่!!: พืชดอกและผักโขมหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ผักเบี้ยทะเล

|image.

ใหม่!!: พืชดอกและผักเบี้ยทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ผักเลือด

ผักเลือด เป็นพืชในสกุล Ficus ที่พบในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย ใบอ่อนเป็นสีแดงหรือชมพูเข้ม ผลรับประทานได้ ยอดและใบอ่อนนำมาทำอาหาร กินเป็นผักสด ในออสเตรเลียจะพบชนิดที่เป็น var.

ใหม่!!: พืชดอกและผักเลือด · ดูเพิ่มเติม »

ผักเสี้ยนผี

ผักเสี้ยนผี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cleome viscosa Linn.) หรือชื่ออื่นเช่น ผักเสี้ยนป่า ส้มเสี้ยนผี (ภาคเหนือ) ผักเสี้ยนตัวเมีย ไปนิพพานไม่รู้กลั.

ใหม่!!: พืชดอกและผักเสี้ยนผี · ดูเพิ่มเติม »

ผักเขียด

ต้นขาเขียด ส่วนต่าง ๆ ของต้นขาเขียด ผักเขียด มีชื่อสามัญหลายชื่อ เช่น heartleaf false pickerelweed, oval-leafed pondweed เป็นต้น เป็นพืชชนิดหนึ่งจัดเป็นวัชพืชน้ำ พบทั่วไปในบริเวณที่มีน้ำขัง หนอง คลอง บึง ชื่อเรียกอื่น ๆ ได้แก่ ขากบขาเขียด ขาเขียด ผักเป็ด ผักเผ็ด ผักริ้น ผักหิน ผักฮิ้น ผักฮิ้นน้ำ ผักขี้เขียด กันจ้อง ผักลิ่น ผักลิ้น ริ้น ผักอีฮิน ผักอีฮินใหญ่ ในภาษาอีสาน และ ขี้ใต้ ในภาษาใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและผักเขียด · ดูเพิ่มเติม »

ผักเป็ด

ผักเป็ด St.

ใหม่!!: พืชดอกและผักเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

ผักเป็ดน้ำ

ผักเป็ดน้ำ เป็นพืชน้ำและเป็นพืชพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศอาร์เจนตินา แต่ได้แพร่กระจายไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก และได้ถูกจัดเป็นพืชพันธุ์ต่างถิ่นรุกรานในออสเตรเลีย จีน นิวซีแลนด์ ศรีลังกา ไทย และสหรัฐอเมริกา เชื่อว่าผักเป็ดน้ำถูกเคลื่อนย้ายออกมาจากประเทศอาร์เจนตินาโดยอยู่ในอับเฉาเรือของเรือท่องเที่ยว.

ใหม่!!: พืชดอกและผักเป็ดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ผำ

แหน, ไข่น้ำ, ไข่ขำ หรือ ผำ เป็นพืชมีดอกที่มีขนาดเล็กที่สุด จัดอยู่ในวงศ์ Lemnaceae สกุล Wolffia อาศัยลอยอยู่บนผิวน้ำ อาจลอยอยู่เป็นกลุ่มล้วน ๆ หรือลอยปนกับพืชชนิดอื่น ๆ เช่น แหน แหนแดง ก็ได้ มีรูปร่างรี ๆ ค่อนข้างกลม มีขนาดยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร แต่ละต้นมีสีเขียว ไม่มีราก ไม่มีใบ ต้นประกอบด้วยเซลล์ชนิดพาเรงคิมาเป็นส่วนใหญ่ มีช่องอากาศแทรกอยู่ระหว่างเซลล์ ทำให้เห็นเป็นฟองน้ำ และช่วยให้มีการลอยตัวอยู่ในน้ำได้ ไม่มีเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่นำน้ำและอาหาร มีช่องให้อากาศเข้าออกได้อยู่ทางบนของต้น ไข่แหนกระจายอยู่ในประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ในทวีปแอฟริกากลาง ทางใต้ในเกาะมาดากัสการ์ และในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะบริเวณเขตศูนย์สูตรใต้ และตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังพบในประเทศบราซิล ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศออสเตรเลียด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและผำ · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อ (ไม้ยืนต้น)

ผีเสื้อ (ภาษาจีนเรียกว่า) เป็นไม้ขนาดเล็ก สูง 12 เมตร ฐานใบรูปหัวใจไม่สมมาตร ผิวใบเกลี้ยงเรียบหรือมีขนเล็กน้อย ดอกเป็นดอกช่อ ผลรูปมนรี สุกเป็นสีม่วง พบกระจายตั้งแต่รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย บังกลาเทศ พม่า จีน ลาว เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและผีเสื้อ (ไม้ยืนต้น) · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อราตรี (ไม้ล้มลุก)

ผีเสื้อราตรี หรือ ปีกผีเสื้อ เป็นไม้ล้มลุก มีหัว มีใบประกอบคล้ายนิ้วมือ มักจะหุบใบในเวลากลางคืน ใบมีลักษณะประกอบคล้ายสามเหลี่ยม โดยมีมุมแหลมชนกัน มีสีชมพู - ม่วง ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว โดยก้านดอกออกจากก้านลำต้น มีสีชมพูม่วง มีกลีบดอก 5 กลีบ เป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีเกสรตัวผู้ 5-6 ตัว.

ใหม่!!: พืชดอกและผีเสื้อราตรี (ไม้ล้มลุก) · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อแสนสวย

ผีเสื้อแสนสวย เป็นไม้พุ่ม จะสูงประมาณ 1 - 1.5 เมตร พุ่มโปร่ง รูปทรงพุ่มกลม ขนาดพุ่มเป็นกอใหญ่ประมาณ 1 เมตร ลำต้นเมื่อแก่แล้วมีสีน้ำตาลเข้มไปสู่น้ำตาลอ่อน ลำต้นอ่อนออกเป็นสีเขียว ใบเขียวตลอดทั้งใบ ผิวสัมผัสหยาบ ดอกเป็นสีฟ้า กับสีฟ้าอ่อนจนแทบขาว เมื่อดอกบานออกมาจะเหมือนผีเสื้อ มีทั้งปีกบนสองปีก ปีกล่างสองปีกข้างลำตัว มีหนวดเป็นเกสรตัวผู้ที่ยาวอย่างอ่อนช้อย มีดอกตลอดทั้งปี ไม่มีกลิ่นหอม ผีเสื้อแสนสวย ชอบดินร่วนเหนียว ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวันขยายพันธุ์โดยการปักชำกิ่ง เพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง ควรปลูกเป็นกอละ 6 ต้นต่อตารางเมตร หรือ 3 ต้นต่อตารางเมตร หรือปลูกเป็นลำต้นเดี่ยวๆ เป็นแถวยาว.

ใหม่!!: พืชดอกและผีเสื้อแสนสวย · ดูเพิ่มเติม »

จมูกปลาหลด

มูกปลาหลด เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Asclepiadaceae ลำต้นมียางขาวเหมือนน้ำนม ใบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน หรือมีขนประปราย ดอกช่อขนาดเล็กสีแดงอมม่วง ผลเป็นฝักเรียว เมล็ดเล็กแบน รูปไข่มีขนเป็นพู่ ใช้เป็นอาหารสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและจมูกปลาหลด · ดูเพิ่มเติม »

จอก

อก (Water Lettuce.) ชื่อสามัญ Water Lettuce ชื่อวิทยาศาสตร์ Pistia stratiotes Linnaeus วงศ์ Areceae.

ใหม่!!: พืชดอกและจอก · ดูเพิ่มเติม »

จอกบ่วาย

อกบ่วาย เป็นพืชกินสัตว์ขนาดเล็กอยู่ในสกุลหยาดน้ำค้างเป็นพืชฤดูเดียว มีลักษณะลำต้นแนบไปกับพื้น ใบเป็นแผ่นมนรี ค่อนข้างหนา ลักษณะคล้ายช้อน เรียงกันเป็นรูปวงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 ถึง 3 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและจอกบ่วาย · ดูเพิ่มเติม »

จัน

ัน, จันอิน, จันโอ, จันขาว หรือ จันลูกหอม เป็นพืชวงศ์เดียวกับมะพลับและมะเกลือ เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย เปลือกต้นสีน้ำตาลอมดำ ใบเดี่ยว ดอกขนาดเล็ก สีขาวหรือเหลือง ผลกลมเมื่อสุก สีเหลืองรสหวาน ผลมีสองแบบคือ ผลที่มีรอยบุ๋มตรงกลาง เมล็ดลีบหรือไม่มีเมล็ด เรียกลูกจันอิน ส่วนผลที่ไม่มีรอยบุ๋ม มีเมล็ด 2-3 เมล็ดเรียกลูกจันโอ ผลมีกลิ่นหอมและมีรสฝาด ต้องคลึงผลให้ช้ำ รสฝาดจึงจะหายไปนิยมกินเป็นผลไม้สด และนิยมปลูกในวัด ผลสุกรับประทานได้ หรือนำไปแปรรูปเป็นของหวาน ผลช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ กระสับกระส่าย เนื้อไม้มีรสขมปนหวาน เป็นยาบำรุงประสาท แก้ร้อนใน แก้ไข้ ขับพยาธิ แก่นใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่น ใช้เป็นยาแก้ไข้ ผลดิบทางภาคอีสานนำไปตำส้มตำ โดยสับทั้งเปลือก ใช้แทนมะละกอ ปรุงรสเปรี้ยวด้วยมะยมและมะเฟือง.

ใหม่!!: พืชดอกและจัน · ดูเพิ่มเติม »

จันผา

ันผา หรือ จันทร์ผา เป็นไม้ประดับที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย อยู่แถบตามป่าเขา มีความสูงประมาณ 5 - 7 ฟุต ลำต้นมีความแข็งแรงมาก จะมีการแตกใบตรงบริเวณยอด ใบมีสีเขียวเข้ม ลักษณะเป็นรูปหอก ขนาดใบเรียวและยาว ปลายใบจะมีรูปแบบแหลมใบยาวประมาณ 45-50 cm และมีความกว้างที่ประมาณ 4-5 cm ส่วนใหญ่จะนิยมปลูกประดับไว้ที่สนามหญ้าและใช้ตกแต่งร่วมกับสวนหินจันทร์ผานั้นมีหลายชื่อ บ้างก็เรียกว่า "จันทร์แดง" หรือ "ลักจั่น" ชอบขึ้นบริเวณหน้าผ.

ใหม่!!: พืชดอกและจันผา · ดูเพิ่มเติม »

จันทร์กระจ่างฟ้า

ันทร์กระจ่างฟ้า เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง มีสีน้ำตาล กิ่งอ่อนสีเขียว และมีสีแดงเรื่อ มีดอกสีเหลืองสด ขยายพันธุ์ด้วยการการปักชำ และตอนกิ่ง นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทร์กระจ่างฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

จันทนา

ันทนา เป็นพืชในสกุลจันทนา วงศ์เข็ม เปลือกต้นสีเทาอ่อน แตกเป็นร่องเล็กๆ ตามความยาวของลำต้น เนื้อไม้สีขาวหรือเหลืองอ่อน ใบเดี่ยว หูใบเป็นแบบหูใบร่วม ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว มีกลิ่นหอม ผลรูปกลมรี ในสมัยโบราณใช้แก่นของต้นทำยาแทนจันทน์ขาวที่หายากและราคาแพง.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทนา · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์กะพ้อ

ันทน์กะพ้อ เป็นพันธุ์ไม้ในวงศ์ Dipterocarpaceae พวกเดียวกับยางนาและพะยอม บางพื้นที่ทางภาคใต้เรียก จันทน์พ้อ หรือ จันพอและที่จังหวัดพังงาเรียก เขี้ยวงู.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทน์กะพ้อ · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์ขาว

ันทร์ขาว เป็นพืชในวงศ์ย่านตีเมีย บางครั้งเรียก แก่นจันทร์ หรือ จันทร์หิมาลัย ใช้เป็นสมุนไพรบำรุงประสาท แก้ร้อนใน กระหายน้ำ ปลูกมากทางภาคใต้ของประเทศอินเดียตั้งแต่เมืองไมซอร์จนถึงมัทราส ชาวฮินดูใช้เป็นยาแก้ไข้ บดเป็นผงผสมในยาทาแก้ไฟลามทุ่ง ผื่นคันเรื้อรัง เมื่อนำมากลั่นด้วยไอน้ำจะได้น้ำมันจันทน์ขาว สีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม ใช้ผสมในเครื่องหอมและสบู่ ใช้แกะสลักเป็นพระพุทธรูป หรือใช้ทำของใช้ เช่น พัด ใช้ในพิธีเผาศพของชนชั้นสูง และใช้สำเร็จโทษเจ้านายชั้นสูงที่กระทำความผิด ดอกจันทน์ขาวในอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทน์ขาว · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์แดง

ันทน์แดง หรือ รักตจันทน์ อยู่ในวงศ์ถั่ว เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้ำตาลดำ ยางสีแดงเข้ม ใบประกอบ ไม่มีหูใบ ก้านใบมีขนนุ่ม เนื้อใบคล้ายแผ่นหนัง ดอกช่อ สีเหลือง ผลรูปกลมแบนมีปีก เมล็ดเกลี้ยง สีน้ำตาลแดง พบเฉพาะในรัฐอานธรประเทศ และบริเวณใกล้เคียงเมืองมัทราสและไมซอร์ ปัจจุบันเป็นพืชปลูกในศรีลังกา อินเดีย ฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทน์แดง · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์เทศบอมเบย์

ันทน์เทศบอมเบย์ เป็นพืชในวงศ์ Myristicaceae เป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย โดยเฉพาะเทือกเขากาตส์ตะวันตก เปลือกต้นเป็นสีเขียวอมดำ เรียบ บางครั้งมีสีแดง พืชชนิดนี้ใช้ในตำราอายุรเวท มีฤทธิ์ต้านมะเร็งและแก้อัก.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทน์เทศบอมเบย์ · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์เทศหอม

ันทน์เทศหอม เป็นสปีชีส์ของพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Myristicaceae เป็นพืชไม่ผลัดใบที่เป็นพืชท้องถิ่นในหมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย เป็นพืชสำคัญที่ให้ลูกจันทน์เทศและดอกจันทน์เทศ มีปลูกในกวางตุ้ง ยูนนาน ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกรนาดาในทะเลแคริบเบียน เกระละในอินเดีย ศรีลังกา และอเมริกาใต้ สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทน์เทศหอม · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์เทศปาปัว

จันทน์เทศปาปัว เป็นไม้ยืนต้นในสกุลจันทน์เทศ ถิ่นกำเนิดอยู่ในป่าในเกาะนิวกินี ใช้ทำเครื่องเทศที่เรียกจันทน์เทศเช่นเดียวกับจันทน์เทศหอม ใบเดี่ยว เรียงเวียน ดอกช่อ หมวดหมู่:เครื่องเทศ หมวดหมู่:สกุลจันทน์เทศ.

ใหม่!!: พืชดอกและจันทน์เทศปาปัว · ดูเพิ่มเติม »

จั่น (พรรณไม้)

ั่นราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: พืชดอกและจั่น (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

จั่นน้ำ

ั่นน้ำ เป็นพืชในวงศ์ Boraginaceae แตกกิ่งในระดับต่ำเป็นพุ่มแน่น ใบหนา ผิวใบสาก ขอบใบจักละเอียดและเป็นคลื่น ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยสีม่วงอ่อนขนาดเล็กจำนวนมาก ผลกลม ดอกบานช่วงกรกฎาคม – สิงหาคม พบตามเขาหินปูนในภาคกลางและภาคตะวันตก พบครั้งแรกที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยพระยาวินิจวนันดร ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ผู้ค้น.

ใหม่!!: พืชดอกและจั่นน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

จั๋งญี่ปุ่น

ั๋งญี่ปุ่น (lady palm หรือ Bamboo palm) เป็นไม้พุ่มสูง 10-15 ฟุต ลำต้นมีขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 2 นิ้ว มีการแตกหน่อ มองดูเป็นกอเหมือนกอไผ่ ลำต้นแข็งเหนียว คล้ายหวาย มีแผ่นใบหยาบ ๆ สีน้ำตาลเข้มคลุมบาง ๆ ใบเป็นใบประกอบ รูปฝ่ามือ มีใบย่อย 8-10 ใบ สีเขียวเป็นมัน แผ่เป็นครึ่งวงกลม ก้านใบเรียบเป็นมัน ปลายใบทู่ ดอกช่อ ออกตามซอกใบบริเวณปลายยอด แยกเป็นช่อดอกตัวผู้และช่อดอกตัวเมีย แยกคนละต้น ผลขนาดเล็กกลม สีเขียวอ่อนอมเหลือง เมล็ดมี 1 เมล็ดใน 1 ผล การขยายพันธุ์เพาะเมล็ด แยกหน่อ ใช้จัดสวนหย่อม หรือปลูกเป็นกอเดี่ยวตามมุมอาคารที่ไม่มีชายคา ปลูกเป็นไม้ประธานในการจัดสวน ใช้ประดับอาคารหรือที่ได้รับแสงรำไร.

ใหม่!!: พืชดอกและจั๋งญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จาก

ลำต้นของจากอยู่ใต้ดิน ส่วนที่โผล่ขึ้นคือใบ ช่อดอกของจาก เกาะเป็นก้อนกลม จาก เป็นพืชจำพวกปาล์ม โดยมีการจัดอยู่ที่ในวงศ์ย่อย Nypoideae ซึ่งมีสกุลเดียว และเป็นปาล์มเพียงชนิดเดียวที่เป็นพืชในป่าชายเลน และมีลำต้นอยู่ใต้ดิน นับเป็นพืชเก่าแก่มากชนิดหนึ่ง ที่มีซากดึกดำบรรพ์อายุถึง 70 ล้านปี จากพบได้ทั่วไปในเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในบริเวณน้ำจืด และน้ำกร่อย ที่มีน้ำเค็มขึ้นถึง มักจะขึ้นเป็นดงขนาดใหญ่ เรียกว่า ป่าจาก หรือดงจาก จากสามารถเติบโตได้ดีในดินโคลน ตามป่าชายเลน หรือบริเวณริมคลองที่มีไม้ให้ร่มเงาปะปนอยู่ด้วย มักอยู่ในช่วงที่มีน้ำจืดและน้ำกร่อยปนกัน แต่บนบกที่น้ำท่วมถึงก็พบจากได้บ้างเช่นกัน หากดินไม่แห้งแล้งนานจนเกินไป มีคุณสมบัติกันยุงได้.

ใหม่!!: พืชดอกและจาก · ดูเพิ่มเติม »

จากเขา

กเขา หรือ จากจำ เป็นปาล์มที่กระจายพันธุ์ทางตอนใต้ของไทยและมาเลเซีย เป็นปาล์มกอลำต้นสั้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร บางครั้งมีรากค้ำยันสูงถึง 1 เมตร ทางใบสูงได้ถึง 10 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แผ่นใบยาว 3-4.5 เมตร กาบใบยาว 60-90 เซนติเมตร มีหนามแหลมสีดำ มีใบย่อยด้านละ 55 ใบ ขนาด 3-4 x 45-70 เซนติเมตร ช่อดอกเป็นช่อเชิงลดยาวและตั้งตรง ขนาด 2.5-3 เมตร ออกระหว่างซอกใบ ช่อดอกยาว 1.8 เมตร ผลรูปไข่สีน้ำตาล ผิวเป็นเกล็ด ปลายยาวยื่นออกคล้ายลูกข่าง ขนาด 5-6 x 7-9 เซนติเมตร ภายในมี 1 เมล็ด ชาวพื้นเมืองนำใบจากเขามามุงหลังคา นำทางใบมาสาน ผลอ่อนรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและจากเขา · ดูเพิ่มเติม »

จางเยี่ยต้าหวาง

งเยี่ยต้าหวาง อยู่ในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ รากและเหง้าอ้วนสั้น ลำต้นอ้วนสั้น กลวง เปลือกต้นเป็นร่องตามยาว มีขนสีขาว ข้อพองออก ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก สีแดงอมม่วง น้อยมากที่จะเป็นสีขาวอมเหลือง ผลแห้งเมล็ดล่อน เมล็ดรูปไข่กว้าง สีน้ำตาลดำ พบในจีนที่มณฑลกานซู หูเป่ย์ ชิงไห่ ชานซี เสฉวน ยูนนาน ทิเบต และมองโกเลียใน ในจีนและรัสเซียปลูกเพื่อใช้เป็น.

ใหม่!!: พืชดอกและจางเยี่ยต้าหวาง · ดูเพิ่มเติม »

จำปา

ำปา มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของจีน อินเดีย ไทย มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย และมีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า จุมปา,จุ๋มป๋า (ภาคเหนือ) จำปากอ (มลายู-ใต้) จำปาเขา จำปาทอง (นครศรีธรรมราช) จำปาป่า (สุราษฎร์ธานี)จำปาเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสูงประมาณ 20 ฟุตมีสีน้ำตาลปนขาวเล็กน้อย กิ่งเปราะ ใบสีเขียวใหญ่เป็นมัน ดอกเริ่มแย้มจะมีกลิ่นหอมในช่วงพลบค่ำ ออกดอกเกือบตลอดปี แต่จะมีดอกมากในช่วงฤดูฝน ปลูกนานกว่า 3 ปี จึงจะออกดอก จำปาเป็นไม้กลางแจ้ง ต้องการน้ำปานกลาง ไม่ชอบที่น้ำขังจะทำให้ตายได้ ดินที่ใช้ปลูกควรเป็นดินร่วน โปร่ง อุดมสมบูรณ์ และจำปาเป็นไม้ที่มีประโยชน์ทางด้านสมุนไพร.

ใหม่!!: พืชดอกและจำปา · ดูเพิ่มเติม »

จำปาดะ

ำปาดะ (cempedak, เจิมเปอดะก์) คือชื่อของไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Moraceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับขนุน ถิ่นกำเนิดอยู่ในคาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย และเกาะนิวกินี ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น มียางสีขาวขุ่น ใบเป็นมัน ผลคล้ายขนุนแต่เล็กกว่า ผลดิบเปลือกแข็ง มียางมาก พอสุก เปลือกนิ่มลง ยางน้อยลง เนื้อมีกลิ่นหอมและรสหวานจัด ผลจำปาดะผ่าครึ่ง จำปาดะในตลาดที่ประเทศจีน ผลจำปาดะสามารถทำอาหารได้หลากหลาย มีกลิ่นเฉพาะตัว ทั้งกินเป็นผลไม้สด ชุบแป้งข้าวเจ้าแล้วทอดซึ่งเป็นที่นิยมในภาคใต้ของไทย สิงคโปร์และมาเลเซีย เมล็ดอย่างเดียวนำไปต้มให้สุก หรือใส่ในกับข้าวเช่นแกงไตปลา ผลอ่อนต้มกับกะทิใช้เป็นผัก ผลอ่อนนำไปแกงได้ เนื้อไม้สีเหลืองหรือน้ำตาลใช้ทำเครื่องเรือนและต่อเรือ เปลือกลำต้นใช้ฟั่นเชือก.

ใหม่!!: พืชดอกและจำปาดะ · ดูเพิ่มเติม »

จำปาเทศ

ำปาเทศ หรือ กระหนาย เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในสกุลกะหนานปลิง เปลือกลำต้นสีเทาแตกเป็นร่องเป็นสะเก็ดบิดเวียนตามยาว โคนลำต้นมักเป็นปุ่มเป็นโพรง แตกกิ่งจำนวนมาก กิ่งอ่อนยาว ปลายกิ่งห้อยลู่ กิ่งและก้านใบมีขนสีน้ำตาลปกคลุมทั่วไป ใบเดี่ยว เรียงระนาบเดียวกัน รูปขอบขนาน แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีขาว ผิวใบด้านบนเป็นมัน หลังใบมีขนละเอียดสีเทาหนาแน่น เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบเป็นสันนูนเด่นชัด โคนใบเว้าตื้นและเบี้ยวปลายใบแยกเป็นแฉก ออกดอกตามซอกใบบริเวณใกล้ปลายยอด กลีบเลี้ยงเป็นแผ่นหนาแข็ง กลีบดอกบาง สีขาว หอมเย็นตลอดวัน ออกดอกตลอดปี ผลเป็นทรงกระบอกสั้น เป็นเหลี่ยม มีขนบาง แก่แล้วแตก เมล็ดมีปีกเป็นแผ่นสีขาวออกดอกช่วงเมษายน – ตุลาคม พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ที่บริเวณใกล้ชายหาด อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันใช้เป็นไม้ประดับ การขยายพันธุ์ใช้วิธีตอนกิ่ง เพาะเมล็ด เปลือกใช้เป็นยาลดไข้.

ใหม่!!: พืชดอกและจำปาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

จำปูน

ำปูน เป็นพรรณไม้ดอกชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมหวาน ดอกมีขนาดเล็ก กลีบหนา อูม ดอกมีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Anaxagorea javanica Blume.

ใหม่!!: พืชดอกและจำปูน · ดูเพิ่มเติม »

จำปี

ำปี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Michelia alba DC.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า จุมปี, จุ๋มปี๋ (ภาคเหนือ) มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของจีน มาเลเซียและอินโดนีเซีย แบ่งเป็นสปีชีส์ได้ประมาณ 50 ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและจำปี · ดูเพิ่มเติม »

จำปีช้าง

ำปีช้าง เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทยในวงศ์จำปา เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบเดี่ยวเรียงเวียนรอบกิ่ง แผ่นใบหนาและเหนียว ดอกเดี่ยวมีกลีบดอก 9-12 กลีบ ผลกลุ่ม ผลย่อยมีลักษณะกลมรี เปลือกหนามาก เยื่อหุ้มเมล็ดมีกลิ่นคล้ายตะไคร้ พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและจำปีช้าง · ดูเพิ่มเติม »

จำปีรัชนี

ำปีรัชนี หรือ จำปีหลวง เป็นไม้ในสกุลแมกโนเลีย วงศ์ Magnoliaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกแตกเป็นร่องตื้นๆตามยาว ใบเดี่ยว กลิ่นหอมแรง ผลกลุ่ม ผลย่อยกลมรี ออกดอกเดือนเมษายน – พฤษภาคม พบในภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและจำปีรัชนี · ดูเพิ่มเติม »

จำปีศรีเมืองไทย

ำปีศรีเมืองไทย เป็นพืชในวงศ์ Magnoliaceae เป็นไม้ยืนต้น มีรอยแผลของหูใบ ยาวเกือบตลอดความยาวของก้านใบ ดอกแยกเพศ กลิ่นหอมแรง ผลกลม แก่แล้วแตกเป็นพูออกดอกช่วงเมษายน – พฤษภาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกเมื่อ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและจำปีศรีเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

จำปีสิรินธร

ำปีสิรินธร (Noot & Chalermglin) เป็นพรรณไม้จำปี ที่มีอยู่แห่งเดียวในโลกที่ป่าพลุชุมชน ต.ซับจำปา อ.ท่าหลวง จ.ลพบุรี ค้นพบโดย ดร.ปิยะ เฉลิมกลิ่น นักวิชาการ 10 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ลักษณะลำต้นสูงประมาณ 20 - 30 ม. ใบใหญ่กว่าจำปีทั่วไป มีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว ดอกสีขาวนวล มีกลีบดอก 12-15 กลีบ เมื่อดอกโรยแล้วจะมีเมล็ดเป็นช่ออยู่รวมเป็นกลุ่ม ออกดอกบาน ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง กรกฎาคม ผลแก่ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานนามว่า "จำปีสิรินธร" และเป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้.

ใหม่!!: พืชดอกและจำปีสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

จำปีแขก

ำปีแขก หรือ จำปาแขก (Banana Shrub, Port Wine Magnolia, Dwarf Chempaka) เป็นไม้พุ่มที่มีขนสีน้ำตาลอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะตามกิ่งก้าน และดอกตูมออกออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ มีขนคลุมทางด้านนอก กลีบดอก 2 วง วงละ 3 กลีบ สีขาวนวล กลีบหนาแข็ง ยาว 2 - 3 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและจำปีแขก · ดูเพิ่มเติม »

จิก

ก (Cornbeefwood) เป็นชื่อสามัญในภาษาไทยที่ใช้เรียกต้นไม้ในสกุล Barringtonia ในวงศ์ Lecythidaceae มีลักษณะโดยร่วมเป็นไม้ยืนต้น ขึ้นในที่พื้นที่ชุ่มน้ำ ดอกมีสีขาว เกสรเพศผู้สีแดงหรือสีชมพู มักออกเป็นช่อยาวห้อยเป็นระย้า มีทั้งหมด 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: พืชดอกและจิก · ดูเพิ่มเติม »

จิกสวน

กสวน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Lecythidaceae เปลือกต้นสีเทาหรือสีน้ำตาล ลำต้นมีปุ่มเล็กๆ เปลือกชั้นในสีเขียวอ่อน หลุดลอกง่าย ภายในเปลือกมีเส้นใย ใบเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบขนาดใหญ่ ใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนเป็นมัน ก้านใบอ้วนสั้น ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ตัวช่อดอกห้อยลง ดอกย่อยมีก้านดอกสั้นมาก กลีบดอกสั้นกว่าเกสรตัวผู้ที่มีสีแดงและยื่นยาวออกมาเป็นพู่ กลีบดอกมี 4 กลีบ สีชมพูอ่อน ผลเป็นผลเดี่ยว ผลกลมรี ผิวขรุขระ ดอกและยอดรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและจิกสวน · ดูเพิ่มเติม »

จิกน้ำ

กน้ำ หรือ จิกอินเดีย หรือ จิกนา หรือ จิกมุจรินทร์ (Indian Oak, Freshwater Mangrove) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Barringtonia acutangula เป็นไม้ยืนต้นอยู่ในวงศ์ Lecythidaceae มีถิ่นกำเนิดที่ภูมิภาคเอเชียใต้และอัฟกานิสถาน, ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลียแถบรัฐควีนส์แลนด์ โดยมักขึ้นใกล้ริมแหล่งน้ำ จิกน้ำมีชื่อเรียกอื่น ๆ ตามภาษาถิ่นว่า "กระโดนทุ่ง" หรือ "กระโดนน้ำ" (อีสาน-หนองคาย), "ปุยสาย" หรือ "ตอง" (ภาคเหนือ) "กระโดนสร้อย" (พิษณุโลก) และ "ลำไพ่" (อุตรดิตถ์) เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและจิกน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

จิกเล

ผลที่ยังไม่แก่ ดอก จิกเล หรือ จิกทะเล (accessdate putat, sea poison tree) เป็นสายพันธุ์ของ Barringtonia พื้นเมืองที่อยู่อาศัยป่าชายเลนบนชายฝั่งในเขตร้อนชื้นและหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก จากแซนซิบาร์ทางทิศตะวันออกไปจนถึงไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ฟิจิ, นิวแคลิโดเนีย, หมู่เกาะคุก, วาลลิสและฟุตูนา และเฟรนช์โปลินีเซีย มักปลูกตามถนนเพื่อการตกแต่งและร่มเงาในบางส่วนของอินเดีย จิกเลเป็นต้นไม้ใหญ่ สูงราว 20 เมตร ใบขนาดใหญ่ มันวาว มีความหนา ป้องกันการสูญเสียน้ำ ดอกขนาดใหญ่ สีขาว เกสรตัวผู้เป็นพู่ยาวเห็นได้ชัดเจน สีขาว ปลายชมพู ดอกมีกลิ่นหอมแรง บานตอนค่ำและโรยตอนเช้า ผสมเกสรด้วยผีเสื้อกลางคืนและค้างคาว ผลขนาดใหญ่ ทรงคล้ายลูกข่าง มีกากเหนียวหุ้มทำให้ลอยน้ำได้ดีคล้ายผลมะพร้าว ในเมล็ดและลำต้นมีสารซาโปนิน ใช้ทำยาเบื่อปลาและยานอนหลั.

ใหม่!!: พืชดอกและจิกเล · ดูเพิ่มเติม »

จิงจูฉ่าย

งจูฉ่าย เป็นสมุนไพรจีนที่นิยมใส่ในต้มเลือดหมู เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศจีนทางตะวันตก เป็นพืชชนิดเดียวในสกุลนี้ที่เป็นพืชปลูก ไม่ชอบดินคุณภาพต่ำหรือดินที่แข็งเกินไป ชาวจีนแต้จิ๋วนำไปประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่น ใส่ในต้มเลือดหมู นำไปทอดกรอบกินคู่กับหอยโข่งทะเล ใส่ในแกงจืดไตหมู กระดูกหมูหรือลูกชิ้นปลา แพทย์แผนจีนถือว่าเป็นยาเย็นจัด ลดความร้อนในเลือด ขับพิษ ขับลม แก้ไอ ใบสดนำไปต้มน้ำหรือคั้นดื่ม แก้อักเสบและลดอาการบวม.

ใหม่!!: พืชดอกและจิงจูฉ่าย · ดูเพิ่มเติม »

จิงจ้อแดง

งจ้อแดง เป็นพืชในสกุลผักบุ้ง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางถึงอเมริกาใต้ ลักษณะเป็นไม้เถาล้มลุก อายุปีเดียว ใบรูปไข่กว้าง เรียบหรือจักเป็นพูตื้น ๆ ยาว 3-10 เซนติเมตร ปลายใบแหลมยาว โคนรูปหัวใจ ก้านใบยาว 3-12 เซนติเมตร ดอกเป็นรูปแตรสีแดง มีใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 5-7 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงรูปรียาว 2-2.5 มิลลิเมตร หลอดกลีบดอกยาว 3-4.5 เซนติเมตร ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลกลมเกลี้ยงสีน้ำตาล เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มิลลิเมตร เมล็ดสีดำยาวประมาณ 4 มิลลิเมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและจิงจ้อแดง · ดูเพิ่มเติม »

จุกนกยูง

กนกยูง เป็นพืชล้มลุกในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae ลำต้นสั้นมากหรือเป็นเหง้าสั้นๆ ใบสีแดงเป็นกระจุกอยู่โคนต้น ก้านช่อดอกมีจำนวนมาก ยาวกว่าใบ ช่อดอกสีขาวรูปครึ่งวงกลมหรือทรงกลมออกดอกช่วงตุลาคม-กุมภาพันธ์ กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย พบครั้งแรก.ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและจุกนกยูง · ดูเพิ่มเติม »

จุกนารี

อดอก มองเห็นเกสรตัวผู้ โค้งเป็นรูปตัว s ชัดเจน (ภาพ: สะเมิง เชียงใหม่) จุกนารี หรือ เอ็นอ้าขน หรือ โคลงเคลงขนเป็นพืชมีดอกในวงศ์ Melastomataceae เป็นพืชท้องถิ่นในเขตภูเขาของจีน ภูฏาน พม่า กัมพูชา ลาว อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ เนปาล ไทยและเวียดนาม.

ใหม่!!: พืชดอกและจุกนารี · ดูเพิ่มเติม »

จุกโรหิณี

ก Richard Wettstein's ''Handbuch der Systematischen Botanik'' 1924 จุกโรหิณี หรือ บวบลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Dischidia major เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Asclepiadaceae อาศัยเกาะตามต้นไม้อื่น ต้นมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ค่อนข้างกลม ก้านสั้นเป็นใบหนา อวบน้ำ ผิวใบทั้งสองด้านมีลักษณะโป่งเป็นถุงเพราะมีมดเข้าไปอาศัย และได้ธาตุอาหารจากของเสียของมด ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กรูปโคม ผลเดี่ยวเป็นฝักเรียว มีขนเป็นพู่ที่ปล.

ใหม่!!: พืชดอกและจุกโรหิณี · ดูเพิ่มเติม »

จูดทุ่งแสลงหลวง

ูดทุ่งแสลงหลวง เป็นพืชในวงศ์กก กระจายพันธุ์ในอเมริกาเหนือและบางส่วนในอเมริกาใต้ ชอบขึ้นในที่ชื้น ทั้งทะเลสาบน้ำจืด และที่ลุ่มน้ำขัง เป็นพืชมีเหง้า อายุหลายปี ดอกช่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและจูดทุ่งแสลงหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จี๋จ่าวต้าหวาง

ี๋จ่าวต้าหวาง อยู่ในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้ล้มลุกขนาดเล็กถึงใหญ่ อายุหลายปี รากและเหง้าอ้วนสั้น สีเหลือง ลำต้นอ้วนสั้น กลวง เปลือกต้นเป็นร่องตามยาว ข้อพองออก ดอกช่อ ดอกย่อยมีขนาดเล็ก สีแดงอมม่วง น้อยมากที่จะเป็นสีแดงอ่อน ผลเป็นผลแห้งเมล็ดล่อน เมล็ดรูปไข่สีดำ พบในจีนในมณฑลกานซู ชิงไห่ และทิเบต.

ใหม่!!: พืชดอกและจี๋จ่าวต้าหวาง · ดูเพิ่มเติม »

จ้าม่วง

้าม่วงหรือมะม่วงขี้กระต่าย มะม่วงควาย เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กที่เป็นพืชพื้นเมืองในออสเตรเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมู่เกาะโซโลมอน ดอกช่อขนาดเล็ก สีครีมหรือเหลือง ผลรับประทานได้ ขนาดเล็ก ทรงกลม สุกแล้วสีแดงหรือม่วงอมดำ ชนพื้นเมืองในออสเตรเลียรับประทานผลเป็นผลไม้ และใช้เป็นยาสมุนไพรในออสเตรเลียและมาเลเซี.

ใหม่!!: พืชดอกและจ้าม่วง · ดูเพิ่มเติม »

จ้าเครือ

้าเครือ หรือ ตับปลา เป็นพืชในวงศ์ Myrsinaceae เป็นไม้พุ่ม ตรง มีปุ่มใสบนใบ ผลสดมีเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมสีแดง ผลมีรสหวานรับประทานได้ ใบใช้ทำสลัด ใช้เป็นไม้ประดับ ต้นตำละเอียดและคั้นน้ำ ใช้รักษาโรคผิวหนัง น้ำสกัดจากรากใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้ไอ และท้องเสีย ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้น้ำคั้นจากทั้งต้นรักษาอาการไข้.

ใหม่!!: พืชดอกและจ้าเครือ · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีสาร

รณีสาร อยู่ในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ลำต้นตรง ใบกลมคล้ายใบมะยม ดอกเดี่ยว แยกเพศ ดอกตัวผู้สีแดงขนาดเล็ก ดอกตัวเมียสีขาวหรือสีน้ำตาล ดอกห้อยใต้ใบ ใช้เป็นไม้ประดับ ใช้ต้นต้มน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดท้อง ในทางไสยศาสตร์ใช้ปลูกไว้กันภูตผี หรือประพรมน้ำมนต.

ใหม่!!: พืชดอกและธรณีสาร · ดูเพิ่มเติม »

ธูปฤๅษี

ูปฤๅษี หรือกกช้าง ชื่ออื่นๆ คือ กกธูป หญ้าสลาบหลวง เฟื้อ ปรือ เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เป็นไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง อายุหลายปี มีถิ่นกำเนิดในทวีปยุโรปและอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและธูปฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

ธนนไชย

นนไชย หรือฮวงไซ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในสกุลมะม่วงหัวแมงวัน วงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ผลัดใบ กิ่งก้านอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง กิ่งแก่ผิวเกลี้ยง ใบเดี่ยว แตกใบมากที่ปลายยอด ใบหนา กรอบ ใบขนาดเล็กกว่ามะม่วงหัวแมงวัน ใบอ่อนสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นดอกช่อ ผลสดค่อนข้างกลม ผลอ่อนสีเขียว สุกเป็นสีดำ ออกดอกช่วงมกราคม – มีนาคม ผลแก่ช่วงเมษายน – พฤษภาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยที่จังหวัดกาญจนบุรี โดย J.E. Teijsmann ชาวเนเธอร์แลนด์ ชื่อสปีชีส์ตั้งตามชื่อประเทศไทย ฮวงไซ เป็นพืชทนเค็ม เจริญได้ดีในดินเค็ม ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสด ผลมีรสหวาน รับประทานได้ ลำต้นใช้ก่อสร้าง เป็นพืชสมุนไพร ทางภาคอีสาน ใช้ลำต้นหรือรากต้มน้ำดื่ม แก้ผิดสำแดง เปลือกลำต้น ต้มน้ำผสมเกลือใช้อมรักษารำมะนาด ใช้ยางชันเคี่ยวผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น รักษาฝีเน่าหรือใช้เปลือกต้นเคี่ยวกับสมุนไพรอื่น รักษาโรคเริม ใช้เป็นไม้ประดับได้ด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและธนนไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถอบแถบทะเล

อบแถบทะเล ชื่ออื่นๆได้แก่ ถอบแถบน้ำ ผักแถบ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ถั่ว เลื้อยเกี่ยวพันไปตามต้นไม้หรือทอดไปตามพื้นดิน เปลือกต้นสีเทาดำหรือน้ำตาล มีปุ่มสีขาวขนาดเล็ก ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบเรียบเป็นมัน ท้องใบสีเขียวอ่อนกว่าอีกด้านหนึ่ง ดอกเป็นดอกช่อออกตามง่ามใบ ดอกสีขาว ผลเป็นผลเดี่ยว รูปร่างเป็นฝักแบน ผิวเรียบ สีเขียวอ่อน รากและใบใช้เป็นยาระบาย แก้พิษตานซาง ขับเสมหะ สารในกลุ่มโรทีนอยด์ที่ชื่อ6aα,12aα-12a-hydroxyelliptone พบได้ที่ก้านของ D. trifoliata.

ใหม่!!: พืชดอกและถอบแถบทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ถังทอง

อกของถังทอง ถังทอง เป็นพืชในกลุ่มกระบองเพชร มีถิ่นกำเนิดในแถบเม็กซิโก ตั้งชื่อโดย Heinrich Hildmann ในปี ค.ศ. 1891 แม้ว่าจะเป็นกระบองเพชรชนิดที่นิยมปลูกกันมาก หาซื้อได้ทั่วไปตามร้านขายพันธุ์ไม้ แต่ในธรรมชาติที่ประเทศถิ่นกำเนิดนั้นหาได้ยาก จนขึ้นบัญชีเป็นพันธุ์พืชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์จากพื้นที่ธรรมชาติ ลักษณะการเจริญเติบโตจะมีรูปร่างเป็นทรงกลม อาจมีความสูงกว่าหนึ่งเมตรเมื่อเวลาผ่านไปหลายปี เมื่อโตเต็มที่จะมีริ้วมากถึง 35 ริ้ว แต่ในต้นที่ยังเล็กอยู่จะมองไม่เห็นริ้วนี้ แต่เห็นเป็นปุ่ม ๆ แทน หนามแหลมยาวตรงหรือโค้งเล็กน้อย มีสีเหลืองหรือบางครั้งมีสีขาวด้วย ออกดอกเป็นสีเหลืองเล็ก ๆ ในฤดูร้อน ที่ยอดของต้น แต่กว่าจะออกดอกต้องอย่างน้อย 20 ปีขึ้นไป.

ใหม่!!: พืชดอกและถังทอง · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วพร้า

ั่วพร้า เป็นพืชประเภทหนึ่งที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน เพราะเป็นพืชที่ให้ธาตุไนโตรเจนในปริมาณสูง จึงนำมาทำเป็นปุ๋ยพืชสดได้เป็นอย่างดี ซึ่งทางภาครัฐก็ให้การสนับสนุนในการเพาะปลูก เนื่องจากสามารถเพาะปลูกได้ง่าย มีค่าใช้จ่ายต่ำในการนำมาใช้ประโยชน์ และไม่ส่งกระทบต่อสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วพร้า · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วพู

ั่วพู เป็นพืชล้มลุก ดอกสีขาวอมม่วง ผลเป็นฝักแบนยาวมี 4 ปีก ความยาวของฝักประมาณ 3-4 นิ้ว ภายในมีเมล็ดกลมเรียบ นิยมนำถั่วพูมาประกอบอาหารประเภทยำหรือกินสด ถั่วพูเป็นผักที่เสียเร็ว เหี่ยวง่ายและเกิดสีน้ำตาลเร็ว เก็บได้ไม่นาน คุณค่าทางอาหาร ถั่วพูมีคาร์โบไฮเดรต เส้นใย โปรตีน ไขมัน แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส วิตามินเอ ซี อี บี1 บี2 ไนอะซิน สรรพคุณทางยาบำรุงกำลัง แก้อ่อนเพลีย บรรเทาอาการปวดเมื่อย แก้ตัวร้อน ลดไข้ ในอาหารไทยนำฝักอ่อนมาลวก กินกับน้ำพริก ยำ หั่นใส่ในแกงส้ม แกงป่าหรือกินกับขนมจีน หั่นผสมในทอดมัน ยอดอ่อนและดอกใช้จิ้มน้ำพริก ใบอ่อนทำสลัดหรือใส่ในแกงจืด เมล็ดแก่คั่วให้สุกรับประทานได้ หัวแก่ใช้เชื่อมเป็นของหวานหรือเผารับประทานเช่นเดียวกับมันเทศหรือมันสำปะหลัง ในพม่า นำหัวถั่วพูไปต้มจิ้มน้ำจิ้ม กินเป็นอาหารว่าง ใบอ่อนกินเป็นสลัด ในปาปัวนิวกินีนำหัวถั่วพูไปห่อใบตองหรือใบไผ่แล้วย่างรับประทาน ในอินโดนีเซียนำเมล็ดถั่วพูไปทำเทมเป้เช่นเดียวกับถั่วเหลือง หัวถั่วพูนำมาสับ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชงน้ำดื่มต่างน้ำ เป็นยาบำรุงกำลัง ในทางสิ่งแวดล้อม ถั่วพูสามารถส่งเสริมการย่อยสลายแอนทราซีนและฟลูออรีนในไรโซสเฟียร์ได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วพู · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วฝักยาว

มล็ดถั่วฝักยาว ถั่วฝักยาว (subsp. sesquipedalis) เป็นถั่วชนิดหนึ่งที่เป็นไม้เลื้อย มีชื่อสามัญในภาษาต่างๆที่หลากหลาย เช่น สิบสองปันนาเรียก ถั่วลิ้นนาค ภาษาอังกฤษเรียกว่า yardlong bean (ตรงตัว:ถั่วยาวหนึ่งหลา) ภาษาจีนกวางตุ้งเรียกว่า dau gok ภาษาจีนกลางเรียก jiang dou (豇豆) ภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายูเรียก kacang panjang ภาษาตากาล็อกเรียก 'SITAO' or 'SITAW' ภาษาอีโลกาโนเรียก utong ในหมู่เกาะเวสต์อินดีสเรียกว่า bora หรือ bodi ภาษาเบงกาลีเรียกว่า vali, Borboti ในรัฐกัว อินเดีย เรียก eeril ภาษาเวียดนามเรียก đậu đũa และภาษาญี่ปุ่นเรียก ju-roku sasage (十六ササゲ) อย่างไรก็ตาม ฝักของถั่วชนิดนี้ยาวเพียงครึ่งหลา ชื่อของสับสปีชีส์ sesquipedalis (หมายถึงยาวฟุตครึ่ง)ใกล้เคียงกับความยาวจริงๆของฝักถั่วมากกว.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วฝักยาว · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วลันเตา

''Pisum sativum'' ถั่วลันเตา จัดอยู่ในตระกูลถั่ว มีถิ่นกำเนิด แถบประเทศ เอธิโอเปีย ต่อมา แพร่กระจายปลูก ในแถบ เมดิเตอร์เรเนียน และเอเชีย และเขตอบ อุ่นต่างๆ ของโลก ถั่วลันเตา เป็นพืชฤดูเดียว มีใบแบสลับ ปลายใบเปลี่ยน เป็นมือเกาะ การเจริญ เติบโตแบบพุ่ม หรือขึ้นค้าง บางสายพันธุ์ อาจมีเฉพาะ ใบบางพันธุ์ อาจมีเฉพาะ มือเกาะ ใบมีสีเขียวอ่อน ถึงสีเขียวเข้ม ลำต้นเล็ก เป็นเหลี่ยม รากเป็นระบบ รากแก้ว ดอกเป็นแบบ ดอกสมบูรณ์เพศ ผสมตัวเอง สามารถแบ่ง ประเภทของ ถั่วลันเตาเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท ฝักเหนียว และแข็ง เมล็ดโต นิยมปลูกเพื่อ รับประทานเมล็ด ส่วนอีกชนิดปลูก เพื่อรับประทานฝักสด โดยฝักจะมี ขนาดใหญ่ มีปีก เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วลันเตา · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วลิสง

ั่วลิสง หรือ ถั่วดิน จัดเป็นพืชตระกูลถั่ว.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วลิสง · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วลิสงนา

ั่วลิสงนา ชื่ออื่น: หญ้าปล้องหวาย (ชลบุรี) คัดแซก (ปราจีนบุรี) หญ้าเกล็ดหอยใหญ่ (อ่างทอง) ถั่วลิสงนาเป็นพืชตระกูลถั่ว (Fabaceae) เท่าที่พบในธรรมชาติ ถั่วลิสงนาเป็นพืชที่เจริญได้ง่าย ไม่เลือกชนิดและสภาพของดินนัก และคงจะทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีพอสมควร จึงพบอยู่ได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย เข้าใจว่าเป็นถั่วพื้นเมืองของไทยด้วย ถั่วลิสงนาอาจมีชื่อท้องถิ่นที่เรียกกันได้ในแต่ละท้องที่ เช่น หญ้าน้ำผึ้ง หญ้าเถาถั่ว หญ้าถั่ว หรือถั่วนา ถั่วลิสงนามีโปรตีนถึง 16.2% นับได้ว่าถั่วลิสงนาเป็นถั่วอีกชนิดหนึ่งที่เหมาะสำหรับใช้ปรับปรุงทุ่งหญ้า จะทำเป็นหญ้าแห้งหรือปล่อยสัตว์ลงแทะเล็มก็ได้ เนื่องจากรากถั่วลิสงนายังสามารถสร้างปมราก (nodules) ซึ่งไปจับไนโตรเจนในอากาศเพื่อช่วยบำรุงดินได้ด้วย ในต่างประเทศ อาทิ ประเทศมาเลเซีย จะนำถั่วลิสงนามาใช้เป็นพืชสมุนไพร หรือประเทศจีนจะนำต้นแห้งของถั่วลิสงนามาตัดเป็นท่อนๆ ผสมกับชะเอมชงน้ำดื่มแทนน้ำชา ทำให้สดชื่น แก้อาการกระหายน้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วลิสงนา · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วลูกไก่

ั่วลูกไก่ หรือ ถั่วหัวช้าง (chickpea) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว เมล็ดมีโปรตีนสูง เป็นถั่วที่ปลูกในตะวันออกกลางมานานราว 7,500 ปีมาแล้ว ถั่วลูกไก่เป็นถั่วที่มีบทบาทสำคัญในอาหารเมดิเตอร์เรเนียน อาหารตะวันออกกลาง และอาหารอินเดีย มีสองชนิดคือ กาบูลี เมล็ดใหญ่ สีครีมนวล เปลือกเรียบ และแบบเดซี ขนาดเล็กกว่า สีเข้ม เปลือกขรุขระกว่า ทั้งสองแบบเมล็ดเป็นทรงกลม มีจะงอยแหลม ใช้ทำอาหารได้หลายอย่างเช่น บดละเอียดทำฮุมมุส บดหยาบผสมเครื่องปรุงแล้วทอดเรียก ฟาลาเฟล ใส่ในแกง สลัด ผัดหรือทอดกับเนื้อสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วลูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วผี

ั่วผี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Macroptilium lathyroides (L.) Urb.) เป็นไม้ล้มลุกและ เป็นพืชฤดูเดียว (annual) เมล็ดแก่ร่วงแล้วงอกเป็นต้นใหม่ในฤดูฝนต่อไป ทรงต้นเป็นกอพุ่มตั้งปลายยอดทอดอ่อนเล็กน้อย ตามลำต้นมีขน ลำต้นกลม ใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ใบย่อยรูปไข่แกมรูปหอก ดอกช่อแบบติดดอกสลับ ก้านดอกสั้น ดอกแดงปนม่วง ฝักรูปทรงกระบอก ภายในมีเมล็ด 18-30 เมล็ด แตกได้ เมล็ดรูปขอบขนาน หรือสี่เหลี่ยม.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วผี · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วผีทะเล

ั่วผีทะเล เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ถั่ว ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน หรือเกี่ยวพันกับต้นไม้อื่น ลำต้นเหนียว สีเขียวหรือเขียวอมขาว ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3 ใบ สีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนกว่าเล็กน้อย ดอกช่อ กลีบเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสเขียว กลีบดอกสีเหลือง ผลเดี่ยว เป็นฝัก เมื่ออ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลแห้ง แตกตามตะเข็บของผล ภายในมีเมล็ดกลมรี สีน้ำตาลอ่อน พืชชนิดนี้เป็นพืชทนเค็มพบทั่วไปตามชายหาดของเขตร้อน เช่นที่ฮาวาย และเกาะอีกหลายเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก Puerto Rico และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน ชายฝั่งที่บราซิล ชายฝั่งทางมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดียวของแอฟริกา มาดากัสการ์ เซเชลส์ อินเดียและศรีลังกา คาบสมุทรอินโดจีน และเกาะไหหลำ มาเลเซีย, และชายฝั่งของออสเตรเลียในควีนส์แลนด์และนอร์ทเทิร์น เทอร์ริทอร์รี publication by the Beach Protection Authority of Queensland, Australia.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วผีทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วขาว (ไม้ยืนต้น)

ั่วขาว หรือประสักขาว โปรย โปรง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhizophoraceae เปลือกต้นสีน้ำตาลอมดำ มีรอยแตกตามแนวยาวของลำต้น ลำต้นส่วนล่างเป็นพูพอนแต่ไม่มาก มีรากหายใจเป็นรูปเข่า ใบเป็นใบเดี่ยว ผิวใบมันเรียบ สีเขียว ท้องใบเขียวออกเหลือง ดอกเป็นดอกช่อออกที่ง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง วงกลีบเลี้ยงเป็นรูประฆัง ปลายแตกเป็นแฉก กลีบดอกสีขาว ผลเป็นผลเดี่ยว สีเขียวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยงหุ้ม งอกออกมาเป็นฝักกระบอกยาว สีเขียว พอแก่เป็นสีน้ำตาล ปลายแหลม เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ผลขูดเอาผิวออกนำไปนึ่งแล้วคลุกกับมะพร้าวและเกลือ ใช้เป็นขนม.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วขาว (ไม้ยืนต้น) · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วดำ

ั่วดำ เป็นพืชล้มลุก มีขนสีน้ำตาล ดอกเป็นช่อสีเหลือง ฝักแห้งแตก เปลือกหุ้มเมล็ดเป็นสีดำ มีสารพวกแอนโทไซยานิน ใช้แต่งสีขนม โดยต้มเคี่ยวกับน้ำหรือบดผสมกับแป้ง ในทางสมุนไพร มีรสหวาน บำรุงเลือด ขับของเหลวในร่างกาย ขับลม ขจัดพิษ บำรุงไต ขับเหงื่อ แก้ร้อนใน บำรุงสายตา เหมาะสำหรับผู้ที่มีอาการบวมน้ำ เหน็บชา ดีซ่าน ไตเสื่อม ปวดเอว มีโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แคโรทีน ไนอะซิน วิตามินบี 1 และบี 2 และสารที่ช่วยบรรเทาอาการปวดลำไส้เล็ก.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วดำ · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วดำ (ไม้ยืนต้น)

ั่วดำ หรือสังกะแท้ ลังกระได เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhizophoraceae เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มหรือเทา มีเปลืกลำต้นเรียบ ไม่มีรอยแตก ลำต้นส่วนล่างเป็นพูพอนชัดเจน มีรากหายใจเป็นทรงพุ่มยอดแหลม ใบเป็นใบเดี่ยว ผิวใบมันเรียบ สีเขียวออกเหลือง ดอกเป็นดอกช่อออกที่ง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง วงกลีบเลี้ยงเป็นรูประฆัง ปลายแตกเป็นแฉก กลีบดอกสีขาวอมเหลือง ผลเป็นผลเดี่ยว สีเขียวอ่อน มีกลีบเลี้ยงหุ้ม งอกออกมาเป็นฝักกระบอกยาว สีเขียว พอแก่เป็นสีน้ำตาล ปลายแหลม ออกดอกตลอดปี เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง เผาถ่าน และทำเครื่องมือประมง.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วดำ (ไม้ยืนต้น) · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วดิน

ั่วดิน เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่ม กิ่งอ่อนมีขนหนาแน่นคล้ายกำมะหยี่ ใบประกอบแบบขนนก ช่อดอกยาว มีขนหนาแน่น กลีบดอกสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง พบใน อินเดีย จีน พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วดิน · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วด้วง

ั่วด้วง เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ลำต้นตั้งตรง มีไหลใต้ดิน หัวเกิดจากการสะสมอาหารในส่วนปลายของไหล มีรอยคอดในส่วนข้อมองเห็นเป็นปล้องกลมต่อเนื่องกัน สีขาว ลำต้นรูปสี่เหลี่ยม ขอบใบเป็นซี่ทู่ๆ มีขนหยาบปกคลุมผิวใบทั้งสองด้าน ดอกสีชมพู สีม่วงหรือสีขาว ผลเป็นผลแบบเคี้ยวมัน เกิดหัวและไหลหลังปลูก 5-7 เดือน left ถั่วด้วงเป็นพืชพื้นเมืองของจีน มีปลูกในจีน ญี่ปุ่น ก่อนจะนำไปปลูกในฝรั่งเศส มาเลเซีย หัวรับประทานได้ทั้งสดและทอด ในญี่ปุ่นเป็นอาหารพิเศษในโอกาสขึ้นปีใหม่ ในจีนและญี่ปุ่นนิยมดองก่อนรับประทาน.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วด้วง · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วคล้าทะเล

อกของถั่วคล้าทะเล ''Canavalia rosea'' ถั่วคล้าทะเล (Sea bean) เป็นไม้เลื้อยในพืชตระกูลถั่วที่พบในบริเวณชายหาด พบได้ทั่วไปในเขตร้อน ลำต้นทอดเลื้อยไปตามทราย ได้ไกล ลำต้นสีเขียวอมน้ำตาล แข็งและเหนียว ใบหนาและอวบน้ำ ใบประกอบแบบฝ่ามือ มีใบย่อยสามใบ โดยสองใบแรกมีก้านใบสั้น ส่วนใบที่สามจะมีก้านยาวยื่นออกไปต่างหาก ดอกแบบดอกถั่ว ดอกช่อ สีม่วงอมชมพู ติดฝัก ผลเดี่ยวเป็นฝัก เมื่ออ่อนแบนเป็นรูปสี่เหลี่ยม ปลายเฉียงไปข้างใดข้างหนึ่ง พอแก่แล้วจะพองออกเป็นก้อนเท่าจำนวนเมล็ดภายในฝัก สีกลายเป็นสีน้ำตาลเข้ม แก่ต็มที่จะแตก เมล็ดมีเยื่อสีขาวหุ้ม แต่ละฝักมีราว 3-4 เมล็ด เมล็ดสามารถแพร่กระจายไปกับกระแสน้ำได้ ลักษณะถั่วคล้าจะคล้ายผักบุ้งทะเล ต่างกันที่ใบของถั่วคล้าทะเลเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ มีใบย่อยสามใบ ส่วนผักบุ้งทะเลเป็นใบเดี่ยว เป็นพืชที่ทนเค็มและชอบดินทร.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วคล้าทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วปากอ้า

ั่วปากอ้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vicia faba) เป็นสปีชีส์หนึ่งของถั่วมีฝักในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบแอฟริกาเหนือและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ถั่วปากอ้ามีสารพิษที่ทำให้เกิดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกง.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วปากอ้า · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วแปบ (พืช)

ั่วแปบ เป็นชื่อไม้เถาชนิด Dolichos lablab L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีม่วงฝักแบน ๆ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เบ่าะบาสะถั่วแปบเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีแหล่งกระจายพันธุ์มาจากประเทศอินเดีย แล้วจึงกระจายพันธุ์ไปทางภูมิประเทศแบบเขตร้อนหรือร้อนชื้น ถั่วแปบมีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (2n.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วแปบ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วแปบช้าง

ั่วแปบช้าง หรือ กันภัย (Afgekia Sericea) เป็นไม้ที่มีสกุลเดียวในโลก พบทางภาคอีสานของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วแปบช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วไมยรา

ถั่วไมยรา หรือ ถั่วเดสแมนธัส หรือ เฮดจ์ ลูเซอร์น (Desmanthus virgatus หรือ hedge ltcern) เป็นพืชตระกูลถั่วค้างปีจำพวกกระถิน กระถินณรงค์ นิยมปลูกเพื่อเป็นอาหารสัตว์ หมวดหมู่:วงศ์ย่อยสีเสียด.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วไมยรา · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเมสคาล

ั่วเมสคาล เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Fabaceae ใบประกอบสีเขียวเข้ม ดอกช่อ สีม่วงอมน้ำเงิน กลิ่นแรง ฝักยาวมีเมล็ดสีแดง เป็นพืชมีพิษร้ายแรงมาก มีฤทธิ์หลอนประสาท พบในรัฐเท็กซัส รัฐนิวเม็กซิโก และในประเทศเม็กซิโก.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วเมสคาล · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเหลือง

ั่วเหลือง เป็นพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสำหรับปลูกสลับกับการปลูกข้าว ได้มีรายงานการปลูกถั่วเหลืองในประเทศจีนเมื่อเกือบ 5,000 ปีมาแล้ว แต่ก็ยังไม่แน่ชัดว่าส่วนใดของประเทศจีนเป็นถิ่นกำเนิดที่สันนิษฐานและยอมรับกันโดยทั่วไปคือบริเวณหุบเขาแม่น้ำเหลือง (ประมาณเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ) เพราะว่าอารยธรรมของจีนได้ถือกำเนิดที่นั่น และประกอบกับมีการจารึกครั้งแรกเกี่ยวกับถั่วเหลือง เมื่อ 2295 ปีก่อนพุทธกาล ที่หุบเขาแม่น้ำเหลือง จากนั้นถั่วเหลืองได้แพร่กระจายสู่ประเทศเกาหลีและญี่ปุ่น เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล แล้วเข้าสู่ยุโรปในช่วงหลัง..

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเขียว

ั่วเขียว เป็นพืชตระกูลถั่ว ที่ให้เมล็ดที่มีเปลือกสีเขียว แต่เนื้อเมล็ดสีเหลือง ถั่วเขียวเป็นพืชที่มีอายุสั้น หรือวงจรชีวิตของถั่วเขียวมันสั้น จึงใช้น้ำน้อยกว่าพืชไร่อื่นหลายชนิด และงอกได้เร็ว สามารถใช้ในระบบปลูกพืช เช่น ทดแทนข้าวนาปรัง ปลูกก่อนข้าวโพดในพื้นที่ประสพภัยแล้ง ใช้ปลูกก่อนหรือหลังการทำนาหรือทำไร่ เพื่อตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืช ช่วย บำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ตรึงไนโตรเจนได้ดี สามารถใช้เป็นปุ๋ยพืชสดให้ปริมาณไนโตรเจนสูง ถั่วเขียวใช้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตแป้งวุ้นเส้น เพาะถั่วงอก และประกอบอาหารอื่นๆ ถั่วเขียวมีสองชนิด ได้แก่ ถั่วเขียวผิวมัน และถั่วเขียวผิวดำ.

ใหม่!!: พืชดอกและถั่วเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ถุงมือจิ้งจอก

งมือจิ้งจอก หรือ ดิจิทาลลิส (Digitalis, Foxglove) เป็นสกุลของไม้ 20 ชนิดของสมุนไพรที่เป็นพืชสองปี (Perennial plant) ที่เรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า “foxgloves” หรือ “ถุงมือจิ้งจอก” เดิมจัดอยู่ในวงศ์มณเฑียรทอง (Scrophulariaceae) แต่หลังจากการพิจารณาทางไฟโลเจเนติกส์ ก็ได้รับการจัดให้อยู่ในตระกูลที่ใหญ่กว่าในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) ถุงมือจิ้งจอกเป็นไม้ที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรป, เอเชียตะวันตก เอเชียกลางและทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา ชื่อวิทยาศาสตร์แปลว่า “เหมือนนิ้ว” เพราะขนาดของดอกพอดีกับการที่เอาปลายนิ้วสอดเข้าไปได้พอดี ดอกออกบนกิ่งเรียวยาวชลูดขึ้นไปจากกอที่ติดดิน ตัวดอกมีลักษณะเป็นหลอดสั้น ๆ สีก็มีต่าง ๆ ที่รวมทั้งม่วง ชมพู ขาวและเหลือง ชนิดที่พบบ่อยเรียกว่า Digitalis purpurea ถุงมือจิ้งจอก นอกจากจะเป็นไม้ที่ขึ้นง่ายโดยทั่วไปเป็นดอกไม้ป่าแล้วก็ยังเป็นไม้บ้านเป็นพืชสองปีที่มักปลูกเป็นไม้ประดับเพราะดอกที่มีความเด่นที่มีสีและแต้มด้านในของดอกต่าง ๆ ปีแรกที่ปลูกจะมีเพียงแต่ใบ ปีที่สองจึงออกดอก ความสูงของก้านประมาณระหว่าง 0.5 ถึง 2.5 เมตร คำว่า “ดิจิทาลลิส” ยังหมายถึงสารดิช็อกซินที่สกัดจากไม้ที่ใช้ในการทำคาร์ดิแอกไกลโคไซด์ สำหรับการรักษาโรคหัวใจ แต่ “ถุงมือจิ้งจอก” บางพันธุ์ก็เป็นไม้มีพิษร้ายแรงทั้งต้นทั้งดอกที่ทำให้ได้สมญาว่า “กระดิ่งคนตาย” หรือ “ถุงมือแม่มด” ต้นถุงมือจิ้งจอก เป็นต้นไม้ที่ในความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ของยุโรปยุคกลางเชื่อว่า เป็นส่วนผสมที่ผสมกับสารเคมีอย่างอื่น เช่น ฝิ่น ทำให้ผู้ที่ทากลายร่างเป็นสัตว์ป่าที่ดุร้ายหรือมนุษย์หมาป่าได้.

ใหม่!!: พืชดอกและถุงมือจิ้งจอก · ดูเพิ่มเติม »

ถ่อนฝักตั้ง

อนฝักตั้ง เป็นพืชในสกุลถ่อน วงศ์ย่อย Mimosoideae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ผลเป็นฝักแบนมีติ่งที่ปลายฝัก แห้งแตก พบในภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ โดย H.B.G. Garrett ชาวอังกฤษ เมื่อ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและถ่อนฝักตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ถ้วยทอง

ถ้วยทอง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Solandra grandiflora Sw., ชื่อสามัญ: Showy chalicevine) เป็นไม้เลื้อยที่มีดอกขนาดใหญ่ ใช้เป็นไม้ประดับ เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกา หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:ไม้เลื้อย หมวดหมู่:วงศ์มะเขือ.

ใหม่!!: พืชดอกและถ้วยทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทรงบาดาล

ทรงบาดาล หรือ ขี้เหล็กหวาน เป็นไม้พุ่ม สูง 3 - 5 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 4 - 6 คู่ รูปไข่หรือรูปไข่แกมขอบขนาน ขนาดกว้าง 1 - 2 เซนติเมตร ยาว 2.5 - 4 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ดอก สีเหลืองออกตามซอกใบ และปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 3 เซนติเมตร ผล เป็นฝักแบน กว้าง 1 - 1.5 เซนติเมตร ยาว 7 - 20 เซนติเมตร ถิ่นกำเนิดเอเชียเขตร้อนและจาไมก้า ออกดอก ตลอดปี ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด วิธีเตรียมเมล็ด ก่อนเพาะ นำเมล็ดมาแช่น้ำร้อน 80 - 90 องศาเซลเซียส แล้วทิ้งไว้ให้เย็น 16 ชั่วโมง ไฟล์:Songba.jpg.

ใหม่!!: พืชดอกและทรงบาดาล · ดูเพิ่มเติม »

ทองพันชั่ง

ทองพันชั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhinacanthus nasutus Kurz) หรือทองคันชั่ง หรือหญ้ามันไก่ มีลักษณะเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 0.5-2 เมตร กิ่งอ่อนและลำต้นมักเป็นเหลี่ยม ส่วนที่ยังอ่อนมักมีขนปกคลุมใบรูปคล้ายรูปไข่หรือวงรี กว้าง 2-4 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและทองพันชั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ทองพันดุล

ทองพันดุลหรือหัวไก่โอก เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Malvaceae ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยวสีชมพูหรือสีส้มอ่อน เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลกลมหรือเป็นพูเล็กน้อยมีขนสีน้ำตาล แห้งแล้วแตก ใช้เป็นไม้ประดับ ทั้งต้นใช้ทุบแล้วพอกขาของหมูแก้อาการเคล็ดหรือนำรากมาทุบประคบแผลฟกช้ำให้ไก่ชน.

ใหม่!!: พืชดอกและทองพันดุล · ดูเพิ่มเติม »

ทองกวาว

ทองกวาว, ทอง หรือ ทองธรรมชาติ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ จากประเทศปากีสถาน, อินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย และทางตะวันตกของอินโดนีเซีย ทองกวาวมีชื่ออื่นอีกคือ กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อีสาน).

ใหม่!!: พืชดอกและทองกวาว · ดูเพิ่มเติม »

ทองหลางลาย

ทองหลางลาย, ทองหลางด่าง หรือ ทองเผือก (ภาคเหนือ) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5-10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 30–40 เซนติเมตร รูปดอกถั่ว สีแดงเข้ม ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ ผลเป็นฝักยาว 15–30 เซนติเมตร ทองหลางลายกระจายพันธุ์ในเอเชียทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น เจริญได้ในสภาพดินทุกชนิด ชอบดินร่วนซุย กลางแจ้ง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและปักชำ.

ใหม่!!: พืชดอกและทองหลางลาย · ดูเพิ่มเติม »

ทองหลางป่า

ทองหลางป่า ภาษากะเหรี่ยงเรียกเชอโคว เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นมีหนามแหลมทั่วไป ใบประกอบ โคนก้านใบมีต่อม 1 คู่ ดอกช่อ ดอกย่อยลักษณะคล้ายดอกถั่ว สีแดงสด ดอกล่างบานก่อน กลีบดอกอันบนจะแผ่โค้งรูปเรือ ผลเป็นฝักแบน โคนฝักลีบ ปลายฝักใหญ่กว่า แก่แล้วจะแตกตามยาว ใบแก่สดใช้ตำพอก บำรุงร่างกาย ชาวกะเหรี่ยงนำเนื้อไม้ด้านในเปลือกต้นเอาไปฝนทำแป้งทาหน้า ทำให้ผิวขาว ไม่มีสิว.

ใหม่!!: พืชดอกและทองหลางป่า · ดูเพิ่มเติม »

ทองอุไร

ทองอุไร (Yellow elder, Trumpetbush, Trumpetflower, Yellow trumpet-flower, Yellow trumpetbush) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กสูง 2-4 เมตร ลำต้นเล็ก แผ่กิ่งด้านบนเป็นพุ่มกลม โปร่ง ใบประกอบขนนกมีใบย่อยที่ปลายสุด จำนวน 7 - 11 ใบ สีเขียวอ่อน ขอบใบย่อยหยิกเป็นฟันเลื่อย ผิวสัมผัสละเอียด ลำต้นสีน้ำตาลนวลตลอดทั้งต้น ก้านใบช่อดอกอ่อนเป็นสีเขียว ดอกสีเหลืองสด มีรูปลักษณ์คลายระฆัง หรือแตร หรือทรัมเป็ต ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกดกมาก กลีบดอกติดกันเป็นรูปกรวยยาว 3 - 4 เซนติเมตร ปลายกลีบมี 5 กลีบ มีลักษณะกลมเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบเลี้ยงเป็นรูปกระดิ่งสีเหลือง แยก 5 แฉกกลีบดอกปลายแยก 5 กลีบรับกัน เกสรตัวผู้ เติบโตได้ดีในดินร่วนทุกชนิด ที่ความชื้นปานกลาง ระบายน้ำได้ดี แสงแดดจัดเต็มวัน ทองอุไรดอกสีเหลืองสดใส ปลูกง่าย เกิดง่าย ในเขตร้อนทั่วไป ไม่ควรปลูกในที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง นิยมปลูกข้างถนน เกาะกลางถนน และเหมาะสำหรับปลูกมุมใดมุมหนึ่งของบ้านที่แดดถึง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและตอนกิ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและทองอุไร · ดูเพิ่มเติม »

ทองเดือนห้า

ทองเดือนห้า เป็นไม้ยืนต้น เมื่อออกดอกจะผลัดใบ เปลือกลำต้นหนา มีหนามสั้น ดอกสีแดงสด ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ผลเป็นฝักทรงกระบอก.

ใหม่!!: พืชดอกและทองเดือนห้า · ดูเพิ่มเติม »

ทับทิม (ผลไม้)

ผลทับทิม แกะออก เห็นเมล็ดข้างใน บทความนี้กล่าวถึง "ทับทิม" ในฐานะผลไม้ชนิดหนึ่ง สำหรับทับทิมในความหมายอื่นๆ ดูได้ใน ทับทิม ทับทิม ชื่อท้องถิ่น เซี๊ยะลิ้ว, พิลา, พิลาขาว, มะก่องแก้ว, มะเก๊าะ, หมากจัง เป็นไม้ผลขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 5-8 เซนติเมตร ทับทิมมีถิ่นกำเนิดจากตะวันออกของประเทศอิหร่าน ทางตอนใต้ของอัฟกานิสถานและทางตอนเหนือของเทือกเขาหิมาลัย ทับทิมจึงชอบอากาศหนาวเย็นและอยู่บนพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลอย่างน้อย 300 เมตร ยิ่งอากาศหนาวเนื้อทับทิมจะมีสีแดงเข้มมากขึ้น.

ใหม่!!: พืชดอกและทับทิม (ผลไม้) · ดูเพิ่มเติม »

ทัน

ทัน เป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งในวงศ์อบเชย ลักษณะ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ กระจุกตามบริเวณปลายกิ่ง ท้องใบมีขนสั้น ๆ ขึ้นหนาแน่นโดยเฉพาะบริเวณเส้นใบ ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบรวม มี 6 กลีบ สีเหลืองแกมเขียว ผลแบบเบอร์รี ชาวลัวะใช้เปลือกต้นแช่น้ำดื่มหรือกินใบสด รักษาอาการอาหารเป็นพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและทัน · ดูเพิ่มเติม »

ทามาริสก์

ทามาริสก์ (Tamarix,tamarisk, salt cedar; الأثل อ่านว่า อัลอัซล์) มี 50- 60 สายพันธุ์เป็นพืชในตระกูล Tamaricaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเขตแห้งแล้งของทวีปยุโรป และแอฟริกา ทามาริสก์จะเขียวชอุ่มตลอดปี เป็นพืชผลัดใบและเป็นไม้พุ่ม มีความสูงตั้งแต่ 1-18 เมตร Tamarix aphylla จะเขียวชอุ่มอยู่เสมอและอาจสูงถึง 8 เมตร โดยปกติจะเจริญเติบโตในดินเค็ม มีความอดทนต่อภาวะเป็นพิษของความเค็มถึง 15000 ppm และยังอดทนต่อความเป็นด่าง มีลักษณะแผ่กิ่งก้านเรียวยาว มีใบเขียวอมเทา เปลือกของกิ่งในขณะเป็นต้นอ่อนมีลักษณะเกลี้ยงเรียบ สีน้ำตาลแดง เมื่อตอนมีอายุช่วงสุดท้าย เปลือกไม้จะเป็นร่องมีรอยย่น และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลม่วง มีใบขนาดเท่า ๆ กัน ยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร และใบจะทับซ้อนกันตามความยาวของก้าน มักจะมีน้ำเกลือไหลออกมาห่อหุ้มลำต้นอยู่เสมอ จะออกดอกอย่างหนาแน่นตรงปลายรวงของกิ่งยาว 5-10 เซนติเมตร ซึ่งจะออกดอกในเดือนมีนาคม ถึง กันยายน แต่บางสายพันธุ์มีแนวโน้มจะออกดอกในช่วงฤดูหนาว.

ใหม่!!: พืชดอกและทามาริสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ทานตะวัน

ทานตะวัน มีชื่อตามภาษาถิ่นพายัพว่า บัวผัด เป็นพืชปีเดียว (annual plant) อยู่ในแฟมิลี Asteraceae มีฐานรองกลุ่มดอก (Inflorescence) ขนาดใหญ่ ลำต้นโตได้สูงถึง 3 เมตร ฐานรองกลีบดอกอาจกว้างได้ถึง 30 เซนติเมตร ชื่อ"ทานตะวัน"ถูกใช้อ้างอิงถึงพืชทั้งหมดในสกุล Helianthus ด้วยเช่นกัน ทานตะวัน เป็นพืชท้องถิ่นของอเมริกากลาง มีหลักฐานแสดงให้เห็นว่ามีการปลูกดอกทานตะวันในประเทศเม็กซิโกตั้งแต่ประมาณ 2600 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: พืชดอกและทานตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

ทานตะวัน (แก้ความกำกวม)

ทานตะวันอาจหมายถึง.

ใหม่!!: พืชดอกและทานตะวัน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ทิพเกสร

ทิพเกสร เป็นพืชกินแมลงขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae มีความสูง 10-30 เซนติเมตร ลำต้นเล็กมากอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยว และมีใบที่เปลี่ยนเป็นถุงสำหรับดักจับแมลงขนาดเล็กเป็นอาหาร ดอกสีม่วงอ่อนแกมชมพู ออกเป็นช่อตั้งสูงประมาณ 5-20 เซนติเมตร มีดอกย่อย 3-10 ดอก ออกเรียงสลับ ขนาดประมาณ 6-10 มิลลิเมตร กลีบดอกล่างแผ่แยกออกเป็น 2 ปาก ผลเป็นผลแห้งชนิดแตกเมื่อแก่ พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, จีน, ญี่ปุ่น, มาเลเซีย, สุมาตรา, บอร์เนียว, ฟิลิปปินส์, นิวกินิ, ออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดเชียงใหม่, เลย, อุบลราชธานี, กาญจนบุรี, สระแก้ว, ชลบุรี, จันทบุรี, ตราด, สุราษฎร์ธานี, พังงา, สงขลา, ปัตตานี, และนราธิวาส พบตามพื้นที่ชื้นแฉะ เปิดโล่ง มักพบบนดินทราย ในระดับความสูง 0-1,300 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ออกดอก ออกผลช่วงเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ทิพเกสร เป็นนามพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยมีชื่อดั้งเดิมว่า "หญ้าสีฝอยเล็ก".

ใหม่!!: พืชดอกและทิพเกสร · ดูเพิ่มเติม »

ทิวลิป

ในดอก ทิวลิป เป็นดอกไม้เมืองหนาวที่เป็นสัญลักษณ์ของฮอลแลนด์ มีอยู่หลายสี ดอกทิวลิปจะปลูกได้ต้องใช้อุณหภูมิที่เหมาะสม คือไม่เกิน 25 องศาเซลเซี.

ใหม่!!: พืชดอกและทิวลิป · ดูเพิ่มเติม »

ทิวาราตรี

ทิวาราตรี เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว รูปรี ใบเป็นมันเกลี้ยง ดอกช่อ กลีบดอกย่อยโคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก ปลายกลีบม้วนกลม ดอกสีขาว กลิ่นหอม ผลกลม สุกแล้วเป็นสีดำ ถ้ารับประทานผลทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน.

ใหม่!!: พืชดอกและทิวาราตรี · ดูเพิ่มเติม »

ทิ้งทวน

ทิ้งทวน เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่มใบออกสีชมพูอมแดง ผลิใบอ่อนเป็นช่วงๆ ดอกช่อ มีกลิ่นหอม ดอกเรียงตัวเป็นแถว ก้านห้อยลง ดอกสีชมพูหรือขาว ผลสดกลม สีดำอมแดง มีขนปกคลุม มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนล่าง พบมากในเกาะนิวกินี กระจายพันธุ์จากพม่า ไทย ไปจนถึงจีนและญี่ปุ่น ผลรับประทานได้ นิยมแปรรูปเป็นแยมและเยลลี่ เป็นอาหารนก เนื้อไม้แข็ง ใช้ทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง.

ใหม่!!: พืชดอกและทิ้งทวน · ดูเพิ่มเติม »

ทิ้งทองหู

ทิ้งทองหู (Jack) เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceae เป็นไม้เลื้อย มีขนละเอียดขึ้นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก แผ่นใบหนา เห็นเส้นใบไม่ชัดเจน ดอกช่อ มีริ้วประดับรูปไข่ กลีบเลี้ยงสีม่วงน้ำตาลอมเขียวกลีบดอกสีแดงสด ด้านในมีสีเหลืองแซม ผลแบบแห้งแตก มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีปุ่มกระจาย มีรยางค์รูปเส้นด้ายทั้งสองด้าน ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้ กระจายพันธุ์ตั้งแต่คาบสมุทรมลายูจนถึงเกาะบอร์เนียว.

ใหม่!!: พืชดอกและทิ้งทองหู · ดูเพิ่มเติม »

ทุ้งฟ้า

ทุ้งฟ้า เป็นไม้ยืนต้นอยู่ในวงศ์ Apocynaceae สูง 15-30 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้น เปลือกสีขาวอมเทา มีน้ำยางสีขาว เรีอนยอดค่อนข้างโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงรอบข้อข้อละ 3-4 ใบสลับกันไปตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปหอกกลับ ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาวหรือขาวอมเหลือง ออกดอกระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ผลเป็นฝักเรียวยาว เมื่อฝักแก่จะบิดเป็นเกลียวและแตกออก ปล่อยให้เมล็ดที่มีขนสีขาวปลิวไปตามลม เนื้อไม้ใช้ทำพื้นกระดาน ฝา และเครื่องใช้ทั่วไป และสามารถใช้เปลือกต้นและราก บำรุงกำลังและบำรุงกำหนัด แก้ไข้ แก้บิด รักษาบาดแผล.

ใหม่!!: พืชดอกและทุ้งฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ทุเรียน

ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..

ใหม่!!: พืชดอกและทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ทุเรียนเทศ

ผลทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศพันธุ์''subonica'' ดอกทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศ หรือ ทุเรียนน้ำ (Soursop, Prickly Custard Apple.; L.) ชื่อเรียกอื่น ๆ คือ ทุเรียนแขก (ภาคกลาง) หมากเขียบหลดหรือหมากพิลด (ภาคอีสาน) ทุเรียนน้ำ (ภาคใต้) และ มะทุเรียน (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์เดียวกับน้อยหน่าและกระดังงา ใบเดี่ยว กลีบดอกแข็ง มีกลิ่นหอมตอนเช้า ผลมีรูปร่างคล้ายทุเรียน มีหนาม เปลือกสีเขียว เนื้อสีขาว ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดแก่สีดำ ปลูกมากในแถบอเมริกากลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพืชที่ชอบที่ที่มีความชื้นสูง.

ใหม่!!: พืชดอกและทุเรียนเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ท้อ

ลูกท้อ (桃; Peach; ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus persica) เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน จัดเป็นไม้พุ่มผลัดใบ อยู่ในสกุล Prunus อันเป็นสกุลเดียวกันกับ ซากุระ, บ๊วย, เชอร์รี่ หรือนางพญาเสือโคร่ง ท้อจัดเป็นไม้เมืองหนาวที่จะขึ้นได้ดีในที่ ๆ มีความสูงตั้งแต่ 3,000 ฟุตขึ้นไป อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 10 องศาเซลเซียส ทนแล้งได้ดี เป็นไม้ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบจัก ดอกเดี่ยว มักออกเป็นกระจุก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรืออาจเป็นสีแดง หรือชมพู ดอกจะแตกออกมาก่อนใบ ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยว มีขนปกคลุมทั่วบริเวณผิว ท้อนับเป็นผลไม้ที่ใช้ประโยชน์ในการรับประทานมาอย่างยาวนาน และได้รับความนิยมไปทั่วโลก นอกจากนี้แล้วในวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ จะมีท้อเข้ามาร่วมอยู่ด้วย ได้แก่ ชาวจีนมีความเชื่อว่า ท้อเป็นสัญลักษณ์ของการมีอายุยืนยาว และเกี่ยวข้องกับการกับการป้องกันสิ่งชั่วร้าย ถ้าดอกท้อของบานในระหว่างการฉลองวันปีใหม่ หมายถึง ปีต่อไปจะเป็นปีของโชคลาภ และดอกท้อยังใช้ประดับตกแต่งภายในบ้านเพื่อความเป็นสิริมงคล ป้องกันสิ่งชั่วร้ายอีกด้วย นอกจากนี้แล้วในสมัยโบราณ การเขียนป้ายคำอวยพรก็นิยมเขียนลงไม้ที่ทำมาจากต้นท้อ ในนิทานพื้นบ้านของญี่ปุ่น โมโมทาโร่ (桃太郎) ซึ่งเป็นเด็กชายที่มีพละกำลังมากมายและเป็นผู้นำในการปราบปีศาจ ก็กำนิดมาจากลูกท้อ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทย ท้อมีการนำเข้ามาปลูกในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น โครงการหลวง โดยมีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มะฟุ้ง, มักม่น, มักม่วน, หุงคอบ, หุงหม่น เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและท้อ · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้น

มิ้นชัน เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิง มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในของเหง้าเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มีสีเหลืองเข้ม จนสีแสดจัด มีชื่อสามัญอื่นอีกคือ ขมิ้นแกง (เชียงใหม่) ขมิ้นชัน (กลาง, ใต้) ขมิ้นหยอก (เชียงใหม่) ขมิ้นหัว (เชียงใหม่) ขี้มิ้น (ตรัง, ใต้) ตายอ (กะเหรี่ยง กำแพงเพชร) สะยอ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ หมิ้น (ตรัง, ใต้).

ใหม่!!: พืชดอกและขมิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้นอ้อย

มิ้นอ้อยหรือขมิ้นขึ้น เป็นพืชในวงศ์ขิง เป็นไม้ล้มลุกโตเร็ว ลำต้นตั้งตรง แตกหน่อมาก ผิวเหง้าด้านนอกสีเทา เนื้อสีขาวแกมเหลืองไปจนถึงเหลืองสด มีรากมาก รากกลมมีเนื้อนุ่มภายใน ก้านใบหุ้มกันแน่นเป็นลำต้นเทียม ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม มีแถบสีน้ำตาลแดงตรงกลางใบ ใบแก่แถบสีจางลงช่อดอกเจริญจากเหง้าโดยตรงมีริ้วประดับเรียงเวียน โคนช่อเป็นสีเขียว กลางช่อเป็นสีม่วง ดอกสีขาวแกมเหลือง ผลเป็นแคบซูลรูปไข่ ผิวเรียบ แตกด้านข้าง เมล็ดรูปรี สีเทา ขทิ้นอ้อยมีลักษณะคล้ายว่านชักมดลูกต่างกันที่กลีบดอก ขมิ้นอ้อยเป็นสีขาวแกมเหลือง แถบสีน้ำตาลแดงบนใบมีสองด้าน ว่านชักมดลูกเป็นสีชมพู แถบสีน้ำตาลแดงบนใบมีด้านเดียว สีเหง้าของขมิ้นอ้อยสีอ่อนกว่า ช่อดอกขนาดเล็กกว่า ขมิ้นอ้อยต่างจากขมิ้นชันที่ใบมีขนนิ่มด้านล่าง เหง้าขนาดใหญ่กว่า เนื้อในสีเหลืองอ่อนกว่า เหง้ามักโผล่พ้นดิน กลิ่นฉุนน้อยกว่า กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีนและไต้หวัน เหง้าใช้ทำแป้งโชติซึ่งเป็นแป้งย่อยง่ายเหมาะสำหรับทารก ในอินโดนีเซียนำยอดอ่อนมารับประทานเป็นผัก อินเดียใช้เหง้าทำเครื่องหอม เป็นยาสมุนไพร ใช้เป็นยาขับลมและขับน้ำคาวปลาหลังคลอดบุตร ใช้ล้างรักษาแผล เหง้าใช้เคี้ยวดับกลิ่นปาก น้ำต้มเหง้าแก้ปวดท้อง ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าเป็นว่านที่ทำให้คงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: พืชดอกและขมิ้นอ้อย · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้นต้น

มิ้นต้น เป็นพืชในวงศ์ Berberidaceae ลักษณะเป็นไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 เมตร เนื้อไม้มีสีเหลือง ใบเป็นใบประกอบยาว 20-70 เซนติเมตร ใบย่อยมี 4-9 คู่ รูปขอบขนานแกมรูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 4-15 เซนติเมตร โคนใบกลม เบี้ยว ขอบจักซี่ฟันห่าง ๆ ปลายจักแหลมคล้ายหนาม ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะที่ปลายกิ่ง มีหลายช่อ ยาวได้ถึง 30 เซนติเมตร ใบประดับรูปใบหอกยาว 2-3.5 เซนติเมตร ดอกสีเหลือง ก้านดอกยาว 3-6 มิลลิเมตร ใบประดับย่อยยาว 3-7 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก มี 9 กลีบ เรียง 3 วง วงนอกสั้นกว่าวงใน วงในยาวได้ถึง 8 มิลลิเมตร กลีบดอก 6 กลีบ รูปรีปลายมนยาว 5-8 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้มี 6 อัน ยาว 3.5-5.5 มิลลิเมตร ติดตรงข้ามกลีบดอก อับเรณูมีรยางค์ ก้านเกสรเพศเมียยาว 2-3 มิลลิเมตร ผลสดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 มิลลิเมตร เมื่อสุกมีสีม่วงเข้ม ภายในมี 4-7 เมล็ด ขมิ้นต้นเป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย, พม่า, ไทยและทางใต้ของจีน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เปลือกต้นใช้รักษาโรคไข้ดำแดงและท้องเสีย ช่วยให้เจริญอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและขมิ้นต้น · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้นเครือ

มิ้นเครือhttp://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID.

ใหม่!!: พืชดอกและขมิ้นเครือ · ดูเพิ่มเติม »

ขยุ้มตีนหมา

้มตีนหมา (morningglory) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง มีอายุนาน 1 ปี ขยุ้มตีนหมาจัดอยู่ในสกุล Ipomoea ซึ่งอยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) เป็นพรรณไม้ที่พบขึ้นอยู่ตามบริเวณรกร้างว่างเปล่า นาข้าว ริมถนน และตามดินทรายใกล้ทะเล พบได้ตั้งแต่ระดับความสูง 0–1,000 เมตร ขยุ้มตีนหมาเป็นพืชที่พบกระจายอยู่เกือบทั่วโลก โดยพบในแถบเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทวีปแอฟริกา ออสเตรเลีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: พืชดอกและขยุ้มตีนหมา · ดูเพิ่มเติม »

ขลู่

ลู่ (ชื่อสามัญ:Indian Marsh Fleabane ชื่อวิทยาศาสตร์:Pluchea indica (L.) Less.) เป็นพืชที่พบมากในประเทศเขตร้อน เช่น ประเทศไทย มาเลเซีย จีนและฟิลิปินส์ เป็นต้น ชอบขึ้นตามพื้นที่ชื้นแฉะ ขยายพันธุ์โดยการปักชำ เป็นพืชที่ปลูกค่อนข้างง่าย ขึ้นได้ในดินแทบจะทุกชนิด ขลู่มีชื่อพื้นบ้านว่า หนาดวัว หนาดงิ้ว หนวดวัวหรือหนวดงิ้ว(อุดรธานี) ขลู คลู(ภาคใต้) เพี้ยฟาน(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ขี้ป้าน(แม่ฮ่องสอน).

ใหม่!!: พืชดอกและขลู่ · ดูเพิ่มเติม »

ขวง

วง, ผักขวง, สะเดาดิน หรือ ผักขี้ขวง (sweetjuice) เป็นชื่อไม้ล้มลุกชนิด Glinus oppositifolius A. DC.

ใหม่!!: พืชดอกและขวง · ดูเพิ่มเติม »

ขอบชะนาง

อบชะนาง เป็นพืชพวกหญ้าเลื่อยแผ่ไปตามดิน ยอดตั้งขึ้นสูงประมาณ 1-2 ฟุต ลำต้นเท่าธูป มี 2 ชนิด คือ ขอบชะนางแดงและขอบชะนางขาว ใบเดี่ยวออกสลับกันคนละข้าง มีชื่อสามัญอื่น ๆ คือ ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว หนอนตายขาว หนอนตายแดง หญ้าหนอนตาย หญ้ามูกมาย ตาสียาเก้อ ตอสีเพาะเกล.

ใหม่!!: พืชดอกและขอบชะนาง · ดูเพิ่มเติม »

ขันทองพยาบาท

ันทองพยาบาท เป็นชื่อของสมุนไพรในวงศ์ยางพารา ประเภทไม้ยืนต้นขนาดกลาง กิ่งก้านกลม เปลือกเกลี้ยง สีเทา ใบเดี่ยวแข็งหนาดกทึบ เป็นดอกเล็ก ๆ เป็นช่อแผ่ออก ผลกลมเท่าลูกพุทรา มี 3 พู เมื่อผลแก่จะมีสีส้มและแตกออก สรรพคุณในการรักษา แก้ลมพิษ แก้โรคเรื้อน โรคผิวหนังทุกชนิด แก้ไข้ และแก้กามโรค ขันทองพยาบาทมีชื่อสามัญอื่น ๆ ได้แก่ ขันทอง (พิษณุโลก) ดูกหิน (สระบุรี) ขนุนดง (หล่มสัก) กระดูก (ภาคใต้) ขุนทอง (ประจวบคีรีขันธ์) ดูกใส (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มะดูกเหลื่อม (ภาคเหนือ) มะดูกดง (ปราจีนบุรี) ข้าวตาก (กาญจนบุรี).

ใหม่!!: พืชดอกและขันทองพยาบาท · ดูเพิ่มเติม »

ขามคัวะ

มคัวะ หรือ กระนวล เป็นพืชในวงศ์ Sterculiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกสีออกแดง หูใบจักเป็นครุย ผิวใบด้านล่างมีขน ดอกรวมกันเป็นกระจุก ผลแบบแคบซูล เนื้อไม้แข็งทนทาน พบตั้งแต่ อินเดีย ศรีลังกา และอินโดจีน ในอินโดจีนใช้เปลือกกินแทนหมาก เนื้อไม้ใช้ทำด้ามขวานและเชื้อเพลิง.

ใหม่!!: พืชดอกและขามคัวะ · ดูเพิ่มเติม »

ขาวปั้น

วปั้น เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Caprifoliaceae ลำต้นอวบน้ำแทรกตามเขาหินปูน ใบเดี่ยว ดอกช่อกระจุกแน่นเกือบกลม ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยนายพุด ไพรสุรินทร์ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและขาวปั้น · ดูเพิ่มเติม »

ขานาง

ขานาง ((Vent.) Benth.) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่มีความสูง 15 - 30 เมตร เปลือกต้นสีขาวนวล เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลนุ่ม ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีเหลืองอ่อน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด การดูแลรักษา ขานางชอบดินที่มีหินปูนปนอยู่มาก น้ำและความชื้นปานกลาง ขานางมีชื่อพื้นเมืองอื่น ขางนาง คะนาง (ภาคกลาง), ค่านางโคด (ระยอง), ช้างเผือกหลวง (เชียงใหม่), แซพลู้ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ปะหง่าง (ราชบุรี), เปลือย (กาญจนบุรี), เปื๋อยคะนาง เปื๋อยนาง (อุตรดิตถ์), เปื๋อยค่างไห้ (ลำปาง), ลิงง้อ (นครราชสีมา) นอกจากนี้ยังเป็นต้นไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดกาญจนบุรี หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัด หมวดหมู่:วงศ์สนุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและขานาง · ดูเพิ่มเติม »

ขาเขียด

ียด เป็นไม้น้ำในวงศ์ Alismataceae ผิวเกลี้ยง มียาง เหง้าใต้ดินรูปเรียว ปลายเหง้าเป็นหัว ใบออกเป็นกระจุก โผล่พ้นน้ำ คล้ายหัวลูกศร ก้านใบรูปสามเหลี่ยมแหลม ภายในมีช่องอากาศ ใบที่จมใต้ยาวจะเป็นทรงยาว ดอกช่อ สีขาว ผลเป็นกระจุกกลม เมล็ดมีปีกกว้าง กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทะเลดำ จนถึงญี่ปุ่น หัวดิบมีพิษ ต้มสุกรับประทานได้ ใบอ่อนรับประทานเป็นผัก ทุกส่วนของต้นใช้เลี้ยงหมู ในเวียดนามใช้หัวเป็นยาระบายและยาบำรุงกำลัง.

ใหม่!!: พืชดอกและขาเขียด · ดูเพิ่มเติม »

ขิง

ง เป็นพืชล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีนวลมีกลิ่นหอมเฉพาะ แทงหน่อหรือลำต้นเทียมขึ้นเป็นกอประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อนกัน ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันเป็นสองแถว ใบรูปหอกเกลี้ยงๆ กว้าง 1.5 - 2 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและขิง · ดูเพิ่มเติม »

ขิงญี่ปุ่น

งญี่ปุ่น หรือ เมียวงะ (茗荷) จัดอยู่ในสปีชีส์ Zingiber mioga ในวงศ์ขิง (Zingiberaceae) เป็นพืชอายุหลายปีที่เป็นไม้ล้มลุก ผลัดใบ เป็นพืชพื้นเมืองของญี่ปุ่น จีน และตอนใต้ของเกาหลี ใช้เพียงดอกตูมและหน่อที่ดูน่ารับประทานเท่านั้น ในการนำมาทำอาหาร ดอกตูมจะถูกหั่นอย่างสวยงาม และใช้ในครัวญี่ปุ่นเพื่อประดับอาหาร สำหรับซุปเต้าเจี้ยว (มิโซชิรุ) เครื่องดองแบบจีน (ซูโนโมโนะ) และอาหารเช่นมะเขือเผา ในครัวเกาหลี ดอกตูมถูกเสียบไม้สลับกับเนื้อสัตว์ จากนั้นจึงนำไปทอดในน้ำมันตื้น ๆ แต่เดิมขิงชนิดนี้เป็นพืชที่เก็บเกี่ยวในญี่ปุ่น แต่ต่อมามีผู้นำไปปลูกในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เพื่อส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่น เช่นเดียวกับพืชป่าทั่วไป ขิงญี่ปุ่นชอบที่ร่มแสงแดดรำไร ทนความหนาวเย็นได้ -18 องศาเซลเซียส หรือ 0 องศาฟาเรนไฮต์ และอาจทนความเย็นได้มากกว่านั้น.

ใหม่!!: พืชดอกและขิงญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ขิงแดง

งแดง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Alpinia purpurata (Vielle.) Schum.) เป็นพืชพื้นเมืองของมาเลเซียที่มีดอกสวยงาม ส่วนที่เป็นมีสีสดใสเป็นกาบหุ้มช่อดอก ส่วนดอกจริงมีขนาดเล็กอยู่ข้างบน แบ่งเป็นสองสายพันธุ์คือ Jungle King และ Jungle Queen ขิงแดงสามารถพบได้ในฮาวาย ปวยร์โตรีโก และหลายประเทศในอเมริกากลาง รวมทั้งเบลีซ พบได้ในซามัวซึ่งเป็นดอกไม้ประจำชาติของซามัว มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "teuila" นอกจากนั้น ยังพบในทางใต้ของฟลอริดา บริเวณที่ไม่มีหิมะปกคลุม ชอบอากาศที่มีร่มเงาและชุ่มชื้น ทนต่อแสงแดดจัดได้ แต่ไม่ชอบอากาศแล้ง สามารถปลูกเป็นไม้ในบ้านได้ และเป็นไม้ตัดดอกได้เช่นกัน.

ใหม่!!: พืชดอกและขิงแดง · ดูเพิ่มเติม »

ขึ้นฉ่าย

ึ้นฉ่าย (芹菜) เป็นผักและสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม นิยมใช้ในการปรุงอาหารที่ต้องการดับกลิ่นคาว หรือเพิ่มความหอมของน้ำซุป หรือ นำไปผัดเพื่อดับคาวปล.

ใหม่!!: พืชดอกและขึ้นฉ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ขี้กาแดง

ี้กาแดง (Kurz.) ชื่ออื่นๆ แตงโมป่า มะกาดิน ขี้กาขาว เป็นไม้เถาเลื้อย ลำเถาอวบน้ำและสากมีขนสีขาวสั้นตั้งตรงเกาะติดหนาแน่น ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียนและมีหนวดที่โคนก้านใบ ใบรูปไข่เกือบกลม 5 เหลี่ยม ขนาดประมาณ 10 x 15 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนเว้าเป็นติ่งหู ขอบหยักบิดเป็นคลื่น แผ่นใบผิวหยาบสากเป็นลอนตามรอยกดเป็นร่องของเส้นใบ หลังใบมีขนสั้นสีขาวจำนวนมาก ก้านใบสีเขียวอ่อนแกมเหลืองยาว มีขนชนิดเดียวกัน ดอกเป็นดอกเดี่ยวแยกเพศกัน เกิดที่ซอกใบ ดอกสีขาวกลีบดอกส่วนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดส่วนปลายแยกเป็นกลีบ 4 - 5 กลีบ ดอกเพศเมียที่ฐานดอกมีรังไข่ทรงกลม ดอกเพศผู้ไม่มีรังไข่ ผลทรงกลมโตเท่าผลส้มเขียวหวาน ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว มีริ้วสีขาวจางๆ ผลสุกนั้นจะมีสีแดงห้อนเป็นระย้า ผลสุกใช้ตากแห้งจะแข็งและหนา ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดทรงกลมรีแบนมีเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นเมือกใสสีเขียวเข้มเกือบดำ เยื่อหุ้มเมล็ดจะมีสีเขียวเข้ม ขี้กาแดงเป็นพืชมีพิษ ผลเมื่อรับประทานแล้วทำให้ท้องเดินอย่างแรง เมล็ดมีพิษ ถ้ารับประทานเพียงเล็กน้อยทำให้เสียชีวิตได้.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้กาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ขี้หนอนเถา

ี้หนอนเถา เป็นพืชในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้เลื้อย มีขนตามลำต้นและกิ่งก้าน ดอกสีเหลือง ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ทั้งต้นต้มน้ำดื่มแก้นิ่ว.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้หนอนเถา · ดูเพิ่มเติม »

ขี้อ้นเครือ

ี้อ้นเครือ อยู่ในวงศ์ Nyctaginaceae เป็นพืชล้มลุก ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม ดอกช่อ เกิดที่ยอด ดอกรูปแตร สีชมพู ผลรูปกระบอง มีสันตามแนวยาว พบได้ทั่วไปในเขตร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้อ้นเครือ · ดูเพิ่มเติม »

ขี้ครอก

ี้ครอก (Caesar weed, Hibiscus burr, Jute africain) ชื่ออื่นๆของขี้ครอก คือ ขมดง ชบาป่า บอเทอ ปะเทาะ ปอเส้ง ปูลุ เส้ง หญ้าผมยุ้ง หญ้าอียู หญ้าหัวยุ่ง นางนวล จัดอยู่ในวงศ์ Malvaceae ขี้ครอกเป็นพืชมีพิษ หนามมีขนทำให้ระคายเคือง ทุกส่วนของลำต้นถ้ารับประทานเป็นพิษต่อหัวใจทำให้หมดความรู้สึก ขี้ครอกเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 1 - 2 เมตร เปลือกเหนียว ลำต้นสีเขียวแกมเทา มีขนรูปดาวปกคลุมตลอดลำต้น ยอดอ่อน ใบและก้านใบ ใบ เป็นใบเดี่ยวมีการเกาะติดของใบบนต้นเรียงตัวแบบสลับ ใบรูปไข่ ปลายใบเว้าเป็น 3 พู ปลายแต่ละพูมนหรือแหลม โคนใบมน ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย แผ่นใบเป็นคลื่นมีขนสากมือ มีหูใบ 1 คู่ รูปรี ดอกเดี่ยว เกิดที่ซอกใบ สีชมพูแกมม่วง กลีบดอกรูปไข่กลับ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบประดับ 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมากสีชมพูม่วง ก้านชูสีขาวนวลรวมกันเป็นหลอดหุ้มเกสรเพศเมียไว้ ปลายเกสรแยกเป็น 10 ก้านสั้นๆ ส่วนปลายเป็นตุ่ม ผล ทรงกลมแป้นแบ่งเป็น 5 พู ผิวผลมีหนามแข็งสั้นและมีน้ำเหนียวติด เมล็ด รูปไตสีน้ำตาล มีพูละ 1 เมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้ครอก · ดูเพิ่มเติม »

ขี้แรด

ี้แรด var. indochinensis ภาษากะเหรี่ยงเรียกเป๊อะฉี่กว่อ หรือเคละ ไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ ใบประกอบ มีต่อมสีเขียวที่โคนก้านใบ ผิวใบเรียบหรือมีขนเล็กน้อย ดอกช่อ เกิดที่ซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีขนาดเล็ก อัดกันแน่น กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลเดี่ยวรูปแบน แห้งแล้วแตก เปลือกต้นทุบแล้วนำไปแช่ในน้ำ ใช้เบื่อปล.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้แรด · ดูเพิ่มเติม »

ขี้ไก่ย่าน

ี้ไก่ย่าน เป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว มีลักษณะเป็นไม้เลื้อย เติบโตได้ดีในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง แสงส่องถึง และมีความอุดมสมบูรณ์ของดินมาก สามารถปรับตัวได้แม้ว่าดินจะมีความอุดมสมบูรณ์น้อย เมล็ดสามารถกระจายได้ไกลโดยอาศัยลม ในการออกดอกหนึ่งครั้งสามารถผลิตเมล็ดได้จำนวนมากกว่า 20,000 - 40,000 เมล็ดโดยประมาณ.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้ไก่ย่าน · ดูเพิ่มเติม »

ขี้เหล็ก

ี้เหล็ก จัดเป็นพืชในวงศ์ Leguminosae นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ขี้เหล็กแก่น (ราชบุรี) ขี้เหล็กบ้าน (ลำปาง) ขี้เหล็กหลวง (ภาคเหนือ) ขี้เหล็กใหญ่ (ภาคกลางบางที่) ผักจี้ลี้ (ฉาน-แม่ฮ่องสอน) ยะหา (มลายู-ปัตตานี) และขี้เหล็กจิหรี่ (ภาคใต้) เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงปานกลาง ผลัดใบ สูงประมาณ 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่มเปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ ยอดอ่อนสีแดงเรื่อๆ ใบประกอบเป็นแบบขนนก เรียงสลับกัน มีใบย่อย 5-12 คู่ ปลายสุดมีใบเดียว ใบย่อยรูปขอบขนานด้านบนเกลี้ยง ดอกช่อสีเหลืองอยู่ตามปลายกิ่ง ดอกจะบานจากโคนช่อไปยังปลายช่อ กลีบเลี้ยงมี 3-4 กลีบ กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้10 อัน ผลเป็นฝักแบนยาวมีสีคล้ำ เมล็ดรูปไข่ยาวแบนสีน้ำตาลอ่อนเรียงตามขวางมี 20-30 เมล็ด เนื้อไม้มีสีน้ำตาลแก่เกือบดำ ส่วนของดอกและใบขี้เหล็กใช้เป็นอาหารในหลายประเทศ เช่น ไทย พม่า อินเดีย และมาเลเซีย เป็นต้น ในตำราการแพทย์แผนไทยได้มีการบันทึกประโยชน์ของขี้เหล็กในหลายด้าน เช่น ใช้แก้อาการท้องผูก ใช้แก้อาการนอนไม่หลับ ใช้ทำความสะอาดเส้นผม ทำให้ผมชุ่มชื่นเป็นเงางาม ไม่มีรังแค ช่วยเจริญอาหาร บำรุงน้ำดี และบำรุงโลหิต เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและขี้เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ขี้เหล็กย่าน

ี้เหล็กย่าน เป็นพืชในวงศ์ Compositae เป็นไม้เลื้อยเลื้อยพันโดยใช้ลำต้น ต้นอ่อนเขียว แก่เป็นสีน้ำตาล มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว ผิวใบขรุขระเพราะเส้นใบบุ๋มลงไป ดอกช่อ กลีบดอกสีขาว กลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยว สีเขียว ขนาดเล็กรูปกรวย แก่แล้วแห้งสีน้ำตาล เมล็ดยาวสีดำ มีขน ปลิวไปกับกระแสลมได้.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้เหล็กย่าน · ดูเพิ่มเติม »

ขี้เหล็กอเมริกัน

ี้เหล็กอเมริกัน เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางถึงอเมริกาใต้ เดิมอยู่ในสกุลราชพฤกษ์ (Cassia) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5-13 เมตร ทรงต้นแผ่กว้าง ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ใบย่อยรูปรี 10-15 คู่ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อขนาดใหญ่ที่ปลายกิ่ง ยาว 30-40 เซนติเมตร กลีบดอก 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก ยาว 15-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ขี้เหล็กอเมริกันมีคุณสมบัติในการปรับปรุงดิน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เนื้อไม้ใช้ทำเสาเรือนหรือของใช้ได้.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้เหล็กอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ขี้เห็น

ี้เห็นหรือผ่าเสี้ยน เป็นไม้ต้นในวงศ์ Lamiaceae ผิวเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด สีน้ำตาลหรือสีดำ กิ่งก้านอ่อนมีขนสีเหลืองอมน้ำตาล ดอกช่อ กลีบเลี้ยงมีขน กลีบดอกปลายแฉกรูปปาก สีเหลืองหรือสีนวล เกสรตัวผู้มีสี่อัน สั้น 2 อัน ยาว 2 อันผลเดี่ยว ทรงกลมหรือเกือบกลม เนื้อไม้สีเหลือง ใช่ก่อสร้างหรือทำเครื่องเรือน และเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคติดเชื้อ.

ใหม่!!: พืชดอกและขี้เห็น · ดูเพิ่มเติม »

ขนุน

นุน (หรือ A. heterophylla) ภาคอีสานเรียกบักมี่ ภาคเหนือเรียกบ่าหนุน สิบสองปันนาเรียกหมากมี่ หรือ หมากหนุน กาญจนบุรีเรียกกระนู ภาษาไทใหญ่เรียก ลาง เป็นไม้ผลยืนต้นในวงศ์ Moraceae มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้และแพร่หลายมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และได้รับความนิยมมากในคาบสมุทรมลายู ไม่ปรากฏว่าเข้ามายังประเทศไทยเมื่อใด แต่มีกล่าวถึงในเอกสารโบราณตั้งแต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา ชื่อสามัญของขนุนในภาษาอังกฤษคือ jackfruit มาจากภาษาโปรตุเกส jaka ที่เพี้ยนมาจากภาษามลายู chakka นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและขนุน · ดูเพิ่มเติม »

ขนุนนก

นุนนก เป็นพืชในวงศ์ Sapotaceae ไม่ผลัดใบ เปลือกสีเทาอมดำ มีรอยแตกตามยาว ต้นสดมียางสีขาว ใบเดี่ยว ดอกช่อแบบกระจุก กลิ่นหอมเย็น กลีบเลี้ยง 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ กลีบดอกสีเหลืองอมขาว 6 กลีบ เกสรตัวผู้ล้อมรอบเกสรตัวเมีย ผลเดี่ยว กลมรี เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีน้ำตาล ยางใช้ทำสารหุ้มสายเคเบิลใต้น้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและขนุนนก · ดูเพิ่มเติม »

ข่อย

อย มีชื่อทางการค้าคือ Siamese rough bush, Tooth brush tree ส่วนชื่อพื้นเมืองอื่นได้แก่ กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ), ข่อย (ทั่วไป), ซะโยเส่ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), ตองขะแหน่ (กะเหรี่ยงกาญจนบุรี), ข่อย(ร้อยเอ็ด), สะนาย (เขมร).

ใหม่!!: พืชดอกและข่อย · ดูเพิ่มเติม »

ข่อยหนาม

อยหนาม อยู่ในวงศ์ Moraceae เป็นไม้พุ่มมีหนามยาว ใบเดี่ยว ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง แข็ง ด้านบนสีเขียวแก่เป็นมัน เส้นใบด้านท้องใบนูนขึ้นชัดเจน ปลายใบมีติ่งหนามแหลม ดอกช่อ ผลฉ่ำน้ำ รากและเนื้อไม้มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ใบมีรสเมาเฝื่อน ตำกับข้าวสาร คั้นน้ำแก้พิษยาเบื่อเม.

ใหม่!!: พืชดอกและข่อยหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ข่อยดาน

อยดานหรือปัดหิน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Rubiaceae ลำต้นตรง มีหนาม ใบเดี่ยว ปลายแหลม ผิวใบสากมือ ดอกเดี่ยว โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย กลิ่นหอม ผลสด สุกแล้วเป็นสีส้ม เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้ม เปลือกลำต้นแช่เหล้าใช้ทาตามแขนขา แก้ปวดและอัมพาต ชาวไทยอีสาน ใช่รากข่อยดานตรวจสอบเห็ดพิษ โดยต้มรากรวมกับเห็ด ถ้าเห็ดมีพิษทำให้น้ำเปลี่ยนสี.

ใหม่!!: พืชดอกและข่อยดาน · ดูเพิ่มเติม »

ข่อยดำ

อยดำหรือดังหวาย เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Labiatae ลำต้นสีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบ ขอบใบหยัก ดอกช่อแบบแตกแขนง ผลเดี่ยวค่อนข้างกลม ผลแก่สีแดงหรือสีดำ มี 5-6 เมล็ด ผลใช้เป็นอาหารสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและข่อยดำ · ดูเพิ่มเติม »

ข่า (พืช)

ป็นพืชที่มีลำต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า "เหง้า" อยู่ในวงศ์ขิง เป็นไม้ล้มลุก เป็นพืชสมุนไพรที่นำมาใช้ในการประกอบอาหารในประเทศไทยและอินโดนีเซีย ข่ามีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กฎุกกโรหินี (กลาง) ข่าหยวก (เหนือ) ข่าหลวง (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เหนือ) สะเอเชย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ เสะเออเคย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน).

ใหม่!!: พืชดอกและข่า (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ข่าลิง

ลิง หรือ กูวะกือติง หรือ Languas conchigera อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae ภาษามลายูเรียกเลิงกวตเกอจิล เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เนื้อในสีขาว ชาวโอรังอัซลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้เหง้าสับละเอียดสำหรับกระตุ้นการย่อยอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและข่าลิง · ดูเพิ่มเติม »

ข่าป่า

ป่า เป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceaeเป็นพืชท้องถิ่นในอินโดนีเซียและมาเลเซียเป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลำต้นใต้ดินแบบเหง้า ใบเดี่ยว มีลิกุล ผิวใบด้านบนเรียบ ผิวใบด้านล่างมีขนสั้นสีขาวปกคลุม ก้านใบแผ่เป็นกาบหุ้มลำต้น ดอกช่อ มีขนสั้นสีน้ำตาลปกคลุม ดอกย่อยมีกาบหุ้ม ผลแบบแคบซูล รูปกลม สีเหลือง สกัดน้ำมันจากเหง้าแห้งได้ และใช้เป็นยาสมุนไพร ภาษากะเหรี่ยงเรียกเพาะเก่อ ช่อดอกอ่อน ชาวกะเหรี่ยงนำไปลวกจิ้มน้ำพริก ผลสุกรับประทานได้ รสหวานอมเปรี้ยว.

ใหม่!!: พืชดอกและข่าป่า · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวบาร์เลย์

้าวบาร์เลย์ เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในตระกูลหญ้า มีประโยชน์มากทั้งแก่มนุษย์และสัตว์ ทั้งยังสามารถแปรรูปทำเป็นแป้งและเบียร์ได้ด้วย เป็นพืชที่สามารถสะสมอะลูมิเนียมได้ 1,000 mg/kgGrauer & Horst 1990,McCutcheon & Schnoor 2003, Phytoremediation. New Jersey, John Wiley & Sons pg 891.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวบาร์เลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่าง

้าวฟ่าง, ข้าวฟ่างหางช้าง หรือ ข้าวฟ่างสมุทรโคดม เป็นพืชปลูกในสกุลข้าวฟ่างและมีชื่อสามัญว่า sorghum เป็นพืชในวงศ์หญ้า อายุปีเดียว ต้นเดี่ยวหรือแตกกอที่โคน มีรากพิเศษเป็นรากฝอย ต้นตั้ง แห้งหรือฉ่ำน้ำ จืดหรือหวาน ส่วนกลางลำต้นมีลักษณะคล้ายฟองน้ำ มีช่วงว่างในส่วนพิธ ใบเรียงสลับ กาบล้อมลำต้นโดยส่วนของกาบซ้อนเหลื่อมกัน มีไขนวลปกคลุม ลิ้นใบสั้น มีขนปกคลุมตามขอบด้านบน มีปากใบทั้งสองด้าน ดอกช่อ ผลแบบธัญพืชกลมหรือปลายมน แหลม ใช้เป็นอาหารทั้งมนุษย์และสัตว์ และใช้เป็นพืชเชื้อเพลิง ข้าวฟ่างหวานเป็นสายพันธุ์ที่ใช้ปลูกเพื่อผลิตน้ำตาลและเอทานอล ต้นสูงกว่าพันธุ์กินเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวฟ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่างสามง่าม

ทุ่งปลูกข้าวฟ่างสามง่ามในเนปาล ข้าวฟ่างสามง่าม เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นหญ้ากอขนาดใหญ่ ลำต้นตั้งตรงแบบข้าว ผิวลำต้นเกลี้ยง เขียวอ่อนเป็นมัน มีใบมาก กาบใบแบน ผิวเกลี้ยง มีขนเล็กน้อยตามขอบใบ ลิ้นใบสั้นเป็นชายครุย ใบมักโค้งลง มีขนสาก ดอกช่อเป็นกระจุกที่ปลาย ผลแบบกระเปาะ มีหลายสี ข้าวฟ่างสามง่ามเป็นพืชที่มีความหลากหลายและแบ่งเป็นพันธุ์จำนวนมาก พืชชนิดนี้สามารถผสมข้ามพันธุ์กับ Eleusine africana ได้และมีลักษณะทางพันธุกรรมใกล้เคียงกัน ลูกผสมที่ได้ไม่เป็นหมัน จึงรวมเป็นสปีชีส์เดียวกัน และแบ่งเป็นสปีชีส์ย่อยคือ subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวฟ่างสามง่าม · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่างหางหมา

มล็ดข้าวฟ่างหางหมา ข้าวฟ่างหางหมาในญี่ปุ่น ข้าวฟ่างหางหมา (Foxtail millet) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นหญ้าปีเดียว ขึ้นเป็นกอมีสีเหลืองม่วง กาบใบรูปหลอด ด้านบนเปิดออก ผิวเกลี้ยงหรือมีขนปกคลุมเล็กน้อย ลิ้นใบสั้นเป็นชายครุย เห็นแกนใบชัดเจน ดอกช่อ เมล็ดรูปไข่ มีกาบบนและล่างหุ้มแน่น มีหลายสีตั้งแต่เหลืองอ่อน ส้ม แดง น้ำตาล ดำ มีความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์อยู่มาก โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อยที่สำคัญ 3 กลุ่ม คือ.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวฟ่างหางหมา · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวสาลี

้าวสาลี (Triticum spp.) Belderok, Bob & Hans Mesdag & Dingena A. Donner.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวสาลี · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวหลามดง

้าวหลามดง ชื่ออื่น จำปีหิน (ชุมพร) นมงัว (ปราจีนบุรี) เป็นไม้ตระกูลเดียวกับกระดังงา เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 เมตร ทรงพุ่มโปร่ง เปลือกต้นสีเทาอมดำ เนื้อไม้เหนียว ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ ใช้เป็นสมุนไพรหลังคลอดบุตร ทางภาคอีสานแก่นต้นเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคซางในเด็ก.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวหลามดง · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวทริทิเคลี

้าวทริทิเคลี (triticale) เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างข้าวสาลี (Triticum) กับ ข้าวไรย์ (Secale) โดยมีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศสกอตแลนด์และประเทศสวีเดน การใช้ชื่อ ทริทิเคลี เกิดจากการผสมคำของภาษาละตินระหว่างคำว่า Triticum (ข้าวสาลี) กับคำว่าSecale (ข้าวไรย์) ซึ่งมีที่มาจากการใช้เกสรตัวผู้ของข้าวสาลีผสมพันธุ์กันกับเกสรตัวเมียของข้าวไรย์ ดังนั้นจึงเลือกที่จะใช้สองพยางค์แรกของคำว่าTriticum มานำหน้าพยางค์สุดท้ายของคำ Secale การเปรียบเทียบลักษณะของข้าวสาลี (ซ้าย),ข้าวทริทิเคลี (กลาง),ข้าวไรย์ (ขวา).

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวทริทิเคลี · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวตอกพระร่วง (พืช)

้าวตอกพระร่วง (Chinese privet) เป็นพืชในวงศ์มะลิ (Oleaceae) มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน เป็นไม้พุ่มสูง 1-2 เมตร ลำต้นสีน้ำตาล ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่ถึงรูปขอบขนานแกมรูปรี ยาว 2-7 เซนติเมตร ปลายใบมน ก้านใบสั้น ชนิดที่เป็นพันธุ์ด่างจะมีขอบใบสีขาว กลางใบสีเขียว ท้องใบสีเขียวอ่อน ดอกขนาดเล็กสีขาว มีกลิ่นหอม ผลกลมถึงรูปไข่ เมื่อสุกมีสีม่วงดำ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับหรือบอนไซ ใบและผลของข้าวตอกพระร่วงมีพิษ และละอองเกสรอาจก่อให้เกิดภูมิแพ้ได้ พื้นที่หลายแห่งทั่วโลกจัดพืชชนิดนี้เป็นพืชรุกราน.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวตอกพระร่วง (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวตอกแตก

้าวตอกแตก เป็นพืชในวงศ์ Combretaceae เป็นไม้เลื้อยเปลือกสีเทาปนน้ำตาล กิ่งอ่อนรูปสี่เหลี่ยมมีขนปกคลุม ใบเดี่ยว ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก ผลรูปรีแข็ง ไม่แตก กลีบเลี้ยงติดทน ใบใช้เป็นยาขับพยาธิ พบทั่วไปทางภาคกลางและภาคใต้ของอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวตอกแตก · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวนก

้าวนก เป็นพืชในสกุลข้าว ลำต้นตั้งตรง กาบใบคล้ายทรงกระบอก กาบแน่นมักมีติ่งใบ ลิ้นใบรูปรอยต่อ รูป ผิวในส่วนข้อเกลี้ยง ใบรูปใบหอก ดอกช่อแบบแยกแขนง เมล็ดสีน้ำตาล จัดเป็นข้าวพันธุ์ป่าชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญในการนำมาใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมสำหรับปรับปรุงพันธุ์ข้าว ใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลน ใช้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือในงานพิธีทางศาสนาต่างๆ องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดใกล้เคียงกับข้าว.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวนก · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวโพด

ลักษณะของข้าวโพด ''Zea mays "fraise"'' ''Zea mays "Oaxacan Green"'' ''Zea mays "Ottofile giallo Tortonese”'' ข้าวโพด (Linn.) ชื่ออื่นๆ ข้าวสาลี สาลี (เหนือ) คง (กระบี่) โพด (ใต้) บือเคเส่ะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลำต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.5-2.0 นิ้ว เมล็ดจากฝักใช้เป็นอาหารคนและสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวโพด · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวโอ๊ต

้าวโอ๊ต เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ใช้เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวโอ๊ต · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวไรย์

ข้าวไรย์ (rye) เป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลข้าวสาลี ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์มาก เมล็ดของมันเป็นธัญพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อีกทั้งมีประโยชน์มากสำหรับมนุษย์และสัตว์ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปแปรรูปทำเป็นแป้ง ขนมปัง วิสกี้และเบียร์ได้อีกด้วย หมวดหมู่:ธัญพืช หมวดหมู่:หญ้า หมวดหมู่:อาหารหลัก ar:شيلم.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวไรย์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวเย็นใต้

้าวเย็นใต้ ภาษาจีนเรียก 土茯苓 อยู่ในวงศ์ Smilaceae เป็นพืชท้องถิ่นในจีน เทือกเขาหิมาลัยและอินโดจีนไม่พบในไทย ใช้เป็นยาแก้ตาแดง คุดทะราด แก้กามโรคได้เช่นเดียวกับข้าวเย็นเหนือ สารออกฤทธิ์ในเหง้าคือ Dihydro-flavonol glycosides (astilbin, neoastilbin, isoastilbin, neoisoastilbin, (2R, 3R)-taxifolin-3'-O-beta-D-pyranoglucoside) รวมทั้ง smitilbin ซึ่งเป็น flavanonol rhamnosideถ้าใช้ทั้งสองอย่างเรียกข้าวเย็นทั้งสอง.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวเย็นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวเย็นเหนือ

้าวเย็นเหนือ subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและข้าวเย็นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ดอก

ปสเตอร์แสดงภาพดอกไม้ต่าง ๆ สิบสองชนิด ดอก เป็นโครงสร้างสืบพันธุ์พบในพืชดอก (พืชในหมวด Magnoliophyta) หน้าที่ทางชีววิทยาของดอก คือ เพื่อออกผลการสืบพันธุ์ ปกติโดยให้กลไกสำหรับการผสมระหว่างสเปิร์มกับไข่ ดอกอาจอำนวยให้การผสมข้ามดอก (outcrossing) หรือให้เกิดการผสมในดอกเดียวกัน (selfing) ก็ได้ บางดอกผลิตส่วนแพร่พันธุ์โดยไม่มีการปฏิสนธิ (การเกิดผลลม) ดอกมีอับสปอร์และเป็นที่ซึ่งแกมีโทไฟต์เจริญ ดอกให้ผลและเมล็ด หลายดอกวิวัฒนาให้ดึงดูดสัตว์ เพื่อที่จะให้สัตว์เหล่านั้นเป็นพาหะส่งผ่านเรณู นอกเหนือไปจากการอำนวยการสืบพันธุ์ของพืชดอกแล้ว มนุษย์ยังชื่นชมและใช้เพื่อตกแต่งสิ่งแวดล้อมให้งาม และยังเป็นวัตถุแห่งความรัก พิธีกรรม ศาสนาแพทยศาสตร์และเป็นแหล่งอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและดอก · ดูเพิ่มเติม »

ดอกบุกยักษ์

อกบุกยักษ์ หรือ ดอกซากศพ (Titan arum) เป็นพืชที่มีดอกลักษณะคล้ายกับองคชาต ซึ่งจะบาน 72 ชั่วโมง และมีกลิ่นเหม็นคล้ายปลา เนื้อสัตว์เน่า หรือซากศพ ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี..1878 ทางหมู่เกาะสุมาตรา สูงโดยเฉลี่ยราว 1.6 เมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและดอกบุกยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน (พืช)

อกดิน ชื่ออื่นๆคือ ดอกดินแดง ซอซวย ปากจะเข้ สบแล้ง หญ้าดอกขอ เป็นพืชขนาดเล็ก ไม่มีใบ มีชีวิตอยู่แบบกาฝาก ต้นเป็นปุ่มปมเบียนอยู่กับรากไม้หรือหญ้า ลำต้นเกาะอยู่ตามรากไม้ใต้ดิน เช่นรากไผ่หรือรากหญ้าคา ก้านดอกสีขาวนวล ดอกโผล่มาเหนือดิน กลีบดอกเป็นหลอด สีม่วงเข้ม ตอนปลายเป็นแฉก พบในที่ร่มและชื้นช่วงฤดูฝน ในดอกมีสารสีดำชื่อออคิวบิน ใช่แต่งสีดำในขนมบางชนิดเช่นขนมดอกดิน โดยนำดอกสดไปผึ่งแดดพอหมาด แล้วสับรวมกับแป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวเจ้า และกะทิ ขนมนี้ถ้าใส่ดอกดินอย่างเดียว จะไม่เป็นสีดำ แต่เป็นสีน้ำตาลคล้ายกาแฟ ใส่มากขึ้นทำให้ขนมขื่น จึงแต่งสีดำด้วยกาบมะพร้าวเผาไฟ แล้วนำไปนึ่งให้สุก.

ใหม่!!: พืชดอกและดอกดิน (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ดอกไม้จีน

อกไม้จีน http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID.

ใหม่!!: พืชดอกและดอกไม้จีน · ดูเพิ่มเติม »

ดองดึง

องดึง (Climbing Lily, Turk's cap, Superb Lily) หรือ ดาวดึง, หัวฟาน, หัวขวาน, พันมหา (อีสาน) เป็นพืชชนิดหนึ่งจำพวกหัว ต้นมีลักษณะเป็นเถาปลายตั้ง ใบเดี่ยวรูปหอก ส่วนปลายแหลมยาวบิดม้วนช่วยยึดเกาะ ลักษณะของดอกเป็นดอกเดี่ยว กลีบเรียวยาว ขอบของดอกบิดเป็นคลื่นปลายกลีบมีสีแดง ที่โคนหากบานใหม่ ๆ จะมีสีเหลือง แต่เมื่อแก่จะมีสีส้ม ผลเป็นรูปกระสวยเมื่อแก่จะแตกออก เมล็ดมีสีส้ม หัวกลมเรียวมีหงอนเหมือนขวาน มักขึ้นตามป่าดงดิบเขาชื้น หรือที่รกร้างว่างเปล่าที่มีความชุ่มชื้นสูง ขยายพันธ์ด้วยเมล็ดหรือแยกเหง้.

ใหม่!!: พืชดอกและดองดึง · ดูเพิ่มเติม »

ดอนญ่าควีนสิริกิติ์

อนญ่าควีนสิริกิติ์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Mussaenda philippica 'Queen Sirikit', Dona Queen Sirikit) เป็นพุ่มไม้ประดับของฟิลิปปินส์ ดอกสีชมพูอ่อนมีกลีบ 5 กลีบ ขอบกลีบเป็นสีชมพูเข้ม ออกดอกเกือบตลอดทั้งปี เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเยือนฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2506 รัฐบาลฟิลิปปินส์ได้ขอพระราชทานตั้งชื่อตามพระนาม สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: พืชดอกและดอนญ่าควีนสิริกิติ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวกระจาย (C. sulphureus)

วกระจาย (Sulfur Cosmos หรือ Yellow Cosmos) เป็นชื่อไม้ล้มลุกชนิด C. sulphureus Cav.

ใหม่!!: พืชดอกและดาวกระจาย (C. sulphureus) · ดูเพิ่มเติม »

ดาวประดับ

วประดับ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Cryptostegia grandiflora R.Br.) เป็นไม้เถามีโคนแหลม ถิ่นกำเนิดจากประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พืชดอกและดาวประดับ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเรือง

วเรือง (L.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า คำปู้จู้ (ภาคเหนือ) นิยมปลูกตัดดอก เป็นดาวเรืองในกลุ่ม African หรือ American marigold เป็นพันธุ์ดอกใหญ่ พันธุ์ที่ใช้เป็นการค้าในประเทศไทยได้แก่พันธุ์ซอเวอริน (soverign) นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์ใหม่ ๆ ที่นำเข้ามาได้แก่ พันธุ์จาเมกาและอื่น ๆ อีกหลายพันธุ์ ดาวเรืองขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก อาจใช้การปักชำได้ แต่ต้นที่ได้จะให้ดอกที่มีขนาดเล็กกว.

ใหม่!!: พืชดอกและดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเรืองเม็กซิโก

วเรืองเม็กซิโก เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Asteraceae ทุกส่วนของต้นมีกลิ่นหอม ใบรูปหอก ขอบใบจักละเอียด ดอกสีเหลืองสด พบในเม็กซิโก มีสารกลุ่มแลกโตน เทอร์พีน คูมารินส์ ทำให้เกิดความมึนงง สับสน ลำต้นแห้งใช้เผาไล่แมลง.

ใหม่!!: พืชดอกและดาวเรืองเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเงินไทยทอง

วเงินไทยทอง เป็นพืชในสกุลดาวเงิน วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ล้มลุกอวบน้ำ ขึ้นตามหินปูน ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ดอกสีขาว รูประฆัง ผลขนาดเล็ก แห้งแล้วแตก ออกดอกช่วงมิถุนายน – สิงหาคม พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดย H.B.G. Garrett ชาวอังกฤษ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก.

ใหม่!!: พืชดอกและดาวเงินไทยทอง · ดูเพิ่มเติม »

ดาหลา

ต้นดาหลา เป็นพืชล้มลุกประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดหนึ่งซึ่งมีดอกที่สวยงาม มีความนิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก ที่อยู่ในวงศ์ขิง(Zingiberales) ซึ่งจัดเป็นพืชที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับขิงและข่านั้นเอง ส่วนลำต้นดาหลาจะอยู่ใต้ดินที่พวกเราเรียกว่าเหง้าซึ่งเหง้าที่พูดถึงนี้จะเป็นจุดกำเนิดของหน่ออ่อนของทั้งต้นและดอกดาหลาต่อไป ต้นดาหลานอกจากจะนำมาเป็นไม้เพื่อชมความสวยงามของดอกแล้วยังสามารถนำดอกมาประกอบอาหารได้และก็มีคุณค่าทางสมุนไพรสูงมากด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและดาหลา · ดูเพิ่มเติม »

ดาดตะกั่ว

ตะกั่ว (Redivy; T. Anders.) เป็นพืชในวงศ์ Acanthaceae ลักษณะเป็นไม้คลุมดิน ต้นทอดเลื้อยไปตามดิน ใบด้านบนสีเหลือบเงิบ เขียงปนม่วง ด้านล่างสีม่วง ปลายใบแหลม ขอบหยัก ดอกสีขาว เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดียและเกาะชวา นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและดาดตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิตา

ตา เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ในอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลีย เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ขึ้นเป็นกอเล็ก สูง 10-20 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและดุสิตา · ดูเพิ่มเติม »

ดูกค่าง

ูกค่าง var.

ใหม่!!: พืชดอกและดูกค่าง · ดูเพิ่มเติม »

ดูกไก่ย่าน

ูกไก่ย่าน เป็นไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ในวงศ์ Rubiaceae ลำต้นเรียบ สีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลและผิวไม่เรียบ ใบเดี่ยว ค่อนข้างหนา ขอบใบเรียบ ดอกช่อ ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกเล็ก สีเขียวอ่อนหรือขาว ผลเดี่ยวกลมรี ส่วนปลายมีกลีบเลี้ยง เมื่ออ่อนเป็นสีเขียวอมขาว แก่แล้วเป็นสีขาว มีเมล็ดเดียว.

ใหม่!!: พืชดอกและดูกไก่ย่าน · ดูเพิ่มเติม »

ดีปลากั้ง

ีปลากั้ง หรือ บีปลากั้ง T.Anderson.

ใหม่!!: พืชดอกและดีปลากั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ดีปลี

ีปลี มีชื่อท้องถิ่นอื่นอีกคือ: ดีปลีเชือก (ภาคใต้) ประดงข้อ ปานนุ (ภาคกลาง).

ใหม่!!: พืชดอกและดีปลี · ดูเพิ่มเติม »

ดีปลีแขก

ีปลีแขก (เป็นไม้เลื้อยหรือไม้พุ่มตั้งตรง ใบรูปไข่แกมขอบขนาน เป็นพืชพื้นเมืองในป่าเขตร้อนของเทือกเขาหิมาลัยตั้งแต่เนปาลถึงภูฏาน ขนาดเล็กกว่าดีปลีและไม่มีสารพิเพอรีน.

ใหม่!!: พืชดอกและดีปลีแขก · ดูเพิ่มเติม »

ด่าง (พืช)

ง เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Labiatae ตามกิ่งมีสันสี่เหลี่ยม มีขนยาวปกคลุม มีเลนติเซลเป็นรอยขีดนูน ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่ออกตามปลายยอด มีดอกย่อยจำนวนมาก ผลกลมรี เมล็ดขนาดเล็ก สีดำ กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: พืชดอกและด่าง (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ด้าง

้าง หรือ เครือหนอนตาย เทียนขโมย หัวใจทศกัณฑ์ เป็นพืชในสกุลนมตำเลีย วงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เลื้อยอิงอาศัย ยางสีขาว ใบเดี่ยวรูปหัวใจ ใบหนา ดอกช่อรูปซี่ร่มออกเป็นครึ่งวงกลม ผลเป็นฝักคู่ เมล็ดแบนและมีปุยปลิวตามลมได้ ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พบในประเทศไทยทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ กระจายพันธุ์ใน จีนตอนใต้ เวียดนาม ลาว กัมพูชา และเกาะชวาพบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่หมอคาร.

ใหม่!!: พืชดอกและด้าง · ดูเพิ่มเติม »

ครอบฟันสี

รอบฟันสี หรือ หมากก้นจ้ำ (อังกฤษ:Country mallow; ชื่อวิทยาศาสตร์:Abutilon indicum)เป็นพืชสมุนไพรไทย มีดอกสีแสดเหลือง ที่มีสรรพคุณหลากหลาย โดยเฉพาะ คนป่วยเป็นโรคเบาหวานต้มกินเพื่อใช้คุมระดับน้ำตาลในเลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครอบฟันสี · ดูเพิ่มเติม »

คราม (พืช)

รามหรือนาโค อยู่ในวงศ์ Leguminosae เป็นไม้พื้นเมืองในเอเชีย เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ฝักตรงหรือโค้งงอเล็กน้อย ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ใช้ทำสีย้อม ต้นครามมีกลูโคไซด์อินดิแคน เมื่อนำต้นไปแช่น้ำ สารน้ถูกเปลี่ยนเป็นอินดอกซิลและเมื่อถูกอากาศจะถูกเปลี่ยนเป็นอินดิโก-บลู ให้สีคราม ใช้เป็นยารักษาอาการทางประสาท บรรเทาอาการปวดแผลที่เกิดในบริเวณเยื่ออ่อน คนสมัยโบราณนิยมนำกิ่งครามทั้งใบมาแช่น้ำด่าง เพื่อหมักเอาน้ำคราม มาย้อมผ้า สีที่ได้คือสีน้ำเงินเข้ม เรียกว่า สีคราม นั่นเอง แต่ต้องย้อมซ้ำหลายครั้ง ครั้งแรก ๆ อาจได้เป็นสีฟ้าเข้ม ในการหมักนั้นมีกรรมวิธีที่เรียกว่าการ 'เลี้ยงคราม' หากทำไม่ถูกขั้นตอน ครามจะไม่ให้สี เรียกว่า 'ตาย' น้ำสีที่ยังไม่สมบูรณ์จะเห็นเป็นสีเขียวเข้ม เมื่อโดนอากาศ จะเข้มขึ้นจนเป็นสีน้ำเงิน ถึงสีครามในที่สุด ชาวอีสานเรียกสีครามว่าสีนิล สีหม้อ หรือสีหม้อนิล ชาวอีสานตอนบนนิยมนำไปย้อมผ้า และมัดเป็นลาย เรียกว่า ผ้าย้อมคราม แหล่งผลิตผ้าทอมือย้อมครามที่มีคุณภาพมากที่สุดแห่งหนึ่งคือจังหวัดสกลนครเนื่องจากเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวผู้ไทและมีการต่อยอด ออกแบบสีและลวดลายให้มีความปราณีตสวยงาม.

ใหม่!!: พืชดอกและคราม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ครามภู

รามภู subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและครามภู · ดูเพิ่มเติม »

ครามม้ง

รามม้ง เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่ม กิ่งอ่อนมีขนรูปตัว T แขนยาวเท่ากัน ขนสั้นนุ่ม ใบประกอบแบบขนนก ช่อดอกยาว มีขน กลีบดอกสีชมพู ฝักเหยียดตรง พบในอินเดียและพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามม้ง · ดูเพิ่มเติม »

ครามสมิตินันท์

รามสมิตินันท์ เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ กลีบดอกสีม่วงอ่อน เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและครามสมิตินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ครามสยาม

รามสยาม var.

ใหม่!!: พืชดอกและครามสยาม · ดูเพิ่มเติม »

ครามหมอเคอร์

รามหมอเคอร์ เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ กลีบดอกสีขาวครีม ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง พบตามป่าไผ่ เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย พบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามหมอเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ครามหลวง

รามหลวง เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ก้านช่อดอกมีขนหนาแน่น ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพูอ่อน ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง แห้งไม่แตก เมล็ดทรงกลมเกลี้ยง พบในพม่า จีน ไต้หวัน ลาว เวียดนาม และอินโดนีเซีย ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก.

ใหม่!!: พืชดอกและครามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ครามหิมาลัย

รามหิมาลัย เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ Fabaceaeเป็นพืชพื้นเมืองในเทือกเขาหิมาลัยทางตะวันตกเฉียงเหนือของทิเบต อยู่ในสกุลเดียวกับครามบ้านที่ใช้ทำครามย้อมผ้า เป็นไม้พุ่ม ออกดอกในฤดูร้อน ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับสวน.

ใหม่!!: พืชดอกและครามหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ครามอุดร

รามอุดร เป็นพืชในสกุลคราม มีรากสะสมอาหาร กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง เมล็ดทรงกระบอก ผิวเกลี้ยง เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามอุดร · ดูเพิ่มเติม »

ครามขาว

รามขาว เป็นพืชในสกุลคราม พบในพม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิ่งอ่อนมีขนหนาแน่นคล้ายกำมะหยี่ ใบประกอบแบบขนนก ช่อดอกยาว มีริ้วประดับรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกสีขาวครีม ฝักทรงกระบอกเหยียดตรง ปลายโค้งเล็กน้อย ฝักมีขนหนาแน่น เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้.

ใหม่!!: พืชดอกและครามขาว · ดูเพิ่มเติม »

ครามขน

รามขน เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวต่างกันอยู่หนาแน่น ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ริ้วประดับรูปรีหรือสามเหลี่ยม กลีบดอกสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง พบในศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ไต้หวัน กัมพูชา ลาว และเวียดนาม พบในไทยเกือบทุก.

ใหม่!!: พืชดอกและครามขน · ดูเพิ่มเติม »

ครามดอกม่วง

รามดอกม่วง เป็นพืชในสกุลคราม พบใน ศรีลังกา อินเดีย เนปาล บังกลาเทศ พม่า จีน และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือตามริมถนน ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ริ้วประดับรูปสามเหลี่ยม ดอกสีม่วงเข้ม ฝักทรงกระบอก เหยียดทรง เกือบเกลี้ยง.

ใหม่!!: พืชดอกและครามดอกม่วง · ดูเพิ่มเติม »

ครามดอกห่าง

รามดอกห่าง เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่ม กิ่งอ่อนมีขนที่มีแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ผิวใบด้านบนและด้านล่างมีขนที่แขนยาวเท่ากัน ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย พบทางภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและครามดอกห่าง · ดูเพิ่มเติม »

ครามดอย

รามดอย เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก มีขน ดอกช่อ กลีบดอกสีม่วง ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง พบในจีน ในไทยพบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามดอย · ดูเพิ่มเติม »

ครามคาย

รามคาย เป็นพืชในสกุลคราม มีรากสะสมอาหาร ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ กลีบดอกสีแดงอมชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง มีขนหนาแน่น เมล็ดทรงกระบอก พบในพม่า จีน ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ หน้า 61.

ใหม่!!: พืชดอกและครามคาย · ดูเพิ่มเติม »

ครามตีนกา

รามตีนกา เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ขนที่ใบมีต่อม ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพู ฝักมีสันชัดเจน มีขน พบในอินเดีย จีน พม่า ไต้หวัน เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบในภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและครามตีนกา · ดูเพิ่มเติม »

ครามต่อม

รามต่อม เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่ม กิ่งอ่อนมีทั้งขนรูป T และขนแบบมีต่อม ใบประกอบแบบขนนก มีขนแบบต่อมตามใบ ดอกช่อยาว มีขน กลีบดอกสีชมพูฝักทรงกระบอก เหยียดตรง มีขนและขนต่อมหนาแน่น เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พบในศรีลังกา อินเดีย พม่า และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามต่อม · ดูเพิ่มเติม »

ครามป่า

รามป่า เป็นพืชในวงศ์ถั่ว เป็นไม้พุ่มมีขนปกคลุมตามลำต้นและกิ่งก้าน มีใบประกอบ มีดอกเป็นช่อ กลีบดอกสีม่วงอ่อน ผลเป็นฝักทรงกระบอก มีเมล็ด 8-10 เมล็ด ขนเมื่อถูกร่างกายทำให้เป็นผื่นแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและครามป่า · ดูเพิ่มเติม »

ครามป่าใบต่าง

รามป่าใบต่าง เป็นพืชในสกุลคราม พบในกัมพูชา ลาว เวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ กิ่งอ่อนมีขนหนาแน่น ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ดอกย่อยสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง เมล็ดทรงกระบอก สีเหลือง มันวาว.

ใหม่!!: พืชดอกและครามป่าใบต่าง · ดูเพิ่มเติม »

ครามป่าใบแหลม

รามป่าใบแหลม subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและครามป่าใบแหลม · ดูเพิ่มเติม »

ครามนอก

รามนอก เป็นพืชในสกุลคราม พบใน ลาว เวียดนาม เกาะสุมาตรา ในไทยพบทางตะวันออกเฉียงเหนือตามทุ่งโล่งและริมถนน กิ่งอ่อนมีขนกระจายทั่วไป ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ดอกย่อยสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง.

ใหม่!!: พืชดอกและครามนอก · ดูเพิ่มเติม »

ครามใบแถบ

รามใบแถบ เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนสีขาวหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพู ฝักมนหรือกลม มีขนหนาแน่น พบในพม่า ศรีลังกา อินเดีย จีน ไต้หวัน กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบทุกภาคยกเว้นภาคใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและครามใบแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ครามใบเล็ก

รามใบเล็ก เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพูอ่อน ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พบในประเทศศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก.

ใหม่!!: พืชดอกและครามใบเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ครามเช้า

รามเช้า เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่ม ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อยาว มีริ้วประดับรูปแถบ กลีบดอกสีขาว ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง พบในจีนและลาว ในไทยพบทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามเช้า · ดูเพิ่มเติม »

ครามเลื้อย

รามเลื้อย เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่มทอดเลื้อย มีทั้งขนที่แขนยาวเท่ากันและต่างกัน ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพู ฝักมนหรือกลม เมล็ดเกลี้ยง มันวาว.

ใหม่!!: พืชดอกและครามเลื้อย · ดูเพิ่มเติม »

ครามเถา

รามเถา อยู่ในวงศ์ Asclepiadaceae ไม้เถาเนื้อแข็ง ยางขาว ดอกช่อ สีขาวอมเหลืองอ่อน แก่แล้วเป็นสีน้ำเงินเข้ม เปลือกและใบใช้ทำสีย้อมเส้นใยและผ้า ให้สีคราม ใช้ย้อมผมให้สีดำ ใบมีฤทธิ์เป็นยาแก้อาการผิดปกติในลำไส้ กระตุ้นการงอกของผม ในบังกลาเทศใช้สารสกัดจากครามเถาทำให้แท้งลูก เปลือกลำต้นมีเส้นใ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามเถา · ดูเพิ่มเติม »

ครามเถื่อน

รามเถื่อน เป็นพืชในสกุลคราม กิ่งอ่อนมีขนแขนยาวเท่ากัน ใบประกอบแบบขนนก ผิวใบด้านล่างมีขนหนาแน่นกว่าด้านบน ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพู ฝักทรงกระบอก ปลายโค้งงอขึ้น เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เป็นมันวาว ใช้ทำสีครามย้อมผ้า พบในอินเดีย จีน ไต้หวัน กัมพูชา ลาว เวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ เมล็ด ใ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามเถื่อน · ดูเพิ่มเติม »

ครามเขา

รามเขา เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่มมีทั้งขนที่แขนยาวเท่ากันและต่างกัน ใบประกอบแบบขนนก เรียงเวียน ดอกช่อยาว กลีบดอกสีชมพูเข้มหรือแดง ฝักทรงกระบอก เกลี้ยง เมล็ดทรงกระบอก พบในอินเดีย พม่า ในไทยพบในภาคเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและครามเขา · ดูเพิ่มเติม »

ครามเครือ

รามเครือ var.

ใหม่!!: พืชดอกและครามเครือ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส (พรรณไม้)

ริสต์มาส หรือ พอยน์เซตเทีย (Christmas star, poinesettia) ในภาษาไทยเรียก สองฤดู หรือ โพผัน เป็นไม้ดอกพื้นเมืองของอเมริกาใต้ แถบเม็กซิโก และกัวเตมาลา เข้ามาแพร่หลายในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พืชดอกและคริสต์มาส (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

คล้าน้ำช่อตั้ง

''Thalia dealbata'' คล้าน้ำช่อตั้ง พุทธรักษาน้ำ หรือ สังฆรักษา (Powdery thalia, Hardy canna, Powdery alligator-flag) เป็นพืชน้ำในวงศ์ Marantaceae มีถิ่นกำเนิดในรัฐทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ต้นสูงประมาณ 1.8 เมตร มีดอกสีม่วงบนช่อแยกแขนงยาวประมาณ 20 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและคล้าน้ำช่อตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

คว่ำตายหงายเป็น

ว่ำตายหงายเป็น เป็นพืชล้มลุก อวบน้ำ ใบเดี่ยว รูปไข่ โคนและปลายมน ขอบใบจักเป็นฟันตื้น ๆ เนื้อใบอวบหนา ออกดอกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกสีแดงและเขียว ทรงกระบอก ห้อยคว่ำลง ปลายเป็น 4 แฉก ผลเป็นพวง เมล็ดขนาดเล็ก ในทางสมุนไพร ใช้ใบเผาไฟเล็กน้อย หรือตำพอกแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ฝี ตาปลา ใบตำคั้นน้ำแก้บิด ขับปัสสาวะ โรคไขข้ออักเสบ ใบมีรสเย็นเฝื่อน พอกฝีแก้ปวด น้ำคั้นจากใบผสมการบูร ทาถูนวดแก้เคล็ดขัดยอก จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบันพบว่า มีสารต้านอนุมูลอิสระ ลดความดัน เบาหวาน ซึมเศร้า ป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร คลายกังวล ต้านการชัก ลดการบีบตัวที่ไวของกระเพาะอาหาร รวมถึงต้านมะเร็ง รวมถึงใช้ยังประโยชน์ในทางพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น เอาดอกไปไว้ในยุ้งข้าว บูชารถ ขึ้นบ้านใหม่ เอาใบใส่พานบายศรีสู่ขวัญบ่าวสาว ทำขวัญนาค และปลูกไว้เพื่อความเป็นมงคล คว่ำตายหงายเป็น ยังมีชื่ออื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ต้นตายใบเป็น, ต้นตายปลายเป็น, กระลำเพาะ, นิรพัตร, เบญจฉัตร, กะเร, มะตบ, ล็อบแล็บ, ลุบลับ, ลุมลัง, ตาวาร (3 จังหวัดชายแดนภาคใต้), ประฉู่ชิคะ (ภาษากะเหรี่ยง), ค้ำ (อำเภอนาแห้ว), ปู่ย่า (อำเภอภูหลวง), ประเตียลเพลิง, เพรอะแพระ, ยาเท้า, ส้มเช้า, หญ้าปล่องไฟ, หญ้าหวาน (ภาษาไทใหญ่) และผักเบี้ยใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและคว่ำตายหงายเป็น · ดูเพิ่มเติม »

คอร์นฟลาวเวอร์

อร์นฟลาวเวอร์ (Cornflower) เป็นพืชดอกขนาดเล็กที่ออกดอกปีละครั้ง จัดอยู่ในแฟมิลี Asteraceae เป็นพืชพื้นเมืองของยุโรป พืชชนิดนี้สูง 40-90 เซนติเมตร ลำต้นและกิ่งก้านเป็นสีเทาอมเขียว ใบเรียวแหลมยาว 1-4 เซนติเมตร ดอกสีน้ำเงินเข้ม ดอกอยู่เป็นกลุ่มโดยอยู่บนฐานรอง (capitula) เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร ดอกวางตัวกระจายออกเป็นรัศมีรอบๆฐาน รงควัตถุสีน้ำเงินในดอกคือ โพรโทไซยานิน ในอดีต พืชชนิดนี้เป็นวัชพืชในไร่นา แต่ปัจจุบันการเกษตรกรรมที่ขยายตัวทำให้แหล่งที่อยู่ของมันมีอันตราย เนื่องจากมีการใช้สารกำจัดวัชพืช อย่างไรก็ตาม พืชดอกชนิดนี้ได้รับการแนะนำให้ปลูกเป็นพืชประดับสวนและปลูกร่วมกับพืชเกษตรกรรม หลายๆประเทศได้มีพืชชนิดนี้ปลูกจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ เช่น อเมริกาเหนือ และบางส่วนของออสเตรเลีย ดอกคอร์นฟลาวเวอร์เป็นเครื่องตกแต่งอาหารได้ และใช้เป็นส่วนผสมในชา ไฟล์:CentaureaCyanus-overz-kl.jpg|แหล่งที่อยู่ ไฟล์:Centaurea_cyanus_flowers.jpg|ฐานรองกลุ่มดอก ไฟล์:Centaureacyanus.jpg ไฟล์:Centaurea cyanus in situ.jpg|การปลูกร่วมกับข้าวโพด หมวดหมู่:วงศ์ทานตะวัน หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ใหม่!!: พืชดอกและคอร์นฟลาวเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสวรรค์ (พืช)

อนสวรรค์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ipomoea quamoclit L.) หรือชื่อพื้นเมืองอื่นคือ สนก้างปลา ดาวนายร้อย มี 3 สีคือแดง ชมพู ขาว เป็นพืชพื้นเมืองในแถบลาตินอเมริกา ทางใต้ของอินเดียเรียกว่า มายิล มานิกกัม (மயில் மாணிக்கம்) เป็นไม้เลื้อ.

ใหม่!!: พืชดอกและคอนสวรรค์ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

คอแลน

อแลน ชื่ออื่นๆคือ บักแงว (ภาษาอีสาน), คอลัง (ภาษาใต้) อยู่ในวงศ์ Sapindaceae (วงศ์เดียวกับลิ้นจี่ ลำไย เงาะ รวมทั้งมามอนซีโย ด้วย) เป็นไม้ยืนต้นสูง มีพูพอน ใบประกอบ ดอกออกปลายกิ่หรือตามซอกใบ กลีบดอกมี 6 กลีบหรือไม่มี ผลมีปุ่มปมหนาแน่น สีแดง เปลือกภายนอกมีลักษณะคล้ายกับลิ้นจี่แต่เนื้อข้างในคล้ายเงาะมีรสเปรี้ยว รับประทานได้ เมล็ดไม่สามารถรับประทานได้เนื่องจากแข็งและมีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและคอแลน · ดูเพิ่มเติม »

คะน้าเม็กซิโก

ตามัลที่ผสมใบคะน้าเม็กซิโก จากรัฐตาบัสโก คะน้าเม็กซิโก, ผักโขมต้น หรือ ชายา (chaya) เป็นไม้พุ่มหลายปีชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์เดียวกับยางพาราและสบู่ดำ เชื่อว่ามีถิ่นกำเนิดในคาบสมุทรยูกาตันของประเทศเม็กซิโก มีลำต้นอวบน้ำซึ่งจะคายน้ำยางขาวออกมาเมื่อถูกตัด ทรงพุ่มมีขนาดใหญ่ โตเร็ว สามารถสูงได้ถึง 6 เมตร แต่มักถูกลิดกิ่งก้านออกให้สูงประมาณ 2 เมตรเพื่อให้เด็ดใบมาใช้ประโยชน์ง่ายขึ้น ใบกว้าง มีแฉกตั้งแต่ 3 แฉกขึ้นไป คะน้าเม็กซิโกเป็นผักกินใบยอดนิยมชนิดหนึ่งในตำรับอาหารเม็กซิโก กัวเตมาลา และอเมริกากลาง (บริเวณที่ได้รับอิทธิพลจากตำรับอาหารมายา) คะน้าเม็กซิโกเป็นแหล่งที่ดีของโปรตีน, วิตามิน, แคลเซียม, โพแทสเซียม และเหล็ก และยังเป็นแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ของสารต้านอนุมูลอิสระ ที่จริงแล้ว ใบคะน้าเม็กซิโกยังมีระดับสารอาหารสูงกว่าผักใบเขียวชนิดใด ๆ ที่ปลูกบนดินถึง 2-3 เท่าอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ใบคะน้าเม็กซิโกดิบนั้นมีพิษเนื่องจากมีสารกลูโคไซด์ซึ่งจะปลดปล่อยสารพิษจำพวกไซยาไนด์ออกมา จึงจำเป็นต้องทำให้สุกก่อนรับประทาน โดยใช้เวลาประมาณ 15 นาทีในการทำให้สุกเพื่อลดฤทธิ์ของสารที่เป็นพิษให้อยู่ในระดับปลอดภัย การต้มในภาชนะอะลูมิเนียมอาจทำให้น้ำต้มเป็นพิษและก่อให้เกิดอาการท้องร่วงได้ คะน้าเม็กซิโกสามารถนำไปปรุงอาหารได้หลายอย่าง วิธีปรุงดั้งเดิมอย่างหนึ่งในเม็กซิโกและอเมริกากลางจะนำใบไปแช่น้ำแล้วต้มไฟอ่อนประมาณ 20 นาที จากนั้นเสิร์ฟกับน้ำมันหรือเนย นอกจากนี้ยังมีการนำใบที่หั่นและทำให้สุกแล้วไปคลุกข้าวรับประทานกับอาหารรสจัด, นวดผสมกับมันฝรั่งบดแล้วทอด, นวดผสมกับแป้งข้าวโพดแล้วจี่เป็นตอร์ตียาหรือนึ่งเป็นตามัล, ผสมกับมะเขือเทศ หัวหอม ผักชี และพริกหั่นลูกเต๋าทำเป็นเครื่องจิ้ม หรือนำใบอ่อนและยอดอ่อนที่หนานุ่มไปต้มแล้วปรุงรับประทานอย่างผักโขม เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและคะน้าเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

คัดเค้า

คัดเค้า (Randia siamensis) ดอกมีลักษณะเมื่อแรกบานจะเป็นสีขาว บานประมาณ 1 อาทิตย์ก่อนจะกลายเป็นสีเหลือง ออกดอกพร้อมกันทั้งต้น แต่จะทยอยบาน ดอกมีกลิ่นหอมมาก หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์เข็ม.

ใหม่!!: พืชดอกและคัดเค้า · ดูเพิ่มเติม »

คัต

ัต หรือ แกต (khat, qat) เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในจงอยแอฟริกาและคาบสมุทรอาหรับ พืชชนิดนี้มีความสำคัญในทางสังคมของบริเวณดังกล่าวมาหลายพันปี ชาวแอฟริกาและชาวเยเมนนิยมนำใบมาเคี้ยว ในใบมีสารที่ทำให้เกิดอาการประสาทหลอนอย่างอ่อน ทำให้รู้สึกสนุกสนาน.

ใหม่!!: พืชดอกและคัต · ดูเพิ่มเติม »

คันธุลี

ันธุลี หรือ ท้าวพันราก หน่ายไส้เดือน เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Asclepiadaceae มียางขาวสีน้ำนม เถาสีน้ำตาลอมแดง เกาะต้นไม้อืนโดยใช้เถาพัน ใบเดี่ยว ดอกเป็นดอกช่อ ออกดอกตามง่ามใบ ดอกสีขาวอมเหลือง ผลเดี่ยวเป็นฝักเรียว สีเหลืองอมเขียว แก่แล้วแตก เมล็ดมีขนปลิวตามลม.

ใหม่!!: พืชดอกและคันธุลี · ดูเพิ่มเติม »

คาบอมบ้าแดง

อมบ้าแดง (Red cabomba, Cabomba furcata, Cabomba piauhyensis) เป็นพืชใต้น้ำจำพวกสาหร่าย ชนิดหนึ่ง พบในทวีปอเมริกาใต้ ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและบางส่วนของรัฐฟลอริดา เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่มีความสูงระหว่าง 30 ถึง 80 เซนติเมตร แผ่กิ่งก้านได้ประมาณ 8 เซนติเมตร นิยมนำมาเลี้ยงเป็นไม้ประดับ แต่เจริญเติบโตยาก เนื่องจากคาบอมบ้าแดงมีความต้องการแสงมากเกินกว่าที่แสงจะผ่านน้ำไปได้ตามปกติ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และสถานะของน้ำที่ใสสะอาดเป็นสิ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของคาบอมบ้าแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและคาบอมบ้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

คารอบ

รอบ (carob, carob tree) อยู่ในวงศ์ถั่ว เป็นพืชท้องถิ่นในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะคล้ายต้นมะขามเทศ ใบมันขนาดใหญ่ เปลือกหุ้มต้นหนา ฝักสีเขียว เมื่อแก่จะผลิตน้ำหวานสีน้ำตาลเยิ้มออกมาจากฝัก เป็นอาหารของแพะและสัตว์ป่าอื่นๆ และใช้ทำอาหารได้หลายชนิดพบที่ อิสราเอล ตุรกีและสเปน.

ใหม่!!: พืชดอกและคารอบ · ดูเพิ่มเติม »

คาวา

วา ในอินโดนีเซียเรียกวาฆีหรือวาตี ในอิเรียนจายาเรียกบารี เป็นไม้พุ่มเนื้อแข็ง ส่วนข้อโป่งพอง มีรอยแผลจากการหลุดร่วงของใบดอกแยกเพศ แยกต้น ดอกช่อ ดอกย่อยไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ติดผลน้อย ผลมีเมล็ดเดียว คาวาเป็นพืชที่พบในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นพืชท้องถิ่นในบริเวณวานูอาตู ซามัว ตองกา ฟิจิ ไมโครนีเซีย และปาปัวนิวกินี นิยมนำรากและกิ่งก้านของพืชชนิดนี้มาเคี้ยว ทำให้สารในพืชคือมารินดินและไดไฮโดรสติซิน สารนี้ทำให้ซึม ง่วงงุน รู้สึกมีความสุขและทำให้ฟันทน ใช้ผลิตเครื่องดื่มที่เรียกคาวา โดยนำชิ้นส่วนของต้นไปบดแช่น้ำแล้วกรอง นำของเหลวสีขาวอมน้ำตาลไปดื่ม รากและใบใช้รักษาอาการปวดข้อ วัณโรค หนองใน อาการไข้ นอกจากนั้น คาวายังเป็นเครื่องดื่มที่มีความสำคัญทางพิธีกรรม ในงานประเพณีต่างๆและยังเป็นของขวัญที่สำคัญ ในคาวามีสารคาวาแลกโทน ซึ่งออกฤทธิ์เป็นยาแก้ปวด คลายกล้ามเนื้อ คาวาแห้ง 100 กรัมมีคาวาแลกโทนประมาณ 3-20 กรัม การตากรากคาวาในฟิจิ เครื่องดื่มคาวาที่วาง.

ใหม่!!: พืชดอกและคาวา · ดูเพิ่มเติม »

คาวทอง

ผักคาวทอง เป็น ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 15-30 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและคาวทอง · ดูเพิ่มเติม »

คำฝอย

''Carthamus tinctorius'' คำฝอย (Safflower) เป็นไม้ล้มลุก ในวงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) มีความสูง 40-130 เซนติเมตร ลำต้นเป็นสันแตกกิ่งก้านมาก ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปวงรี ใบหอก หรือขอบขนาน ขอบใบหยักฟันเลื่อย ปลายเป็นหนามแหลม ใบประดับแข็งเป็นหนาม รองรับช่อดอก ดอกเป็นดอกช่อ มีดอกย่อยขนาดเล็ก ๆ จำนวนมาก ออกที่ปลายยอด ดอกอ่อนเป็นสีเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีแดงภายหลัง ผลแห้งไม่แตก เมล็ดเป็นรูปสามเหลี่ยม สีขาว ขนาดเล็ก สารสีเหลืองส้มในกลีบดอกคือคาร์ทามินและ แซฟฟลาเวอร์เยลโลว์ ใช้แต่งสีอาหาร โดยนำดอกมาแช่น้ำร้อนและใช้ทำสีย้อมผ้ามาแต่โบราณ นอกจากนี้แล้ว ดอกของคำฝอยยังทำมาชงน้ำร้อนดื่มเพื่อสุขภาพได้แบบเก็กฮวยหรือน้ำชาได้อีกด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและคำฝอย · ดูเพิ่มเติม »

คำมอกหลวง

ำมอกหลวง หรือ คำมอกช้าง ยางมอกใหญ่ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เพาะกะ เป็นไม้ในสกุลพุด วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบในช่วงสั้นๆ ก่อนออกดอก มียางสีเหลือง กิ่งอ่อนมีขนสั้นปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบเหนียวและสากคาย ใบเดี่ยว มีหูใบลักษณะเป็นปลอกหุ้มกิ่ง หลุดร่วงง่าย เห็นรอยแผลชัดเจน ดอกเดี่ยว ดอกเมื่อเริ่มบานเป็นสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองภายหลัง กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสีขาว ใกล้โรยมีกลิ่นหอมแรง ออกดอกเดือนมีนาคม – เมษายน ผลมีเมล็ดเดียว สีเขียว เมล็ดแบน คำมอกหลวงกระจายพันธุ์ในป่าดิบแล้งและป่าเต็งรังทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชาวไอริช ชื่อสปีชีส์ตั้งตามดอยสุเทพ ใช้เป็นไม้ประดับ ชาวกะเหรี่ยงนำผลไปรับประทาน.

ใหม่!!: พืชดอกและคำมอกหลวง · ดูเพิ่มเติม »

คำรอก

ำรอกหรือตานกกด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Connaraceae เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมหนา กิ่งก้านมีขนละเอียดสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ดอกสีขาว เกสรตัวผู่ 10 อัน ผลสีน้ำตาล มีขน แก่แล้วแตก กิ่งก้านและต้นต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง ใช้เป็นส่วนผสมของยารักษาหืด ไตพิการ ประดงกินกระดูก.

ใหม่!!: พืชดอกและคำรอก · ดูเพิ่มเติม »

คำขาว

ำขาว หรือ กุหลาบพันปีป่า (Westland's rhododendron) เป็นไม้ประเภทกุหลาบพันปีชนิดหนึ่ง ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงลำต้นตั้งแต่ 2-8 เมตร ใบเป็นแบบใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ เป็นกลุ่มห่าง ๆ กลุ่มละ 3-6 ใบ รูปรีแกมรูปหอก กว้าง 3-6 เซนติเมตร ยาว 7-14 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ดอกมีสีขาว ออกเป็นช่อ ตามปลายกิ่งและซอกใบ ช่อละ 3-5 ดอก ขนาดดอกบานเต็มที่ กว้างถึง 6 เซนติเมตร กลีบดอกเชื่อมติดกันรูปกรวย ปลายแยกแผ่เป็น 5 กลีบ บริเวณโคนกลีบมีประสีเหลืองอ่อนแต้มเป็นทาง เกสรเพศผู้มี 10 อัน ยาวไม่เท่ากัน โคนก้านชูอับเรณูมีขนสีขาว รังไข่รูปทรงกระบอก ผลเป็นรูปทรงกระบอก มี 5 พู ขนาด 3-4 เซนติเมตร ปลายแหลมยาว ผลแก่แตกเป็น 5 เสี่ยง เมล็ดแบน มีขนาดเล็ก มีจำนวนมาก มีปีกบางใสล้อมรอบ คำขาว แพร่กระจายพันธุ์ตามป่าดิบเขา ที่ค่อนข้างโปร่ง สูงจากระดับน้ำทะเล 950-2,200 เมตร ออกดอกระหว่างเดือนตุลาคม-พฤษภาคม พบตั้งแต่ทางตอนใต้ของจีน, พม่า, มาเลเซีย, ภาคใต้ของไทยจนถึงอินโดนีเซีย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา และฮ่องกง ดอกคำขาว คำขาว สามารถนำมาปลูกเป็นไม้ดอก ไม้ประดับได้ โดยขึ้นได้ดีในที่สูง มีความชื้นพอประมาณ และชอบแสงแดดตลอดทั้งวัน.

ใหม่!!: พืชดอกและคำขาว · ดูเพิ่มเติม »

คำแสด

ผลคำแสด คำแสด หรือ คำเงาะ หรือ คำใต้ (Annatto Tree) เป็น ไม้ต้นขนาดเล็กสูงราว 3-5 เมตร เปลือกสีน้ำตาลอ่อนหรือน้ำตาลเข้ม เปลือกด้านในสีส้ม กิ่งอ่อนมีเกล็ดสีสนิมหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงเวียนรอบลำต้น ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดของกิ่ง กลีบดอกสีชมพู สีขาวหรือสีเหลืองอมม่วง กลีบเลี้ยงสีเขียวขนาดเล็ก เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก อับเรณูสีม่วง ผลรูปไข่มีขนสีแดงคล้ายผลเงาะ แก่แล้วเป็นสีแดง เมื่อผลแก่ จะแตกออก ภายในมีเมล็ดจำนวนมากและเปลือกหุ้มสีแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและคำแสด · ดูเพิ่มเติม »

คำแดง

ำแดง เป็นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกกุหลาบพันปี ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) คำแดง เป็นหนึ่งในชนิดของกุหลาบพันปี หรือกุหลาบป่าที่พบได้ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย, เนปาล, ภูฏาน, พม่า และจีนในมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว (สามารถแบ่งออกได้เป็นสกุลย่อยและชนิดย่อยต่าง ๆ) สำหรับในประเทศไทย นับเป็นพืชดอกที่งดงามมากที่สุดและหายากมากที่สุดชนิดหนึ่ง เพราะมีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างจำกัดอยู่เฉพาะในเขตอากาศหนาวเย็นบนพื้นที่ชุ่มชื้น เช่น สันเขา หรือหน้าผา ในระดับความสูงประมาณ 1,600-2,500 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ในประเทศไทยพบได้ในป่าดิบเขาทางภาคเหนือ เช่น อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ และอุทยานแห่งชาติขุนแจ จังหวัดเชียงราย เป็นต้น ผลิดอกในระหว่างเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม แต่ช่วงที่ดอกบานเต็มที่คือปลายเดือนกุมภาพันธ์ คำแดงเป็นต้นไม้ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 2-12 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นและกิ่งก้านมักคดงอเพราะอิทธิพลของแรงลม เปลือกตะปุ่มตะป่ำ ใบสีเขียวเข้มมีรูปร่างคล้ายหอก ยาว 7-14 เซนติเมตร ออกเรียงเวียนสลับเป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง กุหลาบพันปีมีดอกสีแดงเลือดนกเข้นข้นสะดุดตา ดอกเป็นช่อทรงกลมที่ปลายกิ่ง โดยมีใบเรียงแผ่วนต่อกันเป็นจานรองแลดูงดงามคล้ายดอกกุหลาบ แต่ละช่อมีดอกออกรวมกันตั้งแต่ 4-12 ดอก เมื่อบานมีขนาด 3-5 เซนติเมตร มีขนสั้น ๆ สีแดงปกคลุม ดอกทรงกรวยแกมรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5-6 กลีบ กลีบค่อนข้างกลม ส่วนโคนกลีบดอกเชื่อมกันทั้งหมด และในช่วงที่ออกดอกบานนั้น น้ำหวานภายในดอกจะเป็นอาหารของนกและแมลงชนิดต่าง ๆ อีกด้วย คำแดง เป็นไม้ประจำประเทศเนปาล โดยสีแดงในธงชาติเนปาล หมายถึง สีแดงของดอกคำแดง คำแดง แม้จะเป็นไม้ที่มีถิ่นกระจายพันธุ์ในพื้นที่สูงในเขตหนาว แต่ก็สามารถนำมาเพาะปลูกได้ในพื้นที่ราบ แต่ก็ปลูกเลี้ยงค่อนข้างยาก นอกจากความงดงามแล้วยังมีคุณสมบัติสามารถดูดซึมสารพิษในอากาศได้อีกด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและคำแดง · ดูเพิ่มเติม »

คิงปาล์ม

งปาล์ม (king palm, Alexander Palm, Alexandra Palm) เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) มีถิ่นกำเนิดทางตอนเหนือของรัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย และพบได้ทั่วไปในรัฐฮาวาย นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ คิงปาล์มเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 20 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร คอต้นสีเขียวเด่นชัด ใบรูปขนนก ทางใบยาว 2.5 เมตร ใต้ใบมีนวลสีขาว ช่อดอกแยกเพศอยู่ร่วมตัว ออกใต้คอ ยาว 60 เซนติเมตร สีขาวนวล ติดผลจำนวนมาก ผลกลม ขนาด 1 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและคิงปาล์ม · ดูเพิ่มเติม »

คุย (พืช)

() เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) มีถิ่นกำเนิดในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและคุย (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

คุณนายตื่นสาย

ณนายตื่นสาย (Common Purslane, Verdolaga, Pigweed, Little Hogweed หรือ Pusley) เป็นพืชล้มลุก อวบน้ำในวงศ์ผักเบี้ย สามารถสูงได้ถึง 40 ซม.มีประมาณ 40 สายพันธุ์ในการปลูกเลี้ยงในปัจจุบัน มีการกระจายพันธุ์ในโลกเก่าตั้งแต่แอฟริกาเหนือถึงตะวันออกกลางและอนุทวีปอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสตราเลเซีย ดอกชนิดนี้บานเมื่อมีแสงแดดส่องทั่วถึง คุณนายตื่นสายมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: ผักตาโค้ง (นครราชสีมา) ผักเบี้ยดอกเหลือง (กลาง) ผักเบี้ยใหญ่ (กลาง) และ ผักอีหลู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและคุณนายตื่นสาย · ดูเพิ่มเติม »

คนทีสอทะเล

นทีสอทะเล เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นเลื้อยคลานไปบนดิน ลำต้นสีน้ำตาล เมื่ออายุมากจะมีสะเก็ดหลุดร่วงออกมา ใบเดี่ยว ใบสีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนจนถึงสีนวล ดอกช่อ กลีบดอกสีน้ำเงินขนาดไม่เท่ากัน ผลเดี่ยว ที่ขั้วมีกลีบเลี้ยงหุ้มไว้เกือบครึ่งผล ผิวสีเขียวหรือสีม่วง ผลแห้ง ปลายผลมีติ่ง ใบแห้งบดเป็นผง นำไปทำขนมคนที โดยนำใบแห้งไปผสมกับแป้งข้าวเหนียวและน้ำ นำไปนึ่งให้สุก หั่นเป็นชิ้น คลุกกกับมะพร้าวขูด เกลือ และน้ำตาล.

ใหม่!!: พืชดอกและคนทีสอทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ค่าหด

หด ชื่ออื่น ๆ คือ ข่าหด คำหด เก็ดลิ้น ลบลีบ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ค่าหด ผลัดใบ ลำต้นมักคดงด เปลือกแตกเป็นร่อง สีออกเทา ใบประกอบ ใบอ่อนมีขนสากเมื่อแก่จะเกลี้ยง ผลัดใบก่อนออกดอก ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียแยกดอกกันและอยู่คนละช่อ ดอกตัวผู้เป็นช่อสั้น ดอกตัวเมียเป็นช่อยาวห้อยลง แต่ละดอกมีกาบรูปสามเหลี่ยมสีเหลืองอ่อนรองรับ และกาบนี้จะเจริญเป็นกาบของผล ผล กลมแข็ง มีขนแข็งคลุมแน่น มีแฉกกาบเป็นรูปสามง่าม เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ทางภาคเหนือใช้เปลือกต้นรักษาอาการปวดฟัน ต้มน้ำอาบรักษาผื่นคัน เปลือกต้นนำไปผิงไฟให้อุ่นแล้วนำมาทาแผล ช่วยให้สมานตัวเร็ว.

ใหม่!!: พืชดอกและค่าหด · ดูเพิ่มเติม »

ค้อ

รายละเอียดลำต้นค้อที่แข็งแกร่ง ค้อ หรือบะก๊อ ภาษากะเหรี่ยงเรียก โลหล่า มีถิ่นกำเนิดที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ชอบขึ้นอยู่บนภูเขา ขนาดของลำต้นประมาณ 30 เซนติเมตร สูงได้ถึง 25 เมตร ใบเป็นรูปพัด จักเว้าลึกไม่ถึงครึ่งตัวใบ จีบเวียนรอบใบสวยงาม ใบอ่อนสีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกช่อดอกออกระหว่างกาบใบ ช่อยาว 1.50 เมตร ผลกลมรี ขนาด 2 เซนติเมตร ผลแก่สีเขียวคล้ำ ผลสุกรับประทานได้ ใบตากแห้งใช้มุงหลัง.

ใหม่!!: พืชดอกและค้อ · ดูเพิ่มเติม »

ค้อออสเตรเลีย

ต้นค้อออสเตรเลีบ ค้อออสเตรเลีย() เป็นปาล์มต้นสูง ผอม สูงได้ถึง 25 mBoland et al., pp.71-72.

ใหม่!!: พืชดอกและค้อออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ค้อดอย

้อดอย เป็นพืชวงศ์ปาล์มในสกุลค้อดอย ดอกแยกเพศ ใบเป็นรูปฝ่ามือ ออกดอกที่ซอกก้านใบ ปีละ 3-5 ช่อ ติดผลจำนวนมาก ผลเป็นรูปไต ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันปลูกเป็นไม้ประดับในพื้นที่สูง.

ใหม่!!: พืชดอกและค้อดอย · ดูเพิ่มเติม »

งวงช้างทะเล

งวงช้างทะเล หรือ Heliotropium foertherianum เป็นพืชในวงศ์ Boraginaceae เป็นไม้พุ่มลำต้นสีเทา แตกกิ่งจำนวนมาก ทรงพุ่มเป็นครึ่งวงกลม ใบเดี่ยว ออกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ติดกับก้านช่อเพียงด้านเดียว ก้านดอกอวบน้ำ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยวกลม ขนาดเล็ก สีเขียว มีฐานรองดอกหุ้มผลไว้ครึ่งหนึ่ง ผิวเรียบเป็นมัน.

ใหม่!!: พืชดอกและงวงช้างทะเล · ดูเพิ่มเติม »

งวงสุ่ม

งวงสุ่มหรือโพ้ไฮคุย เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Verbenaceae มักพบเลื้อยในป่าไผ่คล้ายต้นพวงประดิษฐ์ ยอดอ่อนและใบมีขน ด้านล่างของใบมีขนแข็งสาก ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยจำนวนมาก ริ้วประดับสีชมพู ออกดอกช่วงมกราคม – มีนาคม พบครั้งแรกที่อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยหมอคาร์ ชาวไอริชเมื่อ 7 มกราคม..

ใหม่!!: พืชดอกและงวงสุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

งา (พืช)

งา เป็นพืชล้มลุก ผลเป็นฝัก มีเมล็ดเล็กๆ สีขาว สีดำ และสีแดง มีการเพาะปลูกมานานเพราะต้องการใช้เมล็ดงานี้เป็นอาหาร เครื่องเทศ และบีบเอาน้ำมันได้ มีการใช้เมล็ดงากันมากเป็นพิเศษในแถบตะวันออกกลาง และเอเชียเพื่อเป็นอาหาร กลิ่นและรสของเมล็ดงาคล้ายกับถั่ว องค์ประกอบสำคัญในเมล็ดก็คือน้ำมัน ซึ่งมีอยู่ประมาณ 44-60% น้ำมันงานั้นต่อต้านการเกิดออกซิไดซ์ได้ดี มีการใช้ในอาหารพวกสลัด หรือเป็นน้ำมันปรุงอาหาร และมาการีนและในการผลิตสบู่ ยา และน้ำมันหล่อลื่น และยังเป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางบางชนิด เดิมนั้นงาอาจเป็นพืชพื้นเมืองของเอเชีย หรือตะวันออกของแอฟริกา แต่ปัจจุบันพบได้ในพื้นที่เขตร้อน กึ่งร้อน และร้อนทางใต้ในทุกเขตทั่วโลก ก่อนสมัยโมเสส ชาวไอยคุปต์ใช้เมล็ดงาป่นแทนแป้งธัญพืช ส่วนชาวจีนรู้จักงามาอย่างน้อยก็ 5,000 ปีมาแล้ว พวกเขาเผาเมล็ดงาเพื่อใช้ทำแท่งหมึกจีนที่คุณภาพดี ส่วนชาวโรมันบดเมล็ดงาผสมขนมปังเป็นอาหารรสดี ชาวไทยก็มีขนมที่ใช้เมล็ดงา เรียกว่า ขนมงาตัด ใช้งากวนกับน้ำตาล แล้วตัดเป็นแผ่น ในบางถิ่นมีความเชื่อว่าเมล็ดงามีอำนาจอาถรรพณ์ และยังปรากฏในนิทานเรื่อง อาหรับราตรี ตอน อาลีบาบา กับโจรทั้งสี่สิบ ซึ่งมีคำกล่าวว่า เปิดเมล็ดงา (Open sesame) ต้นงานั้นมีความสูงระหว่าง 0.5-2.5 เมตร ขึ้นกับสภาพที่ปลูก บางพันธุ์ก็มีกิ่งก้าน บ้างก็ไม่มี ที่แกนในแกนหนึ่งมีดอกราว 3 ดอก เมล็ดนั้นสีขาว ยาวราว 3 มิลลิเมตร เมื่อแห้ง เปลือกเมล็ดจะเปิดอ้า และเมล็ดจะหลุดออกมา การเก็บงาจึงต้องอาศัยแรงงานคนเพื่อมิให้เมล็ดงาร่วงหล่น ภายหลังเมื่อไม่นานมานี้ มีการพัฒนาพันธุ์มิให้เมล็ดแตะกระจาย ทำให้สามารถเก็บด้วยเครื่องจักรได้ หมวดหมู่:วงศ์งา หมวดหมู่:เครื่องเทศ.

ใหม่!!: พืชดอกและงา (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

งิ้ว (พืช)

งิ้ว ชื่ออื่นๆ งิ้วหนาม งิ้วบ้าน งิ้วแดง งิ้วปง งิ้วปงแดง เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลมอยู่ตามลำต้น ใบรวมประกอบด้วยใบย่อย 4-7 ใบ ใบเป็นมันค่อนข้างหนา ใบย่อยรูปรีปลายใบเรียวแหลมเรียงกันคล้ายกับรูปนิ้วมือ มีสีเขียวไม่มีขน ก้านใบสีขาวมองเห็นชัดเจน ดอกขนาดใหญ่ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกมี 5 กลีบ สีออกแดงหรือส้มปนสีเหลือง กลีบดอกมีขนปกคลุมและกลีบดอก ดอกบานเต็มที่ประมาณ 10 ซม มีลักษณะแข็งเลื่อมเป็นมัน เมื่อมีดอกต้นจะทิ้งใบทั้งหมดส่วนกลางออกเป็นเกสรตัวผู้เรียง 3 แถว ยาวยื่นออกมาเป็นเส้นๆ ผลรูปรีปลายแหลมยาว 6-8 นิ้ว เมื่อผลแก่จะเป็นสีน้ำตาลเปลือกผลแข็งเมื่อผลแก่จะมีปุยสีขาวปลิวออกมาตามลม เมล็ด เมล็ดสีดำ ใบรวมก้านใบก้านหนึ่งมีใบย่อยอยู่ 4-7 ใบ ใบย่อยนี้จะดอกมีขนาดใหญ่ออกเป็นช่ออยู่ตามปลายกิ่ง ช่อหนึ่งมีดอกอยู่ 3-5 ดอก สีแสดแดง สีส้ม สีเหลือง มี 5 กลีบ กลีบรองดอกเป็นสีเขียวมีลักษณะเป็นรูปถ้วยมนแข็ง กลางดอกมีเกสรซ้อนเรียงกันอยู่ 3 ชั้น ตามกลีบดอกมีขนมันเป็นเงาปกคลุมอยู่ เวลาที่ออกดอกจะทิ้งใบหมดมี 5 กลีบ กลีบรองดอกเป็นสีเขียวมีลักษณะเป็นรูปถ้วยมนแข็ง ดอกบานเต็มที่ประมาณ 10 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและงิ้ว (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ตองกง

ตองกง (ชื่อสามัญ: Bamboo grass, ชื่อวิทยาศาสตร์ Thysanoleana maxima Kuntze และชื่อวงศ์ Gramineae) มีชื่ออื่นเช่น ตองกงภาคเหนือ, เค้ยหลา(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เลาแล้ง(สุโขทัย), หญ้ากาบไผ่ใหญ่(เลย), หญ้าไม้กวาด, หญ้ายูง(ยะลา) ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกับ อ้อ หญ้าขน เดือย ตะไคร้ ข้าว อ้อย ข้าวฟ่าง ข้าวโพด เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและตองกง · ดูเพิ่มเติม »

ตองสยาม

ตองสยาม เป็นไม้ยืนต้นที่มีใบขนาดใหญ่อยู่ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบเดี่ยว มีหูใบขนาดใหญ่ ผลแก่แล้วแตกเป็นสองพู สีเหลือง ไม่มีหนาม เมล็ดกลม ออกดอกในเดือนกรกฎาคม – กันยายน เป็นไม้เบิกนำขึ้นในที่แล้งหรือหลังจากเกิดไฟป่า พบในพื้นที่สูงทางภาคตะวันออกและภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยโดย S.J. Davies ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครนายก เมื่อ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและตองสยาม · ดูเพิ่มเติม »

ตองหมอง

ตองหมอง (O.Ktze) Ohashi.

ใหม่!!: พืชดอกและตองหมอง · ดูเพิ่มเติม »

ตองตึง

งพลวง ชื่ออื่น: กุง (ปราจีนบุรี, อุบลราชธานี, อุดรธานี); เกาะสะแต้ว (ละว้า-เชียงใหม่); คลง (เขมร-บุรีรัมย์); คลอง (เขมร); คลุ้ง (ชาวบน-นครราชสีมา); ควง (พิษณุโลก, สุโขทัย); โคล้ง (เขมร-สุรินทร์); ตะล่าอ่ออาขว่า (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่); ตึง, ตองตึง, ตึงขาว (ภาคเหนือ); พลวง (ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ); พลอง (ระยอง, ส่วย-สุรินทร์); ยาง, ยางพลวง (ภาคกลาง); ล่าเทอะ, แลเท้า (กะเหรี่ยง-ภาคเหนือ); สะเติ่ง (ละว้า-เชียงใหม่); สาละออง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) ภาษากะเหรี่ยงเรียก หล่าเคอะหล่า ไม้ยืนต้น ผลัดใบ กิ่งอ่อนมีร่องรอยแผลเป็นจากใบร่วงชัดเจน เปลือกต้นหนา สีน้ำตาลปนเทาอ่อน ใบเดี่ยว ยอดอ่อนมีหูใบสีแดงหุ้ม ดอกช่อออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงขนาดใหญ่ กลีบดอกเรียงซ้อนเป็นเกลียว สีชมพูเข้ม ตรงปลายกลีบ ผลมีปีกสองปีก เกิดจากกลีบเลี้ยง แข็ง ผลแก่ไม่แตก ใบใช้ห่อข้าวและตากแห้งใช้ทำตับมุงหลังคา เป็นไม้ที่นิยมใช้ทำฟืนในจังหวัดกำปงชนัง ประเทศกัมพู.

ใหม่!!: พืชดอกและตองตึง · ดูเพิ่มเติม »

ตองเต๊าะ

ตองเต๊าะ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Euphorbiaceae ลำต้น ใบ และช่อดอกมีขนสีเหลือง ใบเดี่ยว ปลายใบเป็นติ่งแหลม หรือมน โคนเว้ารูปหัวใจ ขอบใบเว้าเป็น 3 พู ดอกช่อ แยกเพศ มีขนาดเล็ก ดอกสีเหลืองอ่อน เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลแห้ง มีขนสีน้ำตาลอ่อนที่เปลือกผล แก่นต้มน้ำดื่ม แก้โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ต้มรวมกับยาอื่น แก้โรคปัสส่วะขุ่นข้น.

ใหม่!!: พืชดอกและตองเต๊าะ · ดูเพิ่มเติม »

ตะลิงปลิง

ตะลิงปลิง เป็นไม้ผลในวงศ์ Oxalidaceae เป็นพืชเขตร้อน มีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบชายฝั่งทะเลของบราซิล ในประเทศไทยเชื่อว่านำเข้ามาจากอินโดนีเซีย เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ออกผลตามกิ่งก้านและลำต้นเป็นพวงแน่นและสวยงาม จึงเป็นที่นิยมปลูกทั่วไป นอกจากนี้ผลยังสามารถใช้บริโภค ตะลิงปลิงเป็นพืชร่วมวงศ์กับมะเฟือง มีส่วนที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนคือ ผลมะเฟืองมีขนาดใหญ่กว่าผลตะลิงปลิง.

ใหม่!!: พืชดอกและตะลิงปลิง · ดูเพิ่มเติม »

ตะขบฝรั่ง

ต้นตะขบฝรั่งในไฮเดอราบัด อินเดีย ใบและผลในไฮเดอราบัด อินเดีย ตะขบฝรั่ง เป็นพืชเพียงสปีชีส์เดียวในสกุล Muntingia เป็นไม้ยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดในภาคเหนือของเม็กซิโก บริเวณทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ฝั่งตะวันตก จนถึงเปรูและโบลิเวีย พบกระจายพันธุ์ทั่วประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง เช่น มาเลเซี.

ใหม่!!: พืชดอกและตะขบฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ตะขบป่า

ตะขบป่า ภาคเหนือเรียก มะเกว๋นนก มะเกว๋นป่า หรือตานเสี้ยน พบทั่วไปตั้งแต่เอเชีย แอฟริกา โพลีเนเซีย เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นคดงอ เปลือกสีน้ำตาลอ่อน มีหนาม ผิวใบเรียบหรือมีขนกระจาย ดอกออกเป็นช่อ ขนาดเล็ก สีขาว มีขนปกคลุม โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน แยกออกตอนปลาย เกสรตัวผู้จำนวนมากสีขาว ผลกลม เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีแดงสด รสเปรี้ยว ผลและยอดอ่อนรับประทานได้ ผลสดนำมาแปรรูปเป็นแยมหรือไวน์ เนื้อไม้ใช้ทำด้ามอุปกรณ์ต่างๆ ผลและเนื้อไม้มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายพยาธิตัวกลม ใบใช้แก้งูกัด เปลือกไม้รักษาโรคผิวหนังได้ ชาวกะเหรี่ยงในจังหวัดเชียงใหม่ใช้รากต้มน้ำดิ่มแก้ปวดเมื่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและตะขบป่า · ดูเพิ่มเติม »

ตะขบไทย

ตะขบไทย เป็นพืชในวงศ์ Flacourtiaceae เป็นไม้ยืนต้นนาดเล็ก ลำต้นอ่อนมีหนามแข็ง ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ใบอ่อนสีแดงแกมน้ำตาล ใบห้อยลง ขอบใบมีรอยหยักหยาบๆ ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกสีเหลืองแกมเขียว ผลสดมีเนื้อนุ่ม สีเขียวอ่อน สีชมพู หรือสีเขียวอมม่วง เนื้อสีขาว ฉ่ำน้ำ มีรสเปรี้ยว เมล็ดแบน กระจายพันธุ์ทางตอนล่างของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็ยไม้หายากในหมู่เกาะโมลุกกะและเกาะนิวกินี มีปลูกในไทย อินโดจีน และอินเดีย ผลสุกรับประทานเป็นผลไม้สด ใช้ทำโรยัก ดอง หรือทำแยม ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสด ผลดิบใช้แก้ท้องเสีย น้ำคั้นจากใบใช้รักษาอาการอักเสบของเปลือกตา เนื้อไม้แข็งใช้ทำเฟอร์นิเจอร์และของใช้ในบ้าน ผลตะขบไท.

ใหม่!!: พืชดอกและตะขบไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตะคร้อ

ตะคร้อ อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นไม้ยืนต้น และเป็นพืชพื้นเมืองในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลสุกกินได้ รสเปรี้ยว ใบอ่อนกินเป็นผัก.

ใหม่!!: พืชดอกและตะคร้อ · ดูเพิ่มเติม »

ตะคร้ำ

ตะคร้ำ เป็นพืชในวงศ์ Burseraceae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว โคนใบไม่เท่ากัน ยอดอ่อนมีขนปกคลุมหนาแน่น ไม่มีหูใบ ดอกสีเหลืองอ่อนหรือชมพู ผลกลมมน ภายในเนื้อผลฉ่ำน้ำ ไฟล์:Fruit ARUNELLI.jpg|ผลตะคร้ำ ไฟล์:Garuga pinnata (Kakad) in Kinnarsani WS, AP W IMG 5726.jpg|ช่อดอกระยะไกล ไฟล์:Garuga pinnata (Kakad) in Kinnarsani WS, AP W IMG 5733.jpg|ผลอ่อน ไฟล์:Garuga pinnata (Kakad) in Kinnarsani WS, AP W IMG 5735.jpg|เปลือกต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและตะคร้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ตะแบกนา

ตะแบกนา (ตะแบกไข่, เปื๋อยนา, เปื๋อยหางค่าง) เป็นต้นไม้ผลัดใบ 15-30 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อยใบอ่อนสีแดงมีขนสั้นอ่อนนุ่มปกคลุม ใบแก่ขนจะหลุดหายไป แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 5 - 7 เซนติเมตร ยาว 12 - 20 เซนติเมตร ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนสอบ ดอกสีม่วงอมชมพูต่อมาเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือเกือบขาว ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล รูปรี ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ออกดอก กรกฎาคม - กันยายน ไม่แน่นอนแล้วแต่สภาพพื้นที่และสิ่งแวดล้อม เก็บเมล็ดได้ประมาณเดือน ธันวาคมขึ้นไป ผลแก่ จะแตกเพื่อโปรยเมล็ดในราวเดือน มีนาคม การขยายพันธุ์โดยเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและตะแบกนา · ดูเพิ่มเติม »

ตะแบกเกรียบ

ตะแบกเกรียบ Pierre เป็นพืชในวงศ์ Lythraceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้น เปลือกบางสีน้ำตาล ลอกออกได้เป็นแผ่น ใบเรียงตรงข้าม ใบมีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลอมแดง เมื่อแก่จะไม่มีขนหรือมีขนตามเส้นใบด้านล่าง ดอกช่อ ดอกสีชมพูอมม่วงหรืออมขาว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม มี 6 กลีบ ทรงสามเหลี่ยม ติดทน กลีบดอก 6 กลีบ มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก อันที่อยู่ด้านนอกยาวกว่าอันด้านใน รังไข่มีขนสีขาว เกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตก เกลี้ยง หรือมีขนส่วนปลาย เมล็ดจำนวนมาก มีปีก พบในไทยทุกภาค ยกเว้นภาคใต้และในเขตอินโดจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและตะแบกเกรียบ · ดูเพิ่มเติม »

ตะโก

ตะโก เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางประเภทใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ EBENACEAE โดยมีชื่อสามัญว่า Ebony ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์นั้นก็คือ Diospyios rhodcalyx.

ใหม่!!: พืชดอกและตะโก · ดูเพิ่มเติม »

ตะไคร้

ตะไคร้; ชื่อท้องถิ่น: จะไคร (ภาคเหนือ), หัวซิงไค (ภาคอีสาน), ไคร (ภาคใต้), คาหอม (แม่ฮ่องสอน), เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์), ห่อวอตะโป่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)) เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว ปลายใบมีขนหนาม ลำต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจำนวนมาก ตะไคร้เป็นพืชที่สามารถนำส่วนต้นหัวไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพืชสมุนไพรด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและตะไคร้ · ดูเพิ่มเติม »

ตะไคร้หอม

ตะไคร้หอม เป็นพืชวงศ์หญ้าอายุหลายปี มีต้นกำเนิดในเขตร้อนของเอเชีย มีน้ำมันหอมระเหยซึ่งใช้ไล่ยุงได้ ไม่นิยมรับประทานมีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาทีโดยสารสกัดด้วยเอทานอลจากลำต้นสามารถยับยั้งการเจริญของคะน้าได้ และนอกจากนี้ ผู้ที่นำเข้าตะไคร้หอมเข้ามาในประเทศไทย คือคุณหลวงมิตรธรรมพิทักษ์โดยนำเข้ามาจาก อินเดียและนำไปปลูกที่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรีเป็นที่แรก ปัจจุบันมีการนำไปปลูกทั่วประเท.

ใหม่!!: พืชดอกและตะไคร้หอม · ดูเพิ่มเติม »

ตะเคียน

ตะเคียน หรือ ตะเคียนทอง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ไม้ตะเคียน สามารถพบในประเทศบังกลาเทศ, ประเทศกัมพูชา, ประเทศอินเดีย, ประเทศลาว, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศพม่า, ประเทศไทย และประเทศเวียดนาม ตะเคียนยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง เชียงใหม่) แคน (ตะวันออกเฉียงเหนือ, เลย) จะเคียน (เหนือ) จืองา (มลายู นราธิวาส) จูเค้ โซเก (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ตะเคียนใหญ่ (กลาง) ตะเคียนทอง (กลาง, ประจวบคีรีขันธ์) ไพร (ละว้า เชียงใหม่).

ใหม่!!: พืชดอกและตะเคียน · ดูเพิ่มเติม »

ตะเคียนชันตาแมว

ตะเคียนชันตาแมว จัดอยู่ในวงศ์ยางนา (Dipterocarpaceae) เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดนราธิวาส ลักษณะของตะเคียนชันตาแมว เป็นไม้ต้นสูงถึง 40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือบางครั้งแผ่กว้าง ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลเข้มแตกตามยาวและล่อนเป็นสะเก็ด ตกชันสีขาวใส เปลือกในสีเหลืองแกมเขียว เนื้อไม้สีเหลืองน้ำตาลแกมเหลืองถึงสีน้ำตาลเข้ม ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 2-4 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและตะเคียนชันตาแมว · ดูเพิ่มเติม »

ตะเคียนหิน

ตะเคียนหิน เป็นพืชในวงศ์ยางนา (Dipterocarpaceae) กระจายพันธุ์ในแถบอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดอำนาจเจริญ ลำต้นใช้ทำของใช้ได้ เนื้อไม้และดอกสามารถนำมาทำเป็นยารักษาโร.

ใหม่!!: พืชดอกและตะเคียนหิน · ดูเพิ่มเติม »

ตับเต่า (พืช)

ตับเต่า เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Menispermaceae ใช้ลำต้นเกี่ยวพันต้นไม้อื่น ไม่มีเนื้อไม้ ปลายใบกลม โคนเว้าเข้าหาก้านใบ ขอบใบเรียบ หลังใบมีสีเขียวออกสีนวล ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กมีจำนวนมาก กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อน กลีบดอกสีเหลืองอ่อน เกสรตัวผู้สีเข้ม ล้อมเกสรตัวเมียอยู่กลางดอก ผลเดี่ยว ผิวเรียบ แก่แล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วงอมแดงหรือสีดำ ผลใช้เป็นอาหารสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและตับเต่า (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ตับเต่านา

รูปวาดตับเต่านา ตับเต่านา หรือ ผักตับเต่า, ตับเต่าน้ำ, บัวฮาวาย (Frogbit, ในอเมริกาเหนือเรียก Common Frogbit หรือ European Frogbit) เป็นพืชลอยน้ำ อายุหลายฤดู จัดอยู่ในสกุล Hydrocharis วงศ์ Hydrocharitaceae ขึ้นตามแหล่งน้ำตื้น ๆ แหล่งน้ำนิ่งทั่วไป หรือในนา มีไหลทอดเลื้อย ถ้าน้ำตื้นจะมีรากยึดดินใต้น้ำ ใบโผล่เหนือน้ำหรือลอยที่ผิวน้ำ ตับเต่านามีการกระจายพันธุ์ในทวีปยุโรปและเอเชีย พบได้ที่ความสูง 0–1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล สำหรับประเทศไทยพบได้ทุก.

ใหม่!!: พืชดอกและตับเต่านา · ดูเพิ่มเติม »

ตังกุย

ตังกุย หรือ โสมตังกุย เป็นสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากประเทศจีน เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี รากอวบหนา ทรงกระบอก มีกลิ่นเฉพาะตัว หอมแรง ใบหยักลึกแบบขนนกสามชั้น ออกดอกเป็นช่อซี่ร่มตามปลายกิ่ง โคนแผ่เป็นกาบ สีอมม่วง ผลเป็นผลแบบผักชี พบแพร่กระจายในป่าดิบในเขตเขาสูงทางภาคกลางของจีน เช่น เสฉวน หูเป่ย กานซีจนถึงยูนนาน นอกจากนั้นยังมีปลูกในญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม.

ใหม่!!: พืชดอกและตังกุย · ดูเพิ่มเติม »

ตังเซียม

ตังเซียม (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) หรือตานเซิน (ภาษาจีนกลาง) เป็นพืชอายุหลายปีในสกุล Salvia และเป็นพืชที่ใช้รากเป็นยาในตำรายาจีน เป็นพืชท้องถิ่นในจีนและญี่ปุ่น รากเปลือกนอกสีน้ำตาล หยาบเป็นรอยย่น ใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือด ใช้รักษาฝี ตานเซิน มีสรรพคุณเกี่ยวกับโรคเลือดหลายๆ ด้านในทางศาสตร์แพทย์จีน จนได้รับฉายาว่า “ยาตัวเดียว สรรพคุณเหมือนยา 4 ตัว คือ ตำรับยา ชื่ออู้ทัง (四物汤) ทั้งตำรับซึ่งมีตัวยา 4 ตัวเลยทีเดียว”http://www.samluangclinic.com/index.php/blog/cat/Article_2010/post/Chinese_Medicine_0810/  กล่าวคือ ตำรับยา ซื่ออู้ทัง (四物汤) เป็นตำรับคลาสสิก เกี่ยวกับบำรุงเลือด และการปรับระบบเลือด ซึ่งครอบคลุมเรื่องของการบำรุงเลือด, สร้างเลือด, ขับเคลื่อนเลือด, สลายก้อนเลือด, ระงับอาการปวด (จากการอุดตันของเลือด) ตัวยาสำคัญของยาตำรับนี้คือ ตังกุย (当归), สูตี้ (.熟地.), ไป๋สาว (白芍), ชวนทรวง (川芎) ตานเซิน (丹参) ตัวเดียว มีสรรพคุณครอบคลุมทุกด้าน ตามตำรับยา ซื่ออู้ทัง ทุกประการ ในทางคลินิก จึงกล่าวถึงสรรพคุณหลักๆ ในการรักษาไว้ 4 ประการ                 1.

ใหม่!!: พืชดอกและตังเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ตั้งอึ๊ง

ตั้งอึ๊ง หรือรูบาบจีน อยู่ในวงศ์ Polygonaceae ภาษาจีนกลางเรียกต้าหวางหรือย่างย่งต้าหวาง เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ รากและเหง้าอ้วนสั้น เปลือกต้นเป็นร่องตามยาว พองตามข้อ ใบหยักเป็นแฉก ดอกช่อ ดอกย่อยออกเป็นกระจุก สีเขียวหรือขาวอมเหลือง ผลแห้ง เมล็ดล่อน เป็นพืชพื้นเมืองในจีนพบในมณฑลฝูเจี้ยน กุ้ยโจว เหอหนาน หูเป่ย์ ชานซี เสฉวน และยูนนาน ในจีนปลูกเพื่อใช้เป็นยา พืชชนิดนี้มีการศึกษาทางคลินิกในการใช้กำจัดไวรัสเฮปาทิทิสบี ซึ่งการใช้ร่วมกับอินเตอร์เฟียรอนให้ผลที่เป็นที่พอใ.

ใหม่!!: พืชดอกและตั้งอึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

ตั้งโอ๋

ตังโอ๋ เป็นผักชนิดหนึ่ง (Leucanthemum coronarium, Chrysanthemum coronarium) อยู่ในสกุลเดียวกับเบญจมาศ ลำต้นและใบใช้รับประทานได้ นิยมใช้เป็นส่วนประกอบในตำรับอาหารจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและตั้งโอ๋ · ดูเพิ่มเติม »

ตากะปอ

ตากะปอ เป็นพืชในสกุลหญ้าดอกลาย วงศ์ Gentianaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว กิ่งเป็นสี่เหลี่ยม ไม่ค่อยแตกกิ่ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ปลายใบแหลม ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวมีลายสีม่วงตามยาว มีต่อมสีเขียว 2 ต่อมที่โคนกลีบดอก ผลแก่แล้วแตกเป็นสองพู เมล็ดขนาดเล็ก มีจำนวนมาก เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและตากะปอ · ดูเพิ่มเติม »

ตาล

ตาล หรือ ตาลโตนด หรือ โหนด ในภาษาใต้ เป็นพันธุ์ไม้พวกปาล์มขนาดใหญ่ สกุล Borassus ในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) เป็นปาล์มที่แข็งแรงมากชนิดหนึ่ง และเป็นปาล์มที่แยกเพศกันอยู่คนละต้น ต้นสูงถึง 40 เมตร และโตวัดผ่ากลางประมาณ 60 เซนติเมตร ลำต้นเป็นเสี้ยนสีดำแข็งมาก แต่ไส้กลางลำต้นอ่อน บริเวณโคนต้นจะมีรากเป็นกลุ่มใหญ่ ใบเหมือนพัดขนาดใหญ่ กว้าง 1 – 1.5 เมตร มีก้านเป็นทางยาว 1 – 2 เมตร ขอบของทางของก้านทั้งสองข้าง มีหนามเหมือนฟันเลื่อยสีดำแข็ง ๆ และคมมาก โคนก้านแยกออกจากกันคล้ายคีมเหล็กโอบหุ้มลำต้นไว้ ช่อดอกเพศผู้ใหญ่ รวมกันเป็นกลุ่มคล้ายนิ้วมือ เรียกว่านิ้วตาลแต่ละนิ้วยาวประมาณ 40 เซนติเมตร และโตวัดผ่า กลางประมาณ 1.5 – 2 เซนติเมตร โคนกลุ่มช่อจะมีก้าน ช่อรวมและมีกาบแข็ง ๆ หลายกาบหุ้มโคนก้านช่ออีกทีหนึ่ง ช่อดอกเพศเมียก็คล้าย ๆ กัน แต่นิ้วจะเป็นปุ่มปม ปุ่มปมคือดอกที่ติดนิ้วตาล ดอกหนึ่ง ๆ โตวัดผ่ากลางประมาณ 2 เซนติเมตร และมีกาบแข็ง ๆ หุ้ม แต่ละดอก กาบนี้จะเติบโตไปเป็นหัวจุกลูกตาลอีกทีหนึ่ง ผลกลมหรือรูปทรงกระบอกสั้น ๆ โตวัดผ่ากลางประมาณ 15 เซนติเมตร ผลเป็นเส้นใยแข็งเป็นมัน มักมีสีเหลืองแกมดำคล้ำเป็นมันหุ้มห่อเนื้อเยื่อสีเหลืองไว้ภายใน ผลหนึ่ง ๆ จะมีเมล็ดใหญ่แข็ง 1 – 3 เมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและตาล · ดูเพิ่มเติม »

ตาลฟ้า

ตาลฟ้า (Bismarck palm) เป็นปาล์มชนิดเดียวในสกุล Bismarckia อยู่ในวงศ์ย่อยลาน (Coryphoideae) มีถิ่นกำเนิดในมาดากัสการ์ ชื่อสกุลของตาลฟ้าตั้งชื่อตามอดีตนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ออทโท ฟอน บิสมาร์ค ตาลฟ้าเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 25 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 40-50 เซนติเมตร ใบรูปพัดแกนโค้ง ขอบใบจักลึกถึงครึ่งตัวใบ แผ่นใบกว้าง 2-3 เมตร สีเขียวอมฟ้าและมีนวลสีขาวปกคลุม ก้านใบยาว 2 เมตร มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ขอบก้านเป็นสันแหลม โคนก้านแตกที่กึ่งกลาง ช่อดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ช่อดอกออกระหว่างกาบใบ ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดียว ทรงรูปกลมรี ปลายแหลม ขนาด 4 เซนติเมตร ผลสุกสีน้ำตาล ตาลฟ้านิยมปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งที่มีแสงแดดจัด ใบตาลฟ้าใช้มุงหลังคา ฝาบ้านหรือสานเป็นตะกร้าได้ ส่วนแกนกลางลำต้นรับประทานได้ มีรสขม หรือใช้ทำแป้งสาคู.

ใหม่!!: พืชดอกและตาลฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ตาลปัตรฤๅษี

ตาลปัตรฤๅษี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Limnocharis flava (L.) Buchenau) หรือ ผักพาย หรือ ผักต้นจอง ของอิสาน มีชื่อพื้นเมืองอื่นได้แก่ บอนจีน นางกวัก หรือ ตาลปัตรยายชี เป็นไม้น้ำ เป็นไม้น้ำ พบบริเวณนาข้าว และบริเวณที่มีน้ำขัง ลำต้นเหง้าฝังจมอยู่ในโคลนเจริญเป็นต้น บางครั้งมีไหลสั้น ๆ จำนวนมาก ใบเป็นใบเดี่ยว รูปร่างกลมรี ยาว 15-18 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและตาลปัตรฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

ตาลน้ำเงิน

ตาลน้ำเงิน (Blue Latan Palm) เป็นปาล์มในสกุล Latania เป็นปาล์มเฉพาะถิ่นของหมู่เกาะแมสการีนในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 8 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ใบรูปพัดสีเขียวอมน้ำเงิน ช่อดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ยาว 1.5 เมตร ออกระหว่างกาบใบ ผลรูปไข่ขนาด 5 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีเขียวเข้ม นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและตาลน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ตาลแดง

ตาลแดง (Red Latan Palm) เป็นปาล์มในสกุล Latania เป็นปาล์มเฉพาะถิ่นของเกาะเรอูว์นียงในหมู่เกาะแมสการีน ลักษณะเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 8 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ใบรูปพัด เมื่อต้นยังเล็ก ก้านใบ สะดือใบ และขอบใบมีสีแดงเข้ม ช่อดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ออกระหว่างกาบใบ ยาว 1.5 เมตร ผลรูปไข่ขนาด 5 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีเขียวอมน้ำตาล นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและตาลแดง · ดูเพิ่มเติม »

ตาลเหลือง

ตาลเหลือง (Yellow Latan Palm) เป็นปาล์มในสกุล Latania เป็นปาล์มเฉพาะถิ่นของเกาะโรดรีเกสในหมู่เกาะแมสการีน ลักษณะเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 8 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ใบรูปพัดสีเหลืองอมเขียว เมื่อต้นยังเล็ก ก้านใบและสะดือใบมีสีเหลืองหรือเหลืองอมส้ม ช่อดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ออกระหว่างกาบใบ ผลรูปไข่ขนาด 5 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีเขียวอมน้ำตาล นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและตาลเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ตาว

ตาว, ต๋าว หรือ ชก (จังหวัดระนองเรียก "ฉก" หรือ "กาฉก")มัณฑนา นวลเจริญ.

ใหม่!!: พืชดอกและตาว · ดูเพิ่มเติม »

ตาตุ่มทะเล

ตาตุ่มทะเล หรือมูตอ บูตา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Euphorbiaceae เปลือกลำต้นแตกเป็นร่องยาว สีน้ำตาลเข้มถึงดำ ยางสีขาว มีพิษ ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม เมื่อแก่เป็นสีแดง ขอบใบหยักเล็กน้อย ผิวเรียบเป็นมัน ดอกเป็นดอกช่อ ติดกันแน่น มีก้านเดียว แยกเพศและแยกต้นตัวผู้ตัวเมีย ดอกตัวผู้สีเหลือง ส่วนดอกตัวเมียสีเขียว เกสรตัวเมียเป็นตุ่ม ผลเดี่ยว เกือบกลม มีพูสามพู ผิวเหลือง สีเขียวอ่อนถึงน้ำตาล เป็นพืชที่พบทั่วไปตามป่าชายเลนตั้งแต่อินเดียจนถึงออสเตรเลีย ยางถ้าเข้าตาทำให้ตาบอด ถ้ากินเข้าไปทำให้ท้องเสียอย่างรุนแรง ถูกผิวหนังทำให้ระคายเคือง ใบแห้งบดเป็นผงมีสารพิษมากพอที่จะใช้ฆ่าปลาได้ รากฝนผสมกับน้ำขิงใช้พอกแก้อาการบวมตามมือและเท้า แก่นเผาไฟให้หอม ใช้เป็นส่วนผสมในยาขับลม ฟอกเลือด ขับระดู.

ใหม่!!: พืชดอกและตาตุ่มทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ตาน

ตานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและตาน · ดูเพิ่มเติม »

ตานหม่อน

ตานหม่อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vernonia elliptica DC. (Compositae)) ไม้เถาหรือไม้พุ่มเลื้อย ขึ้นแทรกในซอกหินตามหน้าผาชัน ลำต้น แตกกิ่งแขนงระเกะระกะ ห้อยระย้าลงมาตามหน้าผา กิ่งก้านเล็กเรียว มีสันตามยาว ขนสีเงิน ใบเดี่ยว เรียงสลับรูปใบหอกกลับ ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีเงิน ด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีขาว ดอกเล็ก ดอกเป็นช่อกระจุกแน่น เริ่มบานเป็นสีม่วง เมื่อโรยเป็นสีขาว มีกลิ่นหอม ออกที่ยอดหรือซอกใบ กลีบดอกสีนวล ผลเป็นผลแห้งไม่แตก ผลแห้งมีต่อมใสๆ สีน้ำตาลอ่อน กระจายตามผิวผล มีขนเป็นพู่ติดรอบปลายผล ตานหม่อน จัดเป็นสมุนไพรที่สามารถนำมาทำเป็นยาขับพยาธิได้ ใช้เป็นยาแก้พิษตานซาง ใช้ขับพยาธิไส้เดือนในท้อง.

ใหม่!!: พืชดอกและตานหม่อน · ดูเพิ่มเติม »

ตานขโมย

ตานขโมย เป็นกล้วยไม้ในสกุลตานขโมย ดอกสีเหลือง ดอกช่อแบบแยกแขนงที่ปลายยอด ก้านช่อดอกสีเขียว ตัดกับสีของกลีบดอกชัดเจน ออกดอกช่วงเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ในประเทศไทย พบที่ นครราชสีมา ชัยภูมิและพิษณุโลก หมวดหมู่:สกุลตานขโมย.

ใหม่!!: พืชดอกและตานขโมย · ดูเพิ่มเติม »

ตานดำ

ตานดำ หรือ ตานส้าน, ถ่านไฟผี, มะเกลือป่า หรือ มะตูมดำ เป็นพืชในสกุลมะพลับ กระจายพันธุ์ในอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนาม ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี ยาว 2-12 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเว้าคล้ายรูปหัวใจ แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยงรูประฆัง มี 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปถ้วย ปลายแยก 4 แฉก มีสีเขียว กลีบดอกรูปคนโทสีเหลือง ยาว 0.8-1 เซนติเมตร มี 4 กลีบ มีเกสรเพศผู้ 14-20 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่มี 8 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียมี 4 อัน มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4-12 อัน ผลเป็นผลสดทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงบานออกหรือพับงอกลับ เมื่อแก่มีสีเหลือง ผลมีพิษใช้เบื่อปลาและนำมาย้อมสีได้ เปลือกต้นมีสรรพคุณลดไข้และแก้อัก.

ใหม่!!: พืชดอกและตานดำ · ดูเพิ่มเติม »

ตานเสี้ยน

ตานเสี้ยน เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Sapotaceae แตกกิ่งจำนวนมาก กิ่งขนาดเล็กและเหนียว เป็นไม้ผลัดใบ ใบเดี่ยว ดอกช่อ สีขาวนวล กลิ่นหอม โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นสองชั้น ชั้นละ 5 กลีบ ออกดอกเดือนธันวาคม – มกราคม ผลแก่เดือนมีนาคม – มิถุนายน พบในภาคกลางและภาคตะวันตกของไทย พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 2 มกราคม..

ใหม่!!: พืชดอกและตานเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

ตานเหลือง

ตานเหลือง, ช้างน้าว, กำลังช้างสาร หรือ ตานนกกด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ochnaceae ลำต้นคดงอ ใบอ่อนสีน้ำตาลแดง กิ่งก้านออกต่ำ ดอกสีเหลือง กลีบรองดอกสีแดงคล้ำ ผลกลม เป็นดอกไม้ที่เป็นที่นิยมมากทางภาคใต้ของเวียดนามและเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดมุกดาหาร รากใช้ขับพยาธิและฟอกน้ำเหลืองทางภาคอีสานใช้ลำต้นต้มน้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อย ทางจังหวัดอุบลราชธานีใช้แก่นต้มน้ำดื่มแก้ประดง ชาวเขาเผ่ามูเซอใช้รากเป็นยาบำรุงกำลัง โดยตากแห้ง หรือดองเหล้า หรือต้มน้ำดื่ม.

ใหม่!!: พืชดอกและตานเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ตาเหินเหลือง

ตาเหินเหลือง เป็นพืชมีเหง้าใต้ดิน ใบเดี่ยว เรียงแบบสลับ ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นหลอด กลีบดอกสีเหลืองอ่อนแกมขาว ผลแตกเป็นสามพู ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและตาเหินเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ตำลึง

ตำลึง ((L.) Voigt) เป็นไม้เลื้อยที่มีมือจับใช้สำหรับเลื้อยเกาะต้นไม้ใหญ่หรือไม้ปักหลัก มีสีเขียวจัดเป็นสมุนไพรไทย ตำลึงมีชื่อท้องถิ่นอื่นอีกคือ ผักแคบ (ภาคเหนือ) แคเด๊าะ (กะเหรี่ยงและแม่ฮ่องสอน) ตำลึง,สี่บาท (ภาคกลาง) ผักตำนิน (ภาคอีสาน).

ใหม่!!: พืชดอกและตำลึง · ดูเพิ่มเติม »

ตำลึงตัวผู้

ผลตำลึงตัวผู้ ตำลึงตัวผู้ อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae เป็นไม้เลื้อยขนาดเล็ก มีลำต้นเป็นหัวใต้ดิน ลำต้นเลื้อยพัน ดอกสีขาว ผลกลมรียาว สีเขียว สุกเป็นสีส้มแดง ไม่ควรนำมารับประทาน เพราะอาจทำให้เกิดอาการท้องร่วงอย่างรุนแรงได้.

ใหม่!!: พืชดอกและตำลึงตัวผู้ · ดูเพิ่มเติม »

ตำเสา

ตำเสา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Theaceae ไม่ผลัดใบ เปลือกสีน้ำตาลมีรอยแตกตื้นๆ ใบเดี่ยว ด้านบนสีเขียวเข้มเกลี้ยงเป็นมัน ด้านล่างมีสีอ่อนกว่า ขอบเรียบ ดอกเดี่ยว สีเหลืองนวล ดอกขนาดเล็ก ผลเดี่ยวกลม สีเหลือง เกลี้ยงหรือสากเล็กน้อย ขั้วผลสีน้ำตาล เมื่อสุกแตกออกเห็นเนื้อหุ้มเมล็ดสีแดง พบในไทย มาเลเซียและสิงคโปร์ เนื้อไม้ใช้การก่อสร้าง.

ใหม่!!: พืชดอกและตำเสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำเสาหนู

ผล ทรงต้น ตำเสาหนู เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Sapindaceae เปลือกลำต้นสีน้ำตาลแตกเป็นร่อง ตามความยาวของลำต้น ใบเดี่ยว เส้นกลางใบสีเขียวเหลืองนูนด้านหลังใบ ดอกช่อ กลีบดอกมีขนาดเล็ก ผลเดี่ยว มีปีก 2-3 พู ผลสีเขียวอ่อน เมื่อแก่เป็นสีน้ำตาลอ่อน เมล็ดเดียว ปลิวตามลมได้.

ใหม่!!: พืชดอกและตำเสาหนู · ดูเพิ่มเติม »

ติ้วขน

ติ้วขน หรือ ผักติ้ว ภาษาลาวเรียก "ไม้ติ้ว" (ໄມ້ຕີ້ວ) ภาษามลายูเรียก "มัมปัต" (mampat) ภาษาเวียดนามเรียก "ถั่ญหงั่ญแด็ป" (thành ngạnh đẹp) เป็นไม้ผลัดใบขนาดเล็ก เปลือกต้นสีเทา เปลือกชั้นในมียางสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ใบอ่อนสีชมพูอ่อนหรือแดง กลีบดอกบางสีชมพู ออกดอกในฤดูหนาว พบได้ตั้งแต่พม่า ลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ยอดและใบอ่อนรับประทานเป็นผักได้ ยางและใบใช้เป็นยาสมุนไพร เปลือกใช้เป็นสีย้อมผ้า ให้สีน้ำตาล ในประเทศลาว ใช้เผาถ่าน และใช้กินเป็นผัก สารสกัดด้วยน้ำของติ้วขนสามารถกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของปลานิลโดยปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมสารสกัดจากติ้วขนในอัตราส่วน 1.5 % (w/w) จะมีภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ (nonspecific immune response) สูงขึ้น.

ใหม่!!: พืชดอกและติ้วขน · ดูเพิ่มเติม »

ติ้วเกลี้ยง

ติ้วเกลี้ยง เป็นพืชในวงศ์ Hypericaceae ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายติ้วขน ต่างกันที่สีใบ ใบของติ้วเกลี้ยงเป็นสีเขียวออกเทา ดอกสีแดง มีต่อมสีเหลืองในชั้นของเกสรตัวผู้ พบในบรูไน จีน ฮ่องกง อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทยและ เวียดนาม ใช้ประโยชน์ได้เช่นเดียวกับติ้วขน.

ใหม่!!: พืชดอกและติ้วเกลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

ตูมกาขาว

ตูมกาขาว เป็นพืชในวงศ์ Loganiaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทาอมเหลือง ผลกลม เนื้อหนา สุกแล้วมีสีส้ม รับประทานได้ รากต้มน้ำเป็นยาแก้ท้องอืด เปลือกต้นเป็นยาเจริญอาหาร ชาวกะเรนนีใช้เปลือกต้นเป็นยาแก้ปวดท้อง.

ใหม่!!: พืชดอกและตูมกาขาว · ดูเพิ่มเติม »

ตีนฮุ้งดอย

ตีนฮุ้งดอย หรือ สัตฤๅษี (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์ Melanthiaceae มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน, อนุทวีปอินเดียและคาบสมุทรอินโดจีน เป็นไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน สูงได้ถึง 1 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนรอบข้อ 4-9 ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและตีนฮุ้งดอย · ดูเพิ่มเติม »

ตีนตั่ง

ตีนตั่ง เป็นพืชในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ผิวเกือบเกลี้ยง มีเลนติเซล ไม่มีหูใบ เส้นใบด้านล่างเห็นชัดเจน ดอกเดี่ยว กลีบสีเหลืองแกมเขียว กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีนไปจนถึงเกาะบอร์เนียว น้ำจากภายในลำต้นรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและตีนตั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ตีนตุ๊กแก

ตีนตุ๊กแก (Coatbuttons, Mexican daisy) เป็นไม้ล้มลุก ออกดอกตลอดปี พบขึ้นทั่วไปเป็นพืชที่ทนแล้งได้ดี มีลำต้นทอดนอนไปตามพื้น ชูยอดและดอกขึ้นตามต้นและใบมีขน ข้อของต้นที่แตะพื้นจะมีรากและเจริญเป็นต้นใหม่ได้.

ใหม่!!: พืชดอกและตีนตุ๊กแก · ดูเพิ่มเติม »

ตีนนก

กิ่งของต้นตีนนก ต้นตีนนกในป่า ต้นตีนนก ตีนนก หรือสมอตีนเป็ด ลือแบ ชื่อสามัญอื่นๆของพืชนี้ได้แก่ ในศรีลังกาเรียก "Milla" ในอินโดนีเซียเรียกลาบัน ในเกาะสุลาเวสีเรียก "gulimpapa" ในพม่าเรียก "kyetyo po" ในมาเลเซียเรียกเลอบัน "leban" และในฟิลิปปินส์เรียก "molave" เป็นไม้ต้นในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเหลืองหรือสีน้ำตาล ใบประกอบแบบฝ่ามือ ดอกช่อ กลีบดอกสีน้ำเงินหรือสีม่วงเข้ม ผลเดี่ยวทรงกลม สุกแล้วเป็นสีม่วงเข้มจนเกือบดำ เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ใช้เป็นยาขับลมในลำไส้ ใบใช้ตำแล้วพอกแผล ผลใช้แก้อาการบิด ไม้ใช้ทำเครื่องมือทางการเกษตรและที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: พืชดอกและตีนนก · ดูเพิ่มเติม »

ตีนเป็ดทราย

ผลตีนเป็ดทรายดิบในอินโดนีเซีย ตีนเป็ดทราย เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Apocynaceae ยางสีขาว รากแผ่กว้างเพื่อยึดกับทราย ใบยาวรี ค่อนข้างหนา ผิวเคลือบใบหนา ดอกสีขาว ผลทรงกลมรี เมื่อสุกสีแดง มีพิษ รับประทานไม่ได้ ใบใช้เป็นยารักษาโรคผิวหนัง ชื่อสามัญของพืชนี้ในแต่ละถิ่นจะต่างกันไป ภาษาอังกฤษเรียก sea mango (ตรงตัว: มะม่วงทะเล), ในมาดากัสการ์เรียก tanguin samanta tangena, ในซามัวเรียก leva, ในตองงาเรียก toto, ในฟีจีเรียก vasa ส่วนในภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู และภาษาซุนดาเรียก bintaro.

ใหม่!!: พืชดอกและตีนเป็ดทราย · ดูเพิ่มเติม »

ตีนเป็ดน้ำ

ตีนเป็ดน้ำ หรือ ตีนเป็ดทะเล (Suicide tree, Pong-pong, Othalanga) มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกว่า ตุม (กาญจนบุรี), พะเนียงน้ำ หรือ สั่งลา (กระบี่), มะตะกอ (มลายู-นราธิวาส)เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กชนิดหนึ่ง นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ มีลักษณะเป็นทรงพุ่มกลม ใบแน่น เป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีน้ำยางสีขาว กลีบดอกมีความสวยงาม มีสีขาว เป็นไม้ที่ปลูกได้ง่าย ขึ้นได้ดี ต้องการแดดและความชื้นสูง สูงเต็มที่ประมาณ 12 เมตร มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอนใต้ของจีน พบจนถึงนิวแคลิโดเนีย มักขึ้นในป่าชายเลนหรือบริเวณที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำบริเวณชายทะเล ตีนเป็ดน้ำมีผลทรงกลม คล้ายผลส้ม มีสีเขียว แต่ทว่ามีพิษ รับประทานมากอาจทำให้เสียชีวิตได้ อีกทั้งยางก็มีพิษ ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ในการทำเป็นสารเคมีฆ่าเหาได้.

ใหม่!!: พืชดอกและตีนเป็ดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ตีนเป็ดแคระ

ตีนเป็ดแคระ เป็นพืชในสกุลพญาสัตบรรณ วงศ์ Apocynaceae เป็นไม้พุ่ม แตกกิ่งมาก เปลือกสีน้ำตาลเข้ม เส้นกลางใบด้านบนนูนเด่น และมีสีม่วงแดง โคนใบรูปลิ่ม ดอกช่อ โคนกลีบดอกเป็นหลอดสีขาว ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ไม่มีกลิ่น ออกดอกเดือนมกราคม- มีนาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดพังงา โดย Curtis ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและตีนเป็ดแคระ · ดูเพิ่มเติม »

ต่อไส้

ต่อไส้ หรือ เพี้ยฟาน จ๊าตอง ตานขโมย เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Sapindaceae เปลือกแตกเป็นร่องเล็กๆ สีน้ำตาล ใบประกอบ สีเขียวอ่อน ดอกช่อสีเหลืองอมเขียว ก้านดอกย่อยสั้น ผลเดี่ยวกลม สุกแล้วเป็นสีแดง ผิวเกลี้ยงเป็นมัน ยอดอ่อนใช้เป็นผักเหนาะ กินกับแกงและขนมจีน ชาวไทยอีสานใช้ทุกส่วนต้มน้ำดื่ม บำรุงโลหิต ขับน้ำคาวปลา รากต่อไส้ใช้ผสมในยาแก้หอบหื.

ใหม่!!: พืชดอกและต่อไส้ · ดูเพิ่มเติม »

ต่างไก่ป่า

ต่างไก่ป่า Buch.-Ham.

ใหม่!!: พืชดอกและต่างไก่ป่า · ดูเพิ่มเติม »

ต้อยติ่ง

thumb ต้อยติ่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ruellia tuberosa) เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Acanthaceae เติบโตได้ดีทั้งกลางแจ้งและในร่ม ต้นเจริญเต็มที่สูง 6½ นิ้ว ใบกลมรี ตาแตกยอดได้สี่ข้าง ออกดอกสีม่วงน้ำเงินเฉพาะตอนฤดูฝน เมื่อผสมเกสรแล้วจะให้เมล็ด ประมาณ 25-32 เมล็ดอยู่ในฝัก เมื่อฝักแก่จะกลายเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ พอฝักโดนน้ำ (โดยธรรมชาติคือน้ำฝน) ก็จะแตกออกทำให้เมล็ดกระเด็นไปตกที่อื่น ซึ่งเป็นเทคนิคของการขยายพันธุ์ (เด็ก ๆ ชอบเล่นโดยนำฝักแก่ใส่ลงในน้ำให้แตก) ชื่ออื่นที่เรียกเช่น อังกาบฝรั่ง, เป๊าะแป๊ะ, minnieroot, popping pod, cracker plant เป็นต้น รากของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยารักษาโรคไต โรคไอกรน หรือแม้แต่เป็นยาขับเลือด ถ้าใช้ในปริมาณที่เจือจางก็สามารถกำจัดสารพิษในเลือด บรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ ส่วนใบของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ หรือใช้พอกแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ แต่ต้อยติ่งมักจะถูกถอนทิ้งเพราะคนคิดว่าเป็นวัชพืช สรรพคุณของต้อยติ่ง สรรพคุณต้นต้อยติ่ง รากช่วยรักษาโรคไอกรน (ราก) รากใช้เป็นยาขับเลือด (ราก) รากต้อยติ่งสามารถนำมาใช้เป็นยารักษาโรคไตได้ (ราก) สรรพคุณต้อยติ่งฝรั่ง รากช่วยดับพิษในร่างกาย (ราก) ช่วยทำให้อาเจียน (ราก) สรรพคุณต้อยติ่ง ใบใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ (ใบ) รากหากนำมาใช้ในปริมาณที่เจือจางสามารถช่วยจำกัดสารพิษในเลือดได้ (ราก) ช่วยบรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ (ราก) ช่วยขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ (ราก) ใบใช้พอกแก้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ (ใบ) เมล็ดใช้พอกฝีเพื่อดูดหนองและช่วยลดการอักเสบ (เมล็ด) เมล็ดใช้พอกแผลเรื้อรัง ช่วยสมานบาดแผล แผลมีฝ้ามีหนอง และช่วยเรียกเนื้อ (เมล็ด) เมล็ดมีสรรพคุณช่วยทำให้แผลหายเร็วยิ่งขึ้น (เมล็ด) สรรพคุณสมุนไพรต้อยติ่ง เมล็ดช่วยแก้อาการผดผื่นคัน (เมล็ด) ต้อยติ่งทั้งต้นเอาชนิดที่ไม่แก่ ดอกยังไม่ร่วงโรย นำมาถอนเอาทั้งรากไม่ให้รากขาดและอย่าให้เมล็ดแตก ประมาณ 4-5 ต้น แล้วนำไปล้างน้ำให้สะอาด โขลกค้นเอาแต่น้ำมาดื่ม ตะช่วยแก้อาการปวดเข่า ขาชา ร้าวลงได้ ซึ่งใช้เวลาในการรักษาเพียง 7 วันก็หาย (ทั้งต้น) รากใช้ผสมเป็นยาแก้พิษ ดับพิษ และทำเป็นยาเบื่อ (ราก) ประโยชน์ของต้อยติ่ง ฝักใช้เป็นของเล่นของเด็กๆ ด้วยการสะสมฝักแก่จัด (สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ) เก็บไว้ในที่แห้งเมื่อมีโอกาสก็นำมาจุ่มน้ำ (หรือน้ำลาย) แล้วเอาไปโยนใส่เพื่อนๆ สักพักหนึ่งฝักก็จะแตกตัวออกดังแป๊ะ พร้อมกับดีดเมล็ดออกโดยรอบ ทำให้เพื่อนตกใจหรือเจ็บคันๆ หรือบางครั้งก็แอบไปใส่ในกระเป๋าเสื้อ กระเป๋ากางเกง หรือแม้แต่คอเสื้อ ซึ่งแม้จะรู้ตัวแต่ก็มักจะเอาออกไม่ทัน ฝักก็จะแตกออกเสียก่อน (ฝัก).

ใหม่!!: พืชดอกและต้อยติ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ต้างหลวง

ต้างหลวง อยู่ในวงศ์ Araliaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ต้นมีหนาม ใบเดี่ยว ดอกช่อ ภาษากะเหรี่ยงเรียกกิลอส่า ชาวกะเหรี่ยงนำช่อดอกตูมและบาน ลวกรับประทานกับน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและต้างหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ต้นชา

''Camellia sinensis'' ต้นชาเป็นพืชที่นำใบและยอดอ่อนไปผลิตเป็นชาจีน อยู่ในสกุล Camellia (ภาษาจีน: 茶花; พินอิน: Cháhuā, ตรงตัว: "ดอกชา") และอยู่ในวงศ์ Theaceae ชาขาว ชาเขียว ชาอูหลง และชาดำถูกเก็บเกี่ยวจากพืชสปีชีส์นี้ทั้งหมด แต่กระบวนการผลิตต่างกัน ทำให้มีระดับของปฏิกิริยาออกซิเดชันต่างกัน กูกิชะ (Kukicha)ทำมาจากต้นชาชนิดเดียวกันแต่ใช้กิ่งและก้านแทนใบ มีสองสายพันธุ์คือ ชาจีน (Camellia sinensis var. sinensis) และชาอัสสัม (Camellia sinensis var. assamica).

ใหม่!!: พืชดอกและต้นชา · ดูเพิ่มเติม »

ต้นฝิ่น

ต้นฝิ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papaver somniferum L. เป็นดอกป๊อปปี้พันธุ์หนึ่ง ในวงศ์ Papaveraceae ชื่อสกุล Papaver เป็นชื่อภาษาละตินสำหรับเรียกพืชที่เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า Opium poppy ส่วนชื่อชนิด somniferum แปลว่า ทำให้นอนหลั.

ใหม่!!: พืชดอกและต้นฝิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ต้นมาร์ชแมลโลว์

มาร์ชแมลโลว์ (خطمی، ختمی, ختمية الطبية، خبيز) เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในยุโรป กระจายพันธุ์จนถึงเอเชียตะวันตกและแอฟริกาเหนือ รากใช้เป็นยารักษาโรคในปากและอาการเจ็บคอ น้ำคั้นจากรากตีผสมกับไข่และน้ำตาลจนเป็นก้อนโฟมอยู่ตัว ใช้เป็นขนม สารเคมีที่พบในพืชชนิดนี้ ได้แก่ altheahexacosanyl lactone (n-hexacos-2-enyl-1,5-olide), 2β-hydroxycalamene (altheacalamene) และ altheacoumarin glucoside (5,6-dihydroxycoumarin-5-dodecanoate-6β-D-glucopyranoside),รวมทั้ง lauric acid, β-sitosterol และ lanosterol.

ใหม่!!: พืชดอกและต้นมาร์ชแมลโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นอ้อ

ต้นอ้อ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในพื้นดินที่ชื้น เติบโตได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำกร่อย เป็นหนึ่งในสายพันธุ์ของกก อ้อเป็นพันธุ์พื้นเมืองในแถบบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน,เอเชียตะวันออกกลาง รวมถึงบางส่วนในแอฟริกาและทางตอนใต้ของเพนนิซูลา เป็นที่นิยมเพาะปลูกมากในแถบเมดิเตอร์เรเนียน แคลิฟอร์เนีย ทางตะวันตกของแปซิฟิกและแถบแคริบเบียน.

ใหม่!!: พืชดอกและต้นอ้อ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้พ่นควัน

ต้นไม้พ่นควัน เป็นพืชในวงศ์ Urticaceae เป็นไม้พุ่ม ผลัดใบ ดอกสีเขียวอมขาว ดอกช่อ มีริ้วประดับ เมื่อดอกตัวผู้บานจะปล่อยละอองเรณูออกมาทำให้ดูเหมือนควันบุหรี.

ใหม่!!: พืชดอกและต้นไม้พ่นควัน · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรพระอินทร์

รรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลที่เกิดจากไฟไหม้น้ำร้อนลวก แก้คันจากกลากเกลื้อน หมวดหมู่:สมุนไพรไทย หมวดหมู่:วงศ์กะเพร.

ใหม่!!: พืชดอกและฉัตรพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซากัวโร

อกซากัวโร ซากัวโร (Saguaro) เป็นพืชอวบน้ำจำพวกกระบองเพชรหรือแคกตัสที่มีขนาดใหญ่ เป็นชนิดที่สูงที่สุดของกระบองเพชรที่พบในสหรัฐอเมริกา คำว่า "ซากัวโร" มาจากภาษาสเปน ซึ่งยืมมาจากภาษามาโยอีกทีหนึ่ง เป็นพืชเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Carnegiea พบทางตอนใต้ของแอริโซนา, แคลิฟอร์เนีย และทะเลทรายโซนอรันทางตะวันตกเฉียงเหนือของเม็กซิโก เมื่อต้นสูงขึ้น จะแตกกิ่งก้านสาขาเป็นรูปช่อเชิงเทียน สูงได้ถึง 12 เมตร แต่เพิ่มความสูงได้ช้า ประมาณ 30–50 ปีจึงสูงได้ 1 เมตร ออกดอกตามลำต้นและกิ่งสาขา มีผึ้งและแมลงช่วยผสมเกสร ผลสดเนื้อสีแดง เมล็ดสีดำรับประทานได้ ผลซากัวโรที่รับประทานได้ ซากัวโร ได้รับฉายาว่า "ราชาทะเลทราย" เนื่องจากเป็นพืชที่หายากและมีความโดดเด่น มีความสูงประมาณ 12–18 เมตร อายุยืนราว 150–200 ปี พบได้ตั้งแต่ทะเลทรายในพื้นที่ราบจนถึงพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,220 เมตร หากพบสูงกว่านี้จะพบได้ตามไหล่เขาที่มีแสงแดดส่องถึงเพื่อลดอุณหภูมิความหนาวเย็นในช่วงฤดูหนาว โดยมากซากัวโรจะมีลำต้นแบบลำต้นเดียว บางต้นอาจแตกแขนงออกด้านข้าง แต่มักเป็นต้นที่มีอายุเกิน 50–70 ปี อาจมีแขนงเดียวหรือหลายแขนงก็ได้ และเมื่อโตถึงระดับหนึ่งบนยอดบนสุดจะแตกออกเป็นพุ่มขึ้นไป แต่ทว่าบางต้นอาจจะขยายออกด้านข้างลักษณะแผ่ออกคล้ายหงอน ซึ่งซากัวโรลักษณะแบบนี้ถูกเรียกว่า "คริสเตด" หรือ "คริสเตดซากัวโร" ซึ่งปกติวัดความกว้างได้ 09–1.5 เมตร และหาได้ยากมาก เท่าที่รับทราบในปัจจุบันนี้มีเพียงประมาณ 2,000 ต้นเท่านั้น ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดซากัวโรลักษณะนี้ บ้างก็เชื่อว่าเกิดจากการกลายพันธุ์ของเซลล์ บ้างก็เชื่อว่าเกิดเพราะยอดบนโดนฟ้าผ่า และบ้างก็เชื่อว่าเกิดเพราะอุณหภูมิความหนาวเย็นในฤดูหนาวทำให้เกิดความผิดปกติในการเติบโตขึ้นมา ชาวอินเดียนแดงเผ่าปาปาโกรับประทานเป็นผลไม้สด ชาวโตโฮโนและชาวโอออดแฮมฉลองการเริ่มต้นฤดูร้อนด้วยเครื่องดื่มที่ทำจากผลซากัวโร.

ใหม่!!: พืชดอกและซากัวโร · ดูเพิ่มเติม »

ซานชี

ซานชี หรือ เถียนชี เป็นพืชสมุนไพรอยู่ในตระกูล "โสมคน" ซานชีเป็นภาษาจีน แปลว่า "สามเจ็ด" เป็นไม้ยืนต้น แต่ละต้นมีกิ่ง 3 กิ่ง แต่ละกิ่งมีใบไม้ 7 ใบ เลยตั้งชื่อว่า สามเจ็ดกิ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและซานชี · ดูเพิ่มเติม »

ซีริส แอนดินา

ซีริส แอนดินา เป็นพืชในวงศ์ Xyridaceae เป็นพืชประจำท้องถิ่นที่พบเฉพาะประเทศเอกวาดอร์ โดยจะพบพืชชนิดนี้ได้ตามธรรมชาติในป่าที่มีลักษณะร้อนชื้น หมวดหมู่:วงศ์กระถินทุ่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและซีริส แอนดินา · ดูเพิ่มเติม »

ซีเลาซีเลา

ซีเลาซีเลา เป็นหวายสปีชีส์หนึ่งในสกุลหวาย เป็นพืชพื้นเมืองในบอร์เนียว พบเฉพาะป่าในยอดเขากีนาบาลู เป็นหวายกอขนาดเล็ก มีมือเกี่ยว ใช้ในการผูกมัดและจักสาน.

ใหม่!!: พืชดอกและซีเลาซีเลา · ดูเพิ่มเติม »

ซ่อนกลิ่น

ซ่อนกลิ่น มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมไกล หรือ หอมไก๋ (ภาคเหนือ) ดอกเข่า (ภาคอีสาน)เป็นพรรณไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ประเภทพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีดอกสีขาว กลิ่นหอม มีหัวอยู่ใต้ดิน อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ส่วนชื่อสามัญคือ Tuberose มาจากภาษาละติน tuberosa มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ มักขึ้นได้ดีในดินที่ระบายน้ำได้สะดวก สารสกัดของพืชชนิดนี้ใช้เป็นเครื่องหอมมาตั้งแต่สมัยโบราณ หมวดหมู่:วงศ์ย่อยศรนารายณ์ หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ใหม่!!: พืชดอกและซ่อนกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ซ้อ

ซ้อ ภาษากะเหรี่ยงเรียกเก่อมาพอ เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว มีเลนติเซลบนกิ่งอ่อน เปลือกต้นสีขาวอมเทา ผิวเรียบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาล ผลสด เปลือกหนา แก่เป็นสีเหลือง เนื้อไม้แข็งแรงใช้ทำขันโตก ดอกมีรสหวาน ชาวกะเหรี่ยงใช้ทำผสมกับแป้งแล้วนำไปทำขนม ได้ขนมสีเหลือง ชาวขมุและชาวถิ่นใช้ไม้สร้างบ้านเรือน ชาวถิ่นใช้ทำไหนึ่งข้าว.

ใหม่!!: พืชดอกและซ้อ · ดูเพิ่มเติม »

ประยงค์

ประยงค์ เป็นไม้ในวงศ์ Meliaceae อยู่ในสกุลเดียวกับลางสาด ลองกอง ใบมีสีเขียวเข้ม หนา มีใบย่อย 5 ใบ ใบรูปร่างโค้งมนปลายแหลม ออกดอกเป็นช่อ ดอกขนาดเล็กรูปร่างเป็นเม็ดกลม ๆ มี 20-30 ดอกต่อช่อ ดอกมีสีเหลือง พบในกัมพูชา จีน อินโดนีเซีย พม่า ไต้หวัน ไทย เวียดนาม และอาจจะมีในลาว ในประยงค์มีสารออกฤทธิ์หลายชนิด เช่น สารกลุ่ม Cyclopentabenzofuran ซึ่งเป็นอนุพันธ์ของสาร Rocaglamide, Odorine, Aglain, Lignanes และ Triterpenes สารเหล่านี้มีฤทธิ์ในการกำจัดแมลงวันผลไม้ได้ สารสกัดด้วยน้ำจากกิ่งอ่อนยับยั้งการเจริญเติบโตของผักโขมและหญ้าข้าวนกได้ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียนำดอกไปแช่น้ำใช้ลดไข้.

ใหม่!!: พืชดอกและประยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ประทัดสุเทพ

ประทัดสุเทพ เป็นพืชในสกุลประทัดดอย วงศ์ Ericaceae มีรากสะสมอาหาร ใบเดี่ยว ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกระจุกตามกิ่งแก่ กลีบดอกรูปหลอดแคบ ปลายป่อง ผลขนาดเล็ก ทรงกลม ออกดอกช่วงพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นไม้หายากและใกล้สูญพันธ์ พบในป่าดิบเขาทางภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกโดย ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและประทัดสุเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ประทัดจีน

ประทัดจีน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Russelia equisetiformis Schlecht. & Cham; ชื่อสามัญ: Fountainbush; Firecracker plant; Coral plant; Coralblow; Fountain plant).

ใหม่!!: พืชดอกและประทัดจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประทัดไต้หวัน

ประทัดไต้หวัน หรือ ประทัดฟิลิปปินส์ (Scarlet bush, Firebush, Hummingbird Bush, Redhead) Jacq.

ใหม่!!: พืชดอกและประทัดไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประดู่

ประดู่เต็ม สมิตินันทน.

ใหม่!!: พืชดอกและประดู่ · ดูเพิ่มเติม »

ประดู่บ้าน

ลำต้นเคลือบด้วยเปลือกเป็นเม็ด ๆ ประดู่บ้านเต็ม สมิตินันทน.

ใหม่!!: พืชดอกและประดู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ประดู่แดง

ประดู่แดง (ชื่อวิทยาศาสตร์:Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith) เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 10 -12 เมตร ผิวเปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลอ่อน เรือนยอดแผ่กว้างกิ่งลู่ลง ผลัดใบ ใบเป็นรูปมนรีออกเป็นคู่ สลับกันตามลำต้น ลักษณะของใบปลายแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ มีสีเขียว ออกดอกเป็นช่อ ช่อดอกสีแดงสด ดอกจะบานไม่พร้อมกัน จะทยอยกันบานไล่ขึ้นไปตั้งแต่โคนก้านช่อจนถึงปลายช่อ เวลาบานจะแดงสพรั่งทั้งต้น เกสรยาวยื่นออกมากลางดอก ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนมกราคม*มีนาคม ผลเป็นฝักแบนรูปขอบขนานโค้งเล็กน้อย เมล็ดแบน มีถิ่นกำเนิดในประเทศกัวเตมาลา ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและประดู่แดง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาซิโดเนีย

รณรัฐมาซิโดเนีย (Republic of Macedonia; Република Македонија) ซึ่งรัฐและองค์กรนานาชาติส่วนใหญ่เรียกว่า อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย (Former Yugoslav Republic of Macedonia: FYROM) เป็นรัฐอิสระบนคาบสมุทรบอลข่านในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนี้มักจะเรียกเฉย ๆ ว่า "มาซิโดเนีย" ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนกับภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง และแคว้นมาซิโดเนียของกรีซ ประเทศมาซิโดเนียเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ชื่อมาซิโดเนีย มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 38 และประชากรเกือบร้อยละ 44 ของพื้นที่ที่ใหญ่กว่าพื้นที่ที่ปกครองโดยสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ก่อนหน้านี้เป็นส่วนทางใต้สุดของยูโกสลาเวีย พรมแดนปัจจุบันได้รับการกำหนดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียก่อตั้ง "สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย" (Socialist Republic of Macedonia) ซึ่งเป็นที่โต้แย้งว่า เป็นการยอมรับสลาฟมาซิโดเนีย เป็นชนชาติแยกต่างหากภายในยูโกสลาเวีย ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 ได้แยกจากยูโกสลาเวียอย่างสันติโดยเปลี่ยนชื่อเป็น "สาธารณรัฐมาซิโดเนีย" และไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพิ่มเติม อย่างไรก็ดี หลังจากนั้นเป็นต้นมา ประเทศได้เกิดกรณีพิพาทกับประเทศกรีซอย่างยาวนานเกี่ยวกับการใช้ชื่อ "มาซิโดเนีย" จนกระทั่งในวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: พืชดอกและประเทศมาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ปริก (พรรณไม้)

ปริก หรือ ปริกน้ำค้าง เป็นพืชในวงศ์ Asperagaceae เป็นไม้คลุมดิน ใบจริงลดรูปลงเป็นหนาม ส่วนที่สีเขียวคล้ายใบรูปเข็มเป็นลำต้นที่มีสีเขียว แตกกิ่งเป็นพุ่มห้อยลง ดอกสีขาว ขนาดเล็ก ผลเมื่อสุกสีแดง เป็นพืชพื้นเมืองของแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและปริก (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลเผือกน้อย

ปลาไหลเผือกน้อย Pierre เป็นพืชในวงศ์ Simaroubaceae เป็นไม้พุ่ม มีรากแก้วขนาดใหญ่เพียงรากเดียว รากยาว สีขาวนวล รากที่มีอายุหลายปีจะมีความยาวมาก อาจยาวมากกว่า 2 เมตร ใบประกอบแบบขนนก โคนใบเบี้ยว เส้นกลางใบนูนเล็กน้อยด้านบน นูนเด่นชัดด้านล่าง ผิวใบเรียบเป็นมัน ดอกช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบขนานกับพื้นดิน ขนสั้นนุ่ม ไม่มีขนต่อม ดอกย่อยหลายดอก แยกเพศ สีแดงแกมม่วง กลีบดอกมีขนทั้งสองด้าน เกสรเพศผู้ 5 อัน ขนสั้นนุ่ม รังไข่ลดรูปในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรรูปโล่ ริ้วประดับรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ร่วงง่าย หลอดกลีบเลี้ยงสั้น ผลสด ทรงรี ก้านผลสั้น เปลือกนอกบาง พบในลาวและกัมพูชา ในไทยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปลาไหลเผือกน้อยมีฤทธิ์ทางสมุนไพรคล้ายปลาไหลเผือกใหญ่ ใช้เปลือกลำต้น แก้ไข้จับสั่น ไข้สันนิบาต ไข้ทรพิษ และแก้เบาพิการ ราก ใช้เป็นยาแก้ไข้ทุกชนิด ถ่ายพิษทุกชนิด แก้ลม แก้วัณโรค ถ่ายฝีในท้อง ขับเหงื่อ ขับพยาธิ แก้เจ็บคอ แก้กาฬโรค และรักษาความดันโลหิตสูง ถ่ายพิษเสมหะและโลหิต ใช้เป็นส่วนประกอบของยาสามราก ยาประสะเหมือดคน ยาจันทร์ลีลา ทางจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ราก ต้มน้ำดื่ม แก้ไข้ แก้ปวด แก้ไข้มาลาเรีย ช่วยบำรุงกำลัง ฝนกับน้ำทา แก้ฝีหนอง ฝนน้ำกิน มีรสเบื่อมา ใช้เลิกเหล้า นำรากมาผสมกับพญายา และพริกป่า ต้มน้ำกินแก้ไข้ รากปลาไหลเผือกน้อยมีสารที่รสขมคือ eurycomalactone, eurycomanol และ eurycomanon ฆ่าเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคมาลาเรีย (Plasmodium falciparum) ในหลอดทดลอง เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอด เซลล์มะเร็งเต้านม มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ HIV ในหลอดทดลอง.

ใหม่!!: พืชดอกและปลาไหลเผือกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลเผือกใหญ่

ปลาไหลเผือก หรือปลาไหลเผือกใหญ่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Simaroubaceae ชื่ออื่นๆ กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี) คะนาง ชะนาง (ตราด) ตรึงบาดาล (ปัตตานี) ตุงสอ แฮพันชั้น (ภาคเหนือ) เพียก (ภาคใต้) หยิกบ่อถองหรือหยิกไม่ถึง เอียนด่อน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ไหลเผือก (ตรัง)เป็นไม้ไม่ผลัดใบ รากกลมโต สีขาว สีขาวนวล รากที่มีอายุหลายปีจะมีความยาวมาก อาจยาวมากกว่า 2 เมตร ลำต้นเรียบสีน้ำตาลเทา ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ดอกช่อออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงสีเขียวอมน้ำตาล ปลายกลีบแดงอมเขียว กลีบดอกสีแดงอ่อนเกสรตัวผู้และตัวเมียสีแดงอ่อน ยื่นยาวกว่าดอก ผลเดี่ยว ทรงกระบอกกลมสั้น ผลแก่แล้วแตก ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีส้ม ปลาไหลเผือกใหญ่เป็นพืชที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร ใช้ รากถ่ายพิษต่างๆ ถ่ายพิษไข้พิษเสมหะ และโลหิต แก้ไข้ แก้ไข้มาลาเรีย ตัดไข้ทุกชนิด แก้ลม แก้วัณโรคระยะบวม ขับเหงื่อ ขับพยาธิ แก้ต่อมทอนซิลอักเสบ แก้เจ็บคอ ความดันเลือดสูง อัมพาต ขับถ่ายน้ำเหลือง แก้ท้องผูก ใช้รากเป็นส่วนผสมของยาบำรุงกำลัง นำรากผสมกับรากโลดทะนงแดง และพญาไฟ ฝนน้ำดื่ม แก้ไข้ ใช้เลิกเหล้า รากผสมกับรากย่านางแดง และพญายา ฝนน้ำกินขับพิษ ในตำรายาโบราณ เป็นส่วนผสมของยาสามราก ที่ใช้ขับพิษ และแก้อาการลงแดงจากการติดยาเสพติด เป็นส่วนผสมของยาประสะเหมือดคน และยาจันทน์ลีลา และยาแก้ไข้ห้าราก ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียนำรากไปต้มกับชาใช้กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ ในทางเภสัชวิทยา ปลาไหลเผือกใหญ่ มีฤทธิ์ลดไข้ ต้านมาลาเรีย มีฤทธิ์กระตุ้นความรู้สึกทางเพศของหนูตัวผู้ ลดความวิตกกังวล เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง ต้านการก่อเกิดเนื้องอก ลดน้ำตาลในเลือด สารออกฤทธิ์ที่สำคัญได้แก่ สารกลุ่ม quassinoids เช่น eurycomalactone eurycomanol eurycomanone ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อมาเลาเรียในหลอดทดลอง.

ใหม่!!: พืชดอกและปลาไหลเผือกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปอบิด

ปอบิด (East Indian screw tree) มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามพื้นที่ปลูก มะบิด (ภาคเหนือ) ปอทับ (เชียงใหม่) ช้อ (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่) ข้าวจี่ (ลาว) ห้วยเลาะมั่ว (จีนแต้จิ๋ว) หั่วลั่งหมา (จีนกลาง) นาคพต มะปิด ในตำรายาไทยสามารถใช้เป็นพืชสมุนไพรสำหรับรักษาโรคได้หลายชน.

ใหม่!!: พืชดอกและปอบิด · ดูเพิ่มเติม »

ปอบ้าน

ปอบ้าน ปอขาว หรือปอทอง อยู่ในวงศ์ Sterculiaceae หรือ Malvaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก เชคเวาะ ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นสีเทาอ่อน มีสีดำปนด้วยเล็กน้อย เปลือกลำต้นมีรอยที่เกิดจากการหลุดร่วงของก้านใบ ใบประกอบแบบนิ้วมือมีหูใบ ดอกช่อ ก้านช่อดอกสีแดงหรือสีม่วงเข้ม ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบสีเหลืองถึงสีส้ม มีขนอ่อนสีขาวติดอยู่ทั่ว ปลายกลีบบิดงองุ้ม ผลมีขนยาวหนาแน่น พบตามป่าผลัดใบ ชาวกะเหรี่ยงใช้เปลือกต้นลอกผิวด้านเปลือกต้นเอาไปฟั่นเป็นเกลียว ใช้ทำเชือก.

ใหม่!!: พืชดอกและปอบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ปอสา

ปอสา เป็นพืชในวงศ์ Moraceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว แผ่นใบสากมือเล็กน้อย ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้เป็นช่อหางกระรอก ดอกตัวเมียเป็นช่อกระจุกแน่น ผลกลม สีแดงอมส้ม ภายในมีเมล็ดสีแดง ยาง ราก ใบ และเปลือกลำต้น ผู้ที่แพ้เมื่อรับประทานเข้าไปทำให้ท้องร่วง เปลือกลำต้นใช้ทำกระดาษเรียกกระดาษสา เส้นใยจากเปลือกใช้ทำผ้าตาปาซึ่งใช้ในฟิจิ ตองกา ซามัว และตาฮีตี Royal Botanic Gardens, Kew.

ใหม่!!: พืชดอกและปอสา · ดูเพิ่มเติม »

ปอทะเล

ปอทะเล เป็นไม้ยืนต้น ใบรูปหัวใจ ขอบใบหยักถี่ ใต้ใบมีขนอ่อน ๆปกคลุม ดอกสีเหลือง บานตอนสาย พอตกเย็นจะกลายเป็นสีแดงแล้วหลุดร่วงไป ผลแห้ง แตก พบปอทะเลในบริเวณรอยต่อระหว่างน้ำจืดกับน้ำเค็ม.

ใหม่!!: พืชดอกและปอทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปอขี้แฮด

ปอขี้แฮด อยู่ในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น กิ่งอ่อนมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง กลีบดอกสีเหลืองมีเส้นสีแดง กลิ่นหอม ผลกลมรี เมื่อสุกสีเหลืองส้ม ผลกินได้ รสหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและปอขี้แฮด · ดูเพิ่มเติม »

ปอต่อม

ปอต่อม เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Malvaceae ใบเดี่ยว ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีขาวนวล ไม่มีขน ที่ก้านใบมีต่อมรูปรีหรือกลม ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลือง โคนกลีบด้านในมีสีม่วงเข้มหรือสีแดงเลือดหมู ผลรูปไข่ แห้งแล้วแตกตามยาว เป็นพืชมีเส้นใย เหนียว ใช้ทำเป็นเชือกมั.

ใหม่!!: พืชดอกและปอต่อม · ดูเพิ่มเติม »

ปอเต่าไห้

ปอเต่าไห้ หรือพญาไม้ผุ ปอตับเต่า พันไฉน เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์ Thymelaeaceae ลำต้นแตกขึ้นเป็นจำนวนมากจากใต้ดิน ลำต้นและกิ่งมีขนสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลือง ผลสดรูปไข่ พบตามป่าเต็งรังทั่วประเทศ ยกเว้นภาคใต้ พบครั้งแรกในไทย ใช้เป็นยาสมุนไพร.

ใหม่!!: พืชดอกและปอเต่าไห้ · ดูเพิ่มเติม »

ปักษาสวรรค์

''Strelitzia reginae'' ปักษาสวรรค์ หรือ เบิร์ดออฟพาราไดส์ (Bird of paradise) เป็นพืชดอก มีลำต้นทั้งที่เป็นลำต้นเดี่ยว และออกเป็นกอ มี 2 ลักษณะ คือ มีลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า และชนิดที่มีลำต้นเหนือดินเห็นชัดเจน มีลักษณะลำต้น ใบ และดอกคล้ายเฮลิโคเนีย แต่ไม่ได้อยู่วงเฮลิโคเนียแต่อย่างใด ซึ่งปักษาสวรรค์อยู่วงศ์ Strelitziaceae ส่วนเฮลิโคเนียอยู่วงศ์ Heliconiaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและปักษาสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัตตาเวีย (พืช)

ปัตตาเวีย (Peregrina, Spicy Jatropha) เป็นพืชในวงศ์ Euphorbiaceae เป็นไม้พุ่ม ทรงพุ่มค่อนข้างสูงโปร่ง เปลือกสีเปลือกต้นสีน้ำตาลเทา กิ่งอ่อนสีน้ำตาลแดง มีจุดหายใจสีน้ำตาลประทั่วไปที่ลำต้นและกิ่ง แตกกิ่งก้านมากและมักโค้งลงสู่พื้นดิน การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียน ก้านใบยาว ใบเดี่ยวทรงรีถึงรีแกมไข่กลับ ปลายใบแหลมเรียวยาวคล้ายหาง โคนใบมน ขอบใบเรียบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ผิวใบด้านล่างสีเขียวอมแดง ปลายใบโค้งมนมีติ่งหาง โคนใบสอบเรียวมีหนามอ่อนเกาะติดอยู่ประมาณ 4-6 อัน ดอกสีแดง ชมพู ชมพูม่วง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ดอกออกเป็นช่อที่บริเวณปลายกิ่ง ก้านช่อยาว ดอกทยอยบาน ผลรูปไข่ มีสามพู เมื่อสุกสีแดงสด เมื่อแก่แห้งแล้วแตกดีดเมล็ดออกจากผล เมล็ดขนาดเล็กสีน้ำตาล ปัตตาเวียแดง ปัตตาเวียเป็นพืชมีพิษ ยางเมื่อถูกผิวหนังทำให้บวมแดง เป็นแผลพุพอง เข้าตาทำให้ตาบอด ผลถ้ารับประทานเข้าไปทำให้อาเจียน ถ่ายเป็นเลือด นิยมใช้เป็นไม้ประดับในพื้นที่ได้รับแสงแดดตลอดทั้งวัน หรือได้รับแสงเต็มที่ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำกิ่ง ตอนกิ่ง และการเพาะเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและปัตตาเวีย (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ปากนกแก้ว (เฮลิโคเนีย)

ปากนกแก้ว หรือ รอสตราตา (Rostrata; ชื่อวิทยาศาสตร์: Heliconia rostrata) เป็นพืชในสกุลเฮลิโคเนีย มีชื่ออื่นเช่น Hanging Heliconia, Lobster Claw, สร้อยกัทลี.

ใหม่!!: พืชดอกและปากนกแก้ว (เฮลิโคเนีย) · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์ม (พืช)

ปาล์ม (Palm) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Arecacae (ชื่อเดิมคือ Palmae) นับเป็นพืชวงศ์ใหญ่ที่สุด (รองจากหญ้า) ทั้งในแง่จำนวนของชนิด และปริมาณที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ จำแนกได้กว่า 210 สกุล ราว 3,800 ชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวไม่แยกกิ่งก้านสาขา พืชจำพวกปาล์มนี้มีร่องรอยในซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ถึงประมาณ 80 ล้านปีมาแล้ว ปัจจุบันนี้เราพบปาล์มได้ในหลากหลายพื้นทั่วโลก อันเนื่องจากปาล์มสามารถเติบโตในสภาพภูมิอากาศที่หลากหลาย แม้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อน และกึ่งเขตร้อนก็ตาม แต่ปาล์มสามารถเติบโตได้ตั้งแต่ละติจูด 30 องศาเหนือ ลงมาจนถึงละติจูด 30 องศาใต้ ปาล์มที่พบในเขตเหนือสุด คือ ปาล์มพัดยุโรป (Chamaerops humilis) ซึ่งเติบโตในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และแอฟริกาตอนเหนือ ส่วนปาล์มที่พบตอนใต้สุด คือปาล์มนิเกา (Rhopalostylis sapida) ที่พบในนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแชแธม ปาล์มก็ยังเติบโตบนพื้นที่สูงถึง 3,000 เมตร (บนเทือกเขาแอนดีส) ส่วนที่แห้งแล้งอย่างทะเลทราย (อินทผลัม) และที่ชื้นแฉะ ก็ยังเป็นที่อาศัยส่วนใหญ่ของปาล์มหลากหลายชนิด (เช่น จาก ชิด สาคู).

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์ม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มบังสูรย์

ปาล์มบังสูรย์ เป็นปาล์มที่พบทางภาคใต้ของประเทศไทย ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ลำต้นเลื้อยใต้ดิน เป็นปาล์มแบบสมบูรณ์เพศ เป็นไม้พื้นล่างของป่า ต้องการร่มเงาของไม้ใหญ่ในการบังแสงแดดและลม หากอยู่กลางแจ้งสีจะซีดไม่สวยงาม หากโดนลมแรงใบจะแหว่งและขาด มีแผ่นใบติดขนาดใหญ่ที่สวยงามมาก จัดเป็นปาล์มที่เลี้ยงค่อนข้างยาก เพราะไม่ทนทาน ต่อความแห้งแล้ง และการกระทบกระเทือนของระบบราก แต่หากมีที่ร่มใต้ต้นไม้ใหญ่จะสามารถเลี้ยงให้สวยงามได้ ใช้เวลาปลูกตั้งแต่เมล็ดงอกจนมีขนาดที่สวยงามประมาณ 10 ปี ขึ้นไป หมวดหมู่:วงศ์ย่อยลาน หมวดหมู่:ปาล์ม หมวดหมู่:ไม้ประดับ.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มบังสูรย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มชาแมรอปส์

ปาล์มชาแมรอปส์ (European fan palm, Mediterranean dwarf palm, dwarf fan palm) เป็นปาล์มชนิดเดียวในสกุล Chamaerops มีถิ่นกำเนิดในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ใบอ่อนสามารถรับประทานได้ และนำมาทำของใช้ได้ และมีการใช้พืชชนิดนี้ในการแพทย์ท้องถิ่นของแอลจีเรีย ปาล์มชาแมรอปส์เป็นปาล์มแตกกอ สูงได้ถึง 5 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร มีเส้นใยติดแน่นที่โคนกาบ ใบรูปพัด ขอบใบจักลึกครึ่งใบ ขนาด 80 เซนติเมตร หลังใบมีนวลสีขาว ก้านใบยาว 50 เซนติเมตร ขอบก้านมีหนามแหลม ช่อดอกสั้น ออกระหว่างกาบใบ มีทั้งดอกแยกเพศและดอกสมบูรณ์เพศอยู่บนต้นเดียว ผลกลม ขนาด 1-2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีเหลืองอมส้ม ปาล์มชาแมรอปส์มี 3 พันธุ์พืช (variety) 2 พันธุ์เพาะ (cultivar) ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มชาแมรอปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มพัด

ปาล์มพัด (Fiji Fan Palm) หรือ ปาล์มมงกุฎ เป็นปาล์มในสกุล Pritchardia มีถิ่นกำเนิดในฟิจิ ตองกาและซามัว เป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ใบรูปพัด ขอบใบจักเว้าตื้นและพับเป็นจีบ แผ่นใบขนาด 1 เมตร ช่อดอกสมบูรณ์เพศยาว 30 เซนติเมตร ออกระหว่างกาบใบ ผลกลมขนาด 1.2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีน้ำตาลเข้ม ปาล์มพัดนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชาวพื้นเมืองฟิจิใช้ใบและลำต้นทำพัด ร่มและเสาเรือน.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มพัด · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มสิบสองปันนา

องปันนา เป็นชื่อปาล์มชนิดหนึ่ง อยู่ในสกุลเดียวกับอินทผลัม เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มสิบสองปันนา · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มหางกระรอก

ปาล์มหางกระรอก (black palm) เป็นปาล์มชนิดเดียวในสกุล Normanbya มีถิ่นกำเนิดในออสเตรเลียและเกาะนิวกินี นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ปัจจุบันมีจำนวนลดลงเนื่องจากการทำลายป่า ปาล์มหางกระรอกเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 20 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร คอต้นมีสีเขียวอมเทา ใบรูปขนนกเป็นพวง ทางใบยาว 3 เมตร ใบย่อยออกหลายทิศทาง แผ่กางออก สีเขียวเข้ม ใต้ใบสีเหลือบขาว ช่อดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกใต้คอต้น ยาว 40 เซนติเมตร ผลกลม ขนาด 4 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีส้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มหางกระรอก · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มจีบ

ปาล์มจีบ (Vanuatu Fan Palm, Ruffled Fan Palm, Palas Palm) เป็นปาล์มประดับในสกุลกะพ้อ มีถิ่นกำเนิดในหมู่เกาะโซโลมอนและวานูอาตู เป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 4 เมตร ใบรูปพัด ขอบใบจักตื้นและพับจีบ แผ่นใบแผ่กาง 1.5 เมตร ขอบก้านใบมีหนามแหลม ช่อดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศสีขาวอมเหลือง ออกระหว่างกาบใบ ผลทรงกลมรีมีเมล็ดเดียว เมื่อสุกมีสีแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มจีบ · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มขวด

ปาล์มขวด (royal palm) เป็นปาล์มในวงศ์ย่อยหมาก (Arecoideae) มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของรัฐฟลอริดา เม็กซิโก อเมริกากลาง และแคริบเบียน ปาล์มขวดเป็นต้นไม้ประจำประเทศคิว.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มขวด · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มขุนหมากรุก

ปาล์มขุนหมากรุก (wine palm) เป็นปาล์มเฉพาะถิ่นของเกาะฮิสปันโยลา อยู่ในสกุล Pseudophoenix เป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 15 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30-40 เซนติเมตร ลำต้นด้านล่างคอดตรงแต่กลางลำป่องออก คอใบยาว 50-60 เซนติเมตร ใบรูปขนนก ช่อดอกออกระหว่างกาบใบ เป็นดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น ผลกลมเมื่อสุกเป็นสีแดง ขนาด 2-2.5 เซนติเมตร ปาล์มขุนหมากรุกนิยมปลูกเป็นปาล์มประดับ ชาวพื้นเมืองเกาะฮิสปันโยลาใช้น้ำเลี้ยงต้นมาหมักเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มขุนหมากรุก · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มขนนก

ปาล์มขนนก หรือ ปาล์มตีนช้าง (Canary Island Date Palm) มีถิ่นกำเนิดที่หมู่เกาะคะเนรี ประเทศสเปน เป็นปาล์มใบแหลมเล็ก นิยมปลูกกันในประเทศไทยมานานแล้ว เพราะมีรูปร่างทรวดทรงเหมาะที่จะปลูกประดับไว้ตามมุมห้องหรือข้างโต๊ะทำงานในออฟฟิศ ปาล์มขนนกพืชที่เจริญเติบโตช้า และทนต่อความร่มเย็นภายในห้องหรืออาคารสถานที่ได้เป็นอย่างดี หมวดหมู่:สกุลฟีนิกซ์ หมวดหมู่:ไม้ประดับ.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มขนนก · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มน้ำมัน

ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชตระกูลปาล์มลักษณะลำต้นเดี่ยว ขนาดลำต้นประมาณ 12 -20 นิ้ว เมื่ออายุประมาณ 1-3 ปี ลำต้นจะถูกหุ้มด้วยโคนกาบใบ แต่เมื่ออายุมากขึ้นโคนกาบใบจะหลุดร่วงเห็นลำต้นชัดเจน ผิวของลำต้นคล้ายๆ ต้นตาล ลักษณะใบเป็นรูปก้างปลา โคนกาบใบจะมีลักษณะเป็นซี่ คล้ายหนามแต่ไม่คมมาก เมื่อไปถึงกลางใบหนามดังกล่าวจะพัฒนาเป็นใบ การออกดอกเป็นพืชที่แยกเพศ คือต้นที่เป็นเพศผู้ก็จะให้เกสรตัวผู้อย่างเดียว ต้นที่ให้เกสรตัวเมียจึงจะติดผล ลักษณะผลเป็นทะลายผลจะเกาะติดกันแน่นจนไม่สามารถสอดนิ้วมือเข้าไปที่ก้านผลได้ เวลาเก็บผลปาล์มจึงต้องใช้มีดงอเกี่ยวที่โคนทะลายแล้วดึงให้ขาด ก่อนที่จะตัดทะลายปาล์มต้องตัดทางปาล์มก่อนเพราะผลปาล์มจะตั้งอยู่บนทางปาล์ม กระบวนการตัดทาง(ใบ)ปาล์มและตัดเอาทะลายปาล์มลง เรียกรวมๆ ว่า แทงปาล์ม ปาล์มน้ำมันจัดเป็น พืชเศรษฐกิจ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา เป็นพืชที่ให้ผลผลิต น้ำมันต่อหน่วยพื้นที่สูงกว่าพืชน้ำมันทุกชนิด สามารถนำมาแปรรูปทำเป็นทั้งในรูปแบบของน้ำมันพืชที่ใช้ในการประกอบอาหาร และใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมและเนยเทียม เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ไบโอดีเซลรวมถึงเป็นส่วนผสมในเพื่อช่วยลดการใช้น้ำมันดีเซล เพิ่มความมั่นคงทางด้านพลังงานให้กับประเทศ อีกทั้งยังจะช่วยลดปัญหาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วย และยังสามารถแปรรูปเป็น สบู่ ผงซักฟอก เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เคมีภัณฑ์ต่างๆ และอาหารสัตว์ ด้วย ใบมาบดเป็นอาหารสัตว์ กะลาปาล์มเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิง ทะลายปาล์มใช้เพาะเห็ด และกระทั่งการปลูกลงดินไปแล้วก็ช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในการช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อีก ในประเทศไทยมีการปลูกทั้งทางภาคใต้และภาคตะวันออก พันธุ์ปาล์มน้ำมันที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก เป็นปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา โดยเฉพาะที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ช่วงปี 2547 - 2550 มีการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่นาร้าง โดยกรมพัฒนาที่ดิน มีการขุดร่องให้ฟรี ให้พันธุ์และปุ๋ย โดยให้เหตุผลในการส่งเสริมการปลูกเนื่องจากเป็นปาล์มที่ให้นำมันใช้ได้ทั้งการบริโภคและใช้เป็นไบโอดีเซลได้โดยประเทศที่ปลูกปาล์มนำมันได้แก่ อินโดนีเซีย 50ล้านไร่ มาเลเซีย 35ล้านไร่ ส่วนไทย 5.5ล้านไร่ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีเป้าหมายจะปลูกปาล์มให้ได้ทั้งสิ้น 10ล้านไร่ภายในปี 2572 จากพื้นที่มีศักยภาพ ทั้งสิ้น 20ล้านไร่ ปัจจุบัน ประเทศที่ผลิตและส่งออกน้ำมันปาล์มรายใหญ่ที่สุดในโลกคือประเทศมาเลเซีย ผลิตเป็นสัดส่วนมากถึงร้อยละ 47 ของการผลิดของโลก ปาล์มน้ำมันแต่ละต้นจะกำหนดปริมาณการให้ช่อดอกตัวผู้ และช่อดอกตัวเมีย ล่วงหน้า 33 เดือน โดยขึ้น กับปริมาณน้ำ ที่ต้นปาล์มน้ำมันนั้น ๆ ได้รับ เช่น หากต้นปาล์มได้รับน้ำ ในปริมาณที่เหมาะสมในวันนี้ต้นปาล์มก็จะกำหนดให้ลำต้นออกช่อดอกตัวเมียมากกว่าช่อดอกตัวผู้ ในทางกลับกัน หากต้นปาล์มนั้น ๆได้รับน้ำ ในปริมาณที่ไม่เพียงพอในวันนี้ต้นปาล์มก็จะกำหนดให้ลำต้นออกช่อดอกตัวผู้มากกว่าช่อดอกตัวเมีย ซึ่งช่อดอกทั้ง ตัวผู้และตัวเมียที่ถูกกำหนดล่วงหน้านี้จะไปผลิออกเป็นช่อดอกในอีก 33 เดือนข้างหน้า ดังนั้น ปาล์มที่ปลูกโดยอาศัยน้ำ ฝนจากธรรมชาติเพียงอย่างเดียว จะให้ผลผลิตตามปริมาณน้ำ ฝนที่ได้รับ ยิ่งถ้าพื้นที่ที่ปลูกปาล์มน้ำมันมีช่วงฝนแล้ง หรือขาดน้ำ หลายเดือน ปาล์มนั้น ๆ ก็จะให้ช่อดอกตัวผู้ในปริมาณมาก หรือแทบไม่ให้ช่อดอกตัวเมียเลย ต้นปาล์มจะมีลักษณะสูงเร็ว เพราะไม่ต้องสูญเสียธาตุอาหารในการออกลูกออกผลปาล์มน้ำมันที่ขาดน้ำ เป็นระยะเวลาหลายเดือน จะให้แต่ช่อดอกตัวผู้ หรือแทบจะไม่ให้ช่อดอกตัวเมียเลย แม้ว่าเราจะให้น้ำ ให้ปุ๋ยอย่างเต็มที่กับต้นปาล์มในเวลาต่อมา ก็ไม่สามารถแก้ไขให้ต้นปาล์มออกช่อดอกตัวเมียมากขึ้น ได้ เพราะปริมาณการออกช่อดอกตัวเมียได้ถูกกำหนดไว้แล้วเมื่อ 33 เดือนที่แล้วตามปริมาณน้ำ ที่ต้นปาล์มน้ำมันต้นดังกล่าวได้รับ แต่การให้น้ำ ให้ปุ๋ยอย่างเต็มที่กับต้นปาล์มในเวลาต่อมา จะไปมีผลให้ต้นปาล์มออกช่อดอกตัวเมียมากขึ้น ในอีก 33 เดือนข้างหน้าอย่างไรก็ตามหากช่อดอกตัวเมียที่ออกมา กระทบกับช่วงฤดูแล้ง หรือภาวะต้นปาล์มขาดน้ำ ช่อดอกตัวเมียดังกล่าวก็อาจจะฝ่อไม่ให้ผล เพื่อลดการสูญเสียน้ำ อายุปลูกลงดิน 1 ½ - 3 ½ ปี: ต้นปาล์มจะเริ่มออกดอก ให้ผลผลิต มีผลปาล์มออกดกรอบต้น เนื่องจากต้นปาล์มได้น้ำ จากแปลงเพาะต้นกล้า ในช่วงอายุปลูกประมาณ 2 ½ ขึ้น ไป การกำหนดปริมาณช่อดอกตัวผู้-ตัวเมีย จะขึ้น อยู่กับปริมาณน้ำ ที่ต้นปาล์มได้รับบนแปลงปลูกนั้น ๆ(น้ำ จากฝน และการรดน้ำ) อายุปลูกลงดินประมาณ 3 ½ ปี เป็นช่วงปาล์มขาดคอ ต้นปาล์มจะให้ช่อดอกตัวผู้ในปริมาณมากเป็นระยะเวลาประมาณ 3-6 เดือน ขึ้น อยู่กับสภาพภูมิอากาศและการได้รับน้ำ ในแปลงปลูกนั้น ๆ อายุปลูกลงดิน 4 – 7 ปี ปาล์มน้ำมันพันธุ์ดีจะเริ่มให้ผลผลิตมากขึ้น ๆเรื่อย ถ้าเกษตรกรมีการให้ทั้ง ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยคอกอย่างถูกต้อง รวมทั้ง ถ้ามีการให้น้ำ ได้ตลอดทั้ง ปี ปริมาณน้ำ หนักทะลายปาล์มเป็นตันต่อไร่ต่อปีที่รับประกันเอาไว้โดยผู้ผลิตแต่ละแหล่ง สามารถที่ จะรับประกันได้ที่อายุต้นปาล์ม 8 ปี อายุปลูก8 ปีขึ้น ไป ปาล์มน้ำมันจะให้ผลผลิตสม่ำเสมอ ถ้าเกษตรกรมีการให้ทั้ง ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอกอย่างถูกต้อง และถ้ามีการให้น้ำ ได้ตลอดทั้ง ปี ปริมาณน้ำ หนักทะลายปาล์มเป็นตันต่อไร่ต่อปี ต้องได้ตามปริมาณที่แต่ละแหล่งผลิตรับประกันด้วย อย่างไรก็ตามเนื่องจากวิธีการเก็บเกี่ยวผลปาล์มที่ต้นสูงมาก ไม่สามารถใช้เสียมแทงปาล์มได้ต้องใช้เคียวตัดทางใบล่างออกก่อนแล้วจึงจะสามารถใช้เคียวตัดทะลายปาล์มลงมาได้ด้วยวิธีดังกล่าว จะทำให้ต้นปาล์มมีทางใบน้อยลง เสมือนมีขนาดโรงครัวปรุงอาหารเล็กลง ทำให้ปาล์มน้ำมันให้ผลผลิตน้อยลงตามไปด้วย การให้นํ้ากับต้นปาล์มนํ้ามันในปริมาณที่เหมาะสม จากการศึกษาทางวิชาการ เสนอไว้ว่า ปาล์มน้ำมันแต่ละต้นต้องการน้ำ วันละ200 ลิตรซึ่งเป็นเรื่องยากสำหรับเกษตรกรที่จะต้องจัดหาน้ำ ปริมาณดังกล่าว เพื่อใช้รดให้กับต้นปาล์มน้ำมันอูติพันธุ์พืชเสนอให้ใช้วิธีสังเกตยอดต้นปาล์มที่มียอดแหลม ไม่คลี่ออก คล้ายหอก หากปรากฏว่าปาล์มน้ำมันต้นใดมียอดแหลม ไม่คลี่ คล้ายหอก สูงในระดับใกล้เคียงกัน มากกว่า 2 ยอดหอกแสดงว่าปาล์มน้ำมันต้นดังกล่าวขาดน้ำ แล้ว ต้องให้น้ำ แก่ต้นปาล์มนั้น ๆมากขึ้นลักษณะการให้น้ำ ด้วยท่อพีอี พันรอบลำต้นปาล์มและใส่หัวฉีดขนาดเล็กจำนวน 3 หัว พ่นน้ำ หันออกจากลำต้นทำให้ไม่เกะกะและเสียหายจากการเก็บเกี่ยวผลปาล์มน้ำมันลักษณะของยอดปาล์มที่แหลม ไม่คลี่ใบออก คล้ายหอกหากมียอดหอกดังกล่าว ที่มีความสูงระดับใกล้เคียงกันมากกว่า 2 ยอด แสดงว่าปาล์มอยู่ในภาวะขาดน้ำ หรือได้รับน้ำ ไม่เพียงพอ ต้องเพิ่มการให้น้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มแชมเปญ

ปาล์มแชมเปญ เป็นปาล์มมีลักษณะเด่นที่ลำต้นป่องตรงกลาง ลักษณะใบเป็นแบบขนนก ใบย่อยเป็นรูปตัววีคว่ำ ขอบใบมีสีน้ำตาลเล็กน้อย ลำต้นโตประมาณ 30 - 40 ซ.ม. รอยกาบที่ลำต้นสั้น ในรอบปีใบใหม่ที่ออกมาแทนใบเก่าที่หลุดร่วงประมาณ 4-6 ใบเท่านั้น การเจริญเติบโตช้ามาก ลักษณะผล ออกเป็นทะลาย ทะลายยาวประมาณ 30 ซ.ม. ขนาดผลรูปลูกรักบี้ โตประมาณ 1 - 1.5 ซ.ม. ใน 1 ผล มี 1 เมล็ด งอกได้ต้นเดียว สีของผลเมื่ออ่อนสีเขียวอ่อน เมื่อแก่สีจะเขียวเข้ม เมื่อสุกผิวจะนิ่ม กลิ่นหอมเหมือนกล้วยหอม เปลือกข้างในเป็นสีดำและแข็งคล้ายกะลามะพร้าว เมล็ดที่นำไปขยายพันธุ์จะงอกช้ามาก 3-8 เดือน คุณค่าทางเศรษฐกิจของปาล์มแชมเปญ นิยมนำมาเป็นไม้ประดับและจัดสวน บอนไปปลูกง่าย เลี้ยงง่าย ศัตรูพืชที่สำคัญสำหรับปาล์มแชมเปญคือด้วง และมดคันไฟ ที่จะเข้ากัดกินเยื่อเจริญที่ยอดอ่อน ส่วนแมลงอื่นที่กินใบภายนอก ไม่ทำให้ต้นตาย แต่ก็ทำให้ไม่งาม left.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มแชมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มเลื้อย

ปาล์มเลื้อย (saw palmetto) เป็นปาล์มชนิดเดียวในสกุล Serenoa กระจายพันธุ์ในทางตอนใต้ของสหรัฐฯ เป็นปาล์มกอ สูงประมาณ 2 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 เซนติเมตร ทอดตัวเอนไปกับพื้นดิน ใบรูปพัด กว้างถึง 1 เมตร ขอบใบจักลึกเกือบถึงสะดือ แตกเป็นใบย่อย 10-15 แผ่น สีเขียวอมฟ้า ช่อดอกสมบูรณ์เพศสีขาว ออกระหว่างกาบใบ ยาว 1 เมตร ผลกลม ขนาด 0.8 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีดำ ปาล์มเลื้อยเป็นพืชทนแล้ง นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ สารสกัดจากผลใช้รักษาโรคต่อมลูกหมากโต และการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ นอกจากนี้ยังรักษาอาการผมร่วงได้.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มเลื้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มเจ้าเมืองถลาง

ปาล์มเจ้าเมืองถลาง (White Elephant Palm, White Backed Palm) หรือ ปาล์มพระยาถลาง ทังหลังขาว ชิงหลังขาว เป็นปาล์มชนิดเดียวในสกุล Kerriodoxa เป็นปาล์มเฉพาะถิ่นที่พบทางภาคใต้ของประเทศไทย ลักษณะเป็นปาล์มลำเดี่ยวขนาดกลาง สูงได้ถึง 12 เมตร ขึ้นรวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือสีเขียวเข้ม แผ่ออก 25-35 ใบ ใต้ใบสีขาวเป็นมัน ก้านใบสีเกือบดำ ยาวได้ถึง 2 เมตร ช่อดอกออกระหว่างกาบใบ 2-4 ช่อ ผลทรงกลมแบนสีเหลืองอมส้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มเจ้าเมืองถลาง · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มเจ้าเมืองตรัง

ปาล์มเจ้าเมืองตรัง ไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง จำพวกปาล์ม จัดอยู่ในสกุลกะพ้อ มีลักษณะคล้ายกับปาล์มจีบ (L. grandis) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน มีความแตกต่างกันที่ก้านหลังใบเส้นที่ตรงมาจากก้าน และหนาม โดยหนามของปาล์มเจ้าเมืองตรังมีลักษณะใหญ่และห่าง ช่อดอกมีสีขาวและแทงขึ้นมาจากก้าน โดยแทงตรงยาวขึ้นไปและค่อย ๆ ย้อยลงมา มีลักษณะเด่น คือ ใบที่กลมใหญ่คล้ายกับรูปพัด ความกว้าง 1-1.5 เมตร ขอบใบเป็นหยักเล็ก ๆ ไม่แหลมเหมือนกับปาล์มชนิดอื่น ลักษณะใบของปาล์มเจ้าเมืองตรัง ปาล์มเจ้าเมืองตรัง จัดเป็นปาล์มที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง จึงนิยมปลูกกันเป็นไม้ประดับ เป็นปาล์มที่ขึ้นในป่าดิบชื้นในภาคใต้ของไทยและพม่า จัดเป็นปาล์มที่หายากชนิดหนึ่ง เหตุที่ได้ชื่อว่า "เจ้าเมืองตรัง" เนื่องจากถูกค้นพบโดย พระยารัษฎานุประดิษฐ์ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองตรัง ขณะที่บุกเบิกตัดถนนในป่าเขตแดนจังหวัดตรัง เห็นว่ามีความสวยงาม จึงนำมาปลูกไว้ในกระถางเลี้ยง ปัจจุบัน ปาล์มเจ้าเมิืองตรังสามารถหาดูได้รอบ ๆ สวนสาธารณะพระยารัษฎานุประดิษฐ์ ในเขตเทศบาลเมืองตรัง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มเจ้าเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มเขือง

ปาล์มเขือง หรือเขืองสยามหรือขี้หนาง เป็นปาล์มแตกกอขนาดเล็ก โคนกาบใบเป็นสีดำ ใบประกอบรูปขนนก ใบย่อยยาวรูปหอก ด้านล่างของใบมีนวลขาวเคลือบ ดอกเป็นช่อ ออกที่ซอกใบ ผลกลมรี สุกเป็นสีแดงเข้ม ออกดอกเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน ผลแก่ช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม พบในป่าดิบชื้นตั้งแต่ภาคเหนือจนถึงภาคกลาง พบครั้งแรกในประเทศไทย ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มเขือง · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มเคราฤๅษี

ปาล์มเคราฤๅษี (old man palm) เป็นปาล์มเฉพาะถิ่นที่พบในประเทศคิวบา ลักษณะเป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร มีเส้นใยสีน้ำตาลคลุมลำต้น ใบรูปพัดขอบใบจักเว้าลึก แผ่นใบกลม ช่อดอกสมบูรณ์เพศ ยาว 70-80 เซนติเมตร ออกระหว่างกาบใบ ผลกลมขนาด 2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีม่วง ปาล์มเคราฤๅษีมี 2 ชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับคือ Coccothrinax crinita subsp.

ใหม่!!: พืชดอกและปาล์มเคราฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

ปาหนันแม่วงก์

ปาหนันแม่วงก์ เป็นพืชในสกุลปาหนันช้าง วงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น ดอกออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกตามกิ่ง กลิ่นหอมอ่อน ผลกลุ่ม ผลย่อยทรงรีหรือทรงกระบอก ออกดอกช่วงมกราคม – พฤษภาคม เป็นไม้ถินเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จังหวัดกำแพงเพชร เมื่อ 17 เมษายน..

ใหม่!!: พืชดอกและปาหนันแม่วงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิซังกะแต

ปิซังกะแตเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและปิซังกะแต · ดูเพิ่มเติม »

ปิ้งขาว

ปิ้งขาว อยู่ในวงศ์ Lamiaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกคอคอเดาะ เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย ดอกช่อออกจามซอกใบและปลายกิ่ง มีขนปกคลุม กลีบดอกเป็นหลอด สีขาว ยอดอ่อนนำไปลวกจิ้มน้ำพริก ใบใช้ย้อมผ้าให้สีเขียว ผลสุกย้อมผ้าได้สีฟ้.

ใหม่!!: พืชดอกและปิ้งขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปืนนกไส้

ปืนนกไส้ (Spanish needle, black-jack) หรือ กี่นกไส้ หรือ หญ้าก้นจ้ำขาว เป็นวัชพืชในวงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว สูงได้ถึง 1 เมตร ลำต้นเป็นสัน ใบเป็นใบประกอบขนนกชั้นเดียว มี 3 ใบย่อย แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก ดอกออกเป็นช่อกระจุกแน่นที่ปลายยอดและซอกใบ ก้านช่อดอกยาว วงใบประดับมี 2 ชั้นแยกกัน ดอกวงนอกมีกลีบดอกรูปลิ้นสีขาวไม่สมบูรณ์เพศ ดอกวงในเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบดอก 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดสีเหลือง เกสรเพศผู้สีน้ำตาล เกสรเพศเมียสีเหลืองปลายแยกเป็น 2 แฉก ผลเป็นแบบผลแห้งเมล็ดล่อนสีน้ำตาลเข้ม มีแพปพัส (กลีบเลี้ยงลดรูป) เป็นหนามสั้น 2 อัน ปืนนกไส้มีสรรพคุณต้านเชื้อจุลินทรีย์ แก้อักเสบ ขับปัสสาวะ ห้ามเลือดและรักษาไข้มาลาเรียได้.

ใหม่!!: พืชดอกและปืนนกไส้ · ดูเพิ่มเติม »

ปุด

ปุด หรือ ปุดใหญ่ http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID.

ใหม่!!: พืชดอกและปุด · ดูเพิ่มเติม »

ปุดเดือน

ปุดเดือน เป็นพืชวงศ์ขิง และเป็นพืชอิงอาศัย ในไทยพบเฉพาะในป่าตามชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา ในจังหวัดยะลาและนราธิว.

ใหม่!!: พืชดอกและปุดเดือน · ดูเพิ่มเติม »

ปีบ

ปีบ หรือ กาสะลอง ในภาษาไทยถิ่นเหนือ เป็นไม้ยืนต้นสูงประมาณ 15 เมตร มีดอกรูปแตรสีขาวหอมอ่อน ๆ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ปีบยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ เต็กตองโพ่ (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและปีบ · ดูเพิ่มเติม »

ปีบฝรั่ง

ปีบฝรั่ง (Star of Bethlehem, Madam Fate) หรือ แสนประสะ เป็นพืชท้องถิ่นของหมู่เกาะเวสต์อินดีส อยู่ในวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก (Campanulaceae) เป็นพืชหลายปี สูง 15-25 เซนติเมตร ลำต้นตั้งตรง ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับรอบต้น ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-15 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักหนาม ดอกสีขาวออกเป็นดอกเดี่ยวตามซอกใบ โคนก้านดอกมีใบประดับ 2 ใบ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก ดอกบานเต็มที่กว้าง 3-4 เซนติเมตร ผลรูปรีแบบแห้งแตก เมื่อแก่จะโป่งออกและโค้งลง ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ปีบฝรั่งนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ยางจากต้นก่อให้เกิดอาการระคายเคืองและหากเข้าตาอาจทำให้ตาบอดได้ ยางจากต้นมีสารนิโคตินและโลเบลีน ซึ่งหากได้รับในปริมาณมากเกินจะทำให้อาเจียน กล้ามเนื้อเป็นอัมพาตและชัก.

ใหม่!!: พืชดอกและปีบฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปีบทอง

ปีบทอง, อ้อยช้าง หรือ กาสะลองคำ (ชื่ออื่น: กากี, สำเภาหลามต้น, จางจืด, สะเภา) เป็นไม้ต้นผลัดใบในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) สูงประมาณ 10 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นประเภทใบประกอบแบบ 2-3 ชิ้น ใบย่อยรูปไข่ปลายใบแหลม ขึ้นตามธรรมชาติบนเทือกเขาหินปูนที่ค่อนข้างชื้น พบตั้งแต่พม่าตอนใต้ไปจนถึงเกาะไหหลำ ดอกมีสีเหลืองอมส้มหรือสีส้ม ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก บานไม่พร้อมกัน กลีบเลี้ยงรูปถ้วยสีม่วงแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4-7 เซนติเมตร ปลายเป็นแฉกสั้น ๆ 5 แฉก ผลเป็นฝัก ยาว 26-40 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตกเป็น 2 ซีก ปีบทองเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดเชียงราย และเป็นเป็นพรรณไม้ประจำมหาวิทยาลัยสองแห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (เรียกว่า "กาสะลองคำ") และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (เรียกว่า "ปีบทอง").

ใหม่!!: พืชดอกและปีบทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปีแนบอง

ปีแนบอง หรือ ปีแนดือกอ เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม เป็นปาล์มแตกกอขนาดเล็ก ดอกแยกเพศแต่ไม่แยกต้น ใบประกอบแบบขนนก ผลอ่อนสีขาว สุกแล้วเป็นสีแดง พบในภาคใต้ของไทยไปจนถึงรัฐซาราวะก์ เมล็ดใช้รับประทานแทนหมากแต่คุณภาพต่ำกว่า ยอดอ่อนรับประทานได้ รากและใบใช้เป็นยาคุมกำเน.

ใหม่!!: พืชดอกและปีแนบอง · ดูเพิ่มเติม »

ปทุมมา

ปทุมมา, กระเจียวบัว, ขมิ้นโคกเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและปทุมมา · ดูเพิ่มเติม »

ป่านรามี

ป่านรามี (Ramie) เป็นพืชในวงศ์ Urticaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออก เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ใบมีขนสีเงิน ทำให้บางครั้งเรียกว่าป่านรามีขาว ซึ่งจะต่างจากป่านรามีอีกสปีชีส์หนึ่ง ซึ่งมีต้นกำเนิดในคาบสมุทรมลายู ใบจะมีขนาดเล็กกว่าและมีสีเขียวทั้งสองด้านเรียกป่านรามีเขียว คำว่ารามีมาจากภาษามลายูโบราณ ป่านรามีเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ เป็นพืชให้เส้นใย ในเวียดนามมีขนมที่ทำจากแป้งข้าวเหนียว เนื้อขนมเป็นสีดำเพราะใส่น้ำคั้นจากใบป่านรามี ทำให้มีสีและกลิ่นเฉพาะ ขนมที่ทำจากแป้งข้าวเหนียวในเวียดนาม เรียก Bánh gai แป้งชั้นนอกสีเข้มเพราะใส่น้ำคั้นจากใบป่านรามี.

ใหม่!!: พืชดอกและป่านรามี · ดูเพิ่มเติม »

ป่านศรนารายณ์

ป่านศรนารายณ์ (Caribbean agave) เป็นพืชในสกุลอะกาเว (Agave) มีถิ่นกำเนิดในแถบอเมริกากลาง เป็นไม้พุ่มอายุหลายปี ลำเดี่ยวสั้น ใบเป็นรูปขอบขนานหรือรูปแถบ อวบน้ำ เป็นกระจุกที่โคนต้น ช่อดอกออกที่ปลายยอดแบบช่อแยกแขนง ก้านช่อดอกยาว 4-6 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 15-20 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและป่านศรนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นกขมิ้น (พืช)

นกขมิ้น เป็นพืชในสกุลนกกระทุง วงศ์ Aristolochiaceae เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง เถาอ่อนมีขนปกคลุมใบเดี่ยวดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกมีรูปร่างเป็นหลอดโค้ง ด้านนอกมีขน ลายเป็นเส้นสีน้ำตาล ปลายเปิดกว้างเหมือนปากแตร ด้านในสีเหลืองเข้ม ผลรูปกระสวย เปลือกมีขนพุ่ง สีน้ำตาลอ่อน แห้งแล้วแตกเป็น 6 แฉก ออกดอกเดือนตุลาคม-ธันวาคม พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร.

ใหม่!!: พืชดอกและนกขมิ้น (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

นมพิจิตร

นมพิจิตรหรือนมหมู ลิ้นเหี้ย เป็นพืชในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เถาเลื้อยลำต้นมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เป็นใบหนา อวบน้ำ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก 5 แฉก สีขาวนวลหรือสีชมพูอ่อน เกสรตัวผู้รูปมงกุฎอยู่ตรงกลางดอก ผลเดี่ยว เป็นฝักยาว เมล็ดแบนรูปไข่ มีขนเป็นพู่ที่ปลาย ใช้เป็นไม้ประดับ ดอกนมพิจิตร.

ใหม่!!: พืชดอกและนมพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

นมสวรรค์

นมสวรรค์ หรือ พนมสวรรค์ (Pagoda flower) เป็นไม้ล้มลุก มีพุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 1 เมตร พบขึ้นในที่มีน้ำท่วมขังหรือริมน้ำ ลำต้นอยู่ใต้ดิน เป็นเหง้าเลื้อยในแนวขนานกับพื้น ใบเดี่ยวเรียงสลับ กว้าง 1-2 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและนมสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

นมตำเลีย

นมตำเลีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hoya parasitica (Roxb.) Wall. ex Wight เป็นหนึ่งในพืชสกุลนมตำเลีย (Hoya) เป็นไม้เถาเลื้อยขนาดเล็ก สามารถพบได้ในป่าทั่วทุกภาคของประเทศไทย รวมไปถึงบางเกาะกลางทะเลในเขตประเทศไทย และมีความหลากหลายของขนาดและรูปร่างใบ สีสันของดอก รูปทรงของมงกุฏ (corona) ทุกส่วนของต้นมีน้ำยางสีขาว ดอกมักออกในช่วงฤดูร้อนของปี จนถึงต้นฤดูฝน ช่อดอกทรงกลม เมื่อดอกบานกลีบดอก (corola) จะพลิกกลับไปด้านหลัง ดอกมีกลิ่นหอมรุนแรง ดอกขนาด 1 - 1.5 ซม. โฮย่าเป็นหนึ่งในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่ อยู่ในวงศ์ Asclepiadaceae ดร.โรเบิร์ต บราวน์ (Dr. Robert Brown) นายแพทย์ชาวอังกฤษ ได้ตั้งชื่อสกุลของโฮย่าขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2353 จากชื่อของเพื่อนผู้หนึ่ง คือนาย Thomas Hoy ผู้ดูแลสวนของดยุกแห่งนอร์ธัมเบอร์แลนด์ ประเทศอังกฤษในช่วงปลายคริส์ตศตวรรษที่ 18 ถึงต้นคริส์ตศตวรรษที่ 19 ซึ่งแต่เดิมพืชชนิดนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Asclepias carnosa L.f. โฮย่าต้นแรกที่ ดร. โรเบิร์ต บราวน์ ตั้งชื่อและยึดถือเป็นต้นแบบของพืชสกุลนี้คือ Hoya carnosa L.f. Brown มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของประเทศจีนและฮ่องกง กล่าวกันว่าสวนของแห่งนอร์ธัมเบอร์แลนด์นั้นเป็นแหล่งรวบรวมพืชแปลกและหายากจากทั่วโลก จึงเป็นไปได้ว่าโฮย่าต้นนี้ได้ปลูกไว้ที่สวนแห่งนี้ด้วย ปัจจุบันโฮย่าชนิดนี้เป็นไม้ประดับที่ปลูกกันแพร่หลายทั่วโลก และยังมีโฮย่าอีกหลายชนิดที่ปลูกเป็นทั้งไม้ประดับดอกและใบได้อย่างสวยงาม โฮย่าหลายชนิดมาจากป่าภายในประเทศไทยของเรามีอยู่ชนิดหนึ่งที่มีบทบาทมากในการใช้เป็นไม้ประดับใบที่นิยมในปัจจุบันคือ Hoya kerrii หรือที่เรารู้จักกันในนามโฮย่าใบหัวใจนั้นเอง.

ใหม่!!: พืชดอกและนมตำเลีย · ดูเพิ่มเติม »

นมเสือ

นมเสือ เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Anonaceae ใบรูปรี ดอกสีเหลืองนวล ผลทรงกระบอกแก่แล้วเป็นสีเหลืองอมส้ม ออกดอกช่วงพฤษภาคม – มิถุนายน ผลแก่เดือนตุลาคม เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทยและเป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุลนี้พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: พืชดอกและนมเสือ · ดูเพิ่มเติม »

นารา (พืช)

นารา เป็นไม้พุ่มมีหนามในวงศ์แตง พบในทะเลทรายนามิบ กิ่งก้านยืดยาว ไม่มีใบแต่มีหนามเป็นจำนวนมาก รากขนาดใหญ่ หยั่งลึกลงในดินได้ถึง 15 เมตรเพื่อดูดน้ำ มีเปลือกนอกที่แข็ง ผลสามารถรับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและนารา (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

นาวน้ำ

นาวน้ำ เป็นพืชในสกุลการเวก วงศ์ Annonaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยเนื้อแข็ง ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็งแหลมยาว ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว ออกตรงข้ามกับใบ สีเขียวหรือม่วงแดง กลิ่นแรงช่วงใกล้ค่ำ ผลแบบผลกลุ่ม ผลย่อยรูปหอกกลับ สุกเป็นสีเหลือง ออกดอกช่วงมกราคม – สิงหาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดอุบลราชธานีโดยหมอคาร์เมื่อ 23 มกราคม..

ใหม่!!: พืชดอกและนาวน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

นางพญาเสือโคร่ง

นางพญาเสือโคร่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus cerasoides กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,, สืบค้นวันที่ 21 ก.ย. 2552, Wild Himalayan Cherry) เป็นพืชดอกในสกุล Prunus ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พบทั่วไปบนภูเขาตั้งแต่ความสูง 1,200-2,400เมตรจากระดับน้ำทะเล เช่น ภูลมโล จังหวัดเลย, ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย, ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่, ขุนสถาน ดอยวาว ดอยภูคา มณีพฤกษ์ จังหวัดน่าน, ภูทับเบิก จังหวัดเพชรบูรณ์, ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ โดยเป็นดอกไม้ประจำอำเภอเวียงแหง นางพญาเสือโคร่ง เป็นพรรณไม้ที่มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ที่ตอนเหนือของประเทศไทย ในต่างประเทศ พบในประเทศพม่า รัฐฉานและรัฐคะฉิ่น, ประเทศอินเดียพบบนเทือกเขาหิมาลัย ในรัฐอรุณาจัลประเทศยาวไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย หรือที่เรียกว่าHimalayas, ประเทศภูฏาน, ประเทศเนปาล และประเทศจีนพบในมณฑลยูนนาน นางพญาเสือโคร่งถูกนิยมเรียกว่า"ซากุระเมืองไทย" เพราะมีลักษณะคล้ายซากุระในประเทศญี่ปุ่น แม้จะเป็นคนละชนิดกันก็ตาม.

ใหม่!!: พืชดอกและนางพญาเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

นางอั้วน้อย

นางอั้วน้อย ชื่ออื่นๆคือ เอื้องข้าวตอก ว่านข้าวเหนียว เป็นกล้วยไม้ที่มีหัวใต้ดิน ลำต้นเหนือดินสูง 10 - 20 เซนติเมตร ใบหนา อวบน้ำ ดอกช่อค่อนข้างแน่นที่ปลายช่อ ดอกสีขาว กลีบปากมีสามแฉก ชอบพื่นที่ร่มในป่าดิบชื้น ออกดอดช่วงตุลาคมถึงสิงหาคม เป็นกล้วยไม้ท้องถิ่นที่พบในเทือกเขาหิมาลัย จีน อินเดีย อินโดจีน ไทย และ พม.

ใหม่!!: พืชดอกและนางอั้วน้อย · ดูเพิ่มเติม »

นางแย้ม

นางแย้ม เป็นไม้พุ่มเนื้ออ่อน พบทั่วไปตามป่าของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและนางแย้ม · ดูเพิ่มเติม »

นางแย้มป่า

นางแย้มป่า, พนมสวรรค์ป่า หรือ พวงสวรรค์ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชใกล้สูญพันธุ์ในไทย ไม้พุ่ม มีขนสั้นหนานุ่มปกคลุม กิ่งเป็นเหลี่ยม ดอกช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง เกสรตัวผู้ 4 อัน ยื่นยาวพ้นกลีบดอก ผลเมล็ดเดียวแข็ง สีขาว กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีน เกาะสุมาตราจนถึงฟิลิปปินส์ ในคาบสมุทรมลายูใช้เปลือกลำต้นกินแทนหมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและนางแย้มป่า · ดูเพิ่มเติม »

นุ่น

นุ่น ชื่ออื่น ง้าว งิ้วน้อย งิ้วสร้อย งิ้วสาย (เหนือ) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสูงประมาณ 10–15 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ผลอ่อนสีเขียวลักษณะยาว ๆ คล้ายผลแตงกวา แต่มีขนาดใหญ่กว่า เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เนื้อข้างในเป็นปุยและมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก ลำต้นและกิ่งก้านสีเขียว มีหนามสั้น ๆ ที่โคนต้น กิ่งทอดขนานกับพื้น ทิ้งใบในฤดูแล้ง ดอกสีขาวนวล ผลทรงรูปกระสวย ออกผลช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน.

ใหม่!!: พืชดอกและนุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นนทรี

นนทรี เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว ทรงพุ่มสูงได้ถึง 25 เมตร กึ่งผลัดใบ เรือนยอดรูปร่ม แผ่กว้าง ใบเป็นใบประกอบขนนกสองชั้นรูปไข่ ออกดอกเป็นช่อตั้งขนาดใหญ่ที่ปลายกิ่ง สีเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกในฤดูแล้งช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน นนทรีมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีก ดังนี้ กระถินแดง (ตราด) กระถินป่า (ตราด, สุโขทัย) และสารเงิน (เชียงใหม่, เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและนนทรี · ดูเพิ่มเติม »

น้อยหน่า

น้อยหน่า (Sugar apple; Linn.) ชื่ออื่น ๆ หมักเขียบ (ตะวันออกเฉียงเหนือ), ลาหนัง (ปัตตานี), มะนอแน่, มะแน่ (เหนือ), หน่อเกล๊ะแซ (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), มะออจ้า, มะโอจ่า (เงี้ยว-เหนือ), เตียบ (เขมร) เป็นพืชยืนต้น ผลมีเนื้อสีขาว เมล็ดดำ รสหวาน ถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบอเมริกากลาง และใต้ แต่จะพบอยู่ทั่วไปในเขตร้อน ในประเทศไทยปลูกมากทางภาคกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและน้อยหน่า · ดูเพิ่มเติม »

น้อยหน่าออสเตรเลีย

น้อยหน่าออสเตรเลีย หรือ เชอรีโมยา เป็นพืชในวงศ์ Annonaceae ใบรูปไข่หรือไข่แกมหอก มีผงรังแคสีน้ำตาลแกมม่วงแดงที่ใต้ใบ ดอกมีกลิ่นหอม ก้านดอกสั้นมีลักษณะเป็นปม กลีบดอกชั้นนอก 3 กลีบ สีเหลืองอ่อน โคนกลีบด้านในมีจุดสีม่วง กลีบชั้นในขนาดเล็กมาก สีออกแดงหรือม่วง ผลเป็นผลกลุ่ม ติดกันเป็นรูปหัวใจหรือทรงกลม ผิวเป็นปุ่มปม ผิวผลมีแอ่งเล็กๆรูปตัวยู เนื้อผลสีขาว รับประทานได้ เนื้อแยกจากเม็ดได้ง่าย เปลือกชั้นนอกของเมล็ดเป็นเยื่อสีน้ำตาลเหี่ยวย่น เชอรีโมยาเป็นพืชพื้นเมืองในเอกวาดอร์และเปรู ปลูกเป็นการค้าในชิลี โบลิเวีย สเปน สหรัฐ และนิวซีแลนด์ ผลรับประทานสด เนื้อผลใช้แต่งรสไอศกรีม ผลดิบและเมล็ดเป็นยาถ่ายพยาธิและกำจัดแมลง.

ใหม่!!: พืชดอกและน้อยหน่าออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

น้อยโหน่ง

น้อยโหน่ง (อังกฤษ: Custard-apple, Bullock's-heart) ผลไม้ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Annona reticulata อยู่ในวงศ์กระดังงา สกุลเดียวกับ น้อยหน่า (A. squamosa) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีดอกคล้ายดอกของน้อยหน่า แต่ผลมีขนาดโตกว่า เปลือกบางแต่เหนียว ค่อนข้างเรียบ ไม่นูนเป็นตา ๆ สีเขียวจาง ๆ ปนสีแดงเรื่อ ๆ ความสูงของลำตัวประมาณ 5-8 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ เป็นรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก หรือใบประกอบแบบขนนกออกเรียงสลับเป็นรูปใบหอก ปลายและโคนใบแหลมสีเขียวสด ปลูกได้ในดินทั่วไป เนื้อในผลหนาสีขาว รสชาติหวานแต่ไม่เท่าน้อยหน่า มีเมล็ดมาก มีคุณค่าทางอาหาร คือ วิตามินเอมากกว่าน้อยหน่า นอกจากนี้แล้วยังมีสรรพคุณทางยา คือ ผลทั้งดิบและสุกแก้ท้องร่วง โรคบิด โรคซาง ลมจุกเสียด แก้พยาธิในท้อง และพยาธิผิวหนัง, รากใช้แก้เหงือกบวม รักษาโรคเรื้อน เปลือกและต้นแก้บิด ท้องเสีย เป็นยาห้ามเลือดและสมานแผล, ใบใช้ฆ่าพยาธิผิวหนัง แก้บวมและฟกช้ำ เมล็ดใช้เป็นยาสมานแผล นอกจากนี้แล้วทั้งผลดิบและใบสดยังสามารถใช้ต้มเอาน้ำทำเป็นสีย้อมผ้าให้สีดำและสีน้ำเงินที่สวยงามและติดทนนานอีกด้วย น้อยโหน่ง จะนิยมรับประทานน้อยกว่าน้อยหน่าเนื่องจากผลมีกลิ่นฉุน ยังมีชื่อเรียกต่างกันไปตามภาษาถิ่นในแต่ละภาคอีกด้วย เช่น มะโหน่ง หรือ มะเนียงแฮ้ง (ภาคเหนือ), น้อยหนัง (ภาคใต้) เป็นต้น ทั้งน้อยโหน่งและน้อยหน่า มิใช่พืชพื้นเมืองของไทยหรือภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่เป็นพืชพื้นเมืองของภูมิภาคอเมริกากลาง เชื่อว่าถูกเข้านำมาครั้งแรกในสมัยอยุธยา แต่ปัจจุบัน สามารถพบน้อยโหน่งและน้อยหน่าได้ทั่วไปทั้งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ไต้หวัน, อินเดีย, ออสเตรเลีย และแอฟริกาตะวันตก.

ใหม่!!: พืชดอกและน้อยโหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำนมราชสีห์

น้ำนมราชสีห์ เป็นพืชล้มลุก ลำต้นแผ่ไปตามดิน ลำต้นและใบมีขน ยางสีขาวคล้ายน้ำนม ใบเดี่ยว ออกตามข้อเป็นคู่ ดอกออกระหว่างใบกับลำต้น ช่อแบบกระจุก ผลกลม แก่แตกเป็น 3 ซีก เมล็ดสีน้ำตาลเข้ม ในทางสมุนไพร น้ำนมราชสีห์ทั้งต้นมี มีรสขม ทำให้เกิดน้ำนม ต้นตากแห้งแล้วคั่วนำมาขงน้ำมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ สรรพคุณแก้ไข้จับสั่น อักเสบ ผื่นคัน ยางใช้กัดหูด และยังใช้รักษา บิด ขับปัสสาวะ แก้หืด ผื่นคัน หนองใน ปัสสาวะเป็นเลือด หูดตาปลา ถ่ายพยาธิ องค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญของน้ำนมราชสีห์ได้แก่ ฟลาโวนอยด์ โพลีฟีนอล แทนนิน ไตรเทอร์พีน ไฟโตสเตอรอล มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียหลายชนิด สารสกัดเมทานอลมีฤทธิ์ยับยั้ง Bacillus cereus และ Pseudomonas aeruginosa ได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและน้ำนมราชสีห์ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำนมราชสีห์ทะเล

น้ำนมราชสีห์ทะเล เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Euphorbiaceae ปกติจะคืบคลานไปตามพื้นดิน เมื่อมีความหนาแน่นสูงจึงจะยกต้นขึ้น มียางสีขาวข้น ลำต้นสีเขียวหรือเขียวอมม่วง อวบน้ำ ใบเดี่ยว สีเขียวเรียบเป็นมัน หลังใบสีเขียวขาว ดอกช่อเป็นกระจุก ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก สีเขียว กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลเดี่ยวกลม ปลายผลกว้าง ส่วนขั้วเรียวดูคล้ายลูกข่าง เป็นพืชคลุมดินในบริเวณชายหาด ช่วยยึดเกาะเม็ดทรายไม่ให้ปลิวตามลม.

ใหม่!!: พืชดอกและน้ำนมราชสีห์ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

น้ำนมราชสีห์เล็ก

น้ำนมราชสีห์เล็ก เป็นไม้ล้มลุก แผ่ติดดิน ก้านใบสีออกแดง ใบเดี่ยว ฐานใบเบี้ยวเล็กน้อย ดอกเป็นช่อกระจุกแน่น สีม่วงอมแดง ใบและเมล็ดเป็นยาแก้ท้องเสีย กลากเลื้อน ทั้งต้นใช้บำรุงน้ำนม ยางสดใช้รักษาแผล สาระสำคัญคือฟีโนลิก ไฮโดรไลซ์แทนนิน ฟลาโวนอยด์ และสเตียรอยด์ สารสกัดเมทานอลมีฤทธิ์ยับยั้ง Escherichia coli และ Staphylococcus aureus.

ใหม่!!: พืชดอกและน้ำนมราชสีห์เล็ก · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเต้า

น้ำเต้า คือพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูลแตง อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae น้ำเต้ามีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาตอนใต้ เป็นไม้เถาล้มลุกอายุปีเดียว พบได้ในทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย มีหลายสายพันธุ์ เช่น น้ำเต้าทรงเซียน นิยมทำเป็นเครื่องประดับ น้ำเต้าขมไม่นิยมปลูกหาได้ยาก ส่วนใหญ่ปลูกเพื่อทำเป็นยาเท่านั้น ในทางสมุนไพรชาวอินเดียจะใช้ผลของน้ำเต้าในการประกอบอาหารให้ผู้ช่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรับประทาน และในประเทศจีนมีการรับประทานน้ำเต้าเพื่อควบคุมเบาหวาน สรรพคุณเป็นยาเย็นและชื้น มีประโยชนสำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจและชร.

ใหม่!!: พืชดอกและน้ำเต้า · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเต้าพระฤๅษี

น้ำเต้าพระฤๅษี (Nepenthes smilesii; ได้ชื่อตามสไมลซ์ (Smiles), นักพฤกษศาสตร์) เป็นชนิดที่แพร่กระจายอย่างกว้างขวางในอินโดจีน น้ำเต้าพระฤๅษีถูกบันทึกไว้ว่าพบในพื้นที่ชื้นแฉะ เปิดโล่ง ดินเป็นแบบดินปนทราย สามารถทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีเยี่ยม.

ใหม่!!: พืชดอกและน้ำเต้าพระฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเต้าลม

น้ำเต้าลม (Nepenthes thorelii) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของอินโดจีน เรารู้น้อยมากเกี่ยวกับมัน แม้แต่นักอนุกรมวิธานยังติดป้ายชื่อของ N. thorelii ผิดบ่อยๆในการค้าต้นไม้.

ใหม่!!: พืชดอกและน้ำเต้าลม · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเต้าต้น

น้ำเต้าต้น (Calabash Tree) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: พืชดอกและน้ำเต้าต้น · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กเบอร์รี

แบล็กเบอร์รี (blackberry) มีชื่อในภาษาไทยว่า ไข่กุ้ง, ไข่ปู, บ่าฮู้ เป็นผลไม้ป่าประเภทที่กินได้ เป็นไม้ผลประเภทผลกลุ่ม (aggregate fruit) (แบบน้อยหน่า) จากพุ่มไม้หนาม (Bramble) ซึ่งเป็นพืชที่อยู่ในสกุลกุหลาบในวงศ์กุหลาบที่มีด้วยกันทั้งหมดเป็นร้อยสปีชีส์เป็นพันธุ์ไม้ที่พบทั่วไปในบริเวณที่มีอากาศอุ่นในซีกโลกเหนือHuxley, A., ed.

ใหม่!!: พืชดอกและแบล็กเบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

แบะหมึ่งตง

แบะหมึ่งตงในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือม่ายเหมินตงในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Asparagaceae เป็นพืชท้องถิ่นในจีน ญี่ปุ่น อินเดีย เวียดนาม รากภายนอกสีเหลืองอมขาว โค้งงอ และมีรอยเหี่ยวย่นเห็นได้ชัด ในตำรายาจีน รากใช้เป็นยาแก้ไอ.

ใหม่!!: พืชดอกและแบะหมึ่งตง · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้

แหนแดง เซลล์ของ Azotobacter แบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้ (Nitrogen fixing bacteria หรือ Diazotroph)เป็นแบคทีเรียหรืออาร์เคียที่ใช้ก๊าซไนโตรเจนเป็นแหล่งไนโตรเจนได้ โดยเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนให้กลายเป็นแอมโมเนี.

ใหม่!!: พืชดอกและแบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้ · ดูเพิ่มเติม »

แพร์

แพร์ (European Pear)เป็นผลไม้เมืองหนาว มีถิ่นกำเนิดในยุโรป โดยมีหลักฐานทางโบราณคดีระบุว่าได้มีการนำแพร์ที่เป็นพืชป่ามาปลูกเป็นพืชสวน จากหลักฐานในยุโรปสมัยยุคหินใหม่และยุคบรอนซ์ การปลูกแพร์มีบันทึกในเอกสารของกรีกโบราณและจักรวรรดิโรมัน เป็นไม้ยืนต้น ใบรูปไข่ ผิวใบเรียบ กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดผลใกล้เคียงกับแอปเปิล เปลือกบาง สุกแล้วเนื้อนิ่มมาก ฉ่ำน้ำ รสชาติหวานอมเปรี้ยวและหวานหอม เป็นพืชคนละสปีชีส์กับสาลี่ แพร์เองแบ่งได้เป็นหลายพันธุ์ แต่พันธุ์ที่นิยมในตลาดมากที่สุดคือ Williams pear หรือเรียกว่า Bartlett ในสหรัฐและแคนาดา เปรียบเทียบแพร์ 8 สายพันธุ์จากซ้ายไปขวาคือ Williams' Bon Chrétien (ในสหรัฐเรียก Bartlett), พันธ์ Bartlett สีแดงสองแบบ, d'Anjou, Bosc, Comice, Concorde, และ Seckel.

ใหม่!!: พืชดอกและแพร์ · ดูเพิ่มเติม »

แพรเซี่ยงไฮ้

แพรเซี่ยงไฮ้เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและแพรเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

แพงพวยฝรั่ง

'' Catharanthus roseus'' แพงพวยฝรั่ง เป็นพืชดอกถิ่นเดียวของประเทศมาดากัสการ์ ในธรรมชาติอยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เพราะการถางและเผาเพื่อการเกษตรกรรมDrugDigest: แต่อย่างไรก็ตามมันกลับได้รับการปลูกเลี้ยงอย่างกว้างขวางในพื้นที่เขตร้อนทั่วโลก แพงพวยฝรั่งเป็นไม้ไม่ผลัดใบพุ่มเตี้ยหรือพืชโตชั่วฤดูสูงประมาณ 1 ม. ใบเป็นรูปไข่ถึงรูปขอบขนาน ยาว 2.5–9 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและแพงพวยฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

แพงพวยน้ำ

แพงพวยน้ำ เป็นพืชในสกุลลัดวิเจีย กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา เอเชียถึงออสเตรเลีย ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกยาวได้กว่า 4 เมตร ลำต้นอวบน้ำ มีรากตามข้อ ต้นที่ลอยน้ำมีรากหายใจรูปกระสวย แตกกิ่งจำนวนมาก ใบรูปรี ขอบขนานหรือใบพาย ยาวได้ถึง 7 เซนติเมตร ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมมี 5 กลีบ ยาว 0.5-1 เซนติเมตร ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกสีขาว โคนด้านในสีเหลือง กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 1-1.8 เซนติเมตร เกสรเพศผู้มี 10 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2.5-4 มิลลิเมตร ผลรูปทรงกระบอกยาว 1.2-2.7 เซนติเมตร มีสันตามยาว เกลี้ยงหรือมีขน ภายในมีเมล็ดเรียงเป็นแถวเดียว.

ใหม่!!: พืชดอกและแพงพวยน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

แกลดิโอลัส

แกลดิโอลัส (Gladiolus) จัดเป็นพืชหัว (Corm) เมื่อปลูกแล้วจะเกิดหัวใหม่ขึ้นแทนหัวเก่า สามารถใช้ขยายพันธุ์ ได้ต่อไป และยังมีหัวย่อยเกิดขึ้นอีกมากมาย ปัจจุบันนี้มีการผลิตหัวย่อยได้ผลดีที่ภาคเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและแกลดิโอลัส · ดูเพิ่มเติม »

แกแล

แกแล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Maclura cochinchinensis Corner) มีเกิดตามป่าโปร่งทางภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ มีชื่ออื่น แกก้อง (แพร่) แกแล สักขี เหลือง (กลาง) แกล แหร (ใต้) เข (นครราชสีมา) ช้างงาต้อก (ลำปาง) น้ำเคี่ยโซ่ (ปัตตานี) หนามเข (ประจวบคีรีขันธ์) กะเลอะเซอะ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) กระจายพันธุ์ตั้งแต่เทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสเตรเลีย แกแลเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ตามเถามีหนามตลอดเถา เนื้อไม้สีค่อนข้างขาว มียางขาว เปลือกลำต้นสีเทา แก่นเป็นสีเหลือง ใบเดี่ยว เรี่ยงสลับ เวียนรอบกิ่งรูปวงรี กว้าง 1 - 3.5 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและแกแล · ดูเพิ่มเติม »

แก่นตะวัน

แก่นตะวัน หรือ ทานตะวันหัว (Jerusalem artichoke หรือ sunchoke) เป็นพืชดอกในตระกูลทานตะวัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ ชาวอินเดียนแดงปลูกไว้รับประทานหัว โดยเชื่อว่ามีสรรพคุณช่วยทำให้เจริญอาหาร ต่อมาจึงแพร่หลายไปในสหรัฐอเมริกาและยุโรป สนั่น จอกลอย วีรยา ลาดบัวขาว รัชนก มีแก้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและแก่นตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว (พรรณไม้)

แก้ว (Orange Jessamine, Satin-wood, Cosmetic Bark Tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบออกเป็นช่อเป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ชื่อพื้นเมืองอื่น: กะมูนิง (มลายู ปัตตานี) แก้วขาว (กลาง) แก้วขี้ไก่ (ยะลา) แก้วพริก (เหนือ) แก้วลาย (สระบุรี) จ๊าพริก (ลำปาง) และ ตะไหลแก้ว (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและแก้ว (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

แก้วกาญจนา

แก้วกาญจนา หรือ เขียวหมื่นปี หรือ อโกลนีมา (Aglaonema) เป็นสกุลของพืชไม้ประดับที่มีความสวยงามที่ใบ ได้ชื่อว่าเป็นราชาแห่งไม้ประดับ เป็นลำดับพืชที่มีมากกว่า 40 ชนิด ปัจจุบันมีการปรับปรุงพันธ์เพื่อให้สีสรรสวยงามนิยมเพาะเลี้ยงเพื่อความสวยงาม และจัดเป็นไม้มงคล ชื่อภาษาอังกฤษ มีรากศัพท์จากภาษากรีก คำว่า aglos แปลว่า แสงสว่าง หรือความสดใส คำว่า nema แปลว่า thread คือเส้นใยบาง ๆ หรือเกลียว มีการตั้งชื่อสายพันธุ์ภาษาไทยที่สื่อความหมายทางโชคลาภ เช่น กวักมหามงคล บัลลังก์ทับทิม บัลลังก์ทอง หยกกาญจน.

ใหม่!!: พืชดอกและแก้วกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

แก้วมังกร

อกแก้วมังกร แก้วมังกร (อังกฤษ: Dragon fruit)(สกุล Hylocereus) อยู่ในวงศ์ Cactaceae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับตะบองเพชร มีพื้นเพดั้งเดิมอยู่ในอเมริกากลาง เข้ามาในเอเชียที่เวียดนามก่อน โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศสเมื่อประมาณ 100 ปีมาแล้ว โดยปลูกมากตามแนวชายฝั่งทะเลตะวันออกจากเมืองญาตรังไปจนถึงไซ่ง่อนนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและแก้วมังกร · ดูเพิ่มเติม »

แก้วเจ้าจอม

แก้วเจ้าจอม เป็นพันธุ์ไม้ประจำถิ่นแคริบเบียน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำพันธุ์ไม้ชนิดนี้เข้าสยามจากชวา (อินโดนีเซีย) ครั้งเสด็จประพาส แล้วทรงนำมาปลูกในเขตพระราชอุทยานวังสวนสุนันทา ปัจจุบันมีเพียงต้นเดียวเท่านั้นที่เป็นต้นดั้งเดิม บริเวณด้านหลังเนินพระนางหรือพระบรมราชานุสรณ์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี และภายหลังได้กลายมาเป็นดอกไม้สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา แก้วเจ้าจอมมีใบจำนวน 3 คู่ กลีบดอกสีม่วง-คราม จำนวน 5-6 กลีบ เกสรสีเหลือง เป็นต้นไม้ที่ต้องการแสงแบบรำไร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ใช้ทำป้องยาสูบ ที่บดยา ที่บดกาแฟ.

ใหม่!!: พืชดอกและแก้วเจ้าจอม · ดูเพิ่มเติม »

แก้งขี้พระร่วง

แก้งขี้พระร่วง (ตั้งชื่อตามสถานที่ค้นพบที่แรก คือ ติมอร์) เป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae หรือวงศ์กัญชา เป็นไม้ยืนต้นที่เนื้อไม้มีกลิ่นเหม็นคล้ายกลิ่นอุจจาระ มีตำนานเล่าไว้ว่าเมื่อพระร่วงหนีขอมจากละโว้ไปสุโขทัยนั้น เมื่อลงพระบังคนหนักแล้วหักกิ่งไม้มาชำระ เสร็จแล้วได้สั่งให้ไม้เป็นขึ้น ไม้นั้นได้แตกกิ่งใบกลายเป็นต้นแก้งขี้พระร่วงนี้ มีชื่อเรียกอื่น ๆ ตามถิ่นว่า ตะคาย, มะหาดน้ำ, เยื้อง, หมอนดง ในภาคกลาง ภาคใต้เรียกว่า ตายไม่ทันเฒ่า จังหวัดนครราชสีมาเรียก ขี้พระร่วง, มันปลาไหล จังหวัดน่านเรียก เช็ดก้นพระเจ้า จังหวัดเชียงใหม่เรียก เช็ดขี้พระเจ้า จังหวัดลำปางเรียก แก้งขี้พระร่วง ที่จังหวัดสุโขทัยเรียก ไม้เช็ดตูดพระร่วง ทั้งนี้เนื่องจากมีกลิ่นเหม็นคล้ายอุจจาระ ต้นแก้งขี้พระร่วงที่เวียดนาม แก้งขี้พระร่วง พบในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ของไทย ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 150–600 เมตร ในต่างประเทศพบได้ที่อินเดีย, ศรีลังกา, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ฟิลิปปินส์ จนถึงเกาะคริสต์มาส และออสเตรเลียทางตอนเหนือ ปัจจุบันเป็นไม้หายาก พบได้ในป่าดิบแล้งใกล้ลำธาร ในอุทยานแห่งชาติรามคำแหง ในกลางปี..

ใหม่!!: พืชดอกและแก้งขี้พระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

แมกโนลิด

แมกโนลิด หรือ Magnoliids (หรือMagnoliidae) เป็นกลุ่มของพืชมีดอกประมาณ 9,000 ชนิด เช่น จำปี จำปา จันทน์เทศ อบเชย อาโวกาโด พริกไทย และอื่นๆ พืชเหล่านี้ ละอองเรณูมีช่องเปิดช่องเดียว ใบเรียงเวียน ดอกแบบ trimerous flower.

ใหม่!!: พืชดอกและแมกโนลิด · ดูเพิ่มเติม »

แมกโนเลีย

กุลแมกโนเลีย (magnolia) เป็นพืชดอกในวงศ์จำปีที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 210 สปีชีส์ สกุลของพืชตั้งตามชื่อนักชีววิทยาชาวฝรั่งเศสชื่อปีแยร์ มาญอล (Pierre Magnol) ศูนย์กลางถิ่นฐานของแมกโนเลียอยู่ทางตอนกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศูนย์กลางอีกแห่งหนึ่งอยู่ในอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง, แคริบเบียน และบางสกุลในอเมริกาใต้ แมกโนเลียเป็นสกุลไม้โบราณที่วิวัฒนาการขึ้นมาก่อนที่จะมีผึ้ง รูปทรงของดอกจึงเป็นทรงที่ล่อให้ด้วงมาช่วยผสมพันธุ์ ฉะนั้นเกสรตัวเมีย (carpel) จึงค่อนข้างแข็งแรงเพื่อป้องกันความเสียหายจากการถูกปีนและถูกแทะโดยด้วง ซากดึกดำบรรพ์ของ Magnolia acuminata ที่พบมีอายุกว่า 20 ล้านปีและพืชที่เป็นของวงศ์จำปีมีอายุกว่า 95 ล้านปี ลักษณะอีกอย่างหนึ่งแสดงว่าเป็นพันธุ์ไม้โบราณคือการขาดลักษณะแตกต่างของกลีบเลี้ยง (sepal) หรือกลีบดอก (petal).

ใหม่!!: พืชดอกและแมกโนเลีย · ดูเพิ่มเติม »

แมคาเดเมีย

แมคาเดเมีย (macadamia) เป็นไม้ยืนต้นจำพวกหนึ่งที่อยู่ในวงศ์เหมือดคน (Proteaceae) ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Macadamia integrifolia แม้ว่าแมคาเดเมียจะมีลักษณะเหมือนถั่ว แต่มันกลับไม่ใช่พืชตระกูลถั่ว เพราะไม่ได้อยู่ในวงศ์ Fabaceae แต่ถึงอย่างไรก็ตามมันก็เป็นต้นไม้ประเภทนัทที่มีคุณค่าทางอาหารสูงมากและมีราคาสูง ต้นไม้ชนิดนี้จะให้ผลดีก็ต่อเมื่อปลูกบนพื้นที่ค่อนข้างสูงเท่านั้น แมคาเดเมียเป็นพืชหนึ่งในเก้าสายพันธุ์ของดอกพืชในวงศ์ Proteaceae ซึ่งมีอยู่ตามพื้นที่ทางภาคตะวันออกของออสเตรเลีย นิวแคลิโดเนียและ สุลาเวสี ในอินโดนีเซี.

ใหม่!!: พืชดอกและแมคาเดเมีย · ดูเพิ่มเติม »

แมงลัก

แมงลัก (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum × citriodourum) เป็นพืชล้มลุกในสกุลกะเพรา-โหระพา แมงลักมีใบเล็ก สีอ่อน บอบบาง ช้ำง่ายและเหี่ยวง่ายกว่า ชื่อสามัญเดิมเรียกกันว่า hoary basil (hoary แปลว่าผมหงอก) โดยนำมาจากลักษณะที่มีขนอ่อนสีขาวๆ บริเวณก้านใบและยอดอ่อน ต่อมาก็เปลี่ยนมาเรียกว่า lemon basil ตามลักษณะกลิ่นที่คล้ายส้ม-มะนาว ส่วนแมงลักศรแดงของไทยเรียกว่า thai lemon basil แมงลักนำไปใช้ได้ทั้งใบและเมล็ด ใบมีกลิ่นฉุน ใช้ประกอบอาหารเช่นเดียวกับกะเพราและโหระพา ส่วนมากจะใช้รับประทานกับขนมจีน หรือใส่เครื่องแกงต่างๆ ส่วนเมล็ดแมงลักใช้ทำเป็นขนมอื่นๆ ได้ นอกจากนี้ เมล็ดแมงลักนำมาทำเป็นยาระบายและอาหารเสริมลดความอ้วนได้ แมงลักในประเทศไทยนั้น มี หลากหลายยี่ห้อและหลากหลายสายพันธุ์ ไม่ใช่ยี่ห้อดังยี่ห้อเดียวอย่างที่เข้าใจ ลักษณะพันธุ์ที่ดีใบต้องใหญ่พอดิบพอดี ไม่เล็กจนแคระแกร็น ดอกสีขาวเป็นชั้นๆ คล้ายฉัตร.

ใหม่!!: พืชดอกและแมงลัก · ดูเพิ่มเติม »

แมงลักคา

แมงลักคาหรือแมงลักป่า เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Lamiaceae ผิวลำต้นเรียบเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีขนสีขาวสั้นปกคลุม เมื่อจับรู้สึกเหนียวติดมือ มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว ผิวใบสีเขียวมีขนนุ่ม ขอบใบหยักเล็กน้อย ดอกช่อ กลีบเลี้ยงสีเขียวเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรตัวผู้สีเหลืองโผล่สูงเสมอช่อดอก ผลเดี่ยว สีเขียว โดยมีกลีบเลี้ยงรองรับ สุกแล้วเป็นสีดำ กิ่งและใบทุบแล้ววางในเล้าไก่เพื่อไล่ไรไก่ และเป็นพืชที่มีฤทธิ์ฆ่าแมลง.

ใหม่!!: พืชดอกและแมงลักคา · ดูเพิ่มเติม »

แมนเดรก

แมนเดรก (Mandrake) เป็นชื่อสามัญของสมาชิกในสกุลพืช Mandragora โดยเฉพาะอย่างยิ่งพรรณ Mandragora officinarum ซึ่งอยู่ในวงศ์ไม้มะเขือ (Solanaceae) เพราะแมนเดรกมีโทรเพนอัลคาลอยด์สารก่อประสาทหลอน อาทิ อะโทรพิน สโคโปลามีน อะโปอะโทรพิน ไฮออสไซอามีน และบางครั้ง รากมีการแยกสองง่ามทำให้ดูคล้ายร่างมนุษย์ รากของแมนเดรกมีการใช้ในพิธีกรรมทางเวทมนตร์มานาน ซึ่งปัจจุบันยังมีอยู่ในศาสนาลัทธินอกศาสนาใหม่ เช่น วิคคา และลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน เช่น ลัทธิโอดิน (Odinism) หมวดหมู่:พืชมีพิษ หมวดหมู่:วงศ์มะเขือ หมวดหมู่:ต้นไม้ในตำนาน.

ใหม่!!: พืชดอกและแมนเดรก · ดูเพิ่มเติม »

แมแหมะ

แมแหมะ เป็นพืชในวงศ์ Euphorbiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผิวเกลี้ยง มีน้ำยางเปลือกสีเทาหยาบ ดอกช่อ ผลเป็นแคปซูลค่อนข้างกลม มีเมล็ดสีดำ 1 เมล็ด การกระจายพันธุ์พบทางภาคใต้ของไทยและหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไม่พบในเกาะนิวกินี เปลือกลำต้นและใบใช้ย้อมหวาย เสื่อ และผ้าฝ้ายให้เป็นสีดำ รากและใบใช้แก้ไข้ ใบใช้ถ่ายพยาธิในสัตว์ ในซาบะฮ์ใช้ผลรักษาแผล ปลายยอดของต้นที่สูงประมาณ 1 เมตร ถ้ารับประทานทำให้แท้งลูก น้ำยางมีพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและแมแหมะ · ดูเพิ่มเติม »

แย้มปีนัง

แย้มปีนัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Strophanthus gratus (Wallich & Hook. ex Benth.) Baillon) มีชื่อพื้นเมือง เช่น บานทน และ หอมปีนังเป็นไม้ที่มีดอกหอมแรง แย้มปีนังเป็นไม้พุ่ม แตกกิ่งมาก ลำต้นตั้งตรง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมขอบขนาน ใบดกทึบ ค่อนข้างหนา ผิวเรียบมัน สีเขียวเข้ม ท้องใบสีเขียวปนม่วง ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อย 5-20 ดอก กลิ่นหอม กลีบดอกสีม่วงแกมชมพู เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ผลเป็นฝัก รูปเรียวยาว เมล็ดสีน้ำตาล มีขน ขึ้นง่ายในดินทั่วไป ออกดอกตลอดปี หากปลูกในที่ร่มมากจะกลายเป็นไม้เลื้อยได้ เมล็ด มีสารที่ออกฤทธิ์กระตุ้นหัวใจ คือสาร ouabain มีความเป็นพิษสูงไม่ควรรับประทาน หากเข้าสู่ร่างกาย ทำให้คลื่นไส้ ท้องเสีย หัวใจเต้นแรง และเร็ว ต้องรีบทำให้อาเจียน และนำส่งโรงพยาบาลทันที.

ใหม่!!: พืชดอกและแย้มปีนัง · ดูเพิ่มเติม »

แววมยุรา

แววมยุรา เป็นพืชไม้ดอกล้มลุก สูงประมาณ 15-50 เซนติเมตร จะมีสีดอกหลายสี ทั้งสีแดง สีชมพู สีม่วงเข้ม สีม่วงอ่อน โคนกลีบจะมีสีขาว กลีบล่างอาจมีแต้มสีเหลือง จะออกเป็นช่อ กระจายตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ปลายแยกเป็น 5 แฉก จะมีขนาดไม่เท่ากัน ดอกจะบานทุกฤดูกาล.

ใหม่!!: พืชดอกและแววมยุรา · ดูเพิ่มเติม »

แวนด้า

''Vanda tricolor'' ''Vanda'' cultivar แวนด้า เป็นกล้วยไม้สกุล หนึ่งในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) ซึ่งเป็นสกุลไม่ใหญ่นัก (ประมาณ 50สายพันธุ์) แต่เป็นไม้ดอกสำคัญที่ใช้ในการจัดดอกไม้ กล้วยไม้สกุลและกลุ่มนี้ได้รับการพัฒนามากที่สุดในกลุ่มกล้วยไม้ทั้งหมดในวงศ์ Orchidaceae กล้วยไม้สกุลนี้ราคาแพงมาก ในการจัดสวนดอกไม้เนื่องจากเป็นกล้วยไม้ที่รูปสวย หอม อยู่ทน และสีสรรที่จัดจ้าน การปลูกแวนด้าแพร่หลายทั่วเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเกาะนิวกินี และบางสายพันธุ์ ก็แพร่หลายในรัฐควีนส์แลนด์ และบางเกาะในแปซิฟิกตะวันตก.

ใหม่!!: พืชดอกและแวนด้า · ดูเพิ่มเติม »

แว่นแก้ว

แว่นแก้ว หรือ บัวแก้ว ผักหนอกใหญ่ (Water Pennywort; L.เป็นไม้น้ำมีอายุหลายฤดู ลำต้นเป็นไหลทอดยาวตามพื้นดิน มีข้อปล้อง มีรากและใบงอกตามข้อทุกส่วน มีกลิ่นหอม ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะและริมน้ำ พบมากในภาคเหนือ และภาคกลาง ใบเป็นใบเดี่ยว แตกออกสลับข้อละ 1–2 ใบ ก้านใบอวบ ยาว 10–15 ซม. ใบรูปเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5–10 ซม. ขอบใบหยักโค้งกว้าง ดอกเป็นดอกช่อแบบอัมเบล เกิดที่ซอกใบมีก้านช่อดอกยาว ดอกมีขนาดเล็ก มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ ผลชนิดแห้งแล้วแตกออกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีขนาดเล็ก ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด และแยกต้นอ่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและแว่นแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

แสมขาว

แสมขาว เป็นพืชในป่าชายเลน สูงได้ถึง 30 เมตร พบได้ทั้งบริเวณหาดทรายและหาดเลนรากแผ่เป็นร่างแห และมีรากหายใจเป็นแท่งโผล่ขึ้นมา ใบมีลักษณะยาวรีกว่าแสมแบบอื่นๆ ใบจะซีดและมีสีอ่อนกว่าแสมดำและแสมทะเล ใบหนา อวบน้ำ ป้องกันการสูญเสียน้ำ มีต่อมเกลือ ขับเกลือออกทางผิวใบ ดอกสีขาวเหลือง มีสี่กลีบแบบเดียวกับแสมทะเลแต่ช่อดอกของแสมขาวเป็นช่อยาวกว่า ผลเป็นทรงหยดน้ำ ยาวกว่าผลแสมดำ ผลลอยน้ำได้.

ใหม่!!: พืชดอกและแสมขาว · ดูเพิ่มเติม »

แสมดำ

แสมดำ เป็นพืชในป่าชายเลน พบได้ทั้งหาดทรายปนเลนและหาดเลน รากเป็นร่างแห มีรากหายใจเป็นแท่งโผล่ขึ้นดิน เปลือกต้นเรียบ สีเขียวเข้มถึงเทาเข้ม ใบแตกตรงข้ามเป็นคู่ ใต้ใบไม่ซีดแบบแสมขาว ใบหนาอวบน้ำป้องกันการสูญเสียน้ำ มีต่อมเกลือที่ใบช่วยขับเกลือออก ดอกสีขาว-เหลือง 4 กลีบ เป็นช่อคล้ายดอกแสมขาว แต่ดอกใหญ่กว่า ผลเป็นรูปกระเปาะคล้ายแสมขาว แต่สั้นกว่า ผลเป็นรูปหยดน้ำ ปลายผลงอ มีขนสีน้ำตาลอ่อนคลุมทั้งผล ผลลอยน้ำได้.

ใหม่!!: พืชดอกและแสมดำ · ดูเพิ่มเติม »

แสมแดง

''Aegiceras corniculatum'' แสมแดง หรือเล็บมือนาง เล็บนาง เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Myrsinaceae โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย เปลือกเรียบสีเทาเข้มถึงน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนเป็นมัน ท้องใบสีเขียวอมแดง ดอกช่อ ออกตามซอกใบเป็นช่อแบบซี่ร่ม มีกลิ่นหอม กลีบดอกสีขาว ผลเป็นทรงกระบอก เรียวโค้ง ยาว 5-8 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและแสมแดง · ดูเพิ่มเติม »

แสลงพันกระดูก

แสลงพันกระดูก เป็นพืชในสกุลชงโค เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ มีมือเกาะ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล หูใบร่วงง่าย ใบเดี่ยว เส้นแขนงใบมีขนสีน้ำตาล ดอกช่อ ดอกสีขาวอมเขียว ก้านกลีบสีแดง ฝักแบน เถาใช้ทำยาแก้น้ำเหลืองเสี.

ใหม่!!: พืชดอกและแสลงพันกระดูก · ดูเพิ่มเติม »

แสลงพันเถา

แสลงพันเถาหรือเสี้ยวเครือ เสี้ยวส้ม เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง ในสกุลชงโค ใบเดี่ยว ดอกสีเขียวอมเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ติดผลเป็นฝักแบน ใช้บำรุงโลหิต แก้ปวดเมื่อย ขับประจำเดือน แก้น้ำเหลืองเสียและผื่นคันตามผิวหนัง.

ใหม่!!: พืชดอกและแสลงพันเถา · ดูเพิ่มเติม »

แสลงใจ

แสลงใจ หรือ ตูมกาแดง เป็นไม้ยืนต้นในป่าเบญจพรรณ เป็นที่มาของชื่ออุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง.

ใหม่!!: พืชดอกและแสลงใจ · ดูเพิ่มเติม »

แห้วหมู

ก้านช่อดอกตัดตามขวาง หัวของแห้วหมูซึ่งยาวประมาณ 20 มิลลิเมตร แห้วหมู หรือหญ้าแห้วหมู หรือ หญ้าขนหมู เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในวงศ์กก เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุก ลำต้นอยู่ใต้ดิน มีลักษณะเป็นหัวกลม สั้น มีตาจำนวนมาก และสามารถแทงไหลไปได้ไกลแล้วเกิดหัวใหม่เจริญขึ้นต้นเหนือดิน ใบของแห้วหมูเกิดที่ลำต้น ชิดแน่นโดยเป็นกาบใบหุ้มซ้อนม้วนทับกัน ชูขึ้นเหมือนลำต้นแล้วแผ่เป็นแผ่นใบแบนรูปแถบยาว ปลายแหลม กลางใบเป็นสันร่อง ผิวใบเรียบสีเขียวเข้ม กว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตร ยาว 25 เซนติเมตร ดอกของแห้วหมูเกิดที่ปลายยอด ก้านช่อดอกเป็นรูปเหลี่ยมสีเขียวเข้มแทงขึ้นสูง ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร แล้วแตกเป็นช่อย่อยอีกหลายช่อ ดอกย่อยสีน้ำตาลจำนวนมาก ผลรูปขอบขนาน ปลายแหลมสีน้ำตาลหรือดำ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหรือหัวใต้ดิน.

ใหม่!!: พืชดอกและแห้วหมู · ดูเพิ่มเติม »

แห้วทรงกระเทียม

แห้วจีน หรือ แห้วทรงกระเทียม (Ground chesnut) เป็นพืชวงศ์กกและเป็นพืชหลายฤดู เป็นพืชกึ่งพืชน้ำ มีเหง้าใต้ดิน เหง้าสั้นมีไหลยาว หัวกลมแบนเกิดในส่วนปลายไหล สีน้ำตาลหรือสีดำ ขึ้นเป็นกอ ลำต้นแข็งแรง ลำต้นตรง กลม ใบย่อส่วนเหลือเพียงโคนกาบหุ้มไม่มีแผ่นใบ สีน้ำตาลแดงหรือสีม่วง ยาว 15-20 เซนติเมตร ช่อดอกเดี่ยวเป็นช่อเชิงลด ดอกช่อยาว 1.5 -3.0 เซนติเมตร ดอกย่อยเป็นแบบ spike ยาว 2-5 เซนติเมตร มีริ้วประดับเป็นเยื่อบางๆ กลีบดอกคล้ายเส้นด้ายสีขาวหรือสีน้ำตาล ผลเป็นผลแห้งเมล็ดล่อน สีเหลืองมันจนถึงสีน้ำตาล ขยายพันธุ์ด้วยไหล หน่อ และเมล็ด ชอบที่ชื้นแฉะ พบในพื้นที่ลุ่มที่รกร้าง หนองน้ำและนาข้าว กระจายพันธุ์ทั่วประเทศไทย กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของโลกเก่า ตั้งแต่แอฟริกาตะวันตก มาดากัสการ์ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มีทั้งพันธุ์ป่าและพันธุ์ปลูก โดยพันธุ์ป่าหัวขนาดเล็ก ค่อนข้างดำ พันธุ์ปลูกหัวใหญ่สีออกม่วงหรือน้ำตาล แห้วใช้ปรุงอาหารได้หลายอย่าง ทั้งในจีน อินโดจีน ไทย และประเทศอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นำมารับประทานเป็นของหวาน หัวขนาดใหญ่นิยมรับประทานสด หัวขนาดเล็กใช้ผลิตแป้ง ในฟิลิปปินส์ใช้ทำข้าวเกรียบ ลำต้นใช้สานเสื่อหรือเป็นอาหารสัตว.

ใหม่!!: พืชดอกและแห้วทรงกระเทียม · ดูเพิ่มเติม »

แห้วประดู่

แห้วประดู่ เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Leguminosae ต้นตั้งตรง มีกิ่งน้อยหรือไม่มี มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุม โคนต้นใต้ดินเกิดเป็นหัวรูปยาว ใบประกอบ หูใบเป็นแบบเส้นด้าย ก้านใบมีขนแข็งและหยาบปกคลุม ดอกสีเหลืองอ่อน บางครั้งมีแถบสีม่วง ผลเป็นฝักรูปข้อ แก่แล้วแตก สีออกดำ พบในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีน หัวรับประทานได้ มีแป้ง 30% ของน้ำหนักแห้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและแห้วประดู่ · ดูเพิ่มเติม »

แห้วไทย

แห้วไทย เป็นพืชอายุยืน เหง้าเรียว มีเกล็ดสีซีดห่อหุ้ม เหง้าจะฝ่อหลังจากเกิดหัว หัวรูปไข่หรือกลม หัวแก่มีขนสีเทาปกคลุม ลำต้นเรียวเล็ก แข็ง ช่อดอกคล้ายซี่ร่ม มีริ้วประดับเป็นวงรองรับช่อดอก การกระจายพันธุ์พบตั้งแต่แถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตอนใต้ของแอฟริกา อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย หัวนำมาต้มสุกหรือคั่ว และบดละเอียดเป็นแป้ง ใช้ทำไอศกรีม ขนมปังหรือโจ๊ก ในสเปนใช้ทำเครื่องดื่มที่เรียกออร์ชาตา ทำจากน้ำคั้นจากหัวสด ลำต้นแห้งใช้สานเสื่อ งานจักสานต่าง ๆ ส่วนบนดินใช้เป็นอาหารสัตว์ หัวมีแป้ง 2030 ของน้ำหนักแห้ง มีน้ำมันที่ประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น กรดโอเลอิก.

ใหม่!!: พืชดอกและแห้วไทย · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกันไวโอเล็ต

แอฟริกันไวโอเล็ต (African Violet หรือ Saintpaulias)เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceac มีถิ่นกำเนิดอยู่ตามแถบภูเขาในทางตอนเหนือของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนใต้ของเคนยาในประเทศแอฟริกา พบครั้งแรกที่แทนซาเนีย เมื่อปี..

ใหม่!!: พืชดอกและแอฟริกันไวโอเล็ต · ดูเพิ่มเติม »

แอร์โรว์เฮด (พรรณไม้)

แอร์โรว์เฮด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sagittaria montevidensis Cham. et Schlecht) ชื่อสามัญ: Arrow Head, Aztex Head, Giant Arrow Head เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง มีใบที่ดูเหมือนหัวลูกศรหรือหัวปลายธนู เป็นไม้น้ำขนาดกลางไม้โผล่เหนือน้ำ เจริญเป็นกอ สูงประมาณ 50 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและแอร์โรว์เฮด (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

แอลแฟลฟา

แอลแฟลฟา (alfalfa) หรือ ลูเซิร์น (lucerne) จัดเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีฝัก เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันตกและแถบเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก เป็นพืชชนิดแรก ๆ ที่ใช้เพื่อการเพาะปลูก เติบโตได้ในแถบทุกอากาศทั่วโลก แอลแฟลฟามีระบบรากที่มหัศจรรย์มาก ในบางพื้นที่รากของ แอลแฟลฟาสามารถชอนไชลงไปได้ลึกกว่า 130 ฟุต จึงมีประสิทธิภาพในการดูดซึมธาตุอาหารได้มากกว่าและบริสุทธิ์กว่า อีกทั้งตัวของ แอลแฟลฟาเองก็จะไม่สะสมสารพิษ ชาวอาหรับโบราณรู้จักใช้ประโยชน์จาก "แอลแฟลฟา" มากว่า 2,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยใช้เป็นพืชเลี้ยงสัตว์ เพื่อเพิ่มความเร็วและแข็งแรงให้กับม้า อีกทั้งยังใช้ใบมาตากแห้งชงเป็นชาดื่ม ด้วยคุณค่าทางอาหารที่มากมายชาวอาหรับจึงขนานนาม แอลแฟลฟาให้เป็น AL-FAS-FAH-SHA หรือ "ราชาแห่งอาหารทั้งมวล" ได้มีการใช้แอลแฟลฟาเพื่อการรักษาทางการแพทย์มาตั้งแต่ในสมัยโบราณ โดยแพทย์ชาวจีนได้ใช้ใบแอลแฟลฟาอ่อนในการรักษาอาการย่อยไม่ปกติ เช่นเดียวกันกับแพทย์ชาวอินเดียที่ใช้ใบและดอกสำหรับการรักษากระบวนการย่อยทำงานที่ทำงานได้น้อย นอกจากนี้ แอลแฟลฟายังใช้เพื่อการบำบัดโรคข้อต่ออักเสบ ชาวอินเดียนในอเมริกาเหนือได้แนะนำให้ใช้ แอลแฟลฟาในการรักษาโรคดีซ่าน และช่วยสนับสนุนการจับตัวของเลือด แพทย์ที่ใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดในสหรัฐอเมริการได้แนะนำให้ใช้ แอลแฟลฟาเป็นยาสำหรับอาการย่อยไม่เป็นปกติ ภาวะโลหิตจาง เบื่ออาหารและอาการการดูดซึมอาหารไม่ดี นอกจากนี้ยังแนะนำว่า แอลแฟลฟามีส่วนกระตุ้นให้การหลั่งน้ำนมในแม่ดีขึ้นอีกด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและแอลแฟลฟา · ดูเพิ่มเติม »

แอสเทอริด

แอสเทอริด (asterids) เป็นเคลดของพืชมีดอกในระบบ APG II พืชส่วนใหญ่ในเคลดนี้อยู่ใน Asteridae ในระบบ Cronquist และ Sympetalae ในระบบก่อนหน้านี้ สมาชิกประกอกด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและแอสเทอริด · ดูเพิ่มเติม »

แอปเปิล

ต้นแอปเปิล (apple) เป็นต้นไม้ผลัดใบในวงศ์กุหลาบ มีผลรสหวานเรียกว่า ผลแอปเปิล แอปเปิลมีปลูกอยู่ทั่วโลกในลักษณะของไม้ผล และสายพันธุ์ที่ถูกปลูกมากที่สุดคือสกุล Malus ต้นแอปเปิลมีต้นกำเนิดในเอเชียกลาง ซึ่งบรรพบุรุษคือ Malus sieversii ยังคงพบได้ในปัจจุบัน แอปเปิลมีปลูกเป็นเวลาหลายพันปีในเอเชียและยุโรป และกลุ่มอาณานิคมชาวยุโรปนำมาปลูกที่อเมริกาเหนือ แอปเปิลมีความสำคัญทางศาสนาและเทพปกรณัมในหลายวัฒนธรรม รวมถึงนอร์ส กรีก และประเพณีต่าง ๆ ของคริสต์ศาสนิกชนของชาวยุโรป ต้นแอปเปิลจะมีขนาดใหญ่หากเติบโตจากเมล็ด แต่จะมีขนาดเล็กถ้าถูกตัดต่อเนื้อเยื่อเข้ากับราก ปัจจุบันมีแอปเปิลที่พันธุ์ปลูกมากกว่า 7,500 ชนิด ทำให้แอปเปิลมีลักษณะพิเศษหลากหลาย พันธุ์ปลูกแต่ละพันธุ์จะมีรสชาติแตกต่างกัน และการนำไปใช้ต่างกันด้วย เช่น นำไปประกอบอาหาร กินดิบ ๆ หรือนำไปผลิตไซเดอร์ ปกติแอปเปิลจะแพร่พันธุ์ด้วยการตัดต่อเนื้อเยื่อ แต่แอปเปิลป่าจะเติบโตได้เองจากเมล็ด ต้นแอปเปิลและผลแอปเปิลอาจประสบปัญหาจากจากเห็ดรา แบคทีเรีย และศัตรูพืชต่าง ๆ ซึ่งอาจควบคุมได้ด้วยวิธีการทางเกษตรอินทรีย์และอนินทรีย์หลายวิธี ใน..

ใหม่!!: พืชดอกและแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

แฮ่โกวเฉ่า

แฮ่โกวเฉ่าในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือเซี่ยคูเฉ่าในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Lamiaceae พบได้ในเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ ชาวเชอโรกีนำใบอ่อนไปปรุงสุกแล้วรับประทาน เป็นสมุนไพรจีน ช่อดอกสีน้ำตาลหรือม่วงอมน้ำตาล เมล็ดกลมรี สีน้ำตาล ช่อดอกใช้ทำยาขับความร้อน แก้แผลมีหนอง.

ใหม่!!: พืชดอกและแฮ่โกวเฉ่า · ดูเพิ่มเติม »

แจง

แจงหรือแกง เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Capparaceae ผลัดใบในช่วงสั้นๆทรงพุ่มแน่นทึบ ใบประกอบ ผลรูปรีหรือกลม สุกแล้วเป็นสีเหลืองฉ่ำน้ำ ออกดอกช่วงมกราคม – มีนาคม ผลแก่ในเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยโดย J.E. Teijsmann ชาวเนเธอร์แลนด์ที่จังหวัดราชบุรี ชื่อสปีชีส์ตั้งตามประเทศไทย ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและแจง · ดูเพิ่มเติม »

แขม

แขม (Tall reed, Khagra reed) เป็นวัชพืชน้ำ จำพวกหญ้า (Poaceae) มีอายุยืนหลายฤดู ชอบขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่หนาแน่นตามพื้นที่ชื้นแฉะริมน้ำ มีเหง้าใหญ่แข็งแรง ลำต้นตั้งตรง สูง 2–3 เมตร แผ่นใบหยาบกระด้าง ใบยาวเรียวปลายแหลม ยาว 30–80 เซนติเมตร กว้าง 1–3 เซนติเมตร กาบใบที่หุ้มลำต้นไม่มีขนคลุม ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อดอกมีขนาดใหญ่ ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร สีน้ำตาล มีขนคล้ายไหมสีขาวอยู่ทั่วไป กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมีหลายสถานที่ที่ถูกตั้งชื่อตามชื่อของแขม เช่น เขตหนองแขม เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและแขม · ดูเพิ่มเติม »

แดง (พรรณไม้)

ำหรับแดงในความหมายอื่น ดูที่: แดง แดง เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 30 เมตร (สูงสุด 37 เมตร) จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) แดง เป็นไม้ที่ชอบขึ้นในป่าเต็งรัง, ป่าเบญจพรรณ และป่าสัก กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยขึ้นได้ทั่วทุกภาค ลำต้นค่อนข้างเปล่า ตรง หรือเป็นปุ่มปม เรือนยอดรูปทรงกลม หรือเก้งก้าง ไม่ค่อยแน่นอน สีเขียวอมแดง เปลือกเรียบสีเทาอมแดง ตกสะเก็ดออกเป็นแผ่นกลมบาง ๆ รอบลำต้น เมื่อสับเปลือกทิ้งไว้จะได้ชันสีแดง ยอดอ่อนมีขนสีเหลืองปกคลุม ใบเป็นช่อแบบขนนกสองชั้น ก้านใบยาว 2–7 เซนติเมตร ช่อใบยาว 10–22 เซนติเมตร แต่ละช่อมีใบย่อย 4–5 คู่ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน แผ่นใบมักจะเบี้ยว มีขนาดไม่เท่ากัน กว้าง 3–7 เซนติเมตร ยาว 7–20 เซนติเมตร ปลายใบแหลมมน ฐานใบมักจะเบี้ยว ใบแก่ไม่มีขนปกคลุม หรืออาจจะมีขนประปรายด้านท้องใบเล็กน้อย ก้านใบย่อยยาว 2–4 มิลลิเมตร ดอกสีเหลือง ขนาดเล็ก ขึ้นอัดกันแน่นบนช่อกลมเดี่ยว ๆ หรือแตกกิ่งก้าน หรือขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง แต่ละช่อประมาณ 1.4 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 2–5 เซนติเมตร มีขนปกคลุมประปราย กลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันคล้ายรูประฆัง ตรงปลายแยกออกเป็น 5 กลีบ มีขนสีเหลืองปกคลุม กลีบดอก 5 กลีบติดกันเล็กน้อยที่บริเวณฐาน เกสรตัวผู้มี 10 อัน แยกจากกันเป็นอิสระยื่นออกมานอกดอก ดอกจะออกมาพร้อมกับใบอ่อนระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม ฝักจะแก่ประมาณเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ผลเป็นฝักแบน รูปขอบขนานเรียวและโค้งงอที่ส่วนปลาย ฝักแข็ง ยาวประมาณ 7–10 เซนติเมตร สีน้ำตาลอมเทา ผิวเรียบ ไม่มีขนปกคลุม ไม่มีก้าน เมื่อฝักแก่จะแตกออกเป็น 2 ซีก ผนังของฝักที่แตกมักจะม้วนบิดงอ เมล็ดแบนเรียวแหลม ยาวรีหรือเกือบกลม ยาว 0.4–0.7 นิ้ว กว้าง 0.35–0.5 นิ้ว สีน้ำตาลเป็นมัน เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งขอประมาณ เมล็ดแม้จะผ่านไปเป็นระยะเวลานานกว่า 1 ปี ก็สามารถงอกได้หากอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม ผักหนึ่งมีจำนวนหลายเมล็ด เปลือกต้นแดง แดง เป็นไม้ที่ใช้ประโยชน์ ด้วยการใช้เนื้อไม้ในเชิงอุตสาหกรรมป่าไม้ ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ และเครื่องใช้ต่าง ๆ เนื้อไมีสีแดงเรื่อ ๆ หรือสีน้ำตาลอมแดง เสี้ยนเป็นลูกคลื่น หรือมักสน เนื้อละเอียดพอประมาณ มีความแข็งแรง มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 1.18 ดอก เปลือกและ แก่นใช้บำรุงหัวใจ แก้ไข้ แก้ช้ำใน แดงเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดตาก และมีชื่อเรียกต่างออกไปตามแต่ละท้องถิ่น อาทิ "คว้าย" (เชียงใหม่, กาญจนบุรี), "ไคว" (แพร่ แม่ฮ่องสอน) "จะลาน, จาลาน, ตะกร้อม, สะกรอม" (จันทบุรี), "ปราน" (สุรินทร์) เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและแดง (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

แค

แค เป็นต้นไม้ขนาดเล็กในสกุลโสน มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: แคบ้าน (กลาง) แคขาว แคแดง (กทม. เชียงใหม่) แค (กลาง) แคดอกแดง แคดอกขาว.

ใหม่!!: พืชดอกและแค · ดูเพิ่มเติม »

แคฝรั่ง

แคฝรั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gliricidia sepium (Jacq.) Kunth ex Walp. ชื่อสามัญ:Mata Raton) ในฮอนดูรัสเรียก Cacao de nance หรือ cacahnanance ในฟิลิปปินส์เรียก Kakawate ในกัวเตมาลาเรียก Madre Cacao หรือ Madre de Cacao ในนิคารากัวเรียก Madero negro เป็นพืชตระกูลถั่วที่มีเนื้อไม้ขนาดกลาง เป็นพืชที่ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ในประเทศไทย ดอกแคฝรั่งนี้เป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ดอกแคฝรั่งในติมอร์ตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย 150px.

ใหม่!!: พืชดอกและแคฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

แครนเบอร์รี

แครนเบอร์รี (cranberry) อยู่ในกลุ่มไม้พุ้มแคระไม่ผลัดใบหรือมีลำต้นเป็นเถายาว (trailing vine) ในจีนัสย่อย Oxycoccus ในจีนัส Vaccinium พบในพรุที่เป็นกรดตลอดบริเวณหนาวในซีกโลกเหนือ แครนเบอร์รีจะให้สารอาหารดังนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและแครนเบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

แคร์รอต

''Daucus carota subsp. maximus'' แคร์รอต (carrot) เป็นพืชกินหัวชนิดหนึ่ง มีลักษณะยาว หัวแคร์รอตมีหลายสี เช่น เหลือง ม่วง ส้ม แต่ที่นิยมรับประทานในปัจจุบันคือสีส้ม แคร์รอตเป็นพืชแถบเอเชียตะวันออกและเอเชียกลาง มีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กเท่าแท่งดินสอ หรือที่เรียกว่าเบบีแคร์รอต (baby carrot) ไปจนถึงขนาดใหญ.

ใหม่!!: พืชดอกและแคร์รอต · ดูเพิ่มเติม »

แคสันติสุข

แคสันติสุข เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก โคนกลีบดอกรูประฆังสีขาวอมชมพู ปลายกลีบหยักเว้าและย่น ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก แห้งแล้วแตก เมล็ดแบนและมีปีกบางๆ ออกดอกเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เมื่อ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและแคสันติสุข · ดูเพิ่มเติม »

แคทะเล

แคทะเล เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae เปลือกแตกเป็นร่องเล็ก ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ผิวใบเรียบ ใบมัน ใบอ่อนออกสีเขียวอมแดง แก่แล้วเป็นสีเขียว ดอกเป็นดอกช่อ บานไม่พร้อมกัน ช่อดอกสั้น ดอกเป็นถ้วยปากแตรสีขาว ปลายกลีบดอกเป็นหยัก เกสรตัวผู้ 4 อัน ยาวไม่เท่ากัน ออกดอกตลอดปี ผลเดี่ยว ยาว ค่อนข้างแบน เมื่ออ่อนสีเขียวอมม่วง แก่เป็นสีน้ำตาลอมดำ แตกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและแคทะเล · ดูเพิ่มเติม »

แคนตาลูป

แคนตาลูป (cantaloupe) หรือเรียกกันว่า แตงแคนตาลูป มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cucumis melo L. var.

ใหม่!!: พืชดอกและแคนตาลูป · ดูเพิ่มเติม »

แคแสด

แคแสด (African tulip tree, Fire bell, Fouain tree, Flame of the Forest) เป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของแอฟริกา ปัจจุบันกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อน สามารถปลูกในทรายริมทะเลได้ ถ้าปลูกในที่แห้งจะผลัดใบ แต่ไม่พร้อมกันทั้งต้น มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ดังนี้: แคแดง (กรุงเทพฯ), ยามแดงเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและแคแสด · ดูเพิ่มเติม »

แตงพะเนินทุ่ง

แตงพะเนินทุ่ง เป็นไม้เถาในวงศ์ Cucurbitaceae เถาปกคลุมด้วยขนสากแข็ง สีน้ำตาลหรือเทา ใบเดี่ยว เว้าลึกเป็นห้าแฉก ผิวใบมีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกสีขาว ผลเดี่ยว ทรงกระบอก สุกแล้วเป็นสีเขียว มีแถบสีขาวตามยาวของผล เมล็ดแบน พบครั้งแรกที่อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี โดยนายพงษ์ศักดิ์ พลเสนา เมื่อ 25 กันยายน..

ใหม่!!: พืชดอกและแตงพะเนินทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แตงกวา

แตงกวา หรือ แตงร้านhttp://frynn.com/%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2/ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Cucurbitaceae (วงศ์เดียวกันกับแตงโม ฟักทอง บวบ มะระ น้ำเต้า) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย นิยมปลูกเพื่อใช้ผลเป็นอาหาร มีอายุตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว 30-45 วัน แตงกวาสามารถนำไปปรุงอาหารได้มากมายหลายชนิดเช่น แกงจืด ผัด กินกับน้ำพริก หรืออาจแปรรูปเป็นแตงกวาดอง.

ใหม่!!: พืชดอกและแตงกวา · ดูเพิ่มเติม »

แตงกวาอาร์มีเนีย

แตงกวาอาร์มีเนีย (Armenian cucumber; acur; var. flexuosus) เป็นพืชที่มีผลยาว ผอมและมีรสชาติคล้ายแตงกวา แต่เป็นสายพันธุ์หนึ่งของแตงไทย (C. melo) ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่ใกล้เคียงกับแตงกวา (C. sativus) บางครั้งเรียกว่า แตงกวายาว แตงกวางู แตงงู ในอินเดียเรียก kakri ในอียิปต์เรียก Atta ในโมร็อกโกเรียก feggous หรือ fakkous ในไซปรัสเรียก φακούσι แต่เป็นพืชคนละชนิดกับบวบ (Trichosanthes spp.)เปลือกของพืชชนิดนี้บาง สีเขียวอ่อน ไม่มีรสขม ต้นแตงกวาอาร์มีเนียยาวประมาณ 30 - 36 นิ้วเจริญไปตามดินหรือมีค้างชอบบริเวณที่มีแดดจัดตลอดทั้งวัน ผลยาว 12-15 นิ้ว ในตะวันออกกลางมีแตงกวาอาร์มีเนียดองขายในชื่อ "Pickled Wild Cucumber".

ใหม่!!: พืชดอกและแตงกวาอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

แตงกวาต้น

แตงกวาต้น เป็นพืชชนิดเดียวในวงศ์แตงที่เป็นไม้ยืนต้น อยู่ในเผ่า Coniandreae Dendrosicyos เป็นกลุ่มหลักภายในเผ่าโดยเป็นพี่น้องกับสกุลอื่นๆในเผ่าเดียวกัน พบในเกาะโซโคตรา ประเทศเยเมน เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นพองออก อวบใหญ่ เก็บน้ำได้ทั้งใบ ต้น และกิ่งก้าน พืชนี้มีสารเดนโดรไซซินซึ่งเป็นสารที่คล้ายกับคิวเคอร์บิทาซินแต่มีโครงสร้างเป็นวงที่แปลกไป.

ใหม่!!: พืชดอกและแตงกวาต้น · ดูเพิ่มเติม »

แตงโม

ใบแตงโม แตงโม เป็นผลไม้ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทวีปแอฟริกา ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียงสมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับแคนตาลูปและฟัก เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือปลาดุก.

ใหม่!!: พืชดอกและแตงโม · ดูเพิ่มเติม »

แตงไทย

แตงไทย (Muskmelon) อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae ทางภาคเหนือเรียก แตงลายหรือมะแตงสุก ภาคอีสานเรียก แตงจิงหรือแตงกิง ภาษาเขมรเรีบกซกเซรา ภาษากะเหรี่ยงเรียก ดี มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ตั้งแต่เชิงเขาหิมาลัยไปถึงแหลมโคโมริน นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พืชดอกและแตงไทย · ดูเพิ่มเติม »

แซะ

ต้นแซะ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Callerya atropurpurea Benth; ชื่ออื่น: กะแซะ (สุราษฏร์ธานี), ยีนิเก๊ะ (มลายู-นราธิวาส), แซะ (ทั่วไป)) เป็นไม้ต้นผลัดใบในวงศฺ LEGUMINOSAE เป็นไม้ยืนต้นสูง 20–30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ เปลือกลำต้นเรียบ ผิวสีน้ำตาลหรือเทา มีพูพอน ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยออกตรงกันข้าม มีใบย่อยปลายก้านอีก 1 ใบ แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก ดอกออกเป็นช่อตามปลายกิ่งหรือง่ามใบ ทรงดอกถั่ว กลีบเลี้ยงสีเขียว เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกสีแดงแกมม่วงทึบ เกสรตัวผู้สีเหลืองอยู่กลางดอก กลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-เมษายน ผลเป็นผลเดี่ยว ผลอ่อนแบน เมื่อผลแก่ เมล็ดขยายใหญ่จนเกือบเป็นทรงกระบอก มี 1-3 เมล็ด แซะขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด เหมาะสมกับสภาพดินทุกชนิด แสงแดดจัด ต้องการน้ำและความชื้นปานกลาง ถิ่นกำเนิดอยู่ตามชายป่าดิบชื้นภาคใต้ของไท.

ใหม่!!: พืชดอกและแซะ · ดูเพิ่มเติม »

แปบ

แปบ เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae พบในกัมพูชา เวียดนามและภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและแปบ · ดูเพิ่มเติม »

แปะจี้

แปะจี้ในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือไป๋จื่อในภาษาจีนกลาง (Bai Zhi 白芷) อยู่ในวงศ์ Apiaceae เป็นพืชท้องถิ่นใน ไซบีเรีย ตะวันออกไกลของรัสเซีย มองโกเลีย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และ ไต้หวัน รากภายนอกเป็นสีเทาขาวหรือสีเหลืองขาว ด้านในสีขาวรากใช้เป็นยาแก้ปวดบวม ไข้หวั.

ใหม่!!: พืชดอกและแปะจี้ · ดูเพิ่มเติม »

แปะเจียก

แปะเจียก ในภาษาจีนแต้จิ๋ว หรือไป๋เสาในภาษาจีนกลาง เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุลโบตั๋น เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออก ตั้งแต่ทิเบตตะวันออกไปจนถึงภาคเหนือของจีนและไซบีเรียตะวันออก ดอกขนาดใหญ่และกลม บานแล้วมีกลิ่นหอม เมื่อบานดอกมีทรงเหมือนถ้วย กลีบดอกสีชมพู เกสรสีเหลือง พืชชนิดนี้ใช้เป็นยาสมุนไพรในจีน รากด้านนอกเป็นสีน้ำตาลแดงอ่อนหรือขาว ใช้เป็นยาบำรุงตับ รากที่ปอกเปลือกออกแล้วใช้เป็นยาบำรุงเลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและแปะเจียก · ดูเพิ่มเติม »

แป๊ะตำปึง

แป๊ะตำปึง หรือ ว่านกอบ เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae เป็นไม้เลื้อยทอดตามพื้นดิน พบในฟิลิปปินส์ คาบสมุทรมลายู ไทย และคาบสมุทรอินโดจีน ลำต้นอวบน้ำ มียางใส ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปหอก ผิวใบหนามัน เนื้อใบขรุขระ ดอกช่อ ริ้วประดับมีสีเขียวรูปทรงกระบอกหุ้ม กลีบดอกย่อยขนาดเล็ก สีเหลือง ก้านชูเกสรเพศเมียยาว แยกเป็น 2 แฉก มีลักษณะเป็นฝอยชูทั่วช่อดอกกระจุก ชาวไทลื้อและชาวไทยในภาคเหนือนำยอดและใบอ่อนใช้เป็นผักรับประทานกับลาบ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียนำใบสดไปใช้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและแป๊ะตำปึง · ดูเพิ่มเติม »

ใบระบาด

มล็ดของใบระบาด ใบระบาด ((Burm.f.) Bojer) มีชื่อพื้นเมืองเช่น ผักบุ้งเงิน ผักระบาด หรือ เมืองมอน เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ในวงศ์ผักบุ้ง ลำต้นสีเขียว เลื้อยพันได้ ใบสีเขียวเทา ใต้ใบและผิวนอกของกลีบดอกมีขนสีขาวแกมเงิน วงกลีบดอกรูปหลอด ภายในสีชมพูอมม่วงอ่อน ผลเป็นแบบกระเปาะมีกลีบเลี้ยงติด เป็นไม้พื้นเมืองของอินเดียมีชื่อในภาษาสันสกฤตว่า विधारा (Vidhara) มีการกระจายพันธุ์ไปทั่วโลก รวมทั้งในฮาวายและประเทศแถบทะเลแคริบเบียน พบมากที่ฮาวาย สามารถกลายเป็นพืชรุกรานได้ มีสารเออร์โกลีนและเอไมด์ของกรดไลเซอร์กิก มีฤทธิ์หลอนประสาท.

ใหม่!!: พืชดอกและใบระบาด · ดูเพิ่มเติม »

ใบไม้สีทอง

ใบไม้สีทอง หรือ ย่านดาโอ๊ะ เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ ใบอ่อนมีมีขนสีน้ำตาลแดง หรือขนสีทองแดงซึ่งเป็นที่มาของชื่อ เป็นพืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในเขตจังหวัดปัตตานี นราธิวาส และยะลาเป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกโดย ดร.ชวลิต นิยมธรรม ที่น้ำตกบาโจ จังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: พืชดอกและใบไม้สีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ใบเงินใบทอง

ใบเงินใบทอง (caricature plant, gold leaves) เป็นพืชในวงศ์เหงือกปลาหมอ (Acanthaceae) นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและไม้มงคล.

ใหม่!!: พืชดอกและใบเงินใบทอง · ดูเพิ่มเติม »

โบตั๋น (พรรณไม้)

ตั๋นมีชื่อในภาษาไทยว่า "นางพญานิรมล" เป็นไม้ดอกสกุล Paeonia ซึ่งเป็นสกุลเดียว ในวงศ์ Paeoniaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชีย, ตอนใต้ของทวีปยุโรป และตะวันตกของอเมริกาเหนือ ในอดีต โบตั๋นมักถูกจัดอยู่ในวงศ์ Ranunculaceae พืชสกุลโบตั๋นส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุกหลายปี สูงประมาณ 0.5–1.5 เมตร บางชนิดเป็นพุ่ม ลำต้นมีเนื้อไม้ สูง 1.5-3 เมตร ลักษณะของใบเป็นใบประกอบ มีแฉกลึก ดอกใหญ่ และมักมีกลิ่นหอม มีหลายสี ตั้งแต่ แดง บานเย็น เหลือง จนถึงขาว มักออกดอกในช่วงต้นฤดูร้อน.

ใหม่!!: พืชดอกและโบตั๋น (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

โพ

(มักเขียนว่า โพธิ์) (คำว่า "โพ" มาจากภาษาสิงหล; Sacred fig) เป็นต้นไม้สปีชีส์หนึ่งของไทรหรือมะเดื่อ เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และ อินโดจีน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน สูงได้ถึง 30 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร รูปใบโดยทั่วไปของต้นโพ ใบมีรูปหัวใจปลายยาว ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้าง 8-12 เซนติเมตร ก้านใบยาว 6-10 เซนติเมตร ผลมีขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร สีเขียวเมื่อสุกมีสีม่วง โพเป็นต้นไม้ที่ถูกสักการะในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ด้วยเหตุนี้จึงมีชื่อว่า "Sacred fig" พระโคตมพุทธเจ้าก็ได้ตรัสรู้เมื่อนั่งอยู่ใต้ต้นโพเช่นกัน โดยต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าตรัสรู้นั้นชื่อ "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" ปัจจุบันยังคงมีชีวิตอยู่ที่ประเทศอินเดีย จึงเชื่อกันว่าโพเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข, ความสำเร็จ, อายุยืน และ ความโชคดี และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: พืชดอกและโพ · ดูเพิ่มเติม »

โพศรี

รี เป็นพืชในวงศ์ยางพารา เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น สามารถพบได้ในบริเวณเขตร้อนอย่างในป่าแอมะซอน อเมริกาใต้ อินเดียรวมไปถึงประเทศไทย เปลือกลำต้นมีหนามสีน้ำตาลซึ่งหนามเหล่านี้ทำให้มันถูกตั้งฉายาว่าลิงไม่ปีน Monkey no-climb โพศรีสามรถสูงได้ถึง 60 เมตร มียางสีใส่ ใบเดี่ยวรูปไข่ ดอกออกเป็นช่อที่ยอด มีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่บนต้นเดียวกัน ผลกลมแป้นปลายแหลมเป็นจะงอยคล้ายฝักทองในผลมีเมล็กคล้ายเมล็ดถั่วปากอ้า ยางเข้าตาทำให้ตาบอด ผลและเมล็ดถ้ารับประทานทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน ชักและเป็นอัมพาต.

ใหม่!!: พืชดอกและโพศรี · ดูเพิ่มเติม »

โพธิ์ขี้นก

ี้นก หรือโพตัวผู้ หรือโพประสาท เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae โคนต้นเป็นพูพอน เปลือกสีน้ำตาลอมเทา ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ปลายใบมีติ่งแหลม ดอกช่อ ออกตามซอกใบตามปลายกิ่ง ดอกเจริญอยู่บนฐานรองดอก ดอกตัวผู้อยู่ใกล้ช่องของฐานรองดอก ดอกตัวเมียอยู่ถัดเข้าไป ผลเดี่ยว ขนาดเล็ก อัดแน่นอยู่บนฐานรองดอก ผลเดี่ยว ขนาดเล็ก อัดแน่นอยู่บนฐานรองดอก มีผนังบางๆหุ้มฐานรองดอก เปลี่ยนจากสีเขียวมีน้ำยางมาเป็นสีดำอมแดงนิ่มและไม่มียาง ผลใช้เป็นอาหารสัตว์ เปลือกและใบเป็นยาละลายเสมหะ เปลือกและผลบดให้ละเอียด เป็นยาแก้โรคบิด เปลือกผลผสมสมุนไพรอื่นทำเป็นขี้ผึ้งทาแก้ปวด ยางผสมกับน้ำตาลมะพร้าวใช้ขั.

ใหม่!!: พืชดอกและโพธิ์ขี้นก · ดูเพิ่มเติม »

โพทะเล

''Thespesia populnea'' สำหรับอำเภอที่จังหวัดพิจิตร ดูที่: อำเภอโพทะเล โพทะเล (ชื่อสามัญ: Portia Tree) เป็นชนิดของไม้ดอกในตระกูล Malvaceae เป็นต้นไม้ขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม โพทะเล เป็นพืชในสกุลเดียวกับปอทะเลและมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แหล่งอาศัยเป็นแบบเดียวกัน ดอกสีเหลือง บานตอนเช้า แก่แล้วเปลี่ยนเป็นสีแดงเช่นกัน แต่ดอกโพทะเลไม่มีวงกลมสีแดงภายในดอกแบบเดียวกับปอทะเล ใบเป็นรูปหัวใจคล้ายใบโพธิ์ ใต้ใบมีขนอ่อนปกคลุมทำให้น้ำระเหยออกจากใบได้ช้า ผลกลม เมื่อแก่เต็มที่เป็นผลแห้ง กลีบเลี้ยงรูปถ้วยติดอยู่ที่ขั้วผล ชื่อสามัญของโพทะเลในภาษาต่างๆ ได้แก่ Indian Tulip Tree, Pacific Rosewood, Seaside Mahoe (ใน ฟลอริดา), เบิฮ์สมุทร (បើស​សមុទ្រ) หรือ เจฺรยสมุทร (ជ្រៃ​សមុទ្រ) (ภาษาเขมร), Surina Suriya (ภาษาสิงหล), เบอบารู หรือ บารู บารู (ภาษามลายู), Milo หรือ Miro (ภาษาในกลุ่มโพลีเนเซียหลายภาษา), Makoi (ภาษาราปานุย), Gangaraavi (ภาษาเตลูกู), ปูวรสุ: பூவரசு (ภาษาทมิฬ), ปูวรสุ: പൂവരശ്‌ (ภาษามาลายาลัม), PakuR (ภาษาเบงกาลี) และ Plaksa (ภาษาสันสกฤต).

ใหม่!!: พืชดอกและโพทะเล · ดูเพิ่มเติม »

โกฐก้านพร้าว

กฐก้านพร้าว อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี เหง้าอวบ เกาะเลื้อย ใบออกเป็นกระจุกใกล้เหง้า ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยสีฟ้าอ่อนจำนวนมาก มีขนหยาบแข็ง ผลแห้งแบบแคบซูล มีเมล็ดจำนวนมาก กระจายพันธุ์ในเขตเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ปากีสถาน จนกระทั่งรัฐอุตตรประเทศและแคชเมียร์ของอินเดีย จนถึงสิกขิมและเนปาล เหง้าของพืชชนิดนี้ตากแดดให้แห้ง ใช้ทำยา ลักษณะเป็นเหง้ายาว ทรงกระบอก เปลือกหนา ผิวมีรอยย่น สีน้ำตาลอมเทา ใช้แก้ไข้เรื้อรัง เสมหะเป็นพิษ ในอินเดียและศรีลังกาใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในยาถ่ายหลายขนาน ในอินเดียบางแห่งใช้แก้พิษแมลงป่อง เป็นยาที่ใช้ในตำรับยาอายุรเวทของอินเดีย พืชชนิดนี้มีปลูกอยู่ทั่วไป แต่มีความต้องการให้อนุรักษ์ไว้ในป่าตามธรรมชาติด้ว.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐก้านพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

โกฐสอเทศ

กฐสอเทศ เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ Iridaceae มีถิ่นกำเนิดบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นพืชขนาดเล็ก เหง้าขนาดใหญ่ ใบระยะแรกเป็นรูปดาบกว้าง เมื่ออายุมากขึ้น ปลายใบจะพับห้อยลง ดอกช่อ มีดอกย่อย 2-3 ดอก อยู่ในกาบ กลีบเลี้ยงสีม่วงเข้ม มีแต้มสีเหลือง กลีบดอกสีม่วงอ่อน ผลเป็นแบบแคบซูล มีหลายสายพันธุ์ สายพันธุ์ Florentina มีดอกสีขาว ขนาดใหญ่ และมีกลิ่นหอมมาก เหง้าของพืชชนิดนี้อายุ 2-3 ปีใช้ทำยา โดยขุดขึ้นมาตากแดดให้แห้ง ใช้ทำยา พบมากในอิตาลีและโมร็อกโก ใช้เป็นส่วนประกอบในยาแก้ไอ ขับเสมหะ ในยุโรป ใช้หัวแห้งฝานเป็นแผ่น ร้อยเชือก ผูกคอเด็กเมื่อจะให้เด็กหย่านม ปัจจุบันใช้น้อยลง.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐสอเทศ · ดูเพิ่มเติม »

โกฐหัวบัว

กฐหัวบัว ชื่อสามัญ Szechuan lovage, Selinum ภาษาจีนกลางเรียกซานซยง ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกชวงเกียง เป็นพืชพื้นเมืองในอินเดียและเนปาล รากสีเหลืองอมน้ำตาล ผิวหยาบ มีตะปุ่มตะป่ำจำนวนมาก ใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนของเลือดลำต้นใต้ดินใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือด ขับลม ลักษณะของโกฐหัวบัว ต้นโกฐหัวบัว จัดเป็นพรรณไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุกขนาดเล็ก มีอายุหลายปี มีความสูงได้ประมาณ 30-80 เซนติเมตร ลำต้นมีลักษณะตั้งตรง โคนต้นเป็นข้อ ๆ และมีรากฝอยงอกอยู่ที่ข้อ บริเวณช่วงบนจะแตกกิ่งก้านมาก มีกลิ่นหอม ขยายพันธุ์ด้วยการใช้ข้อของลำต้น ชอบอากาศร้อนชื้น ชอบดินหนาและลึก การระบายน้ำดี มีฤทธิ์เป็นกลางหรือกรดเล็กน้อย เจริญเติบโตได้ดีในที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500-1,500 เมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 15 องศาเซลเซียส สูงสุด 34 องศาเซลเซียส และต่ำสุด -5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝน 1,200 มิลลิเมตร ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ย 80% มีอายุการเก็บเกี่ยวประมาณ 2 ปี พืชชนิดนี้มีถิ่นกำเนิดอยู่ในมนฑลเสฉวน กุ้ยโจว ยูนนาน หูเป่ยของประเทศจีน และได้มีการนำมาใช้ในเครื่องยาไทยที่เรียกว่า “พิกัดโกฐ“.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐหัวบัว · ดูเพิ่มเติม »

โกฐจุฬารศ

กฐจุฬารศ (Tasmanian blue gum, southern blue gum หรือ blue gum) อยู่ในวงศ์ Myrtaceae เป็นพืชพื้นเมืองของออสเตรเลีย เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เปลือกต้นเรียบ สีขาวถึงสีนวล ใบเดี่ยว ดอกช่อทรงลูกข่าง ผลทรงกรวยกลม พืชชนิดนี้เมื่อนำมากลั่นจะได้น้ำมันระเหยง่ายเรียกน้ำมันโกศจุฬารศหรือน้ำมันยูคาลิปตัส ใช้เป็นยาธาตุ ขับลม แก้อาการปวดแสบปวดร้อนจากไฟไหม้ abbr.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐจุฬารศ · ดูเพิ่มเติม »

โกฐจุฬาลัมพา

กฐจุฬาลัมพา หรือ โกฐจุฬาลัมพาจีน เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ทานตะวัน ภาษาจีนกลางเรียกซิงฮวา ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกแชเฮา เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ทั้งต้นมีกลิ่นแรง มีขนประปราย เมื่อแก่หลุดร่วงไป ใบมีต่อมน้ำมัน ดอกช่อ สีเหลืองหรือเหลืองเข้ม พบในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ทางเหนือของแอฟริกาและทวีปเอเชีย ตำรายาไทยใช้แก้หืด แก้ไอ ขับเหงื่อ ตำรายาจีนใช้แก้ไข้อันเนื่องจากวัณโรค มีสารอาร์ติมิซินิน (จีน: ชิงฮาวซู) ที่สามารถต้านเชื้อไข้จับสั่นได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐจุฬาลัมพา · ดูเพิ่มเติม »

โกฐจุฬาลัมพาไทย

กฐจุฬาลัมพาไทย มีชื่อสามัญภาษาอังกฤษว่าmugwort หรือ common wormwood เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Artemisia บางครั้งเรียกว่า felon herb, chrysanthemum weed, wild wormwood, old Uncle Henry, sailor's tobacco, naughty man, old man หรือ St.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐจุฬาลัมพาไทย · ดูเพิ่มเติม »

โกฐขี้แมว

กฐขี้แมว อยู่ในวงศ์ Orobanchaceae ภาษาจีนกลางเรียกตี่หวาง ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกตี่อึ้ง เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีขนปกคลุมทั่วทั้งต้น รากเป็นหัวใต้ดินอวบหนา รูปกระสวย เมื่อสดเป็นสีส้ม ใบออกที่โคนต้นเป็นกระจุก ดอกช่อออกตามซอกใบหรือปลายยอด เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศจีน ปัจจุบันมีปลูกเป็นการค้าในจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อนำรากมาทำยา รากสดเรียกเซียนตี่หวาง ใช้แก้ไข้ที่ทำให้คอแดง กระหายน้ำ ไอเป็นเลือด รากแห้งเรียกกานตี่หวาง ใช้แก้ไข้ ไอเป็นเลือด เลือดออกจากมดลูก แก้ท้องผูก รากที่เคี่ยวกับเหล้าแล้วนำมาตากแห้งเรียกซู่ตี่หวาง หรือเสกตี่อึ้งในภาษาจีนแต้จิ๋ว ใช้แก้ปวดตะโพก ปวดเบา แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้โลหิตจาง ประจำเดือนมากเกินไป สารออกฤทธิ์ส่วนใหญ่เป็นไกลโคไซต์ อิชิคอ.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐขี้แมว · ดูเพิ่มเติม »

โกฐนษิณี

กฐนษิณี อยู่วงศ์ถั่ว เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ลำต้นตรง มีขนละเอียดเล็กน้อย ใบเดี่ยว ผิวใบมีต่อมเป็นจุดสีดำ หูใบรูปเดี่ยว ดอกช่อ กลีบดอกสีฟ้าหรือสีเหลือง ผลเป็นฝัก ปลายเป็นติ่งสีออกดำ ไม่แตก กลีบเลี้ยงติดทน เมล็ดรูปไต สีน้ำตาลเข้ม กระจายพันธุ์ในแอฟริกาใต้ มีปลูกในอินเดียและจีน เมล็ดใช้เป็นยาแก้หอบหืด ท้องเสีย น้ำมันจากเมล็ดใช้ทารักษาโรคเรื้อนกวาง.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐนษิณี · ดูเพิ่มเติม »

โกฐน้ำเต้าแขก

กฐน้ำเต้าแขก หรือ รูบาร์บหิมาลัย เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปีอยู่ในวงศ์ผักไผ่ (Polygonaceae) รากอ้วนสั้น ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กสีม่วงเข้ม ผลรูปไข่ สีม่วง พบในเทือกเขาหิมาลัย ใช้มากในอินเดีย ปากีสถาน เนปาล ใช้เป็นยาระบาย แก้บิด เบื่ออาหาร แก้แผลเน่าเปื่อย มีฤทธิ์อ่อนกว่าโกฐน้ำเต้าที่มาจากจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐน้ำเต้าแขก · ดูเพิ่มเติม »

โกฐเขมา

กฐเขมา (ในวงศ์ Compositae) เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีขนคล้ายใยแมงมุมเล็กน้อยหรือไม่มี ใบเดี่ยว บางเหมือนกระดาษ ไม่มีขน ดอกช่อ สีขาว ผลแห้ง เมล็ดล่อน พบในจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และรัสเซีย นิยมปลูกในจีน เหง้าของพืชนี้ตากแดดให้แห้ง เป็นก้อนมีปุ่มปม สีน้ำตาลอมเทา เนื้อในมีแต้มสีแสดของชันน้ำมันอยู่ประปราย เมื่อนำไปดองจะให้ยาดองสีเหลือง ใช้เป็นยาบำรุงให้เจริญอาหาร ตำรายาจีนใช้ผสมในตัวยาหลายขนาน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและโกฐเขมา · ดูเพิ่มเติม »

โกงกางบก

กงกางบก ชื่ออื่นๆคือ ราไซ พังกาบก สันขวาน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Sapotaceae เปลือกต้นสีเทาแดง ทรงพุ่มเป็นทรงกรวย ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ ผิวใบเรียบเป็นมัน สีเขียว ก้านใบสีน้ำตาลอมแดง ดอกเป็นดอกช่อกระจุก ออกตามง่ามใบ ฐานรองดอกรูปถ้วย ดอกขนาดเล็ก ผลเป็นผลเดี่ยว กลมรี มีขั้วเล็กน้อย ผิวเรียบ สีเขียวเป็นมัน กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล มีเมล็ดเดียว พบในป่าชายเลน ในบริเวณติดต่อกับป่าชายหาด เนื้อไม้แข็ง ใช้ทำเครื่องใช้ เช่น ด้ามจอบ ด้ามขวาน และใช้ทำเครื่องเรือน ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียนำใบมาบดใช้พอกรักษาอาการปวดศีรษ.

ใหม่!!: พืชดอกและโกงกางบก · ดูเพิ่มเติม »

โกงกางหูช้าง

กงกางหูช้าง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ผลัดใบ ต้นแก่มีรอยแยกเป็นรอยตื้นๆ ตามความยาวของลำต้น เปลือกของกิ่งอ่อนล่อนออกได้ ใบเดี่ยว รูปใบเกือบกลม ใบเรียบ สีเขียวเข้ม ด้านหลังใบสีจางกว่า และมีขนเล็กน้อย ดอกช่อแบบกระจุก กลีบดอกสีขาวเชื่อมกันเป็นหลอด ผลเดี่ยว ทรงกลม ผลแห้ง เนื้อเป็นเส้นใยมีหลายเมล็ด ผลอ่อนสีเขียวมีจุดเข้มกระจายทั่วไป เป็นพืชทนเค็ม ใช้เป็นไม้ประดับได้.

ใหม่!!: พืชดอกและโกงกางหูช้าง · ดูเพิ่มเติม »

โกงกางใบใหญ่

กงกางใบใหญ่ในญี่ปุ่น โกงกางใบใหญ่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhizophoraceae เปลือกลำต้นสีเทาเข้มถึงดำ แตกเป็นร่อง รอบ ๆ โคนต้นมีรากค้ำยันเพื่อพยุงลำต้นให้แข็งแรง สามารถดำรงต้นได้ในดินโคลน ใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ เรียงเป็นคู่ตรงข้าม ใบสีเขียวอ่อนมีจุดดำที่ก้านใบ ใบเกล็ดสีแดง หุ้มยอดอ่อน ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ง่ามใบ กลีบเลี้ยงสีเหลืองอ่อน มี 4 กลีบ กลีบดอกสีขาว 4 กลีบ มีกลิ่นหอม ผลเดี่ยว ทรงคล้ายลูกข่าง สีน้ำตาล ผิวของผลหยาบสาก ผลงอกตั้งแต่อยู่บนต้น เป็นฝักตรงสีเขียวอ่อน ส่วนที่ติดกับขั้วมีกลีบเลี้ยง พบในป่าชายเลน เป็นไม้ใช้ก่อสร้าง เผาถ่าน น้ำจากเปลือกใช้ล้างแผลและดื่มแก้ท้องร่วง.

ใหม่!!: พืชดอกและโกงกางใบใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

โกงกางใบเล็ก

กงกางใบเล็ก เป็นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ที่ขึ้นได้ในดินเลนที่ค่อนข้างอ่อน ลึกและมีน้ำทะเลท่วมถึงตลอดเวลา ดังนั้นจึงพบไม้ชนิดนี้ขึ้นตามชายฝั่งทะเลริมแม่น้ำ, ชายคลองและป่าชายเลน นอกจากประเทศไทยแล้วยังสามารถพบในตอนเหนือของออสเตรเลีย, กวม, ศรีลังกา, อินเดีย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ไมโครนีเซีย, นิวแคลิโดเนีย, ปาปัวนิวกินี, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, หมู่เกาะโซโลมอน, ไต้หวัน, ประเทศวานูอาตู, และเวียดนาม มีชื่อพื้นเมืองดังนี้: โกงกาง (ระนอง), โกงกางใบเล็ก (ภาคกลาง), พังกาทราย (กระบี่), พังกาใบเล็ก (พังงา).

ใหม่!!: พืชดอกและโกงกางใบเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

โกงกางเขา

กงกางเขา Thunb.

ใหม่!!: พืชดอกและโกงกางเขา · ดูเพิ่มเติม »

โกโก้

ในผลโกโก้ โกโก้ เป็นไม้ไม่ผลัดใบขนาดเล็กในวงศ์ชบา และเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนชื้นของอเมริกากลางและอเมริกาใต้ เมล็ดโกโก้มักนำมาใช้ทำเป็นของหวาน เช่น กานัช, ช็อกโกแลต ฯลฯ.

ใหม่!!: พืชดอกและโกโก้ · ดูเพิ่มเติม »

โมก

มก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Wrightia religiosa Benth.) เป็นดอกไม้ มีลักษณะดอกเป็นช่อสีขาว มี 3-5 กลีบ ใบมีขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เนื้อใบบางรูปรี หรือรูปหอกกว้าง 0.8-2.0 ทำการขยายพันธุ์โดยการปักชำ หรือ เพาะเมล็ด โมกยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้ ปิดจงวา (เขมร สุรินทร์) โมกซ้อน (กลาง) โมกบ้าน (กลาง) และ หลักป่า (ระยอง)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและโมก · ดูเพิ่มเติม »

โมกมัน

มกมัน เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) กระจายพันธุ์ในอินเดีย ตอนใต้ของจีน ไปจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 20 เมตร ใบรูปรียาว 3-18 เซนติเมตร ก้านใบยาว 2-7 มิลลิเมตร ช่อดอกยาว 2-7 เซนติเมตร ก้านดอกยาว 0.5-1 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกสีขาวอมเขียว เหลืองอ่อนหรือสีชมพู หลอดกลีบดอกยาว 3-7 มิลลิเมตร กลีบรูปขอบขนานยาว 0.8-1.5 เซนติเมตร โคนเรียว มีกะบัง 2 ชั้นแผ่กว้าง ด้านนอกมีขนกระจาย กะบังหน้ากลีบดอกแนบติดกลีบดอกประมาณกึ่งหนึ่ง จักเป็นคลื่น กะบังระหว่างกลีบดอกรูปตัววี สั้นกว่ากะบังหน้ากลีบดอกเล็กน้อย เกสรเพศผู้ติดบนคอหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 5-6 มิลลิเมตร รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียรวมยอดเกสรยาว 6-8 มิลลิเมตร ผลรูปกระสวยติดกัน แห้งแยกกัน ยาว 10-34 เซนติเมตร มีช่องอากาศ เมล็ดยาว 1.5-1.7 เซนติเมตร กระจุกขนยาว 5-6 เซนติเมตร โมกมันนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เปลือกต้นและรากใช้แก้พิษสัตว์กัดต่อยและโรคไต นอกจากนี้ยังใช้ย้อมสีได้ เนื้อไม้ใช้ทำของใช้.

ใหม่!!: พืชดอกและโมกมัน · ดูเพิ่มเติม »

โมกราชินี

มกราชินี เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Apocynaceae ดอกเป็นดอกช่อ มีดอกย่อย 2-6 ดอก ออกดอกช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่เขาหินปูนในอำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี โดย D.J. Middleton แล.ดร.ธวัชชัย สันติสุข เมื่อ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและโมกราชินี · ดูเพิ่มเติม »

โมกสยาม

มกสยาม เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Apocynaceae ใบเดี่ยว รูปรี ผิวใบมีขนนุ่ม ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ดอกสีชมพูหรือชมพูอมส้ม กลิ่นหอมอมเปรี้ยว ผลเป็นฝักคู่ ทรงกระบอก ออกดอกช่วงมกราคม – มีนาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกเมื่อ 22 เมษายน..

ใหม่!!: พืชดอกและโมกสยาม · ดูเพิ่มเติม »

โมกหลวง

มกหลวง หรือ มูกหลวง, โมกใหญ่ (ภาคกลาง) เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) เป็นไม้ประดับและพืชสมุนไพร.

ใหม่!!: พืชดอกและโมกหลวง · ดูเพิ่มเติม »

โมกแดง

มกแดง หรือจำปูนแดง(Sims) Spreng.โมกแดงเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 2-4 เมตร ลำต้นมีรอยขีดสีขาวตามยาว แตกกิ่งน้อย ทรงพุ่มโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 5-8 เซนติเมตร ยาว 8-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ดอกเป็นดอกเดี่ยว บางครั้งออกเป็นกระจุก กระจุกละ 1-4 ดอก ดอกทรงระฆังคว่ำ ห้อยลง กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ด้านหน้ากลีบดอกมีสีส้มแดงอมชมพู ด้านหลังมีสีขาวนวล เมื่อดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร มีกลิ่นหอม ดอกบานวันเดียวแล้วร่วง ออกดอกตลอดปี โมกแดงชอบอยู่ในที่ที่แสงแดดรำไร มีความชื้นในดินและในอากาศค่อนข้างสูง ดินที่ปลูกควรเป็นดินร่วนซุยระบายน้ำดี ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง แยกหน่อที่แตกจากรากใต้ดิน ปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกสวยงาม มีกลิ่นหอม ผลใช้ปรุงเป็นยาขับระบบไหลเวียนโลหิต ยอดใช้เป็นผักสด นำมาใส่แกงได้.

ใหม่!!: พืชดอกและโมกแดง · ดูเพิ่มเติม »

โมกเหลือง

มกเหลือง เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก เปลือกลำต้นและกิ่งมีเลนติเซลเป็นรอยขีดนูน สีขาว ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม แผ่นใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีขนเล็กน้อย ดอกช่อออกที่ปลายยอด สีเขียวอ่อนหรือเขียวอมเหลือง ติดผลเป็นฝักคู่ แห้งแตก เมล็ดมีปุย ปลิวตามลม ดอกบานช่วงมิถุนายน – ตุลาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: พืชดอกและโมกเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

โมกเหลืองใบบาง

มกเหลืองใบบาง Pitard เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีขนละเอียดตามกิ่งอ่อน ก้านใบ แผ่นใบทั้งสองด้าน กิ่งที่แกจะไม่มีขน ดอกช่อ ขอบกลีบเลี้ยงมีขนเป็นชายครุย ดอกบานสีขาวนวลหรือขาวอมเหลือง กลีบดอกมีขน เกสรตัวผู้ติดบนกลีบดอกส่วนที่เชื่อมกันเป็นหลอด พืชชนิดนี้พบมากในกัมพูชา ในไทยมีรายงานว่าพบที่นครสวรรค์ จันทบุรีและพัทลุง.

ใหม่!!: พืชดอกและโมกเหลืองใบบาง · ดูเพิ่มเติม »

โมกเครือ

มกเครือ หรือ เครือไส้ตัน ย่านไส้บิก เดือเครือ เป็นไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ในวงศ์ Apocynaceae ลำต้นเรียบ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม มียางสีขาว ใบเดี่ยว ก้านใบสีเขียวอมเหลือง แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน ดอกช่อ กลีบดอกเป็นหลอดสีขาว ผลรวมมีผลย่อย 2 ผล เป็นฝักยาว สีเขียวเรียบเป็นมัน แก่แล้วเป็นสีดำ แตกตามความยาวของฝัก เมล็ดแบน มีครีบสีขาวปลิวไปตามลมได้ โมกเครื่อเป็นพืชสมุนไพร ต้นใช้รักษาโรคประดง แก้พิษฝีภายใน รากใช้บำรุงกำลัง แก้ไตพิการ ตับพิการ ขับระดู ใบเป็นส่วนผสมในยารักษาฝีและริดสีดวงทวาร.

ใหม่!!: พืชดอกและโมกเครือ · ดูเพิ่มเติม »

โยทะกา

งโคลาย หรือจงโค เป็นพืชในวงศ์ถั่ว กระจายพันธ์ตั้งแต่มาดากัสการ์ พม่า, ออสเตรเลีย, เกาะคริสต์มาส, ทะเลแคริบเบียน, ภาคใต้ของสหรัฐ และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: พืชดอกและโยทะกา · ดูเพิ่มเติม »

โรสิด

รสิด หรือ rosids เป็นเคลดขนาดใหญ่ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 70,000 สปีชีส์ ซึ่งมากกว่าหนึ่งในสี่ของพืชมีดอกทั้งหมดเคลดนี้แบ่งเป็น 16 - 20 อันดับ ขึ้นกับระบบการจัดจำแนก อันดับเหล่านี้แบ่งเป็นวงศ์ได้ประมาณ 140 วง.

ใหม่!!: พืชดอกและโรสิด · ดูเพิ่มเติม »

โรสแมรี

รสแมรี (Rosemary; Rosmarinus officinalis) เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองของแถบเมดิเตอร์เรเนียน จัดอยู่ในวงศ์กะเพรา ใบมีรูปร่างคล้ายเข็ม ยาว 2-4 เซนติเมตร กว้าง 2-5 มิลลิเมตร มีกลิ่นหอม และเขียวอยู่ตลอดปี ด้านบนของใบมีสีเขียว ด้านท้องใบเป็นสีขาวและมีขนปกคลุม ดอกมีหลายสี เช่น สีขาว สีชมพู สีม่วง หรือสีฟ้า ใช้ปรุงอาหารทำให้มีกลิ่นหอม.

ใหม่!!: พืชดอกและโรสแมรี · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)

รเบิร์ต บราวน์ (Robert Brown; FRS; 21 ธันวาคม ค.ศ. 1773 - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1858) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสก๊อตผู้มีบทบาทสำคัญในวิชาพฤกษศาสตร์อันเนื่องมาจากงานบุกเบิกในการใช้งานกล้องจุลทรรศน์ ผลงานของเขารวมไปถึงการค้นพบนิวเคลียสของเซลล์ และ cytoplasmic streaming, การค้นพบการเคลื่อนที่ของบราวน์ และเป็นผู้แรกที่ตระหนักถึงความแตกต่างในระดับพื้นฐานระหว่าง gymnosperms กับ angiosperms เขายังมีส่วนสำคัญในการกำหนดพฤกษอนุกรมวิธาน รวมถึงชื่อตระกูลของพืชจำนวนมากซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พืชดอกและโรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โลบีเลีย

ลบีเลีย คาร์ดินาลิส (syn. L. fulgens, cardinal flower) เป็นสายพันธุ์ของ โลบีเลีย มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา, แคนาดาบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ผ่านทางทิศใต้ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก อเมริกากลาง และทางเหนือของโคลัมเบียGermplasm Resources Information Network.

ใหม่!!: พืชดอกและโลบีเลีย · ดูเพิ่มเติม »

โลดทะนงแดง

ลดทะนงแดง หรือ ข้าวเย็นเนิน หนาดคำ เป็นพืชในวงศ์ Euphorbiaceae มีรากสะสมอาหารพองโต ผิวสีแดงอมม่วง เนื้อสีขาว โลดทะนงแดงมีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร โดยราก ใช้ฝนน้ำกินทำให้อาเจียน ทำให้ถ่าย เพื่อถอนพิษคนกินยาเบื่อ เมาพิษเห็ดและหอย แก้พิษงู แก้เสมหะเป็นพิษ แก้หืด แก้วัณโรค เป็นยาระบาย ฝนเกลื่อนฝี หรือดูดหนองถ้าฝีแตก ฝนทาแก้ฟกช้ำ เคล็ดบวม แก้ปวดฝี คุมกำเนิด ต้มดื่ม แก้วัณโรค ฝนกับน้ำมะนาว หรือสุรา รับประทานแก้พิษงู ฝนทาแก้ฟกช้ำ เคล็ดขัดยอก รากนำมาต้มน้ำดื่ม หรือฝนรับประทาน ทำให้อาเจียนอย่างหนัก ใช้ถอนพิษคนกินยาเบื่อยาเมา หรือฝนน้ำกินช่วยให้เลิกดื่มเหล้า ทางจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ ราก เข้ายากับน้ำมะนาว ฝนกับน้ำดื่ม แก้ผิดสำแดง พิษแมงมุม ทำให้อาเจียน ถอนพิษเบื่อเมา เหง้า ฝนทา แก้สิว ฝ้า และฟกช้ำ เคล็ดบวม สารสกัดด้วยเอทานอลจากพืชอบแห้งมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสและต้านอนุมูลอิสร.

ใหม่!!: พืชดอกและโลดทะนงแดง · ดูเพิ่มเติม »

โลควอท

ลควอท เป็นพืชในวงศ์ Rosaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ลำต้นตรง ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อยห่างๆ ผิวใบด้านบนเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างมีเกล็ดสีน้ำตาลแดง หูใบแบน ดอกช่อ ปกคลุมด้วยขนสั้นๆสีน้ำตาลแดง ไม่มีก้านดอก มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงมีขนละเอียดปกคลุม ผลรูปกลมหรือรูปไข่สีเหลืองอ่อนหรือสีส้ม มีขนปกคลุม เปลือกผลฉ่ำน้ำ เมล็ดยาว สีน้ำตาลดำ โลควอทกำลังออกดอก ถิ่นกำเนิดอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน กระจายพันธุ์ในจีนและญี่ปุ่น ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกเฉพาะในที่สูง ผลมีรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานสด ทำแยมหรือเยลลี่ เมล็ดมีรสชาติคล้ายอัลมอนด์ น้ำคั้นจากผลใช้ทำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในแอฟริกาตะวันออกใช้เนื้อไม้ทำเครื่องดนตรี ใบมีแทนนิน รสฝาด ใช้แก้อาการท้องเสียและเป็นยาระบาย ผลมีเพกติน มีโพแทสเซียมสูงแต่มีวิตามินซีต่ำ ในตำรายาจีนเรียกผีผาเย่ (ภาษาจีนกลาง) หรือปีแปะเฮียะ (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ใบใช้เป็นยาแก้ไอ ละลายเสมหะ โครงสร้างของผล.

ใหม่!!: พืชดอกและโลควอท · ดูเพิ่มเติม »

โสม

ม (Ginseng) เป็นพืชในสกุล Panax ในวงศ์ Araliaceae โตได้ในบริเวณซีกโลกเหนือ ในทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและโสม · ดูเพิ่มเติม »

โสมอเมริกัน

มอเมริกัน เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกาเหนือปลูกในแคนาดา ภาคเหนือของสหรัฐอเมริกา และในจีน ภาษาจีนกลางเรียกซีหยางเซิน ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกไซเอี่ยเซียม รากเปลือกนอกสีเหลือง เนื้อในสีเหลืองอ่อน ใช้เป็นยาบำรุงหัวใจและบำรุงเลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและโสมอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

โสมา

มา เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด เป็นไม้เถาเลื้อย ไม่มีใบ กิ่งก้านเป็นทรงกระบอก ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม สีเทาอมเขียว ผลมี 2 ครีบ เมล็ดมีกระจุกขน มีสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ทำให้มึนเม.

ใหม่!!: พืชดอกและโสมา · ดูเพิ่มเติม »

โสมเวียดนาม

มเวียดนาม เป็นพืชในวงศ์ Araliaceae และอยู่ในสกุลเดียวกับโสมเกาหลี สารสำคัญในโสมเวียดนาม ได้แก่ ซาโปนินไตรเทอร์พีนอยด์และมีโอโคทิลโลลปริมาณสูง ซึ่งสารนี้ไม่พบในโสมชนิดอื่นๆ นอกจากนั้นยังมีพานาไซนอลและเฮปตาดีกาซึ่งเป็นสารมีฤทธิ์เป็นยาปฏิชีวนะและต้านอนุมูลอิสระ โสมเวียดนามมีความใกล้เคียงทางพันธุกรรมกับ Panax japonicus var.

ใหม่!!: พืชดอกและโสมเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

โสน

น, โสนหิน หรือ โสนกินดอก เป็นพืชประจำถิ่นในทวีปเอเชียและแอฟริกา เป็นไม้ในตระกูลปาปิโอนีอี เป็นพืชที่ขึ้นเองตามธรรมชาติทั่วไปในที่ชื้นแฉะ โดยเฉพาะตามริมคลองและริมคันนา ชื่อสามัญอื่น ๆ คือ โสนดอกเหลือง ทางพายัพเรียก ผักฮองแฮง ทางกะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอนเรียก สีปรีหล.

ใหม่!!: พืชดอกและโสน · ดูเพิ่มเติม »

โสน (สกุล)

น (อ่านว่า) เป็นพืชในสกุล Sesbania เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ สีเหลือง รูปร่างแบบดอกแคหรือดอกถั่ว.

ใหม่!!: พืชดอกและโสน (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

โหราน้ำเต้า

หราน้ำเต้า อยู่ในวงศ์ Araceae เป็นพืชท้องถิ่นในเนปาล มีสารประกอบฟีโนลิกที่เรียกแพโอนอล หัวแห้งใช้เป็นยาแก้ลมชัก แก้อัมพาต สงบประสาท.

ใหม่!!: พืชดอกและโหราน้ำเต้า · ดูเพิ่มเติม »

โอกา

อกา (oca) เป็นพืชในวงศ์ Oxalidaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ต้นตั้งตรงมีขนปกคลุม เหง้าแตกแขนง ปลายเหง้าเป็นหัวรูปทรงกระบอก หัวสีขาว เหลือง แดง หรือม่วง ดอกสีเหลือง ผลแบบแคปซูล เป็นพืชในแถบเทือกเขาแอนดีส หัวโอกาเป็นแหล่งอาหารสำคัญของชนพื้นเมืองในแถบเทือกเขาแอนดีส นำมาต้ม เผา หรือเคลือบน้ำตาล ถนอมอาหารโดยการหั่นแล้วตากแดดให้แห้ง นำมาแช่น้ำก่อนปรุงอาหาร ความหลากหลายของโอกาในเปรู ภาพมุมใกล้ หัวโอกาสีชมพู.

ใหม่!!: พืชดอกและโอกา · ดูเพิ่มเติม »

โอ๊ก

อ๊ก (oak) หรือ ก่อ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มในสกุล Quercus (ภาษาละติน "oak tree") มี 600 สปีชีส์ โอ๊กอาจจะหมายถึงพืชบางชนิดในสกุล Lithocarpusด้วย พืชสกุลนี้เป็นพืชพื้นเมืองในซีกโลกเหนือ แพร่กระจายตั้งแต่เขตที่อากาศหนาวเย็นไปจนถึงเขตร้อนในเอเชียและอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและโอ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

โผงเผง

ผงเผง อยู่ในวงศ์ Fabaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก หน่อทอแมหรือนากี่เคอะ เป็นไม้ล้มลุก มีขนทั่วลำต้น มีกลิ่นเหม็นเอียน ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบบดอกสีเหลือง เกสรตัวผู้ 10 อัน ผลเป็นฝักโค้ง มีขนปกคลุมหนาแน่น เมล็ดจำนวนมาก สีแดงเข้ม ชาวกะเหรี่ยงนำเมล็ดแก่นำไปคั่วไฟอ่อน แล้วนำมาต้มกับน้ำ ใช้ดื่มเป็นน้ำชา มีกลิ่นหอม.

ใหม่!!: พืชดอกและโผงเผง · ดูเพิ่มเติม »

โทะ (พืช)

ทะหรือทุ หรือพรวดหรือพรวดกินลูก เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ ใบอ่อนและดอกมีผงรังแคสีขาวหรือเหลืองปกคลุม ใบเหนียวคล้ายหนัง ผิวใบด้านบนเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีผงรังแค เส้นใบนูน ดอกช่อ ออกตามง่ามใบ สีม่วงแกมชมพู ดอกแก่สีขาว ผลเดี่ยว กลม กลีบเลี้ยงติดทน ผลสดแบบมีเนื้อหลายเมล็ด สีดำแกมม่วง มีผงรังแคปกคลุม รสหวาน มีเมล็ดมาก ผลแก่สีม่วงคล้ำถึงดำ แบ่งเป็น 2 พันธุ์ คือ.

ใหม่!!: พืชดอกและโทะ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

โทงเทง

ทงเทง หรือ พุ้งพิ้ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Physalis minima Linn.) เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae มีชื่อเรียกแตกต่างกันในแต่ละท้องที่ เช่น เชียงใหม่ เรียก ต้อมต๊อก หรือ บาตอมต๊อก ปัตตานี เรียก ปุงปิง หนองคาย เรียก ปิงเป้ง เป็นไม้ล้มลุกฤดูเดียว สูง 30 - 40 เซนติเมตร ใบนุ่มและเรียบ ดอกสีเหลือง ผลสีเหลืองมีลักษณะคล้ายผลมะเขือเทศ มีกลีบเลี้ยงหุ้มรูปร่างเหมือนโคมไฟ ชอบดินทรายและที่แห้ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและโทงเทง · ดูเพิ่มเติม »

โทงเทงฝรั่ง

''Physalis peruviana'' โทงเทงฝรั่ง หรือ ระฆังทองhttp://www.ku.ac.th/e-magazine/jan52/agri/agri4.htm (cape gooseberry) เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับมะเขือ มะเขือเทศ มะเขือยาว และมันฝรั่ง (ไม่เกี่ยวข้องกับกูสเบอร์รี) ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกกิ่งสีม่วง มีลักษณะเป็นครีบ มีขนปกคลุมหนาแน่น ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบ ดอกห้อยลง ก้านผลยาวกว่าก้านดอก ผลสดแบบเบอร์รี มีหลายเมล็ด รูปผลกลม สีเหลืองส้ม ผิวเกลี้ยง มีกลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล เนื้อผลฉ่ำน้ำ มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีถิ่นกำเนิดจากพื้นที่สูงเขตร้อนในประเทศโคลอมเบีย เอกวาดอร์ เปรู และชิลี รวมทั้งในบราซิล เป็นพืชพื้นเมืองในบริเวณเปรูและชิลี ผลรับประทานสดหรือผสมในสลัดผลไม้ มีรสเปรี้ยวอมหวาน ผลที่ต้มแล้วใส่พายหรือพุดดิง แปรรูปเป็นแยมหรือเยลลี่ ในเม็กซิโกใช้กลีบเลี้ยงต้มรับประทานเป็นยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน ผลดิบเป็นพิษ ผลสุกรสหวานอมเปรี้ยว มีเพกตินมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและโทงเทงฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

โด่ไม่รู้ล้ม

ม่รู้ล้ม ชื่ออื่น ชื่อ เช่น หนาดมีแคลน, หนาดผา, ตะชีโกวะ, หนาดผา,ขี้ไฟนกคุ่ม คิงไฟนกคุ่ม เคยโบ้ หญ้าไก่นกคุ่ม หญ้าปลาบ หญ้าไฟนกคุ่ม หญ้าสามสิบสองหาบ ลักษณะเป็นไม้เนื้ออ่อน ต้นแข็ง ตั้งตรง รากที่มีอายุมากจะมีลัษณะคล้ายเหง้า รากแขนงกลมยาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับที่โคนใกล้ผิวดิน ขอบใบหยัก มีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ใบมีขนสีขาวตรงละเอียด ตรง ห่าง สาก ทอดขนานกับผิวใบ ทั้งสองด้าน ท้องใบมีขนมากกว่าหลังใบ ใบรูปหอกกลับ หรือรูปไข่แกมใบหอกกลับ ส่วนที่ค่อนไปทางปลายใบ ผายกว้าง แล้วสอบแหลมทู่ๆ ส่วนโคนใบสอบแคบจนถึงก้านใบ ขอบใบหยักมน หรือจักฟันเลื่อยห่างๆ เนื้อใบหนาสาก ดอกช่อ แบบช่อกระจุกแน่น ก้านช่อดอกยาว ดอกสีม่วงหรือขาว การขยายพันธุ์ เพาะเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและโด่ไม่รู้ล้ม · ดูเพิ่มเติม »

โคกกระสุน

"ผล ผลแห้งที่เป็นอัตราต่อยางรถจักรยาน แหล่งที่อยู่ของโคกกระสุน โคกกระสุน หรือ หนามกระสุน เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Zygophyllaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ในยุโรปใต้ เอเชียใต้ แอฟริกา และออสเตรเลีย ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษมีมากมาย เช่น bindii, bullhead, burra gokharu, caltrop, cat's head, devil's eyelashes, devil's thorn, devil's weed, goathead, puncturevine, และ tackweed.

ใหม่!!: พืชดอกและโคกกระสุน · ดูเพิ่มเติม »

โคกกระออม

''Cardiospermum halicacabum'' โคกกระออม (L.; Balloon vine; Balloonvine; Heart seed; Heart pea; Love in a puff) เป็นพรรณไม้เถาขนาดกลาง ลักษณะของเถานั้นจะเป็นรูปห้าเหลี่ยม เถาจะโตเท่าก้านไม้ขีดไฟ หรือ จะเล็กกว่านั้นก็มีส่วยผิวของเถาจะเป็นสีเขียว เป็นเถาที่มีความยาวเลื้อยเกาะพันกันขึ้นไปบนต้นไม้ หรือตามกิ่งไม้ หรือเลื้อยไปตามพื้นดินและตรงข้อของเถานั้นจะมีมือสำหรับยึดเกาะ ใบรับประทานได้ ใช้ลวกจิ้มน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและโคกกระออม · ดูเพิ่มเติม »

โคมญี่ปุ่น

มญี่ปุ่น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Fuchsia L.; ชื่อสามัญ: Fuchsia) เป็นสกุลของพืชมีดอก มักเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก Fuchsia triphylla, ซึ่งเป็นพืชชนิดแรกที่พบว่าอยู่ในสกุลนี้ ค้นพบครั้งแรกที่เกาะฮิสปานิโอลา (ปัจจุบันคือสาธารณรัฐโดมินิกันและเฮติ) เมื่อ..

ใหม่!!: พืชดอกและโคมญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

โคลงเคลง

วาดทางพฤกษศาสตร์ ไมร์ทาเลส มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี --> โคลงเคลง หรือ สำเหร่ (Malabar melastome (Indian rhododendron)) เป็นไม้ดอกล้มลุกประเภทใบเลี้ยงคู่ กิ่งสี่เหลี่ยมมักมีขนปกคลุม ใบเป็นใบเดี่ยวคู่ตรงข้าม เรียงแบบสลับน้อย เส้นใบ 3-9 ออกจากจุดเดียวกันตรงฐานใบ แล้วเบนเข้าหาปลายใบ เส้นใบย่อยเรียงแบบขั้นบันได ไม่มีหูใบ ออกดอกเป็นช่อ สมบูรณ์เพศ มีสมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 3-6 (ส่วนใหญ่ 5) กลีบดอก 5 เรียงเกยซ้อนกันในดอกอ่อน เกสรเพศผู้ (ก้านชูอับละอองเรณู) มีประมาณ 10 เกสรเรียงเป็น 2 วงและมีรยางค์ รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ผลเมื่อแก่เปลือกจะแห้ง และแตกออก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก มีสรรพคุณเป็นยาพื้นบ้าน แก้คอพอก แก้อาเจียนเป็นเลือด และถ่ายเป็นเลือด รากใช้เป็นยา แก้ร้อนในกระหายน้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและโคลงเคลง · ดูเพิ่มเติม »

โคล่า

ล่า (Cola) เป็นพืชไม่ผลัดใบสกุลหนึ่ง มีด้วยกันประมาณ 125 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตป่าดงดิบของทวีปแอฟริกา จำแนกอยู่ในวงศ์ Malvaceae วงศ์ย่อย Sterculioideae (หรืออาจแยกเป็นวงศ์ Sterculiaceae ต่างหาก ก็มี) ถือว่ามีความสัมพันธ์กับพืชสกุล Theobroma (โกโก้) ในทวีปอเมริกาใต้ ต้นโคล่านั้นมีความสูงเต็มที่ 20 เมตร มีใบมันวาว คล้ายรูปไข่ ยาวเต็มที่ 30 เซนติเมตร;สปีชีส์อื่น.

ใหม่!!: พืชดอกและโคล่า · ดูเพิ่มเติม »

โคคลาน

ลาน (Willd.) Muell.

ใหม่!!: พืชดอกและโคคลาน · ดูเพิ่มเติม »

โคคา

() เป็นพืชที่พบตามที่สูงของเทือกเขาแอนดีส ต้นเป็นพุ่มดก ปลายใบเรียวแหลม สีเขียวอมเหลือง ดอกขนาดเล็ก ก้านชูเรียวยาวดอกสีขาว ผลสีส้มอมแดง ใช้ใบแห้งเคี้ยว ทำให้ไม่รู้สึกเหนื่อย เคยใช้เป็นส่วนผสมของโคคา-โคล่าก่อนจะถูกสั่งห้าม.

ใหม่!!: พืชดอกและโคคา · ดูเพิ่มเติม »

โต๋วต๋ง

ต๋วต่ง หรือในภาษาจีนกลางเรียก ตู้จ้ง (dùzhòng) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กที่เป็นไม้พื้นเมืองของจีน และเป็นสมาชิกเพียงชนิดเดียวของวงศ์ Eucommiaceae ในธรรมชาติหาได้ยากแต่มีการปลูกทั่วไปในจีน เนื่องจากเปลือกไม้มีฤทธิ์เป็นยา และใช้ในตำรับยาจีน เปลือกไม้นั้นภายนอกเป็นสีน้ำตาลอ่อน ผิวหยาบ ด้านในเรียบสีม่วงเข้ม มียางขาว เปลือกไม้ใช้เป็นยาบำรุงตับไต.

ใหม่!!: พืชดอกและโต๋วต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

โปรงขาว

ปรงหรือโปรงขาว อยู่ในวงศ์ Rhizophoraceae เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นทรงกระบอก มีพูพอน มีรากอากาศเมื่อขึ้นในบริเวณชื้นแฉะ ใบเดี่ยว เหนียวคล้ายหนัง ดอกช่อ ผลเนื้อนุ่ม รูปกรวยรี กลีบเลี้ยงติดทน เมล็ดงอกขณะอยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยงรูปกระบองโผล่พ้นผลออกมาขณะที่อยู่บนต้น ขึ้นในป่าที่น้ำทะเลท่วมถึง กระจายพันธุ์ตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย จนถึงเกาะนิวกินี ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้ใบและเปลือกในการฟอกหนัง น้ำสีดำที่สกัดจากเปลือกใช้ในอุตสาหกรรมผ้าบาติก ลำต้นใช้ทำเสาและเผาถ่าน เปลือกไม้มีแทนนิน 25 – 37%.

ใหม่!!: พืชดอกและโปรงขาว · ดูเพิ่มเติม »

โปรงแดง

ปรงแดง อยู่ในวงศ์ Rhizophoraceae ลำต้นสูง ตรง มีรากค้ำยันสั้น ถ้าขึ้นในบริเวณที่ชื้นจะมีรากอากาศ กิ่งมีลักษณะโป่งพองตามข้อเห็นชัดเจน ใบเดี่ยว เหนียวคล้ายหนัง ผิวใบเป็นมัน ดอกช่อ ผลรูปไข่เนื้อนุ่ม กลีบเลี้ยงติดทน เมล็ดงอกตั้งแต่อยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยงทรงกระบอก โผล่ออกจากผลตั้งแต่อยู่บนต้น โปรงแดงมีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ตั้งแต่แอฟริกา อินเดีย จนถึงออสเตรเลีย มีแทนนิน ใช้ฟอกหนังได้เช่นเดียวกับโปรงขาว เปลือกและน้ำยางให้สารสีแดงและดำ ใช้ในการทำผ้าบาติก ใช้ย้อมฝาดแห อวน และเสื่อ ในเปลือกลำต้นมีแทนนิน 20 – 40% เปลือกให้สีย้อมสีน้ำตาล เมื่อผสมกับครามจะให้สีออกดำหรือม่วง.

ใหม่!!: พืชดอกและโปรงแดง · ดูเพิ่มเติม »

โป๊ยกั้ก

ป๊ยกั้ก (八角, จีนแต้จิ๋ว: boih4 gag4) หรือ จันทน์แปดกลีบ (Star anise, star aniseed, badiane หรือ Chinese star anise) เป็นเครื่องเทศที่มีผลเป็นรูปดาว เป็นต้นไม้ขนาดเล็กไม่ผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในอาหารจีน ในอาหารอินเดีย อย่างในการัมมาซารา (Garam Masala) และในอาหารมลายู-อินโดนีเซีย โป๊ยกั้กเป็นส่วนผสมของผงเครื่องเทศทั้งห้าในการปรุงอาหารจีนแบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: พืชดอกและโป๊ยกั้ก · ดูเพิ่มเติม »

โป๊ยเซียน (พืช)

ป๊ยเซียน เป็นหนึ่งในไม้มงคล จัดอยู่ในวงศ์ Euphorbiaceae อยู่ในสกุล Euphorbia ซึ่งเป็นสกุลเดียวกับพืชหลายชนิด เช่น ต้นคริสต์มาส และส้มเช้า โป๊ยเซียน (八仙) มาจากภาษาจีน แปลว่าเทพยดาทั้ง 8 องค์ ได้แก่ เซียนทิก๋วยลี้ เซียนฮั่นจงหลี เซียนลือท่งปิน เซียนเจียงกั๋วเล้า เซียนหลันไฉ่เหอ เซียนฮ่อเซียนโกว เซียนหันเซียงจือ เซียนเชาก๊กกู๋ เชื่อกันว่า ถ้าบ้านใดมีดอกโป๊ยเซียนครบ 8 ดอก จะนำความโชคดีมาให้แก่บ้านของผู้นั้น.

ใหม่!!: พืชดอกและโป๊ยเซียน (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

โนรา (พรรณไม้)

นรา หรือ กะลังจ่าง, กำลังช้างเผือก, พญาช้างเผือก, สะเลา เป็นพืชในสกุลโนรา ลักษณะเป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อยไม่ผลัดใบ อายุหลายปี ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ปลายใบเรียวแหลม โคนมน ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบหนาและเหนียว ก้านใบยาว 1-2 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกย่อยมี 10-30 ดอก กลีบเลี้ยงสีเขียวปลายแหลมเจือสีชมพู กลีบดอกสีขาวหรือชมพูอ่อน 5 กลีบ โคนสีเหลือง ปลายแตกเป็นครุย มีเกสรเพศผู้ยาว เส้นผ่านศูนย์กลางดอก 3-4 เซนติเมตร มีกลิ่นหอม ทยอยบาน 3-4 วัน ออกดอกเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ ผลเป็นผลแห้งสีน้ำตาล มีปีก 3 อันประกบกัน เมื่อร่วงปลิวไปตามลม โนรามีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และฟิลิปปินส์ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับเนื่องจากดอกมีกลิ่นหอม ใบและเปลือกต้นแก้ไอ แก้อักเสบ รักษาโรคผิวหนัง.

ใหม่!!: พืชดอกและโนรา (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

โนรีเกาะช้าง

นรีเกาะช้าง เป็นพืชในสกุลโนรา วงศ์ Malpighiaceae เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง เลื้อยพาดไปตามพุ่มไม้อื่นได้ไกล ยอดอ่อนมีขน ใบเดี่ยว เนื้อใบหนาเห็นเส้นใบเด่นชัด ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อน ผลแห้งมีปีก ออกดอกเดือนมกราคม – มีนาคม พบครั้งแรกที่เกาะช้าง จังหวัดตราด โดย Bensekom ชาวเนเธอร์แลนด์แล.ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและโนรีเกาะช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ไฟลัม

ฟลัม (phylum) เป็นขั้นอนุกรมวิธานขั้นหนึ่งในการจำแนกสัตว์ในทางวิทยาศาสตร์ (ในทางพืชนิยมใช้คำว่า ส่วน แทนไฟลัม ไฟลัมถือเป็นการจัดกลุ่มในขั้นสูงที่สุดแยกตามสายวิวัฒนาการ แต่บางครั้งก็มีการรวมไฟลัมเป็นไฟลัมใหญ่ (superphylum) อีกทีหนึ่ง เช่น สัตว์ที่มีการลอกคราบในการเจริญเติบโต (Echdysozoa) ประกอบด้วยสัตว์มีเปลือกแข็งและหนอนตัวกลม และ สัตว์ที่มีช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร (Deuterostomia) ประกอบด้วยปลาดาวและสัตว์มีแกนสันหลัง ไฟลัมของสัตว์ที่รู้จักกันมากที่สุด ได้แก่ มอลลัสกา, ฟองน้ำ, ไนดาเรีย, หนอนตัวแบน, นีมาโทดา, หนอนปล้อง, สัตว์ขาปล้อง, เอคคิโนเดอร์มาทา และสัตว์มีแกนสันหลัง (ซึ่งมนุษย์อยู่ในไฟลัมนี้) ถึงแม้ว่าจะมีไฟลัมทั้งหมดประมาณ 35 ไฟล่า (หน่วยของไฟลัม) ไฟลัมที่กล่าวทั้ง 9 ตัวนี้ครอบคลุมสปีชีส์ส่วนใหญ่ และทุกไฟลัมยกเว้นหนอนกำมะหยี่ ต่างก็มีสมาชิกอาศัยในมหาสมุทร.

ใหม่!!: พืชดอกและไฟลัม · ดูเพิ่มเติม »

ไฟเดือนห้า

ฟเดือนห้า เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว สีเขียวสด ดอกช่อ สีแดงอมส้ม กลีบดอกพับงอ ก้านช่อดอกมีขนสั้นนุ่มปกคลุม ผลรูปกระสวยยาว แห้งแตก เมล็ดรูปไข่ ยาว ถ้ารับประทานจะส่งผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เป็นอัมพาตและเสียชีวิตได้.

ใหม่!!: พืชดอกและไฟเดือนห้า · ดูเพิ่มเติม »

ไพล

ล เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ขิง ป็นพืชลงหัว มีเหง้าใหญ่ เนื้อในสีเหลือง มีกลิ่นหอมใบเรียวยาวปลายแหลมดอกออกรวมกันเป็นช่ออยู่บนก้านช่อดอก ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บเหง้าแก่จัด หลังจากต้นไพลลงหัวแล้ว ไพลใช้ผสมในน้ำพริกแกงป่าทางจังหวัดระยอง ช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ป่าทำให้น้ำแกงสีเหลือง ส่วนของไพลที่ใช้เป็นยาคือเหง้าแก่จัด แก้ฟกช้ำ บวม เคล็ด ยอก ปวดเมื่อย ขับลม ท้องเดิน ช่วยขับระดูหรือประจำเดือนของสตรีนิยมใช้หลังจากที่คลอดบุตรแล้ว เหง้าไพลมีน้ำมันหอมระเหย ร้อยละ 0.8 และมีสารที่ให้สี ซึ่งจากการทดลองพบว่ามีฤทธิ์ลดอาการอักเสบ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีการค้นคว้าสารสำคัญที่มีสรรพคุณแก้หอบหืดและมีการวิจัยทางคลีนิค โดยใช้รักษาโรคหืดในเด็ก และไม่มีพิษเฉียบพลัน.

ใหม่!!: พืชดอกและไพล · ดูเพิ่มเติม »

ไพลดำ

ลดำ หรือ ปูเลยดำ อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae ภาษามลายูเรียก กูญิตเตอรุซฮีตัม ภาษากะเหรี่ยงเรียกแบล๊ะโค่ซู ชาวโอรังอัซลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียใช้น้ำคั้นจากเหง้ารักษาอาการติดเชื้อแบคทีเรียทุกชนิดชาวกะเหรี่ยงนำลำต้นใต้ดินมารับประทานสดหรือต้มน้ำดื่มใช้เป็นยารักษาโรคกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและไพลดำ · ดูเพิ่มเติม »

ไกร

ำหรับกร่างชนิดอื่น ดูที่: ไทรทอง ไกร หรือ กร่าง (บาลี: นิโครธ; สันสกฤต: บันยัน; ฮินดี: บาร์คาด; Bengal fig, Indian fig, Banyan tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ในสกุล Ficus เช่นเดียวกับโพ (F. religiosa) และไทรย้อยใบแหลม (F. benjamina) ในวงศ์ Moraceae.

ใหม่!!: พืชดอกและไกร · ดูเพิ่มเติม »

ไกรทอง (พืช)

กรทอง หรือหุนไห้ ชื่ออื่นๆคือ แก่นแดง เข็ดมูล เจตมูล (ปราจีนบุรี) ต๋านฮ้วนเป็ด (เชียงใหม่) พิกุลทอง (ประจวบคีรีขันธ์) กระดูกอึ่ง (Miq.) Kurz อยู่ในวงศ์ Erythroxylaceae เป็นไม้พุ่มไม่ผลัดใบ ลำต้นกลม มีรอยแผลของหูใบ เกือบรอบกิ่ง เปลือกเรียบสีน้ำตาล เป็นร่องตามยาว เปลือกในสีเหลืองแกมน้ำตาล ไม่มีขน ใบเดี่ยว ด้านบนเนื้อใบหนาเกลี้ยงเป็นมัน ด้านล่างเกลี้ยง ขอบใบเรียบ ใบรูปสามเหลี่ยมถึงรูปใบหอก ดอกขนาดเล็ก ออกเป็นช่อกระจุก สีขาวอมเขียวอ่อน มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกมีสีเหลืองหรือแดง เป็นมัน เมล็ดแบนโค้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและไกรทอง (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ฟ้าพญาลอ (พืช)

''Aristolochia ringens'' ไก่ฟ้าพญาลอ หรือ ว่านดอกไก่ เป็นพืชในวงศ์ Aristolochiaceae เป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน ตามเถามีขนสั้น เถาอ่อนสีเขียวมีแต้มสีแดง แก่แล้วเป็นสีเขียวเข้ม ใบรูปหัวใจ มีหูใบขนาดเล็ก ดอกเดี่ยว กลีบดอกโค้งเชื่อมติดกันเป็นรูปขอ มีลายม่วงแดงเป็นรูปตาข่าย มีปลายยื่นออกไปเป็นหางสีม่วงแดง แต้มสีเขียวอ่อน ผลทรงกระบอก แก่แล้วแตก เมล็ดแบน มีปีก ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางเมตตามหานิยม นำมาพกติดตัวทำให้เป็นที่นิยม นิยมปลูกตามบ้านหรือร้านค้.

ใหม่!!: พืชดอกและไก่ฟ้าพญาลอ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบ

ฝักและเมล็ดของไมยราบ ไมยราบ (อ่านว่า "ไม-ยะ-ราบ") (มาจากภาษาละติน: pudica แปลว่า "อาย ชมดชม้อย เหนียมอาย หรือหดลง") ภาษาอังกฤษ: sensitive plant, sleepy plant หรือ the touch-me-not ก็เรียก เป็นพืชล้มลุก ต้นสีน้ำตาลแดง แผ่ไปตามพื้น ชูยอดขึ้นข้างบน ต้นมีหนามขนาดสั้น ใบประกอบ ดอกเป็นช่อกลมสีชมพู ก้านดอกยาว ฝักยาวเรียวแบน มีขนเหนียวติดมือ เมล็ดสีน้ำตาลอ่อน ไมยราบมักถูกปลูกขึ้นตามความอยากรู้อยากเห็นของผู้ปลูก โดยที่ใบประกอบสามารถพับเข้าหากันด้านใน หรือหุบได้ เมื่อถูกสัมผัส หรือเขย่า เพื่อป้องกันตนเองจากภัยคุกคามต่าง ๆ และจะบานออกอีกครั้งเมื่อผ่านไปราวหนึ่งนาที พืชในตระกูลใกล้เคียงกันและมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันได้แก่ ผักกระเฉด ในทางสมุนไพร ไมยราบมีรสจืดเฝื่อน มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ระดูขาว แก้ไตพิการ ต้นแห้งต้มกับน้ำกินแก้อ่อนเพลีย ตานขโมย โรคกระเพาะอาหาร ใช้ทาแก้ผื่นคันและหัด ใบสดตำผสมกับเกลือและพิมเสน ใช้พอกแผลพุพอง รากแห้ง ต้มน้ำแก้ปวดประจำเดือน ปวดศีรษ.

ใหม่!!: พืชดอกและไมยราบ · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบยักษ์

มยราบยักษ์ (pricky wood weed, mimosa, giant sensitive plant, catclaw mimosa, black mimosa) เป็นพืชดอกมีลักษณะเป็นไม้พุ่มในวงศ์ถั่ว เป็นวัชพืชต่างถิ่นประเภทรุกรานที่มีความรุนแรง เนื่องจากสามารถเติบโตและแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีความทนต่อสภาพน้ำท่วมและแห้งแล้งได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและไมยราบยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบไร้หนาม

มยราบไร้หนาม หรือ ไมยราบเลื้อย หรือ ไมยราบวัว (Giant sensitive plant) ไม้ล้มลุกกึ่งทอดเลื้อย อายุหลายปีในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) ชนิดหนึ่ง มีลำต้นสี่เหลี่ยม มีหนาม แหลมเป็นแง่งและขนสากปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ยาวได้ถึง 22 เซนติเมตร ใบย่อยชั้นแรก 6-9 คู่ มีหนามแหลม ตลอดแผงก้านใบ ใบย่อยชั้นรอง 15-30 คู่ รูปขอบขนาน ดอก สีม่วงแดงแกมชมพู ออกเป็นช่อกลมที่ซอกใบ ขนาด 12-15 มิลลิเมตร มีดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก กลีบรองดอกรูประฆัง กลีบดอก เชื่อมกันที่ฐาน ปลายแยก 4 กลีบ รูปไข่ ปลายมน เกสรผู้ 8 อัน ก้านชูเกสร ยาว 6-7 มิลลิเมตร รังไข่รูปรีแบน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โค้งเล็กน้อย กว้าง 5 มิลลิเมตร ยาว 25-35 มิลลิเมตร ติดกันแน่น เป็นกระจุก ผิวมีหนาม ผลแก่สีน้ำตาลอ่อน มี 3-6 เมล็ด มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ เป็นวัชพืชร้ายแรง พบทั่วไปตามที่รกร้างหรือที่เปิดโล่ง ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม ไมยราบไร้หนาม มีประโยชน์ใช้เป็นปุ๋ยพืชสดและพืชคลุมดินได้ช่วยปรับปรุงคุณสมบัติทางเคมีของดิน เพิ่มอินทรียวัตถุในดิน เพิ่มสัดส่วนของช่องอากาศในดิน ทำให้ดินร่วนซุย และเพิ่มความสามารถในการอุ้มน้ำของดิน แต่ไม่เหมาะสมนำมาเป็นอาหารสัตว์หากไม่เข้าใจวิธีดำเนินการเนื่องจากมีสารไนเตรท-ไนโตรเจน สะสมอยู่ในลำต้นและใบในปริมาณสูงพอที่จะทำให้เกิดการเป็นพิษขึ้นได้ เมื่อสัตว์กินเข้าไปในปริมาณมาก โดยเฉพาะในช่วงต่อระหว่างฤดูแล้งกับฤดูฝน ภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงด้านอุณหภูมิและความชื้น โดยเฉพาะสัตว์จำพวกโค-กระบือ หากกินเข้าไปจะเป็นพิษมากกว่าแพะและม้า นอกจากนี้ในต้นไมยราบไร้หนามยังมีสารไซยาไนด์เป็นส่วนประกอบ ไมยราบไร้หนาม สันนิษฐานว่าเป็นต้นเหตุของการตายของกระทิงจำนวนหลายตัวในอุทยานแห่งชาติกุยบุรีในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: พืชดอกและไมยราบไร้หนาม · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ลาย

ม้ลายหรือ ม้าลาย หรือ ข่าจี่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Tiliaceae หรือ Malvaceae เปลือกต้นแตกเป็นสะเก็ดตามความยาวของลำต้น ใบเดี่ยว สีเขียวเรียบ จับแล้วสากมือโดยเฉพาะหลังใบ ขอบใบหยักตื้น ดอกช่อออกตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลืองนวล ผลเดี่ยว กลม ผิวมีขนอ่อนปกคลุม เมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีดำ ผลมีเนื้อเส้นใยติดกับเมล็ด ไม้ลายเป็นพืชสมุนไพร เปลือกใช้ผสมในยาบำรุงเลือดของสตรี ผลสุกใช้เป็นยากระจายเลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและไม้ลาย · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ประดับ

ปาล์มตัวอย่างไม้ดอก:ดาวเรือง ไม้ประดับ หมายถึงพืชที่ปลูกไว้เพื่อความสวยงาม ใช้ประดับตกแต่งอาคารบ้านเรือนให้เกิดความเจริญตา ส่วนใหญ่ไม้ประดับมักเป็นพืชดอก จึงเรียกรวมกันว่า ไม้ดอกไม้ประดับ ซึ่งความเป็นจริงแล้วไม้ประดับไม่จำเป็นต้องมีดอกก็ได้ เพียงมีใบที่ดูดีหรือมีสีสันสวยงามก็ใช้ได้ ไม้ประดับมีขนาดเล็กหรือขนาดย่อมพอเหมาะแก่พื้นที่จัดตกแต่ง อาจปลูกไว้ในกระถาง ปลูกลงดิน หรือแขวนห้อยไว้ก็ได้ ไม้ประดับมีหลายชนิด ดังเช่น.

ใหม่!!: พืชดอกและไม้ประดับ · ดูเพิ่มเติม »

ไลลัก

ลลัก (Lilac) หรือ ซิริงกา (Syringa) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลSyringaในวงศ์มะลิที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 ถึง 25 สปีชีส์ เป็นพืชยืนต้นที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรปและเอเชียFlora Europaea: Flora of China: Flora of Pakistan: Germplasm Resources Information Network: ไลลักเป็นพืชผลัดใบแบบพืชพุ่มหรือพืชต้นขนาดเล็กที่สูงตั้งแต่ราว 2 ถึง 10 เมตร และมีลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 20 ถึง 30 เซนติเมตร ออกดอกในฤดูใบไม้ผลิต้นฤดูร้อนแล้วแต่สายพันธุ์ แต่ละดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 5 ถึง 10 เซนติเมตร สีม่วงต่าง ๆ ชมพู ขาว นวล และบางครั้งแดงเข้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและไลลัก · ดูเพิ่มเติม »

ไส้กรอกแอฟริกา

้กรอกแอฟริกา เป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุล Kigelia ในวงศ์ Bignoniaceae พบในเขตร้อนของแอฟริกาตั้งแต่เอริเทรียและชาด ไปจนถึงทางเหนือของแอฟริกาใต้ เซเนกัล และนามิเบี.

ใหม่!!: พืชดอกและไส้กรอกแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ไฮอะซินท์

อะซินท์ (hyacinth) เป็นดอกไม้ตระกูลที่ปลูกจากหัว (bulbous plants) เดิมจัดอยู่ในวงศ์ลิลี (Liliaceae) แต่ในปัจจุบันถือว่าเป็นตระกูลอิสระของตนเอง “Hyacinthaceae” เป็นดอกไม้ที่มาจากทางตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเรื่อยไปทางตะวันออกจนถึงอิหร่านและเติร์กเมนิสถาน.

ใหม่!!: พืชดอกและไฮอะซินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเดรนเจีย

รนเจีย (hydrangea) เป็นสกุลของพืชมีดอก 70-75 ชนิดที่เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี เทือกเขาหิมาลัย อินโดนีเซีย) อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ ความหลากหลายส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะจีน ญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี.

ใหม่!!: พืชดอกและไฮเดรนเจีย · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่

ผ่ เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญ้า (วงศ์ Poaceae; เดิมคือวงศ์ Gramineae) วงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบใน ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้องๆ เช่น ไผ่จีน (Arundinaria suberecta Munro) ไผ่ป่า (Bambusa arundinacea Willd.) ไผ่สีสุก (B. flexuosa Munro และ B. blumeana Schult.) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata Munro) ไผ่ดำ (Phyllostachys nigra Munro) ผลผลิตจากไผ่ที่สำคัญคือ หน่อไม้ ซึ่งเป็นอาหารสำคัญของคนไทย นิยมทานกันมากในเกือบทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและอีสาน นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังมีคุณสมบัติพิเศษทั้งด้านความแข็งแรงและยืดหยุ่นที่เหนือกว่าวัสดุสังเคราะห์หลายชนิด ดังนั้นจึงยังได้รับความนิยมในการทำเครื่องมือเครื่องใช้หลายประเภท ใช้ชะลอน้ำที่เข้าป่าชายเลน นั่งร้านก่อสร้างและบันได เป็นต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่กวนอิม

ผ่กวนอิม (Ribbon dracaena, Lucky bamboo, Belgian evergreen, Ribbon plant) เป็นไม้ประดับประเภทไม้พุ่มที่ได้รับความนิยมในการปลูกเลี้ยงเป็นงานอดิเรก ไผ่กวนอิม มีถิ่นกำเนิดในป่าดิบชื้นของประเทศแคเมอรูนและคองโก มีลักษณะลำต้นขนาดเล็ก เนื้อไม้อ่อน ลำต้นตรงเล็ก เป็นข้อ ๆ สีเขียว ไม่มีกิ่งก้านสาขา มีการเจริญเติบโตจากการยืดตัวของข้อใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากส่วนยอดของลำต้น มีกาบใบห่อหุ้มลำต้นสลับกันเป็นชั้น ๆ ตามข้อของลำต้น ส่วนใบแคบเรียวยาวปลายใบแหลม โคนใบสอบลงมาถึงกาบใบ ใบมีสีเขียวและสีขาวพาดยาวตามใบ ใบค่อนข้างป้อม ปลายแหลม ก้านยาวโคนใบเป็นกาบใบหุ้มรอบลำ โตเต็มที่สูงได้ถึง 1.5 เมตร ขนาดกว้างของใบ 2–3 เซนติเมตร ยาว 6–8 เซนติเมตร ไผ่กวนอิม เป็นที่นิยมในการเลี้ยงปลูก รวมถึงบูชาพระหรือเจ้าที่ โดยมีความเชื่อในเรื่องโชคลาภว่า จะนำพาในเรื่องความมั่งคั่ง โดยเป็นพืชที่ปลูกง่าย สามารถปลูกเลี้ยงในกระถางดินเผา หรือแม้แต่จะนำต้นไปแช่น้ำในแจกันก็ได้ นอกจากนี้ ไผ่กวนอิมนั้นยังสามารถช่วยบำบัดสารเคมีในกลุ่ม BTEX ได้ ตัวอย่างเช่น ไผ่กวนอิมสามารถลดความเป็นพิษของเบนซีนได้.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่กวนอิม · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่รวก

ผ่รวก เป็นไผ่ขนาดค่อนข้างเล็ก เหง้ารวมเป็นกอแน่น กาบหุ้มลำต้นรัดแน่น ไม่หลุดจนแก่ ยอดกาบเรียงสอบไปหาปลาย ไม่มีติ่งปลายกาบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ 2 แถว ทนแล้งได้ดี กระจายพันธุ์ทั่วทุกภาคของประเทศไทย นิยมปลูกกันลมหรือปลูกเป็นรั้ว พบครั้งแรกในประเทศไทย ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติให้แก่ประเทศไทย กระจายพันธุ์ใน ยูนนาน พม่า ลาว ไทย เวียดนาม ศรีลังกา บังกลาเทศ มาเลเซี.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่รวก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่สีสุก

ผ่สีสุก เป็นพืชในวงศ์หญ้า (Poaceae) กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไผ่ลำต้นสูง 10-18 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 8-12 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่สีสุก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่หก

ผ่หก เป็นไผ่ชนิดหนึ่งในสกุล Dendrocalamus เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12–15 เซนติเมตร และสูงได้ถึง 15–18 เมตร พบในเอเชียใต้ จีน อินเดีย ภูฏาน เนปาล ปากีสถาน ภาษากะเหรี่ยงเรียก หว่าซึ มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเป็นกอ ลำต้นอ่อนมีขนสีขาว กาบหุ้มลำต้นเกลี้ยงหรือมีขนสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบสากมือและคม ผิวใบมีขน ก้านใบสั้น กาบใบเป็นสัน โคนพองและหยัก กระจังใบยาวเป็นเคียว มีขนสีม่วง ดอกช่อ ออกตามปลายยอด ในไทย หน่ออ่อนนำมาทำอาหารหน่อรับประทานได้ มีรสขมเล็กน้อย เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องจักสาน.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่หก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ตง

ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ซาง

ผ่ซาง เป็นไผ่ขนาดกลาง มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินขึ้นเป็นกอแต่ไม่แน่นมาก โคนของลำต้นแตกกิ่ง กิ่งตรงกลางใหย่กว่ากิ่งอื่นและตั้งฉากกับลำต้น กิ่งอ่อนสีเขียวนวล กิ่งแก่สีเขียวอมเหลือง บริเวณข้อพองออกเล็กน้อย ใบห้อยลง ดอกออกเป็นกระจุกกลม แก่จะมีหนามแหลมคม ชาวขมุและชาวลัวะใช้หน่ออ่อนใส่แกงหรือจิ้มน้ำพริก ใช้ไม่ไผ่สร้างบ้านเรือน เครื่องจักสาน.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่ซาง · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่เฮียะ

ผ่เฮียะ เป็นไผ่ชนิดหนึ่งในสกุล Cephalostachyum พบในแถบประเทศอินเดียจนถึงภูมิภาคอินโดจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและไผ่เฮียะ · ดูเพิ่มเติม »

ไทรย้อยใบทู่

ทรย้อยใบทู่ หรือ ไทรย้อย (Chinese banyan, Malayan banyan; 細葉榕) เป็นไม้ประเภทบันยัน ในสกุล Ficus ในวงศ์ Moraceae เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ประมาณ 12-25 เมตร และสูงได้ถึง 30 เมตร บางครั้งอาจรอเลื้อยกับพื้นดินหรือกึ่งอาศัยกับไม้อื่น ๆ มีรากอากาศอยู่ตามกิ่งไม้เป็นเส้นเรียงยาวจำนวนมาก เปลือกมีสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตัวแบบเวียน มีลักษณะรูปไข่หรือรูปวงรี ขนาดกว้าง 2.5 เซนติเมตร ยาว 4-10 เซนติเมตร ปลายใบแหลมถึงเป็นติ่งทู่เกือบแหลม หรือเป็นติ่งสั้น และเรียวแหลม ไม่ค่อยพบแบบเว้า ฐานใบสอบรูปลิ่ม ขอบใบเรียว ผิวใบมัน เนื้อใบบางเหนียวคล้ายผิวหนัง ออกดอกตามง่ามใบ เป็นดอกเดี่ยวหรือน้อยมากที่จะเป็นดอกคู่ ตาดอกสีแดงแกมชมพู ก้านดอกยาว 0.5-1.5 เซนติเมตร วงกลีบเลี้ยงรูประฆัง จำนวน 6 กลีบ ยาว 3-7 กลีบ กลีบดอกแบบอิสระ 6 กลีบ รูปไข่มน ยาว 3-8 มิลลิเมตร มีลักษณะย่น เกสรตัวผู้ 12 อัน ขดเป็นวง ผลเป็นรูปไข่กลับหรือกระสวยรี มีกลีบเลี้ยงเป็นท่อหุ้ม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-10 มิลลิเมตร ผลเกลี้ยง ผลแก่แตกออก มีเมล็ดจำนวนมาก มีปีกยาว รูปลิ่มแกมไข่กลับ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้าง โดยพบได้ที่ปากีสถาน, อินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, จีนตอนใต้, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, พม่า, ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย จนถึงฟิลิปปินส์และออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นกระจายในป่าดิบแล้ง, ป่าดิบชื้น และป่าเบญจพรรณ บางครั้งพบตามป่าเสื่อมโทรม, ชายทะเล, ป่าชายเลน หรือเขาหินปูน จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล ใบของไทรย้อยใบทู่ เป็นไม้ที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับให้ร่มเงา ออกดอกและออกผลตลอดทั้งปี รากอากาศใช้ต้มดื่มขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา แก้นิ่ว บำรุงน้ำนม รากสมานลำไส้ แก้ท้องเสียได้.

ใหม่!!: พืชดอกและไทรย้อยใบทู่ · ดูเพิ่มเติม »

ไทรย้อยใบแหลม

ทรย้อยใบแหลม หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ไทร (Weeping fig, Ficus tree) เป็นพันธุ์ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ลำต้นมีความสูงประมาณ 10-20 เมตร ลำต้นตรงแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ บางชนิดก็เป็นพุ่มโปร่ง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและลำต้น ผิวเปลือกเรียบสีขาวปนเทา ใบเป็นใบเดี่ยวแตกออกจากกิ่ง และส่วนยอดของลำต้น ใบออกเป็นคู่สลับกัน ลักษณะใบ ขนาดใบ และสีสันแตกต่างกันตามชนิดย่อ.

ใหม่!!: พืชดอกและไทรย้อยใบแหลม · ดูเพิ่มเติม »

ไทรทอง

ใบของไทรทอง สำหรับพืชชนิดอื่นที่ใกล้เคียงกัน ดูที่: กร่าง ไทรทอง หรือ กร่าง หรือ ลุง เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ ในวงศ์ Moraceae มีความสูงประมาณ 2.5-3 เมตร มีพูพอน เปลือกต้นสีน้ำตาลอมเทาแตกกิ่งกระจายรอบต้น พุ่มทรงกลม ค่อนข้างหนาทึบ มีน้ำยางสีขาว รากอากาศเหนียว ใบเป็นแบบเดี่ยวทรงรูปไข่ กว้าง 10 เซนติเมตร ยาว 18 เซนติเมตร สีเขียวเข้ม มีหูใบหุ้มยอด ใบอ่อนสีเขียวสดเป็นมัน หูใบหุ้มยอดอ่อนไว้ ดอกช่อไม่มีก้านดอก โคนช่อดอกมีใบประดับขนาดเล็ก 3 ใบรองรับช่อดอก ผลเมื่อสุกแล้วอ่อนนุ่ม สีเหลือง แต่ละผลมีเนื้อบาง ๆ และมีเมล็ด 1 เมล็ด เป็นไม้ที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เชื่อว่าเป็นไม้มงคล นอกจากนี้แล้ว ยังมีประโยชน์อย่างอื่น คือ รากอากาศของต้นกร่างเหนียวใช้ทำเชือกได้ เปลือกชั้นในใช้ทำกระดาษ ต้นใช้เลี้ยงครั่ง.

ใหม่!!: พืชดอกและไทรทอง · ดูเพิ่มเติม »

ไข่ดาว (พรรณไม้)

ไข่ดาว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Oncoba spinosa Forsk) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 2 - 3 เมตร มีดอกสีขาว กลีบดอกบางกลม หรือรูปไข่ กว้าง 2 - 3 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู้เส้นเล็กๆ สีเหลืองจำนวนมากอยู่กลางดอก มีกลิ่นหอมอ่อนๆ หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์สนุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและไข่ดาว (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

ไข่เขียว

ียว หรือ กุเข้ ตะเคียนซวย ตะเคียนสามพอน เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ในวงศ์ Dipterocarpaceae เปลือกต้นแตกเป็นร่องตามยาว มีสีน้ำตาลอมเทา เปลือกในสีเขียวตองอ่อน โคนต้นมีพูพอน เนื้อไม้สีน้ำตาลออกเหลือง ใบเดี่ยว สีเขียวนวล ดอกเป็นดอกช่อแบบแยกแขนง กลีบดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน โคนกลีบมีจุดสีม่วงอ่อน ผลเป็นผลเดี่ยว มีปีกที่พัฒนามาจากกลีบเลี้ยงแบบเดียวกับลูกยางนา มี 5 ปีก แก่แล้วกลายเป็นสีน้ำตาล เนื้อไม้แข็งใช้ในงานก่อสร้าง.

ใหม่!!: พืชดอกและไข่เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ไข่เน่า (พืช)

น่า หรือ ฝรั่งโคก หรือ ขี้เห็น หรือ คมขวาน เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบชนิดหนึ่ง ขนาดใหญ่ เจริญเติบโตดีในพื้นที่แห้งแล้ง นิยมปลูกเป็นไม้ร่มเงาเพราะไม่ผลัดใบ เริ่มให้ผลผลิตเมื่ออายุ 3-4 ปีหลังปลูก ช่วงพักต้นหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตต้องการความแล้ง ช่วงออกดอกติดผลต้องการน้ำสม่ำเสมอ ดอกติดผลปีละรุ่น ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศผสมตัวเองหรือต่างต้นต่างดอกได้ ออกดอกช่วงเดือน ม..- ก..

ใหม่!!: พืชดอกและไข่เน่า (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ไคร้ย้อย

ร้ย้อย วงศ์ Elaeocarpaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลปนเทา ใบเดี่ยว หนา ดอกช่อ ช่อดอกห้อยลง ปลายกลีบดอกเป็นริ้ว โคนด้านในมีกลุ่มขนเรียงตัวกันอยู่ ผลรูปรีมีเมล็ดเดียวทุกส่วนของลำต้นเป็นพิษต่อหัวใ.

ใหม่!!: พืชดอกและไคร้ย้อย · ดูเพิ่มเติม »

ไคร้น้ำ

ร้น้ำ หรือ ไคร้, ไค้, ไค้น้ำ (ไทย-พายัพ), หึยที้ (กะเหรี่ยง-ฮ่องสอน), แร่(ตราด), ไคล้น้ำ(ยะลา), ไคล้หิน(หลังสวน), กะแลแร, แกลแร(มะลายู-ยะลา) เป็นพรรณไม้ยืนต้น หรือลำต้นแตกออกมาเป็นกอก็มีลักษณะของต้นจะกลม ๆ ขนาดเท่าต้นอ้อยก็มี ลำต้นจะไม่ใหญ่มากนัก และอาจจะเท่านิ้วก้อยหรือนิ้วมือก็มี รากของต้นเป็นฝอยรวมกันเป็นกระจุกใหญ่ มีเนื้อในสีขาวเปลือกสีน้ำตาลคล้ำใบเดี่ยว ลักษณะของใบจะแคบและยาวคล้ายใบของต้นชองระอา แต่จะหนา และสากระคายมือ ขนาดของใบกว้างประมาณ 0.5-1 นิ้วยาว 4-6 นิ้ว มีสีเขียว เป็นพรรณไม้ที่ขึ้นอยู่ตามริมน้ำหรือริมห้วย ซึ่งรากของต้นนั้นจะแช่อยู่ในน้ำเป็นฝอยเป็นไม้ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ขยายพันธุ์ด้วยการแยกต้น ส่วนมากจะพบทางภาคเหนือ จังหวัดที่มีมากคือ ตาก หรือมีขึ้นไปเรื่อยตามเกาะแก่งลำน้ำปิง ราก นำมาใช้ปรุงเป็นยา แก้กษัย ขับปัสสาวะ แก้ไข้เซื่องซึม เบาพิการ นอกจากนี้ยอดอ่อนของต้นยังใช้รับประทาน จิ้มกับน้ำพริกได้อร่อยอีกด้วย และเนื้อไม้ภายในเปลือกนั้น นำมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ คั่วผสมยาสูบซึ่งทางเหนือจะเรียกว่า ขี้โย หมวดหมู่:สกุลไคร้น้ำ หมวดหมู่:สมุนไพร หมวดหมู่:พืชที่รับประทานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและไคร้น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ไคร้เครือ

ร้เครือ อยู่ในวงศ์ Aristolochia เป็นไม้เถาลำต้นเกลี้ยง ใบเดี่ยว หลังใบมีขนนุ่ม ท้องใบมีขนห่างมีต่อมเป็นจุดกระจายอยู่ทั่วไป ก้านใบด้านบนเป็นร่อง มีขนตามแนวด้านข้าง ดอกสีน้ำตาลอมม่วง ผลเป็นผลแห้งแตก เมล็ดรูปหัวใจ มีปีก รากมีอนุพันธ์ของกรดอะริสโทโลคิก (Aristolochic acid) ซึ่งเป็นพิษต่อไต.

ใหม่!!: พืชดอกและไคร้เครือ · ดูเพิ่มเติม »

เบญจมาศ

ญจมาศ หรือ (Chrysanthemum) เป็นไม้ตัดดอกอีกชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกเลี้ยงและใช้กัน มีการซื้อขายมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากกุหลาบ (2537) เนื่องจากเป็นไม้ดอกที่มีรูปทรงสวยงาม สีสันสดใส ปลูกเลี้ยงง่าย และมีหลายพันธุ์ให้เลือก มีถิ่นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่นและจีน ดอกเบญจมาศมีอยู่หลายสายพันธุ์ ชนิดเลื่องชื่อคือ เบญจมาศสวน (Chrysanthemum indicum Linn. ในวงศ์ Compositae) กับเบญจมาศหนู (Chrysanthemum morifolium Ramat. ในวงศ์เดียวกัน) ซึ่งเรียกรวมกันว่า "ดอกเก๊กฮวย" (júhuā) นิยมนำมาตากแห้ง ใช้ชงกับใบชา หรือต้มกับน้ำตาลทำน้ำเก๊กฮว.

ใหม่!!: พืชดอกและเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

เบญจมาศน้ำเค็ม

ญจมาศน้ำเค็ม เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae เป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน ลำต้นมีขนสั้น ค่อนข้างแข็ง ลำต้นสีเขียวอมน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ดอกช่อ ผลเดี่ยว ขนาดเล็ก เป็นแท่งยาวแห้ง สีน้ำตาล ใช้เป็นไม้ประดับ พบได้ทั่วไปตามป่าชายเลนที่ชื้นแฉะเสมอ.

ใหม่!!: พืชดอกและเบญจมาศน้ำเค็ม · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์รี

อร์รี เป็นผลไม้ชนิดหนึ่ง มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว ต้นเชอร์รีเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Prunus สกุลย่อย Cerasus เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ชอบอากาศหนาวเย็น ใบเขียวเข้ม ดอกสีขาวอมชมพู ผลกลม ขนาดเล็ก เปลือกมีทั้งสีแดงเข้ม สีส้มและสีเหลือง โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือเชอร์รีหวานกับเชอร์รีหวานอมเปรี้ยว แหล่งที่ปลูกเชอร์รีมากคือทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป และญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและเชอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์รีสเปน

วามหมายอื่นดูที่: พิกุล เชอร์รีสเปน หรืออาเซโรลา เป็นไม้ผลเมืองร้อน ต้นเป็นกึ่งพุ่มกึ่งต้นไม้ขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ Malpighiaceae มีชื่อสามัญคือ Acerola, Barbados Cherry, West Indian Cherry และ Wild Crapemyrtle.

ใหม่!!: พืชดอกและเชอร์รีสเปน · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์วิล

อร์วิล (chervil) เป็นพืชสมุนไพรไม้ล้มลุก ใช้สำหรับปรุงอาหารรสไม่รุนแรงนัก.

ใหม่!!: พืชดอกและเชอร์วิล · ดูเพิ่มเติม »

เฟิร์น

ฟิร์น หรือ เฟิน (fern) เป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชที่มีราว ๆ 20,000 สปีชีส์ ที่ถูกจำแนกในไฟลัม Pteridophyta หรือ Filicophyta พืชกลุ่มนี้ยังเป็น Polypodiophyta หรือ Polypodiopsida ด้วย เมื่อถือตามส่วนย่อยของพืชมีท่อลำเลียง คำว่า เทอริโดไฟต์ (pteridophyte) ใช้เพื่อกล่าวถึงพืชมีท่อลำเลียงที่ไม่มีเมล็ดทั้งหมด ทำให้มันหมายถึง "เฟิร์นและพืชใกล้เคียงเฟิร์น" ซึ่งสามารถสร้างความสับสนเมื่อสมาชิกของเฟิร์นในส่วน Pteridophyta บางครั้งอ้างเป็นเทอริโดไฟต์ได้ด้วยเหมือนกัน การศึกษาในเรื่องของเฟิร์นและเทอริโดไฟต์อื่น ๆ เรียกว่า วิทยาเฟิร์น (Pteridology).

ใหม่!!: พืชดอกและเฟิร์น · ดูเพิ่มเติม »

เฟื่องฟ้า

ฟื่องฟ้า เป็นไม้ยืนต้นประเภทพุ่มกึ่งเลื้อย ขนาดตั้งแต่พุ่มเล็กถึงพุ่มใหญ่ มีหนามขึ้นตามลำต้นอยู่ ใบเดี่ยว แตกออก สลับกับกิ่ง หรือเยื้องกัน มีขนขึ้นปกคลุมเล็กน้อย มีสีเขียวหรือใบด่าง รูปร่างรีแหลมยาว 3-6 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเฟื่องฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เพชรสังฆาต

รสังฆาต (อ่านว่า) เป็นไม้เลื้อยในวงศ์องุ่น ชื่ออื่น ๆ คือ สันชะฆาต ขันข้อ สามร้อยต่อ หรือสันชะควด เปลือกเถาเรียบ สีเขียว รูปสี่เหลี่ยมเป็นครีบ เห็นข้อปล้องชัดเจน ตรงข้อเล็กรัดตัวลง แต่ละข้อยาวประมาณ 6-10 เซนติเมตร บางข้ออาจมีรากออกมาด้วย มีมือเกาะออกตรงข้อต่อตรงข้ามกับใบ ตามข้อมียางขาวมีผลึกแคลเซียมออกซาเลตมาก ในตำราสมุนไพร ใช้แก้ริดสีดวงทวารหนัก คั้นเอาน้ำดื่ม แก้โรคลักปิดลักเปิด แก้ประจำเดือนไม่ปกติ แก้กระดูกแตกหักซ้น ขับลมในลำไส้ ทางภาคเหนือ ใช้น้ำจากต้น หยอดหู แก้น้ำหนวกไหล หยอดจมูกแก้เลือดเสียในสตรี ประจำเดือนไม่ปกติ เป็นยาธาตุเจริญอาหาร ในประเทศอินเดีย ใช้ ลำต้น เป็นยาพอกเมื่อกระดูกหัก น้ำคั้นจากต้นกินแก้โรคลักปิดลักเปิด แก้อาการผิดปกติของประจำเดือน มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย เชื้อรา และต้านอนุมูลอิสระมีแคโรทีนอยด์และวิตามินซีมาก ไฟล์:Cissus quadrangularis W IMG 3197.jpg| ไฟล์:Cissus quadrangularis W IMG 3196.jpg| ไฟล์:Cissus quadrangularis W2 IMG 3196.jpg|.

ใหม่!!: พืชดอกและเพชรสังฆาต · ดูเพิ่มเติม »

เพกา

กา (ชื่อสามัญ: Broken Bone tree,Damocles tree,Indian Trumpet Flower; ชื่อวิทยาศาสตร์: Oroxylum indicum (L) Kurz) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆดังนี้: ดอก๊ะ ด๊อกก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เบโด (มาเลเซีย-นราธิวาส) มะลิดไม้ มะลิ้นไม้ (เหนือ) ลิ้นฟ้า หมากลิ้นฟ้า บ่าลิ้นไม้ (เลย) เพกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย โดยพบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติในป่าเบญจพรรณและป่าชื้นทั่วๆไป แม้เพกาจะขึ้นอยู่ในหลายประเทศ แต่ดูเหมือนจะมีแต่ชาวไทยเท่านั้นที่นำเพกามากินเป็นผัก เพกาเป็นผักที่อยู่ในหมวดดอกฝัก.

ใหม่!!: พืชดอกและเพกา · ดูเพิ่มเติม »

เพี้ยกระทิง

ี้ยกระทิง หรือสะเลียนดง อยู่ในวงศ์ Rutaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกติ๊ซีเซอซอ หรือ ติ๊ซีหน่อโพ ไม้พุ่ม เปลือกลำต้นสีเทา มีกลิ่นหอม กิ่งอ่อนมีขนสั้นสีขาวปกคลุม ใบประกอบ ไม่มีหูใบ ผิวใบด้านบนขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างมีขนสั้นสีขาวปกคลุม ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ช่อดอกและดอกย่อยมีกาบหุ้มสีเขียวรองรับ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกสีขาว อับละอองเรณูสีเหลือง ผลแก่แล้วแตกเป็น 2 แนว เมล็ดสีดำ ผิวเรียบ ยอดอ่อนรับประทานสดกับลาบ ใบนำมาย่างไฟอ่อนแล้วขยี้เป็นแผ่นเล็กๆหรือใส่ลงในแกงทั้งใบเพื่อเพิ่มรสขม.

ใหม่!!: พืชดอกและเพี้ยกระทิง · ดูเพิ่มเติม »

เกรปฟรูต

กรปฟรูต เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล Citrus ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า ผลไม้ต้องห้ามแห่งบาร์เบโดส ปกติแล้วไม้ไม่ผลัดใบชนิดนี้จะพบว่าสูงประมาณ 5-6 เมตร แต่ความจริงแล้วสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาว (มากกว่า 15 เซนติเมตร) และผอม ดอกมี 4 กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ สีเหลืองแบบกรด ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ สหรัฐอเมริกากลายเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ มีสวนอยู่ในฟลอริดา เท็กซัส แอริโซนา และแคลิฟอร์เนีย ในภาษาสเปน ผลไม้ชนิดนี้รู้จักในชื่อว่า Toronja หรือ Pomelo.

ใหม่!!: พืชดอกและเกรปฟรูต · ดูเพิ่มเติม »

เกล็ดมังกร

กล็ดมังกร อยู่ในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เลื้อย เกาะอาศัย ยางขาว ใบเดี่ยวเป็นวงรี ดอกช่อออกตามซอกใบ สีขาวอมเหลือง ใช้เป็นไม้ประดับ ไฟล์:Dischidia nummularia.jpg ไฟล์:Myrmecodia beccarii with Dischidia nummularia crop.jpg ไฟล์:Myrmecodia beccarii with Dischidia nummularia.jpg.

ใหม่!!: พืชดอกและเกล็ดมังกร · ดูเพิ่มเติม »

เกล็ดปลาหมอ

เกล็ดปลาหมอ มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ลำต้นตรง ลักษณะใบเป็นแบบขนนกเรียงสลับจะมีใบย่อย 3 ใบ ดอกของมันจะเป็นกระจุกที่ซอกใบ มีใบประดับลักษณะคล้ายเกล็ดปลา ประกบหุ้มไว้ 2 ใบ กลีบดอกสีขาว รูปดอกถั่ว ผลเป็นฝักแบนยาว มีสรรพคุณทางสมุนไพร ใช้รากต้มน้ำดื่มเพื่อแก้โรคตับพิการ หมวดหมู่:สมุนไพร หมวดหมู่:วงศ์ย่อยถั่ว.

ใหม่!!: พืชดอกและเกล็ดปลาหมอ · ดูเพิ่มเติม »

เกาลัด

กาลัด เป็นไม้ยืนต้นที่อยู่ในสกุล Castanea ที่พบได้ในเขตภูมิอากาศเย็น ซึ่งนิยมเพาะปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจเพื่อจำหน่ายเมล็ดในการบริโภค เป็นพืชคนละวงศ์กับเกาลัดไทย (Sterculia monosperma).

ใหม่!!: พืชดอกและเกาลัด · ดูเพิ่มเติม »

เกาลัดญี่ปุ่น

กาลัดญี่ปุ่น (Japanese Chestnut)เป็นเกาลัดชนิดหนึ่งที่เป็นพืชพื้นเมืองของญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ สูง 10-15 m ใบคล้ายกับเกาลัดหวาน ขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย ยาว 8-19 cm และกว้าง 3-5 cm ดอกสมบูรณ์เพศ ยาว 7-20 cm ออกดอกในฤดูร้อน ติดผลในฤดูใบไม้ร่วง.

ใหม่!!: พืชดอกและเกาลัดญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เกาลัดจีน

กาลัดจีน เป็นไม้ผลัดใบในวงศ์ Fagaceae ใบรูปไข่ ขอบหยักเป็นรูปฟัน ท้องใบมีขนสีขาวปกคลุม ดอกเล็ก สีน้ำตาลอ่อน ดอกเป็นช่อยาว ตั้งตรง ออกตามซอกใบ ผลกลม เปลือกหุ้มผลมีหนามแหลมแข็งสีเขียวปกคลุม ใต้เปลือกมีกะลาสีน้ำตาล หุ้มเนื้อในสีขาว รสชาติหวานมัน ผลแก่ แตก.

ใหม่!!: พืชดอกและเกาลัดจีน · ดูเพิ่มเติม »

เกาลัดไทย

กาลัดไทย เป็นพืชท้องถิ่นในจีนตอนใต้ บริเวณกวางตุ้ง กวางสี ยูนนาน ไต้หวัน จากนั้นจึงมีการแพร่กระจายไปยังอินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ญี่ปุ่น รวมทั้งไทย ผลเป็นผลแห้ง แตกเปลือกแข็ง เปลือกสีแดง หุ้มเมล็ดสีดำข้างใน เนื้อในเมล็ดสีเหลือง ต้มสุกแล้วเป็นสีเหลืองสด ผลเมื่อนำไปต้มหรือคั่วก่อนจะรับประทานได้ ไม้นำไปทำเฟอร์นิเจอร์ได้ดี เนื้อไม้มีเรซินมาก นำไปใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมได้.

ใหม่!!: พืชดอกและเกาลัดไทย · ดูเพิ่มเติม »

เกด

กด หรือ ราชายตนะ เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชื่อเกดปรากฏในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนและรามเกียรติ์ (เรื่องหลังเป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1) ในพุทธประวัติ ต้นราชายตนะเป็นที่ประทับในสัปดาห์ที่ 7 หลังจากการตรัสรู้.

ใหม่!!: พืชดอกและเกด · ดูเพิ่มเติม »

เก๋ากี่

ก๋ากี่ หรือ เก๋ากี้, เก๋ากี๋, เก๋าคี่ (ชื่อทางการค้า: โกจิเบอรี่; Wolfberry) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกผลไม้ซึ่งมีสปีชีส์ที่ใกล้เคียงกันสองชนิด คือ Lycium barbarum และ L. chinense.

ใหม่!!: พืชดอกและเก๋ากี่ · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์เทิล

มอร์เทิล เป็นไม้พุ่มไม่ผลัดใบซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองในยุโรปใต้ แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันตก มาโครนีเซีย และอนุทวีปอินเดีย และเป็นพืชปลูกด้วย สูงได้ราว 5 เมตร ดอกสีขาว ผลมีเมล็ดมาก สุกเป็นสีน้ำเงินอมดำ ใบมีน้ำมันหอมระเหย File:Myrtus communis10.jpg|ต้นเมอร์เทิล File:Myrtus communis 001.JPG|ต้นระยะใกล้ File:Myrtus communis Fruits Closeup DehesaBoyalPuertollano.jpg|ผล File:Myrtus communis 10.jpg|ผลหมักในแอลกอฮอล์เพื่อทำมีร์โต.

ใหม่!!: พืชดอกและเมอร์เทิล · ดูเพิ่มเติม »

เมา

มา หรือ หว้าดง, ขะเมา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae เปลือกลำต้นสีเทาแกมน้ำตาลหรือเทาแกมขาว ขรุขระ แตกเป็นรูปเหลี่ยม หนา เปลือกชั้นในสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ดอกช่อ สีขาว ออกใกล้ปลายกิ่ง ผลเดี่ยว สีเขียว มีเมล็ดเดียว เป็นอาหารของค้างคาว.

ใหม่!!: พืชดอกและเมา · ดูเพิ่มเติม »

เม่าสร้อย

ม่าสร้อย ภาษากะเหรี่ยงเรียก พอชาซ่า ห่อชึกาสะ อยู่ในวงศ์ Euphorbiaceae ไม้พุ่ม ลำต้นสีน้ำตาลปนเทา เปลือกผิวไม่เรียบ แตกตามยาว หูใบติดคงทน ใบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยง หนา ท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกช่อ แยกเพศ แยกต้น ออกตามซอกใบ ผลเมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีแดงหรือดำ มีขนเล็กน้อบ เมล็ดเล็กแบน มีเมล็ดเดียว ผลสุก รับประทานได้ รสเปรี้ยวอมหวาน ยอดอ่อน นำไปประกอบอาหารเช่นใส่ในแกงปลา แกงกบ แกงเขี.

ใหม่!!: พืชดอกและเม่าสร้อย · ดูเพิ่มเติม »

เม่าไข่ปลา

ม่าไข่ปลาหรือเม่าทุ่งหรือส้มเม่า เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นไม้ผลัดใบ ผิวใบด้านบนเป็นมัน ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก ช่อสั้น เมื่อติดผลลูกเล็กคล้ายเม็ดพริกไทย ผลสด เมล็ดเดียวแข็ง มีขนละเอียดปกคลุมบนผล สีม่วงเข้ม เป็นไม้ยืนต้น ผลสุกสีแดงคล้ำ ใบที่นำมารับประทานคือ ผลรับประทานสดหรือทำแยม ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักหรือใช้เป็นเครื่องเทศ ใบใช้เป็นยาแก้ไข้ เนื้อไม้สีแดง แข็ง ใช้ในงานก่อสร้างได้ ใบอ่อนและผลดิบใช้ปรุงอาหารให้มีรสเปรี้ยวยอดและใบเพสลาดใช้กินแนมกับอาหารอื่นหรือใส่ยำ ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาว.

ใหม่!!: พืชดอกและเม่าไข่ปลา · ดูเพิ่มเติม »

เมโดว์แซฟฟรอน

มโดว์แซฟฟรอน (meadow saffron) เป็นพืชในวงศ์ดองดึงที่พบตามชายทุ่ง ดอกสีม่วงอ่อน กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว เกสรตัวผู้เชื่อมติดกับกลีบดอก รังไข่ฟักตัวใต้ดินจนถึงฤดูใบไม้ผลิจึงจะชูก้านดอกขึ้นเหนือดินพร้อมกับผล สร้างสารโคลชิซีนที่เป็นพิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง.

ใหม่!!: พืชดอกและเมโดว์แซฟฟรอน · ดูเพิ่มเติม »

เมเปิล

มเปิล หรือ ก่วมลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ ดร.ก่องการดา ชยามฤต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (Acer มาจากภาษาละตินแปลว่า: แหลม,คม หมายถึงปลายแหลมของใบ) คือสกุลของต้นไม้หรือพุ่มไม้ ซึ่งแบ่งได้หลายประเภทในวงศ์เดียวกัน มีประมาณ 125 สปีชีส์ ส่วนมากเป็นพืชในแถบเอเชีย แต่ก็มีบ้างในแถบยุโรป,ตอนเหนือของทวีปแอฟริกาและทวีปอเมริกาเหนือ มันถูกจัดเข้าสู่สกุลครั้งแรกโดย โจเชฟ ปีตตอง เดอ ตัวเนฟอร์ต (Joseph Pitton de Tournefort) นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและเมเปิล · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อหุ้มเมล็ด

ระยะใกล้ของเยื่อหุ้มเมล็ดทับทิม - สามารถเห็นเมล็ดที่อยู่ภายในเนื้อโปร่งแสงได้ เยื่อหุ้มเมล็ด (aril, arillus) เป็นส่วนที่เจริญเติบโตเป็นพิเศษจากก้านเมล็ด (หรือขั้วเมล็ด) ที่ปกคลุมหรือเชื่อมติดกับเมล็ด เป็นสิ่งที่กลายเป็นรยางค์หรือสิ่งห่อหุ้มเมล็ดที่หนาในพืชดอก เช่น ส่วนที่รับประทานได้ของมังคุดและผลทับทิม เยื่อหุ้มเมล็ดสร้างโครงสร้างคล้ายกับผลไม้หรือที่เรียกว่าผลเทียม ผลเทียมพบในพืชดอกมากมายหลายชนิด และที่สามารถรับประทานได้ เช่น ลำไย ลิ้นจี่ เป็นต้น ผลแอ็กคี (ackee) มีการพัฒนาเยื่อหุ้มเมล็ดอย่างมากจนล้อมรอบเมล็ดแทนที่ผนังผล เยื่อหุ้มเมล็ดสามารถพบได้ในพืชเมล็ดเปลือยสองสามชนิด อย่างต้นยิว ญาติของพืชตระกูลสน แทนที่จะมีโคนเป็นเนื้อไม้อย่างพืชเมล็ดเปลือยส่วนมาก โครงสร้างระบบสืบพันธุ์ของต้นยิวกับประกอบด้วยเมล็ดหนึ่งเมล็ดที่ล้อมรอบได้ด้วยเนื้อคล้ายถ้วยปกคลุมอยู่ การค้นพบนี้มาจากการเปลี่ยนแปลงเกล็ดโคนอย่างมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและเยื่อหุ้มเมล็ด · ดูเพิ่มเติม »

เลมอน

ลมอน (lemon, เล-มอน, ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus limon) เป็นพืชในสกุลส้มเป็นไม้พุ่ม มีหนามเฉพาะปลายยอด ใบเดี่ยว เมื่อขยี้ใบจะได้กลิ่นหอมแรง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลรูปกลมรี ปลายผลมีติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง เนื้อในฉ่ำน้ำ มีหลายเมล็ด ผลส่วนใหญ่จะใช้สำหรับนำมาทำเป็นน้ำเลมอน ถึงแม้ว่าบางครั้งจะมีการใช้กากและเปลือกในการทำอาหารหรือของหวาน เลมอนมีส่วนประกอบของ กรดซิตริก ประมาณ 5% ซึ่งทำให้เลมอนมีรสชาติที่เปรี้ยว และมีค่า pH ประมาณ 2 ถึง 3 ด้วยความเป็นกรดนี้เลมอนในบางประเทศจะถูกใช้นำเป็นวัตถุในการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ ทดแทนสารที่เป็นกรดอื่นที่ราคาสูงกว่า เลมอนที่นำมาทำเป็นน้ำจะเรียกว่า เลมอนเนด หรือน้ำเลมอน เปลือกเลมอนมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใช้เป็นส่วนประกอบของขนมหวานเช่น พายเลมอน และนอกจากนี้เลมอนยังถูกนำมาใช้แต่งกลิ่นในน้ำอัดลม เช่น ในเครื่องดื่มยี่ห้อสไปรท์และเซเว่นอัพเปลือกมีสรรพคุณช่วยขับลม รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียดได้.

ใหม่!!: พืชดอกและเลมอน · ดูเพิ่มเติม »

เลา

ลา เป็นพืชในวงศ์หญ้า (Poaceae) สกุลอ้อย (Saccharum) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ เป็นหญ้าอายุหลายปี ลำต้นกลวง แข็งตั้งขึ้นสูง 1-2 เมตร บริเวณข้อมีตาราก 2 แถว กาบใบผิวเกลี้ยง มีขนที่ขอบใบ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 0.5-1.58 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเลา · ดูเพิ่มเติม »

เลี่ยน

ลี่ยน อยู่ในวงศ์ Meliaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบประกอบ ท้องใบสีเข้มกว่าหลังใบ ดอกขนาดเล็ก กลีบเรียวยาวสีม่วง ดอกช่อ ผลกลมขนาดเท่าลูกสะเดา เปลือกต้น ดอกและผล ถ้ารับประทานเข้าไปทำให้ท้องร่วง อาเจียน กระเพาะอาหารอักเสบ ชัก เป็นอัมพาตได้โดยเฉพาะในเด็ก.

ใหม่!!: พืชดอกและเลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

เล็บมือนาง

ล็บมือนาง เป็นไม้เลื้อยดอกหอมเป็นช่อ พบในแถบเอเชีย มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆคือ จะมั่ง (เหนือ) จ๊ามั่ง (เหนือ) ไท้หม่อง (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) มะจีมั่ง (เหนือ) และ อะดอนิ่ง (มลายู ยะลา)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและเล็บมือนาง · ดูเพิ่มเติม »

เล็บครุฑ (พรรณไม้)

ำหรับความหมายอื่น ดูที่: เล็บครุฑ เล็บครุฑ (Polyscias) เป็นสกุลของพรรณไม้ยืนต้น ในสกุล Polyscias มีทั้งหมด 114 ชนิดGovaerts, R. & al.

ใหม่!!: พืชดอกและเล็บครุฑ (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

เล็บครุฑไซ่ง่อน

ล็บครุฑไซ่ง่อน เป็นพืชในวงศ์ Araliaceae ในไทยใช้เป็นไม้ประดับ ใบอ่อนชุบแป้งทอดรับประทาน ชาวจีนและชาวเวียดนามใช้เป็นสมุนไพร รากเล็บครุฑใช้บรรเทาอาการเครียด อ่อนเพลีย ไอ ในใบและรากมีสารซาโปนิน โอลีน และพานาไซนอลซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสร.

ใหม่!!: พืชดอกและเล็บครุฑไซ่ง่อน · ดูเพิ่มเติม »

เล็บเหยี่ยว

ล็บเหยี่ยว (Jackal Jujube, Small-fruited Jujube หรือ Wild Jujube) เป็นพืชดอกในวงศ์พุทราที่มีการกระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลีย มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีก ได้แก่ หนามเล็บเหยี่ยว เล็ดเหยี่ยว หมากหนาม พุทราขอ ตาฉู่แม ไลชูมี มะตันขอ แสงคำ.

ใหม่!!: พืชดอกและเล็บเหยี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐีเรือนนอก

รษฐีเรือนนอก L. เป็นไม้ในวงศ์ Anthericaceae มีเหง้าใต้ดิน รากสีขาว อวบน้ำ ใบเป็นแถบยาวสีเขียว ขลิบขาวตามขอบใบ ดอกสีขาว ขนาดเล็ก มีกลิ่นหอม เป็นพืชพื้นเมืองของกาบอง ลักษณะดอกของ ''C. comosum''.

ใหม่!!: พืชดอกและเศรษฐีเรือนนอก · ดูเพิ่มเติม »

เสมา

มา หรือ นิ้วมือผี เป็นพืชในวงศ์ Cactaceae ลำต้นแบนหนา ด้านบนโค้ง ส่วนโคนต้นเรียวกลม มีหนามเป็นจุดๆ เมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ขนาดเล็ก อวบน้ำ เห็นได้เฉพาะกิ่งที่แตกใหม่ พอแก่ใบจะร่วงหมด ดอกเดี่ยว สีแดงอมส้ม ผลเดี่ยวกลม เนื้อนุ่ม แก่แล้วเป็นสีส้มอมแดง มีเกล็ดคล้ายใบอยู่รอบผล ใช้เป็นไม้ประดับ เป็นไม้พื้นเมืองของประเทศเปรู มีปลูกในอเมริกากลาง สหรัฐอเมริกา อินเดียและอินโดนีเซีย เป็นพืชที่แมลงอินจีมาอาศัยอยู่และใช้เลี้ยงแมลงอินจีในเชิงอุตสาหกรรม โดยตัดกิ่งของนิ้วมือผีมาแขวนในร่มและใช้เลี้ยงแมลง แมลงอินจีเป็นแมลงที่ผลิตชาดอินจีหรือชาดลิ้นจี.

ใหม่!!: พืชดอกและเสมา · ดูเพิ่มเติม »

เสม็ดขาว

อกเสม็ดขาว เสม็ดขาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-ใหญ่ สูง 5-25 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ใบอ่อนสีแดง เปลือกสีน้ำตาลแดง มีใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม ใบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ดอกสีขาว ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอก ออก ก.พ - เม.ย ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดี่ยว ทรงกลม หรือ ไข่สีขาว ผล ออก มี.ค - ม.ย มีประโยชน์ ยอดอ่อน นำมาลวก หรือกินกับผักกับน้ำพริก มีรสเปรี้ยวอมฝาด ใบตำพอกแก้เคล้ดขัดยอกฟกบวม.

ใหม่!!: พืชดอกและเสม็ดขาว · ดูเพิ่มเติม »

เสม็ดแดง

ต้นเสม็ดแดง หรือ ไคร้เม็ด เม็ก เม็ดชุน เสม็ด เสม็ดเขา เป็นต้นไม้ มีความสูง 7 เมตร เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ยอดเป็นพุ่มกลม ใบอ่อนสีแดง เปลือกสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม ใบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ดอกสีขาว ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอก ออก ก.พ - เม.ย ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดี่ยว ทรงกลม หรือ ไข่สีขาว ผล ออก มี.ค - ม.ย ปลูกในสวนสมุนไพร หรือ ให้ร่มเงาในบ้านแข็งแรงและ ดูแลง่าย โดยยอดอ่อน ลวก หรือกินกับผักกับน้ำพริก มีรสเปรี้ยวอมฝาด ใบใช้รับประทานเป็นผักสด กินกับน้ำพริก ขนมจีนหรือข้าวยำ ตำพอกแก้เคล้ดขัดยอกฟกบวม.

ใหม่!!: พืชดอกและเสม็ดแดง · ดูเพิ่มเติม »

เสลา

ลา หรือ อินทรชิต (ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagerstroemia loudoni Teijsm. & Binn.) เป็นต้นไม้ขนาดกลางโตช้า ผลัดใบ สูง 10-20เมตร เรือนยอดทรงกลมทึบ ใบดก กิ่งโน้มลงรอบทรงพุ่ม เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีรอยแตกเป็นทางยาวตลอดลำต้น ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 6-10 เซนติเมตร ยาว 16-24 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมเป็นติ่ง โคนมน เนื้อใบหนาปานกลาง เส้นใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกสีม่วง ม่วงอมชมพู หรือม่วงกับขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5-8 แฉก กลีบดอกส่วนใหญ่เป็น 6 กลีบ รูปกลมบางยับย่น ขอบย้วย โคนคอดเป็นก้านสั้น ๆ เมื่อบาน เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลรูปเกือบกลม ผิวแข็ง ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผลแห้งแตกตามยาว 5-6 พู เมล็ดสีน้ำตาลเข้มจำนวนมาก มีปีก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ต้นเสลาขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ และป่าชายหาด พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง ลงไปถึงจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: พืชดอกและเสลา · ดูเพิ่มเติม »

เสลดพังพอน

ลดพังพอนตัวผู้ หรือ ชองระอา ชื่ออื่น พิมเสนต้น (ภาคกลาง) ทองระอา ช้องระอา ลิ้นงูเห่า คันชั่ง (ตาก) อังกาบ อังกาบเมือง (ไทย) ก้านชั่ง (พายัพ) เป็นไม้พุ่ม สีเขียวน้ำตาล สูงเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบมีลักษณะเรียงแคบ ผิวใบเกลี้ยง เส้นกลางใบมีสีแดง โคนก้านใบมีหนามสีม่วง ดอกช่อสีส้มเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ เสลดพังพอน เป็นพืชสมุนไพร ใบใช้พอกฝี แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้ช้ำบวม ทั้งต้นใช้แก้ปวดฟัน น้ำคั้นจากใบใช้แก้อาการปวดจากเงี่ยงปลาแทง แก้ปวดฟัน เหงือกบวม ริดสีดวงทวาร ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบสดกำจัดหู.

ใหม่!!: พืชดอกและเสลดพังพอน · ดูเพิ่มเติม »

เสวี่ยเหลียนกว่อ

วี่ยเหลียนกว่อ (Yacon;ชื่อวิทยาศาสตร์: Smallanthus sonchifolius) หรือ ผลบัวหิมะ เป็นพืชหัวใต้ดินคล้ายมันเทศ แต่มีความหนาแน่นของแป้งน้อยกว่า มีปริมาณของน้ำมากกว่า มีรสหวานเฉพาะตัว ต้นสูง 2-3 เมตร เมื่อโตเต็มที่จะแทงดอกสีเหลืองประมาณ 4 – 5 ดอก.

ใหม่!!: พืชดอกและเสวี่ยเหลียนกว่อ · ดูเพิ่มเติม »

เสาวรส

วรส หรือ กะทกรกฝรั่ง หรือ กะทกรกสีดา หรือ กะทกรกยักษ์ (Passionfruit, Maracujá) เป็นไม้เถาเลื้อย ถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ บริเวณประเทศบราซิล ปารากวัย อาร์เจนตินา ผลเป็นรูปกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกมีหลายสีแล้วแต่พันธุ์ ทั้งสีม่วง เหลือง ส้ม ชั้นในสุดของเปลือกเป็นเยื่อสีขาวที่เรียกรก ภายในมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก อยู่ในเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นถุง กลิ่นคล้ายฝรั่งสุก รสเปรี้ยวจัด บางพันธุ์มีรสอมหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและเสาวรส · ดูเพิ่มเติม »

เสาวรสลิ้นงู

วรสลิ้นงู เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Passifloraceae ใบแตกเป็นแฉกสามพู ดอกเดี่ยวเกิดตามซอกใบ สีขาวอมน้ำเงิน มีกระบังรอบสีขาวอมม่วงผลสีเขียวหรือสีเหลือง มีสารออกฤทธิ์ที่ทำให้มีอาการเพ้อฝันคล้ายถูกสะกดจิต.

ใหม่!!: พืชดอกและเสาวรสลิ้นงู · ดูเพิ่มเติม »

เสาวรสสิบสองปันนา

วรสสิบสองปันนา เป็นพืชในวงศ์Passifloraceae เป็นพืชพื้นเมืองในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน เถายาว 1–3 เมตร ดอกสีเขียวและเหลือง เส้นผ่านศูนย์กลาง 3.2–3.8 เซนติเมตรเมื่อบานเต็มที่ มี 1-2 ดอกต่อข้อ เจริญในที่ชื้นและมีแสงแดดส่องถึงในที่สูงถึง 1200 เมตร.

ใหม่!!: พืชดอกและเสาวรสสิบสองปันนา · ดูเพิ่มเติม »

เสาวรสเม็กซิโก

วรสเม็กซิโก เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Passifloraceae ใบแตกเป็นแฉกสองหรือสามพู ดอกเกิดเป็นคู่ตามซอกใบ สีแดงอมส้มขนาดเล็ก ผลกลม ผิวสีดำเป็นมัน มีสารออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทโดยมีฤทธิ์ใกล้เคียงกับกัญ.

ใหม่!!: พืชดอกและเสาวรสเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

เสียดเครือ

ียดเครือ เป็นพืชในสกุลคราม เป็นไม้พุ่ม กิ่งอ่อนมีขนกระจายทั่วไป ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ริ้วประดับรูปใบหอก กลีบดอกสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง พบใน อินเดีย พม่า จีน ไต้หวัน ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พืชดอกและเสียดเครือ · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยว (พืช)

ี้ยว เป็นพืชในวงศ์ถั่ว สกุลชงโค ในทางสมุนไพร เสี้ยวมีฤทธิ์ทางใช้ ฟอกโลหิต แก้ไอ แก้ไข้ ขับโลหิตระดู ขับปัสสาวะ มีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรี.

ใหม่!!: พืชดอกและเสี้ยว (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยวฟ่อน

ี้ยวฟ่อน var.

ใหม่!!: พืชดอกและเสี้ยวฟ่อน · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยวดอกขาว

''Bauhinia variegata'' เสี้ยวดอกขาว (ภาษากะเหรี่ยง: โพะเพ่; ภาษาฮินดี:कचनार, ภาษาสันสกฤต: कोविदार ภาษาอูรดู: کچنار) เป็นพืชมีดอกชนิดหนึ่งในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย แพร่กระจายในจีนไปจนถึงปากีสถานและอินเดีย ชื่อสามัญอื่นๆ ได้แก่ กล้วยไม้ต้น (Orchid tree) ต้นเท้าอูฐ (Camel's Foot Tree) และ Mountain-ebony Kachnar (ภาษาฮินดีภาษาปัญจาบ ภาษาอูรดู) หรือ Kanchan(ภาษาเบงกาลี) ในจังหวัดปัญจาบของปากีสถาน เรียกพืชนี้ว่า Kolaar کلاڑ ซึ่งต่างจากชื่อในภาษาอูรดู พันธุ์ ''candida'' ในเมืองไฮเดอราบาด ประเทศอินเดีย เป็นไม้ยืนต้น สูงถึง 10-12 เมตร ใบยาว 10-20 เซนติเมตร และกว้าง กลม เป็นสองซีกแบบใบชงโค ดอกสีชมพูอ่อนหรือสีขาว เส้นผ่านศูนย์กลาง 8-12 เซนติเมตร มี 5 กลีบ ผลยาว มีหลายเมล็ด เป็นพืชที่นิยมใช้ในการจัดสวน และใช้ดึงดูดนกฮัมมิงเบิร์ด เช่น Sapphire-spangled Emerald (Amazilia lactea), Glittering-bellied Emerald (Chlorostilbon lucidus) หรือ White-throated Hummingbird (Leucochloris albicollis) ให้เข้ามาในสวนBaza Mendonça & dos Anjos (2005) แต่ในบางบริเวณ อาจกลายเป็นพืชรุกรานได้.

ใหม่!!: พืชดอกและเสี้ยวดอกขาว · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยวต้น

ี้ยวต้น เป็นไม้เลื้อยในวงศ์มะลิ ใบประกอบสามใบ ดอกช่อ มีดอกย่อยตั้งแต่ 12 ดอกขึ้นไป กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5–6 กลีบ หอมแรง ออกดอกเดือนธันวาคม–กุมภาพันธ์ เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ เมื่อ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พืชดอกและเสี้ยวต้น · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยวเครือ

ี้ยวเครือ เป็นพืชในสกุลชงโค เปลือกลำต้นแตกเป็นร่องลึกหรือเป็นสะเก็ดสีน้ำตาลเข้ม ดอกช่อ มีขนกระจายทั่วไป ผลเป็นฝักแห้งแตก เมล็ดรูปไข่กลับ เกลี้ยง สีน้ำตาล เถาใช้เป็นยาฟอกโลหิตระดู แก้น้ำเหลืองเสีย แก้ผื่นคัน.

ใหม่!!: พืชดอกและเสี้ยวเครือ · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยน

ี้ยน ดงเสี้ยน หรือมะเขือเผาะ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกแตกเป็นร่อง หูใบรูปสามเหลี่ยม ดอกขนาดเล็กออกเป็นช่อกระจุกสั้นตามซอกใบ สีเขียวอ่อน ผลมีเนื่อหลายเมล็ดสีม่วงดำ พบตั้งแต่อินเดีย เทือกเขาหิมาลัย อินโดจีน ไทย ไปจนถึงบอร์เนียว ชาวกูบูใน เกาะสุมาตรานำไปพืชชนิดนี้ไปย่างไฟต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ และเรียกเครื่องดื่มนี้ว่าโกปีกูบูหรือกาแฟกูบู.

ใหม่!!: พืชดอกและเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เหมือดคนตัวผู้

หมือดคนตัวผู้ เป็นพืชในวงศ์ Proteaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ช่อดอกออกตามกิ่ง ดอก สีขาวอมเหลือง ผลมีเปลือกแข็งและมีเมล็ดเดียว ทรงค่อนข้างกลม ชาวกะเหรี่ยงนำใบไปต้มน้ำแล้วเอามาล้างตา แก้อาการเจ็บตา เปลือกต้นใช้ต้มรวมกับส่วนผสมอื่นๆในการย้อมผ้า และให้คนที่กินอาหารเป็นพิษรับประทานเพื่อทำให้อาเจียน เนื้อไม้ใช้ทำเป็นหม้อนึ่งข้าว เขียง ครก เนื้อไม้ไม่มีพิษ ผลใช้ล่อสัตว์ในกับดัก เปลือกต้นชาวกะเหรี่ยงใช้ย้อมผ้าให้สีน้ำตาลอ่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและเหมือดคนตัวผู้ · ดูเพิ่มเติม »

เหมือดโลด

หมือดโลด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Phyllanthaceae ลำต้นแตกเป็นร่องลึก เปลือกสีเทาดำ ใบเดี่ยว ดอกช่อออกตามซอกใบ ดอกแยกเพศ แยกต้น ดอกตัวผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกตัวเมียเป็นช่อเชิงลด สีเหลืองอ่อน ไม่มีกลีบดอก ผลมีขนสีน้ำตาลแกมเหลือง แห้งแตก เยื่อหุ้มเมล็ดสีส้ม ชาวกะเหรี่ยงรับประทานผลสุกเป็นผลไม้ ไม้ใช้ทำฟืนหรือเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เปลือกต้น สับเป็นชิ้นเล็กๆตากแห้ง ใช้เป็นไส้บุหรี่ขี้โย เปลือกต้นมียางสีแดงใช้ทำสีย้อม ทางอุบลราชธานีใช้ประสมในยาแก้ตัวเหลือง ตาเหลือง ทางจังหวัดมุกดาหารใช้ประสมในยารักษาโรคกระเพาะอาหาร ทางภาดเหนือใช้เปลือกไม้สดแก้ไข้ ทางภาคอีสานนำรากหรือแก่นนำมาฝนน้ำดื่ม เป็นยาแก้ไข้.

ใหม่!!: พืชดอกและเหมือดโลด · ดูเพิ่มเติม »

เหยื่อเลียงผา

หยื่อเลียงผา หรือ เหยื่อจง หรือ เทียนหมอคาร์ เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ต้นอวบน้ำ ใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนใกล้ปลายยอด ดอกช่อมี 1-3 ดอก ผลรูปกระสวย เปลือกบาง แก่แล้วแตกและดีดเมล็ดกระเด็นไปไกล ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม พบมากในเขาหินปูนทางภาคเหนือ พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและเหยื่อเลียงผา · ดูเพิ่มเติม »

เหรียง

หรียง ชื่ออื่น ได้แก่ กะเหรี่ยง, เรียง, สะเหรี่ยง (ใต้); นะกิง, นะริง (มลายู-ใต้); สะตือ (ใต้)เป็นพืชในวงศ์ Mimosaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 30-50 เมตร ไม่ค่อยมีกิ่งก้านที่ลำต้น เปลือกเรียบและหนาสีเทาปนเขียวอ่อน มีกลิ่นฉุน ลักษณะทั่วไปคล้ายสะตอ แต่พุ่มใบแน่น และเขียวทึบกว่า ใบใหญ่และหนากว่าสะตอ ลักษณะใบเป็นแบบช่อ ใบประกอบมี 18-33 คู่ ใบแคบปลายแหลม ใบแก่จะเป็นสีเหลืองร่วงเกือบหมดต้น และผลิใบใหม่แทน ลักษณะดอกเป็นดอกช่อแบบสะตอ ออกที่ปลายยอด เป็นก้านยาวสีเขียวสลับน้ำตาล ลักษณะผลเป็นฝัก กว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร ยางประมาณ 20-30 เซนติเมตร เมล็ดรูปไข่ ประมาณ 15-20 เมล็ดต่อฝัก ฝักแก่เต็มที่มีสีดำ เมล็ดในสีดำ เนื้อในเมล็ดมีสีเขียวเข้ม และมีกลิ่นฉุน เปลือกต้นเป็นยาสมานแผล ลดน้ำเหลือง เมล็ดเมื่อแก่ตัดส่วนปลายนำไปเพาะให้แตกรากสั้น ๆ รับประทานสดหรือดอง ใช้เป็นผักเหนาะและนำไปประกอบอาหาร ทั้งผัดและแกง เช่น แกงหมูกับลูกเหรียง.

ใหม่!!: พืชดอกและเหรียง · ดูเพิ่มเติม »

เหลืองสยาม

หลืองสยาม Hemsl.

ใหม่!!: พืชดอกและเหลืองสยาม · ดูเพิ่มเติม »

เหลืองจันทบูร

หลืองจันทบูร เป็นกล้วยไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ชนิดหนึ่ง ออกดอกในช่วง เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ดอกเหลืองจันทบูรเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดจันทบุรี แหล่งกำเนิดอยู่ที่เขาคิชฌกูฏและเขาสอยดาว ลำลูกกล้วยยาว ต้นแก่เป็นสีเหลือง โดยออกดอกตามข้อ มีสองพันธุ์คือพันธุ์ที่ดอกเหลืองล้วน เมื่อแก่สีเข้มเหมือนสีจำปา กับพันธุ์ที่มีแต้มสีม่วงแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและเหลืองจันทบูร · ดูเพิ่มเติม »

เหลืองคีรีบูน

หลืองคีรีบูน (Nees; อังกฤษ: Lollypops)เป็นพืชในเขตกึ่งร้อน มีสีเขียวตลอดปี ดอกช่อสีเหลือง ออกดอกในช่วงอากาศอบอุ่น เป็นไม้ประดับที่นิยมใช้ในการจัดสวน.

ใหม่!!: พืชดอกและเหลืองคีรีบูน · ดูเพิ่มเติม »

เหลืองปรีดียาธร

หลืองปรีดียาธร (Silver trumpet tree, Tree of gold,Paraguayan silver trumpet tree) ไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง จำพวกตาเบบูยา มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสตะวันตก.

ใหม่!!: พืชดอกและเหลืองปรีดียาธร · ดูเพิ่มเติม »

เหลี่ยงเคี้ยว

หมวดหมู่:สมุนไพรจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและเหลี่ยงเคี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

เหียง

หียง อยู่ในวงศ์ Dipterocarpaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกเคอะล่าเทอ เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นสีน้ำตาลเข้ม เปลือกหนา แตกเป็นสะเก็ดแข็งตามยาว ใบเดี่ยว มีขนเส้นเล็กๆติดตามขอบใบโดยทั่วไป แผ่นใบเป็นรอยพับคล้ายพัดชัดเจน ก้านใบมีขนสีน้ำตาล หูใบขนาดใหญ่ มีขนสีน้ำตาล ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านดอกสั้น เนื้อไม้ใช้ทำส่วนประกอบต่างๆของบ้าน เช่น เสา ใช้ทำฟืน ชาวกะเหรี่ยงนำเปลือกไม้ไปใช้ย้อมผ้าได้สีเหลืองหม่น.

ใหม่!!: พืชดอกและเหียง · ดูเพิ่มเติม »

เหงือกปลาหมอ

หงือกปลาหมอ (Sea holly; ชื่อวิทยาศาสตร์ Acanthus ebracteatus; ชื่อท้องถิ่น: แก้มหมอ, แก้มหมอเล, จะเกร็ง, นางเกร็ง, อีเกร็ง, เหงือกปลาหมอน้ำเงิน) เป็นพรรณไม้ที่มีชื่อเสียงในจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นอยู่บริเวณชายฝั่งแม่น้ำลำคลอง อยู่บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกเหนือปากคลองมหาวงษ์และโรงเรียนนายเรือ ประโยชน์ของเหงือกปลาหมอนั้น เป็นสมุนไพรใกล้ตัวหรืออาจจะเรียกว่าสมุนไพรชายน้ำ/สมุนไพรชายเลนก็ได้ ช่วยรักษาโรคได้มากมายหลายชน.

ใหม่!!: พืชดอกและเหงือกปลาหมอ · ดูเพิ่มเติม »

เหง้าน้ำทิพย์

หง้าน้ำทิพย์หรือยางขน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้ที่มักเกาะตามก้อนหิน แตกกิ่งจำนวนมาก มีรากสะสมอาหารเป็นก้อนใหญ่ ใบเดี่ยว เรียงสลับ เนื้อใบหนา ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีขนอ่อนสีขาวปกคลุม ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ โคนกลีบดอกรูประฆัง สีขาวอมชมพูอ่อน เป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ผลจนผลแก่ ออกดอกช่วงธันวาคม – พฤษภาคม พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริชเมื่อ 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและเหง้าน้ำทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอพริคอต

อพริคอต หรือ แอพริคอต (apricot) เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน จากนั้นจึงแพร่หลายไปสู่อิตาลีและอังกฤษ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบเดี่ยว ดอกสีขาว ผลเล็กกว่าลูกท้อ ผลกลม มีร่องกลางผลชัดเจน เปลือกบาง มีขนคล้ายกำมะหยี่ปกคลุม ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีเหลือง เนื้อแห้ง แน่น รสเปรี้ยวหอม สีน้ำตาล แหล่งปลูกเอพริคอตหลักอยู่ที่จีน ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา นิวซีแลนด์ แอฟริกา กินเป็นผลไม้สด ทำเอพริคอตในน้ำเชื่อม ใส่สลัดผลไม้และโยเกิร์ต แยมผลไม้ เอพริคอตตากแห้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและเอพริคอต · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องศรีประจิม

อื้องศรีประจิม เป็นกล้วยไม้ดิน ใบเดี่ยว มีจุดประสีแดงแกมม่วงทั้งใบ ดอกออกเป็นช่อยาว ออกดอกในเดือนพฤษภาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทยและใกล้สูญพันธุ์ พบครั้งแรก ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องศรีประจิม · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องศรีเชียงดาว

อื้องศรีเชียงดาว เป็นกล้วยไม้ดิน ใบเดี่ยว มีจุดประสีแดงแกมม่วงทั้งใบ ดอกออกเป็นช่อยาว ออกดอกในเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดย ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องศรีเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องสายมรกต

อิ้องสายมรกต เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในจีน (กว่างซีจ้วง กุ้ยโจว ทิเบต และยูนนาน) อินโดจีน ไทย และเขตเทือกเขาหิมาลัย เช่น เนปาล ภูฏาน อัสสัม ภาษาจีนกลางเรียกหวงเฉ่าสือหู ก้านใช้ทำยาที่เรียกสือหูหรือเจี่ยฮก แก้ท้องผูก เบื่ออาหาร.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องสายมรกต · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องสีตาล

อื้องสีตาล หรือเอื้องแซะดง เอื้องสีจุน เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในเทือกเขาหิมาลัย ยูนนาน เนปาล รัฐอัสสัม อินเดีย ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องสีตาล · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องหมายนา

วาด – เอื้องหมายนา เอื้องหมายนา (หรือ Cheilocostus speciosus; Indian Head Ginger) หรือ เอื้องเพชรม้า เป็นพืชล้มลุกอายุหลายฤดู จัดอยู่ในวงศ์เอื้องหมายนา ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ มีเหง้าใต้ดิน ใช้เป็นไม้ประดับได้ เจริญได้ดีทั้งในที่ได้รับร่มเงาบ้าง หรือกลางแสงแดดจัดที่มีความชื้นสูง เอื้องหมายนาเป็นพืชมีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนและเป็นพืชประจำถิ่นในประเทศอินเดีย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเกาะนิวกินี.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องหมายนา · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องธานี

อื้องธานี เป็นพืชในสกุลเอื้องหมายนา วงศ์ Costaceae มีเหง้าอยู่ใต้ดิน แตกลำใหม่จากผิวดิน ปลายกิ่งมักโค้งเวียน ใบเดี่ยว เรียบเป็นมัน ด้านล่างเป็นขนนุ่ม ดอกช่อออกที่ปลายยอด ผลแห้งแตก เมล็ดเป็นสีดำ ออกดอกช่วงพฤษภาคม – สิงหาคม กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกของไทย ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร (พระองค์เจ้าธานีนิวัติ).

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องธานี · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องข้าวเหนียวลิง

อื้องข้าวเหนียวลิง เป็นกล้วยไม้ดิน ลำลูกกล้วยทรงน้ำเต้า ออกดอกแล้วทิ้งใบ ดอกสีชมพู กลีบปากเกือบกลม สีชมพูเข้ม โคนสีขาว ม้วนเป็นท่อ พบในพม่า ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันตก.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องข้าวเหนียวลิง · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องคำกิ่ว

อื้องคำกิ่ว หรือเอื้องตีนเป็ด เอื้องตีนนก เอื้องเค้ากิ่ว เป็นกล้วยไม้สกุลDendrobium ลำต้นเจริญแบบแตกกอ มีลำลูกกล้วย เป็นกล้วยไม้อิงอาศัย ระบบรากเป็นแบบรากอากาศ แผ่นใบค่อนข้างหนา ก้านช่อดอกสั้น บางพันธุ์ดอกสีเหลืองล้วน บางพันธุ์มีแต้มสีม่วงเข้ม ขอบกลีบเป็นคลื่นเล็กน้อย ออกดอกช่วงมีนาคมถึงพฤษภาคม พบในป่าดิบแล้งทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไท.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องคำกิ่ว · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องตาเหิน

อื้องตาเหิน (Dendrobium infundibulum) เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกแบบกระจะจนาดสั้น ดอกสีขาว ที่กลีบปากมีเส้นสีส้ม ขอบกลีบจักเป็นคลื่น ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนกันยายนถึงพฤษภาคม ในไทยพบที่เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน น่าน เลย และสงขล.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องตาเหิน · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องน้ำต้น

อื้องน้ำต้นเป็นกล้วยไม้ดินขนาดเล็ก ลำลูกกล้วยเป็นรูปน้ำเต้าทรงแคบ ใบแบนแผ่รูปรี จะทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอกออกเป็นช่อตั้งจากโคนกอ ดอกย่อยบานจากโคนช่อไปหาส่วนปลาย กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีชมพูเข้ม และเปลี่ยนเป็นสีส้มเมื่อใกล้โรยหรือสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องน้ำต้น · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องแซะ

อื้องแซะ Lindi เป็นกล้วยไม้สกุลหวาย ดอกมีกลิ่นหอม กลีบดอกสีขาวปลายกลีบเรียวแหลม หูปากทั้งสองข้างตั้งขึ้นมีสีเขียวแกมขาว เมื่อดอกบานไปนานวันจะเปลี่ยนเป็นสีแสดแกมเหลือง กลางกลีบมีเส้นเล็ก ๆ จำนวน 5 เส้น ดอกแหลมโค้งมน เส้นเกสรสีขาวแกมเขียว ฝาปิดก้อนเกสรสีเหลืองจำนวน 5 ก้อนขึ้นอยู่ในป่าลึกที่มีอากาศหนาวเย็น ออกดอกในฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน – มีนาคม เอื้องแซะเป็นดอกไม้ที่สำคัญในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ชาวไทใหญ่นิยมนำมาบูชาพระ ในอดีตเคยเป็นของบรรณาการที่สำคัญของเมืองยวมที่ต้องนำไปถวายเจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องแซะ · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องแปรงสีฟัน

อื้องแปรงสีฟัน (Toothbrush Orchid; Dendrobium secundum) มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ เอื้องสีฟัน, เอื้องหงอนไก่, คองูเห่า เป็นกล้วยไม้ในสกุลหวาย วงศ์กล้วยไม้ เอื้องแปรงสีฟัน เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกแบบกระจะออกที่ปลายกิ่ง มีดอกจำนวนทาก ดอกสีชมพูหรือสีม่วง มักออกดอกเมื่อผลัดใบ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน มีการกระจายพันธุ์ในประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ในไทยพบได้ทุกภาค เช่น ที่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เลย สกลนคร จันทบุรี.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องแปรงสีฟัน · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องไอยเรศ

อื้องไอยเรศ เป็นกล้วยไม้ในประเทศไทยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchostylis retusa (L.) Blume มีลักษณะมีลำต้นใหญ่แข็งแรงคล้ายกล้วยไม้ช้าง แต่ใบยาวกว่าและแคบกว่า ใบยาวประมาณ 40 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร มีทางสีเขียวแก่สลับกับสีเขียวอ่อนตามความยาวของใบคล้ายกล้วยไม้ช้าง ปลายใบมีลักษณะเป็นฟันแหลมไม่เท่ากัน ช่อดอกเป็นรูปทรงกระบอก โค้งห้อยลง ยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ก้านช่อยาวประมาณ 7-10 เซนติเมตร มีดอกแน่นช่อ ในหนึ่งช่อมีดอกประมาณ 150 ดอก มากกว่ากล้วยไม้ช้าง รูปร่างลักษณะของช่อดอกที่ยาวเป็นรูปทรงกระบอกคล้ายกับลักษณะของพวงมาลัย จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “พวงมาลัย” ต้นใหญ่ๆ มักจะแตกหน่อที่โคนต้น เกิดเป็นกอใหญ่ขึ้นได้ ดอกขนาดมีขนาดประมาณ 1.2-1.5 เซนติเมตร สีพื้นของกลีบนอกและกลีบในของดอกเป็นสีขาว มีจุดสีม่วงประปราย เดือยดอกมีสีม่วงอ่อน แผ่นปากมีลักษณะโค้งขึ้นบนแล้วยื่นไปข้างหน้า มีแต้มสีม่วงตรงกลางแผ่นปากส่วนโคนและปลายสุดแผ่นปากเป็นสีขาว ปลายแผ่นปากเว้า เส้าเกสรเห็นชัด ดอกจะบานอยู่ได้ประมาณ 2 สัปดาห์ ฤดูกาลออกดอกอยู่ในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พบได้ในทุกภาคของประเทศไทย เอื้องไอยเรศมีชื่อพื้นเมืองหลายอย่างไม่ว่า ไอยเรศ, เอื้องพวงหางรอก, เอื้องหางฮอก, เอื้องไอยเร.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องไอยเรศ · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องเข็มม่วง

เอื้องเข็มม่วงหรือเอื้องขี้ครั่ง เป็นกล้วยไม้ในสกุลเข็ม ดอกสีม่วงเข้ม ดอกช่อออกข้างลำต้น ช่อดอกตั้งตรง สั้นกว่าใบ ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม ในประเทศไทยพบที่แม่ฮ่องสอน ตากและกาญจนบุรี หมวดหมู่:สกุลเข็ม (กล้วยไม้).

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องเข็มม่วง · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องเข็มแดง

เอื้องเข็มแดงหรือเอื้องม้าก่ำ เป็นกล้วยไม้ในสกุลเข็ม ดอกสีม่วงแดง ออกเป็นช่อ ออกที่ข้างลำต้น มีหลายช่อต่อต้น ช่อดอกสั้นกว่าใบ ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ถึงเมษายน ในประเทศไทย พบที่ภาคเหนือฝั่งตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ หมวดหมู่:สกุลเข็ม (กล้วยไม้).

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องเข็มแดง · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องเงินหลวง

อื้องเงินหลวง หรือ หวายเงินหลวง เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยชนิดหนึ่งในสกุลหวาย เป็นพืชพื้นถิ่นตามป่าในแถบเทือกเขาหิมาลัย (เนปาล, ภูฏาน, รัฐอัสสัมของอินเดีย, บังกลาเทศ), ตอนเหนือของคาบสมุทรอินโดจีน (พม่า, ไทย, เวียดนาม) และหมู่เกาะอันดามัน นอกจากนี้ยังมีการปลูกเป็นไม้ประดับอย่างแพร่หลายในพื้นที่อื่น ดอกเอื้องเงินหลวงเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดระนอง ชื่อเรียกในท้องถิ่นคือ "โกมาซุม" มีที่มาจากชาวอังกฤษคนหนึ่งชื่อ มร.สกอต ซึ่งเข้ามาทำเหมืองแร่กับบริษัทไซมิสตินในตำบลบางริ้น อำเภอเมืองระนอง เขาได้ตัดดอกเอื้องเงินหลวงซึ่งพบในป่าแถบนั้นมาแขวนประดับไว้บริเวณบ้าน โดยเรียกว่า "ฟอร์มมาซ่อม" คาดว่าคงเป็นการเรียกชื่อตามชนิดของกล้วยไม้นี้ (formosum) จากนั้นชาวไทยในพื้นที่ได้เรียกเพี้ยนต่อ ๆ กันมาจนกลายเป็นโกมาซุม.

ใหม่!!: พืชดอกและเอื้องเงินหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เอียะบ้อเช่า

อียะบ้อเช่าในภาษาจีนแต้จิ๋วหรืออี้หมู่เฉ่าในภาษาจีนกลาง (yìmǔcǎo) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชีย ตั้งแต่เกาหลี ญี่ปุ่น จีน จนถึง กัมพูชา ลำต้นมีขนสั้นๆปกคลุมใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ขับสารพิษ ลดอาการบวม ทั้งต้นใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือดและขับปัสสาวะ ไฟล์:Leonurus japonicus 01.JPG|brush ไฟล์:Leonurus japonicus 03.JPG|ดอก ไฟล์:Leonurus japonicus Blanco2.259.png|ต้น.

ใหม่!!: พืชดอกและเอียะบ้อเช่า · ดูเพิ่มเติม »

เอี้ยงเซียม

อี้ยงเซียมในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือเสวียนเซินในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Scrophulariaceae เป็นพืชที่ใช้เป็นยาสมุนไพรในแพทย์แผนจีน รากแห้งด้านนอกเป็นสีเทาเหลือง ข้างในเป็นสีน้ำตาลดำ กลิ่นคล้ายน้ำตาลไหม้ใช้ทำยาแก้อักเสบ ขับร้อนรากใช้เป็นยาระบายความร้อน ขจัดสารพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและเอี้ยงเซียม · ดูเพิ่มเติม »

เฮมล็อก

มล็อก (Hemlock; เป็นพืชในวงศ์ Apiaceae ต้นสูงได้ถึง 2.5 เมตร ส่วนโคนของกิ่งก้านมักมีจุดสีแดง ใบประกอบแบบขนนก ดอกสีขาว พบในยุโรปตอนกลางจนถึงฟินแลนด์ เทือกเขาอัลไต และแอฟริกาเหนือ น้ำยางมีกลิ่นเหม็นคล้ายปัสสาวะหนู มีสารอัลคาลอยด์ที่เป็นพิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ระบบการหายใจล้มเหลว ยาพิษจากพืชชนิดนี้เป็นยาพิษที่โสกราตีสดื่ม หลังจากถูกศาลพิพากษาให้ประหารชีวิต.

ใหม่!!: พืชดอกและเฮมล็อก · ดูเพิ่มเติม »

เฮลิโคเนีย

ลิโคเนีย (Heliconia; spp.) เป็นสกุลพันธุ์ไม้ที่มีหลายสายพันธุ์มีชื่อภาษาไทยต่าง ๆ กัน เช่น ธรรมรักษา ก้ามกุ้ง ก้ามกั้ง สร้อยกัทลี เป็นไม้เขตร้อน ที่นิยมใช้เป็นไม้ตัดดอก ไม้กระถาง และตกแต่งสถานที่ ทั้งในและต่างประเทศมีมากมายหลายพันธุ์ เป็นไม้อวบน้ำยืนต้น มีลำต้นใต้ดิน เรียกว่าเหง้า ส่วนของลำต้นเหนือดินเรียกว่า “ต้นเทียม” (pseudostem) ประกอบด้วยส่วนของลำต้น (stem) และใบเมื่อเจริญเต็มที่ มักมีช่อดอก (infloescemce) แทงออกที่ส่วนกลางของต้นเทียม ลำต้นประกอบด้วยกาบใบ (leaf sheath) วางซ้อนสลับไปมา เฮลิโคเนียมีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาและหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน โดยชื่อ เฮลิโคเนียนำมาจากชื่อ เฮลิคอน ที่เป็นภูเขาสถิตของเทพธิดา 9 พระองค์ที่เรียกว่า มิวส์ (Muses) ซึ่งมีความงามเป็นอมตะเช่นเดียวกับ เฮลิโคเนียที่มีอายุยืนยาว.

ใหม่!!: พืชดอกและเฮลิโคเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เฮียเฮียะ

ียเฮียะ (艾葉, จีนแต้จิ๋ว: hian7 hiêh8) หรือ เหี่ยเฉียะ ในภาษาจีนแต้จิ๋ว ภาษาจีนกลางเรียกไอ้เยี่ยหรือไอ้เย่ (艾葉, พินอิน: ài-yè อ้ายเย่) ภาษามลายูเรียกอูลัมมักวัน เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปีและเป็นพืชท้องถิ่นในจีน ญี่ปุ่น และไซบีเรีย ใบสีเทาเขียว มีขนนิ่มๆอยู่ประปราย ด้านล่างสีเทาขาว มีขนจำนวนมาก ใช้เป็นยาสมุนไพร รักษาตับ ม้าม และ ไตใบใช้เป็นยาแก้ไอขับเสมหะใช้เป็นยาห้ามเลือด บรรเทาปวด ชาวโอรังอัซลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียใช้ใบสดเคี้ยวแก้ไอ.

ใหม่!!: พืชดอกและเฮียเฮียะ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนเบน

นเบน เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae พบตามที่รกร้างในยุโรป ลำต้นหยาบเหนียว มีขน ดอกสีเหลือง มีเส้นสีม่วง ผลเป็นแคบซูลมีกลีบเลี้ยงคล้ายกระดาษหุ้ม มีฤทธิ์หลอนประสาท ทำให้เซื่องซึม.

ใหม่!!: พืชดอกและเฮนเบน · ดูเพิ่มเติม »

เผือก

ผือก (var. esculenta) เป็นพืชล้มลุกอายุยืนในวงศ์ Araceae ต้นตรง ไม่มีเนื้อไม้ มีหัวใต้ดินสะสมอาหาร ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ก้านดอกอวบใหญ่ สั้นกว่าก้านใบ ดอกตัวผู้และตัวเมียขนาดเล็กอยู่แยกกันบนแกนช่อ ดอกตัวเมียสีเขียวอยู่โคน ดอกตัวผู้สีขาวอยู่ปลาย ผลมีเนื้อเป็นกระจุกแน่น มี 1-10 เมล็ด เผือกเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือตอนใต้ของเอเชียกลาง ปัจจุบันใช้ปลูกเป็นพืชอาหารในหมู่เกาะเวสต์อินดีสต์ แอฟริกาและเอเชีย เป็นอาหารหลักในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และปาปัวนิวกินี รวมทั้งชาวเกาะในอินโดนีเซีย เผือกรับประทานได้หลายส่วน โดยหัว หัวย่อย ไหล ใบและก้านใบเมื่อต้มสุกสามารถรับประทานได้ แป้งจากเผือกรับประทานทั้งเป็นอาหารหลักและอาหารว่าง ใช้ใบเผือกห่อปลาเค็มหรืออาหารอื่นก่อนนำไปนึ่ง ในฮาวายนำหัวเผือกมาต้ม ตำให้ละเอียด ปล่อยให้เกิดการหมัก กลายเป็นอาหารที่เรียก "ปอย".

ใหม่!!: พืชดอกและเผือก · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าลาน

ผ่าลาน หรือ Corypheae เป็นเผ่าของพืชวงศ์ปาล์ม วงศ์ย่อยCoryphoideae ปาล์มที่สูญพันธุ์ไปแล้วคือสกุล Palaeoraphe อยู่ในเผ่าย่อย Livistoninae.

ใหม่!!: พืชดอกและเผ่าลาน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าหมาก

เผ่าหมาก หรือAreceae เป็นเผ่าของปาล์มที่เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ย่อยหมาก ออกดอกได้หลายครั้ง ดอกแยกเพศไม่แยกต้น หมวดหมู่:วงศ์ย่อยหมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและเผ่าหมาก · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าคราม

ผ่าคราม (Indigofereae) เป็นการแบ่งย่อยระดับเผ่าของวงศ์ Fabaceae ซึ่งสกุลในเผ่านี้ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและเผ่าคราม · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าเต่าร้าง

เผ่าเต่าร้าง หรือ Caryoteae เป็นเผ่าหนึ่งของปาล์มในวงศ์ย่อยหมาก ส่วนใหญ่ออกดอกติดผลแล้วจะตาย หมวดหมู่:วงศ์ย่อยหมาก.

ใหม่!!: พืชดอกและเผ่าเต่าร้าง · ดูเพิ่มเติม »

เจี๋ยวกู่หลาน

ี๋ยวกู่หลาน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gynostemma pentaphyllum (Thunb.); ชื่ออื่น: ชาสตูล เบญจขันธ์ ปัญจขันธ์ เซียนเฉ่า) เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ทั่วทวีปเอเชีย ลักษณะของพืช เป็นไม้เถาล้มลุก ลำต้นเล็กเรียวยาว ลำต้นที่เลื้อยยางแตกกิ่งแขนงได้ บริเวณข้อของลำต้นที่ทอดนอนไปตามดินจะออกรากได้ ใบเป็นใบประกอบแบบฝ่ามืออกสลับ ส่วนมากมีใบย่อย 5 ใบ ดอกเล็ก สีเหลืองปนเขียว ผลค่อนข้างกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4- 7 มิลลิเมตร ส่วนที่ใช้เป็นยา คือต้นส่วนเหนือดินและ ใบมีรสขม หรือขมอมหวาน เริ่มด้วยในปี 1977 มีคนจีนคนหนึ่งชื่อ ศิว์สื้อ หมิง เป็นเภสัชกรจบมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ปักกิ่งเขาได้เข้าทำงานที่ สถาบันวิจัยพืชสมุนไพรนครอานดัง มณฑลส่านซี จนกระทั่งฤดูใบไม้ผลิปี 1982 เขาได้ลางานชั่วคราวเพื่อไปเยี่ยมบ้านที่อำเภอผิงลี่ระยะทางไกลประมาณ 50 กิโลเมตร ในช่วงที่เขาพักผ่อนที่บ้านก็ใช้เวลาเสาะแสวงหาสมุนไพรตัวใหม่ๆ ในอำเภอผิงลี่โดยไปพูดคุยกับชาวบ้าน และหมอพื้นบ้าน เพื่อหาข้อมูลของสมุนไพร เขาได้พบสมุนไพร ตัวใหม่ชนิดหนึ่งที่ชาวบ้านเรียกว่า เสี่ยวโหม่จูเถิง ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรักษาชาวบ้านที่เป็นโรคไขมันสูงในเส้นเลือด และโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างดี เขาจึงกลับมาที่ห้องทำงานของสถาบันวิจัยของเขา และศึกษาวิจัยทันทีตามตำราแผนโบราณจีน thumb สรรพคุณและวิธีใช้ แพทย์แผนจีนใช้ส่วนเหนือดินหรือใบเป็นยาแก้อักเสบแก้ไอ ขับเสมหะ แก้หลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง แพทย์แผนไทย ใช้ส่วนที่เป็นก้านตากแห้งบดละเอียดเช่นกัน แก้อ่อนเพลีย แก้แผลอักเสบ ช่วยให้ไม่เหนื่อยง่าย การขยายพันธุ์ สามารถกระทำได้โดยการเพาะเมล็ด การใช้ลำต้นใต้ดิน การใช้เถาปักชำ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพื.

ใหม่!!: พืชดอกและเจี๋ยวกู่หลาน · ดูเพิ่มเติม »

เจตพังคี

ตพังคี Zipp.ex Span.

ใหม่!!: พืชดอกและเจตพังคี · ดูเพิ่มเติม »

เจตมูลเพลิงขาว

ตมูลเพลิงขาว (Ceylon Leadwort, doctorbush) หรือ ปิดปิวขาว (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์ Plumbaginaceae มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ เป็นไม้พุ่มเตี้ยหรือไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-3 เมตร กิ่งก้านมักทอดยาว ใบรูปไข่ ยาว 3-13 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเจตมูลเพลิงขาว · ดูเพิ่มเติม »

เจตมูลเพลิงแดง

ตมูลเพลิงแดง (Indian leadwort, scarlet leadwort) หรือ ปิดปิวแดง (ภาคเหนือ), ไฟใต้ดิน (ภาคใต้) เป็นพืชในวงศ์ Plumbaginaceae มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 0.5-2 เมตร กิ่งก้านมักทอดยาว ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข่ ยาว 3-13 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเจตมูลเพลิงแดง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงรัตติกาล

้าหญิงรัตติกาล เป็นกล้วยไม้ขนาดเล็กและหายาก เป็นพืชพื้นเมืองของหมู่เกาะอินดีสตะวันตก เม็กซิโก เวเนซุเอลาและเปรู ดอกบานและส่งกลิ่นหอมตอนเย็น จำนวนโครโมโซมเป็น 2n.

ใหม่!!: พืชดอกและเจ้าหญิงรัตติกาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงสีชมพู

้าหญิงสีชมพู หรือ เจ้าสาวสีชมพู (Pink flowered doughwood, Pink euodia) ไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ส้ม (Rutaceae) เจ้าหญิงสีชมพู เป็นไม้พื้นเมืองของประเทศออสเตรเลีย แถบนิวเซาท์เวลส์และควีนส์แลนด์ และยังพบได้ที่ปาปัวนิวกินี และหมู่เกาะโซโลมอน โดยพบได้ในป่าดิบชื้น ที่พบในธรรมชาติมีความสูงได้ถึง 25 เมตร เจ้าหญิงสีชมพู มีจุดเด่น คือ ดอกเป็นช่อสีชมพู ออกดอกนานถึง 3 เดือน ในช่วงฤดูร้อน แต่ไม่มีกลิ่นหอม ใบเป็นรูปไข่มีลักษณะมันเงา เป็นไม้ที่ปลูกง่าย ดูแลรักษาง่าย จึงนิยมปลูกกันเป็นไม้ประดับ ความสูงของต้นที่นำมาปลูกอยู่ระหว่าง 6-10 เมตร ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด เมล็ดมีความยาว 7-8 มิลลิเมตร สีเทาน้ำตาล เปลือกด้านนอกสีดำเป็นเงา ต้นกล้.

ใหม่!!: พืชดอกและเจ้าหญิงสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

เถาวัลย์หลง

วัลย์หลง อยู่ในวงศ์ Convolvulaceae เป็นไม้เลื้อยอายุหลายปี ใบเดี่ยว เรียงสลับ เห็นเส้นกลางใบชัดเจน มีขนปกคลุม ดอกออกเป็นกระจุก สีขาวหรือม่วง ใช้เป็นไม้ประดับ และเป็นยารักษาแผล ในสมัยโบราณเชื่อว่าถ้าเข้าป่าแล้วข้ามเถาของพืชชนิดนี้ทำให้หลงป.

ใหม่!!: พืชดอกและเถาวัลย์หลง · ดูเพิ่มเติม »

เถาวัลย์ด้วน

วัลย์ด้วน เป็นพืชในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เลื้อย น้ำยางขาว ไม่มีใบ ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม ลำต้นใช้เป็นยาขับน้ำเหลือง.

ใหม่!!: พืชดอกและเถาวัลย์ด้วน · ดูเพิ่มเติม »

เถาวัลย์ปูน

วัลย์ปูน เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์องุ่น (Vitaceae) เป็นไม้เถาขนาดเล็ก ชอบเลื้อยพาดพันต้นไม้อื่น ลักษณะคล้ายเถาตำลึง บนเถามีละอองสีขาวจับหนาแน่น ใบสดขยี้กับปูนใช้ฟองพอกรักษาแผลสด เถาใช้ปรุงเป็นยาขับปัสสาว.

ใหม่!!: พืชดอกและเถาวัลย์ปูน · ดูเพิ่มเติม »

เถาวัลย์แดง

วัลย์แดงในอินเดีย ดอก เถาวัลย์แดง อยู่ในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้เลื้อย กิ่งอ่อนมีขนเล็กน้อย กิ่งแก่เกลี้ยง ดอกช่อ ดอกสีขาวหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอม ฝักเป็นแท่งกลม พบในอินเดีย เนปาล ในไทยพบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง.

ใหม่!!: พืชดอกและเถาวัลย์แดง · ดูเพิ่มเติม »

เถาคันแดง

ันแดงเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและเถาคันแดง · ดูเพิ่มเติม »

เถางูเขียว

เถางูเขียว เป็นกล้วยไม้ในสกุลเอาะลบ หรือสกุลวานิลลา ลำต้นเป็นเถาเลื้อยยาว ทรงกระบอก สีเขียว ใบมีลักษณะเป็นเกล็ดตามข้อ ช่อดอกออกตามข้อ ดอกสีขาวครีม มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม เป็นไม้ท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบในลาว ไทย มาเลเซีย ในประเทศไทย พบที่ นครราชสีมา จันทบุรี พังงา ตรัง และสตูล หมวดหมู่:สกุลวานิลลา.

ใหม่!!: พืชดอกและเถางูเขียว · ดูเพิ่มเติม »

เทพทาโร

ทพทาโร (ออกเสียง; Kosterm) เป็นต้นไม้หอมชนิดหนึ่งสกุลเดียวกับต้นอบเชย มีต้นขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์ Lauraceae และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดพังงา เทพทาโรเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลับทึบ สีเขียวเข้ม ลำต้นเรียบไม่มีพูพอน เปลือกต้นสีเทาอมเขียวหรืออมน้ำตาล ค่อนข้างเรียบ แตกเป็นร่องยาวตามลำต้น เมื่อถากเปลือกออกจะมีกลิ่นหอม กิ่งมีลักษณะอ่อนเรียว เกลี้ยงและมักมีคราบขาว ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน เป็นใบรูปรีแกมรูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ท้องใบมีคราบขาว ปลายใบแหลม โคนใบแหลมและกลม ยาวประมาณ 7 - 20 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเทพทาโร · ดูเพิ่มเติม »

เทียวฮวยฮุ้ง

ทียวฮวยฮุ้งในภาษาจีนแต้จิ๋ว หรือเทียนฮวาเฟิ่นในภาษาจีนกลาง (天花粉) อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae พบในมณฑลเหอหนาน ซานตง เหอเป่ย ซานซี เป็นยาสมุนไพรจีนชนิดหนึ่ง ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษคือ Chinese cucumber ซึ่งแปลตรงตัวว่าแตงกวาจีน และ Chinese snake gourdRobinson RW and DS Decker-Walters.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียวฮวยฮุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เทียนพระบาท

ทียนพระบาท อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว ดอกสีม่วง เป็นพืชเฉพาะถิ่น พบที่เขาหินปูนในจังหวัดสระบุรี.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนพระบาท · ดูเพิ่มเติม »

เทียนกิ่งขาว

ทียนกิ่งขาว หรือ เฮนนา (Henna) เป็นพืชในวงศ์ Lythraceae และเป็นพืชมีดอกชนิดเดียวในสกุล Lawsonia คำว่าเฮนนาในภาษาอังกฤษมาจาก ภาษาอาหรับ حِنَّاء (ALA-LC: ḥinnāʾ; ออกเสียง) หรือ حناหรือ เป็นไม้พุ่มเปลือกเรียบ สีน้ำตาล ใบเดี่ยว รูปรี ออกตรงข้ามกัน โคนใบรูปลิ่ม ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง ดอกขาวเรียกเทียนกิ่งขาว ดอกแดงเรียกเทียนกิ่งแดง ผลกลมสีเขียวแก่แล้วสีน้ำตาล เปลือกต้น ผลและรากเมื่อรับประทานทำให้อาเจียน ท้องร่วง เป็นอัมพาตและแท้งบุตร กระจายพันธุ์ในแอฟริกาและเอเชียใต้ ใบสดของเทียนกิ่งต้มรวมกับเหง้าขมิ้นชันใช้รักษาเล็บขบ ผงใบแห้งใช้ย้อมผมให้เป็นสีแดงส้ม ใบมีสารลอว์โซน เป็นผลึกสีส้มแดงพืชชนิดนี้ใช้ทำสีย้อมที่เรียกเฮนนาเช่นกัน โดยใช้ทาผิวหนัง เส้นผม เล็บ ผ้าไหม ผ้าฝ้.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนกิ่งขาว · ดูเพิ่มเติม »

เทียนภูหลวง

ทียนภูหลวง เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุกขึ้นตามหินผา ใบหนา ขอบใบจัก ดอกเดี่ยว สีชมพู กลีบบนหยักเว้ารูปหัวใจ สองกลีบล่างแผ่กว้างมากที่สุด ผลรูปกระสวย แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงตุลาคม – ธันวาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่จังหวัดเลย พบครั้งแรกที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย โดย T. shimizu ชาวญี่ปุ่นและคณะ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่สถานที่ค้น.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนภูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เทียนสัตตบุษย์

ทียนสัตตบุษย์ (anise, aniseed, ชื่อวิทยาศาสตร์: Pimpinella anisum) เป็นพืชล้มลุกปีเดียวในวงศ์ผักชี (Apiaceae) ความสูง 30-75 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนสัตตบุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนหยด

ทียนหยด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Duranta repens L.; Duranta erecta L.; ชื่อสามัญ: Sky flower; Golden dew drop; Pigeon berry; Duranta; ชื่อวงศ์: VERBENACEAE) มีชื่อพื้นเมืองหลายชื่อ ได้แก่ เครือ (แพร่); พวงม่วง; ฟองสมุทร; เทียนไข (กรุงเทพฯ); สาวบ่อลด (เชียงใหม่)เป็นไม้พุ่มใบเป็นใบเดี่ยวรูปมนรีเรียว สอบไปทางปลาย ขอบใบเป็นหยักห่างๆออกดอกเป็นช่อห้อยตามปลายยอด ดอกมีสีม่วงมีกลีบดอก 5 กลีบ สามารถติดผลเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กสีเหลืองคล้ายหยดเทียน ใช้ในการปลูกประดับทั่วไป เทียนหยดเป็นพืชที่มีพิษ โดย ผลสีส้มของเทียนหยด เป็นสารประกอบโปรตีนที่มีพิษ ไม่ควรรับประทาน หากรับประทานเข้าไปแล้วเคี้ยว อาจจะทำให้เสียชีวิตได้ (แต่ถ้าหากรับประทานเข้าไปแล้วไม่เคี้ยว จะไม่ก่อให้เกิดอันตราย) ภาพ:thianyot-thai.jpg|เทียนหยดไทย ภาพ:thianyot.jpg|เทียนหยดญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนหยด · ดูเพิ่มเติม »

เทียนผ้าห่มปก

ทียนผ้าห่มปก เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นโค้งงอ ทุกส่วนมีขนอ่อนปกคลุม ใบเดี่ยว ขอบใบจักซี่ละเอียด ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบ ออกดอกช่วงตุลาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกที่อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก จังหวัดเชียงใหม่ โดย ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนผ้าห่มปก · ดูเพิ่มเติม »

เทียนดอก

ทียนดอก หรือเทียนบ้าน เทียนสวน อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นสีเขียวอ่อน อุ้มน้ำ ใบเดี่ยว ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ก้านใบสั้น มีตุ่มเรียงเป็นแถวยาวทั้งสองด้าน ดอกมีหลายสี ผลรูปไข่ แก่แล้วแตกตามแนวยาว ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก สีน้ำตาล ชาวจีนใช้ใบสดตำพอกแก้ปวดตามข้อนิ้วหรือเล็บขบ ใช้ถอนพิษ ปวดแสบปวดร้อน ในอินเดียใช้แก้ปวดข้อ ขับลม รักษาแผลติดเชื้อ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ในใบมีสารเมทิลลอว์โซน.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนดอก · ดูเพิ่มเติม »

เทียนดำ

ทียนดำ หรือ black-cumin อยู่ในวงศ์ Ranunculaceae เป็นพืชพื้นเมืองของซีเรียและเลบานอน เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ลำต้นตั้งตรง มีขน ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว ออกที่ปลายยอดหรือซอกใบ ดอกขนาดใหญ่ สีขาวหรือสีฟ้าอมม่วง ผลเป็นผลแห้งแตกได้ มีเมล็ดหลายเมล็.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนดำ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนดำหลวง

ทียนดำหลวง อยู่ในวงศ์ Sterculiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบเดี่ยว โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกสีม่วงเข้ม ผลมีขน ขนนี้เมื่อสัมผัสทำให้คัน มีเมล็ดสีดำจำนวนมาก รูปรี รากใช้แก้ประจำเดือนมาไม่ปกติ ใช้เป็นยาบีบมดลูก.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนดำหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เทียนตากบ

ทียนตากบ (accessdateBenefits of Carawy Seeds: Caraway: Persian cumin;Plant Name: Meridian Fennel) เป็นพืชในวงศ์ ApiaceaeUSDA Plants เป็นไม้ล้มลุกอายุสองปี ปีแรกแตกใบเป็นกลุ่ม ปีที่สองลำต้นเรียว ใบบนต้นมีก้านใบพองออกเป็นกาบใหญ่สีน้ำตาล ดอกช่อแบบซี่ร่ม ดอกย่อยมีกลีบดอกรูปไข่ สีขาว ผลแห้งสีน้ำตาล ปลูกมากในทวีปยุโรป มีน้ำมันระเหยง่าย ใช้เป็นยาขับลม แก้กระเพาะอาหารพิการ ผลเทียนตากบ คาร์โวน สารหลักในเทียนตากบ ขนมปังโรยเทียนตากบและเกลือ.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนตากบ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนนกแก้ว

ทียนนกแก้ว (parrot flower) อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับวงศ์เทียน มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือนนกแก้วที่โดนแมวกัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนนกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เทียนนา

ทียนนา หรือ ผักบุ้งรอ อยู่ในวงศ์ Onagraceae ขึ้นตามทุ่งนาและหนองน้ำทั่วไป ใบเดี่ยว ก้านใบสั้นมาก กลีบเลี้ยงเป็นหลอด ติดทนจนเป็นผล ดอกสีเหลือง เมล็ดกลมรีจำนวนมาก ใช้เป็นยาแก้บิด ลำไส้อักเสบ รากใช้พอกแก้สิว.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนนา · ดูเพิ่มเติม »

เทียนนายเนย

ทียนนายเนย อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว ใบด้านบนมีขน ด้านล่างมีเฉพาะเส้นใบ ดอกสีขาว กลีบพูหน้ามีแถบสีชมพูอ่อนตรงกลาง เป็นพืชเฉพาะถิ่น พบบริเวณเขาหินปูนในบริเวณภาคกลางและภาคเหนือตอนล่างของไท.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนนายเนย · ดูเพิ่มเติม »

เทียนน้อย

ทียนน้อย เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์เทียนดอก เป็นไม้ล้มลุก อายุปีเดียว ต้นอวบน้ำ ไม่ค่อยแตกกิ่ง โคนต้นสีม่วงแดง ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกสีชมพูอ่อน ผลรูปรี ออกดอกช่วงตุลาคม–พฤศจิกายน ชอบที่สูงและอากาศหนาวเย็น เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เทียนน้ำ

ทียนน้ำ อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นวัชพืชในนาข้าวในภาคกลาง พบตามหนองน้ำหรือริมคลอง ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว ลำต้นตรงโผล่เหนือน้ำ ลำต้นเหลี่ยมกลวง ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยสีชมพู ผลค่อนข้างกลม อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีแดง ใช้เป็นยาขับลม ขับปัสสาว.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนแม่ฮ่องสอน

ทียนแม่ฮ่องสอน เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก โคนต้นสีส้มอ่อน แตกกิ่งน้อย ใบเดี่ยว ขอบใบจัก ปลายใบแหลม มีขนนุ่ม ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ยอด สีม่วงแดง กลีบบนแผ่กว้างมากที่สุด ผลรูปกระสวย ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน พบครั้งแรกที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดยศาสตราจารย์ไคและอาจารย์สุกี ลาร์เสน ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่จังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

เทียนแดง

ทียนแดง อยู่ในวงศ์ Brassicaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอธิโอเปีย เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ลำต้นตั้งตรง เรียบหรือมีขน ใบเดี่ยว ดอกช่อ รวมเป็นกระจุกที่ปลายยอด ดอกย่อยมีขนาดเล็กมาก กลีบดอกสีขาวถึงสีม่วงอ่อน ผลมีปีกแคบๆ มีสองเมล็ด ขนาดเล็ก สีแดงหรือแดงอมน้ำตาล ผิวเรียบไม่มีขน ใช้แก้เสมหะ แก้ลม แก้คลื่นไส้อาเจียน เทียนแดงใช้ใส่ในซุป แซนด์วิช และสลัดเพื่อเพิ่มรสชาติHirsch, David P..

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนแดง · ดูเพิ่มเติม »

เทียนไตรบุญ

ทียนไตรบุญ เป็นไม้ล้มลุกในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae ต้นอวบน้ำ ยอดอ่อนมีขนปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงเวียนเป็นกระจุกที่ปลายยอด ใบรูปไข่ ดอกช่อ ผลเป็นฝักยาว แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงกรกฎาคม – สิงหาคม พบครั้งแรกในไทยเมื่อ 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนไตรบุญ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนเชียงดาว

ทียนเชียงดาว เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุกขึ้นตามซอกหินปูน ใบรูปไข่หนา ดอกช่อ ปลายกลีบบนหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ สองกลีบล่างแผ่กว้างมากที่สุด ผลรูปกระสวย แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดย T. shimizu ชาวญี่ปุ่นและคณะ เมื่อ 14 กันยายน..

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

เทียนเกล็ดหอย

ทียนเกล็ดหอย อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุก ทั้งต้นมีขนปกคลุมหนาแน่น ดอกช่อ ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยรวมเป็นกระจุกที่ปลาย เมล็ดรูปไข่หรือรี สีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมชมพู เมล็ดพองตัวเมื่อถูกน้ำ ใช้เป็นยาระบาย เป็นแหล่งของเส้นใยรับประทานได้ ใช้แก้ลม โลหิตจาง บิดเรื้อรัง มีปลูกในประเทศอินเดีย เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันตกและเอเชียใต้ มีปลูกในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พืชดอกและเทียนเกล็ดหอย · ดูเพิ่มเติม »

เท้ายายม่อม (พืช)

ระวังสับสนกับ ไม้เท้ายายม่อม เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์ Taccaceae เป็นพืชที่มีหัว มีใบ 1-3 ใบ แต่ละใบจักเป็นสามแฉก เว้าแบบขนนก ดอกเป็นช่อยาว แต่ละช่อมีดอกย่อย 20 - 40 ดอก ผลกลม หัวของพืชชนิดนี้นำไปทำแป้งที่เรียกแป้งเท้ายายม่อม พืชชนิดนี้เป็นพืชท้องถิ่นในทวีปแอฟริกา เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียเหนือ นิวกินี ซามัว หมู่เกาะไมโครนีเซีย และฟิจิ และมีการแพร่กระจายไปในหมู่เกาะแปซิฟิกเนื่องมาจากการอพยพของคน ชื่อสามัญของพืชชนิดนี้ ได้แก่ Polynesian Arrowroot (ภาษาอังกฤษ) Pia (ฮาวาย, โพลีเนเซียฝรั่งเศส, Niue, และ หมู่เกาะคุก), Masoa (ซามัว), Mahoaa (ตองกา), Yabia (ฟิจิ) Gapgap (กวม) และ Taka (อินโดนีเซีย).

ใหม่!!: พืชดอกและเท้ายายม่อม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เท้ายายม่อมหลวง

ท้ายายม่อมหลวง เป็นไม้ผลัดใบในวงศ์ Sterculiaceae หรือ Malvaceae ลำต้นเรียบ สีเขียวอมเทา ใบเดี่ยว มีขนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกช่อแบบแตกแขนง กลีบดอกสีชมพู เกสรตัวผู้สีเหลือง ผลเดี่ยว เป็นพูห้าพู อ่อนเป็นสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลแตกตามพู เมล็ดสีน้ำตาล ไม้ใช้ทำเครื่องมือ.

ใหม่!!: พืชดอกและเท้ายายม่อมหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เท้ายายม่อมตัวเมีย

ระวังสับสนกับ เท้ายายม่อม เท้ายายม่อมตัวเมีย (S. Moore) มีชื่ออื่น ๆ ว่า เท้ายายม่อม, เท้ายายม่อมดอกขาว, พญารากเดียว, ไม้เท้าฤๅษี, ปู้เจ้าหายใจไม่รู้ขาด หรือไม้เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์กะเพรา (Lamiaceae) ลำต้นตรง ไม่ค่อยมีกิ่งก้าน ใบเดี่ยว ออกตามข้อ ดอกออกเป็นช่อ โคนกลีบเชื่อมกันเป็นหลอด สีขาว ผลกลม สุกเป็นสีดำ พืชชนิดนี้ เป็นพืชคนละชนิดกับเท้ายายม่อม (Tacca leontopetaloides) ที่มีหัวซึ่งนำไปทำเป็นแป้งเท้ายายม่อม แต่รากของพืชชนิดนี้มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้และถอนพิษ และใบสามารถนำไปสูบแทนกัญชาได้.

ใหม่!!: พืชดอกและเท้ายายม่อมตัวเมีย · ดูเพิ่มเติม »

เฒ่าหัวหงอก

หัวหงอก เป็นกระบองเพชรพื้นเมืองในเม็กซิโกตะวันออก เป็นพืชหายากในธรรมชาติ แต่มีการปลูกเลี้ยงทั่วไป ขนมาจากหนามที่เปลี่ยนรูปไป ทำให้ต้นเหมือนถูกปกคลุมด้วยหิมะสีขาว เป็นการปกป้องพืชจากอากาศเย็นและแสงแดด ชอบดินที่ระบายน้ำดีและแดดจัด ซึ่งทำให้ขนพัฒนาได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและเฒ่าหัวหงอก · ดูเพิ่มเติม »

เฒ่าทะเลทราย

ทะเลทราย เป็นกระบองเพชรที่เป็นพืชพื้นเมืองในพื้นที่สูงของเทือกเขาแอนดีสในอเมริกาใต้ กระจายพันธุ์ในอาร์เจนตินา โบลิเวีย และเปรู มีขนสีขาวปกคลุมต้นเมื่อป้องกันแสงแดดและอุณหภูมิที่สูงหรือต่ำเกินไป.

ใหม่!!: พืชดอกและเฒ่าทะเลทราย · ดูเพิ่มเติม »

เขยตาย

ตายหรือกระรอกน้ำ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ Rutaceae ลำต้นเรียบ สีน้ำตาลแดง ใบประกอบแบบขนนก ใบสีเขียวเข้มหลังใบสีอ่อนกว่า ดอกช่อ กลีบเลี้ยงสีเขียวเชื่อมติดกัน กลีบดอกสีขาว เกสรตัวผู้เป็นแท่งอยู่กลางดอก ผลเดี่ยวกลม ปลายแหลม ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกผิวเต่งเป็นมันกลม สีชมพูฉ่ำน้ำ รสหวาน มีเมล็ดเดียว รากใช้รักษาแผลอักเสบ ยางในทุกส่วนของลำต้นทำให้อาเจียน เพ้อคลั่งและเสียชีวิตได้ ไฟล์:Glycosmis pentaphylla by kadavoor.JPG|ผลอ่อน ไฟล์:Glycosmis pentaphylla in Kudayathoor.jpg|ผลสุกบางส่วน ไฟล์:Glycosmis pentaphylla at Kudayathoor.jpg|ผลสุก.

ใหม่!!: พืชดอกและเขยตาย · ดูเพิ่มเติม »

เขาพระวิหาร (กล้วยไม้)

เขาพระวิหาร เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่งในสกุลพระยาฉัททันต์ ใบหนา ขนาดใหญ่ ปลายใบหยัก ช่อดอกออกที่ข้างลำต้น ขนาดยาวมาก กลีบดอกด้านหน้าสีเหลือง จุดสีม่วงแดง กลีบด้านหลังสีชมพูเข้ม กลีบดอกและกลีบเลี้ยงหนา แข็ง ดอกบานนานหลายเดือน มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเมษายนถึงพฤษภาคม พบในที่ราบลุ่มของประเทศฟิลิปปินส์ ไทย ลาวและเกาะนิวกินี ในประเทศไทยพบที่จังหวัดสกลนครและอุบลราชธานี หมวดหมู่:สกุลพระยาฉัททันต์.

ใหม่!!: พืชดอกและเขาพระวิหาร (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

เขาควายไม่หลูบ

วายไม่หลูบ หรือ เขาควายไม่ว้องหรือโงบ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้รอเลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนปกคลุม ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีริ้วประดับย่อยระหว่างดอก ดอกรูปร่างเหมือนดอกเข็ม สีเขียวหรือเหลือง ผลเป็นแคปซูลแห้ง เมล็ดมีปีก กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงอินโดจีน และเกาะสุมาตรา ในอินโดจีนใช้เปลือกกินแทนหมาก แก้ไข้ ในเวียดนามเคยใช้ชงน้ำดื่มแทนน้ำ.

ใหม่!!: พืชดอกและเขาควายไม่หลูบ · ดูเพิ่มเติม »

เขาแกะ

แกะ หรือชื่อพื้นเมืองอื่น เอื้องเขาแกะ, เขาควาย, เอื้องขี้หมา เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในอินโดจีน.

ใหม่!!: พืชดอกและเขาแกะ · ดูเพิ่มเติม »

เขืองสยาม

ืองสยามหรือเขืองแดง เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Smilacaceae ลำต้นเป็นสันและมีหนามตรงหรืองอโค้ง ปลายใบเป็นตุ่ม เนื้อใบหนา สีเขียวเป็นมัน ด้านบนมีเส้นแขนงใบเป็นร่องลึก ดอกช่อ ผลกลม ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบตามป่าดิบชื้น ทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ใช้เป็นยาสมุนไพร พบครั้งแรกในประเทศไทยชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและเขืองสยาม · ดูเพิ่มเติม »

เขี้ยวฟาน

ี้ยวฟาน หรือ หำฟาน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Oleaceae ลำต้นและกิงอ่อนมีขนสีนวลเทา ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกสีขาว ผลเมื่ออ่อนสีเขียว ผลแก่สีม่วงหรือสีดำ ร่วงง่าย ใบมีรสเผ็ด ชาวไทยอีสานนำมารับประทานกับหมากแทนใบพลูได้.

ใหม่!!: พืชดอกและเขี้ยวฟาน · ดูเพิ่มเติม »

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: พืชดอกและเขนงนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

เข็ม (พืช)

็ม เป็นไม้พุ่มจัดอยู่ในวงศ์ Rubiaceae ลักษณะของดอกจะเกิดจากการอยู่รวมกันเป็นช่อ ๆ มีหลากหลายสี มีคุณค่าทางสมุนไพร ดอกเข็มที่ยังตูมสามารถนำมาชุบแป้งหรือไข่ทอดทานเป็นอาหารได้ เข็มเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดจัด ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง สามารถทนต่อความแห้งแล้ง การให้น้ำ 3-5 วัน/ครั้ง ชอบดินร่วนซุย ดินร่วนปนทราย มีความชุ่มชื้น ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 0.5-1 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ 5-6 ครั้ง/ปี ขยายพันธุ์โดยการปักชำ การเพาะเมล็ด การตอน วิธีที่ได้ผลดีและนิยมกัน คือ การปักชำและการตอน ไม่ค่อยพบและมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนทานต่อโรคได้ดี.

ใหม่!!: พืชดอกและเข็ม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เข็มม่วง

็มม่วง (Violet Ixora; Lindau)เป็นไม้ป่าใน ประเทศ พบมากในป่าทางภาคใต้ เป็นไม้พุ่มเตี้ย สูง ประมาณเมตรเศษๆ ลำต้นเล็ก กิ่งก้านเปราะและมีสาขา ไม่มากนัก ใบยาวรี ผิวใบสาก ออกเป็นคู่ตามข้อต้น ดอกออกเป็นช่อตั้งตามยอด สีม่วง คล้ายดอกเข็ม แต่ ดอกไม่เกาะกลุ่มแน่นอย่างเข็ม ให้ดอกตลอดปี แต่โรยเร็ว ดอกมากในช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์ด้วยการตอนหรือตัดกิ่งปักชำ เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและเข็มม่วง · ดูเพิ่มเติม »

เข็มอินเดีย

็มอินเดีย (accessdate, Starflower) เป็นไม้พุ่ม ดอกคล้ายดอกเข็ม มี 3 สี คือ สีขาว สีแดง และสีชมพู เข็มอินเดียเป็นไม้พุ่มเตี้ย เนื้ออ่อน ลำต้นสูงประมาณ 18 ฟุต มีขนอยู่ทั่วลำต้นและใบด้วย ลำต้นและกิ่งก้านจะเปราะ ใบรูปมนรี ปลายอาจจะแหลม ยาวประมาณ 1.5 ถึง 2 นิ้ว ดอกเป็นช่อ อยู่ตามยอดของต้นเช่นเดียวกับดอกเข็ม ดอกมี 3 สี คือ สีขาว สีแดง และสีชมพู ทุกส่วนของลำต้นมีขน ทำให้คัน บวมแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและเข็มอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เข็มขาว

็มขาวหรือสมิงคำราม ยาญวนหิน หมีคำราม เป็นพืชในสกุลจันทนา วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่ม ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว ดอกช่อกลม ดอกย่อยจำนวนมาก ติดผลจำนวนมาก ผลกลม ออกดอกและติดผลตลอดปี พบในภาคตะวันออก ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบครั้งแรกที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ D.J. Collins ชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: พืชดอกและเข็มขาว · ดูเพิ่มเติม »

เข็มซ่อนก้าน

็มซ่อนก้าน เป็นพืชในสกุลเข็ม วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ใบเกลี้ยงเป็นมัน ขอบใบเรียบ ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาวอมชมพู ผลกลม ออกดอกเดือนกรกฎาคม – พฤศจิกายน พบในภาคเหนือและภาคตะวันตก พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติให้แก่หมอคาร.

ใหม่!!: พืชดอกและเข็มซ่อนก้าน · ดูเพิ่มเติม »

เข้าพรรษา (พืช)

้าพรรษา หรือ กล้วยจะก่าหลวง หรือข่าเจ้าคุณวินิจ (dancing ladies หรือ dancing ladies ginger) เป็นพืชดอกในสกุลเทียนพรรษา วงศ์ขิง มีดอกเป็นช่อสีเหลือง มีเหง้าใต้ดิน กาบใบห่อขึ้นมาเป็นลำต้นเทียม ใบเดี่ยว ดอกช่อ มีริ้วประดับรูปไข่แกมรีสีม่วงแดงหรือสีขาวรองรับดอกย่อยสีเหลือง ผลรูปไข่มีสามพูออกดอกช่วงมิถุนายน – ตุลาคม พบในภาคเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกในไทยเมื่อ 4 กันยายน..

ใหม่!!: พืชดอกและเข้าพรรษา (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เดลฟินเนียม

ลฟินเนียม (Delphinium) เป็นสกุลพืชที่มีด้วยกันราว 300 สปีชีส์ ที่เป็นพืชโตชั่วฤดูยืนต้นประเภทพืชดอกในวงศ์พวงแก้วกุดั่น เป็นพืชที่มีถิ่นฐานทางซีกโลกตอนเหนือ (Northern Hemisphere) และบนที่สูงในบริเวณเขตร้อนในแอฟริกา ชื่อสามัญ “ลาร์คเสปอร์” ใช้ร่วมกับสกุล Consolida ที่ใกล้เคียงกัน ทรงใบเป็นรูปใบปาล์มเป็นอุ้งเป็นสามถึงเจ็ดแฉก กิ่งดอกชลูดขึ้นไป ขนาดของแต่ละสปีชีส์ก็ต่างกันออกไปที่สูงตั้งแต่ 10 เซนติเมตรไปจนถึงสองเมตร แต่ละก้านก็จะมีดอกรอบกระจายออกไปรอบก้าน สีก็มีตั้งแต่สี่ม่วง, น้ำเงิน, ฟ้า ไปจนถึงแดง เหลือง และขาว แต่ละดอกมีคล้ายกลีบนอกห้ากลีบแต่ติดกันตลอดเหมือนถุงที่มีจะงอยตรงปลาย ภายในกลีบนอกก็จะมีกลีบในสี่กลีบ เมล็ดมีขนาดเล็กและมักจะเป็นสีดำเป็นมัน ดอกบานตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ผลิไปจนถึงปลายฤดูร้อน ผสมพันธุ์โดยผีเสื้อและผึ้ง สปีชีส์ส่วนใหญ่เป็นพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและเดลฟินเนียม · ดูเพิ่มเติม »

เดือยไก่

ือยไก่ เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Annonaceae ลำต้นตรง ใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างมีไขสีขาวนวลเคลือบ ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบสีเขียวแกมเหลือง ดอกไม่บาน กลีบดอกจึงติดกันดูคล้ายเดือยไก่ ผลกลุ่มและเป็นผลสด ผลย่อยเรียงกันคล้ายลูกประคำ ใช้รับประทานเป็นผลไม้ รากใช้เป็นส่วนผสมของยาบรรเทาอาการปวดเมื่อยหรือเคล็ดขัดยอก.

ใหม่!!: พืชดอกและเดือยไก่ · ดูเพิ่มเติม »

เดื่อผา

ื่อผา อยู่ในวงศ์ Moraceae ไม้พุ่ม ผลออกตามต้น มีขนสีน้ำตาลอมดำแข็งปกคลุม มีสัน 5 สัน ทุกส่วนมียางสีขาว ผลกินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและเดื่อผา · ดูเพิ่มเติม »

เดื่อปล้องหิน

ื่อปล้องหิน ภาษากะเหรี่ยงเรียกเส่อดุย เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นตั้งตรง ภายในมียางสีขาว กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว หูใบหุ้มยอดอ่อนหลุดร่วงง่าย ทิ้งรอยแผลเป็นไว้ ผิวใบด้านบนมีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุม ดอกแยกเพศ ช่อดอกแบบดอกมะเดื่อ แก่แล้วเป็นสีแดง มีจุดสีขาวประปราย ผลสุกรับประทานได้มีรสหวาน.

ใหม่!!: พืชดอกและเดื่อปล้องหิน · ดูเพิ่มเติม »

เคราฤษี

มุมใกล้ของเคราฤษี เคราฤษี หรือ มอสสเปน (Spanish moss) เป็นพืชในวงศ์สับปะรดที่ไม่มีราก ต้นห้อยย้อยลงมาจากคาคบไม้เป็นสายยาว พบน้อยที่มีรากเส้นเล็ก ๆ งอกออกมา ดอกกลิ่นหอมอ่อน ๆ ดูดน้ำโดยทางใบสีเทาเงิน เนื่องจากมีไตรโคมสีเงินบนใบ ช่วยให้ดูดน้ำจากอากาศที่ชุ่มชื้นได้ดี จะมีเฉพาะรากแรกเกิดที่ยึดเกาะกับวัสดุที่อาศัย จากนั้นจะไม่แตกรากอีก มีการนำเคราฤษีมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น เป็นวัสดุปลูกในงานแต่งสวน ใช้ยัดเบาะนั่งในรถมาตั้งแต..

ใหม่!!: พืชดอกและเคราฤษี · ดูเพิ่มเติม »

เครือมวกไทย

รือมวกไทย เป็นไม้เลื้อยเถาอ่อนในวงศ์ Apocynaceae ใบออกเป็นกระจุกตามกิ่ง เนื้อใบหนา ดอกออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกช่อ ดอกย่อยมีจำนวนมาก สีขาว กลิ่นหอมอ่อน ดอกบานช่วงกันยายน – พฤศจิกายน เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบเฉพาะที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เท่านั้น พบครั้งแรกเมื่อ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและเครือมวกไทย · ดูเพิ่มเติม »

เครือห้าต่อเจ็ด

รือห้าต่อเจ็ด อยู่ในวงศ์ Vitaceae เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง ลำต้นกลม มีมือจับ ใบประกอบ ผลค่อนข้างกลม ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีม่วงดำ มี 1-3 เมล็ด ดอกและยอดอ่อนกินเป็นผัก.

ใหม่!!: พืชดอกและเครือห้าต่อเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

เครือออน

รือออน อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ เลื้อยพันบนต้นไม้อื่น ลำต้นมีขนนุ่ม ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง สีชมพูอมม่วง ใบบดอังไฟให้ร้อน พอกบริเวณถูกสัตว์มีพิษ ทั้งต้นต้ำน้ำดื่มแก้ไอ ขับปัสสาว.

ใหม่!!: พืชดอกและเครือออน · ดูเพิ่มเติม »

เครือขยัน

รือขยัน หรือย่านางแดง เป็นไม้เลื้อยในสกุลชงโค และวงศ์ถั่ว จัดเป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง เปลือกรากขรุขระมีสีน้ำตาลเข้มถึงดำ มีรอยบากตามขวางเล็กๆทั่วไป เนื้อไม้ภายในรากสีน้ำตาลแดง เถาแบน มีร่องตรงกลาง เปลือกสีออกเทาน้ำตาล เมื่อแก่เถากลม สีน้ำตาลแดง ใบรูปไข่แกมขอบขนาน ผิวใบมัน สีเขียวเข้ม ปลายใบเว้าตื้น กึ่งเรียวแหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัวใจตื้น ขอบใบเรียบ ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ในทางยาสมุนไพรมีฤทธิ์แก้ท้องเสีย ฝาดสมาน ใช้ ใบ เถา และราก เป็นยาเช่นเดียวกับย่านางแต่มีฤทธิ์แรงกว่า ใช้ถอนพิษยาเมา ยาเบื่อ ยาสั่ง แก้ไข้พิษทั้งปวง ขับพิษโลหิตและน้ำเหลือง แก้ท้องผูก ใช้ฝนกับน้ำ หรือต้มน้ำดื่ม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้เป็นส่วนผสมของยาบำรุงโลหิต สำหรับสตรีหลังคลอด ขณะอยู่ไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น.

ใหม่!!: พืชดอกและเครือขยัน · ดูเพิ่มเติม »

เครือปรอกช้าง

รือปรอกช้าง อยู่ในวงศ์ Rhamnaceae เปลือกสีน้ำตาลเข้มอมดำ ใบค่อนข้างหนา ขอบใบเป็นคลื่น ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลือง เถาใช้ฟอกเลือดขับระดู แก้เลือดและน้ำเลี้ยงเสี.

ใหม่!!: พืชดอกและเครือปรอกช้าง · ดูเพิ่มเติม »

เครือเทพรัตน์

รือเทพรัตน์ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Malvaceae ลักษณะของดอกคล้ายดอกชบาแต่กลีบดอกไม่บานออกเท่า เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย พบที่จังหวัดตากเท่านั้น พบครั้งแรกในประเทศไทยโดย ดร.

ใหม่!!: พืชดอกและเครือเทพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เคียมซิก

ียมซิกในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือเฉี่ยนสือในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Nymphaeaceae พบในเอเชียตะวันออก อินเดีย ญี่ปุ่นเกาหลี และบางส่วนของภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย เป็นพืชน้ำ ดอกสีม่วง ใบใหญ่กลม เมล็ดด้านหนึ่งสีน้ำตาลแดง ด้านหนึ่งสีขาว เรียบเป็นเงามีลาย เป็นสมุนไพรจีน เมล็ดใช้เป็นยาแก้ปวด บำรุงไต.

ใหม่!!: พืชดอกและเคียมซิก · ดูเพิ่มเติม »

เคี่ยม

ี่ยม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Dipterocarpaceae พบในคาบสมุทรอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว ลำต้นตรง ไม่มีพูพอน เปลือกสีน้ำตาลเข้มอมดำ ผิวแตกเป็นร่องลึก หลุดออกได้ ใบเดี่ยว เรียบเป็นมัน ดอกช่อ ดอกสีเหลืองอ่อน บานเต็มที่ กลีบดอกบิดห่อเข้าหากัน ผลเดี่ยว มีปีกสีเขียวทรงลูกข่าง ผลแก่สีน้ำตาล ปลิวตามลมได้ เนื้อไม้แข็งแรงทนทาน ใช้ในงานก่อสร้าง เปลือกไม้ใส่ในภาชนะรองรับน้ำตาลไม่ให้บูดเน่า ใช้เป็นยาห้ามเลือด แก้ท้องร่วง.

ใหม่!!: พืชดอกและเคี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

เงาะ

งาะ (Rambutan; Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถิ่น กำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยทั่วไปเงาะ เป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่ พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่นๆ จะมีปลูก กันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ ในอดีตประ เทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มมากขึ้น.

ใหม่!!: พืชดอกและเงาะ · ดูเพิ่มเติม »

เงาะขนสั้น

ผล เนื้อในของเงาะขนสั้น เงาะขนสั้น หรือ Nephelium ramboutan-ake เป็นพืชที่มีลักษณะใกล้เคียงกับเงาะ ภาษาสเปนและภาษามลายูเรียกปูลาซัน ภาษาอินโดนีเซียเรียก กาปูลาซัน ในฟิลิปปินส์เรียกบูลาลา เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบ ดอกออกตามปลายกิ่งหรืออยู่ค่อนลงมาจากปลายกิ่ง ไม่มีกลีบดอก ผลรูปรีจนถึงค่อนข้างกลม มีหนามยาวปกคลุมหนาแน่น ผลสีแดงอมเหลืองหรือดำ เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีขาว ผลนิยมรับประทานสด รสหวานกว่าเงาะและลิ้นจี.

ใหม่!!: พืชดอกและเงาะขนสั้น · ดูเพิ่มเติม »

เงาะไม่มีขน

งาะไม่มีขน เป็นพืชที่มีความใกล้เคียงกับเงาะ ผลเป็นแบบผลเมล็ดเดียวเช่นเดียวกัน แต่เปลือกผลไม่มีขน นิยมรับประทานสดเป็นผลไม้ แต่ยังไม่มีการปลูกเป็นการค้า รู้จักดีและนำมารับประทานเมื่อสุกเต็มที.

ใหม่!!: พืชดอกและเงาะไม่มีขน · ดูเพิ่มเติม »

เงินไหลมา

งินไหลมา เป็นพืชในวงศ์บอน (Araceae) เป็นไม้เลื้อยลำต้นอวบน้ำ สีเขียวอมเทา เลื้อยพันด้วยรากพิเศษที่ออกมาตามลำต้น ใบเดี่ยว โคนใบเป็นรูปหัวลูกศร ปลายใบเรียวแหลม ใบสีเขียวหรือด่างขาว ดอกช่อแบบเดียวกับดอกหน้าวัว ยางเมื่อถูกผิวหนังทำให้เป็นผื่นคัน ถ้ารับประทานทำให้คันปาก ทางเดินอาหารอักเสบ Arrowhead plant 047.jpg|ลักษณะทั่วไป Leaf macrophotography.jpg|ใต้ใบ Alocasia.jpg|พันธุ์ผีเสื้อขาว Syngonium podophyllum02.JPG|ดอก.

ใหม่!!: พืชดอกและเงินไหลมา · ดูเพิ่มเติม »

เงี่ยงดุกน้อย

งี่ยงดุกน้อย เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Rubiaceae เมื่อกิ่งยาวขึ้นปลายกิ่งจะโน้มลง มีหนามแหลมทุกส่วน ใบเดี่ยว ผิวใบด้านบนเป็นมัน มีขนประปราย ผลสด สุกแล้วเป็นสีส้มหรือสีแดง มีเมล็ดเดียว ใช้เป็นไม้ประดับ ทางภาคอีสานใช้รากฝนกับน้ำดื่มแก้วัณโร.

ใหม่!!: พืชดอกและเงี่ยงดุกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เตยหอม

ตยหอม เป็นไม้ยืนต้นพุ่มเล็ก ขึ้นเป็นกอ ลำต้นอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับเวียนเป็นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ใบเป็นทางยาว สีเข้ม ค่อนข้างแข็ง เป็นมันเผือก ขอบใบเรียบ ในใบมีกลิ่นหอมจากน้ำมันหอมระเหย Fragrant Screw Pine สีเขียวจากใบเป็นสีของคลอโรฟิลล์ ใช้แต่งสีขนมได้.

ใหม่!!: พืชดอกและเตยหอม · ดูเพิ่มเติม »

เตยทะเล

ตยทะเล หรือ Pandanus odoratissimus ชื่ออื่นๆคือลำเจียก ปะหนัน ปะแนะ เตยเล Hala (ภาษาฮาวาย), Bacua (ภาษาสเปน), และ Vacquois (ภาษาฝรั่งเศส) เป็นพืชท้องถิ่นในไทย มาเลเซีย ออสเตรเลียตะวันออก และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นไม้ยืนต้น สูง 4-8 เมตร มีหนามสั้นๆทู่ๆ ที่ผิวของลำต้น ที่โคนต้นมีรากค้ำจุน ใบเดี่ยว ผิวใบเรียบเป็นมัน ดอกเป็นดอกช่อ แยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้เป็นช่อดอกยาว 30 - 60 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเตยทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เต่าร้าง

ต้นเต่าร้าง เต่าร้าง เป็นพืชในวงศ์ Palmae เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ขนาดใหญ่ ไม่มีหนาม ปล้องบนลำต้นยาว แผ่นใบเป็นร่องรูปตัว V ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ก้านใบยาวขนาดใหญ่ ออกดอกแล้วตาย ดอกช่อแยกเพศ ผลสุกสีแดง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ศรีลังกา อินเดีย ตอนใต้ของจีน ไทยและเวียดนาม เนื้อไม้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้าง และทำเครื่องมือทางการเกษตร เป็นไม้ประดับ ช่อดอกปาดเอาน้ำหวานมาผลิตน้ำตาลได้ ใบใช้มุงหลังคา ทำเชือก ยอดอ่อนต้มรับประทานได้ ทางภาคใต้นำยอดนำมาต้มกะทิกับกุ้ง ขนที่ผลเมื่อถูกผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นแดงและคัน 'ผลเต่าร้างดิบ เบียร์หมักจากน้ำตาลเต่าร้าง.

ใหม่!!: พืชดอกและเต่าร้าง · ดูเพิ่มเติม »

เต่าร้างยักษ์

ต่าร้างยักษ์ เป็นพืชในวงศ์ Palmae เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ขนาดใหญ่ ไม่มีหนาม ปล้องบนลำต้นยาว แผ่นใบเป็นร่องรูปตัว V ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ก้านใบยาวขนาดใหญ่ ออกดอกแล้วตาย ดอกช่อ แขนงช่อยาว ผลมี 1-3 เมล็ด ผลสีแดงเข้ม พบในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ปาดน้ำตาลจากช่อดอกได้ ยอดอ่อนต้มสุกรับประทานได้ ใบใช้มุงหลังคา เส้นใยในกาบใบใช้ทำเชือก ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและเต่าร้างยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าร้างยักษ์คีรีวง

ต่าร้างยักษ์คีรีวง เป็นปาล์มต้นเดียว มีใบบนต้น 8-10 กาบ ใบประกอบรูปขนนก 2 ชั้น ใบย่อยมีได้มากถึง 25 คู่ ดอกช่อ ติดผลจำนวนมาก แต่ละผลมี 2 เมล็ด พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พืชดอกและเต่าร้างยักษ์คีรีวง · ดูเพิ่มเติม »

เต่าร้างยักษ์น่าน

ต่าร้างยักษ์น่าน (Giant fishtail palm) เป็นปาล์มชนิดที่ค้นพบเป็นแห่งแรกที่จังหวัดน่าน เป็นไม้หายากและใกล้จะสูญพันธุ์ ชึ้นกระจัดกระจาย บนเทือกเขาหลวงพระบางระดับสูง บริเวณดอยภูคา จังหวัดน่าน เป็นปาล์มตระกูลเต่าร้าง ใบมีลักษณะรูปรูปขนนกสองชั้น สีเขียวเข้มเป็นมัน ลักษณะของใบย่อยคล้ายครีบหรือหางปลา เวลาลมพัดใบโบกสะบัดดูงดงามยิ่ง มีกาบหุ้มคอยอดมาก เมื่อโตเต็มที่จะออกลูกจากด้านยอดลงมาหาโคนและลำต้นแม่ก็จะตาย ลำต้นสูงใหญ่สูงได้ถึง 30 ฟุต เป็นเต่าร้างลำต้นเดี่ยว ไม่แตกกอเหมือนเต่าร้างทั่วไป เป็นไม้ต้องการแสงมาก แต่ก็สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยาศภายในร่มที่มีแสงน้อยได้ จัดเป็นปาล์มชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เป็นพืชที่หายากและใกล้สูญพันธุ์มากชนิดหนึ่ง ในประเทศไทยพบเพียงแห่งเดียวคือ ที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน ในป่าดิบเขาที่มีความสูง 1,500-1,700 เมตร ที่มีเมฆหมอกปกคลุมตลอดทั้งปี และยังพบเป็นปริมาณมาก ส่วนในต่างประเทศพบได้ที่รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย และเชื่อว่ายังมีเหลืออยู่บ้างในป่าดิบเขาของเทือกเขาหลวงพระบางในประเทศลาว จัดเป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่มีกำเนิดมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยเดียวกับไดโนเสาร์ ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันดอยภูคา ป่าแห่งพันธุ์ไม้หายาก, คอลัมน์ "อุทยานแห่งชาติ" โดย จักรพันธุ์ กังวาฬ หน้า 142-156.

ใหม่!!: พืชดอกและเต่าร้างยักษ์น่าน · ดูเพิ่มเติม »

เต่าร้างแดง

ต่าร้างแดง เป็นพืชในวงศ์ Palmae เป็นปาล์มกอ ขนาดใหญ่ ไม่มีหนาม ปล้องบนลำต้นยาว แผ่นใบเป็นร่องรูปตัว V ก้านใบยาวขนาดใหญ่ ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ออกดอกแล้วตาย ดอกช่อ ก้านช่อดอกโค้งงอ ผลสุกสีส้มจนถึงแดงเข้ม มีเมล็ดเดียว พบในอินโดนีเซีย ยอดอ่อนต้มสุกรับประทานได้ ใบใช้มุงหลังคา เส้นใบจากกาบใบใช้ทำเชือก ใช้เป็นไม้ประดั.

ใหม่!!: พืชดอกและเต่าร้างแดง · ดูเพิ่มเติม »

เต็ง

ต็ง ภาษากะเหรี่ยงเรียก ลานิ ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นร่องและเป็นสะเก็ดหนา ใบเดี่ยว ใบอ่อนมีขนประปราย ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ก้านดอกย่อยสั้นมาก ดอกย่อยขนาดเล็กสีขาว ผลมีปีกแบบซามารอยด์ เนื้อไม้ใช้ทำเสาบ้าน.

ใหม่!!: พืชดอกและเต็ง · ดูเพิ่มเติม »

เฉาก๊วย (พืช)

เฉาก๊วยในรูปแบบอาหารว่าง เฉาก๊วย หรือ หญ้าเฉาก๊วย (xiancao (仙草, 仙人草, 仙草舅, 涼粉草) ใน ภาษาจีนกลาง, sian-chháu ในภาษาจีนไต้หวัน, leung fan cao (涼粉草) ใน ภาษาจีนกวางตุ้ง sương sáo ใน ภาษาเวียดนาม) เป็นพืชในจีนัส Mesona ในตระกูลเดียวกับมินต์ (พืชจำพวกสะระแหน่) มักพบในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน ไต้หวัน ชอบขึ้นในหุบเขาที่ดินทรายแห้งมีหญ้าขึ้น มีความสูงราว 15–100 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและเฉาก๊วย (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เฉียงพร้านางแอ

เฉียงพร้านางแอ(หรือ เขียงพร้า,กวางล่ามา(ตราด),บงมั่ง(ปราจีน),แสนฟ้านางแอ,โอ่งนั่ง,บ่งนั่ง(อุดร),วงคต,บงคต,สีฟันนางแอ,เฉียงพร้านางแอ่น,(พายัพ)คอแห้ง,เขียงฟ้า,(ภาคใต้),เขียงพร้านางแอ(ชุมพร),กูมุย(เขมรสุรินทร์)เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง จนถึง ขนาดใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขาตรงเรือนยอดของต้น เปลือกต้นเป็นสีดำและขรุขระเล็กน้อย ใบเดี่ยว ออกใบสลับกันไปตามลำต้น มีสีเขียว มีเนื้อที่แข็ง ลักษณะของใบจะคล้ายกับใบไทรย้อย ใบดกและหนาทึบ ดอกออกเป็นช่อ อยู่ตรงส่วนปลายของลำต้น ดอกของต้นเฉียงพร้านางแอนี้มีขนาดเล็ก และมีสีเขียวเหลืองๆ เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ที่ชอบความชื้นสูง มักขึ้นตามป่าชื้นและที่ลุ่มชื้นแฉะ ขยายพันธุ์ด้วยการตอน และเพาะเมล็ด เปลือก ใช้ปรุงเป็นยาแก้ไข้ระงับความร้อน แก้ไข้กล่อมเสมหะและโลหิต และ ยังแก้พิษร้อนภายในร่างกายแต่จะทำให้กระหายน้ำบ้าง ซึ่งจะมีรสฝาด เย็น และหวานเล็กน้อย (อ้างอิงจาก108สมุนไพรไทย เล่ม3) หมวดหมู่:สมุนไพร หมวดหมู่:วงศ์โกงกาง.

ใหม่!!: พืชดอกและเฉียงพร้านางแอ · ดูเพิ่มเติม »

เปราะหอม

ปราะหอม หรือ ข่ามาราบา หรือหอมเปราะ ว่านตีนดิน เป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceae พบตามที่โล่งในเกาะนิวกินี กระจายพันธุ์ใน อินโดนีเซีย จีนตอนใต้, ไต้หวัน, กัมพูชา และอินเดีย เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลำต้นเป็นเหง้าใต้ดินมีรากสะสมอาหาร ใบเดี่ยวแทงขึ้นมาจากเหง้า ไม่มีก้านใบ ใบอยู่ใกล้พื้นดิน มักมีเพียง 2 ใบ ท้องใบมีขน ใบกลมแผ่ออกตามแนวข้าง ช่อดอกออกระหว่างใบทั้งสอง ไม่มีก้านช่อดอก ริ้วประดับรูปใบหอก ดอกสีชมพูอ่อนหรือขาว มีจุดสีม่วง เหง้ามีรสเผ็ดขม ใช้ขับลม แก้ลงท้อง แก้หวัดกระตุ้นอาการประสาทหลอน เหง้าใช้ประกอบอาหาร ชาวโอรัง อัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียนำน้ำคั้นจากเหง้าใช้รักษาอาการปวดจากโรคกระเพาะอาหารและไอ.

ใหม่!!: พืชดอกและเปราะหอม · ดูเพิ่มเติม »

เปราะทอง

ปราะทอง หรือว่านเปราะทอง อยู่ในวงศ์ขิง เป็นไม้ล้มลุก เหง้าเล็ก แกนกลางสีเหลือง มีแขนงย่อย ใบเดี่ยว มี 2-3 ใบ มีรอยประเป็นสีเงินระหว่างเส้นแขนงใบ ด้านล่างสีม่วงเข้ม ช่อดอกสั้น แทรกขึ้นมาระหว่างใบ ใบ 2-3 ใบออกสลับกันในแนวทแยง อยู่เหนือดินเล็กน้อย มีเกสรตัวผู้เป็นหมัน ลักษณะคล้ายกลีบดอก กลีบกลางขนาดใหญ่สุดเรียกกลีบปาก เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและเปราะทอง · ดูเพิ่มเติม »

เปราะป่า

ปราะป่า Carey เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Zingiberaceae ชื่ออื่นๆ ตูบหมูบ (อุบลราชธานี) เปราะเถื่อน (ปราจีนบุรี) เปราะเขา เป็นพืชล้มลุก เหง้าสั้น ขนาดเล็ก เหง้าหลักทรงกลม สีน้ำตาล ที่ผิวมีรอยข้อปล้องชัดเจน ออกรากจากเหง้าหลักเป็นเส้นกลมยาว เหง้าใต้ดิน มีกลิ่นหอม รสเผ็ดจัด เปราะป่าเป็นพืชสมุนไพร ตำรายาไทยใช้ เหง้าใต้ดิน แก้ไข้ แก้หวัด แก้กำเดา ขับลมในลำไส้ ตำผสมกับหัวหอม สุมกระหม่อมเด็ก แก้หวัด แก้กำเดา ทางภาคอีสาน ใช้ เหง้าใต้ดิน ตำพอก แก้อาการอักเสบ เนื่องจากแมลงสัตว์ กัดต่อย หรือผสมใบหนาดใหญ่ ต้มน้ำดื่ม แก้อัมพาต ทางจังหวัดมุกดาหารใช้เข้าตำรับยาอายุวัฒนะ ทางจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ หัว มีกลิ่นหอม รสร้อน ขมจัด ทำลูกประคบ แก้ฟกช้ำ ใช้แก้ไข้ แก้หวัด แก้กำเดา ขับลมในลำไส้.

ใหม่!!: พืชดอกและเปราะป่า · ดูเพิ่มเติม »

เปล้าแขบทอง

ปล้าแขบทอง หรือ ปอกะปลา Pierre ex Gagnep.

ใหม่!!: พืชดอกและเปล้าแขบทอง · ดูเพิ่มเติม »

เปล้าใหญ่

ปล้าใหญ่ Roxb.

ใหม่!!: พืชดอกและเปล้าใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เปาโรติส

ปาโรติส (paurotis palm, Everglades palm) เป็นปาล์มชนิดเดียวในสกุล Acoelorrhaphe มีถิ่นกำเนิดในรัฐฟลอริดาและแคริบเบียน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลของเปาโรติสมาจากภาษากรีก แปลว่า "ไม่มีราฟี" เปาโรติสเป็นปาล์มกอ สูงได้ถึง 8 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร มีแผ่นใยคลุมและทางใบแห้งติดแน่น ใบรูปพัด ขอบใบจักเว้าลึกเกือบถึงสะดือ แผ่นใบกางเกือบครึ่งวงกลม กว้าง 80 เซนติเมตร ใต้ใบมีนวลสีขาว ก้านใบยาว 1 เมตร มีหนามที่ขอบก้าน ช่อดอกสมบูรณ์เพศ ออกระหว่างกาบใบ ยาว 1.2 เมตร ผลกลมขนาด 1.2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีส้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและเปาโรติส · ดูเพิ่มเติม »

เปปเปอร์มินต์

ปปเปอร์มินต์ เป็นมินต์พันธุ์ผสมระหว่างมินต์น้ำกับสเปียร์มินต์ มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปยุโรปและตะวันออกกลาง ปัจจุบันเพาะปลูกกันอย่างกว้างขวางในหลายบริเวณทั่วโลก สามารถพบได้ในป่ากับสายพันธุ์ดั้งเดิมเป็นบางครั้ง.

ใหม่!!: พืชดอกและเปปเปอร์มินต์ · ดูเพิ่มเติม »

เป้งทะเล

ป้งทะเล (Mangrove Date Palm) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ปาล์ม และเป็นพืชท้องถิ่นตามแนวชายฝั่งของอินเดีย บังกลาเทศ พม่า ไทย และมาเลเซีย เปลือกลำต้นมีรอยขรุขระสีน้ำตาลหรือเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ไม่มีก้านใบย่อย โคนใบเป็นกาบห่อหุ้มยอดอ่อน ขอบใบเรียบ สีเขียวอมเหลือง ดอกเป็นดอกช่อ แยกเพศ แยกต้น ช่อดอกขนาดใหญ่ออกตามง่ามใบช่อดอกอ่อนจะมีกบขนาดใหญ่หุ้ม เมื่ออายุมากขึ้นกาบจะร่วงไป ผลเป็นผลเดี่ยว เนื้อด้านนอกอ่อนนุ่ม เมื่ออ่อนสีเขียว สุกเป็นสีส้ม มีเมล็ดเดียว ยอดอ่อนนำมาทำอาหารได้หลายชนิด เช่น ต้มกะทิ แกงส้ม.

ใหม่!!: พืชดอกและเป้งทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เป้งดอย

ป้งดอย (doi) ภาษากะเหรี่ยงเรียก ลุกคอดึหรือตะโปละ เป็นปาล์มขนาดเล็ก ขึ้นเป็นกอเดี่ยว ๆ กาบลำต้นมีหนามแข็งมาก ใบนำไปตากแห้งแล้วนำมาทำไม้กวาด ใบประกอบ ก้านชี้เฉียงขึ้น โคนของทางใบเป็นกาบหุ้มลำต้นและซ้อนเวียนกันขึ้นมา ปลายสุดของทางใบมีใบย่อย 3 ใบเป็นสามง่าม ดอกช่อ ออกเป็นทะลายใหญ่ ดอกย่อยขนาดเล็ก สีขาวอมเหลือง ผลสุกสีแดง.

ใหม่!!: พืชดอกและเป้งดอย · ดูเพิ่มเติม »

เนระพูสีไทย

นระพูสีไทย (Bat flower) เป็นพันธุ์ไม้ล้มลุก มีเหง้าหัว เจริญตามแนวราบใต้พื้นดิน ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมนหรือเฉียง แผ่นใบสีเขียวเข้มกว่าท้องใบ ก้านใบสีเขียวคล้ำชูขึ้นสูงเหนือพื้นดินยาวประมาณ 1 – 1.5 ฟุต ก้านดอกชูขึ้นมาสูงจากกลางกอ ช่อดอกเป็นแบบช่อกระจุก ดอกออกแน่น ล้อมรอบด้วยใบประดับรูปไข่ 2 ใบ ตรงกลางดอกมีเกสรตัวผู้และตัวเมีย มีสีดำสนิท มีกลีบดอก 2 กลีบ ลักษณะรีรูปทรงกลม รังไข่ใต้วงกลีบดอกด้านในจะเป็นเส้นยาวคล้ายด้ายยื่นห้อยลงมา ดูแล้วคล้ายเส้นด้ายสีดำ หน้าตาดอกเหมือนกับค้างคาวกำลังกระพือปีกในเวลากลางคืน ดอกมีกลิ่นสาบหืน.

ใหม่!!: พืชดอกและเนระพูสีไทย · ดูเพิ่มเติม »

เนียมอ้น

นียมอ้น ฝอยฝา หรือต๋านม่วย เป็นพืชในวงศ์ Chloranthaceae ลำต้นเกลี้ยง ส่วนข้อโป่งพอง ใบออกสลับตั้งฉาก หูใบเป็นแถบยาวมองคล้ายเยื่อ ดอกช่อ ไม่มีกลีบรวม ผลเมล็ดเดียวแข็ง สีเขียวหรือสีเหลือง เป็นไม้พื้นเมืองในจีน ปลูกทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งในเกาะสุมาตราและเกาะชวา ใบและลำต้นมีกลิ่นหอม ใบและดอกนำมาชงเป็นน้ำชาโดยใช้ชนิดเดียว หรือรวมกับใบชา ในอินโดจีนใช้น้ำต้มดอกและใบแก้ไอ ในจีนใช้ใบตำแล้วพอก รักษาฝี และแผลน้ำร้อนลวก ใช้รับประทานแก้มาลาเรียได้ แต่ถ้ารับประทานมากไปจะเป็นพิษ.

ใหม่!!: พืชดอกและเนียมอ้น · ดูเพิ่มเติม »

เนียง

ต้นเนียง หรือ ลูกเนียง เป็นไม้ยืนต้น เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีกลิ่นแรง ในอินโดนีเซียและมาเลเซียเรียก jering ในพม่าเรียกda nyin thee ทางภาคใต้ของไทยเรียกลูกเนียง เปลือกต้นสีเทาหรือน้ำตาลอ่อนปนเทา ยอดอ่อนสีแดง ดอกสีขาว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อ ผลมีเปลือกแข็ง ผลเป็นฝักแบนเป็นเกลียวไปทางเดียวกัน คล้ายรูปเกือกม้า ผิวสีน้ำตาลคล้ำ ในลูกเนียงดิบมีกรดเจงโคลิก (djenkolic acid) ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่มีกรดกำมะถันสูงมาก สารนี้ทำลายระบบประสาทของไต ทำให้ปัสสาวะไม่ออก หรือปัสสาวะไม่สะดวก เนื้อข้างในรับประทานได้ ผลอ่อนเปลือกในที่ติดกับเม็ดเป็นสีนวล ต้มสุกแล้วด้าน ผิวสีดำ เนื้อไม่เหนียว ผลแก่จัดเมื่อต้มจะเป็นสีปูนแดง เนื้อเหนียวมัน ไม่มีกลิ่นเหม็น ทางใต้กินเป็นผักจิ้มน้ำพริก กินกับขนมจีน ถ้ามีมากจะนำไปเพาะ หรือนำไปดองก่อนรับประทาน ทำเป็นขนมได้โดยนำไปต้มเคล้ากับน้ำตาลทรายและมะพร้าวขูด ในอินโดนีเซียนำไปเป็นส่วนผสมของซัมบัล เรินดัง หรือแกง และเซอมูร์ ในพม่านำไปดองหรือต้มกินกับน้ำพริก.

ใหม่!!: พืชดอกและเนียง · ดูเพิ่มเติม »

เนโมฟีลา

นโมฟีลา (Nemophila) เป็นชื่อสกุลไม้ดอกในวงศ์ Hydrophyllaceae.

ใหม่!!: พืชดอกและเนโมฟีลา · ดูเพิ่มเติม »

Bauhinia forficata

Bauhinia forficata หรือมีชื่อสามัญว่า ปาตา เด วากา (Pata de Vaca) เป็นพืชมีดอกที่เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชท้องถิ่นของบราซิลและเปรู ในทางยาสมุนไพร ใช้รักษาโรคเบาหวานและโรคทางเดินปัสสาวะในบราซิล มีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนูทดลอง เพิ่มการนำกลูโคสเข้าสู่กล้ามเนื้อ.

ใหม่!!: พืชดอกและBauhinia forficata · ดูเพิ่มเติม »

Bauhinia tarapotensis

Bauhinia tarapotensis เป็นพืชในสกุลชงโค วงศ์ถั่ว กระจายพันธุ์ในบราซิล เปรู โคลัมเบีย เอกวาดอร์และโบลิเวีย เป็นพืชที่เป็นสมุนไพร ใช้รักษาอาการอักเสบในเอกวาดอร์ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ลดอาการบวมน้ำในหูหนูที่ถูกชักนำด้วยน้ำมันจากพืชสกุลเปล้.

ใหม่!!: พืชดอกและBauhinia tarapotensis · ดูเพิ่มเติม »

Bruguiera

Bruguiera เป็นสกุลของพืชมีดอกใน วงศ์โกงกาง ประกอบด้วยไม้ป่าชายเลน 6 สปีชีส์ พบตามมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ตะวันออกเฉียงใต้ของแอฟริกาจนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมลานีเซียและโพลีเนเซีย ชื่อสกุลนี้ตั้งตามชื่อนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Jean Guillaume Bruguière.

ใหม่!!: พืชดอกและBruguiera · ดูเพิ่มเติม »

Darlingtonia californica

Darlingtonia californica, หรือที่เรียกกันว่า California Pitcher plant, Cobra Lily, หรือ Cobra Plant, เป็นพืชกินสัตว์ เป็นพืชชนิดเดียวในสกุล Darlingtonia ในวงศ์ Sarraceniaceae มีถิ่นกำเนิดในทางตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนียและรัฐออริกอนเติบโตในห้วยที่มีน้ำเย็นไหลผ่าน ชื่อ Cobra Lily มาจากความคล้ายคลึงกันของใบที่เป็นหลอดที่มีใบสีเหลืองถึงเขียวออกม่วงเป็นง่ามที่ปลาย กับงูเห่าที่แผ่แม่เบี้ยและแลบลิ้นอยู่ พืชชนิดนี้ถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและDarlingtonia californica · ดูเพิ่มเติม »

Dictamnus

Dictamnus เป็นชื่อสกุลของพืชดอกในวงศ์ส้ม โดยมีอยู่สปีชีส์เดียวคือ Dictamnus albus เป็นที่รู้จักในชื่อต่างๆกัน ได้แก่ Burningbush, False dittany, White dittany และ Gas-plant จัดเป็นพืชสมุนไพรพื้นเมืองของยุโรปตอนใต้ แอฟริกาตอนเหนือ เอเชียกลาง และเอเชียใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและDictamnus · ดูเพิ่มเติม »

Dracontomelon

Dracontomelon เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Anacardiaceae สปีชีส์ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ Dracontomelon duperreanum ซึ่งเป็นผลไม้ในกัมพูชา เวียดนาม และ จีน.

ใหม่!!: พืชดอกและDracontomelon · ดูเพิ่มเติม »

Eremochloa

Eremochloa คือพืชสกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และออสเตรเลี.

ใหม่!!: พืชดอกและEremochloa · ดูเพิ่มเติม »

Hemiorchis

Hemiorchis เป็นสกุลของพืชในวงศ์ขิง มีสมาชิก 3 สปีชีส์ เป็นพืชท้องถิ่นทางตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยจากประเทศเนปาลถึงประเทศพม.

ใหม่!!: พืชดอกและHemiorchis · ดูเพิ่มเติม »

Homonoia retusa

Homonoia retusa เป็นพืชในสกุล Homonoia ซึ่งเป็นสกุลเดียวกับไคร้น้ำ แต่มีการประจายพันธุ์ พบในเขตที่ลุ่มน้ำขังของประเทศอินเดีย เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก พบใกล้บริเวณที่เป็นก้อนหินในทางน้ำไหลของแม่น้ำ เป็นพืชท้องถิ่นทางใต้ของอินเดีย มีรายงานว่าพบในรัฐทมิฬนาดู รัฐกรณาฏกะ รัฐอานธรประเทศ รัฐเกรละ และรัฐมหาราษฏระ พืชชนิดนี้เป็นพืชที่มีเนื้อไม้ ดอกช่อเชิงลดแยกดอกแยกต้น เป็นพืชสมุนไพรที่กล่าวถึงในตำราอายุรเวทของอินเดีย ซึ่งเรียกพืชขนิดนี้ว่า Pashanabheda ปศนเภทะ ซึ่งมาจากรากศัพท์ pashana แปลว่าก้อนหิน และ bheda แปลว่าทำให้แตก ซึ่งเป็นยาที่ใช้ทำลายก้อนแข็งในกระเพาะปัสสาวะและไต ในประเทศอินเดียใช้เป็นยาสมุนไพรรักษาอาการไอ เบาหวานและขับปัสสาว.

ใหม่!!: พืชดอกและHomonoia retusa · ดูเพิ่มเติม »

Jacaranda mimosifolia

รีตรัง เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางในวงศ์แคหางค่าง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ แต่เนื่องจากออกดอกเป็นช่อใหญ่และมีสีสวยงามจึงได้รับการนำไปปลูกเป็นไม้ประดับอย่างกว้างขวางทั่วโลก เช่นที่รัฐแคลิฟอร์เนียและรัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกา ชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของโปรตุเกส ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของสเปนและอิตาลี แอฟริกาใต้ แซมเบีย ออสเตรเลีย เป็นต้น ศรีตรังชนิด J. mimosifolia มีทรงพุ่มเป็นรูปร่ม ช่อดอกเกิดที่ปลายยอด ดอกสีม่วง ฝักมีรูปร่างกลมหรือค่อนข้างกลม ต่างจากศรีตรังชนิด ''J. obtusifolia'' (ซึ่งนิยมปลูกกันทั่วไปในไทย) โดยชนิดหลังจะมีทรงพุ่มสูงโปร่ง ช่อดอกเกิดที่ซอกใบตามกิ่งและปลายยอด ดอกสีม่วงปนน้ำเงิน ฝักเป็นรูปไข่และค่อนข้างรี.

ใหม่!!: พืชดอกและJacaranda mimosifolia · ดูเพิ่มเติม »

Jacaranda obtusifolia

รีตรัง หรือ แคฝอย เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางในวงศ์แคหางค่าง ปลูกเป็นไม้ประดับ สูง 4-10 เมตร เรือนยอดโปร่ง เปลือกสีน้ำตาลอมขาว แตกล่อนเป็นแผ่นบางตามยาวคล้ายกระดาษ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงตรงกันข้าม ใบย่อย 12-21 คู่ เรียงตรงข้าม ใบรูปขอบขนานแกมรูปเหลี่ยมข้าวหลามตัด มีขนาดเล็ก กว้าง 0.5-0.7 เซนติเมตร ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบหลักยาว 7-11 เซนติเมตร ก้านใบประกอบยาว 4-8 มม.

ใหม่!!: พืชดอกและJacaranda obtusifolia · ดูเพิ่มเติม »

Knema

Knema เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Myristicaceae ตัวอย่างของพืชในสกุลนี้มีดังต่อไปนี้ (รายชื่ออาจไม่สมบูรณ์).

ใหม่!!: พืชดอกและKnema · ดูเพิ่มเติม »

Lannea

Lannea เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Anacardiaceae สปีชีส์ในสกุลนี้ได้แก่.

ใหม่!!: พืชดอกและLannea · ดูเพิ่มเติม »

Lithops

''Lithops'' ภาพ ''การงอกใบใหม่ของ Lithops'' Lithops เป็นพืชชนิดหนึ่งในกลุ่มของพืชอวบน้ำ ชื่อนี้มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ คำว่า "Lithos" ซึ่งแปลว่า "หิน" และ "-ops" ซึ่งแปลว่า "เหมือน" ดังนั้นคำว่า "Lithops" จึงแปลได้ว่า "เหมือนหิน" ซึ่งตรงกับลักษณะของพืชชนิดนี้ เพราะพืชชนิดนี้มีลักษณะเด่นที่แตกต่างจากพืชชนิดอื่นอย่างชัดเจน กล่าวคือทั้งรูปร่าง ลักษณะ สีสัน คล้ายคลึงกับ ก้อนหิน ก้อนกรวด จนมีผู้เรียก Lithops ว่า "หินมีชีวิต" เป็นพืชขนาดเล็ก ขึ้นอยู่ในพื้นที่แห้งแล้ง และอากาศเย็นในเวลากลางคืน ส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศนามิเบีย และประเทศแถบแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: พืชดอกและLithops · ดูเพิ่มเติม »

Mansonia gagei

ันทน์ชะมด, จันทน์หอม หรือ จันทน์พม่า เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบในวงศ์ชบา (Malvaceae) ลำต้นตรง เปลือกสีเทาอมขาว ใบเดี่ยว ดอกช่อ ขนาดเล็ก สีขาว ผลแห้ง แต่ละผลมีปีกรูปสามเหลี่ยมที่ปลายผล 1 อัน ไม้ที่ตายเองมีกลิ่นคล้ายชะมด ใช้ทำหีบ ตู้เสื้อผ้า เนื้อไม้ใช้ผสมในยาแก้ไข้ น้ำมันที่กลั่นจากเนื้อไม้ ใช้ทำน้ำหอม ผสมในยาบำรุงหัวใจ เครื่องยาจันทน์ชะมดที่มีจำหน่ายตามร้านขายยาไทยในปัจจุบันได้มาจากแก่นพืชชนิดนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและMansonia gagei · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes adrianii

Nepenthes adrianii (ได้ชื่อตามแอดเรียน ยูซูฟ (Adrian Yusuf), ผู้ค้นพบในปี ค.ศ. 2004) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของจังหวัดชวากลางนอกจาก Nepenthes gymnamphora และ N. pectinata หรือ N. xiphioides ถ้ามันถูกพิจารณาว่าเป็นคนละชนิดกัน มันสามารถพบได้ที่ความสูงราวๆ 950 เมตร บนต้นไม้อื่นที่สูงประมาณ 15-25 เมตร ในป่าที่มีความชุ่มชื้นสูง N. adrianii คล้ายกับ N. spathulata หม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา นักพฤกษศาสตร์บางคนจึงจัดให้เป็นชนิดเดียวกัน N. adrianii ไม่มีลูกผสมตามธรรมชาติ ไม่มีรูปแบบและความหลากหลายสำหับจำแนก ถึงแม้ว่าประชากรตามธรรมชาติของมันจะต่างกัน.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes adrianii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes alata

Nepenthes alata (มาจากภาษาละติน: alatus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes alata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes albomarginata

Nepenthes albomarginata หรือ White-Collared Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes albomarginata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes anamensis

Nepenthes anamensis (ภาษาละติน: Anam.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes anamensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes argentii

Nepenthes argentii เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดที่สูง (highland) เป็นพืชพื้นเมืองบนภูเขากุดอิง-กุดอิง (Guiting-Guiting) บนเกาะซิบูยันในประเทศฟิลิปปินส์ มันอาจเป็นชนิดที่เล็กที่สุดในสกุล ต้นของมันไม่ปรากฏว่ามีการเลื้อยไต่Jebb, M.H.P. & M.R. Cheek 1997.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes argentii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes aristolochioides

Nepenthes aristolochioides เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา พบที่ระดับความสูง 800-2500 ม.จากระดับน้ำทะเล มีลักษณะหม้อที่ผิดธรรมดา ปากหม้อเกือบจะตั้งตรง ชื่อ aristolochioides เป็นรูปแบบจากสกุลที่ชื่อ Aristolochia และเติมภาษาละตินในตอนท้าย -oides แปลว่า "เหมือน" ซึ่งหมายถึงความคล้ายคลึงของหม้อกับดอกของ AristolochiaJebb, M.H.P. & M.R. Cheek 1997.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes aristolochioides · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes attenboroughii

Nepenthes attenboroughii เป็นพืชกินสัตว์ในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง ชื่อถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์ เดวิด เอดเทนบอร์ราวฟฮิไอ (David Attenboroughii) พิธีกรสารคดีชื่อดังของบีบีซีในประเทศอังกฤษ ผู้สนใจและกระตือรือร้นต่อสกุลนี้ หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้มีหม้อทรงระฆังหงายทั้งหม้อล่างและบน แต่หม้อบนแคบกว่า ฝาตั้งขึ้นRobinson, A.S., A.S. Fleischmann, S.R. McPherson, V.B. Heinrich, E.P. Gironella & C.Q. Peña 2009.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes attenboroughii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × bauensis

Nepenthes × bauensis (ได้ชื่อตามเมืองเบา รัฐซาราวะก์) เป็นลูกผสมตามธรรมชาติระหว่าง N. gracilis และ N. northiana N. × bauensis มีลักษณะกึ่งกลางระหว่างพ่อกับแม่ ขึ้นเป็นกอเถาคล้าย N. gracilis แต่มีใบและลำต้นที่ใหญ่กว่า ส่วนที่คล้าย N. northiana แสดงออกให้เห็นที่ลักษณะของหม้อ โดยเฉพาะเพอริสโตมที่กว้างกว่า N. gracilis และมีขีดสีแดง หม้อสูงถึง 15 ซม.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × bauensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × cantleyi

Nepenthes × cantleyi (ได้ชื่อตาม ร็อบ แคนต์ลีย์ (Rob Cantley) นักอนุรักษ์ธรรมชาติและนักประดิษฐ์หม้อข้าวหม้อแกงลิงปลอม) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธามชาติระหว่าง N. bicalcarata และ N. gracilis นอกจากบรูไนแล้วเป็นพืชหายากมาก ทั้งๆที่พ่อและแม่กระจายพันธุ์กว้างขวางตลอดบอร์เนียวClarke, C.M. 1997.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × cantleyi · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × cincta

Nepenthes × cincta (มาจากภาษาละติน: cinctus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × cincta · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × ferrugineomarginata (มาจากภาษาละติน: ferrugineus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × ferrugineomarginata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × hookeriana

Nepenthes × hookeriana (ได้ชื่อตามโยเซพ ดาลตัน ฮุคเกอร์), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Hooker's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × hookeriana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × kuchingensis

Nepenthes × kuchingensis (ได้ชื่อตามเมืองกูชิง รัฐซาราวะก์) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. ampullaria และ N. mirabilis ถึงแม้ว่าจะได้ชื่อตามชื่อเมืองกูชิง แต่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้กลับกระจายตัวเป็นวงกว้าง พบได้ในเกาะบอร์เนียว, เกาะนิวกินี, มาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, และประเทศไท.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × kuchingensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × merrilliata

Nepenthes × merrilliata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง merrilliana และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติของ N. alata และ N. merrilliana มันก็เหมือนกับพ่อและแม่ที่เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของประเทศฟิลิปปินส์ แต่จำกัดการแพร่กระจายตัวในธรรมชาติตามการกระจายตัวของ N. merrilliana ในมินดาเนาและส่วนชายฝั่งของเก.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × merrilliata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × mirabilata

Nepenthes × mirabilata (เป็นการผสมคำระหว่าง mirabilis และ alata) เป็นลูกผสมตามธรรมชาติของ N. alata และ N. mirabilisCheek, M.R. & M.H.P. Jebb 2001.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × mirabilata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × pangulubauensis

Nepenthes × pangulubauensis (มาจากภาษาละติน: pangulubau.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × pangulubauensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × sarawakiensis

Nepenthes × sarawakiensis (ได้ชื่อตามรัฐซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. muluensis และ N. tentaculata เป็นพืชหายากตามพ่อแม่ของมันคือ N. muluensis ซึ่งรู้กันว่าพบได้ในภูเขาที่แยกตัวห่างไกล.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × sarawakiensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × sharifah-hapsahii หรือ Nepenthes × ghazallyana (ได้ชื่อตาม Ghazally Ismail) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. gracilis และ N. mirabilis ถูกบันทึกว่าพบในบอร์เนียว, สุมาตรา และ เพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M. 1997.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × sharifah-hapsahii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × trichocarpa

Nepenthes × trichocarpa (มาจากภาษากรีก: trikho- "ขน, เส้นด้าย", และ -carpus "ผล"), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Dainty Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × trichocarpa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × truncalata

Nepenthes × truncalata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง truncata และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. alata และ N. truncata เป็นพืชถิ่นเดียวของฟิลิปปินส์เหมือนกับพ่อและแม่ แต่จำกัดการกระจายตัวตามธรรมชาติตามการกระจายตัวของ N. truncata ในมินดาเน.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × truncalata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × trusmadiensis

Nepenthes × trusmadiensis (ได้ชื่อตามภูเขาตรุส มาดี (Trus Madi)) หรือ Trus Madi Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × trusmadiensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × tsangoya

Nepenthes × tsangoya (ได้ชื่อตาม Peter Tsang) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในเขตร้อนชื้น มันเป็นลูกผสมซ้อนทางธรรมชาติคือ (N. alata × N. merrilliana) × N. mirabilis.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × tsangoya · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × ventrata

Nepenthes × ventrata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง ventricosa และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. alata และ N. ventricosa มันเป็นพืชถิ่นเดียวของฟิลิปปินส์เหมือนกับพ่อแม่ของมัน ชื่อของมันถูกใช้ครั้งแรกใน Carnivorous Plant Newsletter ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes × ventrata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes beccariana

Nepenthes beccariana (ได้ชื่อตามโอโดอาร์โด เบคคารี (Odoardo Beccari), นักพฤกษศาสตร์) เป็นพืชเขตร้อนชื้นในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มันถูกจัดจำแนกโดยจอห์น มิวร์เฮด แมกฟาร์แลน (John Muirhead Macfarlane) ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes beccariana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes bellii

Nepenthes bellii (ได้ชื่อตาม ซี.อาร์. เบลล์ (C. R. Bell) นักพฤกษศาสตร์ชาวอเมริกัน) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเมืองซูริกาโอ (Surigao) จังหวัดของประเทศฟิลิปปินส์ในมินดาเนา เป็นพืชพื้นราบ ขึ้นสูงจากระดับน้ำทะเล 250 - 800 เมตร N. bellii เป็นญาติใกล้ชนิดกับ N. sibuyanensis.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes bellii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes bicalcarata

Nepenthes bicalcarata (มาจากคำในภาษาละติน: bi "สอง", calcaratus "เดือย, เขี้ยว")หรือ Fanged Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes bicalcarata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes bongso

Nepenthes bongso (จากภาษาอินโดนีเซีย: Putri Bungsu.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes bongso · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes burbidgeae

Nepenthes burbidgeae หรือที่รู้จักกันในชื่อ painted pitcher plantKurata, S. 1976.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes burbidgeae · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes burkei

Nepenthes burkei เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองบนเกาะของมินโดโร (Mindoro) ในประเทศฟิลิปปินส์ มันเป็นญาติใกล้ชิดกับ N. sibuyanensis และ N. ventricosa เท่าที่รู้ N. burkei ไม่มีลูกผสมตามธรรมชาติ ได้ชื่อตามเดวิด เบอร์ก (David Burke) นักสะสมพืชพันธุ์ชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes burkei · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes campanulata

Nepenthes campanulata (มาจากภาษาละติน: campanulatus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes campanulata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes carunculata

Nepenthes carunculata (caruncula เล็ก/แคระ caro.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes carunculata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes chaniana

Nepenthes chaniana (ได้ชื่อตาม ซี.แอล. เชน (C.L. Chan), กรรมการผู้จัดการของโรงพิมพ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ (บอร์เนียว)) เป็นพืชที่สูง ที่อยู่ในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มีขนสีขาวหนาและยาว หม้อรูปทรงกระบอกมีสีขาวถึงเหลือง เป็นเวลานานมากที่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ถูกระบุผิดเป็น N. pilosa ซึ่ง N. pilosa เป็นพืชถิ่นเดียวของกาลิมันตัน (Kalimantan) N. chaniana พบในรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ (บูกิต บาทู ลาวี (Bukit Batu Lawi) และภูเขาอื่นๆ) หม้อของ N. pilosa มีรูปทรงกลมมลและกว้างกว่าหม้อของ N. chaniana.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes chaniana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes copelandii

Nepenthes copelandii (ได้ชื่อตาม อี.บี. คอปแลนด์ (E. B. Copeland), ผู้ดูแลหอพรรณไม้กรุงมะนิลา) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงท้องถิ่นของเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปินส์ มันเป็นพืชถิ่นเดียวของภูเขาอาโป (Apo) ใกล้เมืองดาเวา (Davao) และภูเขาพาเซียน (Pasian) ใกล้บิสลิก (Bislig) กายวิภาคของประชากรหม้อข้าวหม้อแกงลิงในถิ่นอาศัยทั้งสองที่ ต่างกันน้อยมาก N. copelandii เป็นญาติใกล้ชิดกับ N. alata.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes copelandii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes danseri

Nepenthes danseri (ได้ชื่อตาม บี.เอช. แดนเซอร์ (B. H. Danser), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของฮัลมาเฮรา เกาะที่ใหญ่ที่สุดของหมู่เกาะโมลุกกะ และชายฝั่งด้านเหนือของเกาะไวเกียว (Waigeo) Listed as Vulnerable (VU B1+2b v2.3).

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes danseri · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes deaniana

Nepenthes deaniana (ได้ชื่อตาม Dean C. Worcester, ผู้เก็บตัวอย่างไม้ชาวฟิลิปปิน) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของประเทศฟิลิปปินส์ พบที่ระดับความสูง 1180–1296 ม.จากระดับน้ำทะเลMcPherson, S.R. 2009.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes deaniana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes densiflora

Nepenthes densiflora (มาจากภาษาละติน: densus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes densiflora · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes distillatoria

Nepenthes distillatoria (จากภาษาละติน: destillo.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes distillatoria · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes eymae

Nepenthes eymae เป็นพืชกินสัตว์ในสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง มีถิ่นอาศัยเฉพาะในภูเขากลางเกาะซูลาเวซี เป็นญาติใกล้ชิดกับ N. maxima ได้ชื่อตามปีแยร์ โฌแซ็ฟ ไอมา (Pierre Joseph Eyma) นักพฤกษศาสตร์ชาวดัตช์ซึ่งทำงานในประเทศซูรินามและหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัต.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes eymae · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes faizaliana

Nepenthes faizaliana เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวที่พบบนผาหินปูนของอุทยานแห่งชาติกูนุงมูลูในรัฐซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว คาดกันว่ามันเป็นญาติใกล้ชิดกับ N. boschianaClarke, C.M. 1997.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes faizaliana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes fallax

Nepenthes fallax (มาจากภาษาละติน: fallax.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes fallax · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes flava

Nepenthes flava มาจากภาษาละติน flava แปลว่า "สีเหลือง" เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวทางด้านเหนือของสุมาตรา หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดรู้จักกันมานานในชื่อ "Nepenthes spec.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes flava · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes fusca

Nepenthes fusca (มาจากภาษาละติน: fuscus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes fusca · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes glabrata

Nepenthes glabrata (ภาษาละติน: glaber.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes glabrata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes glandulifera

Nepenthes glandulifera (จากภาษาละติน: glandis.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes glandulifera · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes globosa

Nepenthes globosa มาจากภาษาละติน globosus แปลว่า "กลมคล้ายผลส้ม" เป็นพืชถิ่นเดียวพบได้ตามหมู่เกาะทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย เช่นเกาะพระทองเป็นต้น มันมีบางส่วนที่คล้ายกับ N. rafflesiana และเหมือนกับ N. rowanae จาก Cape York, ออสเตรเลี.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes globosa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes gracilis

Nepenthes gracilis (มาจากภาษาละติน: gracilis.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes gracilis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes gracillima

Nepenthes gracillima (มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาละติน: เป็นขั้นสุดของ gracilis "ยาว, เรียว") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของเพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M. 2001.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes gracillima · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes gymnamphora

Nepenthes gymnamphora (มาจากภาษากรีก: gymnos.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes gymnamphora · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes hamata

Nepenthes hamata (มาจากภาษาละติน: hamatus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes hamata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes hurrelliana

Nepenthes hurrelliana (ได้ชื่อตามแอนดริว เฮอร์เรลล์ (Andrew Hurrell), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงจากบอร์เนียว พบได้ในตอนเหนือของรัฐซาราวะก์, บรูไน และตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐซาบะฮ์ N. hurrelliana มีหม้อรูปกรวยสวยงาม มันอาจเป็นลูกผสมที่คาดว่าพัฒนาตัวมาจากพ่อแม่ดั้งเดิมคือ N. fusca และ N. veitchii มันมีขนน้ำตาลสนิมปกคลุมหนาแน่นตลอดทุกส่วนซึ่งน่าจะได้รับสืบทอดมาจาก N. veitchii.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes hurrelliana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes izumiae

? ''N. izumiae'' × ''N. jacquelineae'' Nepenthes izumiae เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของสุมาตรา และเป็นญาติใกล้ชิดกับ N. lingulataLee, C.C., Hernawati & P. Akhriadi 2006.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes izumiae · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes lamii

Nepenthes lamii (ได้ชื่อตามเฮอร์แมน โจฮันนีส์ แลม (Herman Johannes Lam)) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่พบบนเกาะนิวกินี เหนือจากระดับน้ำทะเล 3 กิโลเมตร สูงกว่าหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดอื่นJebb, M.H.P. & M.R. Cheek 1997.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes lamii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes macfarlanei

Nepenthes macfarlanei (ได้ชื่อตามจอห์น มิวร์เฮด แมกฟาร์แลน (John Muirhead Macfarlane), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเพนนิซูล่า มาเลเซีย มันมีหม้อเป็นจุด สีแดง หม้อล่างเป็นรูปไข่ถึงรูปทรงกระบอก สูงประมาณ 20 เซนติเมตร ผิวล่างของฝาปกคลุมด้วยขนสีขาว สั้น อย่างหนาแน่น นี่คือรูปล่างลักษณะของหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ แต่เรายังไม่รู้ว่าขนนั้น มีไว้ทำอะไร.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes macfarlanei · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes madagascariensis

Nepenthes madagascariensis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองหนึ่งในสองชนิดของประเทศมาดากัสการ์ อีกชนิดคือ N. masoalensis.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes madagascariensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes mantalingajanensis

Nepenthes mantalingajanensis (มาจากภาษาPalawano: mantalingahan.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes mantalingajanensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes maxima

Nepenthes maxima (มาจากภาษาละติน: maximus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes maxima · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes merrilliana

Nepenthes merrilliana (ได้ชื่อตาม Elmer Drew Merrill) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นราบ (lowland) ที่พบได้ในประเทศฟิลิปปินส์ มันอาจมีหม้อขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลซึ่งเป็นคู่แข่งกับ N. rajah.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes merrilliana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes mindanaoensis

Nepenthes mindanaoensis มาจากภาษาละติน Mindanao เกาะฟิลิปปินส์ -ensis แปลว่า "จาก" เป็นพืชถิ่นเดียวบนเนินเขาศิลาแลงบนเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปินส์ เป็นญาติใกล้ชิดกับ N. alata.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes mindanaoensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes mira

Nepenthes mira (มาจากภาษาละติน: mirus "มหัศจรรย์") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงถิ่นเดียวของพาลาวันในประเทศฟิลิปปินส์ เติบโตที่ระดับความสูง 1500 ถึง 2000 ม.จากระดับน้ำทะเล N. mira ถูกจัดจำแนกโดยแมตทิว จิบบ์ (Matthew Jebb) และมาร์ติน ชีก (Martin Cheek) ในปี..

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes mira · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes naga

Nepenthes naga เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวจากภูเขาบาริซาน ในสุมาตรา มันมีลักษณะพิเศษคือมีรยางค์ปลายง่ามใต้ฝาและขอบฝาเป็นคลื่นAkhriadi, P., Hernawati, A. Primaldhi & M. Hambali 2009.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes naga · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes northiana

Nepenthes northiana หรือ Miss North's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes northiana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes paniculata

Nepenthes paniculata (ภาษาละติน: panicula.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes paniculata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes pectinata

Nepenthes pectinata (จากภาษาละติน: pectinata.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes pectinata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes peltata

Nepenthes peltata (ภาษาละติน: peltatus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes peltata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes petiolata

Nepenthes petiolata (มาจากภาษาละติน: petiolatus "มีก้านใบ") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes petiolata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes philippinensis

Nepenthes philippinensis (จากภาษาละติน: Philippin.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes philippinensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes platychila

Nepenthes platychila (มาจากภาษากรีก: platus "แบนราบ", cheilos "กลีบปาก") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของภูเขาฮอส (Hose) รัฐซาราวะก์ตอนกลาง มีเพอริสโตมเรียบลื่น หม้อบนทรงกรว.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes platychila · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rafflesiana

Nepenthes rafflesiana (ได้ชื่อตามโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Raffles' Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes rafflesiana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes sanguinea

Nepenthes sanguinea (จากภาษาละติน: sanguineus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes sanguinea · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes saranganiensis

Nepenthes saranganiensis (มาจากภาษาละติน: Sarangani.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes saranganiensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes sibuyanensis

Nepenthes sibuyanensis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเกาะซิบูยัน (Sibuyan) ในประเทศฟิลิปปินส์ ชื่อของหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ถูกตั้งตามชื่อเก.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes sibuyanensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes singalana

Nepenthes singalana (ได้ชื่อตามภูเขา Singgalang, สุมาตราตะวันตก) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงของสุมาตรา มีญาติใกล้ชิดคือ N. diatas และ N. spathulata.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes singalana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes spathulata

Nepenthes spathulata เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองของเกาะชวาและเกาะสุมาตรา ขึ้นที่ระดับความสูง 1100 ถึง 2900 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spathulata มาจากภาษาละตินจากคำว่า spathulatus หมายถึง "มีรูปร่างเหมือนช้อนปากแบนกว้าง" ซึ่งหมายถึงรูปทรงของแผ่นใบClarke, C.M. 2001.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes spathulata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes spectabilis

Nepenthes spectabilis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา เติบโตที่ระดับความสูง 1400 ถึง 2200 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spectabilis มาจากภาษาละตินแปลว่า "เด่น" หรือ "สะดุดตา"Clarke, C.M. 2001.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes spectabilis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes stenophylla

Nepenthes stenophylla หรือ Narrow-Leaved Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes stenophylla · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes sumatrana

Nepenthes sumatrana เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ถูกตั้งชื่อตามแหล่งที่อยู.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes sumatrana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes surigaoensis

Nepenthes surigaoensis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงทีมีถิ่นกำเนิดในประเทศฟิลิปปินส์ ได้ชื่อตามจังหวัดสุรีกาล์ว (Surigao) บนเกาะมินดาเนา สถานที่ตัวอย่างต้นแบบถูกเก็บได้ N. surigaoensis เป็นญาติใกล้ชิดกับ N. merrilliana และเป็นเวลานานมาแล้วที่ถูกพิจารณาเป็นชื่อพ้องเฮเทอโรไทปิกของหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้Danser, B.H. 1928.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes surigaoensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes talangensis

Nepenthes talangensis (มาจากภาษาละติน: Talang.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes talangensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tenax

Nepenthes tenax (ภาษาละติน: tenax.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes tenax · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tentaculata

Nepenthes tentaculata (ภาษาละติน: tentacula.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes tentaculata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tenuis

Nepenthes tenuis (มาจากภาษาละติน: tenuis.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes tenuis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tobaica

Nepenthes tobaica เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งรอบทะเลสาบตูบา (Toba) จึงถูกตั้งชื่อตามทะเลสาบ Nepenthes tobaica เป็นญาติใกล้ชิดกับ N. angasanensis, N. gracilis, N. mikei, และ N. reinwardtiana.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes tobaica · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tomoriana

Nepenthes tomoriana (ได้ชื่อตาม Tomori Bay, จากตัวอย่างแรกเริ่ม) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเกาะซูลาเวซี.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes tomoriana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes treubiana

Nepenthes treubiana (ได้ชื่อตาม Melchior Treub) พบในป่าริมเกาะ Sorong และเกาะ Misool ทางชายฝั่งตะวันตกของ เกาะนิวกินีเป็นญาติใกล้ชิดกับ N. rafflesiana.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes treubiana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes truncata

Nepenthes truncata (มาจากภาษาละติน: truncatus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes truncata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes veitchii

Nepenthes veitchii (ถูกตั้งชื่อตาม George Veitch, ผู้เป็นเจ้าของ Veitch Nurseries), หรือ Veitch's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes veitchii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes ventricosa

Nepenthes ventricosa (มาจากภาษาละตินใหม่: ventricosus.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes ventricosa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes vieillardii

Nepenthes vieillardii (ได้ชื่อตาม Eugène Vieillard ผู้เก็บต้นไม้จากนิวแคลิโดเนียและ Tahiti ระหว่าง ค.ศ. 1861 ถึง 1867) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของนิวแคลิโดเนีย กระจายไปทางฝั่งตะวันออกมากกว่าหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดอื่น มีถิ่นอาศัยในป่าแล้งเขตร้อน พบว่ายุงในสกุล Tripteroides แพร่พันธุ์ในหม้อของพืชชนิดนี้.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes vieillardii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes villosa

Nepenthes villosa หรือ Villose Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes villosa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes vogelii

Nepenthes vogelii (ได้ชื่อตาม Art Vogel, นักพฤกษศาสตร์และผู้จัดการเรือนกระจกของ Hortus Botanicus Leiden) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของรัฐซาราวะก์, เกาะบอร์เนียว ปรากฏความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ N. fusca และ N. burbidgeae.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes vogelii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes xiphioides

Nepenthes xiphioides (จากภาษากรีก/ภาษาละติน: xiphos.

ใหม่!!: พืชดอกและNepenthes xiphioides · ดูเพิ่มเติม »

Parashorea

Parashorea เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Dipterocarpaceae คำว่าParashorea มาจากภาษากรีก (para.

ใหม่!!: พืชดอกและParashorea · ดูเพิ่มเติม »

Pouteria lucuma

Pouteria lucuma เป็นผลไม้กึ่งเขตร้อนซึ่งมีถิ่นกำเนิดในแถบหุบเขาแอนดีส และนิยมปลูกกันในชิลี, เปรู และเอกวาดอร์ ในภาษาสเปน พรรณไม้ชนิดนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า ลูกูโม (lúcumo) ส่วนผลเรียกว่า ลูกูมา (lúcuma) มีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาที่ทำเป็นรูปทรงผลของ P. lucuma ที่สถานที่ฝังศพของชนพื้นเมืองสมัยโบราณบริเวณชายฝั่งเปรู ชนพื้นเมืองในวัฒนธรรมโมเชรักการทำเกษตร และมักจะแสดงรูปทรงผักและผลไม้ (รวมทั้ง P. lucuma) ในงานศิลปะของตน ในเปรู ฤดูเก็บเกี่ยวผลของ P. lucuma จะอยู่ในเดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคม ส่วนในชิลี ฤดูเก็บเกี่ยวจะอยู่ในเดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤศจิกายน ในเวียดนามเรียกพรรณไม้ชนิด P. lucuma ว่า "เก็ยจึ๊งก่า" (cây trứng gà, แปลตรงตัวว่า "ต้นไข่ไก่") หรือ "เลกีมา" (lêkima) ชื่อหลังนี้สันนิษฐานว่ามาจากชื่อวิทยาศาสตร์ของพรรณไม้ คือ lucuma ชื่อเลกีมาได้รวมอยู่ในรายชื่อพายุไต้ฝุ่นซึ่งเวียดนามเป็นผู้เสนอชื่อไป และได้ใช้เป็นชื่อพายุซึ่งต่อมาได้เข้าโจมตีเวียดนามภาคเหนือและกลาง ทำให้มีผู้เสียชีวิต 42–55 คน เมื่อวันที่ 10 มีนาคม..

ใหม่!!: พืชดอกและPouteria lucuma · ดูเพิ่มเติม »

Sarracenia

Sarracenia เป็นสกุลของพืชที่ประกอบไปด้วย 8 - 11 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นสกุลที่อยู่ในวงศ์ Sarraceniaceae ที่บรรจุไปด้วยสกุลญาติใกล้ชิดอย่าง Darlingtonia และ Heliamphora Sarracenia เป็นสกุลของพืชกินสัตว์มีถิ่นกำเนิดแถบชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก, รัฐเทกซัส, บริเวณเกรตเลกส์และตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแคนาดา ซึ่งสปีชีส์ส่วนใหญ่จะอยู่ในทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา (ยกเว้น S. purpurea ที่อยู่ในบริเวณที่มีอากาศหนาวเย็น) ใบของพืชในสกุลจะมีการวิวัฒนาการเป็นรูปหลอดเพื่อที่จะดักจับแมลงและย่อยเหยื่อของมันด้วยน้ำย่อยโปรตีนและเอนไซม์อื่นๆ แมลงจะถูกดึงดูดด้วยน้ำคัดหลั่งอย่างน้ำต้อยที่อยู่บนขอบของหม้อ รวมถึงสีสันและกลิ่น เหยื่อจะพลัดตกลงไปในหม้อจะตายและถูกย่อยกลายเป็นแหล่งธาตุอาหารสำหรับพื.

ใหม่!!: พืชดอกและSarracenia · ดูเพิ่มเติม »

Tabernaemontana

Tabernaemontana orientalis Tabernaemontana เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ตีนเป็ด มี 100-110 สปีชีส์ เป็นพืชที่กระจายตัวในเขตร้อน เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ใบเรียงตรงข้าม ยาว 3–25 เซนติเมตร ยางขาวเหมือนน้ำนม จึงมักเรียกพืชในสกุลนี้ว่า "milkwood" ดอกมีกลิ่นหอม สีขาว พุดจีบ (Tabernaemontana divaricata cv. 'Plena') ซึ่งมีกลับซ้อนเป็นสายพันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ส่วน T. coronaria เป็นพืชที่นิยมใช้ในการจัดสวนอีกชนิดหนึ่ง ชื่อสกุลนี้ตั้งตามชื่อของ "บิดาแห่งพฤกษศาสตร์เยอรมัน" Jacobus Theodorus Tabernaemontanus.

ใหม่!!: พืชดอกและTabernaemontana · ดูเพิ่มเติม »

Terminalia

Terminalia เป็นสกุลของไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Combretaceae ประกอบด้วยสปีชีส์ราว 190 สปีชีส์ แพร่กระจายในเขตร้อน ชื่อของสกุลนี้มาจากภาษาละติน terminus หมายถึงใบที่เกิดที่ปลายกิ่ง พืชในสกุลนี้สร้างสารทุติยภูมิที่เป็นประโยชน์ เช่น ไตรเทอร์พีน ฟลาโวนอยด์ แทนนิน และอื่น ๆ สารเหล่านี้มีฤทธิ์ต้านเชื้อรา แบคทีเรีย ต้านมะเร็งได้.

ใหม่!!: พืชดอกและTerminalia · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

AngiospermAngiospermaeAngiospermsFlowering plantFlowering plantsMagnoliophytaส่วนพืชดอกพืชมีดอกแมกโนลิโอไฟต้าไม้ดอก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »