โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์

ดัชนี พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์

ระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์ (James V of Scotland) เป็นกษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ในปี..

17 ความสัมพันธ์: ฟร็องซัว ดยุกแห่งกีซพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์มารีแห่งกีซมาร์กาเร็ต ทิวดอร์มงกุฎแห่งสกอตแลนด์ราชวงศ์สจวตรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์แคทเธอรีน เดอ เมดีชีเจ้าผู้อารักขาเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์14 ธันวาคม

ฟร็องซัว ดยุกแห่งกีซ

ฟรองซัวส์ ดยุคแห่งกีส (Francis, Duke of Guise หรือ Balafré) (17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1519 - 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1563) ฟรองซัวส์ ดยุคแห่งกีสเป็นขุนนางชาวฝรั่งเศส ผู้เป็นนักการทหารและนักการเมือง ผู้เกิดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1519 ฟรองซัวส์เป็นบุตรของโคลด ดยุคแห่งกีสผู้ได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุคแห่งกีสในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และฟร็องซัว ดยุกแห่งกีซ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)

ต่อไปนี้คือรายละเอียดวันที่ และสถานที่ที่จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรีย์ และสมเด็จพระราชินีอัครมเหสี แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ รวมทั้งสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1609 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้จะจัดขึ้นที่มหาวิหารเวสท์มินสเตอร์เสมอ เว้นแต่กรณีนอกเหนือจากนั้นจะหมายเหตุไว้.

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (Francis II of France) (19 มกราคม ค.ศ. 1544 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1544 ที่วังฟองแตนโบลในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เม.

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์

ระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์ (James IV of Scotland) ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์สกอตแลนด์ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และพระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มารีแห่งกีซ

มารีแห่งกีซ (Marie de Guise) เป็นสตรีสูงศักดิ์ชาวฝรั่งเศสซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์สกอตแลนด์ โดยดำรงตำแหน่งเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และมารีแห่งกีซ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเร็ต ทิวดอร์

มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ (Margaret Tudor; 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1489 - 18 ตุลาคม ค.ศ. 1541) หรือที่รู้จักกันในพระนามว่า "มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งชาวสกอต" (Margaret, Queen of Scots) ทรงประสูติที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ทรงเป็นพระราชธิดาพระองค์โตที่ทรงพระชนม์ในพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษกับพระนางเอลิซาเบธแห่งยอร์ก และทรงเป็นพระเชษฐภคินีในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และมาร์กาเร็ต ทิวดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎแห่งสกอตแลนด์

มงกุฎแห่งสกอตแลนด์ (The Crown of Scotland) เป็นมงกุฎที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ โดยได้ทำการจัดสร้างขึ้นใหม่เลียนแบบของเดิมที่ทรงโดยพระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และมงกุฎแห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สจวต

ตราประจำพระองค์สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์สจวต ราชวงศ์สจวต อังกฤษ: House of Stuart หรือ Stewart) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งภายหลังได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ และได้ปกครองราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ได้ทรงรับเอาการสะกดชื่อพระราชวงศ์ว่า Stuart มาจากภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ในฝรั่งเศสยืนยันว่าในภาษาสกอต Stewart นั้นออกเสียงได้ถูกต้องแล้ว ชื่อราชวงศ์มาจากพระอิสสริยยศโบราณของสกอตแลนด์ สจวตสูงแห่งสกอตแลนด์ (High Steward of Scotland) ราชวงศ์สจวตปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นเวลานาน 336 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 1914 ถึงปี พ.ศ. 2250 องค์รัชทายาทที่ใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษคือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษโดยผ่านทางสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ทิวดอร์ เจมส์ สจวตสืบทอดราชบัลลังก์ทั้งราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ พระองค์ทรงครองราชบัลลังก์ของทั้ง 3 ชาติ (Home Nations) (และยังสืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของกษัตริย์อังกฤษด้วย) ในระหว่างปี พ.ศ. 2146 ถึง พ.ศ. 2250 ในระยะหลังราชวงศ์สจวตได้สถาปนาตนเองเป็น กษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่ (Kings/Queens of Great Britain) จนถึงรัชสมัยของราชินีองค์สุดท้ายของราชวงศ์สจวตคือสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ พ.ศ. 2244 (Act of Settlement 1701) ที่กำหนดให้ผู้ที่สามารถขึ้นครองราชย์ต่อไปต้องเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อประโยชน์ในการรวมไอร์แลนด์ให้อยู่ภายใต้รัฐบาลลอนดอน ในปัจจุบันยังคงมีสมาชิกของราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชวงศ์สจวตมีชีวิตอยู่ และยังคงมีผู้ที่ยังคงสนับสนุนราชวงศ์สจวตอยู่ เรียกขานกันว่า พวกจาโคไบท์ (Jacobite) โดยขบวนการนี้ถือเอา ฟรานซ์ ดยุคแห่งบาวาเรีย เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ และ ฝรั่งเศสโดยชอบธรรม.

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และราชวงศ์สจวต · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์

ู่อภิเษกสมรสแห่งสกอตแลนด์ เป็นคู่สมรสของพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ ราชอาณาจักรของสกอตแลนด์เป็นรวมเป็นปึกแผ่นเป็นครั้งแรกภายใต้สมเด็จพระเจ้าเคนเนธ แม็คอัลปินที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ในปั 843 และสิ้นสุดความเป็นอาณาจักรอิสระใน 1707 เมื่ออาณาจักรถูกรวมกับราชอาณาจักรของประเทศอังกฤษและกลายเป็นราชอาณาจักรบริเตนใหญ.

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 1 เป็นสมเด็จพระราชินีของทั้งประเทศอังกฤษและสกอตแลนด์เป็นพระองค์แรก พระมหากษัตริย์อังกฤษส่วนใหญ่เป็นสมเด็จพระราชาธิบดี คู่อภิเษกสมรสจึงได้รับอิสสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินี" หากพระมหากษัตริย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระราชสวามีของพระนางจะได้รับพระอิสริยยศอื่น ๆ ตามแต่จะพระราชทาน เมื่อราชอาณาจักรอังกฤษถูกผนวกเข้ากับราชอาณาจักรสกอตแลนด์ กลายเป็น "ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่" ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 (Mary I) หรือ แมรี สจวต (Mary Stuart) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis” แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559 เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ พระโอรสผู้อ่อนแอทั้งสามพระองค์ของแคทเธอรีนทรงปกครองฝรั่งเศสในขณะที่บ้านเมืองระส่ำระสายจากการก่อความไม่สงบต่างที่เกิดขึ้นจากสงครามกลางเมืองและสงครามศาสนา ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นมิได้อยู่ในความควบคุมของระบบพระมหากษัตริย์และเป็นปัญหาที่ใหญ่แม้แต่สำหรับพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจ เมื่อแรกเริ่มแคทเธอรีนก็พยายามประนีประนอมกับฝ่ายอูเกอโนท์ (Huguenots) หรือชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เมื่อมีการจลาจลเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ทรงเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงปัญหาความขัดแย้งทางปรัชญาทางคริสต์ศาสนวิทยาและสาเหตุของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งทำให้พระองค์ไม่มีพระอุตสาหะพอที่จะพยายามแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างสันติ และทรงใช้ไม้แข็งในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบ พระองค์จึงทรงถูกประณามในเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว ในปี ค.ศ. 1572 ซึ่งเป็นผลให้อูเกอโนท์ถูกสังหารอย่างทารุณทั้งในปารีสและทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าในปารีสเองมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 คนและอีกประมาณ 5,000-10,000 คนในบริเวณอื่นทั่วฝรั่งเศส หลังจากนั้นก็มีเรื่องสยดสยองต่างๆ จากเหตุการณ์ในเอกสารที่แจกจ่ายกันในสมัยนั้นซึ่งเป็นต้นกำเนิด “ตำนานมืด” (The Black Legend) ของ “พระราชินีผู้ชั่วร้าย” จากปากเสียงของผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงถูกประณามว่าเป็น “Machiavellian Renaissance prince” ผู้ป้อนความกระหายอำนาจด้วยการอาชญากรรม, การวางยาพิษ และบางทีก็ถึงกับใช้อำนาจเวทมนตร์ “อากริพพา โดบินย์” (Agrippa d'Aubigné) กวีอูเกอโนท์ถึงกับขนานพระนามพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “เชี้อโรคจากฟลอเรนซ์” (Florentine plague) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์จูลส์ มิเชลเลท์ (Jules Michelet) บรรยายพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “หนอนที่หลุดออกมาจากหลุมศพของอิตาลี” นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันให้เหตุผลสนับสนุนการใช้อำนาจอันเกินควรของพระราชินีนาถแคทเธอรีน แต่อาร์ เจ เนคช (R. J. Knecht) กล่าวว่าความทารุณของพระราชินีนาถแคทเธอรีนจะเห็นได้จากจดหมายที่ทรงเขียน นิโคลา ซัทเธอร์แลนด์ (Nicola Sutherland) กล่าวเตือนถึงความเกินเลยในการบรรยายอำนาจของพระองค์ว่าแทนที่จะเป็นภาพพจน์ที่ทรงปกครองอย่างมั่นคง พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงต้องต่อสู้กับความไม่สงบต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแทบไม่มีทางชนะ นโยบายการปกครองของพระองค์จึงเป็นนโยบายของความอยู่รอดของราชวงศ์วาลัวส์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดใด จึงอาจจะกล่าวได้ว่าถ้าไม่มีพระราชินีนาถแคทเธอรีนพระโอรสทั้งสามพระองค์ก็คงไม่ทรงสามารถปกครองฝรั่งเศสด้วยพระองค์เองได้ ระยะการปกครองระหว่างพระโอรสทั้งสามเรียกว่า “สมัยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ” (The Age of Catherine de' Medici).

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และแคทเธอรีน เดอ เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าผู้อารักขา

้าผู้อารักขา (Lord Protector) เป็นตำแหน่งเฉพาะที่ใช้ในอังกฤษในฐานะผู้นำของประเทศซึ่งใช้ได้สองความหมายในช่วงเวลาในประวัติศาสตร์สองสมั.

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และเจ้าผู้อารักขา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์

รื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์ (The Honours of Scotland, Scottish Regalia, Scottish Crown Jewels) เป็นกกุธภัณฑ์ที่มีอายุตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15-16 โดยถือเป็นกกุธภัณฑ์ที่เก่าแก่ที่สุดบนเกาะอังกฤษที่ยังหลงเหลืออยู่ โดยใช้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ ตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 (ค.ศ. 1543) จนถึงพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ตั้งแต่ในอดีตได้ถูกใช้เพื่อแสดงถึงพระราชอำนาจที่เกี่ยวข้องกับการตรากฏหมายผ่านทางรัฐสภาสกอตแลนด์ และยังใช้ในงานรัฐพิธีต่างๆ รวมถึงในคราที่เสด็จพระราชดำเนินเยือนสกอตแลนด์เป็นครั้งแรกในฐานะของพระมหากษัตริย์โดยพระเจ้าจอร์จที่ 4 ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์และ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

James VJames V of Scotlandสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »