สารบัญ
3 ความสัมพันธ์: พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)
พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)
ระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๒๙-๒๔๒๑) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายสืบตระกูลจากราชวงศ์เวียงจันทน์ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ จึงนับเป็นผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๑๐ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ พระศรีชองฟ้า หรือ พระศรีสองฟ้า กรมการชั้นผู้ใหม่ของธาตุพนม ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านที่ ๓ ต่อจากพี.
ดู พระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)
พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)
ระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๗-๒๔๒๒ หรือ ๒๔๒๓) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๘ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวอุปละ ผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์เวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านแรกของเมืองธาตุพนมจากทั้งหมด ๔ ท่าน ซึ่งเป็นราชทินนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้นคู่กันกับบรรดาศักดิ์พระพิทักษ์เจดีย์พระมหาธาตุเชิงชุมแห่งเมืองสกลนคร.
ดู พระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)
เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)
ระอาชญาเจ้าขุนรามราชรามางกูร (ลาว: ພຣະອາດຊະຢາເຈົ້າຂຸນຣາມມະຣາຊຣາມາງກູຣ, ราว พ.ศ. ๒๓๐๐-๒๔๐๐) ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์แรกจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และทรงเป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์แรกแห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ระหว่างราวปี..
ดู พระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)