เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ดัชนี พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ระบาทสมเด็จพระนโรดม (ព្រះបាទនរោត្តម, พฺระบาทนโรตฺตม "พระบาทนโรดม") หรือ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ หรือ นักองค์ราชาวดี (អង្គ រាជាវតី, องคฺราชาวดี "องค์ราชาวดี") เสด็จพระราชสมภพเมี่อ15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

สารบัญ

  1. 44 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2401พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคลพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนีพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤตพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระองค์เจ้านโรดม พงางามพระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผาพระปิโยพระบรมท้าวธิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์พนมเปญกรมปรึกษาราชบัลลังก์กษัตรีองค์มีกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศสยุคมืดของกัมพูชาราชสกุลนโรดมรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์กัมพูชาวัดพระแก้วมรกตวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดปทุมวดีราชวรารามสมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถสมเด็จพระมหาสังฆราช (เนิล เตียง)สมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดีสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารสหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมชหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมชอินโดจีนของฝรั่งเศสธรรมยุติกนิกายในประเทศกัมพูชาท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)ประวัติศาสตร์กัมพูชาประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประเทศกัมพูชาประเทศไทยใน พ.ศ. 2401นโรดม ภูริสสระนโรดม จันทรังสีนโรดม นรินทเดชเจ้าจอมพระองค์เจ้ากำโพชราชสุดาดวง ในรัชกาลที่ 4เครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพ.ศ. 2401

พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล

ระบรมราชวังในพระราชาณาจักรกัมพูชา (ព្រះបរមរាជវាំងនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระบรมราชวำงไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) หรือ พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล (ព្រះបរមរាជវាំងចតុមុខសិរីមង្គល พฺระบรมราชวำงจตุมุขสิรีมงฺคล) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เป็นกลุ่มอาคารพระราชมนเทียรของพระมหากษัตริย์กัมพูชา พระเจ้าแผ่นดินกัมพูชาเสด็จประทับที่นี้นับแต่แรกสร้างใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

ระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี (ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี; ออกเสียง โนโรด็อม เส็ยหะโมนี; ประสูติ 14 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថ; พระบาทสีสุวัตถิ์, ในเอกสารไทยเรียกว่า "สมเด็จพระศรีสวัสดิ์") พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองพระราชอาณาจักรกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថមុនីវង្ស) เอกสารไทยในบางแห่งเรียกว่า สมเด็จพระศรีสวัสดิ์มณีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมี่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา นับตั้งแต่สมัยการยึดครองของฝรั่ง.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

พระองค์เจ้านโรดม พงางาม

มเด็จพระราชอัยยิกาขัตติยกัลยาราชสุดาวดีนโรดมพงางาม (พ.ศ. 2417 - พ.ศ. 2487) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดานวล และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระองค์ประสูติในปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระองค์เจ้านโรดม พงางาม

พระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา

ระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา (18 มกราคม พ.ศ. 2494 - เมษายน พ.ศ. 2519) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี มีพระพี่น้องร่วมพระมารดา 7 พระองค์ พระองค์ทรงพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา

พระปิโยพระบรมท้าวธิดา

ระปิโยพระบรมท้าวธิดา (พ.ศ. 2356 - 27 มิถุนายน พ.ศ. 2438) เป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม หริรักษ์รามาธิบดี พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 1 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาสมัยใหม่ และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 2 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระปิโยพระบรมท้าวธิดา มีพระนามเดิมว่า นักนางแป้น ประสูติเมื่อพ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระปิโยพระบรมท้าวธิดา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์ เกวลวงษวิสุทธิ์ สุรสีหุตมศักดิ์ อภิลักษณ์ปวโรภยชาติ บริสัษยนารถนราธิบดี (23 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและพนมเปญ

กรมปรึกษาราชบัลลังก์

กรมปรึกษาราชบัลลังก์ (ក្រុមប្រឹក្សារាជបល្ល័ង្ក กฺรุมปรึกฺสาราชปลฺลังฺก) เป็นองค์คณะบุคคลจำนวน 9 คนของประเทศกัมพูชาซึ่งมีหน้าที่คัดเลือกผู้ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชา ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งพระราชอาณาจักรกัมพูชาเมื่อวันที่ 24 กันยายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและกรมปรึกษาราชบัลลังก์

กษัตรีองค์มี

กษัตรีองค์มี หรือ พระองค์เจ้าหญิงมี หรือ นักองค์เม็ญศานติ ภักดีคำ ผ. ดร.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและกษัตรีองค์มี

กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส

กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส (French protectorate of Cambodia; ប្រទេសកម្ពុជាក្រោមអាណាព្យាបាលបារាំង; Protectorat français du Cambodge) เป็นระยะเวลาช่วงที่กัมพูชาเข้าเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสก่อนจะถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพอินโดจีนที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส จนกระทั่งกลายเป็นดินแดนที่ถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง จากนั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพฝรั่งเศส และต่อสู้จนได้รับเอกราชในที.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส

ยุคมืดของกัมพูชา

มืดของกัมพูชา เริ่มขึ้นหลังจากอาณาจักรเขมรเริ่มอ่อนแอลง ประเทศราชประกาศตัวเป็นอิสระ เกิดความวุ่นวายในราชอาณาจักร จนในที่สุดการล่มสลายของอาณาจักรเขมร.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและยุคมืดของกัมพูชา

ราชสกุลนโรดม

ราชสกุลนโรดม เป็นราชวงศ์ของกัมพูชา สถาปนาขึ้นเมื่อปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและราชสกุลนโรดม

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์กัมพูชา

หมวดหมู่:ราชินีแห่งกัมพูชา ก.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์กัมพูชา

วัดพระแก้วมรกต

วัดพระแก้วมรกต (វត្តព្រះកែវមរកត) หรือชื่อเดิมว่า วัดอุโบสถรตนาราม (វត្តឧបោសថរតនារាម) เป็นวัดในพระบรมราชวังซึ่งตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ เป็นวัดในพระราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร ด้วยมีธรรมเนียมที่คล้ายคลึงกัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและวัดพระแก้วมรกต

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดปทุมวดีราชวราราม

สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี) สมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายองค์ปัจจุบัน จำพรรษา ณ วัดปทุมวดีราชวราราม กรุงพนมเปญ วัดปทุมวดีราชวราราม หรือในภาษาเขมรเรียกว่าวัดโบตุมโวเด็ย ชื่อเดิมของวัดนี้คือวัดขปวบตายอง เป็นวัดที่ประทับของสังฆนายกฝ่ายธรรมยุติกนิกายของกัมพูชา วัดนี้เป็นวัดเก่าสร้างขึ้นในสมัยพระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ) โดยเรียกในสมัยนั้นว่าวัดขปวบตายอง จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ ย้ายเมืองหลวงมาที่พนมเปญอีกครั้ง ได้นิมนต์สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) คณะธรรมยุติกนิกายจากวัดศาลาคูหรือวัดอ็อมปึลเบ็ยมาประทับที่วัดนี้ ซึ่งในขณะนั้น วัดนี้เป็นวัดร้าง พระนโรดมให้มีการบูรณะขึ้นใหม่ และได้ปลูกบัวไว้ในคูของวัดถึง 3 มุม และพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดปทุมวดีราชวราราม วัดวัดปทุมวดีราชวรารามได้กลาเป็นศูนย์กลางการบริหารกิจการพระพุทธศาสนาฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ที่ได้ถูกรื้อฟื้นกลับเข้ามาอีกครั้งใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและวัดปทุมวดีราชวราราม

สมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถ

มเด็จพระบรมรามานโรดม ยุวนาถ (Samdech Preah Boromriem Norodom Yuvaneath) เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและสมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถ

สมเด็จพระมหาสังฆราช (เนิล เตียง)

ระสังฆราช (เที่ยง) เป็นพระสังฆนายกฝ่ายมหานิกายที่สำคัญในรัชกาลสมเด็จพระนโรดม ประสูติเมื่อ..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและสมเด็จพระมหาสังฆราช (เนิล เตียง)

สมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์

มเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์ (ประสูติ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1945 -) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี จึงถือว่าพระองค์เป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและสมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์

สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี

มเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี หรือ นักองด้วง หรือ พระองค์ด้วง (ព្រះបាទ អង្គ ឌួង; พระบาทองค์ด้วง) เสด็จพระราชสมภพเมี่อ พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี

สมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์

มเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ (សម្តេចព្រះនរោត្តម នរិន្រ្ទពង្ស, พ.ศ. 2497 - 2546) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุโดยมีพระเชษฐาคือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์

สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส

มเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส (พ.ศ. 2415 - พ.ศ. 2488) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดาเอี่ยม และเป็นพระราชบิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระองค์ประสูติในปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและสมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส

หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช

หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ หม่อมราชวงศ์ดวงใจเป็นธิดาของเป็นหม่อมเจ้าสุทัศน์ และเป็นนัดดาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ ต่อมาในเสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระโอรส/ธิดา 7 พระองค์ ได้แก.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช

หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช

หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช ประสูติระหว่างปี 2397-2399 เป็นพระธิดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) กับหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช (หลานปู่ในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข) เมื่อทรงเจริญวัยทรงได้รับการหมั้นหมายกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่มารู้ภายหลังว่าท่านทรงมีหม่อมชื่อหม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา อยู่ในวังแล้วคนหนึ่ง ด้วยทรงมีความคิดแนวก้าวหน้า ท่านจึงไม่ทรงยินยอม ทรงบังคับให้กรมหลวงพิชิตปรีชากรทรงเลิกรากับหม่อมสุ่น แต่กรมหลวงพิชิตปรีชากรทรงไม่ยินยอม นอกจากหม่อมเจ้าฉวีวาดไม่ทรงยินยอมด้วยแล้ว ทั้งยังแสดงพระอาการเอาแต่พระทัยผิดวิสัยกุลสตรีในสมัยนั้น คือทรงโยนพระของหมั้นทิ้งทางพระบัญชรตำหนักเรี่ยราดกับพื้น จนกรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงต้องให้มหาดเล็กมาเก็บคืนไป หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช เสกสมรสกับพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงมีความสนิทสนมกับครอบครัวนายโทมัส น็อกซ์ กงสุลอังกฤษ ในเวลาต่อมาท่านได้ทรงก้าวเข้าไปพัวพันกับความขัดแย้งระหว่างวังหลวงและวังหน้า โดยในวันรุ่งขึ้นหลังเหตุระเบิดที่ตึกดินในวังหลวง ท่านทรงว่าจ้างเรือสำเภาขนสมบัติและผู้ติดตามหนีไปยังเขมร พร้อมคณะละครของเจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2 ซึ่งถือเป็นคณะละครที่มีชื่อเสียงที่สุดในราชสำนักสยาม จนเรือถึงราชสำนักเขมร ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดีจากพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ (พระนามเดิม คือ นักองค์ราชาวดี) ด้วยความพอพระทัยในหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมชและคณะละครที่ท่านนำมา โรงละครโรงใหญ่ของเจ้าจอมมารดาอำภา ไกรฤกษ์ ได้กลายเป็นต้นแบบของละครในประเทศเขมรปัจจุบันนี้ ครั้งเวลาล่วงเลยไป ท่านคืนสู่สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงบวชเป็นรูปชี ทรงใช้พระชนม์ชีพอย่างสงบ และสิ้นชีพิตักษัยเมื่อมีพระชนมายุได้ 80 ปี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช กล่าวอ้างในหนังสือ "โครงกระดูกในตู้" ว่าพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์โปรดสถาปนาหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช เป็นพระชายา มีพระอิสริยยศเป็นพระราชเทวี มีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งคือ พระองค์เจ้านโรดม พานคุลี จึงมีการกล่าวถึง "โครงกระดูกในตู้" ว่าให้ข้อมูลเกี่ยวกับหม่อมเจ้าฉวีฉาดผิดจากข้อเท็จจริงทั้งในเว็บพันทิป และเรือนไทย โดยได้ให้ข้อมูลว่าหม่อมเจ้าฉวีวาดมิได้เสกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ และไม่มีความเกี่ยวข้องกับวิกฤตวังหน้า แท้จริงแล้วหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมชได้สมรสกับสามัญชนกัมพูชา 5 คน มีบุตรชายเพียงคนเดียวคือ นุด หรือ น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและอินโดจีนของฝรั่งเศส

ธรรมยุติกนิกายในประเทศกัมพูชา

มเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี) สมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายแห่งพระราชอาณาจักรกัมพูชา ธรรมยุติกนิกายเข้าสู่กัมพูชาในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและธรรมยุติกนิกายในประเทศกัมพูชา

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) มีนามเดิมว่า แก้ว อภัยวงศ์ (เกิด: 5 มกราคม พ.ศ. 2396 — ถึงแก่อนิจกรรม: 15 กันยายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)

ประวัติศาสตร์กัมพูชา

ประวัติศาสตร์กัมพูชา เริ่มตั้งแต่ยุคของอาณาจักรฟูนัน อาณาจักรเจนละ พัฒนามาสู่กัมพูชายุคเมืองพระนคร ซึ่งมีความยิ่งใหญ่จนสามารถสร้างนครวัด นครธม เป็นศูนย์กลางของอาณาจักร จนกระทั่งพ่ายแพ้แก่อยุธยากลายเป็นรัฐบรรณาการของอยุธยา จนเมื่อฝรั่งเศสเข้ามามีอำนาจในอินโดจีน กัมพูชากลายเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส และเป็นรัฐในอารักขาของญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสิ้นสุดสงครามโลก กัมพูชาได้เป็นประเทศเอกราช แต่เกิดความสับสนวุ่นวายภายในประเทศเนื่องจากความขัดแย้งภายใน ประเทศตกอยู่ภายใต้การปกครองของเขมรแดงอยู่ระยะหนึ่ง จนกองกำลังของเฮงสัมรินที่มีเวียดนามหนุนหลังเข้ามาขับไล่เขมรแดงออกไป และการเข้ามาไกล่เกลี่ยของสหประชาชาติ เพื่อยุติสงครามกลางเมือง.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและประวัติศาสตร์กัมพูชา

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและประเทศกัมพูชา

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2401

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2401 ในประเทศไท.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและประเทศไทยใน พ.ศ. 2401

นโรดม ภูริสสระ

มเด็จพระ นโรดม ภูริสสระ (Norodom Phurissara) เป็นนักการเมืองฝ่ายซ้ายในกัมพูชา พระองค์เป็นหนึ่งในสมาชิกราชวงศ์ที่หายสาบสูญไประหว่างถูกกักกันโดยเขมรแดงหลังจากขึ้นสู่อำน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและนโรดม ภูริสสระ

นโรดม จันทรังสี

นักองค์มจะ นโรดม จันทรังสี (Norodom Chantaraingsey) เป็นเชื้อพระวงศ์และนักการเมืองชาตินิยมในกัมพูชา โดยเริ่มจากเป็นหัวหน้ากองกำลังต่อสู้กับฝรั่งเศส และเป็นผู้นำกองทัพแห่งชาติเขมรในสงครามกลางเมืองกัมพูชา นอกจากนั้น ยังทำธุรกิจและเป็นนักเขียนด้วย เชื่อว่าพระองค์ถูกสังหารระหว่างสู้รบกับเขมรแดงใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและนโรดม จันทรังสี

นโรดม นรินทเดช

ระองค์เจ้านโรดม นรินทเดช (Norodom Norindeth) เป็นเชื้อพระวงศ์ในสายสกุลนโรดมของกัมพูชา และเป็นนักการเมืองระหว่าง..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและนโรดม นรินทเดช

เจ้าจอมพระองค์เจ้ากำโพชราชสุดาดวง ในรัชกาลที่ 4

้าจอมพระองค์เจ้ากำโพชราชสุดาดวง หรือ นักสุดาดวงราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๖, ตอน ๓๔, ๑๙ พฤศจิกายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและเจ้าจอมพระองค์เจ้ากำโพชราชสุดาดวง ในรัชกาลที่ 4

เครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา

รื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา (គ្រឿងឥស្សរិយយសព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា เคฺรืองอิสฺสริยยสพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา, Ordre royal du Cambodge; เทียบเป็นคำภาษาไทยคือ "เครื่องราชอิสริยาภรณ์พระราชอาณาจักรกัมพูชา") เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา สถาปนาครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารและเครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์พระกรุณา พระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดีพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์พระบาทสมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์พระนโรดมนักองค์ราชาวดีนโรดม