โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระศิวะ

ดัชนี พระศิวะ

ระศิวะ หรือ พระอิศวร (शिव; Shiva) หนึ่งในตรีมูรติ หรือเทพเจ้าสูงสุดสามพระองค์ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู (อีกสององค์ ได้แก่ พระพรหม และพระวิษณุ) พระแม่อุมาเทวีประดับโปุรัม ประเทศอินเดีย. พระแม่อุมาเทวีประดับโปุรัม ประเทศอินเดีย. พระศิวะ มีรูปกายเป็นชายหนุ่มร่างกำยำ วรรณะขาว (สีผิวขาว) นุ่งห่มหนังเสือเหมือนฤๅษี มีสังวาล์เป็นลูกประคำหรือกะโหลกมนุษย์ มีงูเห่าคล้องพระศอ ไว้พระเกศายาว ซึ่งจะม้วนเป็นจุฑา (มวยผม) มีพระจันทร์เป็นปิ่น มีคงคาอยู่บนยอดจุฑา ซึ่งพ่นน้ำมาตลอด และมีดวงพระเนตร (ตาที่ 3) กลางพระนลาฏ (หน้าผาก) ซึ่งโดยปกติจะปิดอยู่เสมอ เชื่อว่าหากเปิดขึ้นเมื่อไหร่ ไฟบรรลัยกัลป์จะเผาผลาญล้างโลก (บ้างว่าเป็นพระพรหม) ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัปหนึ่ง ก่อนที่พระพรหมจะสร้างโลกขึ้นมาใหม่ มีพาหนะ คือ โคอุศุภราช (วัวเพศผู้สีขาวล้วน) มีชายา คือ พระอุมา เทพีแห่งความกล้าหาญ มีโอรสสององค์ คือ พระขันทกุมารและพระพิฆเนศ ประทับอยู่ ณ เขาไกรลาส อันเป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาล ชายาอีกองค์คือพระแม่คงคา มีธิดาคือพระแม่มนสาเทวีหรือพระยามี พระศิวะเป็นเทพที่จะคอยขับไล่สิ่งชั่วร้ายให้ห่างไกล และทำให้เกิดความดีงามเป็นศิริมงคลเกิดขึ้น ผู้ที่มีความทุกข์ไม่ว่าจะเป็นในทางใด หากบวงสรวงบูชา ขอพรให้พ้นทุกข์ พระศิวะก็จะประทานพรให้ผู้นั้นได้พ้นจากห้วงแห่งความทุกข์ พระศิวะมีท่าร่ายรำอันเป็นการร่ายรำของเทพเจ้า เรียกว่า "ปางนาฏราช" เมื่อแปลงกายลงไปปราบฤๅษีที่ไม่ประพฤติตนอยู่ในเพศดาบส ซึ่งต่อมาชาวฮินดูได้ถือเอาท่าร่ายรำนี้เป็นต้นแบบของการร่ายรำต่าง ๆ มาตราบจนปัจจุบัน นอกจากนี้แล้ว พระศิวะยังถือว่าเป็นเจ้าแห่งผีหรือปีศาจอีกด้วย โดยมีพระนามเรียกว่า "ปีศาจบดี" หรือ "ภูเตศวร" นอกจากนี้แล้วพระอิศวร ยังมีพระนามอื่นอีก เช่น "รุทร", "ศังกร", "ศุลี", "นิลกัณฐ์", "หระ" หรือ "อีสาน" และยังเป็นเทพประจำทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ อีสาน อีกด้วย นอกจากนี้แล้ว ยังเชื่อว่าพระศอของพระศิวะมีสีดำ ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ได้ยาพิษของพญานาคไว้เมื่อครั้งกวนเกษียรสมุทรทำน้ำอมฤตเพื่อช่วยโลก ซึ่งบทหนึ่งในกามนิต-วาสิฏฐี วรรณกรรมอิงพุทธศาสนาได้อ้างถึง สีของความรักว่าเป็นสีดำ เสมือนสีคอพระศิวะ พระศิวะ ที่ประเทศศรีลังกา อันเป็นประเทศที่ศาสนาพราหมณ์ได้เข้ามาเผยแพร่ก่อน ก่อนที่จะกลายมาเป็นศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลักอย่างเช่นในปัจจุบัน พระศิวะในความเชื่อของที่นี่จะมีพาหนะเป็นนกยูง และกลายมาเป็นเทพเจ้าที่ทำหน้าที่ปกปักษ์รักษาพุทธศาสน.

189 ความสัมพันธ์: ชมพูพานบัณเฑาะว์ชามพูวราชชาวจามช้างตระกูลอิศวรพงศ์ช้างเอราวัณบ้านพิบูลธรรมพญานาคพญาโคตรตะบองพรหมันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระพิฆเนศพระภรตมุนีพระยามีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชลัญจกรประจำรัชกาลพระราหูพระรุทรพระลักษมณ์พระรามพระวิศวกรรมพระวิษณุพระศิวะ (ละครโทรทัศน์)พระศุกร์พระสยามเทวาธิราชพระสุรัสวดีพระสตีพระหริหระพระอัยนาร์พระอาทิตย์พระอินทร์พระผู้สร้างพระธรณีพระทัตตาเตรยะพระขันทกุมารพระตรีศักติพระปารวตีพระแม่ภวานีพระแม่มารีอัมมันพระแม่มาเหศวรีพระแม่มีนากษีพระแม่มนสาเทวีพระแม่อันนปูรณาพระแม่คงคาพระโคตมพุทธเจ้าพระไภรวะพระเจ้าพระเจ้ายโศวรรมันที่ 1พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2พระเป็นเจ้าพาราณสี...พาลีพิธีบายศรีสู่ขวัญพิเภกพุทธคยาพูฒานีลกัณฐมนเทียรกรมโยธาธิการและผังเมืองกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)การ์เดียนครอสการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกาลิทาสกาลีกาตตวรายันกุมารีภาษาสันสกฤตภาษาไมถิลีภาษาเตลูกูภาษาเนวารีภีษมะภความหากาพย์ภาพยนตร์ รามเกียรติ์มหากาพย์รามเกียรติ์มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2531)มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556)มหาศิวราตรีมหาเทวีมะตูมมังกรกัณฐ์มายาสูรมาตฤกามีนากษีมนเทียรยอดเขาอันนะปุรณะยุธิษฐิระยุคมืดของกัมพูชารามายณะรามเกียรติ์ (ละครโทรทัศน์)รายชื่อตัวละครในรามเกียรติ์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศกัมพูชารายพระนามเทวดาอินเดียรายพระนามเทวดาจีนราวณะรุทรักษะฤๅษีทุรวาสฤๅษีนารทมุนีลัทธิศักติลัทธิไศวะวัดพระศรีมหาอุมาเทวีวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวันมาฆบูชาศรีบาทาศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)ศาสนาฮินดูศาสนาฮินดูแบบบาหลีศาสนาในประเทศลาวศิวลึงค์ศิวะ พระมหาเทพศิวนาฏราชศึกสวรรค์มหัศจรรย์ทะลุฟ้าศึกเทวดาสมาคมฮินดูสมาชสมาคมฮินดูธรรมสภาสะพานเทเวศรนฤมิตรสาอี บาบาแห่งศิรฑีสุภาพ ไชยวิสุทธิกุลสีดา ราม ศึกรักมหาลงกาสีดำสงครามทุ่งกุรุเกษตรหมู่พระมหาปราสาทหัวโขนหนังตะลุงหนุมาน สงครามมหาเทพอวตารอัยยัปปันอัศวัตถามาอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุอาถรรพณ์นิทรานครอาณาจักรสิงหะส่าหรีอาณาจักรอยุธยาอำเภอสิชลอินทรชิตอุสุภราชอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรอนาคาริก ธรรมปาละจักรพรรดิศิวาจีธรรมบาลธรหราถิลไลนฏราชมนเทียรทศกัณฐ์ทองกวาวทุรคาท้าวอัศกรรมมาลาขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 2 ตอน ถล่มวิหารเจ้าแม่กาลีดารา (เทพี)คชศาสตร์ครุฑฆโฎตกัจงูเห่างูเห่าอินเดียตรีมูรติตรีศูลตรีเทวีปรศุรามประวัติศาสตร์ยุคแรกของกัมพูชาประวัติศาสนาพุทธปราสาทบันทายศรีปราสาทบากองปราสาทบาปวนปราสาทพระวิหารปราสาทหินวัดพูปราสาทปักษีจำกรุงปราสาทเมืองต่ำปริภัณฑ์ วัชรานนท์ปลัดขิกนกศิวะนางกาลอัคคีนาคราชนางมณโฑนางสีดานางโมหิณีนิลพัทนนทกแม่น้ำเฌลัมแรกนาขวัญโมหิต เรนะโยนี (ภาษาสันสกฤต)โรงเรียนเมืองพลพิทยาคมโอ้ ศิวะ!! ช่วยด้วยโขนไชยามพวานไฟนอลแฟนตาซี Vไฟนอลแฟนตาซี XIIIไทโคราชเพอร์โซนา 4เสาชิงช้าเจ้าหญิงอัมพาเทวสถานโบสถ์พราหมณ์เทวดานพเคราะห์เทือกเขาสันกาลาคีรีเขาพระสุเมรุเขาไกรลาส ขยายดัชนี (139 มากกว่า) »

ชมพูพาน

มพูพาน (जाम्‍बवान) เป็นตัวละครจากวรรณกรรมเรื่อง "รามเกียรติ์" เป็นลิงกายสีหงส์ชาด (สีแดง) เป็นลูกเลี้ยงของพญาพาลีแห่งเมืองขีดขิน ถือกำเนิดมาจากเหงื่อไคลพระอิศวร มีความรู้ในเรื่องยา สุครีพจึงพาไปถวายตัวต่อพระราม จึงมีหน้าที่เป็นแพทย์ประจำกองทัพพระราม เคยติดตามหนุมานและองคต ในตอนหนุมานไปถวายแหวนแก่นางสีดา ที่กรุงลงกา เมื่อครั้งศึกทศพิน ชมพูพานก็ได้รับมอบหมายให้เป็นทูตถือพระราชสารประกาศสงคราม เมื่อสิ้นศึกกรุงลงกา พระรามทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้ไปเป็นเจ้ากรุงปางตาล.

ใหม่!!: พระศิวะและชมพูพาน · ดูเพิ่มเติม »

บัณเฑาะว์

ฑมรุจากทิเบต ฑมรุ อยู่ในหัตถ์ขวาของพระศิวะ บัณเฑาะว์ เป็นเครื่องดนตรีประเภทกลองจากอินเดีย มีลักษณะหัวและท้ายใหญ่ ตรงกลางคอด ขนาดประมาณ 15 เซนติเมตร ใช้เชือกผูกกับลูกตุ้ม กลองชนิดนี้ไม่ใด้ตีด้วยไม้หรือมือ แต่ใช้มือถือพลิกข้อมือกลับไปกลับมา ให้ลูกตุ้มที่ปลายเชือกกระทบหนังหน้ากลองทั้งสองด้าน ชื่อบัณเฑาะว์ มาจากคำบาลีว่า "ปณวะ" ในอินเดียเรียกว่า "ฑมรุ" (อักษรเทวนาครี डमरू; ḍamaru) เป็นเครื่องดนตรีที่พบเห็นในหัตถ์ขวาของพระศิวะ ในประเทศไทย บัณเฑาะว์ใช้เป็นเครื่องให้จังหวะในการบรรเลงประกอบ "ขับไม้" ในงานพระราชพิธี เช่น ขับกล่อมสมโภชพระมหาเศวตฉัตร สมโภชพระยาช้างเผือกและช้างสำคัญ เรียกว่า "ขับไม้บัณเฑาะว์" โดยอาจใช้บัณเฑาะว์ลูกเดียว หรือใช้บัณเฑาะว์ 2 ลูก ไกวพร้อมกันทั้งสองมือ.

ใหม่!!: พระศิวะและบัณเฑาะว์ · ดูเพิ่มเติม »

ชามพูวราช

ตรกรรมฝาผนังวัดพระศรีรัตนศาสดารามตอน อินทรชิตทำพิธีชุบศรแต่ถูกชามพูวราชที่แปลงเป็นหมีมาทำลายพิธี ชามพูวราช หรือ นิลเกษร เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นพญาวานรในกองทัพพระราม เกิดจากไม้ไผ่ที่พระอิศวรนำมาทำธนูแต่พอลองโก่งยิงธนูก็หัก เกิดเป็นชามพูวราชออกมา มีบทบาทสำคัญตอนศึกลงกา เป็นผู้เสนอให้พระรามจองถนนไปกรุงลงกาเพื่อเป็นพระเกียรติยศ และตอนแปลงร่างเป็นหมีใหญ่กัดต้นโรทันเพื่อทำลายพิธีชุบศรนาคบาศของอินทรชิต หลังจากเสร็จศึกลงกา ชามพูวราชได้เป็นอุปราชเมืองปางตาล.

ใหม่!!: พระศิวะและชามพูวราช · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจาม

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับความหมายอื่นดูที่ จาม จาม (người Chăm เหงื่อยจัม, người Chàm เหงื่อยจ่าม; จาม: Urang Campa อูรัง จัมปา) จัดอยู่ในตระกูลภาษามาลาโยโพลินีเชียน อาศัยอยู่บริเวณทางใต้ของเวียดนาม และเป็นกลุ่มชนมุสลิมเป็น 1 ใน 54 ชาติพันธุ์ของประเทศเวียดนาม ในอดีตชนชาติจามตั้งอาณาจักรจามปาที่ยิ่งใหญ่ มีความเจริญรุ่งเรืองช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2-15 ด้วยอาณาเขตติดทะเล ชาวจามจึงมีความสามารถเดินเรือและค้าขายไปตามหมู่เกาะ ไกลถึงแถบตะวันออกกลาง รวมถึงประเทศจีน ส่วนใหญ่เป็นผ้าไหม ไม้หอม เครื่องปั้นดินเผา ปัจจุบันคือบริเวณเมืองดานัง เมืองท่าในตอนกลางของเวียดนาม มีเมืองหลวงชื่อ วิชัย (ปัจจุบันคือเมืองบิญดิ่ญ) มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ตามภูเขาต่าง ๆ ในเวียดนาม กระทั่งในปี ค.ศ. 1471 อาณาจักรจามปาสู้รบกับชนชาติเวียดนามเดิม ที่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ทำให้อาณาจักรจามปาล่มสลาย ชาวจามส่วนใหญ่ต้องอพยพลงไปใต้ปัจจุบันมีชาวจามอาศัยอยู่ทางตอนกลางของเวียดนาม ที่เมืองนิงห์ถ่วง เมืองบินห์ถ่วง เตยนินห์ โฮจิมินห์ ส่วนทางใต้จะอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากที่เมืองอันยาง.

ใหม่!!: พระศิวะและชาวจาม · ดูเพิ่มเติม »

ช้างตระกูลอิศวรพงศ์

้างตระกูลอิศวรพงศ์ เป็นหนึ่งช้างเผือกสี่ตระกูลซึ่งสร้างโดยมหาเทพ พระอิศวรในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ โดยตำราพระคชศาสตร์ และตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ ได้กล่าวถึงการกำเนิดช้างมงคลว่า พระนารายณ์บรรทมบนเกษียรสมุทร บังเกิดดอกบัวจากพระอุทรมี ๘ กลีบ ๑๗๓ เกสร จึงนำไปถวายพระอิศวร ที่เขาไกรลาศ พระอิศวรแบ่งเกสรดอกบัวนั้นประทานแก่พระองค์เอง พระอิศวร รับเกสรไว้ ๘ เกสร ประทานแก่ พระพรหม จำนวน ๒๔ เกสร ประทานแก่ พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ จำนวน ๘ เกสร และประทานแก่พระอัคคีหรือพระเพลิง จำนวน ๑๓๕ เกสร พระอิศวร พระพรหม พระวิษณุ และพระเพลิง มหาเทพทั้ง ๔ ต่างสร้างช้างเผือกตระกูลต่างๆ ๔ ตระกูล จากเกสรดอกบัวนั้นดอกบัวให้เป็นโลก พระพรหม พระอิศวร พระวิษณุและพระอัคนี มหาเทพทั้ง 4 ทรงเนรมิตช้างจากกลีบและเกสรบัว ที่พระนารายณ์ประทาน และสามารถแบ่งช้างมงคลเป็น 4 ตระกูล ตามนามแห่งเทพผู้ให้กำเนิด คือ ช้างตระกูลอิศวรพงศ์ สร้างขึ้นโดย พระอิศวร อันพระอิศวรให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์ ช้างตระกูลนี้ พระอิศวรเป็นเจ้าให้บังเกิดชาติ์กระษัตริย์ ชื่อว่าอิศวรพงศ์สมบูรณ์ด้วยลักษณะ เนื้อดำสนิทผิวเนื้อละเอียดเกลี้ยง งาทั้ง ๒ งาใหญ่ขึ้นเสมอกัน เท้าใหญ่ น้ำเต้ากลม โขมดสูง งวงเรียวเป็นต้นปลาย ปากดุจพวยสังข์ คอกลม เมื่อเดินนั้นยกคอ หลังเป็นคันธนู ท้ายเป็นสุกร ผนฎท้องตามวงหลัง อกใหญ่ หน้าสูงกว่าท้าย เท้าหน้าทั้ง ๒ อ่อน เท้าหน้าหลังเรียวรัดฝักบัวกลม หางเป็นข้อห่วง สนับงาเป็น ๒ ชั้น ขนับเสมอมิได้พร่อง หูใหญ่ช่อม่วงยาวข้างขวามีใบหูอ่อนนุ่มมีขนมากกว่าข้างซ้าย หน้าใหญ่ สรรพงามพร้อมต้องด้วยลักษณะช้างตระกูลนี้เมื่อมาสู่พระบารมีย่อมให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางวัตถุและวิทยาการต่างๆ พระอิศวรได้สร้าง อัฐคชาธาร อันพระอิศวรเป็นเจ้าให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์หรือด้วยเกสรดอกบัวทั้ง ๘ เกสร บังเกิดช้างทั้ง ๘ คือ เกสรที่ ๑. อ้อมจักรวาฬ เกสรหนึ่งทิ้งออกไปให้บังเกิดเป็นช้างหนึ่งชื่อว่าอ้อมจักรวาฬ งาซ้ายเสมอหน้างวง งาขวากอดงวงทับบนงาซ้ายหนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: พระศิวะและช้างตระกูลอิศวรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอราวัณ

ระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ (จิตรกรรมลายรดน้ำ วัดสุทัศนเทพวราราม) ช้างเอราวัณ (Erawan: Airavata) ในเรื่องรามายณะ และ ความเชื่อของศาสนาฮินดู กล่าวถึงพระอินทร์มีร่างสีเขียว มีพาหนะเป็นช้าง 3 เชือก เชือกหนึ่งพระศิวะเป็นผู้ประทานให้ชื่อว่า เอราวัณ เชือกหนึ่งพระพรหมป็นผู้ประทานให้ชื่อว่า คีรีเมขล์ไตรดายุค และอีกเชือกหนึ่งพระวิษณุเป็นผู้ ประทานให้ชื่อว่า เอกทันต์ ช้างเอราวัณเป็นช้างที่มีพละกำลังมากที่สุดในหมู่ ช้างทั้ง 3 เชือก และเป็นที่โปรดปรานมากที่สุด ของพระอินทร์ เชื่อกันว่าช้างเชือกนี้เป็นเทพบุตรองค์หนึ่ง เมื่อพระอินทร์ต้องการจะเสด็จไปไหน เอราวัณเทพบุตร ก็จะแปลงกายเป็นช้างเผือก 33 เศียร แต่ละเศียรมีงา 7 งา งาแต่ละงายาวถึง 4 ล้านวา งาแต่ละงามีสระบัว 7 สระ แต่ละสระมีดอกบัว 7 ดอก แต่ละดอกมีกลีบ 7 กลีบ มี 7 เกสร แต่ละเกสรมีปราสาทอยู่ 7 หลัง ปราสาทแต่ละหลังมี 7 ชั้น แต่ละชั้นมี 7 ห้อง แต่ละห้องมี 7 บัลลังก์ แต่ละบัลลังก์มีเทพธิดาสถิต 7 องค์ เทพธิดาแต่ละองค์มีบริวาร องค์ละ 7 นาง เทพธิดาบริวารแต่ ละนางมีนางทาสีนางละ 7 ทาสี รวมทั้งนางเทพอัปสรทั้งหมดประ มาณ 190,248,432 นาง เทพธิดา บริวารรวมกันทั้งหมดประมาณ 13,331,669,031 นาง เศียรทั้ง 33 ของช้างเอราวัณมีอุเปนทเทพยดา สถิตเศียรละ 1 องค์ โดยปกติศิลปินไทยมักจะทำช้าง เอราวัณ เป็นช้าง 3 เศียร.

ใหม่!!: พระศิวะและช้างเอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านพิบูลธรรม

้านพิบูลธรรม บ้านพิบูลธรรมด้านหลัง บ้านพิบูลธรรมด้านข้างบันไดเวียนภายในบ้านพิบูลธรรม มุมหนึ่งในบ้านพิบูลธรรม อาคารด้านหลังบ้านพิบูลธรรมด้าน บ้านพิบูลธรรม เลขที่ 17 เชิงสะพานกษัตริย์ศึก ยศเส เดิม เขตปทุมวัน ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกระทรวงพลังงาน และหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ สำนักงานรัฐมนตรี และสำนักงานปลัดกระทรวง ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.

ใหม่!!: พระศิวะและบ้านพิบูลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พญานาค

ญานาค (नागराज นาคราช) หมายถึง นาคผู้เป็นใหญ่ นาคผู้เป็นหัวหน้า ตามความเชื่อในศาสนาแบบอินเดีย คล้ายกับพญามังกร (龍王 หลงหวัง) ตามคติศาสนาพื้นบ้านจีน.

ใหม่!!: พระศิวะและพญานาค · ดูเพิ่มเติม »

พญาโคตรตะบอง

ญาโคตรตะบอง หรือชาวลาวเรียกว่า ท้าวศรีโคตร หรือ ศรีโคตร เป็นตํานานเก่าแก่ที่แพร่หลายใน ไทย ลาว และเขมร เรื่องราวของพญาโคตรตะบองปรากฎใน พงศาวดารเหนือ ซึ่งรัชกาลที่ 2 โปรดให้พระวิเชียรปรีชา (น้อย) รวบรวมมาจากหนังสือหลายเรื่องที่มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ยังปรากฏในนิทานประจําถิ่นของชาวพิจิตร มาแต่โบราณ ใน พงศาวดารเหนือ สันนิษฐานว่าพญาโคตรตะบองเป็นกษัตริย์ชาวพุทธของชนพื้นเมืองลุ่มน้ําเจ้าพระยาก่อนตั้งกรุงศรีอยุธยา แต่พญาโคตรตะบองเทวราชของเมืองพิจิตร ผู้ครองนครไชยวานน่าจะเป็นขอม (พราหมณ์) เพราะปรากฏว่าตอนตั้งเมืองนั้นมีการเขนงและมีพิธีโล้ชิงช้าถวายพระอิศวร พระนารายณ์ ชาวพิจิตรเรียกว่า "พ่อปู่" เชื่อกันว่าเป็นผู้ก่อตั้งเมืองพิจิตร ปัจจุบันรูปปั้นพญาโคตรตะบองประดิษฐานอยู่ด้านล่างของศาลหลักเมืองพิจิตร พระยาโคตรตะบอง มีภาพสลักขบวนแห่ของพล (เมือง) ละโว้บนปราสาทนครวั.

ใหม่!!: พระศิวะและพญาโคตรตะบอง · ดูเพิ่มเติม »

พรหมัน

ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู พรหมัน (อ่านว่า พฺรม-มัน; ब्रह्मन्) คือความเป็นจริงสูงสุด เป็นสิ่งสัมบูรณ์ ไม่มีรูปร่าง ไร้ขีดจำกัด เป็นพระวิญญาณบริสุทธิ์ เป็นที่มาและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่งในสกลจักรวาล คัมภีร์อุปนิษัทระบุว่าสรรพสัตว์รับรู้พรหมันได้ใน 2 ลักษณะ คือ.

ใหม่!!: พระศิวะและพรหมัน · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: พระศิวะและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระพิฆเนศ

ระคเณศ (गणेश பிள்ளையார் Ganesha) ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ (विघ्नेश) พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศ หรือ พระคณปติ ทรงเป็นเทพในศาสนาฮินดู ทรงเป็นเทพแห่งความสำเร็จ ทั้งยังทรงเป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการและการประพันธ์ ทรงเป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง).

ใหม่!!: พระศิวะและพระพิฆเนศ · ดูเพิ่มเติม »

พระภรตมุนี

ระภรตมุนี (เทวนาครี:भरत मुनि) เป็นมหาฤๅษี (มหรรษี) ผู้แต่งตำราฟ้อนรำ มีชีวิตในช่วงศตวรรษที่ 4 - ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เป็นครูนาฏศิลปะผู้รวบรวมท่ารำ (กรณะ) ของพระศิวะ ทั้ง ๑๐๘ ท่า พระภรตมุนีผู้รจนาคัมภีร์นาฏยศาสตร์ เป็นประโยชน์แก่การศึกษาการฟ้อนรำในอินเดียและประเทศต่าง ๆ ในภาคพื้นเอเชียอาคเน.

ใหม่!!: พระศิวะและพระภรตมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระยามี

พระยามี (यामी) เป็นเทวีในศาสนาฮินดู เป็นเทพีแห่งแม่น้ำยมุนา เป็นพระบุตรีของพระอาทิตย์กับพระแม่ศรัณยาและเป็นพระฝาแฝดของพระยม เทวรูปของพระแม่ยมนาในฐานะ เทวีผู้รักษาแม่น้ำ เทวสถานอมเรศวร ประเทศอินเดีย หมวดหมู่:เทวีในศาสนาฮินดู หมวดหมู่:เทพแห่งความตาย.

ใหม่!!: พระศิวะและพระยามี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเครื่องบรมราชาภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เป็น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ระหว่างวันที่ 4 - 8 พฤษภาคม พุทธศักราช 2493 ปรากฏบันทึกรายละเอียดไว้ ดังนี้.

ใหม่!!: พระศิวะและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชลัญจกรประจำรัชกาล

ระราชลัญจกรประจำรัชกาล เป็นตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาล ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเริ่มต้นรัชกาล เพื่อประทับกำกับพระปรมาภิไธย ในเอกสารสำคัญต่างๆ ของชาติ ที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน เช่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และเอกสารสำคัญส่วนพระองค์ ที่ไม่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน พระราชลัญจกรนับเป็นเครื่องมงคลที่แสดงถึงอิสริยยศและพระบรมเดชานุภาพของพระมหากษัตร.

ใหม่!!: พระศิวะและพระราชลัญจกรประจำรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

พระราหู

ระราหู (राहु ราหู) เป็นอสูรและเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่งตามคติของศาสนาฮินดูและศาสนาพุท.

ใหม่!!: พระศิวะและพระราหู · ดูเพิ่มเติม »

พระรุทร

ระรุทร พระรุทร (रुद्र) เป็นเทพเจ้าสมัยฤคเวท เป็นอีกชื่อของพระศิวะ พระรุทรได้ชื่อว่าป็นเทพแห่งลมและพายุ และการล่าGriffith, p. 75, note 1.

ใหม่!!: พระศิวะและพระรุทร · ดูเพิ่มเติม »

พระลักษมณ์พระราม

นักแสดงสวมหัวโขนฝ่ายอสูรพงศ์จากเรื่องพระลักษมณ์พระราม พระลักษมณ์พระราม (ພະລັກພະລາມ, อักขรวิธีเดิม: ພຣະລັກພຣະຣາມ), พระรามชาดก (ພຣະຣາມຊາດົກ) หรือ รามเกียรติ์ (ລາມມະກຽນ, อักขรวิธีเดิม: ຣາມມະກຽນ) เป็นมหากาพย์ลาวที่ดัดแปลงมาจาก รามายณะ ของวาลมีกิ มีความใกล้เคียงกับ ฮิกายัตเซอรีรามา (Hikayat Seri Rama.) อันเป็นรามายณะฉบับมลายู มหากาพย์นี้เคยสูญหายไปพร้อมกับศาสนาฮินดู แต่ภายหลังได้กลับมาอีกครั้งในรูปแบบชาดกของพระพุทธศาสนา ซึ่งเคยแพร่หลายและเป็นที่นิยมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยด้วยเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้าง.

ใหม่!!: พระศิวะและพระลักษมณ์พระราม · ดูเพิ่มเติม »

พระวิศวกรรม

ระวิศวกรรม หรือเรียกได้อีกหลายชื่อว่า พระวิษณุกรรม, พระวิสสุกรรม, พระเวสสุกรรม หรือ พระเพชรฉลูกรรม เป็น เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์ ตามตำนานกล่าวว่า เป็นผู้สร้างเครื่องมือ สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น และเป็นแบบอย่างให้กับมนุษย์สืบมา พระวิศวกรรมรับเทวโองการต่าง ๆจากพระอินทร์ เพื่อสร้าง อุปกรณ์ สิ่งของ อาคาร ต่าง ๆ มากมาย เป็นผู้นำวิชาช่าง มาสอนแก่มนุษย์ นับแต่นั้นมามนุษย์จึงรู้จักการสร้างและใช้งานสิ่งของต่าง ๆ จนมีการพัฒนารูปแบบมาจนถึงปัจจุบันนี้ ช่างไทยแขนงต่าง ๆ ให้ความเคารพบูชาพระวิศวกรรมในฐานะครูช่าง หรือเทพแห่งวิศวกรรมของไทย โดยเรามักพบเห็นรูปจำลององค์ท่านได้บ่อย ๆ ตามสถานศึกษาทางช่างทุกสถาบัน โดยนิยมสร้างอยู่สองท่า คือ ท่าประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือ ผึ่ง (จอบสำหรับขุดไม้) และอีกข้างถือ ดิ่ง และท่าประทับยืนมือขวาถือไม้เมตรหรือไม้วา มือซ้ายถือลูกดิ่งและไม้ฉาก ที่มาขององค์พระวิษณุกรรมทั้ง 2 ท่านี้ พอขยายความได้ว่า หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพช่างก่อสร้าง มักอยู่ในท่ายืนมือถือลูกดิ่งและไม้เมตรหรือไม้วาอันเป็นเครื่องมือของช่างก่อสร้างมาแต่สมัยโบราณซึ่งช่างทั้งหลายทราบดีว่าเป็นเครื่องมือสำหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง แต่สิ่งที่นอกเหนือไปจากนั้นยังแฝงไปด้วยปรัชญาในการดำเนินชีวิต คือความแม่นยำ เที่ยงตรง ไม่เอนเอียงในทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่มาของช่างที่ดี คือความมีคุณธรรมประจำใจ หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ช่างก่อสร้างอยู่ด้วย มักจะใช้ท่านั่ง เข้าใจว่าผู้สร้างคงจะชี้ให้เห็นเด่นชัดถึงสถาบันผู้ผลิตช่างก่อสร้าง อันเป็นช่างเก่าแก่มีมาแต่ก่อนแล้ว.

ใหม่!!: พระศิวะและพระวิศวกรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระวิษณุ

ลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. ศิลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. พระวิษณุ (विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ (नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร") โดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระแม่ลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑ พระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ"ได้แบ่งตนเองออกเป็น 3 คือ.

ใหม่!!: พระศิวะและพระวิษณุ · ดูเพิ่มเติม »

พระศิวะ (ละครโทรทัศน์)

ระศิวะ (Om Namah Shivay) เป็นละครโทรทัศน์อินเดีย ออกอากาศทางช่อง Zee TV ในอินเดีย ต่อมาสหมงคลฟิล์มได้ซื้อลิขสิทธิ์ แล้วก็นำมาออกอากาศทางช่อง Happy Home TV และ มงคลแชนแนล ในประเทศไทย โดยมีทีมพากย์พันธมิตรให้เสียงพากย์ภาษาไทย นำแสดงโดย ซามาร์ เจ ซิงห์ ยาโชดัน รานา กายาตรี ชัสตรี ซันเจ ชามาร์ อมิต พาโชรี รีน่า กาปูร์ สุนิล นาการ์ ฯลฯ.

ใหม่!!: พระศิวะและพระศิวะ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

พระศุกร์

ระศุกร์ (เทวนาครี: शुक्र ศุกฺร) เป็นเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่ง ในคติไทย พระศุกร์ถูกสร้างขึ้นมาจากคาวี (วัว) ๒๑ ตัว (บางตำรากล่าวว่าสร้างจากเทพยาธร-ครึ่งเทพครึ่งมนุษย์) บดป่นเป็นผง ห่อผ้าสีฟ้าอ่อน แล้วเสกได้เป็นพระศุกร์ มีสีวรกายฟ้า ทรงคาวีเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศเหนือ และแสดงถึงเศษวรรคที่ ๒ (ส ห ฬ อ) พระศุกร์จัดเป็นครูของพวกยักษ์ ซึ่งตรงข้ามกับพระพฤหัสบดีที่เป็นครูของเทพ พระศุกร์ เป็นบุตรของพระฤๅษีภฤคุ กับ นางชยาติ และเป็นสาวกเอกของพระศิวะ วิมานอยู่ทางศิวโลก ด้านทิศเหนือ พระศุกร์เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลในทางอ่อนหวาน แต่ค่อนข้างไปทางใฝ่ต่ำ นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันศุกร์หรือมีพระศุกร์สถิตร่วมกับลัคนา มักมีกิริยาน่ารัก อ่อนหวาน ชอบงานศิลปะทุกประเภท ตามนิทานชาติเวร พระศุกร์เป็นมิตรกับพระอังคารและเป็นศัตรูกับพระเสาร์ ในโหราศาสตร์ไทย พระศุกร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๖ (เลขหกไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากคาวี ๒๑ ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๒๑ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันศุกร์ก็คือปางรำพึง ในมหาภารตะ พระศุกร์เป็นศัตรูกับท้าวยยาติ ลูกเขยของพระศุกร์ คือท้าวยยาตินั้น เห็นพระศุกร์ เป็นเพียงแค่ฤๅษีคนหนึ่ง จึงได้พูดจาสบประมาท ดูถูกพระศุกร์ และแล้ว ฤๅษีนารทมุนี ได้นำความไปฟ้องพระศุกร์ พระศุกร์โกรธมากจึงสาปท้าวยยาติให้กลายเป็นคนหลังค่อม และลูกหลานต้องฆ่ากันตายและต้องมีตระกูลหนึ่งต้องสูญพันธุ์ไม่มีผู้สืบสกุล จนทำให้เกิด มหาสงครามทุ่งกุรุเกษตร ๑๘ วัน ก็คือปาณฑพ และ เการพ และตระกูลที่สูญพันธุ์ไร้ผู้สืบสกุลก็คือสกุลเการพ ในเวลาต่อมา เมื่อเทียบกับความเชื่อทางตะวันตกแล้ว พระศุกร์เทียบได้กับอะโฟร์ไดตีของเทพปกรณัมกรีก และวีนัสของเทพปกรณัมโรมัน.

ใหม่!!: พระศิวะและพระศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสยามเทวาธิราช

ระสยามเทวาธิราช เป็นเทวรูป หล่อด้วยทองคำสูง 8 นิ้ว ประทับยืนทรงเครื่องกษัตริยาธิราช ทรงฉลองพระองค์อย่างเครื่องของเทพารักษ์ มีมงกุฎเป็นเครื่องศิราภรณ์ พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงขรรค์ พระหัตถ์ ซ้ายยกขึ้นจีบดรรชนีเสมอพระอุระ องค์พระสยามเทวาธิราชประดิษฐานอยู่ในเรือนแก้วทำด้วยไม้จันทน์ ลักษณะแบบวิมานเก๋งจีน มีคำจารึกเป็นภาษาจีนที่ผนังเบื้องหลัง แปลว่า "ที่สถิตแห่งพระสยามเทวาธิราช" เรือนแก้วเก๋งจีนนี้ประดิษฐานอยู่ในมุขกลางของพระวิมานไม้แกะสลักปิดทอง ตั้งอยู่เหนือลับแลบังพระทวารเทวราชมเหศวร์ ตอนกลางพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง พระวิมานไม้แกะสลักปิดทองนี้ เรียกว่า พระวิมานไม้แกะสลักปิดทองสามมุข ด้านหน้าขององค์พระสยามเทวาธิราชตั้งรูปพระสุรัสวดี หรือพระพราหมี เทพเจ้าแห่งการดนตรีและขับร้อง มุขตะวันออกของพระวิมาน ตั้งรูปพระอิศวรและพระอุมา มุขตะวันตกของพระวิมาน ตั้งรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ.

ใหม่!!: พระศิวะและพระสยามเทวาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

พระสุรัสวดี

ระสุรัสวตี เทวีอักษรศาสตร์(ตราสัญลักษณ์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระสุรัสวดี หรือ พระสรัสวดี (सरस्वती สรสฺวตี) เป็นเทพสตรีในศาสนาฮินดู ทรงอุปถัมภ์ความรู้, ศิลปะ, ดนตรี, ปัญญา และการเรียนรู้Kinsley, David (1988).

ใหม่!!: พระศิวะและพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระสตี

ระสตี (सती) หรือ พระทักษายณี (दाक्षायणी) เป็นเทวีในศาสนาฮินดู เชื่อว่าเป็นเทพเจ้าแห่งการมีอายุยืน เป็นพระชายาองค์แรกของพระศิวะ เมื่อจุติแล้วได้มาเกิดใหม่เป็นพระปารวตี พระสตี เป็นธิดาของพระทักษะประชาบดีได้เป็นชายาของพระศิวะ ที่ทรงอวตารลงมาในภาคของมุนีภพ ไว้ผมหนวดเครารุงรัง นำกระดูกมาร้อยเป็นสังวาลสวมคอ นอนตามป่าช้า มีกลิ่นตัวเหม็นสาบ เป็นที่รังเกียจของพระทักษะ แต่ด้วยบารมีของพระสตี จึงมองเห็นรูปกายที่แท้จริงว่าพระมุนีองค์นี้ ว่าเป็นภาคหนึ่งขององค์พระศิวะ ด้วยความรังเกียจ พระทักษะประชาบดีจึงได้ลบหลู่เกียรติของพระศิวะในงานพิธี พระสตีจึงทรงเข้าตบะเพื่อขับเพลิงออกมาจากร่าง เพื่อสังหารพระองค์เอง (บางตำรากล่าวว่าพระนางกระโดดเข้ากองไฟ) ด้วยความพิโรธ พระศิวะทรงส่งอสูรชื่อวีรภัทร ไปทำลายงานพิธี และตัดศีรษะพระทักษะประชาบดี ต่อคืนด้วยหัวแพะที่ใช้บูชายัญในพิธีนั้น พระศิวะทรงเศร้าโศกเสียใจด้วยความรักที่มีต่อพระสตี จึงทรงทรงพาร่างของพระสตีออกไปจนสุดจักรวาล และบำเพ็ญพรตบารมีอยู่เป็นเวลานาน ต่อมาพระนางได้กลับมาเกิดเป็นธิดาของท้าวหิมวัตและพระนางเมนกา และเป็นชายาของพระศิวะอีกครั้งในร่างของพระอุมาเทวี (พระปารวตี) พิธีสตี ชาวอินเดียที่นับถือพระศิวะและพระอุมา มีพิธีกรรมที่เรียกว่าพิธีสตี เมื่อสามีเสียชีวิต ภรรยาจะฆ่าตัวตายตามโดยกระโดดเข้ากองไฟ เพื่อบูชาความรักและการเสียสละของพระสตี ที่มีต่อพระศิวะ ในบางครั้งภรรยาของผู้ตายไม่ยินยอมเข้าพิธีสตี ก็ยังถูกญาติพี่น้องของสามี บังคับให้เผาตัวตายตาม พิธีบูชายัญนี้ถูกระงับไปเมื่ออินเดียตกอยู่ในการปกครองของอังกฤษ ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: พระศิวะและพระสตี · ดูเพิ่มเติม »

พระหริหระ

เทวรูปพระหริหระ สมัยอาณาจักรมัชปาหิต พระหริหระ (हरिहर, Harihara) เป็นอวตารของพระวิษณุ (หริ) และพระศิวะ (หระ) นิยมนับถือกันเป็นอย่างมากในสมัยโจฬะและพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู.

ใหม่!!: พระศิวะและพระหริหระ · ดูเพิ่มเติม »

พระอัยนาร์

ทวรูปหินสลักพระอัยนาร์และพระมเหสีทั้งสอง ในพิพิธภัณฑ์ กรุงเชนไน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย พระอัยนาร์ (ஐயனார்Aiyanar) เป็นเทวะท้องถิ่น ในศาสนาฮินดู ซึ่งเป็นเทพเจ้าที่ดูแลรักษาและคุ้มครองหมู่บ้านของชาวทมิฬ ส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักและนิยมบูชา ใน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย อินเดียภาคใต้ทั่วไป และหมู่บ้าน ทมิฬ ใน ประเทศศรีลังกา มีลักษณะความสัมพันธ์คล้ายคลึงกับ พระอัยยานากี (Aiyanayake) เทพเจ้าของชาวสิงหล ในประเทศศรีลังกา เทวรูปหินสลักพระอัยนาร์และพระมเหสีทั้งสอง เทวสถานประจำหมู่บ้าน ในกรุงเชนไน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พระศิวะและพระอัยนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอาทิตย์

ระอาทิตย์ (เทวนาครี: सूर्य สูรฺย) เป็นเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่ง มีอำนาจเหนือกว่าเทวดานพเคราะห์ทั้งหลาย ในคติไทย พระอาทิตย์ถูกสร้างขึ้นมาจากราชสีห์ ๖ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้าสีแดง แล้วเสก ได้เป็นพระอาทิตย์ มีสีวรกายแดง ทรงราชสีห์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และแสดงถึงสระทั้งหมดในภาษาบาลี (อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ) พระอาทิตย์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางก้าวร้าวรุนแรง นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันอาทิตย์ หรือมีพระอาทิตย์สถิตร่วมกับลัคนา มักมีอารมณ์รุนแรง ตัดสินใจไว เฉียบขาด รักอิสระ แต่ซื่อสัตย์ ตามนิทานชาติเวร พระอาทิตย์เป็นมิตรกับพระพฤหัสบดี และเป็นศัตรูกับพระอังคาร ในโหราศาสตร์ไทย พระอาทิตย์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๑ (เลขหนึ่งไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากราชสีห์ ๖ ตัวนี้เอง จึงทำให้มีกำลังพระเคราะห์เป็น ๖ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอาทิตย์ก็คือ ปางถวายเนตร นอกจากราชสีห์แล้ว พระอาทิตย์ยังมีราชรถเทียมม้าขาว ๗ ตัวโดยมีสารถีชื่ออรุณ เป็นเทวพาหนะอีกอย่าง เมื่อเทียบกับความเชื่อทางตะวันตกแล้ว พระอาทิตย์เทียบได้กับ ฟีบัส หรือ อพอลโล ตามเทพปกรณัมกรีกและเทพปกรณัมโรมัน.

ใหม่!!: พระศิวะและพระอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทร์

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/literature/10000-5627.html | สถานบำบวงหลัก.

ใหม่!!: พระศิวะและพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระผู้สร้าง

ระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม พระผู้สร้าง (Creator) หมายถึง พระเป็นเจ้า (ตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม) หรือเทวดาผู้เป็นใหญ่ (ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม) ที่มีอำนาจบันดาลให้โลก (ทั้งเอกภพและจักรวาล) เกิดขึ้น.

ใหม่!!: พระศิวะและพระผู้สร้าง · ดูเพิ่มเติม »

พระธรณี

วัดท่าสุทธาวาส พระแม่ธรณี หรือ พระศรีวสุนธรา ภาษากะเหรี่ยงว่า ซ่งทะรี่ เป็นเทพีแห่งพื้นแผ่นดิน ปรากฏในตำนานทั้งศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ในคติของศาสนาฮินดูให้ความเคารพนับถือว่าแผ่นดินเป็นสิ่งค้ำจุนสรรพสิ่งทั้งปวงในโลกเปรียบเสมือนมารดาผู้ให้กำเนิดหล่อเลี้ยงโลกและแผ่นดิน จึงได้รับยกย่องว่าเป็นเทพจากธรรมชาติองค์หนึ่งเป็นเพศหญิง เรียกนามว่า "ธรณิธริตริ" แปลว่า "ผู้ค้ำจุนพระธรณี" แม้จะมิค่อยมีรูปเคารพอย่างแพร่หลายเช่นเทพองค์อื่นแต่ก็มีผู้ให้ความเคารพนับถือเป็นจำนวนมิใช่น้อย เพราะถือกันว่าพระธรณีสถิตย์อยู่ตามที่ต่าง ๆ ทุกหนทุกแห่ง จะทำการบูชาด้วย ข้าว ผลไม้ และนมด้วยการวางไว้บนก้อนหิน หรือประพรมลงบนพื้นดิน บางแห่งใช้เหล้าเป็นการสังเวยก็มี นอกจากนี้ชาวฮินดูยังมีการขอขมาลาโทษเมื่อจะวางเท้าลงบนพื้นดินก่อนจะลุกขึ้นในตอนเช้า วัวหรือควายที่มีลูกก่อนที่จะให้ลูกกินนมครั้งแรก เจ้าของจะปล่อยน้ำนมของแม่วัวลงบนพื้นดินเสียก่อนทุกครั้งไป ถ้าเป็นพวกชาวนาก็จะขอให้พระธรณีช่วยคุ้มครองผืนนาและวัวควาย แม้ในพระเวทก็มีการขอร้องต่อพระธรณีให้ช่วยพิทักษ์คุ้มครองวิญญาณของคนตาย และต่อมาได้นับถือว่าเป็นเทพแห่งไร่นาด้วย ในแคว้นปัญจาบเชื่อกันว่าพระธรณีจะนอนหลับเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ของทุก ๆ เดือนชาวไร่ชาวนาจะหยุดไม่ทำงานในระยะนี้ เทพแห่งแผ่นดินหรือพระธรณี ไม่ค่อยมีเรื่องราวประวัติความเป็นมาปรากฏมากมายดังเช่นเทพองค์อื่น หรือมีก็สับสน เช่น บางแห่งว่าพระธรณีมีโอรสกับพระนารายณ์องค์หนึ่งคือพระอังคาร บางแห่งว่าพระอังคารเป็นโอรสของพระศิวะกับพระธรณี หรือในคติพราหมณ์พบเพียงว่าเป็นชายาของพระธุรวะหรือดาวเหนือ ในพุทธศาสนา พระแม่ธรณีปรากฏกายเพื่อบีบน้ำจากมวยผมให้ท่วมทัพท้าววสวัตตีที่มาผจญพระโคตมพุทธเจ้าในคืนวันตรัสรู้.

ใหม่!!: พระศิวะและพระธรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระทัตตาเตรยะ

พระทัตตะเตรยะ (เทวนาครี: दत्तात्रेय) เป็นบุตรของพระฤาษีอัตริและนางอนุสุยา เป็นอวตารแห่งพระตรีมูรติทั้ง 3 อันได้แก่ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ ในนารายณ์สิบปาง และเป็นอาจารย์ของท้าวการตวีรยะ อรชุน คู่ปรับของปรศุราม หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู.

ใหม่!!: พระศิวะและพระทัตตาเตรยะ · ดูเพิ่มเติม »

พระขันทกุมาร

ระขันธกุมาร (เทวนาครี:मुरुगन; முருகன்; മുരുകന്‍; ಸುಬ್ರಹ್ಮಣ್ಯ; సుబ్రహ్మణ్యేశ్వర స్వామి) เป็นเทพเจ้าแห่งการชาญณรงค์สงคราม และเป็นเทพเจ้าที่เป็นแม่ทัพของสวรรค์ด้วย พระองค์นั้นเป็นพระโอรสของพระศิวะ (พระอิศวร) และพระแม่ปารวตี (พระแม่อุมาเทวี) ทรงมีพระอนุชา 1 พระองค์ คือ พระพิฆเนศ ทรงนกยูงปารวาณีเป็นพาหนะ พระชายาของพระขันธกุมารคือ พระแม่เทวเสนา (เกามารี) และพระแม่วัลลี ที่อินเดียใต้นิยมนับถือมาก ด้วยเชื่อว่าพระขันธกุมารคือเทวดาผู้คุ้มครองปกป้องรักษาเทวาลัยของศาสนาฮินดู และเป็นเทพประจำทิศใต้อีกด้ว.

ใหม่!!: พระศิวะและพระขันทกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

พระตรีศักติ

ระตรีศักติ หรือ พระแม่ 3 ภพ คือการรวมตัวของมหาเทวีสตรีทั้ง 3 พระองค์ ได้แก่ พระปารวตี (มเหสีแห่งพระศิวะ) พระลักษมี (มเหสีแห่งพระวิษณุ) และพระสุรัสวดี (มเหสีแห่งพระพรหม) เมื่อพระเทวีทั้งสามรวมกันเป็นหนึ่งเดียวกัน จะปรากฏรูปเป็น พระศักติเทวี พระมารดาแห่งจักรวาล เป็นเทวีแห่งการทำลายความชั่วร้ายทั้งหลาย ใครที่บูชาพระศักติเทวี (พระแม่ทั้ง 3) แล้ว ย่อมได้รับพลังอำนาจจากพระปารวตี โชคลาภและความร่ำรวยจากพระลักษมี สติปัญญาและความรอบรู้ในศิลปวิทยาการจากพระสุรัสวตี พระศักติเทวีนั้นประทับอยู่บนสิงโตหรือเสือ อันเป็นสัญลักษณ์แห่งอำนาจและชัยชนะ โดยรูปพระศักติจะมีอวตารในหลายรูปลักษณ์ เช่น พระแม่ทุรคา เพื่อปราบอสูรมหิษาสูร และในรูปนวทุรคา หรือ นวศักติทั้งเก้า ที่เป็นที่มาของเทศกาลนวราตรีอีกด้ว.

ใหม่!!: พระศิวะและพระตรีศักติ · ดูเพิ่มเติม »

พระปารวตี

ปารวตี (पार्वती Pārvatī) หรือ อุมา (उमा Umā) เป็นเทวดาสตรีในศาสนาฮินดู เป็นเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ความรัก การอุทิศตน ตลอดจนพลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์Suresh Chandra (1998), Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses,, pp 245-246 ถือกันว่า พระนางเป็นด้านอ่อนโยนและเอาใจใส่ของเทวีศักติ พระนางยังแสดงพระองค์เป็นหลายด้าน เรียกว่า "ปาง" แต่ละปางเป็นที่รู้จักด้วยหลายชื่อหลายเรื่องราวKeller and Ruether (2006), Encyclopedia of Women and Religion in North America, Indiana University Press,, pp 663 พระนาง พร้อมด้วยพระลักษมี เทวีแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรือง และพระสรัสวดี เทวีแห่งความรู้ ประกอบกันเป็นองค์สาม (trinity) ของเทวีฮินดู เรียกว่า ตรีเทวี พระนางเป็นพระชายาของพระศิวะ เทพเจ้าผู้ปกปักรักษาสรรพชีวิตและทำลายล้างความชั่วร้ายEdward Balfour,, The Encyclopaedia of India and of Eastern and Southern Asia, pp 153 พระนางเป็นพระธิดาของพระหิมวัต เทพแห่งภูเขา กับพระนางไมนาวติ ผู้เป็นพระชายาH.V. Dehejia, Parvati: Goddess of Love, Mapin,, pp 11 พระนางทรงให้กำเนิดพระคเณศกับพระขันทกุมาร คัมภีร์ปุราณะยังกล่าวว่า พระนางเป็นพระพี่นางหรือน้องนางของพระวิษณุ และของพระคงคาWilliam J. Wilkins,, Hindu Mythology - Vedic and Puranic, Thacker Spink London, pp 295 พระนางกับพระสวามีทรงเป็นเทพศูนย์กลางแห่งไศวนิกาย หรือลัทธิซึ่งถือพระศิวะเป็นใหญ่ ศาสนาฮินดูยังเชื่อว่า พระนางทรงเป็นพลังงานและอำนาจแห่งการสร้างสรรค์ใหม่ของพระสวามี เป็นรากเหง้าของพันธะที่รัดรึงสรรพสิ่งเข้าด้วยกัน และเป็นหนทางแห่งการปลดปล่อยทางจิตวิญญาณในเทวาลัยฮินดูที่สร้างถวายพระนางและพระสวามี มักใช้โยนี (อวัยวะเพศหญิง) เป็นสัญลักษณ์แทนพระนาง.

ใหม่!!: พระศิวะและพระปารวตี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ภวานี

ระแม่ภวานี (สันสกฤษ: भवानी Bhavani) เป็นเทวสตรีใน ศาสนาฮินดู ซึ่งถึงว่าเป็นภาคหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี คำว่า ภวานี หมายถึง "คนที่มอบชีวิต" หรือ พลังอำนาจของธรรมชาติหรือแหล่งที่มาของพลังงานความคิดสร้างสรร.

ใหม่!!: พระศิวะและพระแม่ภวานี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีอัมมัน

วัดพระศรีมหาอุมาเทวีเทวสถานสร้างขึ้นเพื่อถวายแด่พระแม่มารีอัมมมัน ที่ถนนสีลม กรุงเทพมหานคร พระแม่มารีอัมมันปางสามายาปุรัม พระแม่มารีอัมมัน (மாரியம்மா.mariamman馬里安曼) เป็นเทวีในศาสนาฮินดู ปรากฏเฉพาะในอินเดียใต้เป็นส่วนใหญ่ และทรงเป็นที่รู้จักและนับถือภาคใต้ของอินเดียและในพื้นที่ชนบทของรัฐทมิฬนาดู, รัฐกรณาฏกะ รัฐมหาราษฏระ และรัฐอานธรประเทศ ชาวฮินดูและคัมภีร์ในศาสนาฮินดูนั้นถือพระองค์เป็นภาคหนึ่งของพระแม่ปารวตีและพระแม่ทุรคา และทรงมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นเดียวกับเทวีของอินเดียภาคเหนือคือพระแม่ศีลตาเทวีและพระแม่กาลี ราชรถแห่เทวรูปพระแม่มาริอัมมันในงานเทศกาลอาทิตรีรูวิยา (Aadi Thiruvizha) วัดพระศรีสามายาปูรัม มาริอัมมัน รัฐทมิฬนาดูประเทศอินเดีย ในอินเดียใต้นั้น มีพิธีเฉลิมฉลองถวายแด่พระองค์ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงปลายฤดูร้อนทั่วภูมิภาคของอินเดียใต้ ซึ่งเป็นงานเทศกาลที่ยิ่งใหญ่ เรียกว่า " อทิตรีรูวิยา(Aadi Thiruvizha)" เป็นเทศกาลที่สำหรับ สักการบูชาประจำปีของพระนางเป็นส่วนใหญ่ มุ่งเน้นไปที่ การขอพรและการรักษาโรค เช่นโรค อหิวาตกโรค ฝีดาษ และ โรคต่างๆ ทรงเป็นที่เคารพบูชา ตามท้องถิ่นของอินเดียใต้เป็นส่วนใหญ่ โดยถือเป็นเทวีผู้ดูแลหมู่บ้านต่างๆ และมักจะมีเทวสถานเพื่อประดิษฐานเทวรูปประจำหมู่บ้าน และในเทวสถานนั้นมักขนาบข้างด้วยเทวรูปพระพิฆเนศและพระขันทกุมาร ในความเชื่อของชาวฮินดูนั้น มีสัญญาลักษณ์แทนพระองค์คือสะเดา ซึ่งถือว่ามีอำนาจและพลังของพระองค์สถิตอยู่พืชชนิดนี้และเครื่องเครื่องสักการบูชาหลักของพระองค์ เทวสถานพระแม่มาริอัมมันในกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: พระศิวะและพระแม่มารีอัมมัน · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มาเหศวรี

ระแม่มเหศวรี(माहेस्वरीMaheshvari)เป็นเทวีในศาสนาฮินดูองค์หนึ่งในคณะของพระแม่สัปตมาตฤกา โดยถือว่าเป็นพลังของพระอิศวรและพระอุมาเทวี ในศาสนาฮินดูและยังปรากฏเทวรูปในประเทศไทยที่ประเทศไทยเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ กรุงเทพมหานครโดยประดิษฐานในบุษบกขนาบข้างร่วมกับเทวรูปพระนารายณ์และเทวรูปพระลักษมี ในหอพระนารายณ.

ใหม่!!: พระศิวะและพระแม่มาเหศวรี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มีนากษี

ระแม่มีนากษี (ทมิฬ: மீனாட்சி อังกฤษ: Meenakshi) เป็นเทวสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นอวตารปางหนึ่งของพระแม่ปารวตี พระชายาของพระศิวะ เป็นที่นับถือของชาวอินเดียใต้ในแถบเมืองมธุไร รัฐทมิฬนาฑู นอกจากนี้พระแม่มีนากษียังถือเป็นพระเทวีประจำเมืองมธุไร.

ใหม่!!: พระศิวะและพระแม่มีนากษี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มนสาเทวี

ระแม่มนสาเทวี พระแม่มนสาเทวี เทวีแห่งอสรพิษ พระธิดาของพระศิวะกับพระแม่คงคา มีตาที่ 3 เหมือนพระศิวะ โดยพระองค์นั้นเป็นเทพแห่งงูและนาค ซึ่งพระแม่นั้นมีเทวลักษณะเป็นเทพธิดางดงามและมักจะมีงูพันตามตัว ที่คอ ที่แขนเป็นต้น พระแม่ทรงมีพาหนะเป็นห่านขาว บางตำนานกล่าวว่าพระแม่มนสาเทวี กับ พระยามีหรือยมุนา บุตรีแห่งพระศิวะกับพระแม่คงคาเป็นองค์เดียวกัน พระแม่มนสามีเรื่องเล่าการกำเนิดหลายตำนานเช่น บางตำนานว่าเป็นธิดาของพระศิวะโดยมิได้กล่าวว่ากับพระชายาองค์ใด อีกตำนานก็ว่าเป็นพระบุตรีแห่งฤษีกัศยปะเทพบิดรกับพระแม่กัทรุ (มารดาแห่งนาค) พระแม่จึงเท่ากับเป็นพระน้องนางแห่งอนันตนาคราชและนาคต่างๆ พระแม่มนสาเป็นพระชายาแห่งฤษีนามว่า"ชรัศการุ" และทรงมีพระโอรสนามว่า "อาศติกะ".

ใหม่!!: พระศิวะและพระแม่มนสาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่อันนปูรณา

ระแม่อันปูรณา (อักษรเทวนาคิรี:अन्नपूर्णा)เป็นเทวีในศาสนาฮินดู คำว่า อันนา หมายถึง "อาหาร" หรือ "ธัญพืช" และ คำว่า ปูรณา หมายถึง "เต็มรูปแบบที่สมบูรณ์และดี" ดังนั้น คำว่า อันปูรณา จึงหมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ในทุกด้านของอาหาร และ ยังถือว่า เป็นภาคหนึ่งของพระศรีมหาอุมาเทวีพระมเหสีของพระศิว.

ใหม่!!: พระศิวะและพระแม่อันนปูรณา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่คงคา

ตรกรรมถอดแบบจากจิตรกรรมโบราณของอินเดียภาคเหนือ ของพระแม่คงคาทรงเทววาหนะมกร พระแม่คงคา เป็นพระเทวีองค์หนึ่งในคติของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โดยเป็นพระเทวีแห่งแม่น้ำคงคาซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาหิมาลัยและได้รับการนับถือจากชาวฮินดูเพราะเชื่อกันว่าถ้าใครได้ลงอาบแม่น้ำคงคาถือว่าเป็นการชำระล้างบาปออกไปจากตัวอีกด้ว.

ใหม่!!: พระศิวะและพระแม่คงคา · ดูเพิ่มเติม »

พระโคตมพุทธเจ้า

ระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมในภาษาบาลีว่า สิทธัตถะ โคตมะ หรือในภาษาสันสกฤตว่า สิทฺธารฺถ เคาตมะ (อ่านว่า /สิดทาด —/) (เทวนาครี: सिद्धार्थ गौतम) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน ผู้เป็นศาสดาของศาสนาพุทธ สาวกของพระองค์ไม่นิยมออกพระนามโดยตรง แต่เรียกตามพระสมัญญาว่า "ภควา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) คัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทึกตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาช้านาน ก่อนออกผนวชทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็นรัชทายาท เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ทรงได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี, พระพุทธโคดม, พระโคดมพุทธเจ้า ฯลฯ แต่ทรงเรียกพระองค์เองว่า ตถาคต แปลว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือ ทรงปฏิญาณว่า ทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวง สำเร็จแล้วซึ่งอรหัตผล.

ใหม่!!: พระศิวะและพระโคตมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระไภรวะ

ระศิวะ ในร่างของพระไภรวะ, ราว ค.ศ. 1820 พระไภรวะ (भैरव; การถอดรูปเป็นอักษรไทยบางครั้งอาจเขียนเป็น "ไภรพ") หรือ พระอิศวรปางดุร้าย เป็นปางหนึ่งของพระศิวะ ซึ่งชาวไทยเรียกว่า "พระพิราพ" ซึ่งเป็นครูในนาฏกรรม มีในนิกายตันตระ สาเหตุที่ทำให้มีลักษณะที่น่ากลัว เนื่องจากจะทำให้ศาสนิกเกรงกลัวพลอำนาจของเทพเจ้า พระอิศวรไภรพนั้นมีอยู่มี 2 แบบ คือ.

ใหม่!!: พระศิวะและพระไภรวะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้า

ระเจ้า อาจหมายถึง; ศาสน.

ใหม่!!: พระศิวะและพระเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ายโศวรรมันที่ 1

วรรมันที่ 1 เอกสารไทยบางทีว่า ยโศวรมันที่ 1 (យសោវរ្ម័នទី១ ยโสวรฺมันที ๑; Yasovarman I) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมร เสวยราชย์ในระหว่าง..

ใหม่!!: พระศิวะและพระเจ้ายโศวรรมันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2

ูรยวรรมันที่ 2 เอกสารไทยบางทีว่า สุริยวรมันที่ 2 (សូរ្យវរ្ម័នទី២ สูรฺยวรฺมันที ๒; Suryavarman II) สิ้นพระชนม์แล้วได้พระนามว่า บรมวิษณุโลก (បរមវិឝ្ណុលោក บรมวิศฺณุโลก) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมร เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: พระศิวะและพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระเป็นเจ้า

ระนามพระยาห์เวห์ในภาษาฮีบรู พระเป็นเจ้า (God) หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ถือเป็นเทวดาเพียงพระองค์เดียวตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม หรือเป็นเทวดาผู้เป็นสารัตถะเดียวของเอกภพตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยมSwinburne, R.G. "God" in Honderich, Ted.

ใหม่!!: พระศิวะและพระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พาราณสี

ราณสี (Bārāṇasī พาราณสี; वाराणसी, Vārāṇasī วาราณสี) เป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสี (Kingdom of Kashi) ในสมัยพุทธกาล ปัจจุบันตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ห่างจากลัคเนาซึ่งเป็นเมืองหลวงของอุตตรประเทศเป็นระยะทาง 320 กิโลเมตร พาราณสีมีแม่น้ำคงคาไหลผ่าน เป็นเมืองที่ศักดิสิทธิ์ที่สุดหนึ่งในเจ็ดเมืองศักดิสิทธิ์ (สัปดาปุริ, Sapta Puri) ในความเชื่อของศาสนาฮินดูและศาสนาเชน พาราณสีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 4,000 ปี เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดียและยังจัดเป็นเมืองที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์โลกด้วย ถือว่าเป็นสุทธาวาสที่สถิตแห่งศิวเทพ ถือว่าเป็นเมืองอมตะของอินเดียและเป็นที่แสวงบุญทั้งของชาวฮินดูและชาวพุทธทั่วโลก ครั้งสมัยอาณานิคม เมืองนี้มีชื่อว่า เบนาเรส (Benares) พาราณสียังเป็นเมืองที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในหลายด้าน โดยมีอาณาเขตครอบคลุมถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า สารน.

ใหม่!!: พระศิวะและพาราณสี · ดูเพิ่มเติม »

พาลี

ลี หรือ พญาพาลี เป็นลิงที่เป็นตัวละครตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นลิงเจ้าเมืองขีดขิน ที่มีฤทธิ์มากที่สุดตัวหนึ่ง มีกายสีเขียว เป็นโอรสของพระอินทร์ กับ นางกาลอัจนา เดิมชื่อ กากาศ ตอนเด็กโดนฤๅษีโคดมสาปให้กลายเป็นลิงเช่นเดียวกันกับสุครีพ ซึ่งเป็นน้องชาย เพราะรู้ว่าทั้ง 2 เป็นลูกชู้ ต่อมาพระอินทร์ผู้เป็นบิดา ได้สร้างเมืองชื่อ ขีดขินให้พาลีปกครอง และตั้งชื่อให้ใหม่ว่า พระยากากาศ ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น พาลี เคยต่อสู้กับ ทรพี ควายที่ฆ่า ทรพา พ่อของตนเอง ที่มีเทวดาอารักขาขาทั้งสี่ข้างและสองเขา ซึ่งพาลีจะต้องเข้าไปสู้ในถ้ำสุรกานต์ ก่อนไปได้สั่งเสียสุครีพไว้ว่า ถ้าผ่านไปเจ็ดวันแล้ว ถ้าตนไม่กลับมา ให้ไปดูรอยเลือด ถ้าเลือดข้นนั้นคือ เลือดทรพี ถ้าเลือดใสนั้นคือเลือดตน ตอนที่พระอิศวรฝากนางดารามากับพาลีเพื่อให้กับสุครีพผู้เป็นน้อง พาลีได้ยึดนางดาราไว้เป็นภรรยาเสียเอง พาลีเคยแย่งนางมณโฑกับทศกัณฐ์เมื่อตอนที่เหาะผ่านเมืองขีดขินด้วย และมีบุตรกับนางมณโฑ คือ องคต สุดท้ายพาลีสิ้นชีวิตจากศรของพระราม ขณะที่พระรามแผลงศรใส่พาลี พาลีจับศรไว้ได้ พาลีจึงได้เห็นร่างที่แท้จริงของพระราม ว่าเป็นพระนารายณ์อวตาร จึงได้สำนึกผิด และเรียกสุครีพมาสั่งสอน ซึ่งเรียกว่า "พาลีสอนน้อง" และฝากฝังเมืองขีดขินไว้ จากนั้นก็ปล่อยให้ศรปักอกตาย หลังจากที่พาลีตายได้ไปเกิดเป็นเทพบุตรพาลีบนสวรรค์ ได้มีบทบาทตอนไปทำลายพิธีชุบหอกกบิลพัทของทศกัณฐ์ ในศาสนาฮินดูพาลีไม่ได้ยึดนางดาราภรรยาของสุครีพ และเป็นกษัตริย์ที่ทรงคุณธรรม เขาตายเนื่องจากพระรามลอบสังหารเขาในขณะต่อกรกับสุครีพ ในชาติต่อไปเขาไปเกิดเป็นนายพรานจาราและสังหารพระกฤษณะซึ่งเป็นพระรามในชาติก่อน.

ใหม่!!: พระศิวะและพาลี · ดูเพิ่มเติม »

พิธีบายศรีสู่ขวัญ

ีบายศรีสู่ขวัญ บางครั้งก็เรียกว่า พิธีบายศรี, พิธีสู่ขวัญ, พิธีทำขวัญ, พิธีรับขวัญ เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของคนไทย และคนลาว ด้วยความเชื่อที่ว่า ทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิ่งนามธรรมอย่างหนึ่งที่เรียกกันว่า “ขวัญ” ซึ่งมีหน้าที่รักษาประคับประคองชีวิตและติดตามเจ้าของไปทุกหนแห่ง การทำพิธีสู่ขวัญจึงเป็นการเชิญขวัญที่หนีหายไปให้เข้ามาอยู่กับตัว และเชื่อว่าเป็นการส่งเสริมพลังใจให้เข้มแข็ง มีสติและไม่ประมาท ประเพณีบายศรีสู่ขวัญใช้เครื่องเชิญขวัญที่เรียกว่า บายศรี ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น หรือ 9 ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรี และมีไข่ขวัญ (ไข่ต้ม) เสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายประเภท เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่ (ภาษาเขมร.

ใหม่!!: พระศิวะและพิธีบายศรีสู่ขวัญ · ดูเพิ่มเติม »

พิเภก

ก เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ มีกายสีเขียว ทรงมงกุฎน้ำเต้ากลม เป็นน้องของทศกัณฐ์ และกุมภกรรณ อดีตชาติ เป็นพระเวสสุญาณเทพบุตร พระอิศวรสั่งให้ไปจุติเป็นพี่น้องร่วมท้องเดียวกันกับทศกัณฐ์เพื่อเป็นไส้ศึกคอยบอกความลับต่าง ๆ ให้แก่พระราม พร้อมประทานแว่นวิเศษติดที่ดวงตาขวา มองเห็นได้ทั้งสามโลก แม้กระทั่งอดีตและอนาคต พิเภกโดนทศกัณฐ์ขับออกจากกรุงลงกา เพราะไปแนะให้ทศกัณฐ์คืนนางสีดาแก่พระราม จึงเข้าร่วมกับฝ่ายพระราม ทำหน้าที่เป็นโหราจารย์ พิเภกมีส่วนช่วยในกองทัพพระรามเป็นอันมาก เป็นผู้บอกกลศึกและทำนายเหตุการณ์ต่าง ๆ ของฝ่ายทศกัณฐ์ให้แก่พระราม เมื่อทศกัณฐ์ใกล้ตายเพราะถูกศรพรหมาศของพระราม ทศกัณฐ์สำนึกได้ จึงเรียกพิเภกเข้าไปสั่งสอน โดยมีใจความหลักว่า ให้ประพฤติตนเป็นธรรม อย่าเกเรเหมือนตน ซึ่งบทนี้ถูกเรียกว่า "ทศกัณฐ์สอนน้อง" จากนั้น พิเภกได้รับแต่งตั้งจากพระรามให้เป็น "ท้าวทศคิริวงศ์" ครองกรุงลงกาแทนทศกัณฐ์สืบไป ในรามายณะ มีชื่อว่า "วิภีษณะ".

ใหม่!!: พระศิวะและพิเภก · ดูเพิ่มเติม »

พุทธคยา

ทธคยา (บาลี: พุทฺธคยา, อังกฤษ: Bodh Gaya, Mahabodhi Temple, बोधगया) คือคำเรียกกลุ่มพุทธสถานสำคัญใน อำเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นพุทธสถานที่มีความสำคัญที่สุด 1 ใน 4 แห่ง ของชาวพุทธ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พุทธสังเวชนียสถานที่มีความสำคัญที่สุดของชาวพุทธทั่วโลก ปัจจุบันบริเวณพุทธศาสนสถานอันเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัดมหาโพธิ อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการร่วม พุทธ-ฮินดู พุทธคยา ปัจจุบันตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำเนรัญชรา ไกลจากฝั่งแม่น้ำประมาณ 350 เมตร (นับจากพระแท่นวัชรอาสน์) พุทธคยามีสัญลักษณ์ที่สำคัญคือองค์เจดีย์สี่เหลี่ยมที่สูงใหญ่ โดยสูงถึง 51 เมตร ฐานวัดโดยรอบได้ 121.29 เมตร ล้อมรอบด้วยโบราณวัตถุ โบราณสถานสำคัญ เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระแท่นวัชรอาสน์ ที่ประทับตรัสรู้ และอนิมิสสเจดีย์ เป็นต้น ซึ่งนอกจากพุทธสถานโบราณแล้ว บริเวณโดยรอบพุทธคยายังเป็นที่ตั้งของวัดพุทธนานาชาติ รวมทั้งวัดไทยคือ วัดไทยพุทธคยา สำหรับชาวพุทธ พุทธคยา นับเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลกที่ต้องการมาสักการะสังเวชนียสถานสำคัญ 1 ใน 4 แห่งของพระพุทธศาสนา โดยในปี พ.ศ. 2545 วัดมหาโพธิ (พุทธคยา) สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ขององค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: พระศิวะและพุทธคยา · ดูเพิ่มเติม »

พูฒานีลกัณฐมนเทียร

ทวรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ เทวรูปหลักประจำวัด พูฒานีลกัณฐมนเทียร (बूढानीलकण्ठ मन्दिर พูฒานีลกณฺฐ มนฺทิร) หรือ วัดพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ เป็นโบสถ์พราหมณ์ ที่ตั้งอยู่ในเขตกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: พระศิวะและพูฒานีลกัณฐมนเทียร · ดูเพิ่มเติม »

กรมโยธาธิการและผังเมือง

กรมโยธาธิการและผังเมือง (Department of Public Works and Town & Country Planning) เป็นหน่วยงานราชการสังกัดในกระทรวงมหาดไทย ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 จากการรวมกรมโยธาธิการ และกรมการผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง มีภารกิจในด้านการผังเมือง การโยธาธิการ การออกแบบก่อสร้างและควบคุมการก่อสร้างอาคาร ดำเนินการและสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเมือง พื้นที่ และชนบท กำหนดและกำกับดูแลนโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดิน การตั้งถิ่นฐานและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการกำหนดคุณภาพ และมาตรฐานการก่อสร้าง ด้านสถาปัตยกรรม วิศวกรรม และการผังเมือง เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี เกิดมาตรฐานความปลอดภัย มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย และจัดการสิ่งปลูกสร้างตามระบบการผังเมืองที่ดี.

ใหม่!!: พระศิวะและกรมโยธาธิการและผังเมือง · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)

กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เป็นหน่วยงานราชการระดับกระทรวงของไทย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ในสมัยรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในคณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 ของไทย โดยมีหน้าที่ในการดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับ งานด้านพลังงาน การพัฒนาที่ดิน การทางหลวง สหกรณ์ และทรัพยากรธรณี ภายหลังหลังการรัฐประหารโดยจอมพลถนอม กิตติขจร ได้มีการยุบกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: พระศิวะและกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

การ์เดียนครอส

การ์เดียนครอส (Guardian Cross) เป็นเกมสำหรับเครื่องไอโฟน/ไอแพด ผลิตโดยบริษัทสแควร์-เอนิกซ์โดยมีด้วยกันสองรุ่นคือรุ่นภาษาญี่ปุ่น เปิดตัว 21 มิถุนายน 2555 และรุ่นภาษาอังกฤษ เปิดตัวในวันที่ 13 สิงหาคม 2555 ลักษณะเกมประกอบไปด้วยการใช้เทรดดิงการ์ดจำลอง การล่าศัตรู และการแข่งขันระหว่างผู้เล่น เดอะการ์เดียนได้จัดอันดับเกมและขึ้นเป็นเกมยอดนิยม 20 อันดับแรก ของเกมมือถือประจำสัปดาห์ นอกจากนี้เกมยังได้ขึ้นอันดับ 100 เกมยอดฮิตที่ทำเงินได้ของแอปสตอร์ และติดอันดับเกมดาวน์โหลดฟรียอดฮิต 150 อันดับอีกด้วย ในเดือนธันวาคม 2555 เกมนี้ได้มีการดาวน์โหลดรวมทั้งสิ้นมากกว่า 1,000,000 ครั้ง ทำให้เป็นเกมที่มียอดดาวน์โหลดสูงสุดของเกมจากสแควร์เอนิกซ์ของระบบปฏิบัติการไอโอเอ.

ใหม่!!: พระศิวะและการ์เดียนครอส · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..

ใหม่!!: พระศิวะและการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

กาลิทาส

กาลิทาส กาลิทาส (कालिदास) เป็นกวีและนักเขียนบทละครภาษาสันสกฤตที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง ได้รับการยกย่องเป็นรัตนกวี และกวิกุลคุรุ (ครูใหญ่แห่งกวีทั้งปวง) กาลิทาสเป็นกวีที่นับถือพระศิวะ และได้เขียนบทกวีและบทละครจำนวนมากตามขนบของปกรณัมและปรัชญาฮินดู ชื่อ กาลิทาสนั้น มีความหมายว่า ทาสรับใช้เจ้าแม่กาลี.

ใหม่!!: พระศิวะและกาลิทาส · ดูเพิ่มเติม »

กาลี

รูปปั้นนูนสูงของพระแม่กาลีและพระแม่ทุรคาประดับเทวสถานพระแม่จามุนดา ประเทศอินเดีย พระแม่กาลี หรือ กาลิกา (काली, Kālī, แปลว่า หญิงดำ) เป็นปางหนึ่งของพระอุมาเทวี ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีกายสีดำสนิท มีลักษณะดุร้าย มี ๑๐ พระกร ถืออาวุธร้ายอยู่ในพระกรทั้งสิบนั้น แลบลิ้นยาวถึงทรวงอก ที่ริมฝีปากมีเลือดไหลหยดเป็นทางยาว เครื่องประดับเป็นหัวกะโหลก มีงูใหญ่ร้อยคาดองค์ดั่งสังวาลย์ พระแม่กาลี หรือ เจ้าแม่กาลี มีอำนาจฤทธิ์ในการปราบปรามสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง มีเทวานุภาพอันแรงกล้า สร้างความวิบัติแก่เหล่าอสูรอย่างรุนแรง เด็ดขาด แฝงเร้นไว้ซึ่งความน่ากลัว ผู้บูชาพระแม่กาลีอย่างถูกต้องและเคร่งครัด พระแม่จะประทานความแข็งแกร่ง ความกล้าหาญ และอำนาจเหนือผู้อื่น พระแม่กาลี ยังมีพลังอำนาจในการขจัดคุณไสย ลบล้างไสยเวทย์ด้านมืด หากบุคคลใดถูกกระทำทางไสยศาสตร์ เมื่อผู้นั้นได้สวดบูชาอ้อนวอนต่อพระองค์ท่านแล้ว พระองค์ท่านก็มักให้พร ขจัดสิ่งอาถรรพ์ชั่วร้ายให้มลายหายไป และประทานสิ่งที่เป็นไปได้ยากให้ได้รับอย่างง่ายดาย ผู้ใดกระทำการสวดบูชา สรรเสริญ และถวายเครื่องสังเวยแด่พระแม่กาลีเป็นประจำ พระองค์ท่านจะประทานความปลอดภัยมาสู่ผู้นั้น ทรงดลบันดาลให้เกิดความสันติผาสุกแก่ผู้ครองเรือนทั่วไป คุ้มครองผู้บูชาจากภยันตรายและอุบัติเหตุร้ายแรง พระแม่กาลีทรงมีบุคลิกภาพที่ยากแก่การเข้าใจ มีความลึกลับที่สุดในบรรดาเทพเทวาทั้งปวง พระนางมีความดุดัน เกรี้ยวกราด รูปลักษณ์และอุปนิสัยล้วนเต็มไปด้วยความน่าสะพรึงกลัว แต่พระนางก็จะทำลายเฉพาะอสูร ปีศาจ และมนุษย์ที่กระทำการชั่วร้ายเท่านั้น เนื่องจากพระแม่กาลีก็คือเทพ และเทพก็มักปกป้องคุ้มครองผู้กระทำความดีเช่นเดียวกันทุกพระองค์ ฉะนั้น แม้ผู้ที่บูชาพระแม่อย่างเคร่งครัด แต่เป็นคนที่ไม่ดี มีความคิดที่ชั่วร้าย เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น พระแม่ท่านก็จะทำลายบุคคลผู้นั้นเสียโดยไม่ละเว้น ผู้ที่มีจิตใจไม่มั่นคง กำลังประสบหรือผ่านพ้นจากเหตุการณ์ร้ายแรงทำให้จิตใจอ่อนแอ สามารถกระทำการบูชาพระองค์ เพื่อขอความเข้มแข็ง และเด็ดขาด ผู้ที่เจอคุณไสย และถูกเบียดเบียนจากพลังงานชั่วร้ายหรืออำนาจไม่ดีทั้งจากมนุษย์และอมนุษย์ สามารถขอพระเมตตา จาก พรหมวิหารธรรมของท่าน ขจัดและทำลายให้พินาศสิ้น ผู้ที่ฝันร้าย เจออวมงคล นิมิตอันเป็นเหตุไม่ดี มีประการต่างๆ สามารถกระทำการบูชา ด้วยประทีปสีแดงและดำ ช่วยปัดเป่าให้มลายหายไป ผู้ที่มีโรคร้ายแรง ยากแก่การรักษา สามารถกระทำ ปฏิบัติบูชา อันจะกล่าวภายหลัง เพื่อหาหนทางบรรเทาโรคภัยได้ ผู้ที่ผิดหวังในรัก รักเพศเดียวกัน รักซ้อนรักแทรก สามารถกระทำปฏิบัติบูชาและบูชาเทวรุปประจำองค์ท่านได้เพื่อความสมหวังทั้งปวง นอกจากนั้น ท่านยังเด่นในเรื่อง การให้โชคลาภและยศฐาบันดาศักดิ์ด้วย พระมหาเทวีท่านโปรดปรานการบูชา ด้วยประทีปหรืออัคนี(อารตีไฟ) ปูเทวรุปด้วยผ้าแดงหรือสีดำก้ได้ (สามารถใช้ สีเงินหรือสีขาว เพื่อระลึกถึง พรหมวิหารธรรมของพระองคืได้ด้วย) ตำนานกล่าวว่า พระอุมาซึ่งอยู่ในปางอัมพิกา พระสิริโฉมงดงามเสด็จสู่สนามรบ เมื่อเหล่าอสูรได้เห็นก็พยายามจะได้นางเป็นชายา แต่นางได้ต่อสู้กับเหล่าอสูรด้วยความพิโรธ ในปางพระแม่กาลี จนอสูรทั้งหลายตายจนเกือบหมด เหลือเพียงมาธูอสูร ที่ทรงสังหารอย่างไรก็ไม่ตาย เพราะเคยได้รับพรจากพระศิวะให้มีชีวิตเป็นอมตะ หากเลือดหยดถึงพื้นดินก็จะเกิดเป็นอสูรอีกมากมายไม่สิ้นสุด ร้อนถึงพระศิวะ ทรงประทานวิธีให้พระแม่กาลีดื่มเลือดอสูรทุกครั้งอย่าให้ตกถึงดิน มาธูอสูรจึงถึงแก่ความตาย หลังจากชนะอสูรมาธู พระนางทรงดีพระทัย กระโดดเต้นเพื่อฉลองชัยชนะ แต่ด้วยตบะอันแรงกล้าทำให้เกิดความเดือดร้อน ต่อด้วยโลกธาตุทั้งปวงเมื่อพระนางกระทืบพระบาท พระศิวะจะเข้าห้ามปรามก็เกรงความดุร้ายของพระนาง จึงใช้อุบายทรงทอดพระกายลงบนพื้นที่พระนางจะกระทืบพระบาท เมื่อพระกาลีเห็นพระศิวะที่พื้น ด้วยปางหนึ่งที่เป็นพระปารวตี ซึ่งรักและภักดีในพระศิวะยิ่ง ก็ทรงชะงัก และแลบลิ้นด้วยความขวยเขิน การบูชาพระแม่กาลี ต้องใช้เลือดบริสุทธิ์ ในอดีตมีการใช้หญิงพรหมจารีย์ไปบูชายัญด้วยเลือดจากลำคอ แต่เมื่ออังกฤษเข้าปกครองอินเดีย ได้สั่งห้ามการฆ่าคนเพื่อบูชายัญ ปัจจุบันนี้การบูชาพระแม่กาลีใช้เลือดแพะแทน จากการที่พระแม่กาลีเป็นปางหนึ่งของพระอุมาเทวีที่ดุร้าย มีรูปลักษณ์คล้ายปีศาจและใช้เลือดและชีวิตในการบูชายัญ จึงมีความเข้าใจผิดกันว่า พระแม่กาลีเป็นเทพเจ้าแห่งความชั่วร้าย ในสำนวนภาษาไทยจึงมีคำว่า "กาลี" ซึ่งหมายความว่า สิ่งที่ชั่วร้าย เช่น "กาลีบ้านกาลีเมือง" หมายถึง "สิ่งที่ชั่วร้ายต่อบ้านเมือง" เป็นต้น บ้างก็ว่าเจ้าแม่กาลีเป็นเทพเจ้าที่โจรบูชา แต่แท้ที่จริงแล้ว ถ้าคนไม่ดีบูชาเจ้าแม่กาลี ก็จะมีอันเป็นไปในเร็ววัน วิธีการบูชาเจ้าแม่กาลีจะต้องถวายน้ำ นมและดอกไม้ ผลไม้ และเอกไม้ที่พระแม่โปรดปรานคือ ดอกชบาแดง ผู้บูชาต้องสวดบทบูชาเจ้าแม่กาลีทั้งเช้าเย็นว่า"โอม ศรี มหากาลิกาไย นะมะห์" โอม เจมาตากาลี โอม สตี เยมา ตา กาลี โอม ศรี มหากาลี มาตา นมัช เลือกบทที่ชอบ และคุ้นชิน หรือ ทำสมาธิถวายปรานแก่องค์พระแม่เพื่อเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระแม่ ห เจ้าแม่กาลีที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศไทยคือที่วัดแขก สีลม ผู้ที่ประสบเคราะห์กรรมโดนรังแก สามารถไปไหว้ท่านเพื่อแก้ไขดวงชะตาได้.

ใหม่!!: พระศิวะและกาลี · ดูเพิ่มเติม »

กาตตวรายัน

กาตตวรายัน (lord kathavarayan) เป็นเทพเจ้าที่สำคัญองค์หนึ่งในอินเดีย เป็นเทพพื้นเมืองท้องถิ่นของชาวทมิฬที่เป็นที่รู้จักและนิยมในภาคใต้ของรัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดียโดยนับถือกันทั่วไปว่าเทพผู้คุ้มครองเทวสถานและหมู่บ้านของชาวทมิฬ เดิมเป็นเด็กที่พระอิศวรให้เฝ้าสวนของพระอุมา ต่อมาได้กลั่นแกล้งเทพธิดาทั้ง 7 องค์ เทพธิดาไปฟ้องพระอิศวร พระอิศวรจึงให้ไปเกิดเป็นจัณฑาล ให้ไปล่วงเกินหญิงตระกูลพราหมณ์และถูกประหารชีวิตด้วยการเสียบไม้ พระอุมาได้ขออภัยโทษให้เด็กเฝ้าสวน พระอิศวรไม่พอใจจึงให้พระอุมาไปเกิดในโลกด้วย เด็กเฝ้าสวนได้ไปเกิดเป็นบุตรของพระอุมาในโลกมนุษย์หลายชาติ ทุกชาติจะทำแต่ความชั่ว แม้ว่าแม่จะสั่งสอนให้ทำความดีก็ตาม จนชาติสุดท้ายเด็กเฝ้าสวนไปเกิดเป็นจัณฑาล ลักพานางพราหมณ์ที่เป็นธิดาบุญธรรมของกษัตริย์ไป จึงถูกพิพากษาให้ประหารชีวิตด้วยการเสียบไม้ เด็กเฝ้าสวนได้แสดงอำนาจ สะกดทหารแล้วปีนขึ้นไปเสียบตัวเองอยู่บนไม้ ไม่ยอมลงมา สุดท้ายพระอิศวรต้องมาอ้อนวอน เด็กเฝ้าสวนจึงยอมลงมาและกลายเป็นเทวดารักษาบ้านเมืองในที่สุด ชาวอินเดียที่นับถือเทพองค์นี้จะจัดงานฉลองปีละครั้ง โดยจะเล่นดนตรีและแสดงละครเกี่ยวกับตำนานของเทพ คนทรงจะร่ายรำจนถึงเที่ยงคืนโดยมีทั้งเครื่องพันธนาการและพวงมาลัย ในปัจจุบันใช้เพียงพวงมาลัย คนทรงจะร่ายรำแล้วขึ้นไปนั่งบนไม้เสียบจนสว่างจึงลงมา ฉีกพวงมาลัยแจกชาวบ้านโดยถือว่าเป็นของศักดิ์สิท.

ใหม่!!: พระศิวะและกาตตวรายัน · ดูเพิ่มเติม »

กุมารี

นี ศากยะ อดีตกุมารีของเมืองภัคตปุระ กุมารี (เนปาล: कुमारी; Kumari) คือเทพธิดาผู้มีชีวิตจริงของชาวเนปาล ที่เชื่อว่าเป็นปางหนึ่งของเทวีทาเลจู ซึ่งเป็นปางหนึ่งของเทวีทุรคา ศักติ (ชายา) ของพระศิวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในตรีมูรติ (เทพผู้ยิ่งใหญ่ 3 องค์) ที่ดุร้ายเหมือนเทวีกาลี มาจุติเกิด มาจากการสรรหาจากเด็กหญิงจากวรรณะล่าง และเป็นที่เคารพของผู้นับถือศาสนาฮินดู จนกระทั่งเทวีทุรคามาออกจากร่าง ซึ่งจะนับเมื่อเด็กหญิงผู้นั้นมีประจำเดือน หรือได้รับบาดแผลจนมีเลือดออกจากร่างกายเป็นจำนวนมาก โดยความเชื่อเรื่องกุมารี เป็นการผสมผสมานกันระหว่างความเชื่อในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาแบบธิเบตหรือวัชรยานในท้องถิ่น มีความเชื่อกระจายทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อัสสัม, ทมิฬนาฑู, เบงกอล, แคชเมียร์ แต่ที่ได้รับความนิยมและเชื่อถือมากที่สุด คือ เนปาลหน้า 44-57, เทพเจ้าผู้มีลมหายใจแห่งเนปาล โดย อิซาเบลลา ทรี.

ใหม่!!: พระศิวะและกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: พระศิวะและภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไมถิลี

ษาไมถิลี จัดอยู่ในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน มีผู้พูดในรัฐพิหารของอินเดีย และเตรายตะวันตกในเนปาล คำว่าไมถิลีมาจากมิถิลาซึ่งเป็นรัฐอิสระในสมัยโบราณ มีกลุ่มผู้พูดภาษาไมถิลีเป็นจำนวนมาก ภาษานี้อยู่ในกลุ่มอินเดียตะวันออก ที่มีพัฒนาการเป็นอิสระจากภาษาฮินดี เขียนด้วยอักษรไมถิลีซึ่งคล้ายกับอักษรเบงกาลีหรือเขียนด้วยอักษรเทวนาครี เคยเขียนด้วยอักษรตีราหุตี แต่เปลี่ยนมาใช้อักษรเทวนาครีในพุทธศตวรรษที่ 25-26 อักษรตีราหุตีเป็นต้นแบบของอักษรไมถิลี อักษรเบงกาลีและอักษรโอร.

ใหม่!!: พระศิวะและภาษาไมถิลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตลูกู

ษาเตลูกู (Telugu తెలుగు) อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน แต่มีอิทธิพลพอสมควรจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันภายใต้ตระกูล อินโด-ยุโรเปียนและเป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศ (Andhra Pradesh) ของอินเดีย ภาษาเตลูกูเป็นตระกูลภาษาดราวิเดียนที่มีผู้พูดมากที่สุด เป็นภาษาที่พูดเป็นอันดับ 2 รองจากภาษาฮินดี และเป็นหนึ่งใน 22 ภาษาราชการของอินเดีย เขียนด้วยอักษรเตลูกู ชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกภาษาเตลูกูว่า ภาษาอิตาลีของโลกตะวันออก (Italian of the East) เนื่องจากทุกคำในภาษาเตลูกูลงท้ายด้วยเสียงสระ แต่เชื่อว่านักสำรวจชาวอิตาลี นิกโกเลาะ ดา กอนตี (Niccolò Da Conti) ได้คิดวลีนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: พระศิวะและภาษาเตลูกู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนวารี

ษาเนวารี หรือเนปาล ภาษา (नेपाल भाषा, Nepal Bhasa, Newah Bhaye) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งของเนปาล อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า เป็นภาษาในตระกูลนี้เพียงภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรเทวนาครี พูดโดยชาวเนวาร์ ซึ่งอยู่ในหุบเขากาฏมาณฑุ มีความคล้ายคลึงกับภาษากลุ่มอินโด-อิหร่านด้ว.

ใหม่!!: พระศิวะและภาษาเนวารี · ดูเพิ่มเติม »

ภีษมะ

"คำปฏิญาณของภีษมะ" ผลงานของ ราชา รวิ วรรมา "มรณกรรมของภีษมะ" ภีษมะนอนบนเตียงลูกศร รายล้อมด้วยเหล่ากษัตริย์ที่เข้าร่วมในสงครามทุ่งกุรุเกษตรทั้งฝ่ายปาณฑพและฝ่ายเการพ (ศิลปะอินเดียสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมบัติของพิพิธภัณฑ์สมิธโซเนียน สหรัฐอเมริกา) ภีษมะ หรือ เจ้าชายเทวพรต เป็นพระโอรสของพระราชาศานตนุแห่งกรุงหัสตินาปุระ แคว้นกุรุ กับพระแม่คงคา เป็นบุคคลสำคัญในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ เพราะถือเป็นปู่คนหนึ่งของทั้งฝ่ายเการพและฝ่ายปาณฑพ ภายหลังจากที่เจ้าชายเทวพรตได้ให้สัตย์สาบานแก่ฟ้าดินว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับบัลลังก์กษัตริย์และจะไม่แต่งงานมีลูกกับหญิงคนใดแล้วนั้น ก็ได้ชื่อใหม่คือ ท้าวภีษมะ พระบิดาคือท้าวศานตนุก็ซาบซึ้งพระทัยมากจึงให้พรกับภีษมะว่าจะให้ภีษมะมีอายุยืนยาวเท่าไรก็ได้ ไม่มีวันตาย นอกเสียจากว่าภีษมะจะต้องการตายเองจริง ๆ ภีษมะนั้น ต้องทนทุกข์ทรมานแสนสาหัสเพราะเป็นผู้เห็นเรื่องราวทุกอย่าง ความพินาศของราชวงศ์กุรุ การรบพุ่งกันบนสงครามกุรุเกษตร และผลพวงของสงคราม ที่เป็นเช่นนี้เพราะชาติก่อนท้าวภีษมะเคยเกิดเป็น หนึ่งในคณะเทพวสุ ก็คือคณะเทพที่มี 8 องค์ด้วยกัน และมีภรรยาครบทุกองค์ เมื่อจะไปที่ใดก็ต้องเสด็จไปทั้ง 16 องค์ มีอยู่วันหนึ่ง ภรรยาของเทพทยุ ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะเทพวสุ อยากได้แม่โคนันทินีของฤๅษีวสิษฐ์ซึ่งเป็นฤๅษีคนสำคัญ เทพทยุรู้ว่าผิดแต่ก็ช่วยกันกับเทพอีก 7 องค์ในการโขมยวัวในระหว่างที่ฤๅษีวสิษฐ์ออกไปเก็บผลไม้ในป่า แต่ฤๅษีวสิษฐ์ก็จับได้เข้า จึงสาปให้เทพทั้ง 8 องค์ไปเกิดรับความทรมานบนโลกมนุษย์ แต่เทพ 7 องค์นั้นเป็นเพียงตัวประกอบในการช่วยกันโขมยวัวเท่านั้น ตัวตั้งตัวตีนั้นคือเทพทยุ จึงถูกสาปให้ไปเกิดบนโลกมนุษย์รับความทรมานแสนสาหัสหนักกว่าใครเพื่อน ด้วยเหตุนี้พระแม่คงคาจึงรับหน้าที่เป็นพระมารดาของเทพ 8 องค์ นี้ และโยนเทพทั้ง 7 องค์ที่มาเกิดบนโลกมนุษย์นี้ลงแม่น้ำทันทีจะได้ไม่ต้องมารับกรรมมาก ส่วนเทพทยุที่ทำผิดหนักกว่าใครเพื่อนก็ได้มาเกิดนานกว่าคนอื่นก็คือ ท้าวภีษมะ นั่นเอง โดยพระแม่คงคาได้นำตัวท้าวภีษมะไปร่ำเรียนวิชาพระเวทและคัมภีร์เวทานตะโดยฤๅษีวสิษฐ์ซึ่งเป็นคนเดียวกันกับที่สาปให้ภีษมะมาเกิดบนโลกนานกว่าใคร,วิชารัฐศาสตร์โดยพระพฤหัสบดี และวิชายิงธนูโดยภควาจารย์หรือฤๅษีปรศุราม(ที่เกลียดพวกวรรณะกษัตริย์แต่คราวนี้ยอมสอนให้) ท้าวภีษมะนั่นไม่ได้แต่งงานแต่มีอยู่ครั้งหนึ่ง ได้ไปชิงตัวเจ้าหญิงแห่งแคว้นกาสี 3 พระองค์ก็คือ เจ้าหญิงอัมพา เจ้าหญิงอัมพิกา และเจ้าหญิงอัมพาลิกา มาเป็นมเหสีของวิจิตรวีรยะผู้เป็นน้องต่างมารดา (ตอนนั้นจิตรางคทะเสียชีวิตไปแล้วและโดยปกติมีข้อตกลงกันมานานแล้วว่า หากแคว้นกาสีมีพระธิดาจะต้องยกให้กับเจ้าชายแคว้นหัสตินาปุระก่อน แต่คราวนี้กลับทำพิธีสยุมพรแต่ไม่ได้เชิญเจ้าชายแคว้นหัสตินาปุระไปร่วมด้วย) แต่เมื่อชิงตัวทั้งสามมายังกรุงหัสตินาปุระเรียบร้อย เจ้าหญิงอัมพาเกิดบอกกับภีษมะว่าตอนที่ภีษมะกำลังจะไปชิงตัวนางนั้น นางกำลังจะทำพิธีสยุมพรกับท้าวศัลวะ ซึ่งเป็นคู่รักของนาง ทุกคนคือท้าวภีษมะ พระนางสัตยวดีและวิจิตรวีรยะตกใจมากกับเรื่องที่เกิดขึ้น จึงส่งตัวเจ้าหญิงอัมพาให้ท้าวศัลวะ แต่ท้าวศัลวะไม่ยอมรับตัวเจ้าหญิงอีกต่อไป เจ้าหญิงอัมพาเสียใจมาก เมื่อกลับมาหาท้าวภีษมะและขอร้องให้แต่งงานกับตน แต่ท้าวภีษมะทำไม่ได้เพราะเคยให้สัตย์สาบานกับฟ้าดินไว้ นางอัมพาโกรธแค้นท้าวภีษมะมากจึงขอให้ฤๅษีปรศุรามผู้เป็นอาจารย์ของท้าวภีษมะมาขอร้องแทนแต่ก็ไม่เป็นผลและยังต้องต่อสู้กับท้าวภีษมะอีกด้วย แต่ผลก็ไม่รู้แพ้รู้ชนะเพราะภีษมะกำลังจะตัดสินการสู้กันโดยใช้วิชาอัสตระชื่อวิชาปรัสวาปะ ซึ่งเป็นวิชาทำลายล้างโลก แต่ก็ถูกพระนารายณ์และพระศิวะห้ามไว้ก่อน เจ้าหญิงอัมพาจึงไม่สมหวังและขอพรกับเทพบุตรสันมุข พระองค์จึงให้พวงมาลัยที่ไม่มีวันเหี่ยวเฉากับนาง เพื่อเอาไปคล้องคอกับผู้ที่จะฆ่าท้าวภีษมะให้ แต่ไม่มีกษัตริย์คนใดยอมรับ มาถึงคนสุดท้ายคือท้าวทรุปัท พระองค์ก็ไม่ยอมเช่นกัน เจ้าหญิงจึงแขวนพวงมาลัยในที่เสาในท้องพระโรงและได้พรจากพระศิวะให้นางเป็นคนฆ่าภีษมะด้วยตนเอง นางทนรอชาติหน้าไม่ไหวจึงเผาตนเองในกองไฟไปเกิดใหม่เป็นพระธิดาของท้าวทรุปัทชื่อ ศิขัณทิน (แต่ภายหลังได้แลกเพศกับยักษ์ตนหนึ่ง) ส่วนในสงครามที่ทุ่งกุรุเกษตรนั้น ท้าวภีษมะต้องเข้าร่วมกับพวกเการพ และเป็นแม่ทัพให้กับทุรโยธน์ ท้าวภีษมะไม่เต็มใจนักเพราะแต่ละฝ่ายต่างก็เป็นหลานของตน จึงเข้าร่วมกับฝ่ายเการพและบอกว่าจะไม่สังหารพี่น้องปาณฑพอย่างเด็ดขาด แต่ในที่สุดแล้ว ภีษมะก็ตายด้วยน้ำมือของอรชุนซึ่งเป็นหลาน ไม่ใช่ศิขัณทิน ในสงครามบนทุ่งกุรุเกษตร โดยอรชุนระดมยิงธนูใส่ภีษมะเป็นจำนวนมาก แต่ภีษมะยังไม่ตาย โดยสอนวิธีการปกครองให้กับพวกปาณฑพก่อนที่ตนเองจะตั้งใจตาย เมื่อสอนหลาน ๆ ฝ่ายปาณฑพจบภีษมะก็ได้ตายจากไปและขึ้นไปอยู่บนสวรรค์ดังเดิม.

ใหม่!!: พระศิวะและภีษมะ · ดูเพิ่มเติม »

ภควา

วา (भगवा) หรือ ภควานฺ (भगवान्) เป็นสมัญญาของพระเจ้าในศาสนาแบบอินเดีย โดยพุทธศาสนิกชนใช้คำนี้หมายถึงพระพุทธเจ้า ชาวฮินดูลัทธิไวษณพใช้หมายถึงองค์อวตารของพระวิษณุ (เช่น พระกฤษณะ) ลัทธิไศวะใช้หมายถึงพระศิวะJames Lochtefeld (2000), "Bhagavan", The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Vol.

ใหม่!!: พระศิวะและภควา · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์ภาพยนตร์ รามเกียรติ์

มหากาพย์ภาพยนตร์ รามเกียรติ์ หรือ รามเกียรติ์ 3D Animation (Ramayana The Epic) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันชื่อดังของ บอลลีวู้ด ในเครือของ shemaroo กำกับภาพยนตร์โดย Chetan Desai ออกฉายในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พระศิวะและมหากาพย์ภาพยนตร์ รามเกียรติ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์รามเกียรติ์

มหากาพย์รามเกียรติ์ (Lav Kush) เป็นภาพยนตร์อินเดียขนาดยาวที่ถ่ายทำเมื่อปี ค.ศ. 1997 เนื้อเรื่องกล่าวถึงวรรณกรรมชิ้นเอก และยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก รามายณะ โดยในประเทศอินเดียจะฉายภาคเดียว 3 ชั่วโมงจบ แต่ในประเทศไทยจะฉายแยกเป็น 2 ภาค โดยแบ่งเป็นตอนๆ ตอนแรกใช้ชื่อว่า มหากาพย์รามเกียรติ์ ตอน ทศกัณฐ์ลักนางสีดา และตอนที่สองใช้ชื่อว่า มหากาพย์รามเกียรติ์ ตอน พระรามครองเมือง โดยชื่อภาษาอังกฤษ (Lav Kush) นี้มีความหมายที่ตรงตามคำๆนั้นว่า พระลบ พระมงก.

ใหม่!!: พระศิวะและมหากาพย์รามเกียรติ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2531)

มหาภารตะ (เทวนาครี:महाभारत (टीवी धारावाहिक) อังกฤษ: Mahabharat) เป็นละครอินเดียที่เคยมาฉายที่ ช่อง 3 เมื่อปี..

ใหม่!!: พระศิวะและมหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2531) · ดูเพิ่มเติม »

มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556)

มหาภารตะ (Mahabharat) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามมหาภารตะ ระหว่างราชวงศ์เการพ กับราชวงศ์ปาณฑพ ละครเรื่องสร้างขึ้นโดยรีเมคจากละครเรื่อง มหาภารตะ ที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2531 นำแสดงโดย ซอรับห์ ราจ เจน, ชาเฮียร์ ชีคห์, พูจา ชาร์มา, อฮัม ชาร์มา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5เป็นตอนแรกในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พระศิวะและมหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556) · ดูเพิ่มเติม »

มหาศิวราตรี

มหาศิวราตรี (อักษรละติน: Mahā Shivarātri; อักษรเทวนาครี: महाशिवरात्रि) คือวันสำคัญทางศาสนาของศาสนาฮินดู ศิวราตรี แปลว่า ราตรีหรือค่ำคืนแห่ง (การบูชา) พระศิวะ ศิวราตรีเป็นเทศกาลสำคัญยิ่งวันหนึ่งในรอบปีของชาวฮินดู โดยพิธีศิวราตรีจะจัดขึ้นในช่วงเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย หรือเดือนมาฆะ (ตามปฏิทินของฮินดู) คือพิธีนี้จะอยู่ในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคมของทุกปี โดยวันสำคัญที่สุดของเทศกาลนี้อยู่ในคืนวันเพ็ญ (ศุกลปักษ์) เดือน 3 โดยชาวฮินดูจะประกอบพิธีบูชาพระศิวะเจ้าด้วยพิธีกรรมต่าง ๆ ตลอดทั้งวันทั้งคืน.

ใหม่!!: พระศิวะและมหาศิวราตรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาเทวี

มหาเทวี มีความหมายตรงตัวว่า เทวีหรือนางกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ และอาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระศิวะและมหาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

มะตูม

ผลมะตูมผ่าครึ่ง มะตูม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos ภาคเหนือเรียกว่า มะปิน ภาคใต้เรียกว่า กะทันตาเถร, ตูม และตุ่มตัง ภาคอีสานเรียกว่า หมากตูม ภาษาเขมรเรียกว่า พะโนงค์ ชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า มะปีส่า นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: พระศิวะและมะตูม · ดูเพิ่มเติม »

มังกรกัณฐ์

มังกรกัณฐ์ เป็นตัวละครจากรามเกียรติ์ อดีตชาติคือทรพีมาเกิดเป็นลูกของพญาขรตามคำสาปของพระอิศวร ร่วมทำศึกกับอินทรชิต ให้อินทรชิตไปทำพิธีชุบศรนาคบาศ ส่วนตนออกไปสู้เพื่อขัดตาทัพไว้ ผลสุดท้ายตายด้วยศรของพระราม ลักษณะของมังกรกัณฐ์ เป็นยักษ์ ตาจระเข้ ปากหุบ มีหนึ่งพักตร์ สองกร กายสีเขียว ทรงมงกุฎยอดนาค มีศรเป็นอาวุธ หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์.

ใหม่!!: พระศิวะและมังกรกัณฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

มายาสูร

มายาสูร เป็นยักษ์ที่เป็นที่ปรึกษาด้านสถาปนิกของพระเวสสุกรรม วันหนึ่งพระกฤษณะและอรชุนไปเที่ยวป่าขาณฑวะ ซึ่งเป็นป่าที่ต้นไม้ขึ้นหนาทึบ ได้เจอกับพระอัคนีซึ่งขอร้องให้ทั้งสองช่วยให้พระอัคนีได้เผาป่าขาณฑวะเพื่อกินสมุนไพร เพราะตนป่วยและไม่ได้กินอะไรมาหลายวัน เพราะเมื่อพระอัคนีเผาป่าเมื่อใด พระอินทร์ซึ่งเป็นมิตรกับพญานาคตักษกะขอร้องให้ช่วยดับไฟให้ พระอินทร์ก็จะประทานฝนลงมาดับไฟทุกครั้ง พระกฤษณะและอรชุนจึงรับปาก พระอัคนีจึงขอร้องให้เทพวรุณ เทพเจ้าแห่งมหาสมุทรให้ธนูคาณฑีวะ นอกจากนี้ยังคืนจักรสุทรรศน์ และคทาเกาโมทกี ให้กับพระกฤษณะด้วย จากนั้นอรชุนจึงเป็นผู้ยิงธนูคาณฑีวะ สกัดกั้นสายฝน และพระกฤษณะก็เป็นสารถีให้ พระอินทร์แปลกใจมากจึงให้เหล่าเทวดามาช่วยกันซัดอาวุธลงไปสู้กับอรชุนและพระกฤษณะ แต่พระกฤษณะก็ใช้จักรสุทรรศน์ทำลายอาวุธเหล่านั้นจนหมดสิ้น พระอินทร์ เมื่อทราบว่ามนุษย์ที่สู้ด้วยนั้นคืออรชุน พระโอรสของพระองค์ก็ไม่สู้รบด้วยต่อไป และปล่อยให้เรื่องของพญางูเลยตามเลย(ภายหลังพระอินทร์ลงมาตรัสบอกว่าในอนาคตพระศิวะจะให้อาวุธอานุภาพแรงสูงชื่อ ปาศุปัต แก่อรชุน) พระอัคนีจึงได้เผาป่า มเหสีของพญางูไปด้วย เหลือแต่ลูกชายที่รอดมาได้อย่างหวุดหวิด นอกจากนี้ในการเผาป่า ยักษ์ที่ชื่อ มายาสูร ตนนี้ก็ได้วิ่งมาหาอรชุนและร้องขอชีวิต อรชุนจึงขอชีวิตยักษ์ตนนี้ไว้ ยักษ์มายาสูรอยากตอบแทนพระคุณมากจึงไปหาพระกฤษณะและอรชุนในตอนกลางคืนพร้อมกับบอกว่าจะสร้างสิ่งก่อสร้างให้อย่างหนึ่ง พระกฤษณะแนะนำให้สร้างสภา มายาสูรจึงรีบดำเนินการตามนั้นทันที มายาสูรออกแบบสภาอย่างวิจิตรตระการตาและยังนำอัญมณีต่าง ๆ ที่ตนเคยสะสมไว้มาตกแต่งอย่างสวยงาม ทำให้ผู้คนจากเมืองอื่นมาดูกันอย่างมากมายและเรียกสภาแห่งนี้ว่า มายาสภา ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้ฝ่ายทุรโยธน์อิจฉาพวกปาณฑพเป็นอย่างมาก จึงสร้างสภาขึ้นมาอีก แต่สวยไม่เทียบเท่า และให้ท้าวธฤตราษฎร์เชิญยุธิษฐิระมาเล่นพนันเอาบ้านเอาเมืองกันอีกด้วย หมวดหมู่:ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ.

ใหม่!!: พระศิวะและมายาสูร · ดูเพิ่มเติม »

มาตฤกา

วาดจากคัมภีร์โบราณของอินเดียของพระแม่สัปตริมาติกาและพระแม่กาลีขณะทรงรบกับอสูรรักชตะ มาตฤกา (मातृका; சப்தகன்னியர்) เป็นกลุ่มเทวีในศาสนาฮินดู มีทั้งหมดเจ็ดหรือแปดองค์ เป็นที่บูชาทั้งในประเทศอินเดีย ประเทศเนปาล ประเทศศรีลังกา และกลุ่มชาวฮินดูทั่วไป ในประเทศไทย มีการประดิษฐานเทวรูปคณะเทวีทั้งเจ็ดองค์นี้ในวัดพระศรีมหาอุมาเทวี และเรียกเป็นภาษาทมิฬว่า พระซับทระกรรณี ภาพสลักหินองค์ศิวนาฏราชและพระแม่สัปตมาตฤกาในผนังเอลโลล่า ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พระศิวะและมาตฤกา · ดูเพิ่มเติม »

มีนากษีมนเทียร

มีนากษีสุนทเรศวรมนเทียร (मीनाक्षी सुन्दरेश्वर मन्दिर มีนากฺษี สุนฺทเรศวร มนฺทิร) เรียกโดยย่อว่า มีนากษีมนเทียร (मीनाक्षी मन्दिर มีนากฺษี มนฺทิร) เป็นโบสถ์พราหมณ์เก่าแก่ ตั้งอยู่บนฝั่งทิศใต้ของแม่น้ำไวคาย (Vaigai River) ในเมืองมทุราย รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย สร้างถวายพระแม่มีนากษี ซึ่งเป็นอวตารปางหนึ่งของพระปารวตี และถวายพระสุนทเรศวร อวตารปางหนึ่งของพระศิวะ สวามีของพระองค์ แม้โบสถ์มีที่มาเก่าแก่ แต่สิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่ในปัจจุบันสร้างขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทั้งมีการบูรณะและต่อเติมอีกในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ตามบัญชาของติรุมาลัย นายก (Thirumalai Nayak) เจ้าเมืองมทุราย เพราะช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 กองทัพมุสลิมจากรัฐสุลต่านเดลี (Delhi Sultanate) เข้าโจมตีโบสถ์ แล้วปล้นเอาของมีค่า ก่อนทำลายศาสนสถานแห่งนี้ลงพร้อมกับแห่งอื่น ๆ ทั่วภาคใต้ของอินเดีย, Encyclopedia Britannica, Quote: "The temple, Tirumala Nayak palace, Teppakulam tank (an earthen embankment reservoir), and a 1,000-pillared hall were rebuilt in the Vijayanagar period (16th–17th century) after the total destruction of the city in 1310." โบสถ์ที่เห็นในบัดนี้เป็นผลมาจากการสร้างขึ้นใหม่ภายใต้ดำริของกษัตริย์หลายพระองค์แห่งจักรวรรดิวิชัยนคร การต่อเติมครั้งสำคัญเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ตามคำสั่งของวิศวนาถ นายก (Vishwanatha Nayak) และผู้สืบต่อตำแหน่งของเขา ปัจจุบัน ในเทวสถานประกอบด้วยโคปุระ (gopuram) หรือซุ้มประตู 14 หลัง สูงราว 45–50 เมตร โคปุระหลังใต้มีความสูงมากที่สุด คือ 51.9 เมตร นอกจากนี้ ในโบสถ์ยังมีอาคารเสาสลักหลายหลัง และมีศาลอีกมากมายซึ่งสร้างถวายเทวดากับพราหมณ์ฮินดู ในศาลเหล่านี้มีวิมาน (vimana) ตั้งอยู่เหนือครรภคฤห์ (garbhagriha) หรือหอศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งปิดทอง เป็นที่ประทับของพระมีนากษีกับพระสุนทเรศวร โบสถ์แห่่งนี้เป็นจุดมุ่งหมายหลักในการแสวงบุญตามประเพณีลัทธิไศวะ ซึ่งถือพระศิวะเป็นใหญ่ แต่ก็มีสิ่งหลายสิ่งเกี่ยวข้องกับลัทธิไวษณพ ซึ่งถือพระวิษณุเป็นใหญ่ ทั้งนี้ เพราะถือว่าพระวิษณุเป็นพระภราดาของพระมีนากษี ในโบสถ์ยังมีเทวรูปของเทพองค์อื่น เช่น พระลักษมี ชายาพระวิษณุ, พระกฤษณะทรงขลุ่ย, นางรุกมินี ชายาพระกฤษณะ, พระพรหม, พระสรัสวดี ชายาพระพรหม, และเทพตามคัมภีร์ปุราณะ พร้อมด้วยงานศิลปะเกี่ยวข้องกับวรรณกรรมฮินดู นับเป็นที่หมาย (landmark) สำคัญที่สุดในเมืองมทุราย แต่ละวันมีผู้เข้าชมหลักหมื่น และเฉพาะช่วงสิบวันแห่งเทศกาลมีนากษีติรุกัลยาณัง (Meenakshi Tirukalyanam) ในเดือนจิตระ ซึ่งตกราวเดือนเมษายนหรือพฤษภาคมตามปฏิทินสุริยคติ จะมีผู้เข้าเยี่ยมชมเทวสถานรวมหลักล้าน.

ใหม่!!: พระศิวะและมีนากษีมนเทียร · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาอันนะปุรณะ

อดเขาอันนาปุรณะใต้ (Annapurna South) และ ยอดเขาอันนาปุรณะ 1 (Annapurna I) เทือกเขาอันนะปุรณะ (Annapurna Massif) เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัยด้านตะวันตก ในประเทศเนปาล ซึ่งประกอบด้วยยอดเขาสูงเกินกว่า 7,200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 6 ยอด ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) ยอดเขาสูงอันดับ 10 ของโลก หนึ่งใน 14 ยอดเขาที่สูงเกิน 8 พันเมตร คือมีความสูงถึง 8,091 เมตร นอกจากนี้ในทิวเขาอันนะปุรณะ มียอดเขาซารังโกต (Sarangkot) สูง 1,592 เมตรจากระดับน้ำทะเล ซึ่งเป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้น ที่ได้รับการยกย่องว่าสวยที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ชื่อ "อันนะปูรณา" (अन्नपूर्णा, อนฺนปูรณา) เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง เทวีแห่งการเก็บเกี่ยว ซึ่งในคติทางฮินดู ถือเป็นปางที่ 8 ใน 9 ปางของ พระอุมาเทวี ชายาของพระศิวะ ที่ทรงเป็นผู้ประทาน ความอุดมสมบูรณ์ แก่พืชพันธุ์ธัญญาหาร เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าปาง "มหาเคารี" ซึ่งเป็นปางที่มีผู้สักการบูชามากที่สุด รองจากปาง "กาลราตรี" หรือ "เจ้าแม่กาลี" และเพื่อแสดงความเคารพ รัฐบาลเนปาล ได้ประกาศสงวน ยอดเขามัจฉาปูชเร (Machhapuchhre) หรือ ยอดเขาหางปลา (Mt. Fishtail) ใกล้เมืองโปครา (Pokhara) เป็นเขตปลอดนักไต่เขา เพื่อให้เป็นที่สถิตของ องค์เทวีอันนะปุรณะ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) เป็นยอดเขาสูงเกิน 8,000 เมตรแห่งแรก ที่มีมนุษย์ไต่ถึง โดย เมารีซ เออร์โซ (Maurice Herzog) และ ลูอิส แลชเนล (Louis Lachenal) นักไต่เขาชาวฝรั่งเศส นำทีมอีก 7 คน ขึ้นสู่ยอดเขาสำเร็จในปี พ.ศ. 2493 หรือ 3 ปีก่อนที่ เซอร์เอ็ดมันด์ ฮิลลารี จะพิชิต ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ และแม้ว่าเอเวอร์เรสต์ จะโด่งดังในฐานะยอดเขาสูงที่สุดในโลก แต่ในความเป็นจริง มีนักไต่เขามาเยือนอันนะปุรณะ ถึงกว่า 40,000 คนต่อปี ซึ่งมากกว่าเอเวอร์เรสต์ 2 เท่า เนื่องจากอันนะปุรณะ มีความหลากหลายทางสภาพภูมิศาสตร์ ทั้งทะเลสาบในหุบเขาโปคราที่มีอากาศร้อนชื้น ไปจนถึงภูเขาน้ำแข็ง ประกอบไปด้วยพรรณไม้ และสัตว์ป่า เช่น แพะภูเขา เสือดาวหิมะ รวมทั้งนกต่างๆ กว่า 400 สปีชี่ส์ โดยมีชนเผ่าที่แตกต่างกันถึง 7 ชนเผ่า ทำให้เส้นทางเดินเขารอบทิวเขาอันนะปุรณะหนึ่งสัปดาห์ ถือเป็นเส้นทางคลาสสิกแห่งหนึ่ง สำหรับนักไต่เขาทั่วโลก ยอดสูงสุดของอันนะปุรณะ ถือเป็นหนึ่งในยอดเขาอันตรายที่สุดในโลก มีอัตราการเสียชีวิตของนักไต่เขาสูงถึงร้อยละ 40 จากสถิติจนถึงปี พ.ศ. 2548 มีผู้พิชิตยอดเขาอันนะปุรณะสำเร็จ 103 คน และมีผู้เสียชีวิตถึง 56 คน ส่วนมากเนื่องจากหิมะถล่มที่เกิดขึ้นเป็นประจำ.

ใหม่!!: พระศิวะและยอดเขาอันนะปุรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุธิษฐิระ

ยุธิษฐิระ (สันสกฤต:युधिष्ठिर) เป็นพี่ชายคนโตของตระกูลปาณฑพ โดยถือว่าเป็นพระโอรสของท้าวปาณฑุ กับ พระนางกุนตี แต่จริง ๆ แล้วเป็นพระโอรสของพระนางกุนตีและพระธรรมเทพ (พระยม) มีลักษณะโดดเด่นคือเป็นผู้มีความยุติธรรม ตั้งอยู่บนหลักธรรมเคร่งครัดตลอดมา พี่น้องปาณฑพจึงยึดเอาการตัดสินใจของพี่คนโตคนนี้เป็นหลัก ยุธิษฐิระ แปลว่า ผู้มีความมั่นคงในการสงคราม และยังมีชื่ออื่นๆอีก เช่น ภารตะวงศี อชาตศัตรู ธรรมนันทัน ธรรมราช ยุธิษฐิระมีพระมเหสีคือพระนางเทราปตี (ซึ่งเป็นพระมเหสีของปาณฑพทั้งห้า) มีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์คือ ประติวินธยะ ครั้งหนึ่งทุรโยธน์อิจฉาพวกปานฑพมาก จึงขอให้ท้าวธฤตราษฎร์แบ่งกรุงหัสตินาปุระออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกคือกรุงหัสตินาปุระที่รุ่งเรืองให้กับทุรโยธน์ครอบครองและดินแดนขาณฑวปรัสถ์ที่แห้งแล้ง ไม่มีความอุดมสมบูรณ์ซึ่งคิดเป็นประมาณครึ่งหนึ่งของกรุงหัสตินาปุระ ให้พวกปาณฑพครอบครอง ยุธิษฐิระซึ่งเป็นพี่คนโตและมีหลักธรรมประจำใจว่าจะไม่ปฏิเสธคำของผู้ใหญ่จึงรับดินแดนส่วนนี้ไว้ พระกฤษณะ (นารายณ์อวตาร) ทราบจึงมาช่วยพวกปาณฑพพลิกฟื้นดินแดนส่วนนี้ขึ้นมาใหม่ โดยให้พระวิษณุกรรม (พระวิสสุกรรม พระเวสสุกรรม หรือ พระเพชฉลูกรรม) ซึ่งเป็นสถาปนิกของพระอินทร์มาช่วยสร้างพระราชวังใหญ่โตให้กับพวกปาณฑพ โดยยุธิษฐิระเป็นกษัตริย์และตั้งชื่อว่ากรุงอินทรปรัสถ์ จากนั้นเมื่อมีผู้ทราบว่าพวกปาณฑพมาเป็นกษัตริย์ที่เมืองนี้ ก็เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่อินทรปรัสถ์บ้าง ทำให้กรุงอินทรปรัสถ์รุ่งเรืองขึ้นมาอย่างรวดเร็วจากที่ไม่มีอะไรเลย มีอยู่วันหนึ่งพระกฤษณะและอรชุนได้ช่วยยักษ์ที่ชื่อมายาสูร (เป็นผู้ช่วยพระวิษณุกรรมด้วย) ไม่ให้พระอัคนีที่กำลังเผาป่าขาณฑวะกินเป็นอาหาร เผายักษ์ตนนี้ด้วย ยักษ์มายาจึงสำนึกในบุญคุณของอรชุนและพระกฤษณะมากจึงดำเนินการสร้างสภาอันยิ่งใหญ่ตระการตาให้กับพวกปาณฑพ โดยตั้งชื่อว่า มายาสภา หลังจากสร้างมายาสภาได้ไม่นาน เทพฤๅษีนารัทมุนี ก็แนะนำให้ยุธิษฐิระทำพิธีราชสูยะ (เป็นพิธีที่ประกาศความยิ่งใหญ่ของกรุงอินทรปรัสถ์ โดยส่งสาส์นออกไปให้พระราชาแคว้นต่าง ๆ ยอมรับ หากไม่ยอมรับก็ทำสงครามกัน) อรชุนไปทางทิศเหนือ ภีมะไปทางทิศตะวันออก นกุลเลือกทิศตะวันตก ส่วนสหเทพเลือกทิศใต้ โดยทำได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยเหตุนี้ทำให้พวกทุรโยธน์อิจฉาขึ้นมาอีก จึงสร้างสภาขึ้นมาบ้างและเชิญพวกปาณฑพมาเล่นสกากัน จุดมุ่งหมายคือ จะเล่นสกาพนันเอาบ้านเอาเมืองกัน ยุธิษฐิระเมื่อเห็นว่าท้าวธฤตราษฎร์เป็นผู้กล่าวชักชวน จึงไม่ปฏิเสธ โดยทุรโยธน์ให้ศกุนิผู้เป็นลุงและชำนาญในการเล่นสกามาก เป็นผู้เล่นแทนและชนะทุกครั้ง ผลคือพวกปาณฑพแพ้และไม่เหลืออะไรสักอย่าง ยุธิษฐิระจึงเริ่มจากการพนันน้องชาย นกุล สหเทพ อรชุน และภีมะตามลำดับ จากนั้นจึงเอาตัวเองเป็นพนันและเล่นสกาต่อไปโดยใช้พระนางเทราปตีพนัน แต่ก็แพ้จนหมด ทุรโยธน์สั่งให้ทุหศาสันนำตัวพระนางเทราปตีมายังสภาและย่ำยีเกียรติของนางโดยบอกให้นางมานั่งตัก ภีมะทนไม่ไหวจึงลั่นคำสาบานออกมาว่าจะใช้คทาของภีมะเองทุบหน้าขาของทุรโยธน์ให้แหลก จากนั้นกรรณะหรือราธียะก็ให้ทุหศาสันดึงผ้าส่าหรีของพระนางเทราปตีออกมา แต่พระนางได้ขอให้พระกฤษณะช่วยไว้ พระกฤษณะจึงประทานผ้าส่าหรีให้นางไม่มีวันหมดสิ้นจนในที่สุดทุหศาสันก็หมดแรง ภีมะลั่นคำสาบานออกมาอีกเป็นรอบที่สองคือ จะฉีกอกทุหศาสันเพื่อดื่มเลือดให้หายแค้น นอกจากนี้ภีมะยังบอกอีกว่า ตนจะเป็นคนฆ่าทุรโยธน์ ทุหศาสันและ อรชุนจะฆ่ากรรณะ สหเทพจะฆ่าศกุนิ ส่วนนกุลก็สาบานว่าจะฆ่าลูกของศกุนิ เช่น อูลูกะ เรื่องราวเลยเถิดออกมามากจนในที่สุดท้าวธฤตราษฎร์ก็ขอให้พระนางเทราปตีให้อภัยและแลกกับให้นางขออะไรก็ได้ นางจึงขอให้คืนทุกอย่างกลับสู่สภาพเดิม ท้าวธฤตราษฎร์จึงตกลงตามที่ว่า แต่ทุรโยธน์ไม่จบแค่นั้น ยังให้ท้าวธฤตราษฎร์ชักชวนให้พวกปาณฑพมาเล่นสกาอีกครั้งหนึ่ง โดยผู้แพ้ต้องออกป่าเป็นเวลา 13 ปี และในปีที่ 13 ห้ามให้ใครจำได้ ถ้าใครจำได้ต้องเดินป่าอีก 13 ปี ยุธิษฐิระทราบชะตากรรมดี แต่ก็ยอมเล่นสกา ระหว่างที่เดินป่าฤๅษีวยาสก็สอนมนต์เพื่อขออาวุธวิเศษจากพระศิวะแก่ยุธิษฐิระเพื่อถ่ายทอดให้กับอรชุนต่อไปด้วย อรชุนจึงได้อาวุธวิเศษกลับมาพร้อมทั้งได้รับการสอนการร่ายรำ นาฏศิลป์ต่าง ๆ จากท้าวจิตรเสนและรับการสอนการใช้อาวุธจากอินทรเทพผู้เป็นพระบิดาอีกด้วย ระหว่างนั้น นางอัปสรอุรวศีก็พอใจอรชุนมาก แต่อรชุนเห็นว่านางเป็นแม่เท่านั้น นางโกรธมากจึงสาปให้อรชุนเป็นกะเทยตลอดไป แต่พระอินทร์ก็เกลี้ยกล่อมให้นางลดคำสาปเหลือ 1 ปี ให้เป็นในปีที่ 13 ที่พวกปาณฑพต้องเดินป่า จะได้เป็นประโยชน์ในการอำพรางตัว ในปีที่ 13 ที่พวกปาณฑพต้องไม่ให้ใครจำได้นั้น ยุธิษฐิระได้ขอพรจากพระธรรมเทพผู้เป็นบิดาว่าในปีที่ 13 นี้ขอให้ไม่มีใครจำได้ เนื่องจากพระธรรมเทพมาพิสูจน์ความตั้งมั่นอยู่บนหลักธรรมของยุธิษฐิระ โดยการทำให้น้องชายทั้งสี่คนตายไปและแปลงกายเป็นยักษ์ ผู้เฝ้าธารน้ำที่พี่น้องปาณฑพสี่คนลงไปดื่ม แล้วถามว่ายุธิษฐิระจะเลือกใครให้ฟื้นขึ้นมา จึงเลือกนกุล เพราะตนเป็นบุตรพระมารดากุนตี ส่วนบุตรของพระมารดามาทรีหรือมัทรีได้ตายไปหมดแล้ว จึงเลือกนกุลให้ฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง พระธรรมเทพพอใจมากจึงคืนชีวิตให้กับทุกคนและปรากฏร่างเป็นพระธรรมเทพดังเดิม จากนั้นปาณฑพตกลงว่าจะแฝงตัวไปทำงานในวังของท้าววิราฎ แคว้นมัตสยะ โดยยุธิษฐิระได้ใช้ชื่อว่า กังกะ เข้ามาทำงานเป็นมหามนตรีและสอนสกาแก่ท้าววิราฏ, ภีมะใช้ชื่อว่าวัลลภ เข้ามาทำงานเป็นพ่อครัวหลวง, อรชุน ใช้ชื่อว่าพฤหันนลา(ในขณะนั้นเป็นกะเทย) เข้ามาทำงานสอนนาฏศิลป์แก่เจ้าหญิงอุตตรา พระธิดาของท้าววิราฏ,นกุล ใช้ชื่อว่า ครันถิกะ เข้ามาทำงานดูแลม้า, สหเทพ ใช้ชื่อว่า ตันติบาล เข้ามาทำงานดูแลปศุสัตว์ ส่วนพระนางเทราปตีใช้ชื่อว่า ไศรันทรี เข้ามาทำงานดูแลความงามให้กับพระนางสุเทศนา พระมเหสีของท้าววิราฎ เมื่อสงครามบนทุ่งกุรุเกษตรเกิดขึ้น ยุธิษฐิระก็ได้เข้าร่วมการรบด้วย แต่ไม่ได้ตายในสงคราม เมื่อสงครามสิ้นสุด ก็ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิกรุงหัสตินาปุระ แต่หลังจากนั้นปาณฑพเกิดความเบื่อหน่ายในชีวิตเพราะเห็นผลของสงคราม จึงยกบัลลังก์ให้ปรีกษิต หลานชายของอรชุน และพี่น้องปาณฑพกับนางเทราปตีก็ออกเดินป่า พร้อมกับสุนัขอีก 1 ตัว สุดท้ายพี่น้องปาณฑพทั้งสี่และนางเทราปตีก็สิ้นชีวิตลงและขึ้นสวรรค์บนยอดเขาหิมาลัย จากนั้นสุนัขที่ติดตามมาด้วยก็กลับกลายเป็นพระธรรมเทพ และพายุธิษฐิระขึ้นไปบนสวรรค์ (แต่ตอนนั้นยุธิษฐิระยังไม่ตาย และมีผู้กล่าวว่ายุธิษฐิระเป็นคนคนเดียวในโลกที่สามารถขึ้นไปยังยอดเขาหิมาลัยได้ทั้งเป็น) แต่กลับพบว่าทุรโยธน์นั่งครองบัลลังก์อยู่ แต่ปาณฑพและนางเทราปตีต้องตกนรกเพราะฆ่าพี่น้องของตน ยุธิษฐิระจึงตัดสินใจตกนรกด้วย จากนั้นพระธรรมเทพจึงบอกว่าทั้งหมดเป็นภาพลวงตา จริง ๆ แล้วเการพต้องตกนรก แต่ปาณฑพอยู่บนสวรรค์ ทั้งหมดที่ทำมาคือการทดสอบจิตใจของยุธิษฐิระ ยุธิษฐิระ พี่น้องปาณฑพและนางเทราปตีก็ได้อยู่บนสวรรค์ด้วยกันอย่างมีความสุขตลอดมา หมวดหมู่:ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ.

ใหม่!!: พระศิวะและยุธิษฐิระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมืดของกัมพูชา

มืดของกัมพูชา เริ่มขึ้นหลังจากอาณาจักรเขมรเริ่มอ่อนแอลง ประเทศราชประกาศตัวเป็นอิสระ เกิดความวุ่นวายในราชอาณาจักร จนในที่สุดการล่มสลายของอาณาจักรเขมร.

ใหม่!!: พระศิวะและยุคมืดของกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รามายณะ

พระรามประทับบนไหล่หนุมาน เข้าต่อรบกับพญายักษ์ราวณะ (ทศกัณฐ์), ภาพวาดบนกระดาษ, ศิลปะอินเดีย, ประมาณคริสต์ทศวรรษที่ 1820 (สมบัติของบริติชมิวเซียม) รามายณะ (रामायण) เป็นวรรณคดีประเภทมหากาพย์ของอินเดีย เชื่อว่าเป็นนิทานที่เล่าสืบต่อกันมายาวนานในหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป แต่ผู้ได้รวบรวมแต่งให้เป็นระเบียบครั้งแรกคือฤๅษีวาลมีกิ เมื่อกว่า 2,400 ปีมาแล้ว โดยประพันธ์ไว้เป็นบทร้อยกรองประเภทฉันท์ภาษาสันสกฤต เรียกว่า โศลก จำนวน 24,000 โศลกด้วยกัน โดยแบ่งเป็น 7 ภาค (กาณฑ์ หรือ กัณฑ์) ดังนี้.

ใหม่!!: พระศิวะและรามายณะ · ดูเพิ่มเติม »

รามเกียรติ์ (ละครโทรทัศน์)

รามเกียรติ์ (Ramayan) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 2013 กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา นำแสดงโดย กากัน มาลิค, เนหา ซากัม ออกอากาศทางช่องซีหนัง ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 19.00 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560 ปัจจุบันเปลี่ยนเวลาออกอากาศเป็นเวลา 17: 00 น. เริ่มตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: พระศิวะและรามเกียรติ์ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในรามเกียรติ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระศิวะและรายชื่อตัวละครในรามเกียรติ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศกัมพูชา

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศกัมพูชาทั้งสิ้น 3 แหล่ง.

ใหม่!!: พระศิวะและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเทวดาอินเดีย

้านล่างนี้เป็นรายชื่อเทพเจ้าที่ปรากฏในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พระศิวะและรายพระนามเทวดาอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเทวดาจีน

ทความนี้รวบรวมเทพเจ้าของจีนต่าง.

ใหม่!!: พระศิวะและรายพระนามเทวดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

ราวณะ

ราวณะ หรือ ราพณ์ (रावण Rāvaṇa) เป็นตัวละครหลักฝ่ายร้ายในมหากาพย์เรื่อง รามายณะ ของศาสนาฮินดู โดยเป็นราชารากษสแห่งนครลงกา ซึ่งเชื่อกันว่า ตรงกับประเทศศรีลังกาในปัจจุบัน ราวณะมักเป็นที่พรรณนาว่า มีศีรษะสิบศีรษะ เป็นสาวกของพระศิวะ เป็นมหาปราชญ์ ปกครองบ้านเมืองอย่างเปี่ยมสามารถ ชำนาญบรรเลงวีณา (वीणा vīṇā) และมุ่งหมายจะเป็นใหญ่เหนือทวยเทพ ศีรษะทั้งสิบของเขายังเป็นเครื่องสำแดงถึงศาสตร์ทั้งหกและเวททั้งสี่ นอกจากนี้ ตามความใน รามายณะ ราวณะลักพาสีดา ภริยาของพระราม เพื่อล้างแค้นที่พระรามและพระลักษณ์อนุชาตัดจมูกศูรปณขา กนิษฐาของราวณะ ชาวฮินดูในหลายส่วนของประเทศอินเดีย ประเทศศรีลังกา และประเทศอินโดนีเซีย เคารพบูชาราวณะ และถือเป็นสาวกพระศิวะที่ได้รับความเคารพยำเกรงที่สุด เทวสถานพระศิวะหลายแห่งยังตั้งรูปราวณะคู่กับรูปพระศิวะด้ว.

ใหม่!!: พระศิวะและราวณะ · ดูเพิ่มเติม »

รุทรักษะ

รุทรักษะ หรือเรียกกันว่า น้ำตาพระศิวะ เป็น เครื่องรางคล้ายเมล็ดพุทรา ที่เชื่อว่า ช่วยรักษาสุขภาพ ให้ดีและแข็งแรง เสริมงาน-ความรัก ให้ราบรื่น สำเร็จ นิยมร้อยรวมกับหินธิเบต น้ำตาพระศิว.

ใหม่!!: พระศิวะและรุทรักษะ · ดูเพิ่มเติม »

ฤๅษีทุรวาส

ฤๅษีทุรวาส หรือ ฤๅษีทุรวาสา เป็นภาคหนึ่งในการอวตารของพระอิศวร เป็นบุตรฤๅษีอัตริ กับนางอนสูยา มีฤทธิ์มากและอารมณ์ฉุนเฉียวง่ายอีกด้วย ครั้งหนึ่งไม่พอใจในการเฉยเมยของนางศกุนตลา มเหสีของท้าวทุษยันต์ กษัตริย์ผู้ครองกรุงประดิษฐาน(เมืองหลวงเก่า) บรรพบุรุษของท้าวศานตนุ จึงสาปให้ท้าวทุษยันต์ลืมคำสัญญาที่ให้กับนางจนหมดสิ้น แต่ในเรื่องนี้ ท่านฤๅษีพอใจในการปรนนิบัติดูแลของพระนางกุนตี และรู้อนาคตว่าจะมีสามีที่ไม่มีลูกได้ จึงให้มนตร์วิเศษเชิญเทพมาประทานโอรสแก่นาง ซึ่งต่อมาก็คือกรรณะและห้าพี่น้องปาณฑพนั่นเอง ในช่วงที่เหล่าปาณฑพ กำลังถูกเนรเทศ 13 ปี ฤๅษีทุรวาสและฤๅษีลูกศิษย์ราวๆ 500 ตน มายังหัสตินาปุระ ทุรโยธน์ได้ต้อนรับท่านฤๅษีอย่างดี ศกุนิออกอุบายโดยให้ทุรโยธน์ อาราธนาเชิญฤๅษีทุรวาส ให้ไปเยี่ยมพวกปาณฑพ เพื่อหวังจะให้พวกปาณฑพต้องคำสาปฤๅษีทุรวาส ในขณะนั้นในกระโจมของพวกปาณฑพไม่มีอาหารเหลืออยู่เลย เมื่อฤๅษีมาถึง พวกปาณฑพไม่มีอาหารจะถวาย แต่พระกฤษณะรู้ทันจึงมาหาพวกปาณฑพ และบอกให้หาอาหารอะไรสักอย่างมาให้ตนกิน พวกปาณฑพหาได้แค่เมล็ดข้าวเพียงเมล็ดเดียว พระกฤษณะ ก็กินข้าวเมล็ดนั้น ทำให้ฤๅษีทุรวาสและเหล่าลูกศิษย์อิ่มโดยทันที ฤๅษีรู้ว่าพระกฤษณะมาช่วยก็ไม่ได้ว่าอะไร ได้ให้พรพวกปาณฑพและเดินทางจากไป หมวดหมู่:ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ.

ใหม่!!: พระศิวะและฤๅษีทุรวาส · ดูเพิ่มเติม »

ฤๅษีนารทมุนี

ฤๅษีนารทมุนี (नारद หรือ नारद मुनी) เป็นบุตรของพระพรหม เป็นสาวกคนแรกของพระนารายณ์ และเป็นผู้ที่นำเรื่องราวบนโลกมนุษย์มารายงานแด่พระศิวะ ฤๅษีนารทมุนีเป็นทูตเอกของสวรรค์ และมีบทบาทในมหาภารตะและรามเกียรติ์เป็นอย่างมาก ในเรื่องรามเกียรติ์ ฤษีเป็นผู้แนะนำให้หนุมานใช้น้ำในบ่อน้อยของตนเอง ก็คือ น้ำลายในปากของหนุมานดับไฟ เมื่อตอนที่หนุมานไปเผากรุงลงกา ในมหาภารตะ ฤๅษีนารทมุนีมีหน้าที่คอยส่งสำคัญให้แก่พระกฤษณะ พระพลราม ยุธิษฐิระ และอรชุน คือ ในมหาสงครามทุ่งกุรุเกษตร ฤๅษีนารทมุนีได้ส่งข่าวบอกแก่พระพลรามว่า "ภีมะกำลังดวลตะบองกับทุรโยธน์" และเมื่อตอนที่พระอนิรุทธิ์หายตัวไป ฤๅษีนารทมุนีก็แจ้งแก่พระกฤษณะว่า "พระอนิรุทธิ์ถูกท้าวกรุงภาณจับตัวไปขังในคุก" และเมื่อตอนที่ท้าวธฤตราษฎร์ พระนางคานธารี พระนางกุนตี ท้าววิทูร เสียชีวิตในป่า ฤๅษีนารทมุนีก็เป็นผู้แจ้งข่าวให้กับยุธิษฐิระว่า "ท้าวธฤตราษฎร์ พระนางคานธารี พระนางกุนตี ท้าววิทูร เสียชีวิตแล้ว และฤๅษีนารทมุนีเป็นผู้บอกถึงจุดอ่อนของทุรโยธน์ให่แก่อรชุน" นอกจากนี้ฤๅษีนารทมุนีก็ยังเป็นผู้เล่าเรื่องของพระรามให้แก่ฤๅษีวาลมีกิจนเกิดเป็นคัมภีร์รามายณะ ในภาพยนตร์ของบอลลีวู้ด โดยเฉพาะหนังเกี่ยวกับเทพเจ้า บทพูดของฤๅษีนารทมุนีที่ทุกคนจำได้ คือ คำว่า "นาร้ายณ์ นารายณ์" หมวดหมู่:ฤๅษี หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู หมวดหมู่:มหาภารตะ หมวดหมู่:ศาสดา.

ใหม่!!: พระศิวะและฤๅษีนารทมุนี · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิศักติ

ลัทธิ​ศักติ​ ​คือ​ลัทธิ​ที่​บูชา​เทพี​เป็นหลักสำคัญ ​ปรัชญา​ของ​ลัทธิ​ศักติ​มี​ว่า​ ​ใน​​มหาเทพ​ ​มี​พลัง​อำนาจ​สองชนิด​ ​คือ​ ​พลัง​อำนาจ​ที่​เป็น​ของ​บุรุษ​เพศ​และ​พลัง​อำนาจ​ที่​เป็น​ของ​สตรี​เพศ​ ​เหมือน​มนุษย์​ผู้​ชาย​ทั่ว​ไป​ย่อม​มี​ลักษณะ​นิสัย​ 2 ​ลักษณะ​ ​คือ​ลักษณะ​ที่​เป็น​ชาย​ ​มี​ความ​แข็ง​แรง​ ​กล้า​หาญ​ ​อด​ทน​ ​และ​มี​อารมณ์​ทาง​เพศ​แบบ​ชาย​ ​และ​ลักษณะ​ที่​เป็น​หญิง​ ​มี​ความ​อ่อน​หวาน​ ​นุ่ม​นวล​ ​รัก​สวย​รัก​งาม​ ​ขี้​อาย​ ​และ​มี​อารมณ์​ทาง​เพศ​แบบ​หญิง​ ​ลัทธิ​ศักติ​นำ​พลัง​อำนาจ​ที่​เป็น​ของ​สตรี​เพศ​มา​พัฒนา​เพื่อ​ให้​เกิด​ความ​อุดม​สมบูรณ์​แก่​โลก​ ​โดย​พรรณนา​ว่า​เป็น​​ศักติ​หรือ​​ชายา​ของ​มหาเทพ​ 3 ​องค์​ ​คือ​.

ใหม่!!: พระศิวะและลัทธิศักติ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิไศวะ

การบูชาพระศิวะ ในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวะ (Shaivism) เป็นลัทธินิกายที่นับถือพระศิวะเป็นพระเป็นเจ้าหรือพรหมัน ศาสนิกชนในลัทธินี้เรียกว่าชาวไศวะ ซึ่งมีรูปแบบความเชื่อและการปฏิบัติแตกต่างกันไปเป็นหลายกลุ่ม เช่น ศิวสิทธานตะที่มีแนวคิดว่าบุคคลจะหลุดพ้นได้โดยการภักดีต่อพระศิวะ แต่ลัทธิโยคะถือว่าทุกสิ่งเป็นส่วนหนึ่งของพรหมันอยู่แล้วGanesh Tagare (2002), The Pratyabhijñā Philosophy, Motilal Banarsidass, ISBN 978-81-208-1892-7, pages 16–19 ลัทธินี้ถือพระเวทและอาคมเป็นคัมภีร์สำคัญDavid Smith (1996), The Dance of Siva: Religion, Art and Poetry in South India, Cambridge University Press, ISBN 978-0-521-48234-9, page 116Mariasusai Dhavamony (1999), Hindu Spirituality, Gregorian University and Biblical Press, ISBN 978-88-7652-818-7, pages 31–34 with footnotesMark Dyczkowski (1989), The Canon of the Śaivāgama, Motilal Banarsidass, ISBN 978-81-208-0595-8, pages 43–44 ลัทธิไศวะมีที่มาจากการนับถือพระรุทรในสมัยพระเวท (ราวสองพันปีก่อนคริสต์ศักราช)Peter Bisschop (2011),, Oxford University Press คัมภีร์เศวตาศวตโรปนิษัทซึ่งแต่งขึ้นราวหนึ่งพันปีก่อนคริสต์ศักราชปรากฏคำว่า รุทร ศิวะ มเหศวร แต่การตีความคำเหล่านี้ยังเป็นที่ถกเถียงอยู่D Srinivasan (1997), Many Heads, Arms, and Eyes, Brill, ISBN 978-9004107588, pages 96-97 and Chapter 9 จนถึงคริสต์สหัสวรรษที่ 1 ลัทธิไศวะทั้งสายภักตินิยมและสายโยคะก็เริ่มแพร่หลายในหลายอาณาจักร รวมทั้งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไศวะหลายพันแห่งในประเทศอินโดนีเซีย กัมพูชา และเวียดนาม ความเชื่อของลัทธิไศวะมีหลายรูปแบบ บางกลุ่มถือว่าพระศิวะคือมหาเทพพระผู้สร้าง รักษา และทำลายล้างโลก บางกลุ่มมองว่าพระศิวะหมายถึงอาตมันอันเป็นภาวะแก่นสารของสรรพสิ่ง ในด้านการปฏิบัติ มีการบูชาพระศิวะรวมถึงพระปารวตีผู้เป็นศักติ (ซึ่งแบบขนบของลัทธิศักติ) ตามโบสถ์พราหมณ์ต่าง ๆ บางกลุ่มเน้นการถือพรตฝึกโยคะเพื่อให้เข้าถึงพระศิวะที่เป็นอาตมันภายในตนเอง.

ใหม่!!: พระศิวะและลัทธิไศวะ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีมหาอุมาเทวี

วัดพระศรีมหาอุมาเทวี ตั้งอยู่บนถนนสีลม วัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือ วัดแขกสีลม เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ถวายการบูชาพระศรีมหาอุมาเทวีซึ่งเป็นพระชายาของพระศิวะ โดยมีพระแม่มารีอัมมันหรือพระแม่อุมาเทวีที่คนไทยรู้จักเป็นประธานของวั.

ใหม่!!: พระศิวะและวัดพระศรีมหาอุมาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: พระศิวะและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วันมาฆบูชา

ปุรณมี วันมาฆบูชา (มาฆปูชา; Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม..

ใหม่!!: พระศิวะและวันมาฆบูชา · ดูเพิ่มเติม »

ศรีบาทา

รีบาทา (Sri Pada; Samanalakanda - සමනළ කන්ද "ภูเขาผีเสื้อ"; Sivanolipatha Malai - சிவனொளி பாதமலை) หรือ แอดัมส์พีก (Adam's Peak) เป็นภูเขารูปโคน ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศศรีลังกา บนยอดเขามี "ศรีบาทา" หินขนาด 1.80 เมตร ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นรอยพระพุทธบาทข้างซ้ายของพระโคตมพุทธเจ้า ในขณะที่ศาสนาฮินดูถือว่าเป็นรอยเท้าของพระศิวะ ในขณะที่ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม ถือว่าเป็นรอยเท้าของอาดัม ศรีบาทาตั้งอยู่ทางตอนใต้ของที่ราบสูงทางตอนกลางของศรีลังกา อยู่ในเขตจังหวัดซาบารากามูวา ห่างจากเมืองรัตนปุระไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร บริเวณใกล้เคียงเป็นภูเขาป่าดงดิบหลายลูก เป็นที่ตั้งของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มีช้าง เสือดาว และสัตว์ป่าอื่นๆ อาศัยอยู่ โดยเขาศรีบาทามียอดเขา 7353 ฟุต สูงที่สุดบนเกาะศรีลังก.

ใหม่!!: พระศิวะและศรีบาทา · ดูเพิ่มเติม »

ศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)

ลพระกาฬ เป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก่อนถูกดัดแปลงเป็นพุทธสถานในยุคต่อมา ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกตะแลงแกงบนเกาะเมือง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่บริเวณเกือบกึ่งกลางเกาะเมืองและเป็นย่านตลาดที่มีผู้คนพลุกพล่านมาก และหากมีการประหารนักโทษก็จะมีการเสียบหัวประจานให้ประชาชีเห็นจะได้เกรงกลัวมิเอาเยี่ยงอย่าง ปัจจุบันศาลพระกาฬหลงเหลือเพียงรากฐานของอิฐเท่านั้น สุจิตต์ วงษ์เทศให้คำอธิบายว่าศาลพระกาฬในจังหวัดพระนครศรีอยุธยานี้เป็นแบบอย่างในการสร้างเทวสถานโบสถ์พราหมณ์และเสาชิงช้าหน้าวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารในกรุงเทพมหานครด้ว.

ใหม่!!: พระศิวะและศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: พระศิวะและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดูแบบบาหลี

ตรีบาหลีขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่อูบุดก่อนถวายของบูชาแด่เทพเจ้า ปัทมาสน์ที่ประทับของอจินไตย ศาสนาฮินดูแบบบาหลี (Agama Hindu Dharma) หรือ ลัทธิวารีศักดิ์สิทธิ์ (Agama Tirtha) เป็นศาสนาฮินดูรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในกลุ่มชาวบาหลีบนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย อันมีความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธด้วย แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลามและคริสต์ แต่ชาวบาหลียุคปัจจุบันยังคงยึดมั่นในหลักธรรมของตนและยังประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่างฮินดูอยู.

ใหม่!!: พระศิวะและศาสนาฮินดูแบบบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศลาว

นาในประเทศลาวที่สำคัญคือศาสนาพุทธ ชาวลาวส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ส่วนชนเผ่าต่างๆนับถือศาสนาผี พบในกลุ่มผู้ที่พูดภาษาตระกูลจีน-ทิเบต และไท-กะได เช่น ชาวไทดำ ไทแดง เช่นเดียวกับกลุ่มที่พูดภาษากลุ่มเกาหลี-ญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังมีคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: พระศิวะและศาสนาในประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ศิวลึงค์

วลึงค์ ลึงค์ หรือ ลิงค์ (लिङ्गं หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ เพศ องคชาต การอนุมาน คัพภะที่ก่อเกิดลูกหลานชั่วนิรันดร์) เป็นสัญลักษณะของพระศิวะเทพเจ้าในศาสนาฮินดู ใช้ในการบูชาสักการะในโบสถ์วิหารฮินดูHinduism: Beliefs and Practices, by Jeanne Fowler, pgs.

ใหม่!!: พระศิวะและศิวลึงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิวะ พระมหาเทพ

วะ พระมหาเทพ (Devon Ke Dev...) หรือ ตำนานพระพิฆเนศ (ชื่อไทยในฉบับดีวีดี) เป็นละครโทรทัศน์ที่ถ่ายทำเมื่อปี ค.ศ. 2014 กล่าวถึงพระประวัติของ พระศิวะ นำแสดงโดย โมหิต ไรนา รับบท พระศิวะ ออกอากาศทางช่อง ไบรต์ทีวี ละครเรื่องนี้ออกอากาศทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 20.00 น. - 21.00 น.

ใหม่!!: พระศิวะและศิวะ พระมหาเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ศิวนาฏราช

ทวรูปศิวนาฏราช ศิวนาฏราช เป็นปางหนึ่งของพระศิวะ เป็นบรมครูของศิลปะการร่ายรำหรือนาฏยศาสตร์ของอินเดีย ความเชื่อว่าการเต้นรำของพระศิวะก่อให้เกิดปฏิกิริยาของการสร้างโลกและมนุษย์ ศิวนาฏราชจะปรากฏในท่าย่างสามขุม (ตรีวิกรม) ซึ่งเป็น 1 ใน 108 ท่าที่ออกแบบโดยพระศิวะ โดยมีสัญลักษณ์ที่พระกรขวาถือกลองคือการสร้างโลก พระกรซ้ายมีเปลวเพลิงล้อมเป็นกรอบคือการสิ้นสุดที่ไฟจะเผาผลาญโลก พระศิวะได้ทรงพนันกับพระอุมาว่าโลกที่สร้างใหม่แข็งแรงหรือไม่ โดยพระศิวะทรงยืนขาเดียวบนก้อนหินโดยที่ขาต้องไม่ตก ในขณะที่พญานาคแกว่งลำตัววิดน้ำในมหาสมุทรให้สะเทือน พระศิวะทรงชนะ พระองค์ทรงสร้างโลกใหม่ด้วยการเต้นรำบนก้อนหินนั้น ในระหว่างที่ทรงเต้นรำเกิดเปลวไฟและน้ำหลั่งไหลจากพระวรกายกลายเป็นสิ่งหล่อเลี้ยงชีวิต.

ใหม่!!: พระศิวะและศิวนาฏราช · ดูเพิ่มเติม »

ศึกสวรรค์มหัศจรรย์ทะลุฟ้า

ใบปิดภาพยนตร์ ศึกสวรรค์มหัสจรรย์ทะลุฟ้า (Har har mahadev) เป็นภาพยนตร์ชื่อดังของบอลลีวู้ดที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พระศิวะและศึกสวรรค์มหัศจรรย์ทะลุฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ศึกเทวดา

ระวังสับสนกับภาพยนตร์อีกเรื่องที่มีชื่อคล้ายกัน คือ สงครามเทวดา ใบปิดภาพยนตร์ ศึกเทวดา (Balram Shri Krishna) เป็นภาพยนตร์บอลลีวู้ด เมื่อปี..

ใหม่!!: พระศิวะและศึกเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมฮินดูสมาช

มาคมฮินดูสมาช หรือ วัดเทพมณเฑียร เสาชิงช้า เป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไวษณพ ตั้งอยู่ด้านบนของโรงเรียนภารตวิทยาลัย ถนนศิริพงษ์ แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นเทวสถานของพระวิษณุและเทพเจ้าในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: พระศิวะและสมาคมฮินดูสมาช · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมฮินดูธรรมสภา

มาคมฮินดูธรรมสภา หรือ วัดวิษณุ ยานนาวา เป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไวษณพ ตั้งอยู่เยื้องกับวัดปรก เขตสาทร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นเทวสถานของพระวิษณุและเทพเจ้าในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: พระศิวะและสมาคมฮินดูธรรมสภา · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเทเวศรนฤมิตร

นเทเวศรนฤมิตร เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานที่สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสงค์สร้างสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมทั้งหมดห้าสะพานและทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามให้มีชื่อคล้องจองกันทั้งหมด โดยทรงปรึกษากับพระราชเลขานุการที่เชี่ยวชาญภาษามคธ ได้นามเป็นมงคลคล้องจองกัน โดยมีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทวดานฤมิตร" คือ สะพานเทเศวรนฤมิตร, สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ, สะพานมัฆวานรังสรรค์, สะพานเทวกรรมรังรักษ์ และสะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ โดยในส่วนของสะพานเทเวศรนฤมิตร นั้นมีความหมายถึง "สะพานที่เทวดาผู้เป็นใหญ่สร้าง" หรือ "สะพานที่พระอิศวรเป็นผู้สร้าง" เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระศิวะและสะพานเทเวศรนฤมิตร · ดูเพิ่มเติม »

สาอี บาบาแห่งศิรฑี

อี บาบาแห่งศิรฑี สาอี บาบาแห่งศิรฑี (सत्य साईं बाबा; शिर्डीचे श्री साईबाबा ศิรฺฑีเจ ศฺรี สาอีพาพา) เกิดใน..

ใหม่!!: พระศิวะและสาอี บาบาแห่งศิรฑี · ดูเพิ่มเติม »

สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล

วิสุทธิกุล (ชื่อเล่น ติ่ง) เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นนักพากย์ชายชาวไทย ที่มีน้ำเสียงและลีลาการพากย์หาตัวจับยากคนหนึ่งของวงการ สามารถพากย์ได้ดีทั้งบทพระเอก บทขรึม ตัวโกง หรือแม้แต่ ตัวตลก ปัจจุบันพากย์เสียงอยู่กับ ทีมพากย์พันธมิตร รวมทั้งพากย์เสียงให้กับทาง ช่อง 9 อสมท.

ใหม่!!: พระศิวะและสุภาพ ไชยวิสุทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สีดา ราม ศึกรักมหาลงกา

ีดา ราม ศึกรักมหาลงกา หรือ สีดาราม ศึกรักมหาลงกา (Siya Ke Ram) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา นำแสดงโดย อาชิช ชาร์มา, มาดิรักศรี มันเดิล ออกอากาศทาง ช่อง 8 ออกอากาศ ทุกวันเสาร์- อาทิตย์ เวลา 10.00 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: พระศิวะและสีดา ราม ศึกรักมหาลงกา · ดูเพิ่มเติม »

สีดำ

ีดำ เป็นสีของวัตถุที่ไม่สะท้อนแสงที่สเปกตรัมสะท้อนออกมา วัตถุสีดำจะดูดกลืนทุกสีในสเปกตรัม จึงไม่สะท้อนสีใด ๆ ออกมาเลย หลายคนคิดว่าสีดำคือ "การผสมทุกสีเข้าด้วยกัน" แต่ความเป็นจริงแล้ว สีที่สามารถสะท้อนแสงคืนได้หมดทุกสีคือ สีขาว บางครั้งสีดำบ่งบอกถึงความว่างเปล่า และไม่มีสีสัน แต่สีดำเป็นสีสีหนึ่ง สามารถบ่งบอกคุณลักษณ์ต่างๆ ของวัตถุ เช่น แมวสีดำ หรือภาพศิลป์สีดำ.

ใหม่!!: พระศิวะและสีดำ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามทุ่งกุรุเกษตร

ีษมะนอนบนเตียงธนู สงครามทุ่งกุรุเกษตร เป็นเหตุการณ์ในมหาภารตะ ทุ่งกุรุเกษตร เป็นที่ราบที่อยู่ใกล้ ๆ กับกรุงหัสตินาปุระ ที่ทั้งสองตระกูลคือปาณฑพและเการพใช้เป็นสมรภูมิรบ มีทหาร เจ้าชายและกษัตริย์จากแคว้นเมืองต่าง ๆ ล้มตายเป็นจำนวนมาก ที่สมรภูมิรบแห่งนี้ ฝ่ายปาณฑพมีกำลังพลและหน่วยรบรวมกันทั้งหมด 7 อักเษาหิณี (ประมาณ 2 ล้านคน) และฝ่ายเการพ 11 อักเษาหิณี (ประมาณ 3 ล้านคน) ในสงครามหนนี้ มีผู้คนล้มตายไปราว ๆ 5 ล้านคน ที่รอดจากสงครามมาได้ก็มีเพียงฝ่ายปาณฑ.

ใหม่!!: พระศิวะและสงครามทุ่งกุรุเกษตร · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระมหาปราสาท

หมู่พระมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระบรมมหาราชวัง โดยก่อสร้างลักษณะสถาปัตยกรรมไทยแท้ มีทั้งองค์พระมหาปราสาท พระราชมณเฑียร พระปรัศว์ เรือนจันทร์ครบถ้วน ฝีมือก่อสร้างประณีตวิจิตรงดงาม เป็นสิ่งก่อสร้างที่ล้ำค่าอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ หมู่พระมหาปราสาทนี้ มีประวัติศาสตร์ที่แดงขนบธรรมเนียมประเพณี เกี่ยวกับองค์สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้ายาวนาน.

ใหม่!!: พระศิวะและหมู่พระมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หัวโขน

มงกุฏสามกลีบขององคต สีเขียว ปากหุบ ตาโพลง หัวโขน เป็นงานศิลปะชั้นสูง ใช้สำหรับสวมครอบศีรษะ ปิดบังส่วนหน้าของผู้แสดงโขนอย่างมิดชิด เป็นศิลปวัตถุประเภทประณีตศิลป์ และงานศิลปะที่ได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นอย่างวิจิตรตระการตาเช่นเดียวกับเครื่องแต่งกาย ประณีตบรรจงตามแบบช่างไทย มีรูปลักษณะสวยงาม ลักษณะคล้ายหน้ากาก แตกต่างตรงที่เป็นการสร้างจำลองรูปทรงใบหน้าและศีรษะทั้งหมด เจาะช่องเป็นรูกลมที่นัยน์ตาของหัวโขน ให้ตรงกับนัยน์ตาของผู้แสดงเพื่อการมองเห็น แบ่งเป็น 2 ประเภทคือหัวโขนสำหรับใช้ในการแสดง หมายความถึงหัวโขนที่สื่อถึงตัวละครนั้น ๆ เช่น พระ ยักษ์ เทวดา วานรและสัตว์ต่าง ๆ สร้างขึ้นด้วยกรรมวิธีแบบโบราณ ตามเอกลักษณ์ของหัวโขนที่ถูกต้องและสมบูรณ์แบบของศิลปะไทย และหัวโขนที่ใช้สำหรับเป็นของประดับตกแต่งหรือของที่ระลึก หมายความถึงหัวโขนที่ทำขึ้นโดยการหล่อ ปั้น ฉีดและขึ้นรูปด้วยพลาสติกหรือกรรมวิธีอื่น ๆ ลงรักปิดทอง ประดับกระจก.

ใหม่!!: พระศิวะและหัวโขน · ดูเพิ่มเติม »

หนังตะลุง

หนังตะลุง หนังตะลุง คือ ศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นอย่างหนึ่งของภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อยเป็นนิยาย ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นสำเนียงท้องถิ่น หรือที่เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรกเป็นระยะ และใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่งการว่าบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุงเป็นคนแสดงเองทั้งหมด หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยก่อนที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึงทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน หนังตะลุงแสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงให้ชมด้วยเสมอ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หนังตะลุงกลับกลายเป็นความบันเทิงที่ต้องจัดหามาในราคาที่ "แพงและยุ่งยากกว่า" เมื่อเทียบกับภาพยนตร์ เพราะการจ้างหนังตะลุงมาแสดง เจ้าภาพต้องจัดทำโรงหนังเตรียมไว้ให้ และเพราะหนังตะลุงต้องใช้แรงงานคน (และฝีมือ) มากกว่าการฉายภาพยนตร์ ค่าจ้างต่อคืนจึงแพงกว่า ยุคที่การฉายภาพยนตร์เฟื่องฟู หนังตะลุงและการแสดงท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มโนราห์ รองแง็ง ฯลฯ ก็ซบเซาลง ยิ่งเมื่อเข้าสู่ยุคที่ทุกบ้านมีโทรทัศน์ดู ละครโทรทัศน์จึงเป็นความบันเทิงราคาถูกและสะดวกสบาย ที่มาแย่งความสนใจไปจากศิลปะพื้นบ้านเสียเกือบหมด ปัจจุบัน โครงการศิลปินแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และสืบทอดศิลปะการแสดงหนังตะลุงให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ให้คงอยู่สืบไป.

ใหม่!!: พระศิวะและหนังตะลุง · ดูเพิ่มเติม »

หนุมาน สงครามมหาเทพ

หนุมาน สงครามมหาเทพ (Mahabali Hanuman, Sankatmochan Mahabali Hanuman) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา โดยเรื่องนี้จะเน้นตัวละคร หนุมาน เป็นตัวละครหลัก นำแสดงโดย นิรภัย วัทวา, เกกัน มาลิค ออกอากาศทาง ช่อง 8 ออกอากาศ ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 19.00 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: พระศิวะและหนุมาน สงครามมหาเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อวตาร

กัลกยาวตาร (อัศวินม้าขาว) อวตาร (अवतार, avatāra) คือการที่เทพเจ้าองค์ต่าง ๆ ตามความเชื่อของศาสนาฮินดูแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด ในลัทธิไวษณพถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว พระวิษณุจะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระวิษณุ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน พระวิษณุอวตารเป็นความเชื่อหลักของลัทธิไวษณพ หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรก ๆ อยู่ในภควัทคีตา มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของพระศิวะและพระพิฆเนศ และเทพีต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือลัทธิศักติ อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที.

ใหม่!!: พระศิวะและอวตาร · ดูเพิ่มเติม »

อัยยัปปัน

ระสวามีอัยยัปปา (ஐயப்பன்; അയ്യപ്പ; అయ్యప్ప స్వామి; ಅಯ್ಯಪ್ಫ) ทรงเป็นเทวะท้องถิ่น ซึ่งมีต้นกำเนิดอยู่ในรัฐเกรละและเป็นที่นิยมบูชาในภาคใต้ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พระศิวะและอัยยัปปัน · ดูเพิ่มเติม »

อัศวัตถามา

อัศวัตถามา (สันสกฤต: अश्वत्थामा) มีอีกชื่อคือ เทราณี เป็นบุตรชายของโทรณาจารย์ ครูสอนวิชาอาวุธผู้ยิ่งใหญ่แห่งราชสำนักนครหัสตินาปุระ และเป็นหลานของฤๅษีภรัทวาชะ อัศวัตถามาเป็นมหารถี (นักรบ) ผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งอยู่ในฝั่งเการพที่ต่อสู้กับฝั่งปาณฑพ อัศวัตถามาถือว่าเป็นอวตารหนึ่งใน ๑๙ อวตารของพระศิวะ หนึ่งในพระตรีมูรติทั้ง ๓ พระองค์ อัศวถามาได้ร่วมทำสงครามกุรุเกษตรโดยอยู่ฝั่งเการพเพราะอัศวัตถามาเป็นสหายของทุรโยธน์ พี่ชายคนโตของพี่น้องเการพ ด้วยเหตุนี้อัศวัตถามาจึงเข้าร่วมกับฝั่งเการพในสงครามทุ่งกุรุเกษตร อัศวัตถามาถือว่าเป็นนักรบไม่กี่คนของฝั่งเการพที่ไม่ตายในสงครามทุ่งกุรุเกษตร และในตอนท้ายของมหากาพย์มหาภารตะ อัศวัตถามาได้แอบเข้าไปสังหารธฤษฏัทยุมนะ ศิขัณฑี อุปปาณฑพ และเหล่าทหารของฝั่งปาณฑพ นอกจากนี้ยังใช้ศรพรหมเศียรพยายามฆ่าบุตรในครรภ์ของนางอุตตรา ชายาของอภิมันยุ พระกฤษณะจึงใช้จักรสุทรรศนะตัดอัญมณีบนหน้าผากของอัศวัตถามาออกพร้อมกับสาปให้อัศวัตถามามีหน้าตาหน้าเกลียดมีเลือดไหลออกจากร่างและไม่มีวันตายจนกว่าจะถึงการสิ้นสุดของโลกพร้อมกับต้องเร่ร่อนไม่มีใครจำได้ตลอดชั่วกัลปาวสาน หมวดหมู่: ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารต.

ใหม่!!: พระศิวะและอัศวัตถามา · ดูเพิ่มเติม »

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ

อาณาเขตอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ เป็นอารยธรรมในยุคสำริด (ประมาณ 2500 - 1900 ก่อนคริสตกาล) ถือกำเนิดขึ้นบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุในประเทศอินเดียและปากีสถานในปัจจุบัน ถือเป็นอารยธรรมยุคแรกๆของโลก ซึ่งนักโบราณคดีเรียกว่ายุคฮารัปปัน วัฒนธรรมเก่าสุดเริ่มจาก.

ใหม่!!: พระศิวะและอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ · ดูเพิ่มเติม »

อาถรรพณ์นิทรานคร

อาถรรพณ์นิทรานคร เป็นตอนที่สี่ของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่อาถรรพณ์นิทรานคร เล่ม 1 - 4.

ใหม่!!: พระศิวะและอาถรรพณ์นิทรานคร · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสิงหะส่าหรี

อาณาจักรสิงหัสส่าหรี(Singhassari Kingdom พ.ศ. ๑๗๖๕-๑๘๓๕) มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสิงหัสส่าหรีเป็นอาณาจักรบนเกาะชวาตะวันตก สิงหัสส่าหรีเคยยกทัพไปตีศรีวิชัยในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ อาณาจักรสิงหะส่าหรีอยู่ได้ไม่นานก็ถูกเจ้าชายจายากัตวัง แห่งอาณาจักรเคดิรี โจมตีเมืองหลวงในขณะที่พระเจ้าเกอรตานาการา (เกียรตินคร) กำลังบูชาพระศิวะ แต่เจ้าชายวิชัย(Vijaya)ราชบุตรเขย ได้กู้เมืองมาได้แล้วตั้งอาณาจักรมัชปาหิตในปี..

ใหม่!!: พระศิวะและอาณาจักรสิงหะส่าหรี · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระศิวะและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสิชล

ล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: พระศิวะและอำเภอสิชล · ดูเพิ่มเติม »

อินทรชิต

อินทรชิต (สันสกฤต: इन्‍द्र जीत, Indrajit อินฺทฺร ชีต) เดิมมีชื่อว่า รณพักตร์ เป็น บุตรทศกัณฐ์กับนางมณโฑ มีมเหสีชื่อ นางสุวรรณกันยุมา มีบุตรชื่อยามลิวันและกันยุเวก มีสีกายสีเขียว มีฤทธิ์เก่งกล้ามาก เมื่อโตขึ้นจึงทูลลาพระบิดาและพระมารดาเพื่อไปศึกษาวิชากับพระฤๅษีโคบุตรจนสำเร็จวิชามนต์มหากาลอัคคี จึงกราบลาอาจารย์เพื่อไปบำเพ็ญตบะ เมื่อบำเพ็ญจนเก่งกล้าแล้วจึงทำพิธีขออาวุธวิเศษต่อมหาเทพทั้ง 3 มหาเทพจึงประทานอาวุธวิเศษให้ คือ พระอิศวรประทานศรนาคบาศและพรสามารถแปลงร่างเป็นพระอินทร์ได้ พระพรหมประทานศรพรหมาสตร์และพรไม่ให้ตายบนพื้นดินหากตายก็ให้ตายบนอากาศหากเศียรขาดตกลงพื้นก็ให้เกิดไฟไหม้ทั่วทั้งจักรวาลต้องนำพานแว่นฟ้าของพระพรหมเท่านั้นมารองรับเศียรจึงจะระงับเหตุได้ ส่วนพระนารายณ์ประทานศรวิษณุปานัม เมื่อได้รับพรและอาวุธวิเศษแล้วจึงเกิดความหึกเหิมบุกสวรรค์และท้าพระอินทร์รบ และชนะพระอินทร์ ทศกัณฐ์เมื่อทราบข่าวบุตรของตนมีชัยชนะก็ดีใจมากจึงเปลื่ยนชื่อใหม่เป็น อินทรชิต หมายถึง "ชนะพระอินทร์" แต่ด้วยไม่ตั้งตนอยู่ในธรรมและการประพฤติชั่วของตน ภายหลังถูกศรของพระลักษมณ์สิ้นใจต.

ใหม่!!: พระศิวะและอินทรชิต · ดูเพิ่มเติม »

อุสุภราช

ทวรูปโคนนทิที่ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ อุสุภราช หรือ นนทิ (Nandi; สันสกฤต: नंदी) เป็นชื่อโคเผือกที่เป็นพาหนะของพระศิวะ กำเนิดมาจากเมื่อครั้งกวนเกษียณสมุทร พระกัศยปะต้องการให้นางโคสุรภีเป็นพาหนะประจำพระองค์ แต่ติดว่านางโคสุรภีเป็นโคเพศเมีย หากจะเป็นโคพาหนะจึงควรเป็นโคเพศผู้มากกว่า พระกัศยปะจึงได้เนรมิตรโคเพศผู้ขึ้นมาให้สมสู่กับนางโคสุรภี ลูกโคที่เกิดมาเป็นโคสีขาวปลอดเพศผู้ลักษณะดีคือ โคอุสุภราช พระกัศยปะจึงได้ประทานชื่อให้ว่า นนทิ หรือ นันทิ และได้ถวายให้เป็นพระพาหนะแด่พระศิวะ อีกตำนานหนึ่งของการกำเนิดโคอุสุภราช กล่าวว่า เดิมทีเป็นเทพบุตรองค์หนึ่งชื่อ นนทิ เป็นเทพที่ดูแลบรรดาสัตว์ 4 ขาต่าง ๆ ที่เชิงเขาไกรลาส และมักเนรมิตรตนให้เป็นโคเผือกสีขาวเพื่อเป็นพาหนะของพระศิวะเมื่อเสด็จไปยังที่ต่าง ๆ โคอุสุภราชในความเชื่อของชาวฮินดูไม่เพียงแต่เป็นสัตว์พาหนะตัวหนึ่งเท่านั้น แต่ยังได้รับการบูชาดุจดั่งเทพเจ้าองค์หนึ่ง ดังนั้น โคหรือวัวสำหรับชาวฮินดูจึงถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ ชาวฮินดูจึงไม่ฆ่าโคและกินเนื้อวัว ในพิธีการมงคลแบบฮินดู พราหมณ์จะนำมูลโคมาเจิมหน้าผาก ถือว่าเป็นมงคลประการที่ 7 และในวิหารบูชาพระศิวะมักมีรูปปั้นโคอุสุภราชนี้ประดิษฐานที่กลางวิหารด้วย ด้วยถือว่าเป็นสัญลักษณ์หนึ่งขององค์พระศิว.

ใหม่!!: พระศิวะและอุสุภราช · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

ปราสาทพนมรุ้ง เมื่อมองจากทางขึ้นด้านหน้า ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นหนึ่งในปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ ปัจจุบัน ปราสาทหินพนมรุ้งกำลังอยู่ในเกณฑ์กำลังพิจารณาเป็นมรดกโลก เช่นเดียวกับ ปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภาพพื้นหลังตราสัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดอีกด้วย ตัวปราสาทหินพนมรุ้ง ความสวยงามของปราสาท.

ใหม่!!: พระศิวะและอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ตั้งอยู่ในเขตตำบลในเมือง อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ไม่ไกลจากจังหวัดสุโขทัยเท่าใดนัก ลักษณะของศิลปะและสถาปัตยกรรมในอุทยานแห่งนี้เป็นศิลปะแบบเดียวกับที่ปรากฏในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย มีโบราณสถานที่สวยงามและขนาดใหญ่มากมาย หลายแห่งในอดีตเมืองกำแพงเพชรถือเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทั.

ใหม่!!: พระศิวะและอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

อนาคาริก ธรรมปาละ

อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407 มรณภาพ 29 เมษายน พ.ศ. 2476) เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ท่านเกิดในครอบครัวผู้มั่งคั่ง บิดาชื่อว่า เดวิด เหววิตรเน เมื่อได้อ่านหนังสือเรื่องประทีปแห่งเอเชียของท่านเซอร์ เอดวินด์ อาโนลด์ ก็เกิดความซาบซึ้ง มีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึงออกเดินทางสู่อินเดีย เมื่อได้เห็นเจดีย์พุทธคยาที่ชำรุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้ง และอยู่ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นนั้น จึงทำการอธิษฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่า จะถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและนำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธทั่วโลกให้ได้.

ใหม่!!: พระศิวะและอนาคาริก ธรรมปาละ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิศิวาจี

ฉัตรปตี ศิวาจีราเช โภสเล (छत्रपती शिवाजीराजे भोसले; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1630 – 3 เมษายน ค.ศ. 1680) เป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่ง จักรวรรดิมราฐา ครองราชย์ตั้งแต่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระศิวะและจักรพรรดิศิวาจี · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมบาล

นาพุทธในประเทศจีนนับอดีตกาลมา นับถือกันว่า ธรรมบาลยี่สิบสี่พระองค์ คือเหล่าพระโพธิสัตว์กลุ่มหนึ่งตั้งจิตปรารถนาให้ปวงสรรพสัตว์ได้บำเพ็ญบารมีโดยสะดวก จึงพร้อมกันตั้งปณิธานเป็นผู้คุ้มครองอารักขาพระธรรมแห่งพระองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเหล่าพุทธบริษัทผู้ดำเนินตามพระรัตนตรัย พระโพธิสัตว์ผู้เป็นธรรมบาลคุ้มครองพระศาสนาเหล่านี้ มีปรากฏพระนามอยู่ในสุวรรณประภาโสตตมราชาสูตร(กิมกวงเม้งจุ้ยเส่งอ้วงเก็ง) ฝ่ายมหายาน พระสูตรนี้ กล่าวถึงเหล่าพระโพธิสัตว์ ท้าวจตุโลกบาลและเหล่าทวยเทพทั้งหลายซึ่งปรากฏชื่อทั้งหมดมี 24 พระองค์ พร้อมกันตั้งปณิธานต่อเบื้องหน้าพระพักตร์แห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอถึงรัตนตรัยเป็นที่พึ่งและประกาศตนเป็นธรรมบาลคุ้มครองพระสัทธรรมและเหล่าพุทธบริษัท ให้บำเพ็ญบุญบารมีโดยยิ่งขึ้น พระสูตรนี้จึงเป็นที่มาของพิธีบูชาเทพธรรมบาลโพธิสัตว์ (พิธีก้งจูเทียน)ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระศิวะและธรรมบาล · ดูเพิ่มเติม »

ธรหรา

หอคอยธรหรา (धरहरा) หรือ หอคอยภีมเสน เป็นหอคอยสูง 61.88 ม. (203.0 ฟุต) เป็นจำนวน 9 ชั้น ตั้งอยู่ในจัตุรัสดูร์บาร์ ในกรุงกาฐมาณฑุ ได้ถูกสร้างขึ้นในปี 1832 โดยนายภีมเสน ถาปา นายกรัฐมนตรีสมัยนั้น อาคารได้รับการจำแนกจากองค์การยูเนสโกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมกาฐมาณฑุ สถาปัตยกรรมเฉพาะตัวของเมืองกาฐมาณฑุ ภายในหอคอยประกอบด้วย บันไดวนแบบสไปรอล จำนวน 213 ขั้น โดยในชั้นที่ 8 เป็นส่วนระเบียงสามารถมองทิวทัศน์ได้โดยรอบเมืองกาฐมาณฑุ และมีเสาสัมฤทธิ์ ซึ่งสูง 5.2 ม. (17 ฟุต) ประดับในส่วนยอดของหอคอย หอคอยได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมภายในตั้งแต่ปี 2005 จนถึงวันที่อาคารถล่มในปี 2015 โครงสร้างส่วนใหญ่ของอาคารได้พังถล่มลงมา จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวใหญ่ในเนปาล แต่ก็ยังมีส่วนฐานที่ยังหลงเหลืออยู.

ใหม่!!: พระศิวะและธรหรา · ดูเพิ่มเติม »

ถิลไลนฏราชมนเทียร

ระน้ำในถิลไลนฏราชมนเทียร ถิลไลนฏราชมนเทียร (தில்லை நடராசர் கோயில்; थिल्लई नटराज मंदिर; Thillai Nataraja Temple) หรือ จิทัมพรัมมนเทียร (चिदंबरम मंदिर) เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่สร้างถวายแด่พระศิวะ ถือเป็นเทวาลัยที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในลัทธิไศวะ ตั้งอยู่ในเมืองจิทัมพรัม รัฐทมิฬนาดู สร้างในสมัยราชวงศ์ปัลลวะในศตวรรษที่ 7 และต่อมาสร้างเพิ่มเติมในสมัยราชวงศ์โจฬะในศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:โบสถ์พราหมณ์ในประเทศอินเดีย หมวดหมู่:โบสถ์พระศิวะ ภาพสลักบุคลฟ้อนรำท่ากริหัสตะกะ (ท่างวงช้าง) หนึ่งในท่ารำ 108 กรณะ ที่ซุ้มโคปุระด้านทิศตะวันออกของถิลไลนฏราชมนเทียร.

ใหม่!!: พระศิวะและถิลไลนฏราชมนเทียร · ดูเพิ่มเติม »

ทศกัณฐ์

ระยาพรหมาภิบาล (ทองใบ สุวรรณภารต) ทศกัณฐ์ทรงศร ทศกัณฐ์ทรงหอกกบิลพัท ทศกัณฐ์ (ผู้มีสิบคอ คือ มีสิบหัว) เป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ ดัดแปลงมาจากตัวละคร ราวณะ ในมหากาพย์ฮินดูเรื่อง รามายณ.

ใหม่!!: พระศิวะและทศกัณฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทองกวาว

ทองกวาว, ทอง หรือ ทองธรรมชาติ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ จากประเทศปากีสถาน, อินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย และทางตะวันตกของอินโดนีเซีย ทองกวาวมีชื่ออื่นอีกคือ กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อีสาน).

ใหม่!!: พระศิวะและทองกวาว · ดูเพิ่มเติม »

ทุรคา

ระแม่ทุรคาทรงปราบอสูรในลักษณะ 18 กร พระแม่ทุรคา (ทุรฺคา) หรือ พระศรีมหาทุรคาเทวี หรือ พระแม่มหิษาสุรมรรทินี เป็นปางหนึ่งของ พระอุมาเทวี มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ไม่ว่าทั้งเทพเจ้า มนุษย์ อสูร แม้แต่พระศิวะ พระพรหม หรือพระวิษณุ ก็ไม่อาจสังหารมหิษาสูรได้ มีเพียงหญิงสาวที่ไม่ได้เกิดอย่างธรรมชาติ และเป็นหนึ่งในอำนาจทั้งหมดของจักรวาล ซึ่งก็คือพระแม่ทุรคา ซึ่งเกิดจากอำนาจทั้งปวงของเหล่าเทพเจ้า ในช่วงประมาณเดือนกันยายน-ตุลาคมของทุกปี จะมีการบูชาพระแม่ทุรคาเรียกว่า เทศกาลนวราตรีดุเซร่า มีการฉลองถึง ๙ วัน ๙ คืนด้วยกัน ในประเทศไทย งานฉลองนี้จะมีขึ้นประจำทุกปีที่วัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือ วัดแขกสีลม เขตบางรัก โดยมีการแห่ไปตามท้องถนนในเวลากลางคืนด้วยดอกดาวเรืองและสิ่งบูชาต่าง.

ใหม่!!: พระศิวะและทุรคา · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวอัศกรรมมาลา

รูปปั้นท้าวอัศกรรมมาลา ที่สนามบินสุวรรณภูมิ ท้าวอัศกรรณมาลาสูร เจ้าเมืองดุรัม เป็นเพื่อนอีกตนหนึ่งของทศกัณฐ์ ได้ขอทศคีรีวัน ทศคีรีธร โอรสฝาแฝดของทศกัณฐ์ที่เกิดกับนางช้าง ไปเป็นลูกบุญธรรม เมื่อลูกบุญธรรมทั้งสองและทศกัณฐ์ตาย ท้าวอัศกรรณมาลาสูรก็ยกทัพไปช่วยแก้แค้น จึงถูกพระรามแผลงศรตัดตัวขาด แต่แทนที่จะตายกลับมีร่างกายทวีคูณขึ้นเรื่อย ๆ พิเภกจึงบอกความลับว่าท้าวอัศกรรณมาลาสูรได้พรจากพระอิศวร ถึงร่างกายจะถูกตัดเป็นกี่ท่อนก็จะทวีคูณขึ้นมา ไม่มีวันตาย วิธีฆ่าคือ ต้องนำร่างทั้งหมดไปทิ้งน้ำ พระรามจึงแผลงศรพรหมมาศไปตัดหัวขาด และนำร่างไปทิ้งน้ำ ท้าวอัศกรรณมาลาสูร เป็นหนึ่งในทวารบาลในพระบรมมหาราชวัง.

ใหม่!!: พระศิวะและท้าวอัศกรรมมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 2 ตอน ถล่มวิหารเจ้าแม่กาลี

มทรัพย์สุดขอบฟ้า 2 ตอน ถล่มวิหารเจ้าแม่กาลี (Indiana Jones and the Temple of Doom) เป็นภาพยนตร์แอ็กชันและผจญภัยในชุดอินเดียน่า โจนส์ ถัดจาก Raiders of the Lost Ark (1981) จัดจำหน่ายโดย พาราเมาท์ พิกเจอร์ส ผลิตโดยลูคัสฟิล์ม กำกับโดย สตีเวน สปีลเบิร์ก ฉายตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระศิวะและขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 2 ตอน ถล่มวิหารเจ้าแม่กาลี · ดูเพิ่มเติม »

ดารา (เทพี)

ระดารา หรือ พระตารา (तारा) เป็นเทพีในศาสนาฮินดู ซึ่งหมายความว่า ดาว เป็นเทวี ๑ ใน ๑๐ ของพระมหาวิท.

ใหม่!!: พระศิวะและดารา (เทพี) · ดูเพิ่มเติม »

คชศาสตร์

ตร์ เป็นวิชาหนึ่งในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ เป็นศาสตร์เกี่ยวกับช้าง แบ่งออกเป็น 2 ตำรา คือ.

ใหม่!!: พระศิวะและคชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ครุฑ

รุฑยุดนาคปูนปั้นปิดทอง ประดับรอบพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ครุฑ (गरुड) เป็นสัตว์กึ่งเทพในปกรณัมอินเดียและปรากฏในวรรณคดีสำคัญหลายเรื่อง เช่น มหากาพย์ มหาภารตะ เล่าว่า ครุฑเป็นพี่น้องกับนาคและทะเลาะกันจนเป็นศัตรู นอกจากนี้ ยังมีคัมภีร์ปุราณะที่ชื่อว่า ครุฑปุราณะ เป็นเรื่องเล่าพญาครุฑ ตามคติไทยโบราณ เชื่อว่าครุฑเป็นพญาแห่งนกทั้งมวล และเป็นพาหนะของพระนารายณ์ ปกติอาศัยอยู่ที่วิมานฉิมพลี มีรูปเป็นครึ่งคนครึ่งนกอินทรี ได้รับพรให้เป็นอมตะ ไม่มีอาวุธใดทำลายลงได้ แม้กระทั่งสายฟ้าของพระอินทร์ก็ได้แต่เพียงทำให้ขนของครุฑหลุดร่วงลงมาเพียงเส้นหนึ่งเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ ครุฑจึงมีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า "สุบรรณ" ซึ่งหมายถึง "ขนวิเศษ" ครุฑเป็นสัตว์ใหญ่ มีอานุภาพและพละกำลังมหาศาล แข็งแรง บินได้รวดเร็ว มีสติปัญญาเฉียบแหลม อ่อนน้อมถ่อมตน และมีสัมมาคารวะ ครุฑพอจะแบ่งได้ 5 ประเภทคือ.

ใหม่!!: พระศิวะและครุฑ · ดูเพิ่มเติม »

ฆโฎตกัจ

ฆโฏตกัจ (Ghatotkacha) เป็นตัวละครในเรื่องมหาภารตะ เป็นโอรสของภีมะ กับนางรากษสหิฑิมพี ซึ่งตำนานกล่าวไว้ว่าแรกเกิดของฆโฏตกัจนั้นได้เติบโตขึ้นมาเป็นผู้ใหญ่ทันที เนื่องจากในหลายปีก่อนนั้นได้มีฤๅษีรากษสบำเพ็ญตบะอยู่หลายล้านปี พระศิวะเห็นใจจึงลงมาให้พร ซึ่งก็ได้ขอพรจากพระศิวะมากมาย และหนึ่งในพรนั้นก็คือขอให้ลูกรากษสที่เกิดมาทุกตนได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ทันทีหลังที่ได้กำเนิดมา ต่อมา หลังจากที่ฝ่ายปาณฑพได้ประกาศศึกต่อฝ่ายเการพที่ทุ่งกุรุเกษตรแล้ว ฆโฏต์กัจได้มาเป็นแม่ทัพสำคัญของกองกำลังอักเษาหิณีที่ 3 และในสงครามนั้น เขาได้สังหารยักษ์อลัมพุษะ และ อลายุธ ซึ่งเป็นแม่ทัพของกองทัพอักเษาหิณีที่ 8 ตายไปด้วย สุดท้าย ฆโฏตกัจก็ตายด้วยน้ำมือของกรรณะ ซึ่งในศึกวันที่ 14 เขาได้ต่อสู้กับกรรณะในขณะที่อาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว แต่เขายังไม่ยอมสงบศึกกับกรรณะด้วยความแค้นที่ทำกับอภิมันยุ(ลูกชายของอรชุน)และการกระทำนั้นผิดกฎสงครามที่กำหนดไว้ ทำให้กรรณะที่มีความโกรธที่ไม่สามารถทำร้ายฆโฏตกัจได้ จึงนำหอกวาสวีศักติซึ่งใช้ได้ครั้งเดียวแล้วกลับไปหาเจ้าของเดิมออกมาขว้างใส่ฆโฏตกัจ ทำให้ฆโฏตกัจตาย เนื่องจากที่เขาตั้งใจให้เป็นแผนหลอกเอาหอกวาสวีศักติฆ่าตนเอง เพื่อไม่ให้อรชุนไม่ต้องตายในศึกแห่งนี้ด้วยหอกวาสวีศักติตามแผนของพระกฤษณะซึ่งเขาก็ยินดีร่วมแผนนี้ด้วยนั่นเอง หมวดหมู่:ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ.

ใหม่!!: พระศิวะและฆโฎตกัจ · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่า

งูเห่า (Cobras) เป็นงูพิษขนาดกลางที่อยู่ในสกุล Naja ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) วงศ์ย่อย Elapinae ซึ่งเป็นสกุลของงูพิษที่อาจเรียกได้ว่าเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดอย่างหนึ่ง.

ใหม่!!: พระศิวะและงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่าอินเดีย

งูเห่าอินเดีย หรือ งูเห่าเอเชีย หรือ งูเห่าแว่น (Indian cobra, Asian cobra, Spectacled cobra) เป็นงูพิษชนิดหนึ่ง จำพวกงูเห่า ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) งูเห่าอินเดีย ถือว่าเป็นงูเห่าที่มีสายพันธุกรรมใกล้ชิดกับงูเห่าไทย (N. kaouthia) และงูเห่าพ่นพิษสยาม (N. siamensis) ซึ่งเดิม (หรือในบางข้อมูลจัดเป็นชนิดย่อยของกันและกัน) เคยเป็นชนิดเดียวกันมาก่อน งูเห่าอินเดีย พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียเช่น อินเดีย, ศรีลังกา, บังกลาเทศ, ปากีสถาน และเนปาล มักอาศัยอยู่ตามพื้นที่ราบ, ป่าโปร่ง หรือท้องทุ่ง, ทุ่งนา กินอาหารจำพวกสัตว์ที่มีขนาดเล็ก ได้แก่ หนู, คางคก, กบ, นก เป็นต้น งูเห่าอินเดียจะออกไข่ในช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม โดยงูตัวเมียมักจะวางไข่ในรูหนู, จอมปลวก หรือเนินดิน เป็นจำนวน 10 ถึง 30 ฟอง มีระยะเวลาฟักไข่ 48 ถึง 69 วัน ปกติงูเห่าอินเดียมีความยาวประมาณ 1.9 เมตร แต่บางตัวก็ยาวมากถึง 2.4 เมตร แต่ค่อนข้างหายาก นอกจากนี้แล้วยังสามารถพบได้ในพื้นที่ ๆ สูงจากระดับน้ำทะเลถึง 2,000 เมตร (ประมาณ 6,600 ฟุต)Whitaker, Romulus; Captain, Ashok (2004).

ใหม่!!: พระศิวะและงูเห่าอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตรีมูรติ

ทวรูปตรีมูรติในศาลเคารพ บริเวณหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ที่เชื่อกันว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความรัก ตรีมูรติ เมื่อแยกออกเป็น 3 (จากซ้าย พระพรหม, พระวิษณุ, พระศิวะ) ตรีมูรติ (Trimurati, Trinity; त्रिमूर्ति) คือ การอวตารรวมของพระเป็นเจ้าสูงสุดทั้งสามองค์ในศาสนาฮินดู อันได้แก่ พระพรหม (พระผู้สร้าง) พระวิษณุ (ผู้ปกป้องรักษา) และ พระศิวะ (ผู้ทำลาย) คำว่า ตรีมูรติ มาจากภาษาสันสกฤต ตรี หมายถึง สาม มูรติ หมายถึง รูปแบบ ตรีมูรติ หมายถึง รูปแบบทั้งสามหรือรูปแบบของพระผู้เป็นเจ้าทั้งสามพระองค์ อันประกอบไปด้วย พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ เป็นหลักสำคัญในศาสนาฮินดู หากมองตามหลักปรัชญาสามารถหมายถึง พระผู้สร้าง พระผู้รักษา และพระผู้ทำลาย หรือสามารถเปรียบได้กับหลักธรรมที่ว่า เกิดขึ้น คงอยู่ และ ดับไป.

ใหม่!!: พระศิวะและตรีมูรติ · ดูเพิ่มเติม »

ตรีศูล

ตรีศูล หรือย่อว่า ตรี (Trishula; त्रिशूल, trishūla) เป็นประเภทของสามง่ามในวัฒนธรรมอินเดีย แต่ก็พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยเช่นกัน ตรีศูลมักใช้เป็นสัญลักษณ์ในศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา คำนี้มีความหมายว่า "หอกสามเล่ม" ในภาษาสันสกฤตและภาษาบาลี.

ใหม่!!: พระศิวะและตรีศูล · ดูเพิ่มเติม »

ตรีเทวี

ตรีเทวีหรือตรีศักติ (Tridevi, त्रिदेवी) คือ การอวตารรวมของภาคของมหาเทวีสูงสุดทั้งสามองค์ในศาสนาฮินดู อันได้แก่ พระแม่ปารวตี (พระมเหสีของพระศิวะ) พระลักษมี (พระมเหสีของพระวิษณุ(พระนารายณ์)) และ พระสุรัสวดี (พระมเหสีของพระพรหม) ซึ่งมหาเทวีสามองค์นี้คือพระผู้เป็นใหญ่ในศาสนาฮินดูนิกายศักติ(นิกายใหญ่ในศาสนาฮินดูที่นับถือพระแม่เป็นหลัก) หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู หมวดหมู่:เทวีในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: พระศิวะและตรีเทวี · ดูเพิ่มเติม »

ปรศุราม

ปรศุราม หรือ ปรศุรามาวตาร เป็นอวตารปางที่ ๖ ของพระวิษณุ โดยทรงอวตารเป็นพราหมณ์นามว่า "ปรศุราม" (มีอีกชื่อว่า ภควาจารย์)เพื่อลงมาปราบกษัตริย์ผู้ชั่วช้านามว่า "อรชุน" ซึ่งมี ๑,๐๐๐ มือ ซึ่งปรศุรามาวตารถือว่าเป็นปางแรกของพระวิษณุในช่วงทวาปรยุค ซึ่งเป็นยุคที่ ๓ จากทั้งหมด ๔ ยุคตามความเชื่อของศาสนาฮินดูอันได้แก่ สัตยยุค เตรตายุค ทวาปรยุค กลียุค โดยพราหมณ์ปรศุรามมีอาวุธคือขวานวิเศษซึ่งพระศิวะเป็นผู้ประทานให้แก่ปรศุราม ซึ่งต่อมาปรศุรามได้ใช้ขวานนี้สังหารกษัตริย์อรชุน(กรรตวีรยะ)นั่นเอง หลังจากการสังหารกษัตริยอรชุน หรือ กรรตวีรยะ แล้วนั้น.โอรสของกษัตริย์อรชุนเมื่อรู้เข้า ก็โกรธเป็นฟืนเป็นไฟ เดินทาไปแก้แค้นให้พระบิดาด้วยการสังหารฤๅษีชมทัคนี ผู้เป็นบิดาของปรศุราม จนถึงแก่ความตาย เมื่อปรศุรามมาเห็นร่างของบิดาที่ไร้ลมหายใจเพราะถูกสังหาร พร้อมกับสภาพของบ้านของตนที่ถูกทำลาย จึงเกิดความรู้สึกโกรธแค้น และได้สัญญาเอาไว้ว่าจะเป็นปฏิปักษ์ต่อกษัตริย์ทั้งโลกา พร้อมกับนำขวานคู่ใจเดินทางไปสังหารโอรสของกษัตริย์อรชุนพร้อมทั้งเหล่าเชื้อพระวงศ์ทั้งหลายที่เป็นผู้ชาย จะยกเว้นราชินีและเชื้อพระวงศ์ที่เป็นผู้หญิงไว้ ซึ่งปรศุรามได้ทำอย่างนี้ถึง 21 ครั้ง ก่อนที่จะวางขวานและบำเพ็ญเพียรเพื่อไถ่บาป ปรศุรามเป็นหนึ่งผู้มีอายุยืนทั้ง 7 ในวรรณคดีอินเดีย ซึ่งมีบทบาทในรามายณะและมหาภารตะ ซึ่งเขาจะมีชีวิตจนถึงการอวตารร่างที่ 10 ของพระนารายณ์คือ กัลกยาวตาร (พระกัลกี/อัศวินขี่ม้าขาว) ซึ่งเขาจะเป็นผุ้ส่งมอบอาวุธพระกัลกี ใน มหาภารตะ ปรศุรามเป็นอาจารย์ของ ภีษมะ,โทรณาจารย์ และ กรรณะ หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู หมวดหมู่:ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์.

ใหม่!!: พระศิวะและปรศุราม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุคแรกของกัมพูชา

ประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรกของกัมพูชา เริ่มจากยุคโบราณคดีจนถึงสมัยของอาณาจักรเจนละ ซึ่งเรื่องราวของกัมพูชาในสมัยโบราณคดียังไม่เป็นที่เข้าใจกันดีนัก โดยแหล่งโบราณคดีที่เก่าแก่ของกัมพูชาอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของกัมพูชาในปัจจุบัน ตำนานที่เกี่ยวข้องได้แก่ตำนานเกี่ยวกับพระทอง - นางนาคที่นาคราชเป็นผู้สร้างเมืองกัมพูชาให้แก่พระทองที่เป็นลูกเขย ราชพงศาวดารกัมพูชาถือว่าต้นตระกูลของชาวกัมพูชาเป็นตะกวดที่ขึ้นมาฟังธรรมเทศน.

ใหม่!!: พระศิวะและประวัติศาสตร์ยุคแรกของกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: พระศิวะและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบันทายศรี

ลักบนหน้าบันสลักของสถาปัตยกรรมขอม ปรากฏครั้งแรกที่ปราสาทบันทายศรีแห่งนี้ กลุ่มอาคารปราสาทบันทายศรี รูปสลักหินทรายสีชมพูรูปพญานาค ที่มีความคมชัดกว่ารูปสลักที่อื่นๆ ความละเอียดของงานแกะสลัก แผนผังปราสาท ปราสาทบันทายศรี (ប្រាសាទបន្ទាយស្រី ปราสาทบนฺทายศฺรี) เป็นปราสาทหินที่ถือได้ว่างดงามที่สุดในประเทศกัมพูชา มีความกลมกลืนอย่างสมบูรณ์ และเป็นปราสาทแห่งเดียวที่สร้างเสร็จแล้วกว่า 1000 ปี แต่ลวดลายก็ยังมีความคมชัด เหมือนกับสร้างเสร็จใหม่ ๆ ปราสาทบันทายศรีหรือเรียกตามสำเนียงเขมรว่า บันเตียไสร หมายถึง ปราสาทสตรีหรือป้อมสตรี อยู่ห่างจากตัวเมืองเสียมราฐไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 30 กิโลเมตร ใกล้กับแม่น้ำเสียมราฐในบริเวณที่เรียกว่า อิศวรปุระ หรือเมืองของพระอิศวร.

ใหม่!!: พระศิวะและปราสาทบันทายศรี · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบากอง

ปราสาทบากอง ปราสาทบากอง (ប្រាសាទបាគង) เป็นปราสาทหินในกลุ่มปราสาทโลเลย นับเป็นปราสาทในยุคแรกๆ ของอาณาจักรขอม เป็นวัดประจำรัชกาลของพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 บากองเป็นวัดบนเขาแห่งแรกๆที่สำคัญ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม มีโครงสร้างหลักเป็นศิลาแลง และตกแต่งด้วยหินทราย ยอดทรงปิรามิด 5 ชั้น จำลองรูปเขาพระสุเมรุ เพื่อสักการะพระศิวะ มีขนาดกว้างราว 700 ม. ยาว 900 ม. ล้อมด้วยคูชั้นนอกลึก 3 ม. ล้อมพื้นที่ราว 15 เฮกเตอร์ และคูชั้นใน ขนาดกว้าง 300 ม. ยาว 400 ม. ซึ่งปัจจุบันตื้นเขิน คงเหลือเพียงขั้นบันได ศูนย์กลางของปราสาทเป็นปิรามิด ขนาด 120 ม. ยาว 160 ม. ประติมากรรมที่สำคัญในปราสาทนี้คือสิงโตที่เฝ้าบันไดทางขึ้น, ประติมากรรมช้าง ที่หันหน้าออกไปยังปราสาทแม่บุญตะวันออก, รูปสลักนูนต่ำรูปอสูร และรูปสลักเทวทัศลอยตัวที่มุม.

ใหม่!!: พระศิวะและปราสาทบากอง · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบาปวน

ปราสาทบาปวน (Baphuon, ប្រាសាទបាពួន) เป็นปราสาทขอมที่อยู่กลุ่มปราสาทนครวัด สร้างขึ้นในยุคพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 (พ.ศ. 1550-1600) ตั้งอยู่ในเมืองยโสธรปุระ ทางด้านทิศใต้ของปราสาทนครวัดประมาณ 30 กิโลเมตร ปราสาทบาปวนมีลักษณะเป็นรูปทรงพีระมิด มีฐานเป็นชั้น ๆ ส่วนบนสุด เป็นปราสาทประธานหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ลักษณะของตัวปราสาทประธานมียอดเรียวแหลม คล้ายกับปราสาทพนมรุ้ง มีระเบียงคตถึงสามชั้นที่เชื่อมต่อกันได้ตลอด โคปุระขนาดใหญ่สุด อยู่ทางด้านทิศตะวันออก เครื่องบนของโคปุระ ทำด้วยเครื่องไม้มุงกระเบื้อง ซึ่งผุผังไปตามกาลเวลา โดยมีร่องรอยของการเจาะคานไว้บนหน้าบัวของโคปุระ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ประดิษฐานของศิวลึงค์ทองคำ สัญลักษณ์แทนพระศิวะ แต่ได้สูญหายไปนานแล้ว ปราสาทบาปวนจัดได้ว่าเป็นต้นแบบของศิลปะแบบบาปวนโดยแท้จริง และเป็นศิลปะร่วมแบบเขมรของปราสาทในประเทศไทยหลายแห่งด้วยกัน ซึ่งลักษณะเด่นของศิลปะสมัยนี้ ได้แก่ ภาพสลักเล่าเรื่องทำเป็นช่องเล็ก ๆ ต่อเนื่องกันลงมาในแนวดิ่ง แต่ในสมัยที่พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเข้ามาแทนที่ในศาสนาพราหมณ์ ปราสาทบาปวนถูกรื้อลงไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เพื่อนำไปสร้างพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ที่อยู่ด้านหลังปราสาท ร่องรอยต่าง ๆ ถูกโกลนเพื่อให้เข้ากับลักษณะของพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ทางรัฐบาลฝรั่งเศสจึงได้ทำการรื้อและสำรวจทำหมายเลขกันใหม่ จนกระทั่งมาถึงยุคเขมรแดง เอกสารแผนผังการจัดทำการบูรณะปราสาทบาปวนถูกเผาทำลายจนราบเรียบ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2538 ปราสาทบาปวนได้ถูกบูรณะอีกครั้งโดยความช่วยเหลือจากรัฐบาลฝรั่งเศส จนแล้วเสร็จและมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 และได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยได้รับการกล่าวขานว่าเป็นปราสาทที่สวยที่สุดในกลุ่มปราสาทนครวั.

ใหม่!!: พระศิวะและปราสาทบาปวน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระศิวะและปราสาทพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทหินวัดพู

ปราสาทวัดพู ปราสาทวัดพู เป็นโบราณสถานในประเทศลาว ซึ่งเป็นมรดกโลกแห่งที่สองของประเทศลาว เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่สร้างถวายพระศิวะ ตั้งอยู่บนเนินเขาภู หรือเรียกกันว่าภูควาย ห่างจากตัวเมืองเก่าจำปาศักดิ์ประมาณ 6 กิโลเมตร ลักษณะของปราสาทเป็นเทวสถานขอม คล้ายกับเขาพระวิหาร สร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 12 ในสมัยของพระเจ้ามเหนทรวรมัน ถือว่าเป็นปราสาทหินที่มีอายุเก่าแก่ที.

ใหม่!!: พระศิวะและปราสาทหินวัดพู · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทปักษีจำกรุง

ปราสาทปักษีจำกรุง มองจากด้านตะวันออก ปราสาทปักษีจำกรุง (ប្រាសាទបក្សីចាំក្រុង บฺราสาทบกฺสีจำกฺรุง) เป็นปราสาทหินขนาดเล็ก สร้างขึ้นเป็นเทวาลัย ถวายแด่พระศิวะ ปราสาทแห่งนี้เคยมีเทวรูปพระศิวะทองคำประดิษฐานอยู่ด้วย ปราสาทแห่งนี้ตั้งอยู่ด้านซ้ายของนครธมเมื่อเข้าทางประตูด้านใต้ สร้างโดยพระเจ้าหสวรรมัน เพื่ออุทิศถวายพระเจ้ายโศวรมัน ผู้เป็นพระบิดา การก่อสร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระเจ้าราเชนทรวรรมันที่ 2 (ค.ศ. 944–968) นับว่าสร้างก่อนปราสาทแปรรูป คำว่า "ปักษีจำกรุง" หมายถึง ปักษีหรือนกอยู่ภายใต้ปีกที่กางออก ด้วยมีตำนานว่า พระราชาทรงพยายามจะหนีข้าศึกที่เข้ามาโจมตีพระนคร แต่พลันมีพญานกตัวมหึมา ร่อนลงมาสยายปีกคุ้มครองพระองค์เอาไว้ ปราสาทแห่งนี้นับเป็นปราสาทสมัยแรกที่สร้างด้วยวัสดุทนทาน เช่นอิฐ และศิลาแลง และมีการประดับตกแต่งด้วยหินทราย ปูนที่ฉาบผิวด้านนอกส่วนใหญ่ชำรุดเสียหายไป และลวดลายที่สลักส่วนใหญ่ก็ชำรุดไปมาก นับเป็นปราสาทแห่งแรก ๆ ที่สร้างเป็นชั้นและสร้างบนเนินเขา แล้วสร้างปรางค์ครอบไว้.

ใหม่!!: พระศิวะและปราสาทปักษีจำกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทเมืองต่ำ

ปราสาทเมืองต่ำ เป็นหนึ่งในกลุ่มปราสาทมรรคโค เป็นศาสนสถานที่สร้างตามคติความเชื่อทางศาสนาฮินดู สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น เพื่อถวายพระศิวะ มีลักษณะเป็นศาสนสถานประจำเมืองหรือประจำชุมชน ตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดปราสาทบูรพาราม ตำบลจระเข้มาก อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ คำว่า เมืองต่ำ ไม่ใช่ชื่อดั้งเดิม แต่เป็นชื่อที่ชาวพื้นเมืองเรียกโบราณสถานแห่งนี้ เพราะปราสาทแห่งนี้ตั้งอยู่บนพื้นราบ ส่วนปราสาทพนมรุ้งตั้งอยู่บนเชิงเขา ซึ่งทั้งปราสาทเมืองต่ำและปราสาทพนมรุ้งอยู่ไม่ห่างกันมาก คือห่างกันเพียง 8 กิโลเมตร นอกจากนี้ วัสดุส่วนหนึ่งจากโบราณสถาน และโบราณวัตถุ ของปราสาทเมืองต่ำ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงนำมาเป็นส่วนประกอบในการทำพระเครื่อง ที่เรียกว่า "พระสมเด็จจิตรลดา" อีกด้วย ปราสาทเมืองต่ำ เป็นศาสนาสถาน ศิลปะขอมแบบบาปวน อายุประมาณ..

ใหม่!!: พระศิวะและปราสาทเมืองต่ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปริภัณฑ์ วัชรานนท์

ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (ชื่อเล่น โต๊ะ) เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 เป็นนักพากย์ภาพยนตร์จีน ที่เป็นที่รู้จักคนหนึ่งของเมืองไทย ในนามทีมพากย์พันธมิตร จะเป็นผู้ให้เสียงพากย์ โจว ซิงฉือ, เจ็ต ลี และ เฉินหลง ต่อจากทีมพากย์อินทรี เป็นผู้ก่อตั้งทีมพากย์พันธมิตร และเป็นหัวหน้าทีม เขาเริ่มงานพากย์จากการพากย์หนังกลางแปลง สถานที่แรกที่เขาเริ่มพากย์ คือ อ่าวลึกเหนือ จังหวัดกระบี่ โดยภาพยนตร์เรื่องแรกที่เขาพากย์คือ ภาพยนตร์อินเดียเรื่อง สายน้ำวิปโยค และต่อมาก็ได้พากย์หนังในโรงภาพยนตร์ ต่อมา เขาก็มาเริ่มพากย์ให้กับทางช่อง 3ในปี..

ใหม่!!: พระศิวะและปริภัณฑ์ วัชรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลัดขิก

ปลัดขิกทำจากไม้รัก ปลัดขิก เป็นรูปจำลองอวัยวะเพศชาย มักทำด้วยไม้ ใช้เป็นเครื่องรางของขลัง อ้ายขิก, ไอ้ขิก หรือ ขุนเพ็ด ก็เรียก.

ใหม่!!: พระศิวะและปลัดขิก · ดูเพิ่มเติม »

นกศิวะ

นกศิวะ เป็นนกขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Minla (มาจากภาษาเนปาลคำว่า minla หมายถึง นกศิวะหางแดง; สำหรับชื่อสามัญในภาษาไทยสันนิษฐานว่ามาจากสีของนกศิวะปีกสีฟ้าที่เป็นสีขาว เหมือนพระศิวะที่มีกายสีขาว) ในวงศ์นกกะรางและนกหางรำ (Leiothrichidae) เป็นนกขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด (และอาจจะแบ่งออกได้เป็นเพียงชนิดเดียว คือ นกศิวะหางแดง).

ใหม่!!: พระศิวะและนกศิวะ · ดูเพิ่มเติม »

นางกาลอัคคีนาคราช

นางกาลอัคคี (Kanavki) เป็นตัวละครใน มหากาพย์รามเกียรติ์ของไทยและรามายณะต้นฉบับของอินเดียและศรีลังกา ในรามเกียรติ์ของไทยเป็นธิดาพญากาลนาคกับนางนาคประภา เป็นนาคกับพระมเหสีองค์แรกของทศกัณฐ์แห่งกรุงลงกา มีบุตรชื่อบรรลัยกัลป์ ในรามายณะต้นฉบับ ปารากฎชื่อเป็น ธัญญามาลินี(Dhanyamalini) ส่วนในเรียมเกร์ของประเทศกัมพูชาและยามะซะตอของพม่าไม่ปารากฎ(เพราะเนื้อเรื่องของเนื้อหาสั้นกว่า มหากาพย์รามเกียรติ์ของไทย).

ใหม่!!: พระศิวะและนางกาลอัคคีนาคราช · ดูเพิ่มเติม »

นางมณโฑ

นางมณโฑ ในมหากาพย์รามายณะเรียกว่า มนโททรี (मंदोदरी มํโททรี) เป็นชายาของพาลี ทศกัณฐ์ หนุมาน และพิเภก โดยระหว่างเป็นมเหสีของทศกัณฐ์ นางได้ให้กำเนิดนางสี.

ใหม่!!: พระศิวะและนางมณโฑ · ดูเพิ่มเติม »

นางสีดา

นางสีดา จากการแสดง รามายณะ ที่ยอกจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งสีดาในรามายณะฉบับอินโดนีเซีย แต่งตัวด้วยการนำเอาใบหญ้ามาคลุมตัวหน้า 13 ประชาชื่น, ''''เยี่ยมบ้าน ส.พลายน้อย 88 ปี วันนี้...สบายดี "สนุกกับการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ในทะเลหนังสือ"'' โดย พนิดา สงวนเสรีวานิช. '''มติชน'''ปีที่ 40 ฉบับที่ 14318: วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 นางสีดา (Sita) เป็นตัวละครเอกจากเรื่องรามเกียรติ์ โดยเป็นบุตรสาวของทศกัณฐ์กับนางมณโฑ และเป็นอัครมเหสีของพระราม แต่ในรามายณะของอินเดียหลายฉบับบอกว่านางสีดาเป็นธิดาของพระภูมิเทวีหรือพระแม่ธรณี.

ใหม่!!: พระศิวะและนางสีดา · ดูเพิ่มเติม »

นางโมหิณี

นางโมหิณี (मोहिनी) เป็นอวตารที่เป็นสตรีปางเดียวของพระวิษณุ นางโมหิณีได้รับการกล่าวถึงในระบบความเชื่อของฮินดูในมหากาพย์มหาภารตะซึ่งไปแย่งเอาน้ำอัมฤทธิ์กลับคืนจากพวกอสุราเพื่อคืนแก่เทพเทวา นอกจากนี้ยังมีตำนานเล่าขานอื่นอีก อาทิเช่น การแต่งงานกับพระศิวะและมีบุตรเป็นศัตรา (IAST Śāstā) รวมถึงการทำลายนนทกและกำเนิดหนุมานในเรื่องรามเกียรต.

ใหม่!!: พระศิวะและนางโมหิณี · ดูเพิ่มเติม »

นิลพัท

นิลพัท (Nila, สันสกฤต: नील) เป็นบุตรพระกาฬ พระกาฬมอบให้พระอิศวร พระอิศวรมอบให้เป็นบุตรบุญธรรมของท้าวมหาชมพู เจ้าเมืองชมพู มีฤทธิ์มากเทียบเท่ากับหนุมาน ไม่ถูกกับหนุมาน จึงกลั่นแกล้งหนุมานตอนพระรามสั่งให้กองทัพลิงไปขนหินถมถนนไปสู่กรุงลงกา หนุมานกับนิลพัทเลยต่อสู้กัน พระรามจึงมาสงบศึกและตัดสิน เมื่อทราบความว่านิลพัทเป็นฝ่ายหาเรื่องก่อน พระรามกริ้วนิลพัทมาก เนรเทศให้ไปอยู่เมืองขีดขินสั่งให้คอยส่งเสบียงอาหารให้แก่กองทัพ เมื่อเสร็จศึกลงกาพระรามแต่งตั้งให้เป็นอุปราชเมืองชมพูมีนามใหม่ว่า พระยาอภัยพัทวงค์ นิลพัทมีลักษณะเหมือนหนุมานทุกอย่าง เพียงแต่มีกายสีดำ มีกุณฑล ขนเพชร เขี้ยวแก้ว สี่หน้า แปดกร ในทางวิชาการละคร อาจกล่าวได้ว่า ตัวละคร เช่น นิลพัทเป็นด้านที่อยู่ตรงข้ามกับหนุมานก็ว่าได้ (Split personality).

ใหม่!!: พระศิวะและนิลพัท · ดูเพิ่มเติม »

นนทก

นนทก ในรามเกียรติ์ หรือ (Bhasmasura Praveen, Bhasmasur Praveen หรือ भस्मासुर) ในตำนานฮินดู เป็นตัวละครที่ได้รับพรจากพระศิวะมีนิ้ววิเศษชี้ไปที่ผู้ใดผู้นั้นต้องตาย สร้างความเดือนร้อนแก่เหล่าเทวดา พระวิษณุจำต้องแปลงเป็นนางโมหิณีมาล่อหลอกให้นนทกร่ายรำชี้นิ้วไปที่ตนเองจนถึงแก่ความตาย นนทกเป็นต้นกำเนิดของทศกัณฐ์ในรามเกียรต.

ใหม่!!: พระศิวะและนนทก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเฌลัม

แผนที่แม่น้ำเฌลัม แม่น้ำเฌลัม (Jhelum River, Jehlam River; ਜੇਹਲਮ) เป็นแม่น้ำสายหลักในประเทศอินเดียและปากีสถาน เป็นหนึ่งในแม่น้ำใหญ่ทั้งห้าสาย (ปัญจนที) ของภูมิภาคปัญจาบและเป็นแม่น้ำสาขาของแม่น้ำสินธุ มีความยาวรวม 725 กิโลเมตร (450 ไมล์) แม่น้ำเฌลัมเป็นแม่น้ำที่อยู่ทางตะวันตกสุดของภูมิภาคปัญจาบ มีต้นน้ำอยู่ที่บ่อน้ำพุเวรีนาค ตีนเขาปีร์ปัญชัล (Pir Panjal) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐชัมมูและกัศมีร์ ไหลผ่านเมืองศรีนครและทะเลสาบวูลาร์ ก่อนจะไหลรวมกับแม่น้ำคุนฮาร์ในหุบเขาคากาน แม่น้ำสายนี้ไหลเข้าแคว้นปัญจาบในปากีสถานที่เขตเฌลัมและไหลผ่านที่ราบปัญจาบไปรวมกับแม่น้ำจนาพที่เขตฌังค์ (Jhang) ชื่อสันสกฤตของแม่น้ำเฌลัมคือ "วิตัสตา" (Vitasta) ซึ่งตามตำนานเป็นพระนามที่พระศิวะประทานให้พระปารวตีหลังลงมาจุติเป็นแม่น้ำเพื่อปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายตามคำร้องขอของฤๅษีกัศยป ชื่อนี้ยังปรากฏในคัมภีร์ฤคเวทหลายครั้ง ในภาษากรีกโบราณเรียกแม่น้ำสายนี้ว่า "ฮือดัสเปส" หรือ "ไฮแดสพีส" (Hydaspes) โดยในเทพปกรณัมกรีกกล่าวว่า ไฮแดสพีสเป็นบุตรของธอมัส เทพเจ้าแห่งท้องทะเลกับอิเล็กตรา หนึ่งในกลุ่มไพลยาดีส มีพี่น้องคือไอริสและฮาร์พี แม่น้ำเฌลัมเป็นหนึ่งในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญในประวัติศาสตร์ ในปีที่ 326 ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชและกองทัพข้ามแม่น้ำแห่งนี้เพื่อทำศึกกับพระเจ้าโปรสในยุทธการที่แม่น้ำไฮแดสพีส (Battle of the Hydaspes) ในปี..

ใหม่!!: พระศิวะและแม่น้ำเฌลัม · ดูเพิ่มเติม »

แรกนาขวัญ

วาดในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แสดงพิธีแรกนาขวัญในพม่า แรกนาขวัญ (Ploughing Ceremony; បុណ្យច្រត់ព្រះនង្គ័ល; မင်္ဂလာလယ်တော် Mingala Ledaw หรือ လယ်ထွန်မင်္ဂလာ Lehtun Mingala) เป็นพิธีกรรมที่พบเห็นได้ในหลายประเทศทางแถบเอเชีย จัดขึ้นเพื่อเริ่มต้นฤดูการปลูกข้าวแบบดั้งเดิม ในประเทศไทย การแรกนาขวัญซึ่งกระทำโดยราชสำนักนั้นประกอบด้วยพิธีสองอย่างตามลำดับ คือ พระราชพิธีพืชมงคล เป็นพิธีพุทธซึ่งตั้งขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ กับพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นพิธีพราหมณ์ซึ่งกระทำสืบเนื่องมาแต่สมัยสุโขทัย ปัจจุบัน เรียกวันแรกนาขวัญว่า วันพืชมงคล ซึ่งจัดไม่ตรงกันทุกปีสุดแต่สำนักพระราชวังจะกำหนด วันพืชมงคลยังเป็นวันเกษตรกรไทย เพื่อระลึกถึงความสำคัญของเกษตรกรรมในเศรษฐกิจไทย และเป็นวันหยุดราชการด้วย แต่ไม่เป็นวันหยุดธนาคาร.

ใหม่!!: พระศิวะและแรกนาขวัญ · ดูเพิ่มเติม »

โมหิต เรนะ

มหิต เรนะ (Mohit Raina) เป็นนักแสดงชายชาวอินเดีย มีชื่อเสียงโด่งดังจากบท พระศิวะ จากซีรีส์เรื่อง ศิวะ พระมหาเทพ และเรื่อง มหาภารตะ และบทบาท พระเจ้าอโศกมหาราช ในซีรีส์เรื่อง อโศกมหาร.

ใหม่!!: พระศิวะและโมหิต เรนะ · ดูเพิ่มเติม »

โยนี (ภาษาสันสกฤต)

หินโยนีใน Cát Tiên sanctuary ประเทศเวียดนาม โยนี หรือ โยนิ (योनि) เป็นภาษาสันสกฤตหมายถึงอวัยวะเพศหญิง ตรงข้ามกับลึงค์ คำนี้มีหลายความหมายตามบริบท เช่น มดลูก สถานที่เกิด เกสรตัวเมีย ฐานรองรับ แหล่งที่มา ต้นกำเนิด น้ำพุ บ้าน รัง เพนียด แหล่งเก็บรักษา ที่นั่ง ปัญญ.

ใหม่!!: พระศิวะและโยนี (ภาษาสันสกฤต) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

รงเรียนเมืองพลพิทยาคม (Muangphonpittayakom School) อักษรย่อ (ม.พ.ค.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภท เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด ตั้งอยู่ เลขที่ 123 ถนนเมืองพล-แวงน้อย ตำบลลอมคอม อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: พระศิวะและโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โอ้ ศิวะ!! ช่วยด้วย

อ้ ศิวะ!! ช่วยด้วย (Neeli Chatri Wale) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระศิวะและโอ้ ศิวะ!! ช่วยด้วย · ดูเพิ่มเติม »

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157 โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศิลป์คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบี่กระบอง รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่งด้วยสี ลงรักปิดทอง ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขน ในสมัยโบราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็นทำนองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบันสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าที่ในการจัดการแสดงคำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พระศิวะและโขน · ดูเพิ่มเติม »

ไชยามพวาน

มพวาน หรือ ไชยามพวาร เป็นหนึ่งในเทวดา 18 องค์ที่อาสาอวตารลงมาเป็นวานรสิบแปดมงกุฎทหารเอกของพระราม (หัวโขนของวานรสิบแปดมงกุฎจะมีวงกลมสีเหลือทองหรือมงกุฎครอบอยู่) เทวดาผู้อวตารลงมาเป็นไชยามพวาน คือ พระอีศาณหรือพระวิศาลเทวบุตร แบ่งภาคลงมา ในทัพเมืองขีดขินของสุครีพ ไชยามพวานได้รับพรจากพระอิศวรให้เป็นผู้ถือธงชัยนำกองทัพ เพราะมีนามเป็นมงคลข่มศัตรู เมื่อเสร็จศึกได้รับการแต่งตั้งเป็นเสนาฝ่ายขวาเมืองขีดขิน.

ใหม่!!: พระศิวะและไชยามพวาน · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี V

ลโก้เกม ไฟนอลแฟนตาซี V ไฟนอลแฟนตาซี V (ファイナルファンタジーV; Final Fantasy V) เป็นเกมแนวเกมเล่นตามบทบาท พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบริษัท สแควร์ (ปัจจุบันคือ สแควร์อีนิกซ์) ในปี พ.ศ. 2535 ภายหลังได้ถูกรีเมค ลงบนเครื่องเพลย์สเตชัน ในปี พ.ศ. 2541 และเกมบอยแอดวานซ์ ในปี พ.ศ. 2549 ไฟนอลแฟนตาซี V ไม่มีการจำหน่ายภาคภาษาอังกฤษบนซูเปอร์ฟามิคอม เพราะทีมงานใช้เวลาแปลไม่ทัน.

ใหม่!!: พระศิวะและไฟนอลแฟนตาซี V · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี XIII

ฟนอลแฟนตาซี XIII เป็นเกมสมมติบทบาทที่ถูกพัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบริษัทสแควร์เอนิกซ์ลงบนเครื่องเล่นเกม เพลย์สเตชัน 3 และ เอกซ์บอกซ์ 360 วางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และจำหน่ายในอเมริกาเหนือและพื้นที่ PAL ในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2553 เกมนี้ได้รับการเปิดเผยครั้งแรกในงาน E3 ปี ค.ศ. 2006 มีลักษณะทั้งแบบอนาคตและความเป็นธรรมชาติ ดำเนินเรื่องระหว่างดินแดนที่ยังคงความเป็นธรรมชาติและโลกของเครื่องจักร เกมนี้เป็นเนื้อเรื่องหลักของชุด Fabula Nova Crystallis ของเกมชุดไฟนอลแฟนตาซี.

ใหม่!!: พระศิวะและไฟนอลแฟนตาซี XIII · ดูเพิ่มเติม »

ไทโคราช

ทเบิ้ง ไทเดิ้ง หรือไทโคราช เป็นกลุ่มชนพื้นถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน.

ใหม่!!: พระศิวะและไทโคราช · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์โซนา 4

ปกของเพอร์โซนา 4 เพอร์โซนา 4 เป็นเกมเล่นตามบทบาทสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เพอร์โซนา 4 เป็นภาคหนึ่งในชุด เพอร์โซนา ซึ่งเป็นชุดย่อยของเมกามิเทนเซย์ พัฒนาโดยบริษัทแอตลัส ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในเดือน ธันวาคม ปีเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า Shin Megami Tensei: Persona 4 (ชินเมกามิเทนเซย์ เพอร์โซนา4) และเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552ในภาคพื้นยุโรป ภาคภาษาอังกฤษซึ่งจำหน่ายในอเมริกาเหนือยังแถมอาร์ตบุคและซาวแทร็คซีดีของเกมพร้อมกับเกมเช่นเดียวกับเพอร์โซนา 3 และเพอร์โซนา 4 ก็ได้รับคำวิจารณ์ในด้านบวกอย่างมากมายเช่นเดียวกัน ตัวละครในเกมนั้นได้รับการออกแบบโดยชิเงโนริ โซเอะจิมะ ยกเว้นเพอร์โซนาที่เป็นปิศาจจากเมกามิเทนเซย์ภาคก่อนๆซึ่งออกแบบโดยคาซึมะ คาเนโกะ ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2554 ได้เปิดตัวเว็บไซต์ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ของภาคอะนิเมะ และออกฉายในญี่ปุ่นครั้งแรกในวันที่ 6ตุลาคม..

ใหม่!!: พระศิวะและเพอร์โซนา 4 · ดูเพิ่มเติม »

เสาชิงช้า

งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ฐานกลมประมาณ 10.50 ม. ฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได 2 ขั้น ทั้ง 2 ด้าน ตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้า เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่ เป็นเสาหัวเม็ด ล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม โครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงาม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ทั้งหมดทา สีแดงชาด ติด สายล่อฟ้า จากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน กรมศิลปากร ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็น โบราณสถาน สำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี.

ใหม่!!: พระศิวะและเสาชิงช้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัมพา

เจ้าหญิงอัมพา ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ เป็น เจ้าหญิงแห่งแคว้นกาสี เป็นพี่สาวของ อัมพิกาและอัมพาลิกา เมื่อถึงพิธีสยุมพรให้เจ้าหญิงทั้งสามเลือกคู่ กับเจ้าชายเมืองต่างๆ ภีษมะ ต้องการให้เจ้าหญิงทั้งสาม เป็นมเหสีของ วิจิตรวีรยะ น้องชายต่างมารดา แต่เนื่องจากว่าเจ้าหญิงอัมพามีใจให้กับราชาศาลวะ แต่ภีษมะกระทำรากษสวิวาห์ ศาลวะจึงคิดว่าอัมพาเป็นสมบัติของภีษมะ แม้อัมพาจะอธิบายอย่างไรก็ตาม แต่สุดท้ายราชาศาลวะก็ไม่ต้องการอัมพา ทำให้อัมพาไปหาภีษมะอีกครั้ง แต่ภีษมะไม่รับรับนางเป็นชายา อัมพาจึงสรรหาผู้ที่จะสังหารภีษมะแต่ไม่มีใครอาสา อัมพาจึงบำเพ็ญตบะแด่พระขันธกุมาร พระขันธกุมารจึงมอบพวงมาลัย (คนที่สวมพวงมาลัยจะสังหารภีษมะได้) แต่ไม่มีราชาคนใดอาสาสังหารภีษมะ จนถึงแคว้นปัญจาละของท้าวทรุปัท นางจึงแขวนพวงมาลัยไว้หน้าเมือง แล้วจึงขอพรพระศิวะ ให้ตนเกิดใหม่เป็นผู้นำความตายสู่ภีษมะ และเผาตนเองในกองไฟ แล้วไปเกิดใหม่เป็น ศิขัณฑิณ หมวดหมู่:ตัวละครในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ en:Amba (Mahabharata).

ใหม่!!: พระศิวะและเจ้าหญิงอัมพา · ดูเพิ่มเติม »

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์

ทวสถาน กรุงเทพมหานคร เทวสถาน สำหรับพระนคร (โบสถ์พราหมณ์) หรือที่นิยมเรียกกันว่า เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 268 ถนนบ้านดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใกล้เสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พระศิวะและเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวดานพเคราะห์

ราะห์ (ภาษาสันสกฤต: ग्रह, gráha คระ-หะ ซึ่งหมายความว่า ฉกฉวย, จับ, คว้า, ยึด) คือสิ่งที่มีอำนาจในจักรวาลของพระภูมิเทวี (โลก) นพเคราะห์ (ภาษาสันสกฤต: नवग्रह, gráha นะ-พะ-คระ-หะ) หมายความว่า ๙ ภูมิ, ๙ ขอบเขต, ๙ โลก, ๙ ดาวเคราะห.

ใหม่!!: พระศิวะและเทวดานพเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาสันกาลาคีรี

ทือกเขาสันกาลาคีรี หรือภาษามลายูเรียกว่า บันจารันตีตีวังซา (Banjaran Titiwangsa, بنجرن تيتيوڠسا) หรือ บันจารันเบอซาร์ (Banjaran Besar) เป็นเทือกเขาที่กั้นพรมแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียเกือบตลอดทั้งแนว ทอดตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเริ่มต้นจากเขตแดนจังหวัดสตูลกับมาเลเซีย ทอดตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเส้นกั้นเขตแดนระหว่างจังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส กับมาเลเซีย เทือกเขานี้ยังมีแนวเข้าไปในประเทศมาเลเซียด้วย ยอดเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาสันกาลาคีรี คือ กูนุงโกร์บู (Gunung Korbu) อยู่ในเขตรัฐเประก์ของมาเลเซี.

ใหม่!!: พระศิวะและเทือกเขาสันกาลาคีรี · ดูเพิ่มเติม »

เขาพระสุเมรุ

ตรกรรมฝาผนัง เขาพระสุเมรุ เขาพระสุเมรุ ตามคติในศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน คือภูเขาที่เป็นศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล เป็นที่อยู่ของสิ่งมีวิญญาณในภพและภูมิต่าง ๆ ของสัตวโลก โดยมีปลาอานนท์หนุนอยู่ รอบๆ เขาพระสุเมรุ เขาพระสุเมรุตั้งอยู่เหนือน้ำ 84,000 โยชน์ มีภูเขารองรับ 3 ลูก โดยส่วนฐานคือ ตรีกูฏ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่าสัตบริภัณฑ์ คือ ยุคนธร กรวิก อิสินธร สุทัศ เนมินธร วินตกและอัสกัณ มีเทวดาจตุมหาราชิก และบริวารสถิตอยู่ ภายในจักรวาลมีภูเขาชื่อ หิมวา (หิมาลัย) ของจักรวาลทั้งหมด เป็นเทือกเขายาวติดกัน เป็นพืด เรียกว่าเขาจักรวาล โดยแต่ละจักรวาลมีพระอาทิตย์ พระจันทร์ ดาวดึงส์ ยังมีมหาทวีปทั้ง 4 คือ.

ใหม่!!: พระศิวะและเขาพระสุเมรุ · ดูเพิ่มเติม »

เขาไกรลาส

กรลาส แผนที่แสดงที่ตั้ง เขาไกรลาส (कैलास ไกลาส; ทิเบต: གངས་རིན་པོ་ཆེ; 冈仁波齐峰; พินอิน: Gāngrénbōqí fēng) เป็นยอดเขาแห่งหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย ตั้งอยู่ในทิศตะวันตกของเขตปกครองตนเองทิเบต ทางตอนเหนือของยอดเขานันทาเทวีราว 100 ไมล์ มีความสูง 22,020 ฟุต จัดว่าเป็นยอดเขาสูงเป็นอันดับที่ 32 ของโลก และสูงเป็นที่ 19 ในบรรดายอดเขาของเทือกเขาหิมาลัย เป็นยอดเขาที่มีอายุกำเนิดมาจนถึงปัจจุบัน 50 ล้านปี ในศาสนาฮินดูเชื่อว่าเขาไกรลาสเป็นที่ประทับของพระศิวะ ในศาสนาพุทธมีคัมภีร์สารัตถปกาสินีระบุว่าเขาไกรลาสเป็นเขาที่ประเสริฐสุดในบรรดาภูเขาในป่าหิมพานต์ และยังปรากฏในศาสนาเชนและศาสนาบอนด้วย ตามความเชื่อของศาสนาต่าง ๆ เหล่านี้ เขาไกรลาสเป็นศูนย์กลางของจักรวาล และเชื่อว่า คือแห่งเดียวกันกับเขาพระสุเมรุ เชิงเขาไกรลาส เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสำคัญหลายสายของภูมิภาคแห่งนี้ ได้แก่ แม่น้ำคงคา แม่น้ำสินธุ และยังมีทะเลสาบอีก 7 แห่งอยู่รายรอบ ซึ่งแห่งที่สำคัญ คือ "ทะเลสาบมานสโรวระ" หรือ "ทะเลสาบมานัสสะ" อยู่ทางเหนือของเขาไกรลาส ที่เชื่อกันว่า คือ "สระอโนดาต" ในป่าหิมพานต์ เชื่อกันว่าเป็นสถาน ๆ ที่เป็นต้นกำเนิดของหงส์ และหงส์จะบินกลับมาที่นี่ทุกปี ทะเลสาบมานัส ได้ถูกอ้างอิงถึงในรามายณะและมหาภารตะ ที่ระบุว่า "ทะเลสาบมานัสอันศักดิ์สิทธิ์นี้ แม้แต่ใครได้ถูกต้องสัมผัสหรือนำเอามาล้างร่างกายหรือได้อาบน้ำในทะเลสาบนี้ ผู้นั้นจะได้ไปสู่สรวงสวรรค์ และถ้าใครได้ดื่มน้ำในทะเลสาบศักดิ์สิทธิ์นี้ ก็จะได้ขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ใกล้ที่สถิตของพระศิวะ" เขาไกรลาส ปกติจะปกคลุมด้วยหิมะและน้ำแข็งสีขาวโพลน จนได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ภูเขาสีเงิน" ("ไกรลาส" หรือ "ไกลาส" เป็นคำวิเศษณ์ในภาษาสันสกฤต แปลว่า "สีเงินยวง") ทุกปีจะมีผู้จารึกแสวงบุญตามศาสนาต่าง ๆ เดินทางมาที่นี่ โดยเชื่อว่าเป็นการบูชาและได้อยู่ใกล้พระศิวะ โดยทำการประทักษิณให้ครบ 39 รอบ เป็นการเคารพบูชาอันสูง.

ใหม่!!: พระศิวะและเขาไกรลาส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Shivaศิวะศิวเทพอิศวรพระยกอ๋องซ่งเตพระศิวะเป็นเจ้าพระอิศวรพระอิศวร (พระศิวะ)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »