โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระโคตมพุทธเจ้า

ดัชนี พระโคตมพุทธเจ้า

ระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมในภาษาบาลีว่า สิทธัตถะ โคตมะ หรือในภาษาสันสกฤตว่า สิทฺธารฺถ เคาตมะ (อ่านว่า /สิดทาด —/) (เทวนาครี: सिद्धार्थ गौतम) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน ผู้เป็นศาสดาของศาสนาพุทธ สาวกของพระองค์ไม่นิยมออกพระนามโดยตรง แต่เรียกตามพระสมัญญาว่า "ภควา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) คัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทึกตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาช้านาน ก่อนออกผนวชทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็นรัชทายาท เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ทรงได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี, พระพุทธโคดม, พระโคดมพุทธเจ้า ฯลฯ แต่ทรงเรียกพระองค์เองว่า ตถาคต แปลว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือ ทรงปฏิญาณว่า ทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวง สำเร็จแล้วซึ่งอรหัตผล.

270 ความสัมพันธ์: บัวสี่เหล่าชาดกบุดดะบูเช็กเทียนชีวกโกมารภัจจ์ชีนบยูช้างศรีลังกาช้างเผือกพ.ศ. 1พรหมชาลสูตร (เถรวาท)พระบรมสารีริกธาตุพระพรหม (ศาสนาพุทธ)พระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญพระพุทธสิกขีทศพลที่ 1พระพุทธสิหิงค์ (แก้ความกำกวม)พระพุทธเมตตาพระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลกพระกกุสันธพุทธเจ้าพระกษิติครรภโพธิสัตว์พระกัสสปพุทธเจ้าพระกุมารกัสสปะพระภัททากัจจานาเถรีพระภัททิยเถระพระมหาชนกพระมหากัสสปะพระมหากัจจายนะพระมหามัยมุนีพระมหาปชาบดีโคตมีเถรีพระมหานามเถระพระมังคลพุทธเจ้าพระยสเถระพระราหุลพระราหูพระวักกลิพระวัปปเถระพระวิษณุพระวิปัสสีพุทธเจ้าพระศรีอริยเมตไตรยพระศิลาพระสรณังกรพุทธเจ้าพระสารีบุตรพระสิทธัตถพุทธเจ้าพระสิขีพุทธเจ้าพระสุมังคลสัมพุทธเจ้าพระสุมนพุทธเจ้าพระสงฆ์พระอชิตะพระอชิตเถระพระอภิธรรมปิฎก...พระอัสสชิเถระพระอานนท์พระอุบาลีคุณูปมาจารย์พระอโนมทัสสีพุทธเจ้าพระธรรมวโรดมพระธรณีพระธาตุไจทีโยพระทีปังกรพุทธเจ้าพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตพระคาถาพาหุงพระตัณหังกรพุทธเจ้าพระติสสพุทธเจ้าพระติสสสัมพุทธเจ้าพระประภูตรัตนะพระปุสสพุทธเจ้าพระปทุมพุทธเจ้าพระปทุมุตรพุทธเจ้าพระนรสีหสัมพุทธเจ้าพระนอนชเวตาลยองพระนันทะพระนารทพุทธเจ้าพระนางสิริมหามายาพระนิชิเร็งพระแม่องค์ธรรมพระโพธิสัตว์พระโพธิธรรมพระโกณฑัญญพุทธเจ้าพระไตรปิฎกพระเมธังกรพุทธเจ้าพระเยซูพระเรวตพุทธเจ้าพระเวสสภูพุทธเจ้าพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าสุกโกทนะพระเจ้าสุทโธทนะพระเจ้าสุปปพุทธะพระเจ้าห้าพระองค์พระเจ้าอชาตศัตรูพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าปเสนทิโกศลพระเจ้าเปิดโลกพระเทวทัตพระเทวเทพสัมพุทธเจ้าพระเขี้ยวแก้วพะโคพุทธวงศ์พุทธศักราชพุทธาวตารพุทธทำนายพุทธคยาพุทธเกษตรกบิลพัสดุ์กฤษณมูรติกัปการบวชการค้าเครื่องเทศการฆ่าตัวตายการปลงพระชนมายุสังขารการแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิกาลามสูตรกุรุภาษามคธภาษาไทยภิกษุณีภีมราว รามชี อามเพฑกรมหามยุรีมหายานมหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้วมหาปุริสลักขณะมิตซูโอะ ชิบาฮาชิมุฮัมมัดมุจลินท์มุทรามูลปริยายสูตรมูควัตรมนตร์มโหสถชาดกมโนราห์มเหสียามายุคยุคสามกัปสุดท้ายยโสธร (แก้ความกำกวม)ราชวงศ์อิกษวากุราม พหาทุร พามชานรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียงรายชื่อสถานที่สำคัญในสมัยพุทธกาลรายพระนามพระพุทธเจ้าในอดีตรายพระนามเทวดาจีนรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยลัทธิบัวขาวลัทธิอนุตตรธรรมลัทธิเซียนเทียนเต้าลังกาวตารสูตรลุมพินีวันวัชรปรัชญาปารมิตาสูตรวัดบำเพ็ญจีนพรตวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารวัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหารวัดกิงกะกุวัดมังกรกมลาวาสวัดหนองป่าพงวัดธรรมิการาม (ลพบุรี)วัดนิตไตวัดใหญ่ชัยมงคลวัดโทไดวัดโคฟุกุวัดไลย์วัดไทยพุทธคยาวัดเรียวอังวัดเทพพุทธารามวัดเท็นรีววังลดาวัลย์วันมาฆบูชาวันวิสาขบูชาวันอาสาฬหบูชาวามนะวิทยาราชศรีบาทาศัมภลาศาสดาศาสนาพุทธศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่นศาสนาเชนสักกะสัมโมหวิโนทนีสังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธสังคายนาในศาสนาพุทธสังเวชนียสถานสัตวโลกสันตินิยมสารนาถสาละสิทธารถะสิงคาลกสูตรสุชาดาสุชาดา ธิดาของเสนานีกุฎุมพีสุภาพ ไชยวิสุทธิกุลสุริยปริตตปาฐะสุวรรณสามชาดกสุขาวดีสี่ยอดสิ่งประดิษฐ์สถานีลุมพินีหญ้าฝรั่นหญ้าแพรกหลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกันหลี่ เหลียงเหว่ยหาริตีอมราปาลี พระเจ้าอชาตศัตรูอริยสัจ 4อวตารอัญชนะศักราชอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์อาทิตตปริยายสูตรอานันทพญาอนัตตลักขณสูตรอนาคาริก ธรรมปาละอนาคตวงศ์ฮีมานซู โซนิจิญจมาณวิกาจุฬามณีเจดีย์จู่ซือธรรมบทธรรมกายธรรมกาย (แก้ความกำกวม)ธรรมราชิกสถูปธรรมเมกขสถูปธาตุก่องข้าวน้อยธูปธงชาติทิเบตทศชาติชาดกทศาวตารท้าววสวัตตีท้าวสหัมบดีพรหมท้าวสักกะท้าวสันดุสิตขนมเบื้องดอยเชียงดาวดุสิตคำให้การชาวกรุงเก่างูเห่าตรัสรู้ตะกวดตำนานคนตัดไผ่ต้นพระศรีมหาโพธิ์ประวัติพระพุทธเจ้าปริภัณฑ์ วัชรานนท์ปรนิมมิตวสวัตดีปัญจวัคคีย์ปายาสปางห้ามมารปางปรินิพพานนักพรตนาคนางวิสาขานิชิเร็งชูนิชิเร็นนิมมานรดีนิลกายนิทานน้ำมนต์แฮร์มันน์ เฮสเซอโพโจ๊กไดโงะฮนซงเบญจศีลเพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยาเกจิอาจารย์เวอร์โก้ ชากะเจาขัณฑีสถูปเจดีย์ชเวมอดอเจดีย์ชเวดากองเจดีย์ชเวซีโกนเจดีย์ฮหวั่งฟุกเถรวาทเทวทหะเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาวเซนเนมิราช ขยายดัชนี (220 มากกว่า) »

บัวสี่เหล่า

ตรกรรมร่วมสมัยพระโคตมพุทธเจ้าทรงพิจารณาบุคคลเปรียบด้วยบัวสี่เหล่า และท้าวสหัมบดีพรหมเข้าเฝ้าขอให้ทรงแสดงธรรม ในทางศาสนาพุทธ บัวสี่เหล่า คืออุปมาเปรียบบุคคลเหมือนดอกบัว 4 จำพวก ตามฐานะที่จะบรรลุนิพพานได้และไม่ได้ในชาตินั้น ตามที่ปรากฏในโพธิราชกุมารสูตร ในพระไตรปิฎกภาษาบาลีและคัมภีร์สุมังคลวิลาสินี ว่าเมื่อแรกตรัสรู้ พระพุทธเจ้าได้ทรงพิจารณาว่าพระธรรมที่ทรงบรรลุนั้นมีความละเอียดอ่อนสุขุมคัมภีรภาพ ยากต่อบุคคลจะรู้ เข้าใจและปฏิบัติได้ แต่ต่อมาได้ทรงพิจารณาอย่างลึกซึ้งแล้ว ทรงเห็นว่าบุคคลในโลกนี้มีหลายจำพวก บางพวกสอนได้ บางพวกสอนไม่ได้ เปรียบเสมือนบัว 3 เหล่า (ตามนัยโพธิราชกุมารสูตรในพระไตรปิฎกภาษาบาลี) หรือบัว 4 เหล่า (ตามนัยสุมังคลวิลาสินี) การที่สุมังคลวิลาสินีกล่าวว่าพระพุทธเจ้าทรงเปรียบบุคคลเป็นดอกบัว 4 เหล่านั้น เป็นการประยุกต์จากพุทธพจน์เรื่องบุคคล 4 จำพวกที่ตรัสไว้ในอุคฆฏิตัญญุสูตร อังคุตตรนิกาย ปุคคลวรรคที่ 4 มาผสานกับพระพุทธพจน์เรื่องดอกบัว 3 เหล่าที่ตรัสไว้ในโพธิราชกุมารสูตร มัชฌิมนิกาย จึงกลายเป็นดอกบัว 4 เหล่าที่รู้จักกันในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและบัวสี่เหล่า · ดูเพิ่มเติม »

ชาดก

ก (-saजातक) คือ เรื่องราวหรือชีวประวัติในอดีตชาติของพระโคตมพุทธเจ้า คือ สมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่ พระองค์ทรงนำมาเล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่าง ๆ เพื่อแสดงหลักธรรมสุภาษิตที่พระองค์ทรงประสงค์ เรียกเรื่องในอดีตของพระองค์นี้ว่า ชาดก ชาดกเป็นเรื่องเล่าคล้ายนิทาน บางครั้งจึงเรียกว่า นิทานชาดก ชาดกที่ทรงเล่านั้นมีหลายร้อยเรื่อง ว่าทรงเคยเกิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นสัตว์บ้าง แต่ที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ 10 ชาติสุดท้ายที่เรียกว่าทศชาติชาดก และชาติสุดท้ายที่สุดที่ทรงเสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร จึงเรียกเรื่องพระเวสสันดรนี้ว่า มหาเวสสันดรชาดก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและชาดก · ดูเพิ่มเติม »

บุดดะ

"บุดดะ" (เป็นชื่อของผลงานมังงะ (นิยายภาพ) ของเทะซึกะ โอะซะมุ ซึ่งเป็นผลงานชิ้นเดียวของเขาที่สร้างขึ้นเพื่อตีความพุทธประวัติของพระสิทธัตถะโคดมพุทธเจ้า ศาสดาผู้ก่อตั้งศาสนาพุทธ ข้อวิจารณ์ที่มังงะเรื่องนี้ได้รับบ่อยครั้งเป็นเรื่องของความกล้าของผู้ประพันธ์ในการตีความพุทธประวัติใหม่ให้แตกต่างจากที่บันทึกไว้ในวงการศาสนา มังงะเรื่องนี้ได้รับรางวัลบุงเงชุนจู มังงะ อวอร์ด ในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและบุดดะ · ดูเพิ่มเติม »

บูเช็กเทียน

อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน พงศาวดารถัง (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705)Paludan, 100 บางทีเรียก อู่ เจ้า หรือ อู่ โฮ่ว ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า พระนางสวรรค์ และในสมัยต่อมาว่า พระนางอู่ ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนอันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "ฮ่องเต้" ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและบูเช็กเทียน · ดูเพิ่มเติม »

ชีวกโกมารภัจจ์

หมอ ชีวกโกมารภัจจ์ (อ่านว่า ชี-วะ-กะ-โก-มา-ระ-พัด) บรมครูแห่งการแพทย์แผนโบราณ เป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา เรื่องราวขีวิตของท่านมีกล่าวไว้ในพระไตรปิฎกและคัมภีร์อรรถกถา ตลอดชีวิตของหมอชีวกโกมารภัจจ์ ได้บำเพ็ญแต่คุณงามความดี ช่วยเหลือผู้เจ็บไข้โดยไม่เลือกฐานะ จนได้รับยกย่องจากพระพุทธองค์ว่า เป็นเอตทัคคะ ผู้เลิศกว่าอุบาสกทั้งปวงในทาง "เป็นที่รักของปวงชน".

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและชีวกโกมารภัจจ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีนบยู

วนแห่พิธีชีนบยูที่มัณฑะเลย์ การแต่งกายของผู้เข้าพิธีชีนบยู ชีนบยู (สามารถออกเสียงว่า ชีนปยู) เป็นพิธีกรรมของชาวพม่า โดยเฉพาะเด็กชายในช่วงที่ก่อนจะบวชเป็นสามเณร ในศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท พิธีชีนบยู หมายถึงการเฉลิมฉลองเครื่องหมายของสามเณร เมื่อเสร็จพิธีแห่ชีนบยูเด็กชายผู้เข้าร่วมพิธีกรรมจะเข้าบวชเป็นสามเณร เป็นการบวชของเด็กชายอายุต่ำกว่า 20 ปี พิธีชีนบยูถือเป็นหน้าที่สำคัญของบิดา มารดาที่ต้องทำให้บุตรชายของตน โดยการปล่อยให้บุตรของตนออกตามรอยคล้ายตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จออกบวช และให้ประพฤติตนอยู่ในคำสอนของพระพุทธเจ้าสำหรับพิธีกรรมชาวพม่าส่วนใหญ่นิยมจัดระยะสั้น หรือบางส่วนนิยมจัดตอนบวชเป็นพระสงฆ์ต่อเมื่ออายุครบ 20 ปี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและชีนบยู · ดูเพิ่มเติม »

ช้างศรีลังกา

้างศรีลังกา (Sri Lankan elephant; ශ්‍රි ලංකා‍ අලියා) เป็นช้างเอเชียชนิดย่อยชนิดหนึ่ง มีถิ่นกระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะซีลอน หรือประเทศศรีลังกาในปัจจุบันเท่านั้น ช้างศรีลังกา ได้ถูกอนุกรมวิธานแยกออกจากช้างเอเชียชนิดอื่น ๆ โดยคาโรลัส ลินเนียส นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนเมื่อปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและช้างศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเผือก

้างเผือกปัจจัยนาเคนทร์ในจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์หิมพานต์ ช้างเผือก (White Elephant) คือช้างที่มีลักษณะต่างจากช้างธรรมดาทั่วไป ด้วยมีนัยน์ตา และเล็บสีขาว รวมถึงสีผิวที่อ่อนกว่าช้างธรรมทั่วไป อาจจะเป็นสีชมพูหรือสีขาวก็ได้ โดยที่มิใช่เป็นสัตว์เผือก จัดได้ว่ามีลักษณะที่หาได้ยาก จึงเป็นที่เชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์ที่เป็นมงคลให้แก่ผู้ที่เป็นเจ้าของ และเป็นเครื่องมงคลชนิดหนึ่งในสัปตรัตนะแห่งพระเจ้าจักรพรรดิ ได้แก่ จักรแก้ว ช้างแก้ว (ช้างเผือก ชื่อ อุโบสถ) ม้าแก้ว มณีแก้ว นางแก้ว คฤหบดีแก้ว และ ปรินายกแก้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1

ทธศักราช 1 ใกล้เคียงกับ ก่อน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพ.ศ. 1 · ดูเพิ่มเติม »

พรหมชาลสูตร (เถรวาท)

รหมชาลสูตร มีทั้งของฝ่ายเถรวาทและฝ่ายมหายาน (ดู พรหมชาลสูตร (มหายาน)) ในพระไตรปิฎกภาษาบาลี พรหมชาลสูตรเป็นพระสูตรแรกในทีฆนิกาย สีลขันธวรรค พระโคตมพุทธเจ้าทรงแสดงแก่บรรดาพระสาวกที่พระราชอุทยานอัมพลัฏฐิกา ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงราชคฤห์และเมืองนาลันทา โดยสังเขปพระสูตรนี้ มีเนื้อหาว่าด้วยศีลทั้งหลาย คือจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล อันเป็นแนวทางการปฏิบัติตนของพระภิกษุในพระบวรพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังทรงตรัสถึงทัศนะทางปรัชญาและแนวทางการปฏิบัติของลัทธิต่างๆ ในสมัยพุทธกาล ทั้งหมด 62 ลัทธิ หรือที่เรียกว่า ทิฏฐิ 62 ประการ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพรหมชาลสูตร (เถรวาท) · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมสารีริกธาตุ

ระบรมสารีริกธาตุ สัณฐานเมล็ดข้าวสาร พระบรมสารีริกธาตุ (शरीर; Śarīra) เรียกโดยย่อว่าพระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้คงเหลือไว้หลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุที่ไม่แตกกระจาย และที่แตกกระจาย มีขนาดเล็กสุดประมาณเมล็ดพันธุ์ผักกาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุเป็นวัตถุแทนองค์พระบรมศาสดาที่ทรงคุณค่าสูงสุดในศาสนาพุทธ จึงนิยมกระทำการบูชาองค์พระบรมสารีริกธาตุโดยประการต่าง ๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพื่อประดิษฐานพระธาตุไว้สักการะ โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระทำการบูชาแด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ทั้งนี้ คำว่า "พระบรมสารีริกธาตุ" เป็นศัพท์เฉพาะใช้เรียกเฉพาะพระธาตุของพระพุทธเจ้า หากเป็นของพระอรหันตสาวกจะเรียกว่า "พระธาตุ" เท่านั้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระบรมสารีริกธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหม (ศาสนาพุทธ)

ในศาสนาพุทธ พระพรหม เป็นชาวสวรรค์ชั้นสูงกว่าเทวดาในฉกามาพจร และยังเวียนว่ายตายเกิดด้วยอำนาจกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ แต่ในภพชาติก่อนจุติและปฏิสนธิเป็นพรหมมีกุศลมาก มีฌาณสมาบัติเป็นอารมณ์ เมื่อตายจึงไปเกิดที่สวรรค์ชั้นนี้) อยู่ในสวรรค์ที่เรียกว่าพรหมภูมิ (หรือพรหมโลก) พระพรหมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พรหมที่มีรูป เรียกว่า "รูปพรหม" มีทั้งหมด 16 ชั้น และพรหมที่ไม่มีรูป เรียกว่า "อรูปพรหม" มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยอรูปพรหมจะสูงกว่ารูปพรหม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระพรหม (ศาสนาพุทธ) · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ

ระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ หรือชื่อที่นิยมเรียกติดปากของคนในพื้นที่ว่า หลวงพ่อใหญ่ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ ประดิษฐานอยู่ ณ วัดม่วง ตำบลหัวตะพาน อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง --> พระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ สร้างขึ้นโดยดำริของ พระครูวิบูลอาจารคุณ (เกษม อาจารสุโภ) เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดม่วง เพื่อถวายแด่พระพุทธเจ้าและพระพุทธศาสนา โดยเริ่มก่อสร้างตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2534 แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ใช้ทุนทรัพย์ในการสร้างทั้งหมด 104,261,089.65 บาท จากการบริจาคของผู้มีจิตศรัทธา รวมเป็นระยะเวลากว่า 16 ปี โดยที่ พระครูวิบูลอาจารคุณนั้นได้ถึงแก่มรณกรรมไปเสียก่อนที่การก่อสร้างจะเสร็จด้วยโรคมะเร็ง ในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2544 ณ โรงพยาบาลศิริราช แต่ก่อนที่ท่านจะมรณภาพ ท่านได้ให้ชื่อพระพุทธรูปว่า "พระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ" เป็นการอุทิศแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อีกมุมหนึ่งของพระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ พระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ มีความสูงจากฐานองค์พระถึงยอดเกศา 95 เมตร เทียบเท่ากับตึก 40 ชั้น และมีความกว้างของหน้าตัก 63.05 เมตร ซึ่งการเดินวนรอบองค์พระต้องใช้เวลากว่า 3 นาที พระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ เป็นพระพุทธรูปที่สามารถมองเห็นได้จากระยะไกล นับเป็นพระพุทธรูปองค์สำคัญของวัดม่วงและจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระพุทธมหานวมินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธสิกขีทศพลที่ 1

ทธศาสนิกชนบางกลุ่มในประเทศไทยเชื่อว่า พระพุทธสิกขีทศพลที่ 1 หรือ สมเด็จองค์ปฐม คือพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระองค์แรกในโลก เมื่ออสงไขยนับไม่ถ้วนก่อนหน้าพระโคตมพุทธเจ้าซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน ข้อมูลเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกทั้งของนิกายเถรวาทและมหายาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระพุทธสิกขีทศพลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธสิหิงค์ (แก้ความกำกวม)

ระพุทธสิหิงค์ เป็นนามเรียกพระพุทธรูปลักษณะหนึ่ง โดยคำว่า "สิหิงค์" นั้นแปลว่า "มีอกอูมเหมือนสิงห์" อันหมายถึง สมเด็จพระสัมมาสัมพุธเจ้า เนื่องจากเชื่อว่าพระพุทธองค์มีพระอุระ (อก) อูมเหมือนราชสีห์ หรือสิงห์ อันเป็นลักษณะประการหนึ่งของมหาบุรุษ โดย พระพุทธสิหิงค์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระพุทธสิหิงค์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเมตตา

พระพุทธเมตตา พระพุทธเมตตา เป็นพระพุทธรูปในวัดพระมหาโพธิ ใกล้กับต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่ตรัสรู้ของพระโคตมพุทธเจ้า ในตำบลพุทธคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดียในปัจจุบัน (หรือแคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล) พระพุทธเมตตาองค์นี้เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสมัยปาละ และสร้างในสมัยนั้นด้วยหินแกรนิตสีดำ มีอายุกว่า 1,400 ปี​ แต่ไม่ปรากฏว่าสร้างเมื่อใด หมวดหมู่:พระพุทธรูป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระพุทธเมตตา · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเจ้า

ระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากตำนานของเถรวาท ผู้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าต้องบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ก่อน เมื่อบารมีเต็มแล้วจึงจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย พระพุทธเจ้าทุกพระองค์มีลักษณะพิเศษตรงกันคือ เป็นมนุษย์เพศชายเกิดในวรรณะกษัตริย์หรือพราหมณ์ พระวรกายสมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักขณะ ก่อนออกผนวชจะอภิเษกสมรสมีพระโอรสพระองค์หนึ่ง หลังจากนั้นทรงพบเทวทูตทำให้ตัดสินใจออกผนวช วันออกผนวชจะตรงกับวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธ ถือกันว่าพระโคตมพุทธเจ้าดำรงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปีก่อนคริสตกาลตามตำราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก

ระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก (Buddha) หรือ พระพุทธเจ้า (ชื่อละครที่ออกอากาศช่องซีหนัง) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศในประเทศอินเดียช่วงปี ค.ศ. 2015 กล่าวถึงพระพุทธประวัติ (ประวัติของพระพุทธเจ้า) ออกอากาศในประเทศไทยทางช่องเวิร์คพอยท์ ตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2558 ทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 10:00 น. - 11:00 น. และออกอากาศซ้ำในวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18:20 น. นำแสดงโดย ฮีมานซู โซนิ, คาจาล เจน, ซาเมียร์ ธรรมาธิการี, กุนกุน ยุปการี กำกับการแสดงโดย ดร. ภูเมนทรา กุมาร โมที.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระกกุสันธพุทธเจ้า

ระกกุสันธพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 22 ในพุทธวงศ์ แต่เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์แรกในภัทรกัปนี้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระกกุสันธพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระกษิติครรภโพธิสัตว์

ระกษิติครรภโพธิสัตว์ (อ่านว่า /พฺระ-กะ-สิ-ติ-คับ-พะ-โพ-ทิ-สัด/, क्षितिगर्भ;; กฺษิติครฺภ) เป็นพระโพธิสัตว์ ซึ่งเป็นที่นับถือในศาสนาพุทธนิกายมหายานในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มักมีรูปลักษณ์เป็นพระภิกษุมหายาน นามของพระโพธิสัตว์องค์นี้อาจแปลได้ว่า "ขุมทรัพย์แห่งแผ่นดิน" ("Earth Treasury"), คลังแห่งแผ่นดิน ("Earth Store"), "บ่อเกิดแห่งแผ่นดิน"("Earth Matrix"), หรือ "ครรภ์แห่งแผ่นดิน" ("Earth Womb") พระกษิติครรภโพธิสัตว์ได้รับมอบหมายจากพระศากยมุนีพุทธเจ้าให้เป็นผู้แสดงธรรมโปรดสัตว์ในกามภูมิ 6 ในช่วงที่พระองค์ปรินิพพานไปแล้วและพระศรีอริยเมตไตรยยังไม่ได้ลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระกษิติครรภมีปณิธานสำคัญในการช่วยสัตวโลกทั้งหมดให้พ้นจากนรกภูมิ หากนรกยังไม่ว่างจากสัตว์นรกก็จะยังไม่ขอตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ด้วยเหตุดังกล่าว พระองค์จึงถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งสัตว์ผู้ทุกข์ยากในอบายภูมิ มีนรกทั้งปวง เป็นต้น เช่นเดียวกับการเป็นผู้คุ้มครองเด็กทั้งหลาย และเทพอุปถัมภ์ของเด็กที่เสียชีวิตและทารกที่ตายจากการแท้งในวัฒนธรรมญี่ปุ่น รูปลักษณ์ของพระโพธิสัตว์องค์นี้ ปกติมักทำเป็นรูปพระภิกษุมหายาน มีรัศมีเปล่งรอบพระเศียรซึ่งปลงพระเกศาแล้ว หัตถ์หนึ่งทรงจับไม้เท้าซึ่งใช้เปิดประตูนรก อีกหัตถ์หนึ่งทรงถือแก้วจินดามณี (แก้วสารพัดนึก) เพื่อประทานแสงสว่างท่ามกลางความมืด สำหรับในประเทศไทยเอง มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย (佛眼禪林弘法基金會:地藏道場) พุทธมณฑลสาย 6 ได้สร้างวัดหรือธรรมสถาน เพื่ออุทิศแด่องค์พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์โดยเฉพาะ โดยสร้างองค์พระกษิติครรภ์ ด้วยหินแกรนิตแกะสลักสูงรวมฐาน 13.99 เมตร และพระกษิติครรภ์ 6 ปาง ที่มีคติมาจากปุณฑริกสมาธิสูตร (蓮華三昩經) ที่ว่าพระกษิติครรภ์นิรมาณกายไปโปรดสัตว์ทั้ง 6 ภูมิ พร้อมพญายมราชทั้ง 10 ซึ่งในสูตรฝ่ายมหายานกล่าวว่า เป็นพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์องค์สำคัญ 10 พระองค์ นิรมาณกายมาโปรดสัตว์ และปฏิมากรรมหินแกะสลักนายนิรยบาล เป็นหินแกะสลักสูงใหญ่กว่าคนอีกรวมทั้งสิ้น 25 องค์โดยช่างฝีมือจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามคติของพุทธมหายานแบบจีน และเผยแพร่กษิติครรภโพธิสัตว์มูลปณิธานสูตร (地藏本願經) และ กษิติครรภ์โพธิสัตว์ทศจักรสูตร (地藏十輪經) ซึ่งเป็นพระสูตรสำคัญของพระกษิติครรภ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นกษิติครรภมณฑล ที่มีอยู่ไม่กี่แห่งในโลก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระกษิติครรภโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระกัสสปพุทธเจ้า

ระกัสสปะพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าในภัทรกัปป์นี้ ทรงจุติลงมาในโลกมนุษย์หลังจากสิ้นสุดศาสนาของพระโกนาคมพุทธเจ้าแล้ว โดยนับตั้งแต่อายุมนุษย์ลดลงจากสองหมื่นปีเหลือ 10 ปี แล้วเพิ่มขึ้นจนถึงสองหมื่นปีอีกครั้ง พระองค์จึงเสด็จลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระกัสสปพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระกุมารกัสสปะ

ระกุมารกัสสปเถระ เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า นับเนื่องในพระอสีติมหาสาวก 80 องค์สำคัญในสมัยพุทธกาล พระกุมารกัสสปเถระ มีนามเดิมว่า กัสสปะ เป็นนามที่พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงตั้งให้ ต่อมาท่านบวชในพระพุทธศาสนา เวลาพระโคตมพุทธเจ้าตรัสเรียกภิกษุชื่อกัสสปะ จะถูกทูลถามว่ากัสสปะไหน จึงตรัสว่า กุมารกัสสปะ เพราะท่านบวชมาตั้งแต่ยังเด็ก บิดาและมารดาไม่ปรากฏชื่อ เป็นชาวเมืองสาวัตถี มารดาของท่านศรัทธาจะบวชตั้งแต่ยังไม่ได้แต่งงาน แต่บิดาและมารดาไม่อนุญาต หลังจากแต่งงานแล้วขออนุญาตสามี ในที่สุดสามีอนุญาตให้บวช เธอจึงบวชเป็นภิกษุณีโดยไม่รู้ตัวว่าตั้งครรภ์ ครั้นอยู่มาครรภ์ได้ใหญ่ขึ้น ภิกษุณีทั้งหลายรังเกียจเธอ จึงนำไปให้พระเทวทัตตัดสิน พระเทวทัตตัดสินว่า เธอศีลขาด แม้เธอจะชี้แจงเหตุผลอย่างไรก็ไม่ยอมรับฟัง ภิกษุณีทั้งหลายจึงพาไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ทรงมอบหมายให้พระอุบาลีเถระตัดสิน พระอุบาลีเถระเชิญตระกูลใหญ่ๆ ชาวสาวัตถีและนางวิสาขามาพิสูจน์ได้ว่า นางตั้งครรภ์มาก่อนบวช ศีลของนางบริสุท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระกุมารกัสสปะ · ดูเพิ่มเติม »

พระภัททากัจจานาเถรี

ตำหนักพระนางพิมพา พระภัททากัจจานาเถรี หรือพระนามเดิม พระนางยโสธรา (พระนางพิมพา หรือ พระนางยโสธราพิมพา) เป็นพระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระนางได้อุปสมบทเป็นภิกษุณีและบรรลุเป็นพระอรหันต์ในที.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระภัททากัจจานาเถรี · ดูเพิ่มเติม »

พระภัททิยเถระ

ระภัททิยะ หรือ พระภัททิยเถระ เป็นพระภิกษุสาวกของพระพุทธเจ้า เป็นหนึ่งในปัญจวัคคีย์ และพระอสีติมหาสาวก พระภัททิยะ เมื่อได้ตรัสรู้ธรรมแล้ว มีบทบาทสำคัญในการช่วยเผยแพร่พระพุทธศาสนาในช่วงต้นพุทธกาล ท่านดำรงอายุพอสมควรแก่กาลก็ดับขันธปรินิพพาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระภัททิยเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาชนก

ระราชนิพนธ์เรื่อง''พระมหาชนก'' พระมหาชนก เป็นเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก อันเป็นชาดก 10 ชาติสุดท้ายก่อนที่พระโพธิสัตว์จะมาประสูติเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ และตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชาดกเรื่องนี้เป็นการบำเพ็ญความเพียรเป็นบารมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัย จึงทรงค้นเรื่องพระมหาชนกในพระไตรปิฎกและทรงแปลเป็นภาษาอังกฤษตรงจากมหาชนกชาดก ตั้งแต่ต้นเรื่อง โดยทรงดัดแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น นอกจากนี้ ยังทรงแปลเป็นภาษาสันสกฤตประกอบอีกภาษา รวมทั้งแผนที่ฝีพระหัตถ์ แสดงสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมืองโบราณบางแห่งและข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเกี่ยวกับทิศทางลม กับกำหนดวันเดินทะเลตลอดจนจุดอัปปางของเรืออับโชค ทรงคาดคะเนโดยอาศัยข้อมูลทางโหราศาสตร์ แสดงถึงพระปรีชาในด้านอักษรศาสตร์ ภูมิศาสตร์และโหราศาสตร์ไทย ในโอกาสเฉลิมฉลองกาญจนาภิเษกแห่งรัชกาล เมื่อ..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระมหาชนก · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากัสสปะ

ระมหากัสสปะ เป็นพระอรหันต์สาวกองค์หนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า เป็นเอตทัคคะที่ทรงยกย่องและให้ถือเป็นแบบอย่างในด้านผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์, พระสุตตัตนตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต ๑. เอตทัคควรรค ๑. ปฐมวรรค ภายหลังที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ท่านได้เป็นประธานในการสังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระมหากัสสปะ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากัจจายนะ

รูปปั้นของพระมหากัจจายนะหรือพระสังกัจจายน์ พระมหากัจจายนะ (มหากจฺจายน, มหากาตฺยายน) เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งในพระอสีติมหาสาวกของพระโคตมพุทธเจ้า ได้รับการยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะในทางผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร ในประเทศไทยนอกจากชื่อตามภาษาบาลีแล้ว ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ "พระสังกัจจายน์" หรือ "พระสังกระจาย" พระมหากัจจายนะเกิดในตระกูลพราหมณ์ตระกูลหนึ่งในกรุงอุชเชนี ได้ศึกษพระเวทตามอย่างตระกูลพราหมณ์ทั้งหลาย ท่านเป็นศิษย์ของอสิตดาบสแห่งเขาวินธัย (ผู้ทำนายว่าเจ้าชายสิทธิตถะจะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิหรือพระพุทธเจ้าในอนาคต) พระมหากัจจายนะพร้อมด้วยมิตรอีก 7 คนได้อาราธนาพระพุทธเจ้าให้ทรงแสดงธรรมเทศนา และได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในระหว่างฟังธรรมนั้นเอง หลังจากนั้นท่านจึงทูลขออุปสมบทต่อพระพุทธเจ้า และได้เผยแผ่ศาสนาพุทธอยู่ในแคว้นอวันตีจนมีผู้เข้ามาเป็นสาวกในพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บรรพที่ 6 ว่าด้วยการพยากรณ์ ได้กล่าวถึงพุทธพยากรณ์ว่า พระมหากัจจายนะ พระสุภูติ พระมหากัสสปะ และพระมหาโมคคัลลานะ (ทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น) หลังจากได้สดับพระสูตรนี้แล้ว จักได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระมหากัจจายนะ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามัยมุนี

ระมหามัยมุนี หรือ มหาเมียะมุนี (မဟာမြတ်မုနိ ရုပ်ရှင်တော်မြတ်ကြီး) เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศพม่า และเป็นหนึ่งในห้าศาสนวัตถุที่ศักดิ์สิทธิ์ของพม่า คำว่า มหามัยมุนี แปลว่า "ผู้รู้อันประเสริฐ" (The Great Sage) เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องกษัตริย์ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ อดีตราชธานีของพม่าในยุคราชวงศ์คองบอง เดิมทีเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของยะไข่ มีตำนานเล่าว่าสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาลโดยกษัตริย์แห่งเมืองยะไข่ องค์พระทำจากทองสัมฤทธิ์หนัก 6.5 ตัน มีการสร้างบนฐานสูง รวมองค์พระมีความสูงทั้งหมดกว่า ไหล่กว้าง และรอบเอวกว้าง Schober, p.263 ก่อนสร้างกษัตริย์ผู้สร้างทรงพระสุบินว่า พระพุทธเจ้า เสด็จมาประทานพรให้พระพุทธปฏิมาองค์นี้เป็นตัวแทนของพระองค์ เพื่อเป็นเครื่องสืบพระพุทธศาสนาไปในภายภาคหน้าSchober, p.268 โดยในอดีตแม้เมืองยะไข่จะถูกโจมตีโดยกษัตริย์เมืองอื่นที่ทรงแสนยานุภาพอย่างไร ก็ไม่อาจที่จะเคลื่อนย้ายองค์พระมหามัยมุนีนี้ออกจากเมืองได้ ต้องมีเหตุให้ขัดข้องทุกครั้งไป จนกระทั่งถึงรัชสมัยพระเจ้าปดุง แห่งราชวงศ์คองบองสามารถตียะไข่ได้ และได้อัญเชิญพระมหามัยมุนีออกจากยะไข่ได้ในปี พ.ศ. 2327 โดยล่องมาตามแม่น้ำอิระวดีมายังเมืองมัณฑะเลย์ พระมหามัยมุนีจึงได้มาประดิษฐานอยู่ที่เมืองมัณฑเลย์เป็นการถาวรนับแต่นั้นเป็นต้นมา ด้วยความเชื่อว่าพระพุทธมหามัยมุนีนี้เป็นพระพุทธรูปที่มีชีวิต ด้วยเหตุที่ได้รับประทานพร หรือบางตำนานก็กล่าวว่าได้รับประทานลมหายใจจากพระพุทธเจ้า จึงมีประเพณีล้างพระพักตร์ถวายโดยทุกเช้าในเวลาประมาณ 04.00 น. พระมหาเถระและสาธุชนทั่วไปที่ศรัทธาจะมาทำพิธีล้างพระพักตร์ด้วยน้ำอบน้ำหอมผสมทานาคาอย่างดี พร้อมกับใช้แปรงทองแปรงที่พระโอษฐ์เสมือนหนึ่งแปรงพระทนต์ถวายพระพุทธเจ้า ก่อนใช้ผ้าจากศรัทธาสาธุชนที่ถวายมาเช็ดจนแห้งสนิท แล้วนำกลับคืนแก่สาธุชนผู้นั้นไปบูชาต่อ พร้อมใช้พัดทองโบกถวายเป็นอันดี เสมือนหนึ่งได้อุปัฏฐากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ยังทรงพระชนมชีพอยู่ อนึ่ง องค์พระมหามัยมุนีมีการปิดทองซ้ำแล้วซ้ำอีกจนเป็นรอยย่นตะปุ่มตะป่ำไปทัวทั้งองค์ ซึ่งหากเอานิ้วกดลงไปจะรู้สึกได้ถึงความอ่อนนิ่มของทองคำเปลวที่ปิดทับซ้อนกันนับเป็นพัน ๆ หมื่น ๆ ชั้น ตลอดระยะเวลาเนิ่นนานหลายศตวรรษ ทำให้พระมหามัยมุนีมีอีกพระนามหนึ่งว่า "พระเนื้อนิ่ม" แต่น่าแปลกที่ว่าแม้จะมีการปิดทองซ้ำแล้วซ้ำอีกจนองค์พระใหญ่ขึ้นเพียงใดก็ตาม แต่พระพักตร์ขององค์พระมหามัยมุนีก็ยังแลดูใหญ่ตามองค์พระอย่างน่าอัศจรรย์ ทั้งที่ไม่ได้มีการปิดทองที่องค์พระพักตร์เลยแม้แต่น้อย สำหรับในประเทศไทย ที่วัดหัวเวียง อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ได้มีองค์พระจำลองของพระมหามัยมุนีนี้เป็นพระประธานของวัด และอีกองค์หนึ่งคือพระมหามัยมุนีสายสัมพันธ์ 2 แผ่นดิน ที่ ประดิษฐานพลับพลาชั่วคราว ณ วัดพระธาตุดอยแต ตำบลเหมืองจี้ อำเภอเมืองลำพูน ซึ่งมีขนาดเท่าองค์จริง และได้ทำพิธีในวัดพระมหามัยมุนีองค์จริงโดยพระสังฆนายกแห่งประเทศพม่า และได้มอบให้พระสงฆ์เมืองมัณฑะเลย์ จำนวน 108 รูป ทำพิธีตลอด 3 วัน (14-16 มีนาคม 2557) และได้อัญเชิญมาประเทศไทยเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่าง 2 ประเทศ และทุกเช้าวันพระจะมีพิธีสรงพระพักตรโดยพระสงฆ์ผู้ได้รับมอบหมายจากประเทศพม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระมหามัยมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี

ระมหาปชาบดีโคตมีเถรี หรือพระนามเดิม พระนางมหาปชาบดีโคตมี เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอัญชนาธิปราชแห่งกรุงเทวทหะ แคว้นโกลิยะ และเป็นพระขนิษฐภคินี(น้องสาว)ของพระนางสิริมหามายา ผู้เป็นพระพุทธมารดา ดังนั้นพระนางมหาปชาบดีโคตมีจึงเป็นพระมาตุจฉาของพระสมณโคดมพุทธเจ้า ทรงเป็นภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนา และทรงได้เรียนกรรมฐานและทรงปฏิบัติอย่างจริงจัง จนได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ พระพุทธจ้าทรงยกย่องท่านว่าเป็นเอตทัคคะ คือเลิศกว่าผู้อื่นในทางรัตตัญญู (คือผู้มีรู้ราตรีนาน) พระนางมหาปชาบดีโคตมีเป็นพระมาตุจฉาของพระพุทธเจ้า และเมื่อพระนางสิริมหามายาสวรรคตแล้ว หลังจากที่เจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ 7 วัน ในกาลต่อมาพระเจ้าสุทโธทนะได้ทรงตั้งพระนางมหาปชาบดีโคตมีไว้ในตำแหน่งพระอัครมเหสี ซึ่งพระนางได้ทรงถวายการอภิบาลเจ้าชายสิทธัตถะ เสมือนเป็นพระราชโอรสของพระองค์เอง พระนางมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่า เจ้าชายนันทะ และมีพระราชธิดาพระองค์หนึ่งพระนามว่า เจ้าหญิงรูปนันทา ภาพขณะพระนางปชาบดีโคตมีทูลขอบวชเป็นพระภิกษุณี วาดโดยเหม เวชกร พระนางได้ทรงแสดงความประสงค์จะบวชต่อพระพุทธเจ้าในคราวที่พระองค์เสด็จไปโปรดพระพุทธบิดาและพระประยูรญาติ ณ กรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ แต่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงอนุญาตให้พระนางผนวช เนื่องจากยังไม่เคยทรงอนุญาตให้สตรีอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปเมืองเวสาลีและประทับอยู่ที่ กูฏาคารศาลาป่ามหาวัน พระนางปชาบดีโคตมีพร้อมด้วยเหล่านางสากิยานีจำนวนมาก จึงได้ปลงพระเกศา ห่มผ้ากาสายะ เป็นการแสดงเจตนาที่จะบวชอย่างแรงกล้า โดยเสด็จไปยังกูฏาคารศาลาป่ามหาวัน เมืองเวสาลี เพื่อทรงทูลขออุปสมบท โดยพระนางได้ทรงแจ้งพระประสงค์ต่อพระอานนท์ให้นำความไปกราบทูลพระพุทธเจ้า ขอให้พระนางพร้อมทั้งเหล่านางสากิยานีได้อุปสมบทเป็นภิกษุณีในพระพุทธศาสนา ซึ่งพระอานนท์ใช้ความพยายามอยู่หลายหน พระพุทธเจ้าจึงทรงออกหลัก ปฏิบัติเป็นพิเศษสำหรับสตรีผู้ที่จะเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา คือครุธรรม 8 ซึ่งพระนางมหาปชาบดีโคตมี ทรงยินดีปฏิบัติตามครุธรรม ทั้ง 8 ประการ จึงได้รับการอุปสมบทในพระพุทธศาสนา พร้อมทั้งเหล่านางสากิยานี หลังจากการอุปสมบท พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีได้ทรงเรียนกรรมฐานที่พระพุทธเจ้าทรงประทานและปฏิบัติอย่างจริงจัง จนได้บรรลุพระอรหันต์ แม้ภิกษุณีเหล่าสากิยานีที่อุปสมบทพร้อมกับท่านก็ได้บรรลุพระอรหันต์เหมือนกัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระมหาปชาบดีโคตมีเถรี · ดูเพิ่มเติม »

พระมหานามเถระ

ระมหานามะ หรือ พระมหานามเถระ เป็นพระภิกษุสาวกของพระพุทธเจ้า เป็นหนึ่งในปัญจวัคคีย์ และพระอสีติมหาสาวก พระมหานามะ เมื่อได้ตรัสรู้ธรรมแล้ว มีบทบาทสำคัญในการช่วยเผยแพร่พระพุทธศาสนาในช่วงต้นพุทธกาล ท่านดำรงอายุพอสมควรแก่กาลก็ดับขันธปรินิพพาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระมหานามเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พระมังคลพุทธเจ้า

หลังจากศาสนาของพระโกณฑัญญะพุทธเจ้าอันตรธานไป เป็นช่วงเวลาที่ไม่มีพระพุทธเจ้ามาอุบัติถึงอสงไขยหนึ่ง เรียกว่า ภาละอสงไขย ล่วงมาถึงสารมัณฑกัปหนึ่ง จึงมีพระพุทธเจ้ามาอุบัติขึ้น 4 พระองค์ พระพุทธเจ้าองค์แรกในสารมัณฑกัปนี้ทรงพระนามว่า พระมังคละพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระมังคลพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระยสเถระ

ระยสเถระ หรือ พระยสะ เป็นพระภิกษุสาวกเอตทัคคะของพระพุทธเจ้า นับเนื่องในพระอสีติมหาสาวก 80 องค์สำคัญในพระพุทธศาสนาในสมัยต้นพุทธกาล พระยสเถระ เป็นพระสงฆ์กลุ่มแรก ๆ ในพระพุทธศาสนา โดยท่านเป็นพระสงฆ์สาวกองค์ที่ 6 ในพระพุทธศาสนา เมื่อท่านบวชแล้วได้เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการชักชวนสหายของท่านกว่า ๕๔ คนให้เข้ามาบวชช่วยเผยแพร่พระพุทธศาสนาในช่วงต้นพุทธกาล.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระยสเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พระราหุล

ระราหุล หรือพระนามเดิม เจ้าชายราหุล เป็นพระโอรสในเจ้าชายสิทธัตถะ (พระโคตมพุทธเจ้า) กับพระนางยโสธรา ประสูติในวันที่พระบิดาออกผนวช ในพระไตรปิฎกว่า เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อได้ทราบว่าพระราชโอรสประสูติ ทรงเปล่งอุทานออกมาว่า "ราหุ ชาโต พันธนัง ชาตัง" แปลว่า "'ราหุ (บ่วง) เกิดขึ้นแล้ว พันธนาการเกิดขึ้นแล้ว" หมายความว่า พระกุมารที่ประสูติจะเป็นบ่วงร้อยรึงพระองค์ไว้กับภริยาและชีวิตฆราวาส ซึ่งพระเจ้าสุทโธทนะทรงนึกว่าสิทธัตถราชกุมารทรงตั้งพระนามโอรสอย่างนั้น จึงทรงขนานนามพระภาคิไนย (พระเจ้าหลาน) ว่า "ราหุล" อันแปลว่า "บ่วง" อย่างไรก็ดี ตามพระวินัยของนิกายสรวาสติวาทว่าพระนาม "ราหุล" มิได้มาจากรากศัพท์ "ราหุ" ที่แปลว่า "บ่วง" แต่มาจากศัพท์ "ราหุ" ที่แปลว่า "จันทรคราส" หรือที่ในภาษาไทยว่า "ราหู" อนึ่ง ในพระไตรปิฎกพระธรรมบท มีตอนหนึ่งว่า ความปิติปราโมทย์ที่บุรุษได้รับจากภริยาและบุตร คือ "ราหุ" (แปลว่า "บ่วง") ที่ร้อยรึงชีวิตครอบครัวผ่านประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าทุกข์หรือสุข พระราหุลกุมารทูลขอราชสมบัติจากพระโคตมพุทธเจ้า เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าและเสด็จไปเผยแผ่พุทธศาสนา ณ แคว้นมคธ ก็ทรงนิวัติกลับกรุงกบิลพัสดุ์ เพื่อโปรดพระบิดาและพระญาติประยูร และมีเหล่าสาวกติดตามเสด็จมาด้วย วันหนึ่งพระนางยโสธราทรงได้พระราหุล และมีรับสั่งให้พระกุมารราหุลไปทูลขอพระราชสมบัติ พระพุทธเจ้าจึงทรงบรรพชาพระราหุลเป็นสามเณรและให้เสด็จติดตามพระองค์ไปด้วย พระกุมารราหุลจึงเป็นสามเณรรูปแรกในพุทธศาสนา พระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบข่าวพระราหุลได้ทำการบรรพชาเป็นสามเณรในพุทธศาสนาแล้ว ก็ทรงเสียพระทัยมาก เพราะทรงหวังให้พระราหุลเป็นรัชทายาทสืบราชสันติวงศ์ต่อไป พระองค์จึงเสด็จไปตัดพ้อต่อว่าพระพุทธเจ้า และทูลขอว่า ต่อไปถ้าจะบวชให้ใครอีก ขอให้มารดาบิดาของผู้จะบวชอนุญาตเสียก่อน พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้เป็นไปตามคำทูลขอ โดยมีข้อกำหนดว่า ผู้ที่จะเข้ามาบวช "จะต้องได้รับอนุญาตจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้บังคับบัญชาเสียก่อน" สามเณรราหุลบรรพชาเมื่ออายุ 7 ปี พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมให้ฟังมากมายหลายเรื่อง เมื่ออายุครบ 20 ปี ก็ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ท่านได้ตามเสด็จพระพุทธเจ้าไปยังป่าอันธวัน แขวงเมืองไพศาลี แคว้นวัชชี หลังจากได้ฟัง "จูฬราหโลวาทสูตร" จากพระพุทธองค์ ก็สำเร็จบรรลุเป็นพระอรหันต์ พระราหุลเถระ ได้รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ว่า "เอตทัคคะ"(ผู้เลิศกว่าคนอื่นในด้านใคร่การศึกษา) คือ ชอบการศึกษาหรือขยันหมั่นในการเล่าเรียน พระราหุลเถระนิพพานเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานระบุชัด ทราบเพียงว่า ท่านปรินิพพานก่อนพระอัครสาวกทั้งสอง และก่อนพระพุทธเจ้า โดยการทูลลาพระพุทธเจ้าไปนิพพานที่สวรรค์ชั้นดาวดึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระราหุล · ดูเพิ่มเติม »

พระราหู

ระราหู (राहु ราหู) เป็นอสูรและเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่งตามคติของศาสนาฮินดูและศาสนาพุท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระราหู · ดูเพิ่มเติม »

พระวักกลิ

ระวักกลิ เป็นพระอรหันต์สาวกองค์หนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า ทรงยกย่องท่านเป็นเอตทัคคะในฝ่ายสัทธาธิมุต (ผู้พ้นจากกิเลสได้ด้วยศรัทธา).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระวักกลิ · ดูเพิ่มเติม »

พระวัปปเถระ

ระวัปปะ หรือ พระวัปปะเถระ เป็นพระภิกษุสาวกของพระพุทธเจ้า เป็นหนึ่งในปัญจวัคคีย์ และพระอสีติมหาสาวก พระวัปปะ เมื่อได้ตรัสรู้ธรรมแล้ว มีบทบาทสำคัญในการช่วยเผยแพร่พระพุทธศาสนาในช่วงต้นพุทธกาล ท่านดำรงอายุพอสมควรแก่กาลก็ดับขันธปรินิพพาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระวัปปเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิษณุ

ลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. ศิลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. พระวิษณุ (विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ (नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร") โดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระแม่ลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑ พระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ"ได้แบ่งตนเองออกเป็น 3 คือ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระวิษณุ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิปัสสีพุทธเจ้า

ระวิปัสสีพุทธเจ้า (Vipassī Buddha; Vipaśyīn Buddha; 毗婆尸佛) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 19 ในพุทธวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้า ตรัสรู้เมื่อ 91 มหากัปที่แล้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระวิปัสสีพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระศรีอริยเมตไตรย

ระศรีอริยเมตไตรย หรือพระเมตไตรย (Metteyya เมตฺเตยฺย; मैत्रेय ไมเตฺรย) เป็นพระโพธิสัตว์ผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 5 และองค์สุดท้ายแห่งภัทรกัปนี้ พุทธศาสนิกชนเชื่อว่าเมื่อศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าสิ้นสุดไปแล้ว โลกจะล่วงเข้าสู่ยุคแห่งความเสื่อมถอย อายุขัยของมนุษย์ลดลงจนเหลือ 10 ปี ก็เข้าสู่ยุคมิคสัญญี ผู้สลดใจกับความชั่วก็หันมารวมกลุ่มกันทำความดี จากนั้นอายุขัยเพิ่มขึ้นถึง 1 อสงไขยปี แล้วจึงลดลงอีกจนเหลือ 80,000 ปี ในยุคนี้จะมีพระโพธิสัตว์ที่บำเพ็ญบารมีครบ 80 อสงไขยแสนมหากัป ลงมาตรัสรู้เป็น พระเมตไตรยพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระศรีอริยเมตไตรย · ดูเพิ่มเติม »

พระศิลา

ระศิลา หรือ พระศีลา เป็นพระพุทธรูปปางโปรดช้างนาราคีฬี แกะสลักด้วยหินชนวนดำ(บางตำนานว่าเป็นหินแดง) ฝีมือช่างปาละของอินเดียและสลักตามคติเดิมของอินเดีย พุทธลักษณะของพระศิลาคือ ประทับยืนเยื้องพระองค์บนฐานบัวภายใต้ซุ้ม พระหัตถ์ขวาทอดลงเหนือหัวช้างซึ่งหมอบอยู่ พระหัตถ์ซ้ายยกในท่าประทานอภัยหรือแสดงธรรม พระอานนท์ยืนถือบาตรอยู่ด้านซ้าย ปัจจุบันประดิษฐานคู่กับพระเสตังคมณี (พระแก้วขาว) ภายในพระวิหารวัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระศิลา · ดูเพิ่มเติม »

พระสรณังกรพุทธเจ้า

ระสรณังกรพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ ๓ พระพุทธเจ้าองค์ต่อไปคือ พระทีปังกรพุทธเจ้า ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าองค์สุดท้ายของกัปนั้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระสรณังกรพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระสารีบุตร

ระสารีบุตร (ศฺริปุตฺร; สาริปุตฺต) เป็นพระภิกษุชาวอินเดีย ผู้เป็นอัครสาวกเบื้องขวาของพระโคตมพุทธเจ้า ได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่าเป็นเลิศกว่าพระภิกษุทั้งปวงในด้านสติปัญญา นอกจากนี้ พระสารีบุตรยังมีคุณธรรมในด้านความกตัญญู และการบำเพ็ญประโยชน์ให้แก่พุทธศาสนาอีกด้วย จึงมีคำยกย่องภิกษุรูปนี้ว่าเป็น "ธรรมเสนาบดี" (แม่ทัพธรรม) คู่กับพระพุทธเจ้าที่เป็น "ธรรมราชา" พระสารีบุตรเกิดเมื่อใดไม่ปรากฏ แต่นิพพานเมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนกฤติกา (เดือนสิบสอง) ก่อนพระพุทธเจ้าปรินิพพาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระสารีบุตร · ดูเพิ่มเติม »

พระสิทธัตถพุทธเจ้า

ระสิทธัตถพุทธเจ้า (Siddhattha Buddha) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 16 ในพุทธวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้า ตรัสรู้เมื่อ 94 มหากัปที่แล้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระสิทธัตถพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระสิขีพุทธเจ้า

ระสิขีพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้เมื่อ 31 กัปที่แล้วมธุรัตถวิลาสินี,, อรรถกถา ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ นับเป็นพระองค์ที่ 20 ในพุทธวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระสิขีพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระสุมังคลสัมพุทธเจ้า

ระสุมังคลสัมพุทธเจ้าปรากฏในเรื่อง อนาคตวงศ์ ครั้นเมื่อศาสนาของพระติสสะสัมพุทธเจ้าเสื่อมในมัณฑกัปป์เดียวกันนี้จะมีพระพุทธเจ้า องค์ถัดไป ชื่อว่า พระสุมังคลสัมพุทธเจ้า โดยพระโพธิสัตว์ในสมัยของพระโคตมพุทธเจ้าได้เสวยพระชาติเป็น ช้างปาลิไลยก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระสุมังคลสัมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระสุมนพุทธเจ้า

หลังจากศาสนาของพระมังคละพุทธเจ้าล่วงไป จึงได้ถึงสมัยของพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า พระสุมนะพุทธเจ้า บังเกิดขึ้นในอันตรกัปถัดมาในสารมัณฑกัปเดียวกัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระสุมนพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระสงฆ์

ระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้ พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์ คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะได้บรรลุธรรมตามพระพุทธเจ้าสั่งสอนไว้ ถือเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา พระภิกษุปฏิบัติตามสิกขาบทที่กำหนดไว้จำนวน 227 ข้อ ส่วนพระภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ บางครั้งเรียกว่าสงฆ์ ภิกษุรูปแรกในพระศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าคือพระอัญญาโกณฑัญญ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระสงฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอชิตะ

ระอชิตะ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระอชิตะ · ดูเพิ่มเติม »

พระอชิตเถระ

ระอชิตเถระ เป็นศิษย์ของพราหมณ์พาวรีที่ถูกส่งมาทูลถามปัญหาทั้ง 16 ต่อพระพุทธเจ้า ณ ปาสาณเจดีย์ โดยอชิตมาณพเป็นหัวหน้าคณะศิษย์ทั้ง 16 ของพราหมณ์พาวรี ต่อมาทั้งหมดได้บรรลุธรรมและอุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการช่วยพระพุทธเจ้าเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดยนับเนื่องในพระอสีติมหาสาวก 80 องค์สำคัญของพระพุทธศาสนา ต่อมาพราหมณ์พาวรี ได้ทราบข่าวว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ผู้เป็นราชโอรสของพระเจ้าศากยะผนวช ปฏิญาณพระองค์ว่าเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ แสดงธรรมสั่งสอนประชาชน มีคนเชื่อและเลื่อมใสยอมเป็นสาวกปฏิบัติตามคำสั่งสอนเป็นจำนวนมาก พราหมณ์พาวรีมีความประสงค์จะทราบข้อเท็จจริง จึงเรียกมาณพผู้เป็นศิษย์ 16 คน มีอชิตมาณพเป็นหัวหน้า ผูกปัญหาให้คนละหมวด ให้ไปลองกราบทูลถามดู อชิตมาณพพร้อมด้วยมาณพอีก 15 คนลาพราหมณ์พาวรีผู้เป็นอาจารย์ แล้วพากันไปเฝ้าสมเด็จพระบรมศาสดาที่ปาสาณเจดีย์ แคว้นมคธ กราบทูลขอโอกาสถามปัญหาคนละหมวด เมื่อพระบรมศาสดาทรงประทานอนุญาตแล้ว อชิตมาณพผู้เป็นหัวหน้าจึงกราบทูลปัญห.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระอชิตเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พระอภิธรรมปิฎก

ระอภิธรรมปิฎก (Abhidhammapiṭaka) เป็นปิฎกฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามใน "พระไตรปิฎกภาษาบาลี" (Pali Canon) อภิธรรม แปลว่า "ธรรมอันยิ่ง" ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วน ๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเล.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระอภิธรรมปิฎก · ดูเพิ่มเติม »

พระอัสสชิเถระ

ระอัสสชิ หรือ พระอัสสชิเถระ เป็นพระภิกษุสาวกของพระพุทธเจ้า เป็นหนึ่งในปัญจวัคคีย์ และพระอสีติมหาสาวก พระอัสสชิ เมื่อได้ตรัสรู้ธรรมแล้ว มีบทบาทสำคัญในการช่วยเผยแพร่พระพุทธศาสนาในช่วงต้นพุทธกาล ด้วยความเป็นผู้มีมารยาทน่าเลื่อมใสของท่าน ทำให้ท่านเป็นภิกษุรูปแรกที่ทำให้อุปติสสมาณพ ซึ่งต่อมาคือพระสารีบุตร เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ท่านเป็นผู้กล่าวคาถาสำคัญยิ่งคาถาหนึ่งในพระพุทธศาสนาคือพระคาถา เย ธมฺมา เหตุปฺปภว... พระคาถานี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระคาถาสำคัญบทหนึ่งในพระพุทธศาสนา เพราะกล่าวถึงความเป็นเหตุผลและจุดมุ่งหมายในพระพุทธศาสนาไว้ในคาถาเดียว ท่านดำรงอายุพอสมควรแก่กาลก็ดับขันธปรินิพพาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระอัสสชิเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พระอานนท์

ระอานนท์ เป็นพระอรหันต์สาวกของพระโคตมพุทธเจ้า ทรงยกย่องท่านว่าเป็นเอตทัคคะผู้เลิศกว่าพระภิกษุสาวกทั้งหลาย 5 ประการ คือ เป็นพหูสูต มีสติ มีคติ มีธิติ และเป็นพุทธอุปัฏฐาก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระอานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ตั้งชื่อตามพระอุบาลี พระอรหันต์สาวกของพระโคตมพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า

หลังจากศาสนาของพระโสภิตะพุทธเจ้าอันตรธานไป เป็นช่วงเวลาที่ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้าถึงอสงไขยหนึ่ง เรียกว่า ชัยยะอสงไขย ล่วงมาถึงวรกัปหนึ่งมีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ ๓ พระองค์ พระพุทธเจ้าองค์แรกทรงพระนามว่า พระอโนมทัสสีพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระอโนมทัสสีพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวโรดม

ระธรรมวโรดม เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระธรรมวโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระธรณี

วัดท่าสุทธาวาส พระแม่ธรณี หรือ พระศรีวสุนธรา ภาษากะเหรี่ยงว่า ซ่งทะรี่ เป็นเทพีแห่งพื้นแผ่นดิน ปรากฏในตำนานทั้งศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ในคติของศาสนาฮินดูให้ความเคารพนับถือว่าแผ่นดินเป็นสิ่งค้ำจุนสรรพสิ่งทั้งปวงในโลกเปรียบเสมือนมารดาผู้ให้กำเนิดหล่อเลี้ยงโลกและแผ่นดิน จึงได้รับยกย่องว่าเป็นเทพจากธรรมชาติองค์หนึ่งเป็นเพศหญิง เรียกนามว่า "ธรณิธริตริ" แปลว่า "ผู้ค้ำจุนพระธรณี" แม้จะมิค่อยมีรูปเคารพอย่างแพร่หลายเช่นเทพองค์อื่นแต่ก็มีผู้ให้ความเคารพนับถือเป็นจำนวนมิใช่น้อย เพราะถือกันว่าพระธรณีสถิตย์อยู่ตามที่ต่าง ๆ ทุกหนทุกแห่ง จะทำการบูชาด้วย ข้าว ผลไม้ และนมด้วยการวางไว้บนก้อนหิน หรือประพรมลงบนพื้นดิน บางแห่งใช้เหล้าเป็นการสังเวยก็มี นอกจากนี้ชาวฮินดูยังมีการขอขมาลาโทษเมื่อจะวางเท้าลงบนพื้นดินก่อนจะลุกขึ้นในตอนเช้า วัวหรือควายที่มีลูกก่อนที่จะให้ลูกกินนมครั้งแรก เจ้าของจะปล่อยน้ำนมของแม่วัวลงบนพื้นดินเสียก่อนทุกครั้งไป ถ้าเป็นพวกชาวนาก็จะขอให้พระธรณีช่วยคุ้มครองผืนนาและวัวควาย แม้ในพระเวทก็มีการขอร้องต่อพระธรณีให้ช่วยพิทักษ์คุ้มครองวิญญาณของคนตาย และต่อมาได้นับถือว่าเป็นเทพแห่งไร่นาด้วย ในแคว้นปัญจาบเชื่อกันว่าพระธรณีจะนอนหลับเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ของทุก ๆ เดือนชาวไร่ชาวนาจะหยุดไม่ทำงานในระยะนี้ เทพแห่งแผ่นดินหรือพระธรณี ไม่ค่อยมีเรื่องราวประวัติความเป็นมาปรากฏมากมายดังเช่นเทพองค์อื่น หรือมีก็สับสน เช่น บางแห่งว่าพระธรณีมีโอรสกับพระนารายณ์องค์หนึ่งคือพระอังคาร บางแห่งว่าพระอังคารเป็นโอรสของพระศิวะกับพระธรณี หรือในคติพราหมณ์พบเพียงว่าเป็นชายาของพระธุรวะหรือดาวเหนือ ในพุทธศาสนา พระแม่ธรณีปรากฏกายเพื่อบีบน้ำจากมวยผมให้ท่วมทัพท้าววสวัตตีที่มาผจญพระโคตมพุทธเจ้าในคืนวันตรัสรู้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระธรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระธาตุไจทีโย

ระธาตุไจทีโย หรือ พระธาตุอินทร์แขวน (ကျိုက်ထီးရိုးဘုရား,; ကျာ်သိယဵု) เป็นเจดีย์ที่จาริกแสวงบุญของพุทธศาสนิกชน ตั้งอยู่ในรัฐมอญ ประเทศพม่า เป็นพระเจดีย์ขนาดเล็ก สร้างขึ้นบนก้อนหินแกรนิตที่ปิดด้วยทองคำเปลวโดยผู้ที่นับถือศรัทธา เชื่อว่าพระธาตุไจทีโยเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า ตั้งอยู่บริเวณหน้าผาสูงชันบนยอดเขาไจทีโยอย่างหมิ่นเหม่ เหมือนจะหล่นและท้าทายแรงดึงดูดของโลกโดยไม่ตกลงมา ตามตำนานระบุว่าฤๅษีติสสะเป็นผู้หนึ่งที่ได้รับพระเกศาจากพระพุทธเจ้าและนำมาไว้ในมวยผม ตั้งใจจะนำพระเกศาไปบรรจุไว้ในก้อนหินที่มีรูปร่างคล้ายกับศีรษะของฤๅษี ท้าวสักกเทวราช (พระอินทร์) จึงช่วยเสาะหาก้อนหินดังกล่าวจากใต้ท้องมหาสมุทรและนำมาวางไว้บนภูเขา พระธาตุไจทีโยนับเป็น 1 ใน 5 สิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของชาวพม่า ปัจจุบันผู้หญิงไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าไปด้านในบริเวณพระธาตุ ซึ่งดูแลโดยพนักงานรักษาความปลอดภัยซึ่งเฝ้าประตูรั้วรอบขอบชิด ผู้หญิงสามารถเข้าออกได้ที่ระเบียงด้านนอกและลานด้านล่างของก้อนหิน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระธาตุไจทีโย · ดูเพิ่มเติม »

พระทีปังกรพุทธเจ้า

ระทีปังกรพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้ในโลกเมื่อ 4 อสงไขยแสนกัปที่แล้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระทีปังกรพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · ดูเพิ่มเติม »

พระคาถาพาหุง

ระพุทธชัยสิทธิมงคลคาถา หรือมักเรียกว่า พระคาถาพาหุง ตามวรรคแรกของพระคาถา หรือในภาษาบาลีเรียก พาหุงมหาการุณิโก หรือ พาหุงมหากา เป็นชื่อพระคาถาในพระพุทธศาสนา มีความยาวแปดบท ใช้สวดสรรเสริญชัยชนะแปดประการที่พระสมณโคดมทรงมีเหนือมนุษย์และอมนุษย์ด้วยธรรมานุภาพ มิใช่ด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ พระคาถานี้ปัจจุบันมักใช้สวดต่อจากคาถาทำวัตรเช้าหรือเย็น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระคาถาพาหุง · ดูเพิ่มเติม »

พระตัณหังกรพุทธเจ้า

ระตัณหังกรพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าองค์แรกในสารมณฑกัป ของเมื่อ 4 อสงไขยกับแสนกัปที่แล้ว พระพุทธเจ้าองค์ต่อไปคือ พระเมธังกรพุทธเจ้า ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ ๒ ของกัปนั้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระตัณหังกรพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระติสสพุทธเจ้า

ระติสสพุทธเจ้า (Tissa Buddha) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 17 ในพุทธวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้า ตรัสรู้เมื่อ 92 มหากัปที่แล้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระติสสพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระติสสสัมพุทธเจ้า

ระติสสสัมพุทธเจ้า ปรากฏในเรื่อง อนาคตวงศ์ ครั้นเมื่อศาสนาของพระนรสีหสัมพุทธเจ้า เสื่อมลง แผ่นดินถูกทำลายไป และเกิดแผ่นดินใหม่ที่ไม่มีพระพุทธเจ้า บังเกิดเรียกว่า สุญญกัปป์ จนแผ่นดินนี้ถูกทำลายไป เกิดแผ่นดินใหม่ชื่อว่ามัณฑกัปป์จะมีพระพุทธเจ้า สองพระองค์เกิดขึ้นองค์หนึ่งนามว่า พระติสสสัมพุทธเจ้า โดยในสมัย พระโคตมพุทธเจ้า ท่านเสวยพระชาติเป็นช้างชื่อ นาฬาคิรีอีกองค์หนึ่งนามว่า พระสุมังคละสัมพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระติสสสัมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระประภูตรัตนะ

ระประภูตรัตนะ เป็นพระพุทธเจ้าตามความเชื่อของฝ่ายมหายาน นิยมนับถือในประเทศจีน แต่ไม่พบในอินเดีย ในคัมภีร์สัทธรรมปุณฑรีกสูตรกล่าวว่าเป็นพระพุทธเจ้าในอดีตที่จะปรากฏพระองค์ทุกครั้งที่มีการแสดงพระสัทธรรมปุณฑริกสูตร ซึ่งรวมทั้งในการแสดงพระสูตรนี้ของพระศากยมุนีพุทธเจ้าด้วย เป็นหนึ่งในคำสอนที่ยืนยันความเชื่อของฝ่ายมหายานว่าความเป็นพระพุทธเจ้ามิได้สิ้นสุดลงที่การปรินิพพานแต่จะคงอยู่ในโลกต่อไปในอนาคตอันยาวนานด้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระประภูตรัตนะ · ดูเพิ่มเติม »

พระปุสสพุทธเจ้า

ระปุสสพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งที่ตรัสรู้เมื่อ 92 กัปที่แล้ว และนับเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 18 ในพุทธวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้า เรื่องราวของพระองค์ปรากฏในคัมภีร์พุทธวงศ์และมธุรัตถวิลาสินี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระปุสสพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระปทุมพุทธเจ้า

ระปทุมพุทธเจ้า หลังจากพระศาสนาของพระอโนมทัสสีพุทธเจ้าได้ล่วงไปแล้ว จึงได้ถึงสมัยของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า พระปทุมะพุทธเจ้า ซึ่งอยู่ในอันตรกัปถัดมาในวรกัปเดียวกัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระปทุมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระปทุมุตรพุทธเจ้า

ระปทุมุตรพุทธเจ้า หลังจากพระศาสนาของพระนารทะพุทธเจ้าอันตรธานไปแล้ว เป็นช่วงเวลาที่ว่างจากพระพุทธเจ้าถึงหนึ่งอสงไขยกัป เรียกว่า รุจิอสงไขย เมื่อเวลาผ่านไปจนถึงมัณฑกัปหนึ่ง มีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ 1 พระองค์ ทรงพระนามว่า พระปทุมุตระพุทธเจ้า (พระองค์ทรงอุบัติขึ้นเพียงพระองค์เดียว แต่เปรียบเสมือนมีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ 2 พระองค์ บางตำราก็ว่าเป็นสารกัป).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระปทุมุตรพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระนรสีหสัมพุทธเจ้า

ระนรสีหสัมพุทธเจ้า ปรากฏในเรื่อง อนาคตวงศ์ ครั้นเมื่อศาสนาของพระเทวเทพสัมพุทธเจ้า เสื่อมลง ในมัณฑกัปป์เดียวกันนี้จะมีพระพุทธเจ้า อีกพระองค์หนึ่งนามว่า พระนรสีหสัมพุทธเจ้าโดยในสมัย พระโคตมพุทธเจ้า ท่านคือโตไทยพราหมณ์ โดยพระองค์ได้บำเพ็ญบารมี 30 ทัศน์มาอย่างยิ่งยวด โดยมีปรมัตถบารมีหนึ่งคือ ในสมัยช่วงระหว่าง พระกัสสปะพุทธเจ้า และพระโคตมพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ได้เกิดเป็นมาณพ ชื่อว่า นันทมาณพ มีอาชีพเป็นพ่อค้า ครั้งนั้น มีพระปัจเจกพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกำลังบิณฑบาตอยู่ มาณพนี้ได้พบก็บังเกิดความเลื่อมใสเป็นอย่างมาก จึงเอาผ้ากัมพลสีแดงผืนหนึ่งกับทองคำแสนตำลึง ทำเป็นเครื่องไทยธรรมถวายแด่พระปัจเจกพุทธเจ้า และตั้งจิตอธิษฐานด้วยผลทานที่กระทำนี้ขอให้ได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคต พระปัจเจกพุทธเจ้ารับเครื่องไทยธรรมนั้นไว้และนำผ้ามาคลุมกายโดยรอบ ยังเหลือแค่พระหัตถ์กับพระบาทเท่านั้น เมื่อมาณพเห็นดังนั้น จึงตั้งจิตอธิษฐานอีกว่า ขอให้มีเดชานุภาพแผ่ทั่วราชอาณาจักร พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงอนุโมทนาและก็จากไป ระหว่างทางพระปัจเจกพุทธเจ้าได้พบหญิงสาวผู้หนึ่งซึ่งหญิงสาวนี้พอเห็นพระ ห่มผ้าแดงก็สอบถามว่าผ้าที่สวยงามนี้ใครเป็นผู้ถวาย พระปัจเจกพุทธเจ้าก็บอกถึง มาณพ และความปรารถนา 2 ประการของมาณพนั้น ความปรารถนาหนึ่ง คือ เป็นพระพุทธเจ้า และอีกความปรารถนาหนึ่งคือ เป็นกษัตริย์ เมื่อหญิงสาวได้ยินดังนั้น จึงทำบุญตามมาณพนั้นและปรารถขอเมื่อมาณพนั้นเป็นกษัตริย์แล้วก็ขอให้ตนได้เป็นมเหสีแห่งกษัตริย์นั้น และด้วยบุญนี้ทั้งสองคนจึงได้อยู่กินเป็นสามีภรรยากันในชาตินี้ และยังสร้างศาลาหลังหนึ่งไว้ พร้อมจ้างช่างมาแกะสลักรูปพระปัจเจกพุทธเจ้าประดิษฐานไว้ในศาลา ฝ่ายหญิงยังโกนเอาผมชุบน้ำมันหอม ทำเป็นไส้ปทีปสักการบูชาพระปัจเจกพุทธเจ้า เมื่อทั้งสอง สิ้นอายุขัยเกิดในสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์เสวยทิพยสมบัติอยู่นาน จนสิ้นอายุขัยก็จุติเป็น บรมกษัติย์แห่ง เมืองทวารวดี ฝ่ายหญิงก็เกิดในตระกูลเศรษฐี พออายุได้ 16 ปีก็ได้มาเป็นมเหสีแห่งกษัตริย์นามว่า พระมงคลราชเทวี มียศถาบรรดาศักดิ์พร้อมด้วยบริวารถึง 1 ล้าน ส่วนกษัตริย์ ก็มีสนมถึง 16 ล้านด้วยกัน วันหนึ่ง กษัตริย์มีพระประสงค์ทดลองบุญของ พระมงคลราชเทวี ให้ประจักษ์แก่เหล่าสนมทั้งหลาย จึงสั่งให้สนมเตรียมสำรับคนละที่และมาบริโภคตรงหน้าพระที่นั่ง สนมทุกคนก็บริโภคเป็นปกติ หาได้มีความแปลกประหลาดอันใด แต่พอพระมงคลราชเทวี ทรงนั่งและล้างพระหัตถ์ รับเอาอาหารขึ้นเข้าไปในพระโอษฐ์ ปรากฏว่านิ้วพระหัตถ์ของนางกลายเป็นทองคำทุกนิ้ว เป็นอย่างนี้ทุกคำที่เสวย ด้วยผลบุญที่กระทำอย่างประณีตแต่ปางก่อน พอเหล่าสนมเห็นดังนั้น จึงรู้ว่าพระมเหสี มีบุญหาควรเทียบเทียมไม่ ตั้งแต่วันนั้นมาจึงเกิดความยำเกรงต่อมเหสีเป็นอันมาก พระนรสีหสัมพุทธเจ้ามีพระวรกายสูง 60 ศอก มีพระชนมายุ 8 หมื่นปี มีรัศมีรุ่งเรืองสว่างไสว มีไม้แคฝอยเป็นมหาโพธิ มีต้นกัลปพฤกษ์ ต้นหนึ่งพร้อมข้าวสาลีอันหอมให้มนุษย์ทั้งหลายได้บริโภค ผิวพรรณมนุษย์เป็นสีทอง พระองค์เสด็จไปที่ใดก็จะมีเศวตฉัตรแก้วบังเกิดอยู่ตลอดเวล.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระนรสีหสัมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระนอนชเวตาลยอง

ระพุทธไสยาสน์ชเวตาลยอง หรือ พระนอนชเวตาลยอง (ရွှေသာလျှောင်းဘုရား; ชื่อเต็ม) เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ทางทิศตะวันตกของเมืองหงสาวดี องค์พระมีความยาว สูง เป็นพุทธศิลป์แบบมอญ เชื่อว่าได้รับการสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระนอนชเวตาลยอง · ดูเพิ่มเติม »

พระนันทะ

ระนันทเถรศากยะ หรือ พระนันทเถระ เป็นพระภิกษุสาวกเอตทัคคะในศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้า นับเนื่องในพระอสีติมหาสาวก 80 องค์สำคัญในพระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล พระนันทเถรศากยะเป็นพระประยูรญาติของเจ้าชายสิทธัตถะ โดยท่านเป็นพระภาดา ผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระมาตุจฉาของเจ้าชายสิทธัตถะ ผู้ซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนันทเถรศากยะ ออกผนวชด้วยความจำใจ เพราะมีความเกรงใจต่อพระพุทธเจ้าที่ชวนท่านออกผนวชในวันที่ท่านจะอภิเษกสมรสกับนางชนบทกัลยาณี ทำให้ในช่วงแรกที่ท่านออกผนวชท่านไม่ได้มีความตั้งใจในการปฏิบัติธรรมเลยเพราะความกระสันใคร่จะลาผนวช แต่หลังจากท่านได้สติแล้วจึงได้ตั้งใจบำเพ็ญเพียรจนบรรลุพระอรหันต์ได้ในที่สุด โดยหลังบรรลุธรรมแล้วท่านกลับกลายเป็นผู้ที่มีความสำรวมระวังอินทรีย์เป็นอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องท่านให้เป็นพระเอตทัคคะผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้าน ผู้ทรงอินทรีย์สังวร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระนันทะ · ดูเพิ่มเติม »

พระนารทพุทธเจ้า

หลังจากพระศาสนาของพระปทุมพุทธเจ้าล่วงไปแล้ว จึงได้ถึงสมัยของพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า พระนารทพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าองค์สุดท้ายในวรกัปเดียวกัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระนารทพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระนางสิริมหามายา

มายาเทวี (मायादेवी) หรือ สิริมหามายา เป็นพระมารดาของพระโคตมพุทธเจ้า พระศาสดาแห่งศาสนาพุทธ และเป็นพระเชษฐภคินีของพระมหาปชาบดีโคตมีเถรี ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนา Buddhist Goddesses of India by Miranda Shaw (Oct 16, 2006) pages 45-46History of Buddhist Thought by E. J. Thomas (Dec 1, 2000) pages เอกสารทางพุทธศาสนาระบุว่า พระนางสิริมหามายาสวรรคตหลังประสูติการพระโคตมพุทธเจ้าได้เพียง 7 วัน เพราะสงวนครรภ์ไว้แด่พระโพธิสัตว์เพียงพระองค์เดียว หลังจากนั้นพระองค์จึงจุติบนสวรรค์ตามคติฮินดู-พุทธ ส่วนพระราชกุมารนั้นได้รับการอภิบาลโดยพระนางมหาปชาบดีโคตมี พระขนิษฐาที่ต่อมาได้เป็นอัครมเหสีในพระเจ้าสุทโธทนะ พระนาม "มายา" เป็นคำสันสกฤตมีความหมายว่า "ภาพลวงตา" บ้างออกพระนามเป็นมหามายา (महामाया, มายาผู้ยิ่งใหญ่) หรือมายาเทวี (मायादेवी, มายาผู้เป็นนางกษัตริย์).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระนางสิริมหามายา · ดูเพิ่มเติม »

พระนิชิเร็ง

อนุสาวรีย์พระนิชิเร็น ด้านนอกฮอนโนะจิ ใน อำเภอเทะระมะชิ กรุงเกียวโต พระนิชิเร็ง (日蓮) หรือ พระนิชิเร็งไดโชนิน (ใช้ในนิกายนิชิเร็งโชชู) เป็นพระภิกษุชาวญี่ปุ่น ซึ่งนิกายนิชิเร็งโชชูเชื่อว่าท่านเป็นพระพุทธเจ้าแท้จริง ท่านคือผู้สถาปนาและริเริ่มเผยแผ่คำสอน "นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว" บนพื้นฐานของสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อันเป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็ง ซึ่งปัจจุบันได้แตกกิ่งก้านออกไปเป็นนิกายย่อย ๆ ประมาณ 32 นิกายในญี่ปุ่น และมีหลายลัทธิยืมคำสอนของท่านไปใช้ด้วย นิกายหลัก ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือนิชิเร็งโชชูและนิชิเร็งชู แต่นิกายแรกจะเป็นที่รู้จักมากกว่าเพราะมีสานุศิษย์กระจายอยู่ทั่วโลกแม้แต่ในเมืองไทย ตลอดชีวิตของพระนิชิเร็ง ท่านทุ่มเทเผยแผ่คำสอน โดยท่านเรียกร้องให้ชาวญี่ปุ่นละทิ้งคำสอนของนิกายและความเชื่อต่าง ๆ หันมายึดมั่นในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรแต่เพียงพระสูตรเดียว เพราะท่านกล่าวว่าเป็นพระสูตรที่สูงส่งที่สุดและเป็นเจตนาที่แท้จริงของพระศากยมุนีพุทธเจ้า เมื่อทำเช่นนั้นแล้วจึงจะช่วยให้ประเทศญี่ปุ่นสงบสุข มั่นคง รอดพ้นจากปัญหานานาประการทั้งจากภัยธรรมชาติ ฤดูกาลแปรปรวน โรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำรุนแรง กบฏภายใน และภัยจากจักรวรรดิมองโกล ซึ่งญี่ปุ่นกำลังเผชิญอยู่ในขณะนั้น แต่หนทางในการเผยแผ่คำสอนของพระนิชิเร็งไม่เรียบง่าย บางครั้งถึงขั้นต้องแลกกับชีวิต ด้วยเหตุนี้วงการพุทธศาสนามหายานจึงสดุดีท่านว่า ผู้อุทิศชีวิตต่อสัทธรรมปุณฑรีกสูตร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระนิชิเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่องค์ธรรม

อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''พระแม่องค์ธรรม'''' พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา พระแม่องค์ธรรม (老母 เหลาหมู่)สายทอง (พงศาธรรม ๑), ศุภนิมิต ผู้แปล, กรุงเทพฯ: ส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ม.ป.ป., หน้า 9 คือพระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิบัวขาว รวมถึงลัทธิศาสนาต่าง ๆ ในประเทศจีนที่สืบมาจากลัทธินี้ด้วย เช่น ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิถงซั่นเซ่อ ลัทธิฉือฮุ่ยถัง ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลัทธิเต้าเยวี่ยน, Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระแม่องค์ธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิสัตว์

ระปรัชญาปารมิตา ชวา ศิลปะศรีวิชัย พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ศิลปะขอม วัดโทได พระโพธิสัตว์ (बोधिसत्त्व bodhisattva; बोधिसत्त bodhisatta) หมายถึง ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า คำว่า "โพธิสัตว์" แปลว่า ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานเชื่อว่ามีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมาก แต่รายละเอียดความเชื่อแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิธรรม

'''"พระโพธิธรรม"''' โดยโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) พระโพธิธรรม (โพธิธรฺม, เทวนาครี बोधिधर्म; อักษรโรมัน (NLAC): bōdhidharma; 菩提達摩, พินอิน: Pútídámó, Dámó) แต่ในนิยายกำลังภายในในประเทศไทยมักเรียก ตักม้อ หรือ ตั๊กม้อ (สำเนียงแต้จิ๋ว ตรงกับจีนกลางว่า ต๋าหมอ) เป็นพระภิกษุในศาสนาพุทธฝ่ายมหายานนิกายเซน มีประวัติไม่ชัดเจนนัก แต่เชื่อกันว่ามีตัวตนอยู่จริง และเป็นผู้สถาปนาวัดเส้าหลิน ในจีน ทั้งยังได้เผยแพร่วิชามวยจีนในหมู่พระเณรของวัดเส้าหลิน จนมีชื่อเสียงมาจวบจนทุกวันนี้ ตามตำนานระบุว่า ท่านเกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระโพธิธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระโกณฑัญญพุทธเจ้า

หลังจากพระศาสนาพระทีปังกรพุทธเจ้าอันตรธานไป เกิดแผ่นดินใหม่ที่ไม่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิเลยอยู่ถึง 1 อสงไขยสุญกัป เรียกว่า เสละอสงไขย จากนั้นเกิดแผ่นดินใหม่ มีชื่อว่า สารกัป มีพระพุทธเจ้ามาเกิด 1 พระองค์ ชื่อ พระโกณฑัญญพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระโกณฑัญญพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระไตรปิฎก

ระไตรปิฎก (Tipiṭaka; त्रिपिटक) เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระไตรปิฎก · ดูเพิ่มเติม »

พระเมธังกรพุทธเจ้า

ระเมธังกรพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ ๒ ในสารมณฑกัปของเมื่อ 4 อสงไขยกับแสนกัปที่แล้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเมธังกรพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พระเรวตพุทธเจ้า

ระเรวตพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าอีกพระองค์หนึ่ง หลังจากศาสนาของพระสุมนะพุทธเจ้าล่วงไป จึงได้ถึงสมัยของพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า พระเรวตะพุทธเจ้า บังเกิดขึ้นในอันตรกัปถัดมาซึ่งเป็นสารมัณฑกัปเดียวกัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเรวตพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเวสสภูพุทธเจ้า

ระเวสสภูพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้เมื่อ 31 กัปที่แล้วมธุรัตถวิลาสินี,, อรรถกถา ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ นับเป็นพระองค์ที่ 21 ในพุทธวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเวสสภูพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าพิมพิสาร

กหลวงเมืองราชคฤห์ สถานที่พระเจ้าพิมพิสารถูกจองจำจนเสด็จสวรรคตในช่วงบั้นปลายของชีวิต พระเจ้าพิมพิสาร (-pi; बिम्बिसार, 14 ปีก่อนพุทธศักราช—พ.ศ. 53) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งแคว้นมคธ พระองค์ได้ครองราชสมบัติอยู่เป็นเวลา 52 ปี มีพระอัครมเหสีพระนามว่าเวเทหิ ซึ่งเป็นพระราชธิดาของพระเจ้ามหาโกศลแห่งแคว้นโกศล พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระสหายกับพระโคตมพุทธเจ้าสมัยที่ยังเป็นพระกุมาร ด้วยพระเจ้าสุทโธทนะทรงสนิทสนมกับพระบิดาของพระเจ้าพิมพิสาร พระองค์นับถือพระพุทธศาสนา ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็ง จนแว่นแคว้นของพระองค์มีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วว่าเป็นดินแดนแห่งพระธรรม พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระโสดาบัน มีพระอัครมเหสีพระนามว่าพระนางเวเทหิ เป็นพระกนิษฐาในพระเจ้าปเสนทิโกศล พระเจ้าปเสนทิโกศลก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมเหสีเช่นกัน พระเจ้าพิมพิสารมีพระราชโอรสนามว่าอชาตศัตรู (ผู้เกิดมาไม่เป็นศัตรู) โหรทำนายว่าพระโอรสองค์นี้จะทำปิตุฆาต แต่พระเจ้าพิมพิสารก็มิสนพระทัยต่อคำทำนาย ทรงอบรมให้การศึกษาพระโอรสเป็นอย่างดี เจ้าชายก็อยู่ในพระโอวาทเป็นอย่างดี แต่พอเจ้าชายน้อยได้รู้จักพระเทวทัต ถูกพระเทวทัตหลอกให้เห็นผิดเป็นชอบ จนจับพระเจ้าพิมพิสารขังคุกให้อดพระกระยาหาร และทำการทรมานต่างๆ เช่น กรีดพระบาทของพระเจ้าพิมพิสาร เพื่อให้เดินจงกรมทำสมาธิไม่ได้ เป็นต้น จนพระองค์เสด็จสวรรคต ไปเกิดเป็นยักษ์ชื่อ "ชนวสภะ" ในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา พระเจ้าพิมพิสารเป็นกษัตริย์ผู้ทรงธรรมทรงอุปถัมภ์ศาสนาพุทธเป็นอย่างดี ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญแพร่หลายทั่วแคว้นม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าพิมพิสาร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสุกโกทนะ

ระเจ้าสุกโกทนะ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสีหนุ และพระนางกัญจนา สมภพในเมืองกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ พร้อมด้วยพระโอรส และธิดาร่วมมารดาอีก 6 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าสุกโกทนะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสุทโธทนะ

ระเจ้าสุทโธทนะ (สุทฺโธทน; ศุทฺโธทน (शुद्धोदन); Suddhodana) มักเรียกว่า พระเจ้าสิริสุทโธทน์สุทรรศน์ มีพระนามราชสกุลว่าโคตมะ เป็นพระมหากษัตริย์แคว้นสักกะ (ซึ่งมีนครหลวงคือกรุงกบิลพัสดุ์) เป็นพุทธบิดาของพระโคตมพุทธเจ้า พระองค์เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสีหหนุกับพระนางกัญจนา มีพระอนุชาและพระกนิษฐาร่วมพระชนกชนนีอีก 6 พระองค์ ได้แก่ สุกโกทนะ อมิโตทนะ โธโตทนะ ฆนิโตทนะ ปมิตา และอมิตา พระเจ้าสุทโธทนะ มีพระอัครมเหสีนามว่าพระนางสิริมหามายา เจ้าหญิงโกลิยวงศ์จากกรุงเทวทหะ และมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งคือ “เจ้าชายสิทธัตถะ” ซึ่งต่อมาตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลังจากพระสิทธัตถราชกุมารประสูติได้ 7 วัน พระนางสิริมหามายาก็สวรรคต พระสุทโธทนะจึงอภิเษกสมรสใหม่กับพระนางมหาปชาบดีหรือโคตมี ซึ่งเป็นพระกนิษฐาร่วมชนนีกับพระนางสิริมหามายา และมีพระโอรสคือ “เจ้าชายนันทะ” และพระธิดาคือ “เจ้าหญิงรูปนันทา” พระเจ้าสุทโธทนะเป็นกษัตริย์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรมและยึดมั่นในราชประเพณีอย่างเคร่งครัดในการปกครองบ้านเมือง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุขตลอดรัชสมัยของพระองค์ ทรงมุ่งหวังที่จะให้พระโอรสโดยเฉพาะสิทธัตถะได้รับเลือกจากสภาศากยะให้เป็นราชาสืบต่อจากตน แต่เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช และพอทราบว่า เจ้าชายสิทธัตถะได้บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว จึงเชิญพระศาสดากลับมาที่กรุงกบิลพัสดุ์ เมื่อพระบรมศาสดาที่เสด็จมายังกรุงกบิลพัสดุ์คราวนี้ พระเจ้าสุทโธทนะได้สดับรับฟังพระธรรมเทศนา ทรงเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา บรรลุพระโสดาบันเป็นอุบาสกพุทธบริษัท ในพรรษาที่ 5 ของพระโคตมพุทธเจ้า พระเจ้าสุทโธทนะประชวรหนัก พระบรมศาสดาเสด็จจากกูฎาคาร ป่ามหาวัน เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี มายังเมืองกบิลพัสดุ์ แสดงธรรมโปรดพระพุทธบิดา 7 วัน ในวันสุดท้าย พระเจ้าสุทโธทนะได้บรรลุพระอรหัตผลและนิพพาน ภาพ:BabyBuddha.JPG|ภาพวาดพุทธประวัติ: พระเจ้าสุทโธทนะทรงอุ้มเจ้าชายสิทธัตถะ (พระราชโอรส) ให้กาฬเทวินดาบสทำนายมหาบุรุษลักษณะของพระราชกุมาร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าสุทโธทนะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสุปปพุทธะ

ระเจ้าสุปปพุทธะ เป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเทวทหะ แห่งแคว้นโกลิยะ มีพระมเหสี นามว่า นางอมิตาเทวี แห่งเมืองกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ พระเจ้าสุปปพุทธะ มีพระราชบุตร 2 พระองค์ องค์แรกเป็นพระราชโอรส มีพระนามว่า เจ้าชายเทวทัต ซึ่งคิดอิจฉาริษยากับพระพุทธเจ้ายิ่งนัก ส่วนพระองค์ที่ 2 เป็นพระราชธิดา มีพระนามว่า นางยโสธรา หรือ พิมพา ซึ่งเป็นพระมเหสีของเจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งต่อมาเจ้าชายสิทธัตถะได้ออกบวชและได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าสุปปพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าห้าพระองค์

ระเจ้าห้าพระองค์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าห้าพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอชาตศัตรู

ูปพระเจ้าอชาตศัตรู เมืองราชคฤห์ พระเจ้าอชาตศัตรู (अजातशत्रु; ครองราชย์ 2 ปีก่อน พ.ศ.- พ.ศ. 83) พระราชาองค์ที่ 3 แห่งแคว้นมคธ ปกครองทางตอนเหนือของอินเดีย เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าพิมพิสารและพระนางเวเทหิ พระธิดาของพระเจ้ามหาโกศลแห่งแคว้นโกศลและพระภคินีของพระเจ้าปเสนทิโกศล พระเจ้าอชาตศัตรูเป็นอุบาสก และผู้อุปถัมภ์สังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าอชาตศัตรู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอโศกมหาราช

ระเจ้าอโศกมหาราช (अशोकः; พ.ศ. 240 - พ.ศ. 312 ครองราชย์ พ.ศ. 270 - พ.ศ. 311) เป็นจักรพรรดิอินเดียโบราณแห่ง ราชวงศ์โมริยะ หรือเมารยะผู้ปกครอง อนุทวีปอินเดีย เกือบทั้งหมดพระองค์เป็นราชนัดดา (หลาน) ของผู้ก่อตั้งราชวงศ์เมารยะคือ พระเจ้าจันทรคุปต์ ผู้สร้างหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียโบราณและจันทรคุปต์สละทั้งหมดแล้วบวชเป็นนักบวชเชน พระเจ้าอโศกเป็นหนึ่งในจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียพระองค์ขยายจักรวรรดิของพระเจ้าจันทรคุปต์และครอบครองเหนือดินแดนตั้งแต่ทางทิศตะวันตกคือพื้นที่ ประเทศอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันขยายออกไปทางทิศตะวันออกถึงบังกลาเทศ เป็นพื้นที่ครอบคลุมอนุทวีปของชาวอินเดียทั้งหมดยกเว้นพื้นที่ที่เป็น รัฐทมิฬนาฑู ในปัจจุบัน คาร์นาตากาและรัฐเกรละ เมืองหลวงของจักรวรรดิคือเมืองปาฏลีบุตร (ในแคว้นมคธปัจจุบันนี้คือเมืองปัฏนะ)พร้อมด้วยเมืองหลวงต่างจังหวัดคือเมือง ตักศิลา และเมืองอุชเชน หรือ อุชเชนี ในครั้งพุทธกาล ประมาณ..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าอโศกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปเสนทิโกศล

ปเสนทิ (ปะ-เส-นะ-ทิ; Pasenadi) หรือ ประเสนชิต (ปฺระ-เส-นะ-ชิด; Prasenajit) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งโกศลจากราชวงศ์อิกษวากุ เสวยราชย์อยู่ ณ เมืองสาวัตถี สืบต่อจากพระบิดา คือ พระเจ้าสัญชัยมหาโกศล ถือเป็นอุบาสกที่สำคัญพระองค์หนึ่งของพระพุทธเจ้า และทรงสร้างวิหารอารามไว้หลายแห่ง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าปเสนทิโกศล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเปิดโลก

ระเจ้าเปิดโลก หมายถึง เหตุการณ์ที่พระโคตมพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในพรรษาที่เจ็ดของพระองค์หลังจากที่เสด็จขึ้นไปแสดงพระธรรมเทศนา ในโอกาสนั้น ทรงสำแดงฉัพพรรณรังสี เป็นเหตุให้โลก (ภูมิ) ทั้งหลายตั้งแต่พรหมภูมิไปจนถึงนรกภูมิเปิดสว่างจนแลเห็นซึ่งกันและกันได้ ในการนี้ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าเปิดโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวทัต

ระเทวทัต เป็นพระภิกษุในสมัยพระโคตมพุทธเจ้าดำรงพระชนม์ชีพ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าสุปปพุทธะผู้ครองกรุงเทวทหะแห่งแคว้นโกลิยะ จึงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องกับพระพุทธองค์ พระเทวทัตเป็นที่รู้จักกันดีจากเรื่องราวในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ว่าเป็นผู้ที่มีความร้ายกาจ กระทำแต่เรื่องไม่สมควรต่อพระพุทธเจ้าเป็นอันมากมาย ตลอดเวลาแห่งการบำเพ็ญพรตในพุทธวิสัยตั้งแต่ครั้งพระพุทธโคดมยังเป็นพระโพธิสัตว์ ตลอดถึงในปัจจุบันชาติ พระเทวทัตก็ยังคงประพฤติผิดถึงกับกระทำอนันตริยกรรมคือลอบปลงพระชนม์พระพุทธเจ้าและทำสังฆเภท ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาระบุว่า เดิมนั้นท่านออกบวชด้วยความบริสุทธิ์ใจ แต่ทว่าในที่สุดพระเทวทัตได้สำนึกผิดเมื่อช้าไป ได้ถูกธรณีสูบลงสู่อเวจีมหานรกหน้าวัดเชตวันมหาวิหาร แต่ด้วยการกระทำที่เคยบำเพ็ญบุญบารมีมาแล้วในอดีตมากนับประมาณ และประกอบกับการเห็นถูกต้องตรงสัมมาทิฏฐิเมื่อก่อนสิ้นใจกลับสำนึกผิดมอบถวายกระดูกคางด้วยเป็นพระพุทธบูชาแม้ในขณะวินาทีสุดท้ายในขณะที่ถูกแผ่นดินสูบ ทำให้พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์ด้วยเหตุนั้น ว่าเมื่อพระเทวทัตสิ้นกรรมจากอเวจีมหานรก จะได้ตรัสรู้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า พระนามว่าอัฏฐิสสระในอนาคต.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเทวทัต · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวเทพสัมพุทธเจ้า

ระเทวเทพสัมพุทธเจ้า มีปรากฏในเรื่อง อนาคตวงศ์ ว่าหลังจากหมดยุคของ พระรังสีมุนีสัมพุทธเจ้าแล้ว แผ่นดินถูกทำลายจนเกิดแผ่นดินใหม่ เรียกว่า มัณฑกัปป์ คือจะมีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์บังเกิดขึ้น หนึ่งคือ พระเทวเทพสัมพุทธเจ้า โดยในสมัยพระโคตมพุทธเจ้า ท่านคือ สุภพราหมณ์ และอีกหนึ่งคือ พระนรสีหสัมพุทธเจ้า โดยพระองค์ได้บำเพ็ญบารมี 30 ทัศน์มาอย่างยิ่งยวด โดยมีปรมัตถบารมีหนึ่งคือ ในสมัยพระโกนาคมนะพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ได้เกิดเป็นช้าง ชื่อว่า พระยาฉัททันต์ เป็นพระยาช้างมงคลสีขาวดังเงินยวง อาศัยอยู่ริมสระฉัททันต์ในป่าหิมพานต์ ครั้งหนึ่ง พระอัญญาโกณฑัญญเถระ เป็นสาวกแห่ง พระโกนาคมนะพุทธเจ้า พระเถระนี้ได้เข้าสู่ปรินิพพานที่ริมสระฉัททันต์นั้น พระยาช้างซึ่งมีความปรารถนาพระสัพพัญญูอยู่แล้ว ได้เดินไปพบพระสรีระก็เกิดความปีติยินดี จึงตั้งจิตจะปลงสรีระกายของเถระนี้ จึงประกาศแก่เหล่าเทวดาขอให้มาช่วย และขอเลื่อยทิพย์อันหนึ่งด้วยบุญเก่าที่เคยทำไว้ พระยาช้างอธิษฐานดังนี้ ก็ปรากฏเลื่อยทิพย์อันหนึ่งลอยมาตกตรงหน้า พระยาช้างจึงตัดงาทั้งสองข้าง โดยข้างหนึ่งทำโกศ อีกข้างหนึ่งทำเชิงตะกอนรูปขนนกยูง พระยาช้างเอาขนบนศีรษะมาทำไส้ประทีปจุดบูชาสักการะ ฝ่ายช้างบริวารจำนวน 8 หมื่น 4 พัน มากระทำสมโภชถึง 7 วัน 7 คืน เอาแก่นจันทน์แดงมีกลิ่นหอมมารอง พร้อมทั้งยกพระศพขึ้นบนศีรษะของตนและเอาเพลิงจุดเผาพระศพ ครั้นพระสรีระเมื่อเผาแล้วพระธาตุต่างๆ ก็ลอยหายขึ้นไปบนฟ้า ไม่มีเศษอันใดตกลงสู่พื้นเลย โดยพระยาช้างได้ตั้งจิตอธิษฐานถึงบุญที่ตนตัดงาทั้งสอง ขอบุญนี้จงเป็นปัจจัยให้สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า เมื่อพระยาช้างสิ้นใจตายก็ไปเกิดเป็นเทวดาในสวรรค์ชั้นดุสิต เป็นเทพบุตร มีทิพยสมบัติอันมาก พระเทวเทพสัมพุทธเจ้ามีพระวรกายสูง 80 ศอก มีพระชนมายุ 8 หมื่นปี มีไม้จำปาเป็นศรีมหาโพธิ พุทธรัศมี ฉัพพรรณรังสี(6 สี) สัณฐานเหมือนช่อฝักบัวสว่างไสวทั่วโลกธาตุ ด้วยบุญบารมีของท่าน จะบังเกิดต้นกัลปพฤกษ์และข้าวสาลีที่มีกลิ่นหอม ประชาชนอาศัยข้าวสาลีนี้ ไม่ได้ทำการเกษตร ค้าขาย ผิวพรรณมนุษย์มีสีทองโดยปกติ งามด้วยตัวของตัวเองแม้ไม่แต่งตัว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเทวเทพสัมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเขี้ยวแก้ว

ระเขี้ยวแก้วจำลอง ในพิพิธภัณฑ์เมืองโคลอมโบ ศรีลังกา พระเขี้ยวแก้ว หรือ พระทาฐธาตุ คือพระทันตธาตุส่วนที่เป็นเขี้ยวของพระโคตมพุทธเจ้า ซึ่งตามลักขณสูตรในพระไตรปิฎกภาษาบาลี ได้กล่าวถึงมหาปุริสลักขณะ 32 ประการ มีข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึง ลักษณะของพระทาฐะหรือเขี้ยวของบุคคลผู้มีลักษณะแห่งมหาบุรุษว่า "เขี้ยวพระทนต์ทั้งสี่งามบริสุทธิ์" ข้อมูลนี้จึงทำให้เชื่อกันว่า พระเขี้ยวแก้วมีทั้งหมด 4 อง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพระเขี้ยวแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

พุทธวงศ์

ทธวงศ์ (พุทฺธวํส) หมายถึง สายของพระพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้าได้ตรัสเรื่องพุทธวงศ์ไว้คราวประทับ ณ นิโครธาราม ระหว่างการเสด็จนิวัตกรุงกบิลพัสดุ์ (หลังตรัสรู้) การสืบสายพุทธวงศ์ไม่ได้มาจากการสืบสายโลหิตหรือการชิงอำนาจปราบดาภิเษกอย่างการสืบราชสมบัติ แต่มาจากสั่งสมบำเพ็ญบารมีและรับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าในอดีต ในการสังคายนาครั้งที่ 1 ในศาสนาพุทธ พระอรหันต์สาวกที่ร่วมสังคายนาได้จัดให้เรื่อง "พุทธวงศ์" นี้เป็นคัมภีร์หนึ่งในหมวดอปทาน ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎกในพระไตรปิฎกภาษาบาลี ศาสนาพุทธเชื่อว่าพระพุทธเจ้าในอดีตมีจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน แต่พระพุทธเจ้าในอดีตที่พระโคตมพุทธเจ้าทรงนับเข้าในพุทธวงศ์ของพระองค์มีอยู่ 24 พระองค์ เพราะ 24 พระองค์นี้เป็นผู้ประทานพยากรณ์ว่าพระโคตมโพธิสัตว์จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต เมื่อรวมพระโคตมพุทธเจ้าด้วย จึงมีพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น 25 พระองค์ในพุทธวง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศักราช

ทธศักราช ย่อว.. เป็นศักราชที่เริ่มนับเมื่อพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี แต่ในเช่น ในประเทศไทยเป็นปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพุทธศักราช · ดูเพิ่มเติม »

พุทธาวตาร

ภาพพุทธาวตารจากหนังสือส่งเสริมการอ่านระดับมัธยมศึกษาเรื่อง เงาะป่า นารายณ์สิบปาง พระนลคำหลวง วาดโดย สามารถ สุขสาธุ พุทธาวตาร เป็นอวตารปางที่ ๙ ของพระวิษณุซึ่งอวตารเป็นพระพุทธเจ้าตามความเชื่อของชาวฮินดู ซึ่งเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารปางนี้มีปรากฏในคัมภีร์มัตสยปุราณะ อัคนิปุราณะ ภาควัตปุราณะ และภวิษยปุราณะ ส่วนสาเหตุแห่งการอวตารเป็นพระพุทธเจ้ามีระบุว่า พระวิษณุทรงอวตารลงมาเป็นพระพุทธเจ้าเพื่อหลอกลวงชนที่ชั่วร้าย ทั้งอสูร แทตย์ ทานพ ฯลฯ เพื่อให้หลงเชื่อในสิ่งที่ผิดและจะได้รับผลร้ายแห่งมิจฉาทิฐินั้น ซึ่งผู้แต่งเรื่องราวของพุทธาวตารเป็นพราหมณ์มีชื่อว่าศังกราจารย์ส่วนสาเหตุที่แต่งเพราะเพื่อดึงชาวพุทธเสื่อมศรัทธาในพระพุทธศาสนากลับมานับถือศาสนาฮินดูอีกครั้ง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพุทธาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

พุทธทำนาย

ทธทำนาย หมายถึง การทำนายของพระโคตมพุทธเจ้า ถึงสถานการณ์ในอนาคต 16 ประการ รายละเอียดของคำทำนายปรากฏในอรรถกถามหาสุบินชาดก ในคัมภีร์ชาตกัฏฐก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพุทธทำนาย · ดูเพิ่มเติม »

พุทธคยา

ทธคยา (บาลี: พุทฺธคยา, อังกฤษ: Bodh Gaya, Mahabodhi Temple, बोधगया) คือคำเรียกกลุ่มพุทธสถานสำคัญใน อำเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นพุทธสถานที่มีความสำคัญที่สุด 1 ใน 4 แห่ง ของชาวพุทธ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พุทธสังเวชนียสถานที่มีความสำคัญที่สุดของชาวพุทธทั่วโลก ปัจจุบันบริเวณพุทธศาสนสถานอันเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัดมหาโพธิ อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการร่วม พุทธ-ฮินดู พุทธคยา ปัจจุบันตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำเนรัญชรา ไกลจากฝั่งแม่น้ำประมาณ 350 เมตร (นับจากพระแท่นวัชรอาสน์) พุทธคยามีสัญลักษณ์ที่สำคัญคือองค์เจดีย์สี่เหลี่ยมที่สูงใหญ่ โดยสูงถึง 51 เมตร ฐานวัดโดยรอบได้ 121.29 เมตร ล้อมรอบด้วยโบราณวัตถุ โบราณสถานสำคัญ เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระแท่นวัชรอาสน์ ที่ประทับตรัสรู้ และอนิมิสสเจดีย์ เป็นต้น ซึ่งนอกจากพุทธสถานโบราณแล้ว บริเวณโดยรอบพุทธคยายังเป็นที่ตั้งของวัดพุทธนานาชาติ รวมทั้งวัดไทยคือ วัดไทยพุทธคยา สำหรับชาวพุทธ พุทธคยา นับเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลกที่ต้องการมาสักการะสังเวชนียสถานสำคัญ 1 ใน 4 แห่งของพระพุทธศาสนา โดยในปี พ.ศ. 2545 วัดมหาโพธิ (พุทธคยา) สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ขององค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพุทธคยา · ดูเพิ่มเติม »

พุทธเกษตร

ทธเกษตร (อาณาจักรแห่งพระพุทธเจ้า) หรือ วิสุทธิภูมิ (ดินแดนบริสุทธิ์) ตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายาน คือดินแดนที่พระพุทธเจ้าทรงสร้างขึ้นด้วยปณิธานของแต่ละพระองค์ แดนพุทธเกษตรไม่ใช่นิพพาน แต่มีลักษณะคล้ายสวรรค์ เป็นภูมิที่สาวกของพระพุทธเจ้าใช้ปฏิบัติธรรมต่อหลังจากสิ้นชีวิตบนโลกเพื่อบรรลุนิพพานต่อไป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและพุทธเกษตร · ดูเพิ่มเติม »

กบิลพัสดุ์

ซากกรุงกบิลพัสด์ประเทศเนปาล กบิลพัสดุ์ (Kapilavatthu กปิลวัตถุ; Kapilavastu กปิลวัสตุ; Kapilavastu) เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้นสักกะ เป็นเมืองของพระเจ้าสุทโธทนะผู้เป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าทรงเจริญเติบโตและประทับอยู่จนกระทั่งพระชนมายุ 29 ปี ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนตอนเหนือประเทศอินเดีย ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญกัน กบิลพัสดุ์ แปลตามศัพท์ว่า "ที่อยู่ของกบิลดาบส"เพราะบริเวณที่ตั้งเมืองนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของดาบสชื่อ กบิล พวกเจ้าศากยะได้มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้ว่ากบิลพัสดุ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่กบิล.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและกบิลพัสดุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณมูรติ

ททู กฤษณมูรติ (जिद्दू कृष्णमूर्ति: พ.ศ. 2438 - พ.ศ. 2529) เป็นปราชญ์และนักคิดอิสระที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างกว้างขวาง เมื่อยังเป็นเด็กหนุ่ม ทางสมาคมเทวปรัชญาได้ประกาศยกย่องเขาขึ้นเป็นศาสดาองค์ใหม่ของโลก แต่ในปี พ.ศ. 2472 เขาประกาศสลัดทิ้งบทบาททางศาสดา รวมทั้งสานุศิษย์ผู้ติดตามจำนวนมหาศาล สลายสมาคมอัครสาวกอันใหญ่โตซึ่งก่อตั้งขึ้นเพื่อประกาศศาสนาใหม่ พร้อมทั้งยืนยันความตั้งใจว่า ไม่ต้องการเป็นศาสดา และก่อตั้งศาสนาใหม่เพื่อแบ่งแยกและครอบงำมนุษ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและกฤษณมูรติ · ดูเพิ่มเติม »

กัป

กัป หรือ กัลป์ (กปฺป; कल्प กลฺป) หมายถึง ช่วงระยะเวลาอันยาวนานของโลก จนไม่สามารถกำหนดเป็นวัน เดือน หรือปีได้ พบในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ลัทธิอนุตตรธรรม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและกัป · ดูเพิ่มเติม »

การบวช

การบวช เป็นศัพท์ที่ใช้ในทางศาสนาโดยมีขั้นตอนที่จะทำให้บุคคลธรรมดาผู้นับถือศาสนาต่างๆ กลายเป็นนักบวชของศาสนาที่ตนนับถือนั้น การบวชมักประกอบไปด้วยพิธีกรรมและแบบพิธีต่าง ๆ ซึ่งขั้นตอนการบวชเองนั้นก็มีความแตกต่างกันไปตามศาสนาและชื่อเรียกขาน ผู้ที่กำลังเตรียมเข้าสู่การบวชเรียกว่า ผู้เตรียมบวช (ordinand).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและการบวช · ดูเพิ่มเติม »

การค้าเครื่องเทศ

วามสำคัญทางเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมและเส้นทางเครื่องเทศของเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกมาถูกปิดโดยจักรวรรดิออตโตมัน ราว ค.ศ. 1453 เมื่อจักรวรรดิไบแซนไทน์และคอนสแตนติโนเปิลล่ม ซึ่งเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการแข่งขันกันสำรวจหาเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกใหม่ที่เริ่มด้วยการพยายามหาเส้นทางรอบแอฟริกาที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจ ภาพแสดงเส้นทางการเดินทางของวัชกู ดา กามาไปยังอินเดีย (เส้นดำ) ผู้เดินทางรอบแอฟริกาคนแรก เส้นทางของเปรู ดา กูวิลยัง (สีส้ม) และอาฟงซู ดี ไปวา (สีน้ำเงิน) เส้นทางซ้อนกันเป็นสีเขียว การค้าเครื่องเทศ คือกิจการทางการพาณิชย์ที่มีต้นตอมาแต่ยุคโบราณที่เป็นการค้าขายสินค้าที่รวมทั้งเครื่องเทศ, สมุนไพร และฝิ่น การวิวัฒนาการของวัฒนธรรมของเอเชียบางส่วนก็มีอิทธิพลมาจากการค้าขายเครื่องเทศ จากนั้นก็ตามด้วยโลกกรีก-โรมันที่ใช้เส้นทางสายเครื่องหอม และเส้นทางสายโรมัน-อินเดียเป็นเส้นทางการค้ามายังตะวันออกFage 1975: 164 เส้นทางสายโรมัน-อินเดียวิวัฒนาการมาจากเทคนิคที่ใช้โดยมหาอำนาจทางการค้าของราชอาณาจักรอัคซูม (ราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช-จนถึง ค.ศ. 1000 กว่า ๆ) ที่เป็นการริเริ่มการใช้เส้นทางในทะเลแดงมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1 อัคซูมแบ่งปันความรู้ในการใช้ลมมรสุมในการเดินเรือกับชาวโรมัน (ราว 30-10 ปีก่อนคริสตกาล) และรักษาสัมพันธ์ภาพระหว่างกันอย่างปรองดองมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 เมื่ออิสลามเรืองอำนาจขึ้น ก็ปิดเส้นทางการค้าทางทะเล และหันมาใช้ขบวนคาราวานในการขนส่งทางบกไปยังอียิปต์และซุเอซ ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดความสัมพันธ์ทางการค้าโดยตรงระหว่างยุโรปไปยังอัคซูมและอินเดีย และในที่สุดพ่อค้าอาหรับก็ยึดการขนส่งสินค้าเข้ามาอยู่ในมือของตนเอง โดยการขนส่งสินค้าเข้าทางบริเวณเลแวนต์ไปให้แก่พ่อค้าเวนิสในยุโรปยุโรป การขนส่งด้วยวิธีนี้มายุติลงเมื่อออตโตมันเติร์กมาปิดเส้นทางอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและการค้าเครื่องเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าตัวตาย

การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและการฆ่าตัวตาย · ดูเพิ่มเติม »

การปลงพระชนมายุสังขาร

การปลงพระชนมายุสังขาร หรือ การปลงอายุสังขาร ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีขึ้นในวันมาฆบูชา ณ กูฏคารศาลา ป่ามหาวัน เมื่อมีพระชมมายุได้ 80 พรรษา ซึ่ง ณ เวลานั้น ทรงได้ตรัสรู้แล้วเผยแพร่พระธรรมคำสั่งสอนมานานถึง 45 ปีแล้ว ก็ได้ทรงตั้งพระทัยว่า "นับแต่นี้ต่อไปอีกสามเดือน ตถาคตจักดับขันธปรินิพพาน" การปลงอายุสังขารจึงมีความหมายในภาษาสามัญว่า การกำหนดวันตายไว้ล่วงหน้านั่นเอง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและการปลงพระชนมายุสังขาร · ดูเพิ่มเติม »

การแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 1 ในจุดหมายแสวงบุญที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ การแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ คือการเดินทางของพุทธศาสนิกชนผู้มีศรัทธาเพื่อไปสักการะสถานที่สำคัญในพระพุทธประวัติหรือสถูปเจดีย์ที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า ผู้เป็นพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา ในดินแดนที่เรียกว่าชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล (หรือที่คือดินแดนที่เป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียและเนปาลในปัจจุบัน) โดยสถานที่สำคัญที่ถือได้ว่าเป็นจุดหมายหลักของชาวพุทธคือสังเวชนียสถาน 4 ตำบล คือ ลุมพินีวัน สถานที่ประสูติ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ฯ สารนาถ สถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และกุสินารา สถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งนอกจากสังเวชนียสถานแล้ว ยังมีสถานที่สำคัญอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและประวัติศาสตร์พุทธศาสนา ทั้งที่เป็นมหาสังฆารามในอดีต หรือเมืองสำคัญในสมัยพุทธกาลที่มีความเกี่ยวข้องปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งบางแห่งได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกโลก เช่นที่ พุทธคยา ถ้ำอชันตา-เอลโลล่า เป็นต้น เดิมนั้นการเดินทางไปสักการะยังสถานที่ต่าง ๆ ในดินแดนพุทธภูมิเป็นไปด้วยความยากลำบาก ต้องมีความศรัทธาตั้งมั่นอย่างมากจึงจะสามารถไปนมัสการได้ครบทุกแห่ง ในปัจจุบันการเดินทางสะดวกสบายขึ้น และมีวัดพุทธนานาชาติอยู่ในจุดสำคัญ ๆ ของพุทธสถานโบราณต่าง ๆ ทำให้ชาวพุทธจากทั่วโลกนิยมไปนมัสการพุทธสถานในดินแดนพุทธภูมิเป็นจำนวนมากในแต่ละปี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและการแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

กาลามสูตร

กาลามสูตร (เรียกอีกอย่างว่า เกสปุตตสูตร) คือ พระสูตรที่พระโคตมพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตตนิคม แคว้นโกศล กาลามสูตรเป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและกาลามสูตร · ดูเพิ่มเติม »

กุรุ

แผนที่เอเชียใต้ แสดงภาพอาณาจักรอินเดียโบราณทั้ง 16 แห่ง ซึ่งเรียกรวมกันว่ามหาชนบท กุรุ (สันสกฤต: कुरु) เป็นชื่อรัฐหนึ่ง ที่พระไตรปิฎกว่า ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ เฉียงไปทางตะวันตกเล็กน้อย ของมัชฌิมประเทศ มีเมืองหลวงชื่ออินทรปัตถ์ และเป็นที่ซึ่งศากยมุนีได้แสดงมหาสติปัฏฐานสูตรแก่สาวก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและกุรุ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามคธ

ษามคธ (อ่านว่า มะ-คด บางครั้งเรียก มาคธี, มคธี หรือ มคฮี) เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาโภชปุรีและภาษาไมถิลีจัดอยู่ในกลุ่มของภาษาพิหาร ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน มีผู้พูด 13 ล้านคนในเขตมคธของรัฐพิหารและบริเวณใกล้เคียงอื่นๆรวมถึงบางบริเวณในรัฐเบงกอลตะวันตก เขียนด้วยอักษรเทวนาครี ระบบเสียงใกล้เคียงกับภาษาฮินดีและพอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษาฮินดีหรือภาษาพิหารอื่นๆ มีนิทานและเพลงพื้นบ้านมาก เชื่อกันว่ารูปแบบโบราณของภาษามคธคือภาษาที่ใช้พูดในสมัยพุทธกาลและในราชอาณาจักรมคธ พุทธศาสนาเถรวาทใช้ภาษาบาลีซึ่งเป็นอีกชื่อหนึ่งของภาษามคธโบราณ ยังมีภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาบาลีกับภาษามคธ เรียกว่า ภาษาอรธมาคธี (แปลว่า ภาษากึ่งมคธ) ซึ่งใช้ในคัมภีร์ของศาสนาเชน ความต่างของภาษามคธกับภาษาอรธมาคธี อยู่ในรูปแบบเดียวกับความต่างจากภาษาบาลี ภาษามคธยังเป็นชื่อของภาษาปรากฤตที่ใช้ในการแสดงละคร และเป็นภาษาที่ใช้พูดในรัฐพิหารในยุคกลาง เป็นต้นกำเนิดของภาษาเบงกาลี ภาษาโอริยาและภาษาพิหาร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและภาษามคธ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภิกษุณี

กษุณี (ภิกฺขุณี; ภิกฺษุณี) เป็นคำใช้เรียกนักพรตหญิงในศาสนาพุทธ คู่กับภิกษุที่หมายถึงนักพรตชายในพระพุทธศาสนา คำว่า ภิกษุณี เป็นศัพท์ที่มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา โดยเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่ใช้เรียกนักบวชในศาสนาอื่น ภิกษุณี หรือ ภิกษุณีสงฆ์ จัดตั้งขึ้นโดยพระบรมพุทธานุญาต ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนาคือพระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี โดยวิธีรับคุรุธรรม 8 ประการ ในคัมภีร์เถรวาทระบุว่าต่อมาในภายหลังพระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทภิกษุณีให้มีรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น จนศีลของพระภิกษุณีมีมากกว่าพระภิกษุ โดยพระภิกษุณีมีศีล 311 ข้อ ในขณะที่พระภิกษุมีศีลเพียง 227 ข้อเท่านั้น เนื่องจากในสมัยพุทธกาลไม่เคยมีศาสนาใดอนุญาตให้ผู้หญิงเข้ามาเป็นนักบวชมาก่อน และการตั้งภิกษุณีสงฆ์ควบคู่กับภิกษุสงฆ์อาจเกิดข้อครหาที่จะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อการประพฤติพรหมจรรย์และพระพุทธศาสนาได้ หากได้บุคคลที่ไม่มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาเข้ามาเป็นนักบวช จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏว่ามีการตั้งวงศ์ภิกษุณีเถรวาทขึ้นในประเทศไทย อย่างไรก็ตามในประเทศพุทธเถรวาทที่เคยมีหรือไม่เคยมีวงศ์ภิกษุณีสงฆ์ในปัจจุบัน ต่างก็นับถือกันโดยพฤตินัยว่าการที่อุบาสิกาที่มีศรัทธาโกนศีรษะนุ่งขาวห่มขาว ถือปฏิบัติศีล 8 (อุโบสถศีล) ซึ่งเรียกโดยทั่วไปว่า แม่ชี เป็นการผ่อนผันผู้หญิงที่ศรัทธาจะออกบวชเป็นภิกษุณีเถรวาท แต่ไม่สามารถอุปสมบทเป็นภิกษุณีเถรวาทได้ โดยส่วนใหญ่แม่ชีเหล่านี้จะอยู่ในสำนักวัดซึ่งแยกเป็นเอกเทศจากกุฎิสงฆ์ ภิกษุณีสายเถรวาทซึ่งสืบวงศ์มาแต่สมัยพุทธกาลด้วยการบวชถูกต้องตามพระวินัยปิฎกเถรวาท ที่ต้องบวชในสงฆ์สองฝ่ายคือทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ ได้ขาดสูญวงศ์ (ไม่มีผู้สืบต่อ) มานานแล้ว คงเหลือแต่ภิกษุณีฝ่ายมหายาน (อาจริยวาท) ที่ยังสืบทอดการบวชภิกษุณีแบบมหายาน (บวชในสงฆ์ฝ่ายเดียว) มาจนปัจจุบัน ซึ่งจะพบได้ในประเทศจีน, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น และศรีลังกา ปัจจุบันมีการพยายามรื้อฟื้นการบวชภิกษุณีในฝ่ายเถรวาท โดยทำการบวชมาจากภิกษุณีมหายาน และกล่าวว่าภิกษุณีฝ่ายมหายานนั้น สืบวงศ์ภิกษุณีสงฆ์มาแต่ฝ่ายเถรวาทเช่นกัน แต่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าฝ่ายมหายานมีการบวชภิกษุณีสืบวงศ์มาโดยมิได้กระทำถูกตามพระวินัยปิฎกเถรวาท และมีศีลที่แตกต่างกันอย่างมากด้วย ทำให้มีการไม่ยอมรับภิกษุณี (เถรวาท) ใหม่ ที่บวชมาแต่มหายานว่า มิได้เป็นภิกษุณีที่ถูกต้องตามพระวินัยปิฎกเถรวาท และมีการยกประเด็นนี้ขึ้นเป็นข้ออ้างว่าพระพุทธศาสนาจำกัดสิทธิสตรีด้วย ซึ่งเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เพราะพระพุทธเจ้าได้อนุญาตให้มีภิกษุณีที่นับเป็นการเปิดโอกาสให้มีนักบวชหญิงเป็นศาสนาแรกในโลก เพียงแต่การสืบทอดวงศ์ภิกษุณีได้สูญไปนานแล้ว จึงทำให้ในปัจจุบันไม่สามารถบวชสตรีเป็นภิกษุณีตามพระวินัยเถรวาทได้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและภิกษุณี · ดูเพิ่มเติม »

ภีมราว รามชี อามเพฑกร

อกเตอร์ ภีมราว รามชี อามเพฑกร (भीमराव रामजी आंबेडकर) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรมของอินเดีย และเป็นประธานร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย ท่านถูกยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งรัฐธรรมนูญอินเดีย" อีกด้วย อามเพฑกร เป็นผู้อุปถัมภพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และได้เดินร่วม ขบวนกับ มหาตมา คานธี และชวาหระลาล เนห์รู เพื่อเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ต่อมาเนห์รูได้เป็นนายกรัฐมนตรีและได้แต่งตั้งให้อามเพฑกร เป็นรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและภีมราว รามชี อามเพฑกร · ดูเพิ่มเติม »

มหามยุรี

ระมหามยุรีโพธิสัตว์ พระมหามยุรี (孔雀明王; Mahamayuri) เป็นวิทยาราชองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นที่นับถือในศาสนาพุทธนิกายมหายานในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มักมีรูปลักษณ์เป็นที่สังเกตได้ง่าย โดยปรากฏเป็นเทวดาประทับบนนกยูง มีตำนานปรากฏในธารณีชื่อมหามยุรีวิทยาราชามหาธารณี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมหามยุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหายาน

มหายาน เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่นับถือกันอยู่ประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย, เนปาล, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม, มองโกเลีย ไปจนถึงบางส่วนของรัสเซีย จุดเด่นของนิกายนี้อยู่ที่แนวคิดเรื่องการบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์สร้างบารมีเพื่อช่วยเหลือสรรพชีวิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกข์ ด้วยเหตุที่มีผู้นับถืออยู่มากในประเทศแถบเหนือจึงเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า อุตตรนิกาย ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ของโลกเป็นผู้นับถือนิกายมหายาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมหายาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว

มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว (မှန်နန်း မဟာ ရာဇဝင်တော်ကြီး, หมั่นนัน มะห่าหย่าซะหวิ่นด่อจี) เป็นหนังสือบันทึกเหตุการณ์ฉบับทางการเป็นฉบับแรกของราชวงศ์คองบอง ที่พระเจ้าจักกายแมงโปรดให้คณะกรรมการประวัติศาสตร์หลวงแห่งพม่าเรียบเรียงขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

มหาปุริสลักขณะ

มหาปุริสลักขณะ (บาลี: mahapurisalakkhana) หรือมหาปุริสลักษณะ (สันสกฤต: mahapurisalaksana) เป็นลักษณะที่บ่งบอกให้รู้ว่าผู้ที่เกิดมาแล้วมีลักษณะพิเศษสามสิบสองอย่างนี้จะได้เป็นบุคคลสำคัญอย่างยิ่งหรือที่เรียกว่า "พระโพธิสัตว์" คือสัตว์ที่อาจตรัสรู้ ลักษณะดังกล่าวได้แก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมหาปุริสลักขณะ · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ (มิสึโอะ ชิบะฮะชิ) หรือ อดีตพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็นอดีตพระภิกษุชาวญี่ปุ่น บวชในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ท่านเป็นศิษย์รุ่นแรกของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมิตซูโอะ ชิบาฮาชิ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด

นบีมุฮัมมัด หรือ มุหัมมัด หรือ พระมะหะหมัด (محمد แปลว่า ผู้ได้รับการสรรเสริญ) เป็นนบีคนสุดท้ายของศาสนาอิสลาม ที่อัลลอฮ์ทรงแต่งตั้ง ท่านมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกหลายชื่อ เช่น มุสตอฟา, ฏอฮา, ยาซีน และ อะฮฺมั.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมุฮัมมัด · ดูเพิ่มเติม »

มุจลินท์

ระพุทธรูปนาคปรก แสดงรูปพญานาคมุจลินทร์แผ่พังพานถวายพระพุทธเจ้าเมื่อเกิดพายุฝนเป็นเวลาเจ็ดวันขณะทรงบำเพ็ญเพียรที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ (ศิลปะลพบุรี) มุจลินทร์เป็นพญานาคซึ่งปรากฏในพุทธประวัติและปรากฏในพระพุทธรูป ปางนาคปรก โดยพญานาคมุจลินทร์เป็นผู้แผ่พังพานป้องพระสมณโคดมเมื่อเกิดพายุฝนเป็นเวลาเจ็ดวันขณะทรงบำเพ็ญเพียรที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำนาน องค์ท้าวพญามุจลินท์นาคราช ครั้นล่วง ๗ วันแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จไปประทับนั่งขัดสมาธิยังร่มไม้จิก อันมีนามว่า"มุจลินท์"อันตั้งอยู่ในทิศบูรพาหรือทิศอาคเนย์ แห่งไม้มหาโพธิ์ เสวยวิมุติสุขอยู่ ณ ที่นั้นอีก ๗ วันในกาลนั้นฝนตกพรำตลอด ๗ วัน พญานาคมีนามว่า"มุจลินท์นาคราช"มีอานุภาพมาก พำนักอยู่ที่สระโบกขรณี ใกล้ต้นมุจลินท์พฤกษ์นั้น มีความเลื่อมใสในพระศิริวิลาศ พร้อมด้วยพระรัศมีโอภาสอันงามล่วงล้ำเทพยดาทั้งหลาย จึงเข้าไปใกล้แล้วขดเข้าซึ่งขนดกาย แวดวงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ ๗ รอบ และแผ่พังพานอันใหญ่ ป้องปกเบื้องบนพระเศียร มิให้ลมและฝนถูกต้องพระกายพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้งล่วง ๗ วัน ฝนหายขาดแล้ว พญานาคก็คลายขนดจำแลงกายเป็นมานพ เข้าไปถวายอัญชลีเฉพาะพระพักตร์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งอุทานวาจาว่า"ความสงัดเป็นสุข สำหรับบุคคลผู้มีธรรมอันเห็นแล้ว ยินดีอยู่ในที่สงัด รู้เห็นตามความเป็นจริง ความไม่เบียดเบียน คือความสำรวมในสัตว์ทั้งหลาย และความปราศจากความกำหนัด คือความล่วงกามทั้งหลายเสียได้ด้วยประการทั้งปวง เป็นสุขในโลก ความนำอัสมิมานะ คือความถือตัวออกให้หมดไปเป็นสุขอย่างยิ่ง" ครั้นล่วง ๗ วันแล้ว เสด็จออกจากร่มไม้มุจลินท์ ไปยังร่มไม้เกตุ อันมีนามว่า"ราชายตนะ"อันอยู่ในทิศทักษิณ แห่งต้นมหาโพธิ์ เสวยวิมุติสุข ณ ที่นั้น สิ้น ๗ วัน เป็นอวสาน ในกาลนั้น ท้าวสักกะอมรินทราธิราช ทรงดำริว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามิได้เสวยพระกระยาหารนับแต่กาลตรัสรู้มาได้ ๔๙ วันแล้ว จึงได้เสด็จลงมาจากเทวโลก น้อมผลสมออันเป็นทิพยโอสถเข้าไปถวาย พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับผลสมอเสวย แล้วทรงสรีระกิจลงพระบังคม ทรงสำราญพระกายแล้ว เสด็จเข้าประทับยังร่มไม้ราชายตนะพฤกษ์นั้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมุจลินท์ · ดูเพิ่มเติม »

มุทรา

มุทรา (मुद्रा mudrā) เป็นท่าทางแสดงสัญลักษณ์ทางพิธีกรรมในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ส่วนมากเน้นที่ลักษณะมือและนิ้ว มุทราแต่ละท่าจะแฝงนัยความหมายทางจิตวิญญาณแตกต่างกันไปตามประติมานวิทยาและการฝึกจิตที่พบในศาสนาแบบอินเดีย ในพิธีกรรมของลัทธิตันตระมีมุทรากำหนดไว้ถึง 108 ท่า ทางฝ่ายโยคะ การใช้มุทราจะควบคู่ไปกับการฝึกปราณายาม (การควบคุมลมหายใจ) มุทราที่สำคัญได้แก่ ปัทมาสนะ สุขาสนะ และวัชราสนะ ซึ่งแสดงท่านั่งแตกต่างกันไปเพื่อเสริมพลังปราณในร่างก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมุทรา · ดูเพิ่มเติม »

มูลปริยายสูตร

มูลปริยายสูตร คือ พระสูตรว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง เป็นพระสูตรแรกในหมวดย่อย หรือวรรคที่ชื่อมูลปริยายวรรค หมวดใหญ่มูลปัณณาสก์ ของมัชฌิมนิกาย ในสุตตันตปิฎก ทั้งนี้ อรรถกถา หรือคัมภีร์ที่อธิบายเนื้อความของมูลปริยายสูตร คือคัมภีร์ปปัญจสูทนี ของพระพุท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมูลปริยายสูตร · ดูเพิ่มเติม »

มูควัตร

มูควัตร แปลว่า การปฏิบัติอย่างเป็นใบ้ กล่าวคือ การงดเปล่งวาจา ซึ่งพุทธศาสนาถือว่าเป็น "เดียรถียสมาทาน" หรือข้อวัตรสำหรับนักบวชนอกพุทธศาสนา ในพุทธศาสนา โคตมพุทธะตรัสว่า มูควัตรเป็นการกระทำของโมฆบุรุษผู้ประมาท และเป็นการอยู่อย่างสัตว์ทั้งหลายที่ไม่มีการพูดจากัน ทรงห้ามการสมาทานมูควัตร ภิกษุผู้ล่วงบัญญัตินี้จะถูกปรับอาบัติทุกกฎ ปัจจุบัน สามารถพบมูควัตรได้ในศาสนาพราหมณ์ และพุทธศาสนาบางลัทธิโดยในพุทธศาสานาบางลัทธิเช่นว่านี้แนะนำว่าเป็นการฝึกความอดทน ไม่ให้ผู้ปฏิบัติธรรมได้พูดจาในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ และเป็นการบำเพ็ญขันต.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมูควัตร · ดูเพิ่มเติม »

มนตร์

มนตร์ (मन्त्र) หรือ มนต์ (manta) คำศักดิ์สิทธิ์หรือคำสำหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล พบในศาสนาแบบอินเดีย ทั้งศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ ศาสนาซิกข์ โดยทั่วไปมักเป็นคำสรรเสริญสิ่งศักดิ์สิท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มโหสถชาดก

มโหสถชาดก เป็นชาดกเรื่องที่ 5 จากทศชาติชาดก โดยกล่าวถึงพระโคตมโพธิสัตว์ซึ่งเสวยพระชาติเพื่อบำเพ็ญปัญญาบารมีอันเป็นพื้นฐานที่นำไปสู่การตรัสรู้เป็นพระโคตมพุทธเจ้าในที.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมโหสถชาดก · ดูเพิ่มเติม »

มโนราห์

มโนราห์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมโนราห์ · ดูเพิ่มเติม »

มเหสี

มเหสี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและมเหสี · ดูเพิ่มเติม »

ยามา

มา คือสวรรค์ชั้นที่ 3 ในฉกามาพจร มีท้าวสุยามะเป็นจอมเท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและยามา · ดูเพิ่มเติม »

ยุค

หลายศาสนามีความเชื่อว่าโลกแบ่งออกเป็นหลายยุค (युग).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและยุค · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสามกัปสุดท้าย

วิธีประสานมือเป็นลัญจกรรูปรากบัวประจำยุคขาวยุคสามกัปสุดท้าย (三期末劫) เป็นความเชื่อทางอันตวิทยาของลัทธิบัวขาว และได้สืบทอดมาจนกลายเป็นคำสอนหลักของลัทธิอนุตตรธรรมในปัจจุบัน ความเชื่อนี้ระบุว่าในช่วงปลายกัป พระแม่องค์ธรรมได้แบ่งธรรมกาล (陽) ออกเป็น 3 ยุค คือ คือยุคเขียวของพระทีปังกรพุทธเจ้า ยุคแดงของพระศากยมุนีพุทธเจ้า ซึ่งสิ้นสุดไปแล้ว และปัจจุบันคือยุคขาวของพระเมตไตรยพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและยุคสามกัปสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

ยโสธร (แก้ความกำกวม)

ร สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและยโสธร (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์อิกษวากุ

อิกษวากุ ในภาษาสันสกฤต (इक्ष्वाकु Ikṣvāku) หรือ โอกกากะ ในภาษาบาลี (Okkāka) แปลว่า ต้นขี้กาเทศ เป็นชื่อราชวงศ์ในวรรณกรรมปุราณะ ซึ่งมีผู้สถาปนา คือ พระเจ้าอิกษวากุ แต่เอกสารจากศาสนาพุทธว่า ผู้สถาปนา คือ พระเจ้ามหาสมมติ บรรพบุรุษพระองค์หนึ่งของพระเจ้าอิกษวากุ ซึ่งมหาชนสมมุติขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งปัจจุบันสมัย ราชวงศ์นี้ยังเป็นที่รู้จักด้วยชื่อ สุริยวงศ์ และถือกันว่า พระรามเป็นสมาชิกราชวงศ์ดังกล่าว ส่วนศาสนาเชนถือว่า ตีรถังกร 22 องค์ จากทั้งหมด 24 องค์ เป็นสมาชิกราชวงศ์นี้ ราชวงศ์อิกษาวกุมีสมาชิกสำคัญอีกหลายพระองค์ เช่น พระเจ้าทิลีป, พระเจ้าปเสนทิโกศล, พระเจ้ารัคหุ, พระเจ้าสัคระ, พระเจ้าหริศจันทร์, และพระพรต เอกสารฮินดูอย่าง ปุราณะ และเอกสารพุทธอีกหลายฉบับ นับพระเจ้าสุทโธทนะ, พระพุทธเจ้า, และพระราหุล เข้าในราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและราชวงศ์อิกษวากุ · ดูเพิ่มเติม »

ราม พหาทุร พามชาน

ราม พหาทุร พามชาน (राम बहादुर बामजान; 9 เมษายน ค.ศ. 1990 —) มีฉายาว่า ลามะปัลเดน ดอร์เจ (Palden Dorje) หรือปัจจุบันใช้ว่า ธรรมสังฆะ (Dharma Sangha) จากรัตนปุรี อำเภอพารา ประเทศเนปาล ซึ่งบางส่วนของผู้สนับสนุนของเขาได้อ้างว่าเขาเป็นพระพุทธเจ้าผู้กลับชาติมาเกิด แต่ลามะปัลเดน ดอร์เจได้ปฏิเสธต่อการกล่าวอ้างนี้ และผู้ปฏิบัติธรรมจำนวนมากต่างเห็นด้วยว่าพระโคตมพุทธเจ้าได้เข้าสู่พระนิพพานแล้ว และไม่สามารถจะเกิดใหม่ได้ เขาเป็นที่ดึงดูดต่อผู้เยี่ยมเยือนนับพันรวมถึงสื่อ โดยใช้เวลานานนับเดือนในการทำสมาธิ ฉายาพระพุทธเจ้าน้อย ของเขา เริ่มมาจากการทำสมาธิในวันที่ 16 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและราม พหาทุร พามชาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง

ในการตั้งชื่อทางชีววิทยา สิ่งมีชีวิตมักได้รับชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคล ชั้นอนุกรมวิธาน (taxon) (ตัวอย่างเช่น สปีชีส์ หรือ สกุล) ที่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่สิ่งอื่นอื่นเรียกว่า eponymous taxon ส่วนชื่อที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลใดบุคคลนึง หรือกลุ่มคน เรียกว่า patronymic ปกติแล้วชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการในวารสารที่มีการตรวจสอบโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ โดยมีคำบรรยายชื่อชั้นอนุกรมวิธานและวิธีบอกความแตกต่างกับชั้นอนุกรมวิธานอื่น ตามกฎของไวยากรณ์ภาษาละตินชื่อสปีชีส์หรือชนิดย่อยที่มาจากชื่อผู้ชายส่วนใหญ่ลงท้ายด้วย -i หรือ -ii หากตั้งชื่อตามคนบุคคลและ -orum หากตั้งชื่อตามกลุ่มผู้ชายหรือชายหญิง เช่น ครอบครัว ในทางคล้ายกัน ชื่อที่ตั้งตามผู้หญิงล้วนลงท้ายด้วย -ae หรือ -arum สำหรับผู้หญิงสองคนหรือมากกว่า รายชื่อนี้มีสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามบุคคลหรือคณะที่มีชื่อเสียง (รวมไปถึงวงดนตรี และคณะนักแสดง) แต่ไม่รวมบริษัท สถาบัน กลุ่มชาติพันธุ์หรือชาติ และสถานที่ซึ่งมีคนอยู่มาก ไม่รวมถึงสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามตัวละครในนวนิยาย นักชีววิทยา หรือนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ หรือคนในครอบครัวของนักวิจัยที่อาจไม่เป็นที่รู้จัก ชื่อวิทยาศาสตร์อยู่ในรูปแบบที่บรรยายไว้ดั้งเดิม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่สำคัญในสมัยพุทธกาล

รายชื่อต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่สำคัญในสมัยพุทธกาล เรียงตามลำดับเหตุการณ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและรายชื่อสถานที่สำคัญในสมัยพุทธกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระพุทธเจ้าในอดีต

ระพุทธเจ้าที่ล่วงมาแล้วหลายพระองค์ มีจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน อุปมาว่าจำนวนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้ล่วงไปแล้วมีจำนวนมากกว่าเม็ดทรายในมหาสมุทรทั้งสี่ พระพุทธเจ้าตรัสว่าเรื่องพุทธวิสัยเป็นอจินไตย คือเป็นสิ่งที่ไม่อาจเข้าใจได้ด้วยตรรกะสามัญของปุถุชน ในพุทธวงศ์ หมวดพุทธปกิณณกกัณฑ์ซึ่งว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า กล่าวถึงพระพุทธเจ้าไว้ 28 พระองค์ โดยเป็นพระพุทธเจ้าก่อนพุทธวงศ์ 3 พระองค์ และในพุทธวงศ์ 25 พระองค์ รวมเป็น 28 พระองค์ดังนี้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและรายพระนามพระพุทธเจ้าในอดีต · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเทวดาจีน

ทความนี้รวบรวมเทพเจ้าของจีนต่าง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและรายพระนามเทวดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิบัวขาว

ลัทธิบัวขาว (白蓮教 ไป๋เหลียนเจี้ยว) เป็นขบวนการทางศาสนาและการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์หยวน เป็นลัทธิบูชาพระแม่องค์ธรรมเป็นพระเป็นเจ้าสูงสุด และรอคอยยุคพระศรีอริยเมตไตรย ซึ่งเป็นอุตมรัฐที่เชื่อว่าสังคมจะรุ่งเรืองสงบสุขตลอดไป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและลัทธิบัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอนุตตรธรรม

อักษร ''หมู่'' หมายถึง "พระแม่องค์ธรรม" พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และลัทธิอื่น ๆ ที่แตกแขนงมาภายหลัง รวมทั้งลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิอนุตตรธรรม (一貫道 Yīguàn Dào อีก้วนเต้า) ในประเทศไทยเรียกว่า วิถีอนุตตรธรรม เป็นศาสนาที่หวัง เจฺว๋อี ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงเมื่อปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและลัทธิอนุตตรธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเซียนเทียนเต้า

อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''พระแม่องค์ธรรม'''' พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา ลัทธิเซียนเทียนเต้า (先天道 Xiāntiān Dào) เป็นลัทธิศาสนาหนึ่งที่หวง เต๋อฮุย ก่อตั้งขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง โดยสืบความเชื่อมาจากลัทธิบัวขาวในสมัยราชวงศ์หยวน นอกจากนี้ยังรับคำสอนมาจากลัทธิหลัวด้วย ลัทธิเซียนเทียนเต้าเป็นต้นกำเนิดของอีก 5 ลัทธิที่แยกตัวออกมาภายหลัง ได้แก่ ลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิถงซั่นเซ่อ ลัทธิฉือฮุ่ยถัง ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลัทธิเต้าเยวี่ยน, Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและลัทธิเซียนเทียนเต้า · ดูเพิ่มเติม »

ลังกาวตารสูตร

ลังกาวตารสูตร (लंकावतारसूत्र Laṅkāvatāra Sūtra) เป็นพระสูตรเก่าแก่เล่มหนึ่งในนิกายมหายาน พระสูตรนี้ไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกภาษาบาลีของเถรวาท แต่งขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏ แต่ได้แปลเป็นภาษาจีนครั้งแรกราว..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและลังกาวตารสูตร · ดูเพิ่มเติม »

ลุมพินีวัน

ลุมพินีวัน (Lumbini Vana) เป็นพุทธสังเวชนียสถานที่สำคัญแห่งที่ 1 ใน 4 สังเวชนียสถานของชาวพุทธ เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ ผู้ซึ่งต่อมาตรัสรู้เป็นพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ที่อำเภอไภรวา แคว้นอูธ ประเทศเนปาล เป็นพุทธสังเวชนียสถาน 4 ตำบลเพียงแห่งเดียวที่อยู่นอกประเทศอินเดีย ลุมพินีวัน เดิมเป็นสวนป่าสาธารณะหรือวโนทยานที่ร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน ในสมัยพุทธกาลลุมพินีวันตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์กับเมืองเทวทหะ ในแคว้นสักกะ บนฝั่งแม่น้ำโรหิณี หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชได้โปรดให้สร้างเสาหินขนาดใหญ่มาปักไว้ตรงบริเวณที่ประสูติ เรียกว่า เสาอโศก ที่จารึกข้อความเป็นอักษรพราหมีว่าพระพุทธเจ้าประสูติที่ตรงนี้ ปัจจุบันลุมพินีวันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนประเทศอินเดียทางเหนือเมืองโคราฆปุระ ห่างจากเมืองติเลาราโกต (หรือ นครกบิลพัสดุ์) ทางทิศตะวันออก 11 กิโลเมตร และห่างจากสิทธารถนคร (หรือ นครเทวทหะ) ทางทิศตะวันตก 11 กิโลเมตร ซึ่งถูกต้องตามตำราพระพุทธศาสนาที่กล่าวว่าลุมพินีวันสถานที่ประสูติ ตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์และเมืองเทวทหะ ปัจจุบัน ลุมพินีวันมีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ทางการเรียกสถานที่นี้ว่า รุมมินเด มีสภาพเป็นชนบท มีผู้อาศัยอยู่ไม่มาก มีสิ่งปลูกสร้างเป็นพุทธสถานเพียงเล็กน้อย แต่มีวัดพุทธอยู่ในบริเวณนี้หลายวัด รวมทั้งวัดไทยลุมพินี ลุมพินีวันได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและลุมพินีวัน · ดูเพิ่มเติม »

วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร

ระสุภูติกราบทูลอาราธนาพระโคตมพุทธเจ้าแสดงวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ภาพจากม้วนหนังสือวัชรปรัชญาปารมิตาสูตรที่พบในถ้ำผาม่อเกา ประเทศจีน วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร (Diamond Sutra) เป็นชื่อพระสูตรสำคัญหมวดปรัชญาปารมิตาของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เชื่อกันว่าพระสูตรหมวดปรัชญาปารมิตานี้เป็นพระสูตรมหายานรุ่นแรก ๆ ที่เกิดขึ้น เนื้อหาสาระสำคัญเป็นเรื่องราวการเทศนาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ากับพระสุภูติซึ่งเป็นพระอรหันตสาวก ที่พระเชตวันมหาวิหาร ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ จะต้องกระทำด้วยความไม่ยึดมั่นถือมั่นในสรรพสิ่งทั้งปวง เป็นการอรรถาธิบายถึงหลักศูนยตา ความว่างเปล่าปราศจากแก่นสารของอัตตาตัวตนและสรรพสิ่งทั้งปวง แม้ธรรมะและพระนิพพานก็มีสภาวะเป็นศูนยตาด้วยเช่นเดียวกัน สรรพสิ่งเป็นแต่เพียงสักว่าชื่อเรียกสมมติขึ้นกล่าวขาน หาได้มีแก่นสารแท้จริงอย่างใดไม่ เพราะสิ่งทั้งปวงอาศัยเหตุปัจจัยประชุมพร้อมกันเป็นแดนเกิด หาได้ดำรงอยู่ด้วยตัวของมันเอง เช่นนี้สิ่งทั้งปวงจึงเป็นมายา พระโพธิสัตว์เมื่อบำเพ็ญบารมีพึงมองเห็นสรรพสิ่งในลักษณะเช่นนี้ เพื่อมิให้ยึดติดในมายาของโลก ท้ายที่สุด พระพุทธองค์ได้สรุปว่าผู้เห็นภัยในวัฏสงสารพึงยังจิตมิให้บังเกิดความยึดมั่นผูกพันในสรรพสิ่งทั้งปวง เพราะสังขตธรรมนั้นอุปมาดั่งภาพมายา ดั่งเงา ดั่งความฝัน ดั่งฟองในน้ำ และดั่งสายฟ้าแลบ เกิดจากการอิงอาศัยไม่มีสิ่งใดเป็นแก่นสารจีรังยั่งยืน แนวคิดเรื่องศูนยตานี้ได้พัฒนาต่อไปโดยท่านคุรุนาคารชุนแห่งนิกายมาธยมิกะ จนกลายเป็นความคิดหลักทางพุทธปรัชญาที่ลึกล้ำและโดดเด่นในโลกจนทุกวันนี้ พระสูตรนี้มีแปลเป็นภาษาไทยโดย เสถียร โพธินันท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร · ดูเพิ่มเติม »

วัดบำเพ็ญจีนพรต

วัดบำเพ็ญจีนพรต (ย่งฮกยี่) (永福寺) สังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เป็นปฐมสังฆารามฝ่ายมหายานและอนุตตรธรรม จีนนิกาย (นิกายฌาณ สาขาหลินฉี)ตั้งอยู่ในตรอกวัดกันมาตุยาราม ถนนเยาวราช แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดบำเพ็ญจีนพรต · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 และเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหารเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2485 สร้างในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เสนอคณะรัฐมนตรีให้สร้างวัดขึ้นบริเวณใกล้เคียงกับอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นอนุสรณ์การปกครองระบอบประชาธิปไตย และกำหนดให้แล้วเสร็จทันวันชาติ คือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้สร้างวัดขึ้นโดยให้ชื่อว่า วัดประชาธิปไตย ระหว่างการก่อสร้างพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ขณะมียศเป็นนาวาเอก หลวงธำรงค์นาวาสวัสดิ์) ได้เดินทางไปขอพระบรมสารีริกธาตุจากประเทศอินเดีย รวมทั้งกิ่งพระศรีมหาโพธิ 5 กิ่ง จากต้นที่สืบเนื่องมาจากต้นที่พระโคตมพุทธเจ้าเสด็จประทับ และตรัสรู้ พร้อมดินจากสังเวชนียสถานคือสถานที่ประสูติ ที่ตรัสรู้ ที่แสดงปฐมเทศนา และที่ปรินิพพาน รัฐบาลได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ กิ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์และดินดังกล่าวมาประดิษฐานที่วัดซึ่งกำลังสร้างนี้ ได้มีการตั้งนามวัดว่า วัดพระศรีมหาธาตุ และถวายเป็นเสนาสนะเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)

วัดพระสิงห์ (50px) เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่ ถนนท่าหลวง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 52 ตารางวา ทิศเหนือติดถนนสิงหไคล ทิศใต้ติดถนนพระสิงห์ ทิศตะวันออกติดถนนท่าหลวง ทิศตะวันตกติดถนนภักดีณรงค์ สันนิษฐานกันว่าน่าจะสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้ามหาพรหม ซึ่งเป็นพระอนุชาของพญากือนา ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ ราวปีพ.ศ. 1928 (พระเจ้ามหาพรหมเสวยราชย์ ณ เมืองเชียงราย ระหว่าง พ.ศ. 1888-พ.ศ. 1943).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย) · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีจุดเด่นที่สำคัญคือ องค์พระปฐมเจดีย์ หรือ พระธมเจดีย์ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่ใหญ่และสูงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย องค์พระปฐมเจดีย์ปัจจุบันนี้ เป็นพระเจดีย์ทรงลังกา แบบสุโขทัย สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสร้างครอบเจดีย์เดิมถึงสององค์ ได้แก่ เจดีย์ทรงสถูปสาญจีตามแบบอินเดียยุคพระเจ้าอโศกมหาราช และเจดีย์ทรงขอมโบราณ นอกจากองค์พระปฐมเจดีย์แล้ว ในลานชั้นลดด้านทิศใต้องค์พระปฐมเจดีย์และพระอุโบสถมีพระประธาน พระพุทธรูปศิลาขาว ซึ่งเป็นสองในสี่พระพุทธรูปประทับนั่งห้อยพระบาท ปางแสดงธรรม ที่สร้างขึ้นในยุคทราวดี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดกิงกะกุ

วัดกิงกะกุ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ วัดจิโช เป็นวัดในเขตซะเกียว นครเคียวโตะ สร้างขึ้นโดยโชกุนอะชิกะงะ โยะชิมะซะ ในสมัยยุคมุโระมะชิเมื่อ..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดกิงกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดมังกรกมลาวาส

"ซำป้อหุกโจ้ว" ชื่อเรียกสามพระประธานประจำวัดมังกรกมลาวาส วัดมังกรกมลาวาส หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ (ตัวเต็ม: 龍蓮寺, ตัวย่อ: 龙莲寺, พินอิน: Lóng lián sì หลงเหลียนซื่อ, ฮกเกี้ยน: เล้งเหลียนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: เล่งเน่ยยี่, สำเนียงกวางตุ้ง: หล่งลิ่นจี๋, สำเนียงฮากกา: หลุ่งเหลี่ยนซื้อ) เป็นวัดในสังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ระหว่าง ซอยเจริญกรุง 19 และ 21 ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นที่คุ้นเคยในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนจากต่างประเทศ วัดนี้ บางคนเรียกว่า "วัดมังกร" เพราะคำว่า "เล่ง" หรือ "เล้ง" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว แปลว่ามังกร (คำว่า “เน่ย” แปลว่า ดอกบัวและคำว่า “ยี่” แปลว่า วัด) ชื่อวัดอย่างเป็นทางการคือ "วัดมังกรกมลาวาส" พระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดมังกรกมลาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองป่าพง

วัดหนองป่าพง (วัดป่าพง; Wat Nong Pah Pong) เป็นวัดป่าฝ่ายอรัญวาสี มีจุดเริ่มต้นเมื่อปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดหนองป่าพง · ดูเพิ่มเติม »

วัดธรรมิการาม (ลพบุรี)

วัดธรรมิการาม (วัดค้างคาว)ตั้งอยู่ในตำบลบางขาม อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี วัดธรรมิการาม หรือวัดค้างคาว ตั้งอยู่ริมแม่น้ำบางขามฝั่งตะวันตก ตำบลบางขาม อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี เป็นวัดที่มีประวัติการสร้างที่ยาวนาน ตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ สาเหตุที่ชื่อวัดค้างคาวเพราะว่าเดิมมีค้างคาวอาศัยอยู่มาก ปัจจุบันไม่มีแล้วและได้เปลี่ยนชื่อใหม่ว่า วัดธรรมิการาม วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่อยู่ริมฝั่งคลองในหมู่ไม้ร่มรื่น และในปัจจุบันยังเป็นสถานที่ฝึกและปฏิบัติอบรมพระพุทธศาสนาแก่นักเรียนและนักศึกษา มีทัศนียภาพที่สวยงาม และสภาพบริเวณในวัดยังมีความร่มรื่น เงียบสงบ มีศาสนสถานที่เก่าแก่มากมาย เช่นพระอุโบสถหลังเก่าที่มีประวัติการสร้างมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ดังปรากฏให้เห็นภายในพระอุโบสถ นั่นคือภาพจิตรกรรมฝาผนังที่มีความงดงามยิ่ง สิ่งที่น่าสนใจของวัดนี้ คือ มีภาพเขียนที่ผนังโบสถ์ ซึ่งเป็นภาพเขียนเรื่องพุทธประวัติทั้ง 4 ด้าน ลักษณะของภาพเขียนมีลักษณะแบบตะวันตกเข้ามาปนบ้างแล้ว เช่น การแรเงาต้นไม้ และอื่นๆ เป็นภาพเขียนในสมัยรัชกาลที่ 4 ฝีมือช่างพื้นบ้านที่งดงามมาก วัดธรรมิการาม เป็นวัดเก่าแก่อยู่ริมคลอง สามารถเข้าได้ 2 ทางคือ ทางรถ สวามารถเข้าได้จากบริเวณใกล้ทางเข้าวัดไลย์ อำเภอท่าวุ้ง และทางเท้า ผ่านหมู่บ้าน ข้ามสะพานไม้เข้าไปก็สามารถเข้าถึงวัดนี้ได้โดยสะดวก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดธรรมิการาม (ลพบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดนิตไต

วัดคะกุโอซัง นิตไต หรือ วัดญี่ปุ่น-ไทย เป็นวัดพุทธในนครนะโงะยะ จังหวัดไอชิ ประเทศญี่ปุ่น วัดแห่งนี้เป็นวัดพุทธที่ไม่ขึ้นกับสำนักและนิกายใดๆ ทุกวันที่ 21 ของเดือน บริเวณหน้าวัดจะมีการจัดถนนคนเดินขนาดใหญ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดนิตไต · ดูเพิ่มเติม »

วัดใหญ่ชัยมงคล

วัดใหญ่ชัยมงคล วัดใหญ่ชัยมงคล วัดใหญ่ชัยมงคล เดิมชื่อ "วัดป่าแก้ว" หรือ "วัดเจ้าไท" ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะพระนคร ปัจจุบันเป็นพื้นที่ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จุดเด่นของวัดได้แก่เจดีย์องค์ใหญ่ที่เชื่อกันว่า ได้รับการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ภายในได้มีการค้นพบชัยมงคลคาถาบรรจุอยู่ ภายในพระอุโบสถ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานที่เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด นอกจากนี้แล้ว ภายในวัดยังเป็นที่ประดิษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2544 อีกด้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดใหญ่ชัยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วัดโทได

วัดโทได หรือวัดไทโดจิเป็นวัดพุทธในเมืองนะระ ประเทศญี่ปุ่น ศาลาหลวงพ่อโต (ไดบุสึเด็ง) ของวัดนี้ได้รับการบันทึกว่าเป็นอาคารไม้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปไดบุสึขนาดใหญ่หล่อจากบรอนซ์ ซึ่งเป็นพระปฏิมาแทนองค์พระไวโรจนพุทธเจ้า นอกจากนี้ วัดนี้ยังเป็นศูนย์กลางของโรงเรียนศาสนาในสายเคงอนอีกด้วย วัดนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในทะเบียนเดียวกับวัด ศาลเจ้า และสถานที่สำคัญอื่นๆอีก 7 แห่งในเมืองนะร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดโทได · ดูเพิ่มเติม »

วัดโคฟุกุ

วัดโคฟุกุ เป็นวัดพุทธในเมืองนะระ จังหวัดนะระ ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นหนึ่งในเจ็ดวัดใหญ่แห่งนันโตะ วัดแห่งนี้เป็นสาขาใหญ่ของสำนักฮซซูและเป็นหนึ่งสถานที่ในอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์นะระโบราณ มรดกโลกโดยยูเนสโก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดโคฟุกุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดไลย์

วัดไลย์ (Wat Lai) เป็นวัดตั้งอยู่ริมน้ำบางขาม ตำบลเขาสมอคอน อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี เป็นวัดเก่าตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น รัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงปฏิสังขรณ์ มีพระวิหาร ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบอยุธยาตอนต้น คือ มีลักษณะเจาะช่องผนังแทนหน้าต่าง ๆ ภายในมีพระประธานขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ลงรักปิดทอง มีซุ้มเรือนแก้วแบบพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก ด้านหน้าและด้านหลังของพระวิหารมีลายปูนปั้นเรื่องทศชาติ และเรื่องปฐมสมโพธิงามน่าดูนัก ซึ่งนับว่าเป็นภาพประติมากรรมฝาผนังขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญยิ่งชิ้นหนึ่งของชาติ นอกจากนี้วัดไลย์ยังมีรูปพระศรีอาริย์เป็นของสำคัญอีกอย่างหนึ่งซึ่งผู้คนนับถือกันมาแต่โบราณ ในรัชกาลที่ 5 ไฟป่าไหม้วิหารรูปพระศรีอาริย์ชำรุดไป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯให้อัญเชิญลงมาปฏิสังขรณ์ในกรุงเทพฯ แล้วคืนกลับไปประดิษฐานอย่างเดิม ถึงเทศกาลราษฎรยังเชิญออกแห่เป็นประเพณีทุกปี ปัจจุบันทางวัดได้ก่อสร้างวิหารสำหรับประดิษฐานพระศรีอาริย์ขึ้นใหม่ ด้านหน้าเป็นรูปมณฑลจตุรมุขแลดูสง่างามมาก พระศรีอาริยเมตไตรยหรือหลวงพ่อพระศรีอาริย์ ซึ่งชาวบ้านนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณ มีงานนมัสการที่ยิ่งใหญ่เป็นประจำทุกปี ศิลปะชิ้นเอกที่ไม่ควรพลาดชมคือ ปูนปั้นที่ผนังด้านนอกวิหารเรื่องพุทธประวัติและทศชาติชาดก นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑ์จัดแสดงโบราณวัตถุและข้าวของเครื่องใช้ที่ชาวบ้านนำมาถวายให้ชมด้วย ทิวทัศน์ของบริเวณวัดไลย์ วัดไลย์ ลพบุรี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดไลย์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดไทยพุทธคยา

วัดไทยพุทธคยา เป็นวัดไทยแห่งแรกในประเทศอินเดีย เริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 มีเนื้อที่ราว 12 ไร่ (5 เอเคอร์) ตั้งอยู่บริเวณพุทธคยา อยู่ห่างจากองค์เจดีย์พุทธคยาประมาณ 500 เมตร เป็นวัดที่อยู่ในความดูแลและอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย ปัจจุบันมีพระเทพโพธิวิเทศ (วีรยุทธ์ วีรยุทฺโธ) เป็นเจ้าอาวาส พระอุโบสถของวัดไทยพุทธคยาจำลองแบบมาจากวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมของสมัยรัตนโกสินทร์ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งการจำลองแบบจนดูเหมือนนี้ไม่ใช่เฉพาะภายนอก แต่ยังมีภายในที่เหมือนกันด้วย เช่น องค์พระประธานที่เป็นพระพุทธชินราช แกลประตู แกลหน้าต่าง เป็นต้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดไทยพุทธคยา · ดูเพิ่มเติม »

วัดเรียวอัง

วัดเรียวอัง เป็นวัดของพุทธศาสนานิกายเซน สำนักรินไซ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของนครเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ภายในวัดยังมีลานสวนหินที่มีชื่อเสียงอย่างมากที่เรียกว่า คะเซะ-ซันซุย ซึ่งเป็นการจัดสวนแบบหนึ่งของเซ็น ทั้งนี้ ตัววัดและสวน ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นส่วนหนึ่งของอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ ที่มีสถานะเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก ที่ดินของวัดนี้ เดิมทีเป็นที่ดินของตระกูลฟุจิวะระ ในพุทธศตวรรษที่ 16 โดยวิหารหลังแรก (ปัจจุบันไม่มีอยู่) และบ่อน้ำขนาดใหญ่ถูกสร้างโดยฟุจิวะระ ซะเนะโยะชิ มหาเสนาบดีฝ่ายขวา ต่อม..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดเรียวอัง · ดูเพิ่มเติม »

วัดเทพพุทธาราม

วัดเทพพุทธาราม (เซียนฮุดยี่) (仙佛寺) เป็นวัดในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานและสุขาวดี สังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย แห่งแรกของจังหวัดชลบุรี สืบสายคำสอนมาจากนิกายเสียมจง หรือ นิกายฌานหรือเซน สาขาหลินฉี (วิปัสสนากรรมฐาน) เป็นศาสนสถานอันสง่างดงามที่เก่าแก่แห่งหนึ่ง ซึ่งสร้างโดยพระเถระจีนนิกายฉายาว่า “พระอาจารย์ตั๊กฮี้” ท่านเป็นปฐมบูรพาจารย์ผู้สถาปนาสร้างวัดมีเนื้อที่วัดในปัจจุบันประมาณ 20 ไร่เศษ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดเทพพุทธาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดเท็นรีว

วัดเท็นรีว หรือ วัดมังกรสวรรค์ เป็นวัดเอกของนิกายเซน สำนักรินไซ สาขาเท็นรีว ตั้งอยู่ในเขตอุเกียว ในนครเคียวโตะ วัดนี้ถูกสร้างขึ้นโดยอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ปฐมโชกุนแห่งอะชิกะงะ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวัดเท็นรีว · ดูเพิ่มเติม »

วังลดาวัลย์

วังลดาวัลย์ ตั้งอยู่ติดถนน 3 ด้าน คือ ถนนประชาธิปไตย ถนนลูกหลวงและถนนราชสีมา ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น ปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวังลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

วันมาฆบูชา

ปุรณมี วันมาฆบูชา (มาฆปูชา; Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวันมาฆบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันอาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชา (อาสาฬหปูชา; Āsāḷha Pūjā) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๒, ๑๒ มิถุนายน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวันอาสาฬหบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วามนะ

รูปปั้นวามนา วามนา (สันสกฤต: वामन, IAST: Vāmana, lit. คนแคระ) เป็นอวตารที่ห้าของพระวิษณุ เขาต้องปรับปรุงกาลเวลาให้เหมือนเดิมโดยต้องจัดการกับอสูรมหาพลี ผู้ที่ไม่สมควรมีอำนาจทั้งจักรวาล โดยหลังจากนั้นมหาพลีถวายหัวให้วามนาเหยียบและส่งไปที่ปาตาละ (โลกใต้บาดาล).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวามนะ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาราช

วิทยาราชทั้งห้าและกลุ่มเทพโลกบาล วิทยาราช (विद्याराज; หมิงหวัง) เป็นชื่อของเทพประเภทที่สามในศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน รองจากจากพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ตามลำดับ ชื่อในภาษาสันสกฤตแปลว่า "เจ้าแห่งความรู้" ภาษาจีนได้แปลชื่อดังกล่าวด้วยคำว่า 明 (หมิง) ซึ่งหมายความได้ทั้งแสงสว่างและความรอบรู้ ศาสนาพุทธแบบทิเบตเรียกว่า "เหรุกะ" สำหรับวิทยาราชที่เป็นเพศหญิง มีชื่อเรียกตามภาษาสันสกฤตว่า วิทยาราชินี (หมิงเฟย์) แต่การจำแนกวิทยราชตามเพศเช่นนี้มักจะถูกละเลยอยู่บ่อยครั้ง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและวิทยาราช · ดูเพิ่มเติม »

ศรีบาทา

รีบาทา (Sri Pada; Samanalakanda - සමනළ කන්ද "ภูเขาผีเสื้อ"; Sivanolipatha Malai - சிவனொளி பாதமலை) หรือ แอดัมส์พีก (Adam's Peak) เป็นภูเขารูปโคน ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศศรีลังกา บนยอดเขามี "ศรีบาทา" หินขนาด 1.80 เมตร ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นรอยพระพุทธบาทข้างซ้ายของพระโคตมพุทธเจ้า ในขณะที่ศาสนาฮินดูถือว่าเป็นรอยเท้าของพระศิวะ ในขณะที่ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม ถือว่าเป็นรอยเท้าของอาดัม ศรีบาทาตั้งอยู่ทางตอนใต้ของที่ราบสูงทางตอนกลางของศรีลังกา อยู่ในเขตจังหวัดซาบารากามูวา ห่างจากเมืองรัตนปุระไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร บริเวณใกล้เคียงเป็นภูเขาป่าดงดิบหลายลูก เป็นที่ตั้งของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มีช้าง เสือดาว และสัตว์ป่าอื่นๆ อาศัยอยู่ โดยเขาศรีบาทามียอดเขา 7353 ฟุต สูงที่สุดบนเกาะศรีลังก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและศรีบาทา · ดูเพิ่มเติม »

ศัมภลา

Crossman, Sylvie and Jean-Pierre Barou, eds.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและศัมภลา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสดา

ือผู้ก่อตั้งศาสนา หรือผู้คิดค้น ริเริ่มในการนำคำสอนไปเผยแผ่ เช่น พระพุทธศาสนามีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา ศาสนายูดาห์มีโมเสสเป็นศาสดา เป็นต้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและศาสดา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น

ระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นโดยผ่านเกาหลี ในหนังสือประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นชื่อ นิฮงโชคิ ได้บันทึกไว้ว่า วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 1095 (ในยุคอาซึกะ) เป็นปีที่ 13 ของรัชกาลจักรพรรดิคินเม จักรพรรดิองค์ที่ 29 พระพุทธศาสนาได้เข้าสู่ญี่ปุ่น โดยพระเจ้าซองกษัตริย์อาณาจักรแพคเจส่งราชทูตมายังราชสำนักจักรพรรดิคินเม พร้อมด้วยพระพุทธรูป ธง คัมภีร์พุทธธรรม และพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ที่จะขอให้จักรพรรดิคินเมรับนับถือพระพุทธศาสนา จักรพรรดิคินเมทรงรับด้วยความพอพระทัย แม้จักมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจากอินเดียผ่านจีนเข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึกนิฮงโชคิพงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์ พระพุทธศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานในวิถีชีวิตของชาวญี่ปุ่นมาร่วมสหัสวรรษ และในพันปีกว่านี้ชาวญี่ปุ่นยังได้เชื่อมโยงความเชื่อของพุทธศาสนาบางส่วนเข้าผสมผสานกับปรัชญาหลักคำสอนของศาสนาชินโตพื้นบ้าน เช่น ความเชื่อในเรื่องของพระโพธิสัตว์และทวยเทพในศาสนาพุทธ ซึ่งได้ผนวกเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการเคารพนับถือในศาสนาชินโต ความเชื่อมโยงนี้ซึมซับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแกนรากทางวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นมาเนิ่นนานหลายศตวรรษ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาเชน

ระมหาวีระ ศาสนาเชน, ไชนะ หรือ ชินะ (แปลว่า ผู้ชนะ) (Jainism) เป็นศาสนาแบบอินเดีย อนุมานกาลราวยุคเดียวกับสมัยพุทธกาล เป็นหนึ่งในลัทธิสำคัญทั้งหก ที่เกิดร่วมสมัยกับพระโคตมพุทธเจ้า ศาสนาเชนเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยมเช่นเดียวกับศาสนาพุทธ คือไม่นับถือพระเป็นเจ้า ถือหลักการไม่เบียดเบียน หรืออหิงสาอย่างเอกอุ ถือว่าการบำเพ็ญตนให้ลำบากคืออัตตกิลมถานุโยค เป็นทางนำไปสู่การบรรลุธรรมที่ ผู้ที่ฝึกฝนดีแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหวทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดทางกาย วาจา ใจ มีศาสดาคือพระมหาวีระ หรือ นิครนถนาฏบุตร หรือ องค์ตีรถังกร(ผู้สร้างทางข้ามพ้นไป)โดยศาสนิกเชนถือว่าเป็นศาสดาองค์ที่ 24 ของศาสนาเชน จึงถือว่าศาสนาเชนเก่าแก่กว่าศาสนาพุทธ ศาสนาเชนเกิดขึ้นในอนุทวีปอินเดียเมื่อประมาณศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและศาสนาเชน · ดูเพิ่มเติม »

สักกะ

กยะ (शाक्य ศากฺย) หรือ สักกะ (Sakka, Sakya, Sākiya) เป็นราชสกุลและเชื้อชาติหนึ่งซึ่งสืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าโอกกากะ บรรพชนของตระกูลนี้ได้สร้างและครองกรุงกบิลพัสดุ์ พระโคตมพุทธเจ้าก็มาจากราชสกุลนี้ และเรียกแคว้นของชาวศากยะว่าสักกชนบท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสักกะ · ดูเพิ่มเติม »

สัมโมหวิโนทนี

ัมโมหวิโนทนี เป็นคัมภีร์อรรถกถาอธิบายความในคัมภีร์วิภังค์ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ 2 ในบรรดาพระอภิธรรมปิฎก 7 คัมภีร์ คือ ธัมมสังคณี วิภังค์ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ กถาวัตถุ ยมกและปัฏฐาน คัมภีร์นี้เป็นผลงานของพระพุทธโฆสะ หรือพระพุทธโฆสาจารย์แต่งขึ้นโดยอาศัยอรรถกถาภาษาสิงหลชื่อมหาปัจจรี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสัมโมหวิโนทนี · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ

ถ้ำสัตตบรรณคูหาสถานที่ปฐมสังคายนา ปฐมสังคายนา เป็นการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งแรก กระทำขึ้นหลังจากพระโคตมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานได้เพียง 3 เดือน สาเหตุสืบเนื่องมาจากพระมหากัสสปะ เมื่อทราบข่าวว่าพระพุทธเจ้าปรินิพพานจึงรีบเดินทางมาจากเมืองปาวา แต่ระหว่างทางพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นปุถุชนได้ร้องไห้คร่ำครวญขึ้นมาทำให้มีภิกษุผู้บวชเมื่อแก่นามว่าสุภัททะ ได้กล่าววาจาจาบจ้วงพระพุทธเจ้าพระมหากัสสปะจะลงโทษพระสุภัททะแต่ก็รอให้ผ่านพิธีถวายพระเพลิงเสียก่อน หลังจากพิธีถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระได้ผ่านไปแล้ว 3 เดือนพระมหากัสสปะจึงได้ชักชวนพระอรหันต์ทั้งสิ้น 500 รูปมาร่วมสังคายนาพระไตรปิฎกโดยมีท่านเป็นประธานและทำหน้าที่ซักถามพระวินัยและพระธรรมส่วน พระอุบาลีเป็นผู้วิสัชนาพระวินัย และพระอานนท์ซึ่ง 1 วันก่อนสังคายนาท่านได้บำเพ็ญธรรมจนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ ทำหน้าที่วิสัชนาพระธรรม และได้พระเจ้าอชาตศัตรูเป็นองค์อุปถัมภก โดยสถานที่ทำปฐมสังคายนาคือ ถ้ำสัตบรรณคูหา กระทำทั้งสิ้น 7 เดือนจึงสำเร็จ ผลของการสังคายนา ไม่มีพระสงฆ์รูปใดกล่าวดูหมิ่น หมวดหมู่:สังคายนาในศาสนาพุทธ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาในศาสนาพุทธ

ในศาสนาพุทธ สังคายนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 487-8 (สํคายนา) คือการประชุมตรวจชำระสอบทานและจัดหมวดหมู่คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า วางลงเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ตามศัพท์ "สังคายนา" หมายถึง สวดพร้อมกัน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สังคีติ” แปลว่า สวดพร้อมกัน มาจากคำว่า คายนา หรือ คีติ แปลว่า การสวด สํ แปลว่า พร้อมกัน คำนี้มีมูลเหตุมาจากวิธีการสังคายนาพระธรรมวินัย ที่เรียกว่าวิธีการร้อยกรองหรือรวบรวมพระธรรมวินัย หรือประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีวิธีการคือนำเอาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่ทรงจำไว้มาแสดงในที่ประชุมพระสงฆ์ จากนั้นให้มีการซักถามกัน จนกระทั่งที่ประชุมลงมติว่าเป็นอย่างนั้นแน่นอน เมื่อได้มติร่วมกันแล้วในเรื่องใด ก็ให้สวดขึ้นพร้อมกัน การสวดพร้อมกันแสดงถึงการลงมติร่วมกันเป็นเอกฉันท์ และเป็นการทรงจำกันไว้เป็นแบบแผนต่อไป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสังคายนาในศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สังเวชนียสถาน

ังเวชนียสถาน (อ่านว่า สัง-เว-ชะ-นี-ยะ-สะ-ถาน) แปลว่า สถานที่อันเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช เป็นคำที่ใช้เรียกสถานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะ สังเวชนียสถาน หมายถึงสถานที่ที่ทำให้เกิดความรู้สึกระลึกถึงพระพุทธเจ้า เกิดความแช่มชื่น เบิกบาน เกิดแรงบันดาลใจที่จะทำความดี เมื่อได้ไปพบเห็น สังเวชนียสถาน มี 4 แห่ง คือ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสังเวชนียสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สัตวโลก

ในศาสนาพุทธ สัตวโลก หมายถึง หมู่สัตว์ (สตฺต) คือสิ่งมีชีวิต มีพิชาน มีขันธ์Getz, Daniel A. (2004).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสัตวโลก · ดูเพิ่มเติม »

สันตินิยม

ันตินิยม (Pacifism) เป็นแนวคิดที่ต่อต้านสงครามตลอดจนความรุนแรงต่างๆ โดยเชื่อว่าสงครามและความรุนแรงเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ทางศีลธรรม แต่สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้โดยสันติวิธี ซึ่งนักสันตินิยมมักกล่าวถึงแนวทางปฏิบัติโดยยึดหลักศาสนา อย่างไรก็ตามยังมีการให้คำวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นแนวคิดที่สามารถปฏิบัติได้ยาก เนื่องจากการให้โลกนี้ปราศจากความรุนแรงในความเป็นจริงนั้นไม่อาจเกิดขึ้นได้โดยตลอด ในบางครั้ง การใช้มาตรการขั้นเด็ดขาดโดยยึดหลักจริยธรรมแก้ปัญหาอาจเป็นแนวทางที่ดีกว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสันตินิยม · ดูเพิ่มเติม »

สารนาถ

รนาถ เป็นพุทธสังเวชนียสถานแห่งที่ 3 (1 ใน 4 แห่งของชาวพุทธ) ตั้งห่างจากเมืองพาราณสี เมืองศูนย์กลางทางศาสนาของศาสนาฮินดู ไปทางเหนือราวเก้ากิโลเมตร อยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน หรือ แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล เหตุที่ได้ชื่อว่าสารนาถ เนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา เริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่มหาชนทั้งหลาย และบ้างก็ว่ามาจากศัพท์ว่า สารงฺค + นาร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสารนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สาละ

ละ เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสาละ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธารถะ

"สิทธารถะ" เป็นคำในภาษาสันสกฤตสำหรับ "สิทธัตถะ" สำหรับศาสดาองค์ปัจจุบันของพุทธศาสนา ดู "สิทธัตถะ" right สิทธารถะ (Siddhartha) เป็นวรรณกรรมภาษาเยอรมันที่ประพันธ์โดย แฮร์มันน์ เฮสเซอ ขณะเดินทางมาที่ประเทศอินเดีย โดยเป็นที่รู้จักกันดีว่าเขาเป็นผู้ที่ลุ่มหลงและแตกฉานในหลักคิดแนวปรัชญาตะวันออก นวนิยายเรื่องนี้มีเนื้อหามุ่งไปสู่การค้นหาสัจธรรมของการเวียนว่ายตายเกิด หรือนั่นหมายถึงความเพียรที่จะใฝ่รู้ว่า "อัตตา"คือสิ่งใด ชีวิตมนุษย์เกิดขึ้นมาทำไมและเพื่ออะไร และนิพพานคืออะไร โดยในเรื่องนี้สื่อภาพของสังคมของอินเดียในยุคสมัยที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังมีพระชนม์ชีพอยู่และเสด็จออกเผยแผ่ศาสนาพุทธไปทั่วชมพูทวีป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสิทธารถะ · ดูเพิ่มเติม »

สิงคาลกสูตร

งคาลกสูตร เป็นพระสูตรหนึ่งในพระสุตตันตปิฎก หมวดทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ว่าด้วยทิศ ๖ คือบุคคล ๖ ประเภทที่มีควารมสัมพันธ์ต่อบุคคลๆ หนึ่ง และวิธีการปฏิบัติต่อบุคคลเหล่านั้น ว่าด้วยมิตรแท้และมิตรเทียม และยังว่าด้วยกรรมกิเลส ๔ อบายมุข ๖ และการไม่ทำความชั่วโดยฐานะ ๔ รวมทั้งหมด ๑๔ ประการ โดยผู้ที่ปราศจากความชั่ว ๑๔ ประการ ถือเป็นผู้ปกปิดทิศ ๖ ชื่อว่าปฏิบัติเพื่อชัยชนะในโลกทั้งสอง คือโลกนี้และโลกหน้า เมื่อตายไปก็จะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ อรรถกถาสิงคาลกสูตรในสุมังคลวิลาสินี กล่าวไว้ว่า "กรรมใดที่คฤหัสถ์ควรทำอย่างใดอย่างหนึ่ง กรรมนั้นอันพระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัสไว้ ย่อมไม่มี พระสูตรนี้ ชื่อว่าคิหิวินัย เพราะฉะนั้น เมื่อฟังพระสูตรนี้แล้วปฏิบัติตามที่ได้สอนไว้ ความเจริญเท่านั้นเป็นอันหวังได้ ไม่มีความเสื่อมฉะนี้" ฝ่าย ปราชญ์ด้านพุทธศาสนา แสดงความเห็นว่า "พระสูตรนี้ชาวยุโรปเลื่อมใสกันมากว่าจะแก้ปัญหาสังคมได้ เพราะเสนอหลักทิศ ๖ อันแสดงว่าบุคคลทุกประเภทในสังคมควรปฏิบัติต่อกันในทางที่ดีงาม ไม่มีการกดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งลงไป".

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสิงคาลกสูตร · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสุชาดา · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา ธิดาของเสนานีกุฎุมพี

นางสุชาดา เป็นธิดาของเสนานีกุฏมพี (อรรถกถาว่าเสนียะ) ในหมู่บ้านเสนานิคม ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม เมื่ออายุย่างเข้าสู่วัยสาวนางได้ทำพิธีบวงสรวงต่อเทพยดาที่สิงสถิต ณ ต้นไทรใหญ่ต้นหนึ่งใกล้บ้านของนาง โดยได้ตั้งปณิธานความปรารถนาไว้ 2 ประการ คือ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสุชาดา ธิดาของเสนานีกุฎุมพี · ดูเพิ่มเติม »

สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล

วิสุทธิกุล (ชื่อเล่น ติ่ง) เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นนักพากย์ชายชาวไทย ที่มีน้ำเสียงและลีลาการพากย์หาตัวจับยากคนหนึ่งของวงการ สามารถพากย์ได้ดีทั้งบทพระเอก บทขรึม ตัวโกง หรือแม้แต่ ตัวตลก ปัจจุบันพากย์เสียงอยู่กับ ทีมพากย์พันธมิตร รวมทั้งพากย์เสียงให้กับทาง ช่อง 9 อสมท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสุภาพ ไชยวิสุทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุริยปริตตปาฐะ

ริยปริตตปาฐะ หรือสุริยปริตร เป็นบทสวดหนึ่งที่รวบรวมไว้ในภาณวารหรือหนังสือบทสวดมนต์หลวง อย่างไรก็ตาม สุริยปริตรนี้มิได้รวมไว้เป็นหนึ่งในพระปริตรที่นิยมสวดสาธยายกันในบทสวดมนต์ "เจ็ดตำนาน" หรือ "สิบสองตำนาน" พบว่า มีเฉพาะในภาณวารเท่านั้น เนื้อหาเกี่ยวกับอานิสงส์ของการประกาศให้สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นที่พึ่ง เมื่อมีพระองค์เป็นที่พึ่งแล้ว ผู้คิดปองร้ายจะปลาศไป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสุริยปริตตปาฐะ · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณสามชาดก

วรรณสามชาดก (อ่านว่า: สุ-วัน-นะ-สาม-ชา-ดก) เป็นชีวประวัติเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก กล่าวถึงพระชาติของพระโคตมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็นสุวรรรณสามดาบส ในการบำเพ็ญเมตตาบารมี.พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒ โดยสุวรรรณสามดาบสต้องรับภาระเลี้ยงดูบิดามารดาผู้ตาบอด วันหนึ่งพระเจ้ากบิลยักขราชแผลงศรมาถูกได้รับบาดเจ็บแสนสาหัส แต่ก็ไม่ได้โกรธ กลับแสดงเมตตาจิตต่อ และเทศนาทศพิธราชธรรมให้กบิลยักษ์ฟัง ด้วยอำนาจแห่งเมตตาธรรมทำให้พระสุวรรณสามหายเจ็บปวดรอดชีวิตมาได้ และบิดามารดาก็กลับมีจักษุดี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสุวรรณสามชาดก · ดูเพิ่มเติม »

สุขาวดี

ตรกรรมฝาผนัง ''พุทธเกษตรของพระอมิตาภะ'' ที่ พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งเบอร์มิงแฮม ตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายาน สุขาวดี (सुखावती สุขาวตี) คือพุทธเกษตรของพระอมิตาภพุทธะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของโลก สุขาวดีไม่ใช่นิพพาน แต่เป็นภูมิที่สาวกของพระอมิตาภะใช้ปฏิบัติธรรมต่อหลังจากสิ้นชีวิตบนโลกเพื่อบรรลุนิพพานต่อไป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสุขาวดี · ดูเพิ่มเติม »

สี่ยอดสิ่งประดิษฐ์

ี่ยอดสิ่งประดิษฐ์ (Four Great Inventions, จีน: 四大发明, พินอิน: sì dà fāmíng) เป็นสิ่งประดิษฐ์สำคัญที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ แสดงถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน ได้แก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสี่ยอดสิ่งประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลุมพินี

นีลุมพินี (รหัส LUM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกวิทยุ เยื้องกับสวนลุมพินี ในอนาคต จะเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทา และรถไฟฟ้าสายสีฟ้า ที่สถานีลุมพินี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและสถานีลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าฝรั่น

หญ้าฝรั่น หรือ สรั่น บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและหญ้าฝรั่น · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแพรก

หญ้าแพรก เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และยุโรปใต้ ส่วนชื่อ หญ้าเบอร์มิวดา มาจากการที่หญ้าแพรกเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานในเบอร์มิวดา แต่ไม่ได้เกิดขึ้นที่นั่น ในประเทศไทย ชาวเหนือ เรียกว่า "หญ้าเป็ด" ส่วนชาวกะเหรี่ยง เรียกว่า "หน่อเก่เด".

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและหญ้าแพรก · ดูเพิ่มเติม »

หลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกัน

หลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกัน (Basic Points Unifying the Theravāda and the Mahāyāna) เป็นคำแถลงว่าด้วยหลักความเชื่อที่มีร่วมกันอันสำคัญยิ่ง ซึ่งมีขึ้นในปี พ.ศ. 2510 ระหว่างการประชุมใหญ่ครั้งของพุทธเถรสมาคมโลก (World Buddhist Sangha Council, อักษรย่อ WBSC).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและหลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกัน · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เหลียงเหว่ย

หลี่ เหลียงเหว่ย (จีนตัวเต็ม: 呂良偉; จีนตัวย่อ: 吕良伟; พินอิน: Lǚ Liángwěi) ดารานักแสดงชาวฮ่องกง และผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า เรย์ หลุ่ย (Ray Lui; ชื่อเล่น: "หลุ่ย") เกิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1956 ที่เวียดนาม ในครอบครัวชาวฮัว หรือชาวจีนที่อาศัยอยู่ในเวียดนาม โดยมีพ่อเป็นนักธุรกิจชาวจีนที่อพยพสู่เวียดนามในช่วงทศวรรษที่ 40 โดยเป็นลูกคนกลาง มีพี่ชายและพี่สาวอย่างละคน และมีน้องชายอีก 2 คน ในปี ค.ศ. 1967 ระหว่างที่มีสงครามเวียดนาม ครอบครัวได้อพยพย้ายไปพำนักที่ฮ่องกง และตัวหลี่ เหลียงเหว่ยเองก็เข้าสู่แวดวงบันเทิง ด้วยการเป็นนักเรียนการแสดงที่สถาบันการแสดงของทีวีบี ในช่วงทศวรรษที่ 70 มีชื่อเสียงขึ้นมาในปี ค.ศ. 1980 ด้วยการรับบท "ติงลี่" ในละครโทรทัศน์เรื่อง เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ คู่กับ โจว เหวินฟะ และจ้าว หยาจือ ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ทำให้ได้เป็นนักแดงที่มีชื่อเสียงขึ้นมา ซึ่งก่อนหน้านั้น หลี่ เหลียงเหว่ยเป็นนักแสดงในบทประกอบในละครโทรทัศน์เรื่อง มังกรหยก เท่านั้น นอกจากนี้ หลี่ เหลียงเหว่ยเคยแสดงนำในภาพยนตร์ไทย เรื่อง สงครามกับความรัก ในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและหลี่ เหลียงเหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

หาริตี

หารีตี (Hārītī) เป็นยักขินีในเมืองเปศวาร์และในเทพปกรฌัมทางภูมิภาคต้าเซี่ยซึ่งมีที่มาจากเทวีสวัสวดีในวัฒนธรรมฮินดู แต่ต่างกันอย่างสิ้นเชิงตรงที่นางหารีตีเป็นปอบกินคน นางมีบุตรนับร้อยและรักบุตรเป็นอันมาก แต่จับบุตรของผู้อื่นมาเป็นภักษาหารให้แก่บุตรนาง ครั้นพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่แว่นแคว้นดังกล่าวจากทางแม่น้ำสินธุ ก็เกิดเรื่องเล่าใหม่ว่า สตรีผู้หนึ่งซึ่งบุตรถูกนางหาริตีลักไปได้วอนขอให้พระโคตมพุทธเจ้าทรงช่วยปกป้องบุตรนางด้วย พระองค์จึงทรงลักพาไอชี (Aiji) บุตรสุดท้องของนางหารีตีไปซ่อนไว้ได้บาตร นางหารีตีออกตามหาบุตรไปทั่วท้องจักรวาลแต่ก็ไม่พบ ที่สุด นางจึงมาอ้อนวอนขอความช่วยเหลือจากพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าจึงตรัสเทศนาว่า นางเองบุตรหายไปหนึ่งเวลายังเป็นทุกข์ร้อนถึงเพียงนี้ แล้วบิดามารดาผู้อื่นซึ่งบุตรถูกนางลักไปฆ่ากินนั้นจนล่วงลับตลอดไปนั้นจะไม่ร้อนรนเป็นร้อยเท่าพันเท่าหรือ นางหารีตีเมื่อเข้าใจถึงความทุกข์ทรมานใจของบิดามารดาผู้อื่น จึงปวารณาตัวเป็นผู้คุ้มครองเด็กและเป็นอุบาสิกา ทั้งหันไปบริโภคผลมณีพืชแทนเนื้อเด็ก ภายหลัง นางกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการพิทักษ์รักษาเด็ก การคลอดง่าย การเลี้ยงดูอุ้มชูเด็กอย่างมีความสุข ชีวิตคู่ผัวตัวเมียสุขสันต์ปรองดอง และชีวิตครอบครัวร่มเย็นมั่นคง นางหาริตียังคุ้มครองพุทธศาสนิกชนผู้ปฏิบัติสัทธรรมปุณฑรีกสูตร และสตรีไร้บุตรยังมักกราบไหว้นางหาริตีเพื่อขอบุตรด้วย กล่าวได้ว่า เมื่อพระพุทธศาสนามาถึงดินแดนเปศวาร์แล้ว นางหาริตีก็เปลี่ยนจากยักขินีตามวัฒนธรรมเปอร์เซียดั้งเดิมไปเป็นผู้อภิบาลพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ทำนองเดียวกับที่ในช่วงต้นพระพุทธศาสนาใช้กลืนลัทธิวิญญาณนิยม ต่อมา วัฒนธรรมเกี่ยวกับนางหาริตีก็แพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเช่นญี่ปุ่น และหาริตีในวัฒนธรรมญี่ปุ่นนั้นเรียก "คิชิโมะจิง" หรือ "คิชิโบะจิง".

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและหาริตี · ดูเพิ่มเติม »

อมราปาลี พระเจ้าอชาตศัตรู

อมราปาลี พระเจ้าอชาตศัตรู อมราปาลี พระเจ้าอชาตศัตรู (आम्रपाली) เป็นภาพยนตร์อินเดียที่ฉายในประเทศไทย เมื่อ..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอมราปาลี พระเจ้าอชาตศัตรู · ดูเพิ่มเติม »

อริยสัจ 4

อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอริยสัจ 4 · ดูเพิ่มเติม »

อวตาร

กัลกยาวตาร (อัศวินม้าขาว) อวตาร (अवतार, avatāra) คือการที่เทพเจ้าองค์ต่าง ๆ ตามความเชื่อของศาสนาฮินดูแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด ในลัทธิไวษณพถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว พระวิษณุจะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระวิษณุ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน พระวิษณุอวตารเป็นความเชื่อหลักของลัทธิไวษณพ หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรก ๆ อยู่ในภควัทคีตา มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของพระศิวะและพระพิฆเนศ และเทพีต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือลัทธิศักติ อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอวตาร · ดูเพิ่มเติม »

อัญชนะศักราช

อัญชนะศักราช เป็นศักราชที่ปรากฏในเอกสารของล้านนา มีปรากฏในพิงคราชวงศ์ปกรณ์ของพระยาประชากิจกรจักร์ กล่าวถึงศักราชนี้ว่าตั้งก่อนพุทธศักราช 148 ปี โดยมีประวัติว่าพระเจ้าอัญชนะเป็นกษัตริย์กรุงเทวทหะ มีพระขนิษฐาไปเป็นพระมเหสีของพระเจ้าสีหนุแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ อนุชาของพระเจ้าอัญชนะเป็นดาบสชื่อกาลเทวินดาบส ได้เป็นผู้ตั้งลบศักราชใหม่เรียกว่าอัญชนะศักราช พระเจ้าสีหนูมีโอรสคือพระเจ้าสุทโธทนะ ซึ่งเป็นพุทธบิดา พระพุทธเจ้าประสูติเมื่ออัญชนะศักราชได้ 68 ปี แล้วเสด็จดับขันธปรินิพพานเมื่ออัญชนะศักราชได้ 148 ปี นอกเหนือจากที่พบในตำนานที่เกี่ยวข้องกับการสถาปนาราชวงศ์เม็งรายแล้ว ยังมีปรากฏในตำนานสิงหนวัติโดยเป็นศักราชที่ใช้ในตอนต้นของเรื่องโดยใช้ประกอบเหตุการณ์จนถึงปีอัญชนะศักราชได้ 148 ปี เนื่องจากการตั้งอัญชนะศักราชไม่พบในเอกสารทางพุทธศาสนาอื่นๆ จึงคาดว่าศักราชนี้ตั้งขึ้นในล้านนาเพื่อใช้ประกอบตำนานเรื่องสิงหนวัติ ซึ่งเป็นเรื่องที่เล่าให้เก่ากว่าศักราชอื่นๆที่ใช้ในขณะนั้นทั้งพุทธศักราช จุลศักราชและมหาศักราช จึงต้องกำหนดศักราชใหม่ประกอบการเล่าเรื่อง และกำหนดให้สิงหนวัติกุมารเกิดในปีที่ตั้งอัญชนะศักราชนี่เอง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอัญชนะศักราช · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ (Arthur Schopenhauer) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันที่เป็นที่รู้จักกันดีในความแจ่มแจ้งทางปรัชญาและทุทรรศนนิยมของความไม่มีพระเจ้า เมื่ออายุ 25 ปีโชเพนเฮาเออร์พิมพ์ปริญญานิพนธ์ “มูลบัญญัติสี่ประการของเหตุผล” (Über die vierfache Wurzel des Satzes vom zureichenden Grunde) ที่เป็นปรัชญาที่พิจารณาคำถามที่ว่าเหตุผลเพียงอย่างเดียวจะสามารถให้คำตอบเกี่ยวกับโลกได้หรือไม่ งานชิ้นที่มีอิทธิพลที่สุดของโชเพนเฮาเออร์ “Die Welt als Wille und Vorstellung” (The World as Will and Representation) เน้นบทบาทของแรงบันดาลใจ (motivation) ของมนุษย์ที่โชเพนเฮาเออร์เรียกว่า “เจตจำนง” (Will) การวิจัยของโชเพนเฮาเออร์นำไปสู่การสรุปว่าความต้องการทางอารมณ์, ทางร่างกาย และทางเพศ เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะตอบสนองได้อย่างเต็มที่ ฉะนั้นโชเพนเฮาเออร์จึงนิยมวิถีชีวิตที่ลดความต้องการของมนุษย์ ที่คล้ายคลึงกับปรัชญาของศาสนาพุทธและเวทานต.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตตปริยายสูตร

ีสะ สถานที่พระพุทธองค์ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรแก่หมู่ภิกษุชฏิล 1,003 รูปจนสำเร็จพระอรหันต์ทั้งหมด อาทิตตปริยายสูตร เป็นธรรมที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแสดงธรรมแก่หมู่ภิกษุชฎิล ทั้ง 1,003 รูป ขณะที่พระบรมศาสดา ทรงแสดงพระธรรมเทศนาอยู่นั้น ภิกษุชฎิล ทั้ง 1,003 รูป ส่งกระแสจิตไปตามวาระแห่งพระธรรมเทศนา จิตของพวกเธอ ก็หลุดพ้นจากกิเลสาสวะทั้งปวง สำเร็จป็นพระอรหันต์ขีณาสพด้วยกันทั้งหมด และพระภิกษุชฏิลทั้งหมดนั้นก็ได้เป็นกำลังสำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนาที่เมืองราชคฤห์ เมืองหลวงแห่งแคว้นมคธ ทำให้แคว้นมคธเป็นฐานอำนาจสำคัญในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในเวลาต่อมา อาทิตตปริยายสูตร เป็นพระสูตรที่มีเนื้อหาแสดงถึงความรุ่มร้อนของจิตใจ (อินทรีย์ ๕) ด้วยอำนาจของกิเลส เปรียบได้กับความร้อนของไฟที่ลุกโพลงอยู่ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า อาทิตตปริยายสูตร แสดงให้เห็นว่าความร้อนที่แท้จริงคือความร้อนจากภายใน แต่ทว่าความสุขหรือความทุกข์ร้อนจากกิเลสทั้งปวงล้วนนั้นก็เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง คือตั้งอยู่ไม่ได้ตลอดไป ไม่มีอะไรที่ควรยึดถือ น่าเบื่อหน่ายในความผันแปร พระสูตรนี้จึงเป็นพระสูตรสำคัญในพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอาทิตตปริยายสูตร · ดูเพิ่มเติม »

อานันทพญา

อานันทพญา อานันทพญา (အာနႏၵာဘုရား,; Ananda Temple) คือมหาวิหารขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเมืองพุกาม ประเทศพม่า เริ่มสร้างขึ้นใน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอานันทพญา · ดูเพิ่มเติม »

อนัตตลักขณสูตร

อนัตตลักขณสูตร (Anattalakkhaṇa Sutta) คือพระสูตรที่แสดงลักษณะ คือ เครื่องกำหนดหมายว่าเป็นอนัตตา เป็นพระสูตรที่มีความสำคัญที่สุดพระสูตรหนึ่ง เนื่องจากหลังจากที่พระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระสูตรนี้แล้ว ได้บังเกิดพระอรหันต์ในพระบวรพุทธศาสนา 5 องค์ รวมพระพุทธองค์เป็น 6 องค์ ซึ่งพระสูตรนี้ มีใจความเกี่ยวกับ ความไม่ใช่ตัวตนของ รูป คือ ร่างกาย เวทนา คือ ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉย ๆ สัญญา คือ ความจำได้หมายรู้ สังขาร คือ ความคิดหรือเจตนา วิญญาณ คือ ความรู้อารมณ์ทางตา หู เป็นต้น หรือเรียกอีกประการหนึ่งว่า อายตนะทั้ง 6 อันได้แก่สัมผัสทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอนัตตลักขณสูตร · ดูเพิ่มเติม »

อนาคาริก ธรรมปาละ

อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407 มรณภาพ 29 เมษายน พ.ศ. 2476) เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ท่านเกิดในครอบครัวผู้มั่งคั่ง บิดาชื่อว่า เดวิด เหววิตรเน เมื่อได้อ่านหนังสือเรื่องประทีปแห่งเอเชียของท่านเซอร์ เอดวินด์ อาโนลด์ ก็เกิดความซาบซึ้ง มีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึงออกเดินทางสู่อินเดีย เมื่อได้เห็นเจดีย์พุทธคยาที่ชำรุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้ง และอยู่ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นนั้น จึงทำการอธิษฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่า จะถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและนำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธทั่วโลกให้ได้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอนาคาริก ธรรมปาละ · ดูเพิ่มเติม »

อนาคตวงศ์

อนาคตวงศ์ (อนาคตวํส) เป็นวรรณกรรมบาลีของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าที่จะมาตรัสรู้ในอนาคต.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและอนาคตวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮีมานซู โซนิ

ีมานซู โซนิ (Himanshu Soni.) เป็นนักแสดงชายชาวอินเดียที่มีชื่อเสียงจากการแสดงเป็น เจ้าชายสิทธัตถะ,พระพุทธเจ้า ในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและฮีมานซู โซนิ · ดูเพิ่มเติม »

จิญจมาณวิกา

ลปะลาว แสดงภาพจิญจมาณวิกากำลังให้ร้ายพระโคตมพุทธเจ้าท่ามกลางธารกำนัล จิญจมาณวิกา เป็นสตรีที่เชื่อว่ามีชีวิตอยู่ในพุทธกาล โดยในพระไตรปิฎกกล่าวหาว่านางได้ให้ร้ายพระโคตมพุทธเจ้า ต่อหน้าคนจำนวนมากว่า ทำให้นางตั้งครรภ์ ความคือ จิญจมาณวิกา ฉลาดในมารยาทของหญิง นับถือ ลัทธิเดียรถีย์ มีเจตนาเพื่อทำลายพระพุทธเจ้าจึงเดินเข้าออกวัดเชตวันอยู่เสมอ ทำทีเหมือนอยู่ในพระเชตวัน แต่อยู่ในวัดเดียรถีย์ใกล้เคียง โดยกาลล่วงไป ๘ - ๙ เดือน ผูกไม้กลมไว้ที่ท้องห่มผ้าทับข้างบน ให้ทุบหลังมือและเท้าด้วยไม้คางโค แสดงอาการบวมขึ้น มีอินทรีย์บอบช้ายอมตนกล่าวตู่พระพุทธเจ้าในท่ามกลางหมู่ชน ภายหลังถูกแผ่นดินสูบ ดังมีในพุทธชัยมงคลปราฏเป็นหลักฐานในบทสวด "พาหุง" บทที่ ๕ ความว่า "กตฺวาน กฎฺฐมุทรํ อิว คพฺภินียา  จิญฺจาย ทุฏฺฐวจนํ ชนกายมชฺเฌ สนฺเตน โสมวิธินา ชิตวา มุนินฺโท  ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ" แปลว่า "นางจิญจมาณวิกาใช้ไม้มีสัณฐานกลมใส่ที่ท้อง ทำอาการประหนึ่งว่ามีครรภ์ เพื่อกล่าวร้ายพระพุทธเจ้า พระจอมมุนีก็เอาชนะได้ด้วยวิธีสงบระงับพระทัยในท่ามกลางหมู่คน ด้วยเดชะอันนี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่เรา" ด้วยผลกรรมที่ใส่ร้ายพระศาสดา เมื่อออกจากวัดพระเชตวัน นางจึงถูกธรณีสูบลงอเวจีมหานรก สถานที่ที่นางถูกธรณีสูบอยู่ที่สระโบกขรณี ติดกับสถานที่ที่พระเทวทัตถูกธรณีสูบ ดังคำในจิญจมาณวิกาวัตถุ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า บุคคลผู้ล่วงละเมิดธรรมอย่างหนึ่ง ผู้มักกล่าวเท็จ ปฏิเสธปรโลก จะไม่ทำบาปไม่มี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและจิญจมาณวิกา · ดูเพิ่มเติม »

จุฬามณีเจดีย์

ตามความเชื่อของพุทธศาสนิกชนเถรวาท จุฬามณีเจดีย์ (จุฬามณิเจติย) เป็นเจดีย์บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ที่บรรจุพระจุฬาพระโมลีและพระเขี้ยวแก้วของพระโคตมพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและจุฬามณีเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

จู่ซือ

ู่ซือ (祖師) บางตำราแปลว่า "ปรมาจารย์" หมายถึง ผู้ก่อตั้งหรือเจ้าสำนักองค์การศาสนาในประเทศจีน ใช้ในศาสนาพุทธ ลัทธิเต๋า ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม เป็นต้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและจู่ซือ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมบท

รรมบท เป็นชื่อประชุมพระพุทธพจน์ในรูปแบบคาถา และเป็น 1 ในตำราพุทธศาสนาซึ่งได้รับความนิยมอ่านทั้งเป็นที่รู้จักมากที่สุดSee, for instance, Buswell (2003): "rank among the best known Buddhist texts" (p. 11); and, "one of the most popular texts with Buddhist monks and laypersons" (p. 627).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธรรมบท · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมกาย

รรมกาย (धर्म काय ธรฺมกาย, จีน: 法身, พินอิน: fǎshēn) คือพระนามหนึ่งของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในความหมายของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และคือพระกายหนึ่งของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าปรากฏอยู่ในทั้งนิกายเถรวาทและมหายาน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธรรมกาย · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมกาย (แก้ความกำกวม)

รรมกาย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธรรมกาย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมราชิกสถูป

รรมราชิกสถูป (Dharmarajika Stupa) พระสถูป เก่าแก่ในพระพุทธศาสนาที่ตั้งอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (สารนาถ ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธรรมราชิกสถูป · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมเมกขสถูป

รรมเมกขสถูป (Dhamek Stupa) พระสถูป เก่าแก่ในพระพุทธศาสนาที่ตั้งอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (สารนาถ ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธรรมเมกขสถูป · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุก่องข้าวน้อย

ตุก่องข้าวน้อย:ด้านหน้าใบหน้า ธาตุก่องข้าวน้อย:พระพุทธรูป ธาตุก่องข้าวน้อย หรือที่นิยมเรียกกันว่า พระธาตุก่องข้าวน้อย ตั้งอยู่ในกลางทุ่งนาของบ้านตาดทอง ตำบลตาดทอง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 9 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 (สายยโสธร-อุบลราชธานี) กิโลเมตรที่ 194 เลี้ยวซ้ายไปอีก 1 กิโลเมตร ธาตุก่องข้าวน้อยเป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูน รูปทรงแปลกไปจากเจดีย์โดยทั่วไป คือมีลักษณะเป็นก่องข้าว องค์ธาตุเป็นเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สาม ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างด้านละ 2 เมตร ก่อสูงขึ้นไปประมาณ 1 เมตร ช่วงกลางขององค์ธาตุมีลวดลายทำเป็นซุ้มประตูทั้งสี่ด้าน ถัดจากช่วงนี้ไปเป็นส่วนยอดของเจดีย์ที่ค่อยๆ สอบเข้าหากัน ส่วนยอดรอบนอกของธาตุก่องข้าวน้อยมีกำแพงอิฐล้อมรอบขนาด 5x5 เมตร นอกจากนี้บริเวณด้านหลังองค์ธาตุมีพระพุทธรูปอยู่องค์หนึ่งก่อด้วยอิฐ นับถือว่าศักดิ์สิทธิ์มาก และในเดือนห้า (เมษายน) จะมีการประเพณีสรงน้ำพระและปิดทอง เชื่อกันว่าถ้าไม่ทำเช่นนี้ฝนจะแล้งในปีนั้น มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 23-25 (สมัยอยุธยาตอนปลาย) ประวัติของการสร้างธาตุแห่งนี้แตกต่างไปจากธาตุอื่น ๆ ที่มักเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา โดยเป็นนิทานพื้นบ้านเล่าว่า มีชายหนุ่มชาวนา (บ้างว่าชื่อ ทอง) ที่ได้ทำนาทั้งชีวิต วันหนึ่งเขาออกไปไถนา ในเวลาเที่ยงเขาเหนื่อยล้า รู้สึกเกิดอาการร้อนรนและหิวโซ มารดาของหนุ่มชาวนามาส่งข้าว แต่มาช้ากว่าเวลาปกติ ชายหนุ่มเห็นว่าก่องข้าวที่มารดาถือมาให้นั้นก่องเล็กมาก เขาโกรธมารดามาก จึงทำร้ายมารดาด้วยความโมโหหิว เอาคันไถนาฟาดไปที่มารดา จนมารดาล้มและเสียชีวิต หลังจากนั้นเขากินข้าวที่มารดานำมาให้ แต่ก็กินเท่าไรข้าวก่องน้อยนั้นก็ไม่หมดก่อง ลูกชายเริ่มได้สติ หันมาเห็นมารดานอนเสียชีวิตบนพื้น จึงรู้สึกเสียใจมากที่ได้ทำผิดไป จึงได้สร้างธาตุก่องข้าวน้อยแห่งนี้ขึ้นมาด้วยมือเพื่อชดใช้บาปกรรม นอกจากนี้แล้วบริเวณรอบๆ องค์ธาตุ กรมศิลปากรได้ค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีต่าง ๆ เกี่ยวกับการอยู่อาศัย ณ ที่แห่งนี้ ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ของไทย และภาพเขียนสียุคเดียวกับโบราณสถานบ้านเชียงด้วย อนึ่งชื่อที่ถูกต้องของธาตุองค์นี้ ควรจะเรียกว่า "ธาตุก่องข้าวน้อย" มากกว่า "พระธาตุก่องข้าวน้อย" เพราะภายในบรรจุอัฐิบุคคลธรรมดา มิใช่เป็นอัฐิพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เหมือนเช่นพระธาตุ หรือพระบรมธาตุทั่วไป ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบ ธาตุวัดทุ่งสะเดา ซึ่งมีขนาดเล็กกว่ามาก ตั้งอยู่ไม่ไกลกันมากนัก จึงได้มีการสันนิษฐานใหม่ว่า ธาตุวัดทุ่งสะเดา น่าจะเป็นธาตุก่องข้าวน้อย ตามตำนานเล่าขาน เพราะมีขนาดเล็กคนๆ เดียวสามารถสร้างได้ ส่วนธาตุก่องข้าวน้อย บ้านตาดทอง มีขนาดใหญ่พอๆ กับพระธาตุอานนท์ วัดมหาธาตุ ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะตัว บุคคลคนเดียวไม่มีความรู้เรื่องช่างไม่สามารถทำได้ จึงได้เรียกขานใหม่ว่า พระธาตุถาดทอง แทน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธาตุก่องข้าวน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ธูป

ูปที่กำลังเผาไหม้ในเขาอู่ไถ ธูป เป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องสักการบูชาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณเพื่อบูชาเทพเจ้าหรือทำให้เทพเจ้าพอใจด้วยของหอม ในอดีตธูปทำจากเนื้อไม้หอม (Aromatic wood) หลายชนิด เช่น ไม้จันทน์ขาว (Sandalwood) จันทน์เทศ (Nutmeg) กำยาน (Gum Benzoin เป็นยางไม้หอมชนิดหนึ่ง) ไม้กฤษณา (Agar wood) กันเกรา (Tembusu) หรือต้นบง หรือโกวบั๊วะ (นำมาผสมน้ำเพื่อให้เนื้อผงธูปเหนียว พอที่จะฟั่นเป็นธูปได้) บดเนื้อไม้ให้เป็นผงละเอียด นำมาเป็นวัตถุดิบในการทำธูป ธูปไทยในอดีตที่ผลิตจากไม้หอม มีลักษณะคล้ายธูปจีนโบราณ (วัฒนธรรมและการทำธูปในไทย สืบทอดมาจากการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และการค้าในอดีต) และเนื่องจากตัววัตถุดิบเป็นไม้หอม ควันธูปค่อนข้างละเอียด ไม่ระคายเคืองจมูกและตา ปัจจุบัน เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ประกอบกับวัตถุดิบที่แพงขึ้น ไม้หอมต่างๆที่นำมาผลิตธูปเริ่มมีราคาแพง ผู้ผลิตส่วนใหญ่ จึงเปลี่ยนมาใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพาราแทน เนื่องจากมีราคาถูกกว่า และมีสีขาวนวลเหมือนไม้จันทน์ขาว ลักษณะเป็นผงละเอียด ขึ้นรูปได้ง่าย แล้วจึงนำมาผสมน้ำหอม เรียกว่า "ธูปหอม" เมื่อนำมาจุดจะให้ควันและกลิ่นหอม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธูป · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติทิเบต

งชาติทิเบต สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติเขตปกครองตนเองทิเบต เริ่มปรากฏการใช้เมื่อ พ.ศ. 2455 โดยทะไลลามะองค์ที่ 13 แห่งทิเบต ทรงออกแบบขึ้น โดยรวมเอาธงประจำกองทัพของชาวทิเบตในทุกเขตแขวงมาสร้างขึ้นเป็นธงเดียว ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงนี้ได้ใช้เป็นสัญลักษณ์ของกองทัพชาวทิเบตทั้งหมดมาจนถึง พ.ศ. 2493 เนื่องจากกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีนได้บุกเข้ายึดครองทิเบต และสถาปานาดินแดนแห่งนี้เป็นเขตปกครองตนเองพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีนThe flag was not completely banned from 1951 to 1959 as exceptional case exists, see Melvyn C. Goldstein, Dawei Sherap, and William R. Siebenschuh,, University of California Press, 2004, pp174-175 ในปัจจุบัน ธงนี้ยังคงใช้เป็นสัญลักษณ์ของรัฐบาลทิเบตพลัดถิ่น ซึ่งตั้งมั่นอยู่ที่เมืองธรรมศาลา ประเทศอินเดีย ส่วนในสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งรวมถึงเขตปกครองตนเองทิเบตในปัจจุบัน ถือว่าเป็นธงนอกกฎหมาย เพราะเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการเรียกร้องเอกราชของชาวทิเบต อย่างไรก็ตาม การแสดงธงชาติทิเบตในฮ่องกงนั้น รัฐบาลท้องถิ่นมองว่าเป็นการแสดงออกถึงเสรีภาพของชาวทิเบต เนื่องจากว่าเขตบริหารพิเศษฮ่องกงนั้นมีกฎหมายบางส่วนที่บทบัญญัติใช้ในเขตการปกครองของตนแยกจากกฎหมายหลักของสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและธงชาติทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ทศชาติชาดก

มหานิบาตชาดก ทศชาติชาดก หรือ พระเจ้าสิบชาติ เป็นชาดกที่สำคัญ กล่าวถึงการบำเพ็ญบารมีใน 10 ชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ ก่อนจะเสวยพระชาติมาเกิดเป็นพระโคตมพุทธเจ้า หรือเจ้าชายสิทธัตถะแห่งศากยวงศ์ ชาดกทั้ง 10 เรื่อง เพื่อให้จำง่าย มักนิยมท่องโดยใช้พยางค์แรกของแต่ละชาติ คือ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและทศชาติชาดก · ดูเพิ่มเติม »

ทศาวตาร

อวตารของพระวิษณุ โดยราชา รวิ วรรมา วาดในช่วงศตวรรษที่ 19. ทศาวตาร () หมายถึง อวตารหลักทั้งสิบปางของพระวิษณุ เทพเจ้าในศาสนาฮินดู คำว่าทศาวตาร เป็นคำสมาสของคำว่า ทศ หมายถึง สิบ และ อวตาร หมายถึง การแบ่งภาคมาเก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและทศาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววสวัตตี

ท้าวปรนิมมิตวสวัตตี หรือ ท้าววสวัตตี(อ่านว่า วะ-สะ-วัด-ตี) ในพระพุทธศาสนาเป็นเทพบุตรมาร จึงถูกพระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่า มารผู้มีบาป เป็นจอมเทพแห่งสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี ที่ได้ชื่อว่าเป็นมารเพราะชอบมาผจญผู้ที่จะทำความดีต่าง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและท้าววสวัตตี · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสหัมบดีพรหม

วสวรรค์ทูลเข้าเฝ้าขอให้ทรงแสดงธรรม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและท้าวสหัมบดีพรหม · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสักกะ

การดำเนินตามทางสายกลางน่าจะเป็นทางที่จะทำให้ตรัสรู้ได้มากกว่าการทรมานตนเอง สักกะ (สกฺก) หรือ ศักระ (शक्र ศกฺร; ความหมาย: ผู้องอาจ ผู้สามารถ) เป็นชื่อของเทพผู้ปกครองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในจักรวาลวิทยาของศาสนาพุทธ ปรากฏนามในภาษาบาลีว่า สกฺโก เทวานํ อินฺโท (शक्रो देवानं इन्द्रः ศกฺโร เทวานํ อินฺทฺรห์) หมายถึง "สักกะผู้เป็นใหญ่เหนือทวยเทพทั้งหลาย" ในคัมภีร์ทางศาสนาพุทธ คำว่า "สักกะ" ถือเป็นวิสามานยนาม ไม่อาจใช้เรียกเทพองค์อื่นได้ ในทางตรงกันข้าม คำว่า อินฺท (ภาษาบาลี) หรือ อินฺทฺร (ภาษาสันสกฤต) ซึ่งมีความหมายว่า "ผู้เป็นใหญ่" ใช้หมายถึงท้าวสักกะอยู่บ่อยครั้ง เทพสักกะมักเรียกขานว่า "ท้าวสักกเทวราช" หรือย่อว่า "ท้าวสักกะ" ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก ท้าวสักกะเป็นที่รู้จักในนาม "ตี้ซื่อเทียน" (帝釋天) หรือ "ซื่อถีหฺวันอิน" (釋提桓因) ในภาษาจีน และ "ไทชะกุเท็น" (帝釈天) ในภาษาญี่ปุ่น สำหรับในประเทศจีนแล้ว บางครั้งมีการเปรียบเทียบว่าท้าวสักกะคือเง็กเซียนฮ่องเต้ (玉皇大帝) หรือจักรพรรดิหยกในลัทธิเต๋า ด้วยถือว่าเทพทั้งสององค์นี้มีวันประสูติเป็นวันเดียวกัน คือ ในวันที่ 9 เดือนที่ 1 ตามปฏิทินจันทรคติจีน (โดยปกติจะอยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ตามปฏิทินสุริยคติ) ในฤคเวท อันเป็นวรรณคดีภาษาสันสกฤตในศาสนาฮินดู คำว่า "ศักระ" อันเป็นนามของท้าวสักกะในภาษาสันสกฤตนั้น ใช้แทนตัวเทพอินทระหรือพระอินทร์อยู่บ่อยครั้ง แต่ในศาสนาพุทธ ตำนานและบุคลิกลักษณะของท้าวสักกะแตกต่างไปจากพระอินทร์ในพระเวทอย่างสิ้นเชิง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งเป็นที่สถิตของท้าวสักกะตั้งอยู่เหนือยอดเขาพระสุเมรุ ซึ่งตามคติเรื่องไตรภูมิ ถือว่าภูเขาแห่งนี้เป็นศูนย์กลางของโลก อันมีพระอาทิตย์และพระจันทร์เวียนโคจรโดยรอบ สวรรค์ชั้นนี้นับเป็นสวรรค์ชั้นที่สูงที่สุดที่เชื่อมต่อกับมนุสสภูมิ (โลกมนุษย์) โดยตรง ท้าวสักกะมีชีวิตที่ยาวนานเช่นเดียวกับเทพทั้งหลาย หากแต่ก็มีวาระที่จะหมดอายุขัยตามแรงบุญของตนเองเช่นกัน ในยามที่ท้าวสักกะจะต้องจุติ (ตาย) เมื่อจิตดับไปแล้ว จะบังเกิดท้าวสักกะองค์ใหม่ (ซึ่งอาจเป็นเทพองค์อื่น) ขึ้นแทนที่ท้าวสักกะองค์เดิมทันที เรื่องราวของท้าวสักกะในทางพระพุทธศาสนาทั้งไม่ว่าจะในอดีตหรือในปัจจุบัน (ในช่วงที่บันทึกพระไตรปิฎก) ปรากฏอยู่ในชาดกและพระสูตรต่าง ๆ ซึ่งโดยมากจะอยู่ในหมวดสังยุตตนิกาย ชื่อท้าวสักกะปรากฏในพระสูตรหลายตอน และมักมีบทบาทเป็นผู้กราบทูลขอคำปรึกษาจากพระโคดมพุทธเจ้าในปัญหาธรรมต่าง ๆ ถือกันว่าพระองค์เป็นธรรมบาล (ผู้คุ้มครองธรรม) ในพุทธศาสนาร่วมกับเหล่าพรหมทั้งหล.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและท้าวสักกะ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสันดุสิต

ท้าวสันดุสิต เป็นจอมเทพผู้ปกครองสวรรค์ชั้นดุสิตและเทพในชั้นนี้ทั้งหมด ในสวรรค์ชั้นนี้ถือเป็นชั้นที่เปี่ยมไปด้วยปีติ และกามคุณเบาบางกว่าสวรรค์ชั้นอื่น เป็นชั้นที่พระโพธิสัตว์อยู่อาศัยมากที่สุด พระเวสสันดรโพธิสัตว์ทรงประทับในสวรรค์ชั้นดุสิตนี้ก่อนได้รับอาราธนาให้เสด็จลงมาเสวยพระชาติสุดท้ายเป็นพระโคตมพุทธเจ้า หมวดหมู่:เทวดา.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและท้าวสันดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

ขนมเบื้อง

นมเบื้องไทย ขนมเบื้องเป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีลักษณะเป็นแผ่นแป้ง มีไส้รสต่างๆ มีหลักฐานกล่าวถึงในคำให้การขุนหลวงหาวัดว่า "บ้านหม้อปั้นหม้อข้าวหม้อแกงใหญ่เล็ก และกระทะเตาขนมครกขนมเบื้อง" ขนมเบื้องมีหลายแ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและขนมเบื้อง · ดูเพิ่มเติม »

ดอยเชียงดาว

ระอาทิตย์ตกบนยอดดอยเชียงดาว ดอยเชียงดาว หรือ ดอยหลวงเชียงดาว (Doi Chiang Dao, Doi Luang Chiang Dao) เป็นดอยหรือยอดเขาที่มีความสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย รองมาจากดอยอินทนนท์และดอยผ้าห่มปก ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มีความสูง 2,275 เมตร (7,136 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล ชื่อในสมัยก่อนเรียกว่า "ดอยอ่างสลุง" ชื่อกันตามตำนานพื้นเมืองว่าเป็นสถานที่ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาพร้อมพระอรหันต์ 8 รูป ทรงลงสรงน้ำในสลุงทองคำหรือบริเวณอ่างสลุง จึงเรียกดอยแห่งนี้ว่า "ดอยหลวง" เนื่องจากเป็นดอยที่มีขนาดสูงใหญ่ ("หลวง" ในภาษาเหนือ หมายถึง "ใหญ่") เพี้ยนเป็น "ดอยหลวงเพียงดาว" จนกลายมาเป็น "ดอยหลวงเชียงดาว" หรือ "ดอยเชียงดาว" ในปัจจุบัน เป็นที่ตั้งของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว อุณหภูมิตามปกติจะถูกปกคลุมด้วยเมฆหมอกตลอดปีโดยเฉพาะในฤดูหนาวและฤดูฝน อากาศหนาวเย็นตลอดฤดูหนาวและฤดูฝนอากาศชุ่มชื้นมาก เป็นแหล่งที่มีพืชพรรณหลากหลายและมีหลายชนิดที่เป็นพืชถิ่นเดียวไม่พบในส่วนอื่น ๆ ของประเทศไทย มีทั้งพืชเขตร้อน, กึ่งเขตร้อนและพืชเขตอบอุ่น จึงเป็นสถานที่ ๆ พบความหลากหลายทางชีวภาพมาก เนื่องจากเป็นเขาหินปูน เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัย เกิดขึ้นในยุคเพอร์เมียน มีอายุระหว่าง 230–250 ล้านปี เป็นหมู่หินราชบุรีของไทย ซึ่งเกิดจากการทับถมของตะกอนทะเล และซากสัตว์ที่มีหินปูน สันนิษฐานว่า พื้นที่ในบริเวณนี้ในอดีตเคยเป็นท้องทะเลมาก่อนที่การตกตะกอนทับถมของซากสิ่งมีชีวิต เช่น ปะการังและหอย เป็นแหล่งนิยมสำหรับการดูนก มีนกอาศัยอยู่ที่นี่มากกว่า 300 ชนิด รวมถึงสัตว์ป่าชนิดอื่นที่หายาก เช่น ผีเสื้อสมิงเชียงดาว, ไก่ฟ้าหางลายขวาง, กวางผา รวมถึงเลียงผา ซึ่งเป็นสัตว์ป่าสงวน เป็นต้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและดอยเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต

ต คือสวรรค์ชั้นที่ 4 ในฉกามาพจร มีท้าวสันดุสิตเป็นจอมเท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่า

งูเห่า (Cobras) เป็นงูพิษขนาดกลางที่อยู่ในสกุล Naja ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) วงศ์ย่อย Elapinae ซึ่งเป็นสกุลของงูพิษที่อาจเรียกได้ว่าเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดอย่างหนึ่ง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

ตรัสรู้

ตรัสรู้ หมายถึง การรู้แจ้งของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นการรู้สภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงในหลักอริยสัจ 4.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและตรัสรู้ · ดูเพิ่มเติม »

ตะกวด

ตะกวด, จะกวด หรือ จังกวด (อีสาน, ลาว, ใต้, เหนือ: แลน; เขมร: ตฺรอกวต) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลังชั้นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายเหี้ย (V. salvator) ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ในสกุลและวงศ์เดียวกัน โดยมักจำสับสนกับเหี้ยหรือเรียกสลับกัน แต่ตะกวดมีขนาดเล็กกว่าเหี้ยมาก และตำแหน่งของโพรงจมูก โดยโพรงจมูกของตะกวดจะอยู่ไม่ใกล้กับปลายปากเหมือนกับเหี้ย รวมถึงมีปลายปากที่มนทู่กว่า อีกทั้งสีสันของตะกวดจะมีสีน้ำตาลหรือสีดำ ซึ่งแตกต่างจากเหี้ยที่มีสีเหลืองผสมอยู่เป็นลาย อีกทั้งอุปนิสัยมักจะไม่ค่อยอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำหรือชอบว่ายน้ำหรือหากินในน้ำเหมือนเหี้ย และไม่ดุร้ายเท่า ตะกวดมักอาศัยบนต้นไม้ ปีนต้นไม้เก่ง ชอบนอนผึ่งแดดตามกิ่งไม้ แต่หากินตามพื้นดิน มักอาศัยอยู่ตามป่าโปร่งมากกว่าป่าทึบ ในนิทานชาดก พระพุทธเจ้าเคยเสวยพระชาติเป็นตะกวดเช่นกัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและตะกวด · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานคนตัดไผ่

ตะเกะโตริ โนะ โอะกินะนำคะงุยะ-ฮิเมะกลับบ้านไปให้ภรรยาโดยโตะซะ ฮิโรมิชิ (Tosa Hiromichi), ราว ค.ศ. 1600 ตำนานคนตัดไผ่ หรือ ตำนานเจ้าหญิงคะงุยะ (竹取物語 หรือ かぐや姫, The Tale of the Bamboo Cutter หรือ The Tale of Princess Kaguya) เป็นตำนานพื้นบ้านของญี่ปุ่นที่มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 ที่ถือกันว่าเป็นวรรณกรรมญี่ปุ่นชิ้นที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นตัวอย่างของที่มาของนวนิยายเชิงวิทยาศาสตร์ (cf.) เรื่องดำเนินไปโดยมีศูนย์กลางคือเด็กหญิงที่ไม่ทราบที่มา ชื่อ คะงุยะฮิมะ (Kaguya-hime) ที่คนตัดไผ่ไปพบเมื่อยังเป็นทารกภายในปล้องไผ่ที่เรืองแสง กล่าวกันว่าคะงุยะมาจากจันทรประเทศ (月の都) และมีผมที่ “เงาวาวเหมือนทอง”.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและตำนานคนตัดไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสนพุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพกลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" นั้น อาจหมายถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยา ต้นโพธิ์ที่สืบมาจากหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตามวัดต่าง ๆ ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา, ต้นพระชัยศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระ, และต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหาร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยา ได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วง มีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลา ซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้ง และต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดีย แม้ในประเทศไทย จะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับต้นพระศรีมหาโพธิ์เท่ากับชาวพุทธในศรีลังกา แต่ปรากฏตามความเชื่อในประเทศไทยว่า ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พุทธคยา เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำปีเกิดสำหรับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง สำหรับชาวล้านนายังมีความเชื่ออีกว่า ต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ และเครื่องประกอบพิธีกรรม ใต้ต้นโพธิ์ โดยผูกคติกับความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งไม่ใช่ความหมายเดิมของการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ตามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้น เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ (ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดี), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร (ปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นต้น แม้การทำลายต้นโพธิ์ตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจะระบุว่าเป็นการทำบาปและหลบหลู่พระรัตนตรัย แต่ในมหาสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวว่าเฉพาะต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่านั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกาเจดีย์ คือไม่มีผู้เคารพบูชาในฐานะตัวแทนของพระพุทธเจ้า (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและต้นพระศรีมหาโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพระพุทธเจ้า

ประวัติพระพุทธเจ้า (The Life of Buddha) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชัน 2 มิติ ที่เล่าเรื่องราวประวัติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดำเนินการผลิตโดย ดร.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและประวัติพระพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปริภัณฑ์ วัชรานนท์

ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (ชื่อเล่น โต๊ะ) เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 เป็นนักพากย์ภาพยนตร์จีน ที่เป็นที่รู้จักคนหนึ่งของเมืองไทย ในนามทีมพากย์พันธมิตร จะเป็นผู้ให้เสียงพากย์ โจว ซิงฉือ, เจ็ต ลี และ เฉินหลง ต่อจากทีมพากย์อินทรี เป็นผู้ก่อตั้งทีมพากย์พันธมิตร และเป็นหัวหน้าทีม เขาเริ่มงานพากย์จากการพากย์หนังกลางแปลง สถานที่แรกที่เขาเริ่มพากย์ คือ อ่าวลึกเหนือ จังหวัดกระบี่ โดยภาพยนตร์เรื่องแรกที่เขาพากย์คือ ภาพยนตร์อินเดียเรื่อง สายน้ำวิปโยค และต่อมาก็ได้พากย์หนังในโรงภาพยนตร์ ต่อมา เขาก็มาเริ่มพากย์ให้กับทางช่อง 3ในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและปริภัณฑ์ วัชรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรนิมมิตวสวัตดี

ปรนิมมิตวสวัตดี คือสวรรค์ชั้นที่ 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดในฉกามาพจร มีท้าววสวัตตีเป็นจอมเท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและปรนิมมิตวสวัตดี · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจวัคคีย์

ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ปัญจวัคคีย์ คือ กลุ่มนักบวชที่ตั้งขึ้นมา เป็นนักบวชที่ปรากฏอยู่ในศาสนาพุทธในฐานะภิกษุชุดแรกที่เข้ามาบวชเป็นสาวก มีทั้งหมด 5 รูป ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ แต่เดิมปัญจวัคคีย์เป็นนักบวชที่ออกบวชติดตามปรนนิบัติพระพุทธเจ้าตั้งแต่เสด็จออกผนวชใหม่ ๆ ทั้งหมดเป็นชาวกรุงกบิลพัสดุ์ เป็นกลุ่มบุคคลที่ได้ฟังปฐมเทศนาเป็นรุ่นแรก ได้เป็นภิกษุรุ่นแรกและได้เป็นพระอรหันต์รุ่นแรกในพระพุทธศาสนา เฉพาะโกณฑัญญะเป็นผู้เคยทำนายลักษณะพระพุทธเจ้าตั้งแต่ตอนประสูติใหม่ ส่วนอีก 4 ท่าน เป็นบุตรของพราหมณ์ที่ทำนายลักษณะของพระพุทธเจ้าร่วมกับโกณฑัญญะ เพราะมีความเชื่อว่าเจ้าชายสิทธัตถะจะต้องได้เป็นพระพุทธเจ้าจึงได้ออกบวชตาม ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 พระพุทธองค์ได้แสดงปฐมเทศนาคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โกณฑัญญะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม บรรลุโสดาบัน โกณฑัญญะได้รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ให้เป็นเอตทัคคะในด้านรัตตัญญู เรียกว่า มีราตรีนาน คือเป็นผู้รู้ธรรมก่อนใคร และได้บวชก่อนผู้อื่นในพระพุทธศานา จากนั้นพระพุทธองค์ทรงประทาน ปกิณณกเทศนา สั่งสอนที่เหลืออีก 4 ท่าน ให้บรรลุโสดาบันแล้วประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาให้ ในวันแรม 5 ค่ำ เดือน 8 พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมเทศนาอนัตตลักขณสูตร ซึ่งมีใจความดังนี้ ขณะสดับพระธรรมเทศนา พระภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ส่งจิตไปตามกระแสพระธรรมเทศนา จิตก็หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง ไม่ยึดมั่น ถือมั่นด้วยอุปาทาน สามารถละสังโยชน์ครบ 10 ประการ ได้บรรลุพระนิพพานเป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้ง 5 รูป.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและปัญจวัคคีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปายาส

ปายาสของชาวสแกนดิเนเวียในเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศเดนมาร์ก ปายาส (rice pudding) คือ ข้าวชนิดหนึ่งที่หุงเจือด้วยน้ำหรือน้ำนมและน้ำตาล เป็นอาหารของหลายชนชาติ ซึ่งบางชาติเป็นอาหารหลัก บางชาติเป็นอาหารว่าง ปายาสเจือน้ำผึ้งเรียก มธุปายาส ครั้งหนึ่งนางสุชาดาเคยถวายแด่พระสมณโคดม หมวดหมู่:อาหารประเภทข้าว หมวดหมู่:อาหารอินเดีย หมวดหมู่:ขนมอินเดีย.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและปายาส · ดูเพิ่มเติม »

ปางห้ามมาร

ปางห้ามมาร เป็นพระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถประทับ (นั่ง) ขัดสมาธิราบ พระหัตถ์ซ้ายวางหงาย อยู่บนพระเพลา (ตัก) พระหัตถ์ขวายกขึ้นป้องเสมอพระอุระ (อก) แสดงอาการห้าม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและปางห้ามมาร · ดูเพิ่มเติม »

ปางปรินิพพาน

ระพุทธไสยา วัดบวรนิเวศวิหาร ปางปรินิพพาน แบบหลับพระเนตร พระนอนชเวตาลียง ในเมืองพะโค พม่า ปางปรินิพพาน แบบลืมพระเนตร ปางปรินิพพาน เป็นชื่อเรียกของพระพุทธรูปลักษณะ บรรทม (นอน) ตะแคงเบื้องขวา หลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย (หมอน) พระหัตถ์ซ้ายทอดทาบไปตามพระวรกาย พระหัตถ์ขวาวางหงายอยู่ข้างพระเขนย พระบาทซ้ายทับซ้อนพระบาทขวา (เรียกโดยทั่วไปว่าพระนอน หรือพระไสยาสน์) เช่นเดียวกับปางโปรดอสุรินทราหู และปางทรงพระสุบินหรือเรียกโดยทั่วไปว่าพระปางไสยาสน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและปางปรินิพพาน · ดูเพิ่มเติม »

นักพรต

นักพรต (monk)กีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 131 คือผู้บำเพ็ญพรต หรือผู้ประพฤติตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกาย ใจ ของตนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนักพรต · ดูเพิ่มเติม »

นาค

นาคสะดุ้ง ประติมากรรมตามบันไดทางขึ้นโบสถ์ของวัดไทย ตามความเชื่อในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นาค (नाग Nāga) เป็นงูขนาดใหญ่มีหงอน เป็นสัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ ความอุดมสมบูรณ์ ความมีวาสนา อีกทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ของบันไดสู่จักรวาลอีกด้วย ต้นกำเนิดความเชื่อเรื่องพญานาคน่าจะมาจากอินเดีย ด้วยมีปกรณัมหลายเรื่องเล่าถึงพญานาค โดยเฉพาะในมหากาพย์มหาภารตะ นาคถือเป็นปรปักษ์ของครุฑ ส่วนในตำนานพุทธประวัติ ก็เล่าถึงพญานาคไว้หลายครั้งด้วยกัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังมีตำนานเรื่องพญานาคอย่างแพร่หลาย ชาวบ้านในภูมิภาคนี้มักเชื่อกันว่าพญานาคอาศัยอยู่ในแม่น้ำโขง หรือเมืองบาดาล และเชื่อกันว่าเคยมีคนเคยพบรอยพญานาคขึ้นมาในวันออกพรรษาโดยจะมีลักษณะคล้ายรอยของงูขนาดใหญ่ ลักษณะของพญานาคตามความเชื่อในแต่ละภูมิภาคจะแตกต่างกันไป แต่พื้นฐานคือพญานาคนั้นมีลักษณะตัวเป็นงูตัวใหญ่มีหงอนสีทองและตาสีแดง เกล็ดเหมือนปลามีหลายสีแตกต่างกันไปตามบารมี บ้างก็มีสีเขียว บ้างก็มีสีดำ หรือบ้างก็มี 7 สี เหมือนสีของรุ้ง และที่สำคัญคือนาคตระกูลธรรมดาจะมีเศียรเดียว แต่ตระกูลที่สูงขึ้นไปนั้นจะมีสามเศียร ห้าเศียร เจ็ดเศียรและเก้าเศียร นาคจำพวกนี้จะสืบเชื้อสายมาจาก พญาเศษะ (อนันตนาคราช) ผู้เป็นบัลลังก์ของพระวิษณุนารายณ์ปรมนาท ณ เกษียรสมุทร อนันตนาคราชนั้นเล่ากันว่ามีกายใหญ่โตมหึมามีความยาวไม่สิ้นสุด มีพันศีรษะ พญานาคนั้นมีทั้งเกิดในน้ำและบนบก เกิดจากครรภ์และจากไข่ มีอิทธิฤทธิ์สามารถบันดาลให้เกิดคุณและโทษได้ นาคนั้นมักจะแปลงร่างเป็นมนุษย์รูปร่างสวยงาม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนาค · ดูเพิ่มเติม »

นางวิสาขา

นางวิสาขา เป็นสาวกของพระโคตมพุทธเจ้า ได้บรรลุโสดาบันตั้งแต่อายุได้ 7 ขวบ เป็นผู้สร้างวัดบุพพาราม เป็นผู้ริเริ่มถวายผ้าอาบน้ำฝน และได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าให้เป็นเอตทัคคะฝ่ายทายิก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนางวิสาขา · ดูเพิ่มเติม »

นิชิเร็งชู

นิชิเรนชู (日蓮宗: "Nichiren School") เป็นนิกายหนึ่งของศาสนาพุทธมหายาน นิกายนิชิเรน ที่ถูกตั้งขึ้นโดยศิษย์ของพระนิชิเรน นิกายนี้เป็นที่รู้จักในทางนานาชาติน้อยกว่า นิชิเรนโชชู ในทางนานาชาติ นิชิเรนชู จะหมายถึง นิกายสายคุอนจิ นิกายนิชิเรนชู ไม่ยอมรับที่ นิชิเรนโชชู อ้างว่าพระนิชิเรนได้แต่งตั้ง พระนิกโค ให้เป็นผู้สืบทอดของท่านอย่างถูกต้อง แม้ว่าพระนิกโคเองเดิมทีจะเป็นสหายของพระสงฆ์อาวุโสที่เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนิชิเรนชูก็ตามที นิกายนี้เชื่อว่า พระพุทธะที่ปรากฏในคัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตรคือ พระศากยมุนีพุทธเจ้า ไม่ใช่ พระนิชิเรน อย่างที่นิชิเรนโชชูกล่าวอ้าง โดยเชื่อว่า พระนิชิเรนนั้นเป็นเพียง พระโพธิสัตว์โจเกียว หรือ พระวิศิษฐ์จาริตรโพธิสัตว์ มาปรากฏตัวตามคำพยากรณ์ในสัทธรรมปุณฑริกสูตรบทที่ 21 ที่มาทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนหลังการปรินิพพานของพระศากยมุนีพุทธเจ้าเท่านั้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนิชิเร็งชู · ดูเพิ่มเติม »

นิชิเร็น

ทธศาสนานิชิเร็น (日蓮系諸宗派, นิชิเร็น-เคอิ โช ชูฮะ) เป็นหนึ่งในนิกายทางมหายานของพุทธศาสนา ที่ยึดตามคำสอนของ พระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ พระนิชิเร็ง (ค.ศ. 1222– ค.ศ. 1282) รูปแบบของศาสนาพุทธนิกายนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมญี่ปุ่นหลายช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ นิชิเร็นโชชูจะเชื่อใน คัมภีร์ สัทธรรมปุณฑริกสูตร และเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีธรรมชาติพุทธะอยู่ในชีวิตของแต่ละคนอยู่แล้ว จึงทำให้มนุษย์ทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ในช่วงชีวิตนี้ ซึ่งพระนิชิเร็ง ได้เห็นความเบี่ยนเบนทางคำสอนของ มหายานในสมัยนั้น นิกายนิชิเร็นมีแตกแยกออกเป็นหลาย ๆ นิกายย่อยและลัทธิต่าง ๆ อีกมากมาย อีกทั้งยังมีแยกออกเป็นกลุ่มศาสนาใหม่มากมาย โดยบางนิกายจะใช้บทสวดเดียวกัน แต่จะมีความแตกต่างในการปฏิบัติ และคำสอน ผู้นับถือนิกายนิชิเร็นจะเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมจะสามารถนำพาความสุข และสันติสุขมาสู่โลก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนิชิเร็น · ดูเพิ่มเติม »

นิมมานรดี

นิมมานรดี คือสวรรค์ชั้นที่ 5 ในฉกามาพจร มีท้าวสุนิมมิตเป็นจอมเท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนิมมานรดี · ดูเพิ่มเติม »

นิลกาย

นิลกาย (Nilgai, Blue bull; নীলগাই; नीलगाय) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) จัดเป็นเพียงสัตว์ชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Boselaphus มีรูปร่างลักษณะคล้ายวัวผสมกับม้า ตัวผู้มีลักษณะเด่น ที่ สีลำตัวเมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินเข้มขึ้นเรื่อย ๆ หรือสีเทาปนดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ถือเป็นแอนทีโลปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย โดยมีส่วนสูงวัดถึงไหล่ประมาณ 1.2–1.5 เมตร และยาว 1.8–2 เมตร หางยาว 40–45 เซนติเมตร ตัวเต็มวัยมีน้ำหนักประมาณ 120–140 กิโลกรัม ลำตัวใหญ่ แต่มีขาเล็กเรียว ตัวผู้มีเขาเล็ก ๆ โค้งไปข้างหน้าเล็กน้อย ยาวประมาณ 21-25 เซนติเมตร มีขนแข็งยาวขึ้นจากส่วนหัวไล่ไปถึงกลางหลังทั้งสองเพศ ขณะที่ตัวเมียมีสีออกน้ำตาลแดง นิลกาย เป็นสัตว์ที่มีถิ่นกระจายพันธุ์ในราบตอนเหนือของอินเดียและทางภาคตะวันออกของปากีสถาน ชอบอยู่ตามที่ราบและเนินเขาที่มีไม้พุ่มเตี้ยมากกว่าอยู่ในป่าทึบ นิลกายเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 18 เดือน ซึ่งหลังผสมพันธุ์แล้ว มีระยะเวลาตั้งท้องประมาณ 8 เดือน ออกลูกคราวละ 2 ตัวหรือมากได้ถึง 3 ตัว น้ำหนักตัวเมื่อเกิดใหม่ราว 13–16 กิโลกรัม มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 21 ปี นิลกายเป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางวัน และพักผ่อนในเวลากลางคืนเหมือนสัตว์ในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ แต่กินอาหารหลากหลายกว่า เพราะกินทั้งต้นไม้, ใบหญ้า, ใบไม้ และผลไม้ทั่วไป นอกจากนี้ยังมีความสามารถพิเศษ คือ สามารถอดน้ำได้หลายวันโดยไม่มีน้ำดื่ม แต่มักจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ โดยส่วนใหญ่จะอยู่กันเป็นกลุ่มประมาณ 15 ตัว บางกลุ่มอาจมีถึง 20 ตัว ยกเว้นตัวที่อายุมากแล้วมักจะปลีกตัวไปอยู่ตามลำพัง และจะรวมตัวกันอีกทีก็ในช่วงฤดูหนาว ซึ่งอาจจะมีจำนวนถึง 30–100 ตัว ปัจจุบัน นิลกายพบจำนวนมากในที่ สวนลุมพินีวัน อันเป็นสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า และเชื่อว่าเป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ด้วย เป็นสัตว์ที่เชื่อว่าหากใครได้พบเห็น จะพบกับความเป็นสิริมงคล แต่นิลกายก็ถือเป็นสัตว์ที่รบกวนกินพืชผลของเกษตรกรเสียหายได้ครั้งละเป็นจำนวนมาก ทางการอินเดียจึงอนุญาตให้ล่าสัตว์ชนิดนี้ได้อย่างถูกกฎหมาย ขณะที่อีกไม่น้อยถูกรถชน นอกจากนี้ยังต้องขาดแคลนที่อยู่ซึ่งเป็นผลมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทุกวัน และมีศัตรูตามธรรมชาติอีกอย่างคือเสือและสิงโต ทำให้ปัจจุบันเหลือปริมาณ นิลกายอยู่ไม่มากแล้ว ในอินเดียมีประมาณ 100,000 ตัวเท่านั้น ส่วนที่รัฐเทกซัสในสหรัฐอเมริกาถูกนำไปเลี้ยงในสวนสัตว์บ้าง ในธรรมชาติบ้าง ช่วงทศวรรษ 1920 เหลือปริมาณนิลกายประมาณ 1,500 ตัว สำหรับในประเทศไทย นิลกายมีอยู่ที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ซึ่งได้ตกลูกในไทยมาแล้วถึง 4 ตัว นอกจากนี้แล้วยังเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับซาวลา (Pseudoryx nghetinhensis) ที่พบในป่าทึบของเวียดนามอีกด้ว.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนิลกาย · ดูเพิ่มเติม »

นิทาน

นิทาน (นิทาน, Fable) ในภาษาไทย มีใช้อย่างน้อย ๒ ความหมาย คือ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและนิทาน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมนต์

น้ำมนต์ หรือ น้ำมนตร์ หมายถึง นํ้าที่เสกเพื่อใช้อาบ กิน หรือประพรม เป็นต้น ถือกันว่าเป็นมงคล การทำน้ำมนต์พบเห็นได้ทั่วไปในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู เป็นต้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและน้ำมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เฮสเซอ

แฮร์มันน์ เฮสเซอ right แฮร์มันน์ เฮสเซอ (Hermann Hesse) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1877 — 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นกวี นักเขียน และจิตรกรชาวเยอรมัน-สวิส เกิดที่เมืองคาลฟ์ในประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1945 ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ สิทธารถะ และ เกมลูกแก้ว เฮสเซอเริ่มสร้างสรรค์งานประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเมื่อมีอายุได้ 21 ปี จนเมื่อมีอายุได้ 26 ปี จึงเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย นอกจากความสามารถทางด้านการประพันธ์แล้ว เฮสเซอยังมีความสามารถทางจิตรกรรมสีน้ำอีกด้วย เฮสเซอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและแฮร์มันน์ เฮสเซอ · ดูเพิ่มเติม »

โพ

(มักเขียนว่า โพธิ์) (คำว่า "โพ" มาจากภาษาสิงหล; Sacred fig) เป็นต้นไม้สปีชีส์หนึ่งของไทรหรือมะเดื่อ เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และ อินโดจีน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน สูงได้ถึง 30 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร รูปใบโดยทั่วไปของต้นโพ ใบมีรูปหัวใจปลายยาว ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้าง 8-12 เซนติเมตร ก้านใบยาว 6-10 เซนติเมตร ผลมีขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร สีเขียวเมื่อสุกมีสีม่วง โพเป็นต้นไม้ที่ถูกสักการะในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ด้วยเหตุนี้จึงมีชื่อว่า "Sacred fig" พระโคตมพุทธเจ้าก็ได้ตรัสรู้เมื่อนั่งอยู่ใต้ต้นโพเช่นกัน โดยต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าตรัสรู้นั้นชื่อ "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" ปัจจุบันยังคงมีชีวิตอยู่ที่ประเทศอินเดีย จึงเชื่อกันว่าโพเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข, ความสำเร็จ, อายุยืน และ ความโชคดี และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและโพ · ดูเพิ่มเติม »

โจ๊ก

ก เป็นข้าวต้มชนิดหนึ่งที่ใช้ปลายข้าวต้มจนเละ นิยมรับประทานกันในหลายประเทศในเอเชีย ในบางวัฒนธรรมจะรับประทานโจ๊กเป็นอาหารเช้าหรืออาหารมื้อค่ำแทนอาหารหลักในบางมื้อ ส่วนเทศกาลวันตรุษจีนจะมีข้อห้ามกินโจ๊กเพราะการกินโจ๊กวันตรุษจีนเหมือนกับการขัดขวางไม่ให้ตัวเองร่ำรวยเนื่องจากคนจนจะนิยมกินโจ๊ก โจ๊กยังสามารถทำได้ในหม้อธรรมดาหรือหม้อหุงข้าว คำว่า congee ในภาษาอังกฤษน่าจะมีความเป็นไปได้ว่ามาจากคำในภาษาดราวิเดียน คำว่า kanji และเว็บสเตอร์ดิกชันนารี ระบุว่าคำว่า Congee มาจากอินเดีย ส่วนคำว่า โจ๊ก ในภาษาไทย เลียนเสียงมาจากภาษาจีนกวางตุ้ง จุ๊ก (粥 dzuk7) บ้างก็ว่ามาจากคำว่า ล่าปาเจี๋ย (腊八节) ซึ่งแปลว่า "เทศกาลลาป่า" อันเป็นประเพณีตั้งแต่โบราณ ตั้งแต่ยุคสามราชาห้าจักรพรรดิ (2852 ก่อนคริสตกาล ถึง 2070 ก่อนคริสตกาล) ซึ่งเป็นการล่าสัตว์เพื่อบูชาบรรพบุรุษและเทพเจ้า ตามคติของพุทธศาสนาแบบมหายานของจีน เล่าว่า เจ้าชายสิทธัตถะขณะกำลังบำเพ็ญทุกรกิริยาจนกระทั่งสลบไป หญิงเลี้ยงวัวคนหนึ่งมาพบเข้าได้นำอาหารที่ติดตัวมาผสมกับนมวัวรวมกับผลไม้ป่าหลายชนิดป้อนให้เจ้าชายสิทธัตถะให้รับประทานจนกระทั่งฟื้นคืนสติ และได้ตรัสรู้ในคืนนั้นสำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า ตรงกับวันขึ้น 8 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจีน ในยุคราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368 ถึง ค.ศ. 1644) เล่ากันว่าจูหยวนจาง ปฐมจักรพรรดิขณะยังมีสถานะเป็นสามัญชน เป็นผู้ที่มีความเป็นอยู่แร้นแค้นมาก วันหนึ่งได้ขุดรูหนูเพื่อจับหนูกิน แต่ได้ไปพบข้าวฟ่างและธัญพืชหลายชนิด จึงนำมาต้มรวมกัน เรียกว่า ล่าปาโจว (腊八粥; แปลว่า ข้าวต้มล่าปา) ในประเทศไทยบางพื้นที่ออกเสียงคำว่า "โจว" (节) เพี้ยนเป็น "โจ๊ก" จนกลายมาเป็นโจ๊กดังในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและโจ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ไดโงะฮนซง

งะฮนซง เป็นสิ่งสักการบูชาสูงสุดของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็งโชชู คำว่า "ได" (大) แปลว่า "ยิ่งใหญ่, สูงสุด" ส่วน "โงะฮนซน" (御本尊) หมายถึง สิ่งสักการะ คำว่า "ไดโงะฮนซง" จึงแปลว่า "สิ่งสักการะสูงสุด" ไดโงะฮนซนมีลักษณะเป็นรูปมัณฑละ (มณฑล) จารึกภาษาจีนและภาษาสันสกฤต ซึ่งทำจากไม้การบูร โดยหลักแล้วมัณฑละดังกล่าวประกอบด้วยนามของพุทธะ พระโพธิสัตว์ เทพในพุทธศาสนา และคุรุอาจารย์ต่างๆ ในศาสนาพุทธเป็นจำนวนมาก รายล้อมรอบอักษรคันจิ (อักษรจีน) ที่อยู่ศูนย์กลางมัณฑละ ซึ่งจารึกเป็นคาถาว่า "นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวนิชิเร็ง" ตามประวัติกล่าวว่าโงะฮนซงถูกจารึกขึ้นโดยพระนิชิเร็ง (หรือ "นิชิเร็งไดโชนิง" ในหมู่สานุศิษย์แห่งนิกายนิชิเร็งโชชู) เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1279 เป็นการจำลองธรรมสภาในห้วงอวกาศขณะที่พระโคดมพุทธเจ้า (ฝ่ายมหายานนิยมเรียกว่า "พระศากยมุนีพุทธะ") แสดงพระธรรมเทศนาเรื่องสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปัจจุบันไดโงะฮนซงประดิษฐานอยู่ ณ โฮอันโดะ วัดไทเซคิจิ จังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น อันเป็นศูนย์กลางใหญ่ของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็งโชชู สานุศิษย์แห่งนิกายนิชิเร็งโชชูถือว่าไดโงะฮนซงคือการรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของบุคคลและธรรม และคือจุดมุ่งหมายในการมาเกิดของพระนิชิเร็งไดโชนิง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและไดโงะฮนซง · ดูเพิ่มเติม »

เบญจศีล

ญจศีล หรือ ปัญจสีล แปลว่า ศีล 5 เป็นศีลหรือข้อห้ามในลำดับเบื้องต้นตามพระโอวาทของพระโคตมพุทธเจ้า พระศาสดาพระองค์ปัจจุบันแห่งศาสนาพุทธ แต่ทั้งนี้เบญจศีลเป็นหลักการที่มีมาและเป็นที่สั่งสอนทั่วไปก่อนพระพุทธโคดมอุบัติแล้วราชบัณฑิตยสถาน, 2548: 363.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเบญจศีล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา

ลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา เป็นบทร้อยกรองประเภทเพลงยาว มีเนื้อหาเกี่ยวกับการทำนายสถานการณ์ของกรุงศรีอยุธยาในอนาคตว่าจะประสบวิบัติภัยนานา โดยคาดว่าประพันธ์ขึ้นราวสมัยรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ส่วนผู้ประพันธ์ยังไม่อาจระบุตัวได้แน่ชั.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เกจิอาจารย์

กจิอาจารย์ แปลว่า อาจารย์บางพวก หลังพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว สาวกของพระองค์ได้รวบรวมคำสอนของพระองค์ไว้เป็นหมวดหมู่ เรียกว่าพระไตรปิฎก ต่อมามีภิกษุผู้เป็นนักปราชญ์ได้แต่งอรรถกถาและฎีกาเพื่ออธิบายข้อความในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้น เรียกภิกษุผู้แต่งหนังสือนั้นว่า พระอรรถกถาจารย์ และ พระฎีกาจารย์ และในหนังสือที่แต่งนั้นมักจะมีอ้ างถึงความคิดเห็นของอาจารย์พวกอื่น ๆ ที่เห็นด้วยหรือเห็นแย้งกับผู้แต่ง จึงเรียกอาจารย์ที่ถูกอ้างถึงนั้นว่า เกจิอาจารย์ เกจิอาจารย์ ในปัจจุบันถูกใช้ในความหมายที่ผิดไปจากเดิม คือใช้เรียกภิกษุที่เชื่อกันว่ามีความรู้ความสามารถในด้านคาถาอาคมและการปลุกเสกเครื่องรางของขลัง หรือเรียกสั้นๆ ว่า พระเก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเกจิอาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

เวอร์โก้ ชากะ

วอร์โก้ ชากะ ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีกันย์ ผู้ดูแลปราสาทหญิงพรหมจรรย์ 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงทัวรี่ มีพลังคอสโม่ที่สูงส่งและมีจริยาวัตรเหมือนนักบวชในพุทธศาสนา จนได้ฉายาว่า "บุรุษผู้ใกล้เคียงเทพเจ้า".

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเวอร์โก้ ชากะ · ดูเพิ่มเติม »

เจาขัณฑีสถูป

ัณฑีสถูป (चौखंडी स्तूप) พระสถูปเก่าแก่ในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (สารนาถ ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเจาขัณฑีสถูป · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวมอดอ

ีย์ชเวมอดอ (ရွှေမောဓော ဘုရား; ကျာ်မုဟ်တ) เป็นเจดีย์สำคัญที่อยู่ในเมืองพะโค ประเทศพม่า มีความสูง ถือเป็นเจดีย์ที่สูงที่สุดในประเทศพม่า แต่เจดีย์ชเวดากอง ในเมืองย่างกุ้ง มักถูกบันทึกว่าเป็นเจดีย์ที่สูงที่สุดในประเทศ เพราะประดิษฐานบนเนินเขา เจดีย์ชเวมอดอเชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุและพระเขี้ยวแก้วของพระโคตมพุทธเจ้า เจดีย์ชเวมอดอ เจดีย์ชเวดากอง และพระธาตุไจทีโย เป็นเจดีย์ที่มีชื่อเสียงที่ถูกสร้างโดยชาวมอญ เทศกาลประจำปีเฉลิมฉลองเจดีย์ชเวมอดอ มักจัดในช่วงเดือนตะกู (Tagu) ตามปฏิทินพม่าแบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเจดีย์ชเวมอดอ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวดากอง

ีย์ชเวดากอง (ရွှေတိဂုံစေတီတော်, เฉว่ดะโก่งเส่ดี่ด่อ) ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า "ชเว" (ရွှေ) หมายถึง ทอง, "ดากอง" (ဒဂုံ แผลงเป็น တိဂုံ) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น ยอดสุดของพระเจดีย์บริเวณลูกแก้วหรือหยาดน้ำข้างประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448 เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317 เม็ดและเพชรเม็ดใหญ่ 76 กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้ายของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชมจะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวซีโกน

ีย์ชเวซีโกน (ရွှေစည်းခုံ စေတီတော်) เป็นวัดในเมืองนยองอู อยู่ใกล้พุกามในพม่า เป็นต้นแบบเจดีย์แบบพม่า การก่อสร้างเจดีย์ชเวซีโกน เริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าอโนรธามังช่อ (พ.ศ. 1587-พ.ศ. 1620) ซึ่งเป็นผู้สถาปนาอาณาจักรพุกามในปี..

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเจดีย์ชเวซีโกน · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ฮหวั่งฟุก

ีย์ฮหวั่งฟุก (Chùa Hoằng Phúc; ฮ้านตึ: 弘福寺) เป็นเจดีย์ในจังหวัดกว๋างบิ่ญ ประเทศเวียดนาม เจดีย์มีประวัติมากกว่า 700 ปี และเป็นหนึ่งในเจดีย์ที่เก่าแก่ที่สุดในภาคกลางของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเจดีย์ฮหวั่งฟุก · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เทวทหะ

ทวทหะ (Devadaha) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกลิยะ 1 ใน มหาชนบทในสมัยพุทธกาล เป็นเมืองที่ประสูติของพระนางสิริมหามายา ผู้เป็นพระราชมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า และเป็นเมืองพี่เมืองน้องในฐานะพระประยูรญาติของศากยวงศ์และโกลิยวงศ์แห่งแคว้นสักกะ (กรุงกบิลพัสดุ์) และโกลิยะ (กรุงเทวทหะ) เมืองแห่งนี้ ปัจจุบันเหลือเพียงซากโบราณสถานอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนตอนเหนือของประเทศอินเดีย ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญ.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเทวทหะ · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว

อยหลวงเชียงดาว (กลาง) ดอยนาง (ขวา) ทะเลเมฆ ณ ดอยหลวงเชียงดาว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 521 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 325,625 ไร่ ครอบคลุมเนื้อที่ของตำบลเมืองแหง ในอำเภอเวียงแหง ตำบลเมืองงาย ตำบลเมืองคอง ตำบลเชียงดาว และตำบลแม่นะ มีสภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพป่าเป็นป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าสน สลับกับทุ่งหญ้า โดยมีจุดน่าสนใจ คือ ดอยหลวงเชียงดาว ซึ่งเป็นภูเขาหินปูนที่สูงที่สุดในประเทศไทย มีความสูง 2,275 เมตร นับเป็นดอยหรือภูเขาที่มีความสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากดอยอินทนนท์ และดอยผ้าห่มปก ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2521 ดอยหลวงเชียงดาว เดิมมีชื่อว่า "ดอยเพียงดาว" แต่ผู้ที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่นได้เรียกเพี้ยนมาเป็น "เชียงดาว" อย่างในปัจจุบัน และมีชื่อดั้งเดิมว่า "ดอยอ่างสลุง" โดยมีความเชื่อว่าในอดีต สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเคยเสด็จมาพร้อมพระอรหันต์ 8 รูป ทรงลงสรงน้ำในที่แห่งนี้ ขณะที่ "หลวง" ในภาษาเหนือ หมายถึง "ใหญ่" ดอยหลวงเชียงดาว เป็นเทือกเขาที่มีความยาวติดต่อกันเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาเชียงดาว ซึ่งเป็นส่วนต่อเนื่องกับเทือกเขาถนนธงชัย เกิดจากการกัดเซาะของน้ำทะเลในยุคเพอร์เมียน (250–300 ล้านปีก่อน) ซึ่งลักษณะของหินปูนไม่สามารถรองรับน้ำได้ แต่จะถูกกัดเซาะ จึงกลายมาเป็นเทือกเขาและดอยต่าง ๆ ในบริเวณนี้ ซึ่งเดิมเคยเป็นทะเลมาก่อน ดอยหลวงเชียงดาว มีดอยที่สูงด้วยกันทั้งหมด 3 แห่ง นอกจากดอยหลวงเชียงดาวแล้ว ยังมี "ดอยสามพี่น้อง" และ"ดอยกิ่วลม" อีกซึ่งอยู่ใกล้กัน และถึงแม้ดอยหลวงเชียงดาว จะเป็นยอดดอยที่มีความสูงเช่นเดียวกับดอยอินทนนท์ และดอยผ้าห่มปกแล้ว แม้จะอยู่ในจังหวัดเดียวกัน คือ เชียงใหม่ แต่ทว่าความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตของที่นี่แตกต่างไปโดยสิ้นเชิง โดยจะมีสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นอยู่เป็นจำนวนมาก และพืชพรรณที่หายากหลายชนิด อีกทั้งยังเป็นแหล่งอาศัยของกวางผา สัตว์กีบคู่ประเภทเดียวกับเลียงผา ที่พบเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้นในประเทศไท.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

เซน

ระโพธิธรรม ฝีมือของโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) เซน (禅, ぜん; Zen) เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายาน นับถือกันอย่างแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก (จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี) คำว่า เซน เป็นชื่อภาษาญี่ปุ่นของคำว่า ฉาน (禅, Chán แต้จิ๋วออกเสียงว่า เซี้ยง) ในภาษาจีน ที่มาจากคำว่า ธฺยาน ในภาษาสันสกฤตอีกทอดหนึ่ง (ตรงกับคำว่า ฌาน ในภาษาบาลี) ซึ่งหมายถึง การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่เป็นอัปปนาสมาธิ มีจิตที่สงบและประณีต เซน มีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดีย พัฒนาที่ประเทศจีน ก่อนที่จะถูกเผยแพร่มาสู่เกาหลีและเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น โดยได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า ในช่วงระหว่างที่เผยแผ่มาสู่ญี่ปุ่น การฝึกตนของนิกายเซน เน้นที่การนั่งสมาธิเพื่อการรู้แจ้ง ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เซนยังได้เป็นปรัชญาในการดำรงชีวิต และรู้จักกันทั่วโลก โดยแสดงถึงแนวทางการใช้ชีวิต การทำงาน และศิลปะ เซนยึดถือหลักปฏิบัติธรรมตามหลักของพระพุทธเจ้า ตามหลักของการฝึกสติ อริยสัจ 4 และมรรค 8 เซน ได้รับการยอมรับจากบุคคลที่ไม่ใช่พุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลนอกทวีปเอเชีย ที่สนใจในเซนสามารถศึกษาและปฏิบัติธรรมได้ และได้เกิดนิกายสายย่อยออกมาที่เรียกว่าคริสเตียนเซน วัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่นที่ชาวต่างชาติรู้จักกันดี ได้แฝงเอาพุทธปรัชญา แบบเซนไว้อย่างแนบแน่น เช่น พิธีชงชา อิเคบานะ (การจัดดอกไม้แบบญี่ปุ่น) วิถีซามุไร คิวโด(การยิงธนูแบบญี่ปุ่น) แม้แต่แนวทางการเล่นโกะหรือหมากล้อมแบบญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเซน · ดูเพิ่มเติม »

เนมิราช

นิมิ (निमि) หรือไทยมักเรียก เนมิราช ถือกันว่าเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรวิเทหะหรือมิถิลา เป็นพระโอรสของพระเจ้าอิกษวากุ เป็นพระเจ้าหลานเธอของพระเจ้ามนูไววัสวัต และเป็นเชื้อสายของพระเจ้าชนก.

ใหม่!!: พระโคตมพุทธเจ้าและเนมิราช · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Gautama Buddhaศากยมุนีสิทธัตถะสิทธัตถะ โคตมะสิทธารถพระศากยมุนีพุทธเจ้าพระสมณโคดมพระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้าพระสมณโคดมพุทธเจ้าพระสมณโคตมพุทธเจ้าพระสิทธัตถะพระพุทธประวัติพระพุทธโคดมพระโคดมพระโคดมพุทธเจ้าพระโคตมะพุทธเจ้าพระโคตมพุทธะพุทธกิจ 5พุทธประวัติ (พระพุทธเจ้า)โคตมพุทธะเจ้าชายสิทธัตถะเจ้าชายสิทธัตถะกุมาร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »