โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระถังซัมจั๋ง

ดัชนี พระถังซัมจั๋ง

วาดพระถังซัมจั๋ง เหี้ยนจึง หรือสำเนียงกลางว่า เสวียนจั้ง (ประมาณ ค.ศ. 602 – 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 664) หรือที่รู้จักในนิยายไซอิ๋วว่า ถังซัมจั๋ง (唐三藏) เป็นพระภิกษุที่บำเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญา มาแต่เยาว์ เมื่อเติบใหญ่ขึ้นจึงได้ออกเดินทาง โดยได้เขียนเป็นบันทึกการเดินทางไว้ด้วย ซึ่งเขียนขึ้นในปี..

44 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1170พ.ศ. 1183พระพุทธรูปแห่งบามียานพระธัมมปาละพระไภษัชยคุรุพระเจ้ากนิษกะพระเจ้าอโศกมหาราชกวนอิมการค้าเครื่องเทศกุสินารามหาปรัชญาปารมิตาสูตรมาสค์ไรเดอร์โกสต์รายพระนามเทวดาจีนลิงลุมพินีวันวัดม้าขาววัดเวฬุวันมหาวิหารวันวิสาขบูชาวันอัฏฐมีบูชาวันอาสาฬหบูชาศาสนาพุทธในประเทศบังกลาเทศสังเวชนียสถานสามก๊กสารนาถหวง เสี่ยวหมิงองค์หญิงพัดเหล็กทับทิม (ผลไม้)ตันกุ๋นตือโป๊ยก่ายซัวเจ๋งปรมัตถทีปนีปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตรนาลันทานาคารชุนะโยคาจารโซอิชิโร โฮะชิไซอิ๋วไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมารไซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่ายไซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุมเกสริยาสถูปเห้งเจียเด็กแดงเง็กเซียนฮ่องเต้

พ.ศ. 1170

ทธศักราช 1170 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและพ.ศ. 1170 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1183

ทธศักราช 1183 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและพ.ศ. 1183 · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปแห่งบามียาน

ระพุทธรูปแห่งบามียาน (د بودا بتان په باميانو کې De Buda butan pe bamiyano ke; تندیس‌های بودا در باميان tandis-ha-ye buda dar bamiyaan) เป็นพระพุทธรูปยืนจำนวนสององค์ที่สลักอยู่บนหน้าผาสูงสองพันห้าร้อยเมตรในหุบผาบามียาน ณ จังหวัดบามียาน ในพื้นที่ฮาซาราจัตทางตอนกลางของประเทศอัฟกานิสถาน อันห่างจากกรุงคาบูลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณสองร้อยสามสิบกิโลเมตร หมู่พระพุทธรูปนี้สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 10 ตามศิลปะแบบกรีกโบราณ หมู่พระพุทธรูปนี้ถูกทำลายด้วยระเบิดไดนาไมต์เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2544 ตามคำสั่งของนายมุลลอฮ์ มุฮัมมัด อุมัร ประมุขของรัฐบาลฏอลิบาน ซึ่งให้เหตุผลว่ากฎหมายอิสลามไม่อนุญาตให้บูชารูปเคารพ ในขณะที่นานาประเทศต่างการประณามการกระทำของรัฐบาลฏอลิบานอย่างรุนแรง เพราะหมู่พระพุทธรูปนี้มิใช่สมบัติของบุคคลใดบุคคลหนึ่งแต่เป็น "มรดกโลก" อันเป็นสาธารณสมบัติและความภาคภูมิใจของคนทั้งโลก โดยญี่ปุ่นและสวิตเซอร์แลนด์ร่วมใจกันสนับสนุนให้มีการปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปนี้อีกครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและพระพุทธรูปแห่งบามียาน · ดูเพิ่มเติม »

พระธัมมปาละ

ระธัมมปาละ เป็นพระเถระองค์สำคัญของพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีช่วงชีวิตอยู่ะระหว่างปี..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและพระธัมมปาละ · ดูเพิ่มเติม »

พระไภษัชยคุรุ

วัดโฮรีว พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคต เป็นพระพุทธเจ้าที่พบเฉพาะในนิกายมหายาน ไม่พบในฝ่ายเถรวาท พระนามของท่านหมายถึงพระตถาคตเจ้าผู้เป็นบรมครูแห่งยารักษาโรค ผู้มีรัศมีสีน้ำเงินดังไพฑูรย์ พระนามอื่นๆของท่านคือ พระไภษัชยคุรุตถาคต พระมหาแพทย์ราชาพุทธเจ้า พระมหาไภษัชยราชพุทธเจ้า เป็นที่นิยมนับถือในหมู่ชาวจีนและชาวทิเบต.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและพระไภษัชยคุรุ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากนิษกะ

ระเจ้ากนิษกะบนเหรียญทอง และอีกด้านเป็นรูปพระพุทธเจ้า พระเจ้ากนิษกะ หรือ พระเจ้ากนิษกะมหาราช (Kanishka, กุษาณะ: Κανηϸκι) เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 แห่งอาณาจักรกุษาณะในเอเชียใต้ ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 ทรงมีชื่อเสียงจากความสำเร็จด้านการทหาร การปกครอง และฐานะผู้นำที่ยิ่งใหญ่ นอกจากนี้ยังทรงเป็นผู้กำหนดมหาศักราชขึ้นด้วย ที่สำคัญคือ ทรงเป็นองค์อัครราชูปถัมภ์ที่ยิ่งใหญ่ของพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งเปรียบได้กับพระเจ้าอโศกมหาราช ที่ทรงเป็นองค์อัครราชูปถัมภ์ของนิกายหินยาน ราชธานีของพระองค์คือเมืองเปศวรในประเทศปากีสถานปัจจุบัน พระเจ้ากนิษกะเป็นนัดดาของพระเจ้ากัทพิเสส ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรกุษาณะ ได้ครองราชย์ในปี พ.ศ. 621 พระองค์มีความเลื่อมใสในพุทธศาสนามากจนได้รับขนานนามว่า "พระเจ้าอโศกองค์ที่ 2" และทรงแผ่อาณาจักรกว้างไกลครอบคลุม คันธาระ แคชเมียร์ สินธุ และมัธยประเทศ (ปัจจุบันอยู่ในเขตอิหร่าน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน เติร์กเมนิสถาน และบางส่วนของอินเดีย) ในสมัยนี้พุทธศาสนามหายานแผ่ไปสู่เอเชียกลางและจีนอย่างรวดเร็ว วรรณคดีภาษาสันสกฤตได้เจริญรุ่งเรืองแทนภาษาบาลี พระภิกษุที่มีความรู้ในยุคนี้คือ ท่านปารศวะ ท่านอัศวโฆษ ท่านวสุมิตร เป็นต้น ในด้านการแกะสลักพุทธศิลป์คันธาระ ซึ่งเริ่มต้นในสมัยพระเจ้ามิลินท์ ก็มีความเจริญอย่างขีดสุดในสมัยพระองค์ พระองค์ทรงสร้างวัดวาอาราม เจดีย์วิหารอย่างมากมาย พระเฮี่ยนจังพระสงฆ์ชาวจีนผู้จาริกสู่อินเดียเมื่อราว พ.ศ. 1100 เมื่อจาริกถึงเมืองปุรุษปุระ เมืองหลวงของพระองค์จึงกล่าวว่าพระเจ้ากนิษกะ ทรงสร้างวิหารหลังหนึ่ง ทรงให้นามว่า "กนิษกะมหาวิหาร" แม้ว่าพระวิหารจะทรุดโทรมลงแล้ว แต่พระวิหารมีศิลปะที่งดงามยากที่จะหาที่ใดเหมือน และยังมีพระภิกษุอาศัยอยู่บ้าง ทั้งหมดเป็นพระนิกายหินยานหรือเถรวาท พระเจ้ากนิษกะครองราชย์อยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและพระเจ้ากนิษกะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอโศกมหาราช

ระเจ้าอโศกมหาราช (अशोकः; พ.ศ. 240 - พ.ศ. 312 ครองราชย์ พ.ศ. 270 - พ.ศ. 311) เป็นจักรพรรดิอินเดียโบราณแห่ง ราชวงศ์โมริยะ หรือเมารยะผู้ปกครอง อนุทวีปอินเดีย เกือบทั้งหมดพระองค์เป็นราชนัดดา (หลาน) ของผู้ก่อตั้งราชวงศ์เมารยะคือ พระเจ้าจันทรคุปต์ ผู้สร้างหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียโบราณและจันทรคุปต์สละทั้งหมดแล้วบวชเป็นนักบวชเชน พระเจ้าอโศกเป็นหนึ่งในจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียพระองค์ขยายจักรวรรดิของพระเจ้าจันทรคุปต์และครอบครองเหนือดินแดนตั้งแต่ทางทิศตะวันตกคือพื้นที่ ประเทศอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันขยายออกไปทางทิศตะวันออกถึงบังกลาเทศ เป็นพื้นที่ครอบคลุมอนุทวีปของชาวอินเดียทั้งหมดยกเว้นพื้นที่ที่เป็น รัฐทมิฬนาฑู ในปัจจุบัน คาร์นาตากาและรัฐเกรละ เมืองหลวงของจักรวรรดิคือเมืองปาฏลีบุตร (ในแคว้นมคธปัจจุบันนี้คือเมืองปัฏนะ)พร้อมด้วยเมืองหลวงต่างจังหวัดคือเมือง ตักศิลา และเมืองอุชเชน หรือ อุชเชนี ในครั้งพุทธกาล ประมาณ..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและพระเจ้าอโศกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

กวนอิม

กวนอิม ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ กวนอิน ตามสำเนียงกลาง เป็นพระโพธิสัตว์ในตามคติมหายาน เป็นองค์เดียวกันกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ในภาษาสันสกฤต ซึ่งมีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานในประเทศอินเดีย และได้ผสมผสานกับตำนานเรื่องเจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน ของศาสนาพื้นบ้านจีนจนก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตร ซึ่งเป็นการผสมผสานกลมกลืนทางความเชื่อที่ปราศจากข้อขัดแย้ง เนื่องจากในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรได้อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรนั้นสามารถแบ่งภาคเพื่อโปรดสรรพสัตว์ได้มากมายทั้งปางบุรุษและสตรี และเป็นธรรมดาของพระโพธิสัตว์มหายานที่เมื่อเข้าไปสู่ดินแดนอื่นทั้งทิเบต จีน หรือญี่ปุ่น ย่อมผสมผสานกลมกลืนได้กับเทพท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างในกรณีพระอวโลกิเตศวรนี้ Sir Charles Eliot ได้ตั้งข้อสังเกตว่า "คงเนื่องมาจากความสับสนทางความคิดของชาวจีนในยุคนั้น ซึ่งบูชาเทพเจ้าต่าง ๆ ของตนอยู่แล้ว และเมี่ยวซ่านก็เป็นเทพวีรชนดั้งเดิมอยู่ก่อน พออารยธรรมพระโพธิสัตว์จากอินเดียแผ่เข้าไปถึง ได้เกิดการผสานทางวัฒนธรรมเปลี่ยนชื่อเสียงคงไว้เพียงแต่คุณลักษณะต่าง ๆ พอให้แยกออกว่าเป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์" เจ้าแม่กวนอิมเป็นผู้.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและกวนอิม · ดูเพิ่มเติม »

การค้าเครื่องเทศ

วามสำคัญทางเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมและเส้นทางเครื่องเทศของเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกมาถูกปิดโดยจักรวรรดิออตโตมัน ราว ค.ศ. 1453 เมื่อจักรวรรดิไบแซนไทน์และคอนสแตนติโนเปิลล่ม ซึ่งเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการแข่งขันกันสำรวจหาเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกใหม่ที่เริ่มด้วยการพยายามหาเส้นทางรอบแอฟริกาที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจ ภาพแสดงเส้นทางการเดินทางของวัชกู ดา กามาไปยังอินเดีย (เส้นดำ) ผู้เดินทางรอบแอฟริกาคนแรก เส้นทางของเปรู ดา กูวิลยัง (สีส้ม) และอาฟงซู ดี ไปวา (สีน้ำเงิน) เส้นทางซ้อนกันเป็นสีเขียว การค้าเครื่องเทศ คือกิจการทางการพาณิชย์ที่มีต้นตอมาแต่ยุคโบราณที่เป็นการค้าขายสินค้าที่รวมทั้งเครื่องเทศ, สมุนไพร และฝิ่น การวิวัฒนาการของวัฒนธรรมของเอเชียบางส่วนก็มีอิทธิพลมาจากการค้าขายเครื่องเทศ จากนั้นก็ตามด้วยโลกกรีก-โรมันที่ใช้เส้นทางสายเครื่องหอม และเส้นทางสายโรมัน-อินเดียเป็นเส้นทางการค้ามายังตะวันออกFage 1975: 164 เส้นทางสายโรมัน-อินเดียวิวัฒนาการมาจากเทคนิคที่ใช้โดยมหาอำนาจทางการค้าของราชอาณาจักรอัคซูม (ราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช-จนถึง ค.ศ. 1000 กว่า ๆ) ที่เป็นการริเริ่มการใช้เส้นทางในทะเลแดงมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1 อัคซูมแบ่งปันความรู้ในการใช้ลมมรสุมในการเดินเรือกับชาวโรมัน (ราว 30-10 ปีก่อนคริสตกาล) และรักษาสัมพันธ์ภาพระหว่างกันอย่างปรองดองมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 เมื่ออิสลามเรืองอำนาจขึ้น ก็ปิดเส้นทางการค้าทางทะเล และหันมาใช้ขบวนคาราวานในการขนส่งทางบกไปยังอียิปต์และซุเอซ ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดความสัมพันธ์ทางการค้าโดยตรงระหว่างยุโรปไปยังอัคซูมและอินเดีย และในที่สุดพ่อค้าอาหรับก็ยึดการขนส่งสินค้าเข้ามาอยู่ในมือของตนเอง โดยการขนส่งสินค้าเข้าทางบริเวณเลแวนต์ไปให้แก่พ่อค้าเวนิสในยุโรปยุโรป การขนส่งด้วยวิธีนี้มายุติลงเมื่อออตโตมันเติร์กมาปิดเส้นทางอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและการค้าเครื่องเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กุสินารา

กุสินารา หรือ กุศินคร (कुशीनगर, کُشی نگر, Kusinaga, Kushinagar) เป็นที่ตั้งของสังเวชนียสถานแห่งที่ 4 ในสมัยพุทธกาลเป็นเมืองเอกหนึ่งในสองของแคว้นมัลละ อยู่ตรงข้ามฝั่งแม่น้ำคู่กับเมือง ปาวา เป็นที่ตั้งของ สาลวโนทยาน หรือป่าไม้สาละที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานและเป็นสถานที่ถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า กุสินาราจัดเป็นพุทธสังเวชนียสถานที่สำคัญแห่งที่ 4 ใน 4 สังเวชนียสถานของชาวพุทธ เป็นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพานแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ที่ตำบลมถากัวร์ อำเภอกุสินคร หรือกาเซีย หรือกาสยา (Kushinaga; Kasia; Kasaya) ในเขตจังหวัดเทวริยา (Devria; Devriya) รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย สาลวโนทยาน สถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า มาถากุนวะระกาโกฎ (Matha-Kunwar-Ka-Kot) ซึ่งแปลว่า ตำบลเจ้าชายสิ้นชีพ ปรากฏตามคัมภีร์ว่า เมืองนี้เคยเป็นที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้าพระนามว่าผุสสะ เป็นที่เกิดบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์หลายครั้ง เคยเป็นราชธานีนามว่ากุสาวดี ของพระเจ้ามหาสุทัสสนจักรพรรดิ์ ปัจจุบันกุสินารา มีอนุสรณ์สถานที่สำคัญคือสถูปใหญ่ซึ่งพระเจ้าอโศกมหาราชสร้างไว้และบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ วิหารปรินิพพานซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางปรินิพพานอยู่ภายในและมีซากศาสนสถานโบราณโดยรอบมากม.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและกุสินารา · ดูเพิ่มเติม »

มหาปรัชญาปารมิตาสูตร

ปัญจวิงศติ สาหัสริกา ปรัชญาปารมิตาสูตร หรือ มหาปรัชญาปารมิตาสูตร เป็นพระสูตรที่สำคัญพระสูตรหนึ่งของพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน แปลจากภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีนโดยพระพระเสวียนจั้ง (พระถังซำจั๋ง) ในภาษาจีนว่า ต้าปัวเญ่ ปัวหลัวมี่ตัวจิง (大般若波羅蜜多經) หรือ มั่วเหอ ปัวเญ่ ปัวหลัวมี่ตัวจิง (摩訶般若波羅蜜多經) พระสูตรนี้เป็นการรวบรวมเอาสูตรต่างๆ ที่ว่าด้วยปรัชญา (ปัญญา) และปารมิตา (บารมี) มารวมกันเป็นจำนวน 600 ผูก 390 ปริเฉท พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง ณ สถานที่ต่างๆ 16 แห่ง ดังนี้.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและมหาปรัชญาปารมิตาสูตร · ดูเพิ่มเติม »

มาสค์ไรเดอร์โกสต์

มาสค์ไรเดอร์โกสต์ เป็นภาพยนตร์ญี่ปุ่นแนวโทคุซัทสึ ในซีรีส์มาสค์ไรเดอร์ ประจำปี 2015 เป็นลำดับที่ 26 ผลิตโดย โตเอะ คัมปะนี และ อิชิโนะโมะริ โปรดักชั่นส์ โดยออกอากาศต่อจาก มาสค์ไรเดอร์ไดรฟ์ ทุกวันอาทิตย์ 8.00 ทางช่องทีวีอาซาฮี ในช่วง ซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ ออกอากาศเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2015.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและมาสค์ไรเดอร์โกสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเทวดาจีน

ทความนี้รวบรวมเทพเจ้าของจีนต่าง.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและรายพระนามเทวดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

ลิง

แสม (''Macaca fascicularis'') ลิงที่คุ้นเคยและพบได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย อาจพบได้ถึงในชุมชนเมืองhttp://1081009.tourismthailand.org/trip/dcp?id.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและลิง · ดูเพิ่มเติม »

ลุมพินีวัน

ลุมพินีวัน (Lumbini Vana) เป็นพุทธสังเวชนียสถานที่สำคัญแห่งที่ 1 ใน 4 สังเวชนียสถานของชาวพุทธ เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ ผู้ซึ่งต่อมาตรัสรู้เป็นพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ที่อำเภอไภรวา แคว้นอูธ ประเทศเนปาล เป็นพุทธสังเวชนียสถาน 4 ตำบลเพียงแห่งเดียวที่อยู่นอกประเทศอินเดีย ลุมพินีวัน เดิมเป็นสวนป่าสาธารณะหรือวโนทยานที่ร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน ในสมัยพุทธกาลลุมพินีวันตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์กับเมืองเทวทหะ ในแคว้นสักกะ บนฝั่งแม่น้ำโรหิณี หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชได้โปรดให้สร้างเสาหินขนาดใหญ่มาปักไว้ตรงบริเวณที่ประสูติ เรียกว่า เสาอโศก ที่จารึกข้อความเป็นอักษรพราหมีว่าพระพุทธเจ้าประสูติที่ตรงนี้ ปัจจุบันลุมพินีวันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนประเทศอินเดียทางเหนือเมืองโคราฆปุระ ห่างจากเมืองติเลาราโกต (หรือ นครกบิลพัสดุ์) ทางทิศตะวันออก 11 กิโลเมตร และห่างจากสิทธารถนคร (หรือ นครเทวทหะ) ทางทิศตะวันตก 11 กิโลเมตร ซึ่งถูกต้องตามตำราพระพุทธศาสนาที่กล่าวว่าลุมพินีวันสถานที่ประสูติ ตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์และเมืองเทวทหะ ปัจจุบัน ลุมพินีวันมีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ทางการเรียกสถานที่นี้ว่า รุมมินเด มีสภาพเป็นชนบท มีผู้อาศัยอยู่ไม่มาก มีสิ่งปลูกสร้างเป็นพุทธสถานเพียงเล็กน้อย แต่มีวัดพุทธอยู่ในบริเวณนี้หลายวัด รวมทั้งวัดไทยลุมพินี ลุมพินีวันได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและลุมพินีวัน · ดูเพิ่มเติม »

วัดม้าขาว

้านหน้าของวัด ที่มีประติมากรรมหินสลักรูปม้าขาว วัดม้าขาว หรือ ไป๋หม่าซื่อ (สำเนียงจีนกลาง) หรือ แป๊ะเบ๊ยี่ (สำเนียงแต้จิ๋ว) (白馬寺, White Horse Temple, พินอิน: Báimǎ Sì) เป็นวัดทางพุทธศาสนาแห่งแรกที่ตั้งขึ้นในประเทศจีน อยู่ที่เมืองลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน ซึ่งประวัติความเป็นมา คือ ในปี ค.ศ. 66 ในรัชสมัยจักรพรรดิมิ่งตี้ แห่งราชวงศ์ฮั่น หลังจากได้มีการส่งคณะทูต 18 คน ไปสืบพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดีย โดยใช้เวลา 3 ปี คณะทูตก็ได้เดินทางกลับ พร้อมด้วยพระพุทธรูป พระภิกษุอีก 2 รูป คือ พระกัศยป มาตังคะ (迦葉摩騰)และพระธรรมรัตน์ โคภรณ์ (竺法蘭) และคัมภีร์ทางพุทธศาสนามาส่วนหนึ่งด้วย โดยบรรทุกมาบนหลังม้าสีขาวตัวหนึ่ง ในปี ค.ศ. 68 จึงได้โปรดให้มีการสร้างวัดแห่งนี้ขึ้นที่ชานเมืองลั่วหยาง เพื่อเป็นที่เก็บพระคัมภีร์ และให้พระภิกษุทั้ง 2 จำพรรษา ณ วัดแห่งนี้ และพระราชทานนามให้ว่า "วัดม้าขาว" เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ม้าขาวตัวนั้น วัดม้าขาว กลายมาเป็นต้นกำเนิด และศูนย์กลางของพุทธศาสนาในประเทศจีน ซึ่งต่อมาได้มีพระภิกษุอีกนับพันรูปได้จำพรรษา ณ วัดแห่งนี้ รวมทั้งพระอันซื่อกาว พระเสวียนจั้ง หรือ พระถังซัมจั๋ง ด้วย ซึ่งก่อนออกเดินทางไปจารึกแสวงบุญยังประเทศอินเดีย ก็ได้เริ่มต้นการเดินทางจากที่นี่ และเดินทางกลับมายังประเทศจีน ในปี ค.ศ. 645 และมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งปัจจุบันอัฐิของท่านก็ถูกบรรจุอยู่ในเจดีย์องค์หนึ่งที่วัดแห่งนี้ ปัจจุบัน วัดม้าขาวมีเนื้อที่ราว 80 ไร่เศษ ซึ่งในปี ค.ศ. 1992 พุทธศาสนิกชนชาวไทยและชาวจีนได้ร่วมกันบริจาคเงินสร้างวิหารหลังหนึ่งในรูปแบบสถาปัตยกรรมไทย ขึ้นทางด้านทิศตะวันตกของวัด ซึ่งในปัจจุบัน วัดม้าขาวถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่ง ของเมืองลั่วหยาง และมณฑลเหอหนาน โดยมีผู้มาเยือนจากทั่วโลกไม่ขาดสายในแต่ละปี.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและวัดม้าขาว · ดูเพิ่มเติม »

วัดเวฬุวันมหาวิหาร

กลุ่มป่าไผ่ร่มรื่น ในกลุ่มโบราณสถานวัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดเวฬุวันมหาวิหาร หรือ พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน เป็นอาราม (วัด) แห่งแรกในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ใกล้เชิงเขาเวภารบรรพต บนริมฝั่งแม่น้ำสรัสวดีซึ่งมีตโปธาราม (บ่อน้ำร้อนโบราณ) คั่นอยู่ระหว่างกลาง นอกเขตกำแพงเมืองเก่าราชคฤห์ (อดีตเมืองหลวงของแคว้นมคธ) รัฐพิหาร ประเทศอินเดียในปัจจุบัน (หรือ แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล) คำว่า เวฬุวัน แปลว่าสวนไผ่ เดิมอารามแห่งนี้เป็นพระราชอุทยานของพระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์แคว้นมคธ ตั้งอยู่นอกเมืองราชคฤห์ เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้เสด็จไปยังเมืองราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยข้าราชบริพารเข้าไปเฝ้า หลังจากทรงสดับธรรมแล้วทรงเลื่อมใสจึงถวายสวนเวฬุวันเป็นพุทธบูชา ด้วยทรงเห็นว่าเป็นที่สงบร่มรื่น เหมาะสำหรับอยู่บำเพ็ญธรรมของพระสงฆ์ ถือกันต่อมาว่าสถานที่นี้เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา เรียกว่า วัดเวฬุวันมหาวิหาร นอกจากนี้วัดนี้ยังเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าแสดงโอวาทปาติโมกข์แก่พระสาวกจำนวน 1,250 รูป แล้วส่งไปเป็นพระธรรมทูตประกาศพระศาสนา อันเป็นที่มาของวันมาฆบูชา วัดเวฬุวันมหาวิหาร ปัจจุบันยังคงอยู่ เป็นซากโบราณสถานในสวนไผ่ที่ร่มรื่น มีสระน้ำขนาดใหญ่ภายใน มีรั้วรอบด้าน อยู่ในความดูแลของทางราชการอินเดี.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและวัดเวฬุวันมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันอัฏฐมีบูชา

วันอัฏฐมีบูชา คือวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (หลังเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ 8 วัน) ถือเป็นวันสำคัญในพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง ตรงกับวันแรม 8 ค่ำ เดือนวิสาขะ (เดือน 6 ของไทย) นอกจากนั้น วันนี้เป็นวันคล้ายวันที่พระนางสิริมหามายา องค์พระพุทธมารดาสิ้นพระชนม์ (หลังประสูติ) และเป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุขตลอด 7 วัน (หลังตรัสรู้) อีกด้ว.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและวันอัฏฐมีบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันอาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชา (อาสาฬหปูชา; Āsāḷha Pūjā) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๒, ๑๒ มิถุนายน..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและวันอาสาฬหบูชา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศบังกลาเทศ

ระพุทธศาสนาในประเทศบังคลาเทศ นั้น เดิมในบริเวณประเทศบังคลาเทศในปัจจุบัน ในสมัยพุทธกาลเคยเป็นส่วนหนึ่งของชมพูทวีป ทำให้ได้รับการเผยแพร่พระพุทธศาสนามาตั้งแต่ยุคแรกเริ่ม แต่ต่อมาได้มีการพัฒนาไปเป็นแบบตันตระเพื่อดึงดูดศาสนิก จนภายหลังยุคมุสลิมปกครองบังกลาเทศ ศาสนาพุทธได้กลายเป็นเรื่องของคนต่างถิ่น ทำให้ชาวบังคลาเทศบางคนเชื่อว่าศาสนสถานเดิมของชาวพุทธเป็นที่สิงสถิตของวิญญาณ คงเหลือแต่ชาวพุทธกลุ่มเล็ก ๆ ในปัจจุบันเพียงร้อยละ 0.7 ของประชากร และส่วนใหญ่เป็นเถรวาท.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและศาสนาพุทธในประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สังเวชนียสถาน

ังเวชนียสถาน (อ่านว่า สัง-เว-ชะ-นี-ยะ-สะ-ถาน) แปลว่า สถานที่อันเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช เป็นคำที่ใช้เรียกสถานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะ สังเวชนียสถาน หมายถึงสถานที่ที่ทำให้เกิดความรู้สึกระลึกถึงพระพุทธเจ้า เกิดความแช่มชื่น เบิกบาน เกิดแรงบันดาลใจที่จะทำความดี เมื่อได้ไปพบเห็น สังเวชนียสถาน มี 4 แห่ง คือ.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและสังเวชนียสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สารนาถ

รนาถ เป็นพุทธสังเวชนียสถานแห่งที่ 3 (1 ใน 4 แห่งของชาวพุทธ) ตั้งห่างจากเมืองพาราณสี เมืองศูนย์กลางทางศาสนาของศาสนาฮินดู ไปทางเหนือราวเก้ากิโลเมตร อยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน หรือ แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล เหตุที่ได้ชื่อว่าสารนาถ เนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา เริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่มหาชนทั้งหลาย และบ้างก็ว่ามาจากศัพท์ว่า สารงฺค + นาร.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและสารนาถ · ดูเพิ่มเติม »

หวง เสี่ยวหมิง

หวง เสี่ยวหมิง (จีนตัวเต็ม: 黃曉明; จีนตัวย่อ: 黄晓明; Huang Xiaoming; พินอิน: Huáng Xiǎomíng) เป็นนักแสดงและนักร้องชาวจีนที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1977 ที่เมืองชิงเต่า มณฑลชานตง ประเทศจีน หวง เสี่ยวหมิง เข้าสู่แวดวงบันเทิงด้วยการศึกษาจบปริญญาตรี เอกการแสดง จากมหาวิทยาลัยภาพยนตร์ปักกิ่ง เอกการแสดง โดยเริ่มจากการเป็นพรีเซ็นเตอร์โฆษณานม ในช่วงเรียนอยู่ในชั้นปีที่ 2 และมีโอกาสแสดงละครโทรทัศน์เรื่องแรกชื่อ Ai Ging Bu Shi You Xi (ความรักไม่ใช่เกมส์) ในปี ค.ศ. 1998 โดยบัดนั้นจนถึง ได้แสดงละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ต่าง ๆ แล้วไม่ต่ำกว่า 20 เรื่อง และด้วยหน้าตาอันหล่อเหลา บวกด้วยฝีมือการแสดงที่ยอดเยี่ยมทำให้ หวง เสี่ยวหมิงได้รับความชื่นชอบจากแฟน ๆ และได้รับรางวัลการแสดงต่าง ๆ ในจีนแผ่นดินใหญ่มากมาย หวง เสี่ยวหมิง มีนักแสดงที่ชื่นชอบ คือ โจว เหวินฟะ, เหลียง เจียฮุย และจอร์จ คลูนีย์ ในปี ค.ศ. 2002 มีผลงานละครโทรทัศน์ออกอากาศในจีนแผ่นดินใหญ่ติดต่อกันถึง 3 เรื่องภายในเวลา 1 ปี แต่โชคร้ายช่วงปลายปีต่อมา เขาประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ในเขตเทือกเขา ในขณะที่เขากำลังเข้าไปถ่ายทำภาพยนตร์ แต่หลังจากนั้นไม่นานเขาก็ใส่เฝือกกลับมาเข้าฉากภาพยนตร์ต่อ ทำให้เป็นที่ชื่นชมของสื่อมวลชนและแฟน ๆ นอกจากการแสดงแล้ว ด้านการร้องเพลงและดนตรี เคยออกอัลบั้มชุดแรกชื่อ It's Ming เป็นภาษาจีนกลาง ในปลายปี ค.ศ. 2007 และในละครโทรทัศน์ชุด New Shanghai Bund (เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ หักเหลี่ยมมังกร) หวงเสี่ยวหมิง ยังได้ร้องเพลงประกบคู่กับ ซุน ลี่ นักแสดงนำหญิงในเรื่อง ชื่อเพลง Even If there is No Tomorrow เป็นเพลงปิดท้ายด้ว.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและหวง เสี่ยวหมิง · ดูเพิ่มเติม »

องค์หญิงพัดเหล็ก

ระราชวังฤดูร้อนในกรุงปักกิ่ง องค์หญิงพัดเหล็ก (Princess Iron Fan หรือ Steel Fan Princess) หรือ นางรากษส (จีนกลางว่า หลัวชา จีนฮกเกี้ยนว่า ล่อซั่วพระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะศิริ). (2547). ไซอิ๋ว. กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา. ISBN 9749207769. หน้า 525.) เป็นตัวละครจากนวนิยายคลาสสิกของจีนเรื่องไซอิ๋ว นางเป็นภริยาของราชาปีศาจกระทิง และเป็นมารดาของเด็กแดง โดยปรกติ นางจะปรากฏกายเป็นเทพธิดามีรูปโฉมงดงาม แต่ที่จริงแล้ว นางเป็นรากษสี (รากษสตัวเมีย) นางอาศัยอยู่ในถ้ำใต้ดินร่วมกับครอบครัว มักจะรอสามีกลับบ้านเสมอ แต่จะเกรี้ยวกราดเป็นอันมากเมื่อทราบว่าสามีไปยุ่งเหยิงกับบรรดานางจิ้งจอก นางยังเป็นเจ้าของพัดที่เรียกว่า "พัดเหล็ก" ซึ่งอันที่จริงแล้วทำจากใบตอง ในโอกาสทั่วไป พัดนี้จะมีขนาดเล็ก และองค์หญิงพัดเหล็กจะอมเก็บไว้ในปาก แต่เมื่อจะใช้ พัดสามารถขยายรูปได้มหาศาลตามต้องการ และมีคุณวิเศษ เมื่อใช้โบกแล้วจะบันดาลลมสลาตัน ในเรื่องไซอิ๋ว คณะจาริกของพระถังซัมจั๋งได้เดินทางมาถึงจุดแห่งเทือกเขาไฟที่ลุกเป็นเพลิงอย่างใหญ่หลวง และจะผ่านเส้นทางนั้นได้ก็แต่โดยให้เทือกเขาสงบลง เห้งเจียต้องการยืมพัดเหล็กขององค์หญิงพัดเหล็กมาดับเทือกเขาเพลิง แต่นางบอกปัด เพราะเห้งเจียคงเคยทำร้ายสามีและลูกของนางมาก่อน เห้งเจียจึงแปลงตัวเป็นแมลงวันบินเข้าไปในปากนาง จากลำคอลงสู่กระเพาะ แล้วถีบถองทุบเตะนางอยู่ข้างใน จนนางเจ็บปวดมิอาจทนได้ และยอมส่งพัดให้ ทว่า เป็นพัดที่ใช้โบกแล้วจะโหมให้ไฟลุกทวีขึ้น คณะจารึกจึงต้องผจญเพลิงหนักยิ่งกว่าเดิม เห้งเจียกลับไปหานางอีกครั้ง โดยแปลงตัวเป็นราชาปีศาจกระทิง แล้วล่อหลอกขอยืมพัดเหล็กมา องค์หญิงพัดเหล็กจึงส่งพัดให้ หลังจากนั้นไม่นาน ราชาปีศาจกระทิงกลับบ้าน และโมโหเป็นอันมากเมื่อทราบเรื่อง เขาจึงแปลงกายเป็นตือโป๊ยก่าย แล้วเดินไปบอกเห้งเจียว่าจะช่วยถือพัดเหล็กให้ แต่เห้งเจียจับได้ จึงเกิดต่อสู้กัน ราชาปีศาจกระทิงแพ้ เห้งเจียยึดพัดเหล็กไปได้ ในคำแปลเรื่องไซอิ๋ว จัดพิมพ์โดย พระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะศิริ) ในสมัยรัชกาลที่ 5 บรรยายว่า "นางล่อซั่วผู้นี้ กำเนิดเดิมนางเป็นยักษ์รากษส นางมีพัดเหล็กวิเศษอยู่พัดหนึ่ง มีฤทธาอานุภาพมาก อาจพัดให้บังเกิดเป็นลมพายุใหญ่และห่าฝนตกลงมาได้ในที่ใช่ฤดูแห่งฝน และจะพัดให้ไฟติดขึ้นจนไม่รู้จักดับก็ได้ นางเป็นภรรยาของงู้ม่ออ๋อง และเป็นมารดาของอั้งฮั้ยยี้ซึ่งมีฤทธิ์เดชมาก ปากพ่นเป็นไฟได้ ที่สำนักของนางอยู่ที่เขาม่อฮุ่นซัว ถ้ำปอเจียวต๋อง แต่งู้ม่ออ๋องไปมีภรรยาใหม่ นางอยู่ในสำนักแต่ผู้เดียว".

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและองค์หญิงพัดเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ทับทิม (ผลไม้)

ผลทับทิม แกะออก เห็นเมล็ดข้างใน บทความนี้กล่าวถึง "ทับทิม" ในฐานะผลไม้ชนิดหนึ่ง สำหรับทับทิมในความหมายอื่นๆ ดูได้ใน ทับทิม ทับทิม ชื่อท้องถิ่น เซี๊ยะลิ้ว, พิลา, พิลาขาว, มะก่องแก้ว, มะเก๊าะ, หมากจัง เป็นไม้ผลขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 5-8 เซนติเมตร ทับทิมมีถิ่นกำเนิดจากตะวันออกของประเทศอิหร่าน ทางตอนใต้ของอัฟกานิสถานและทางตอนเหนือของเทือกเขาหิมาลัย ทับทิมจึงชอบอากาศหนาวเย็นและอยู่บนพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลอย่างน้อย 300 เมตร ยิ่งอากาศหนาวเนื้อทับทิมจะมีสีแดงเข้มมากขึ้น.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและทับทิม (ผลไม้) · ดูเพิ่มเติม »

ตันกุ๋น

ตันกุ๋น (Chen Qun) เป็นเสนาบดีแห่งวุยก๊ก เดิมรับราชการอยู่กับเล่าปี่และลิโป้ที่เมืองชีจิ๋ว แต่ภายหลังที่โจโฉบุกโจมตีชีจิ๋ว ได้เข้าสวามิภักดิ์กับโจโฉ ตันกุ๋นเคยเป็นผู้แนะนำให้โจโฉคิดตั้งตนเป็นฮ่องเต้เสียเอง แต่โจโฉบอกว่าถึงแม้สวรรค์จะลิขิตให้เขามีตำแหน่งสูงกว่า แต่ตัวเขาจะอยู่เป็นแค่วุยอ๋องก็พอใจแล้ว หลังจากโจโฉเสียชีวิต โจผีบุตรชายของโจโฉขึ้นดำรงตำแหน่งวุยอ๋องแทน ตันกุ๋นได้เป็นคนต้นคิดที่บังคับให้พระเจ้าเหี้ยนเต้สละราชสมบัติให้กับโจผี และเป็นผู้ร่างสาส์นประกาศสละราชสมบัติ ตันกุ๋นจึงมีส่วนในการสถาปนาอาณาจักรวุย หลังจากการเสียชีวิตของพระเจ้าโจผี พระเจ้าโจยอยขึ้นครองบัลลังก์ ตัวเขา สุมาอี้ กับโจจิ๋น ได้ช่วยรวมกันบริหารประเทศและให้คำแนะนำแก่พระเจ้าโจยอย ตามคำสั่งเสียของพระเจ้าโจผีก่อนสวรรคต เขาได้ร่วมในการปราบกบฏกองซุนเอี๋ยน เขาถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 236 ว่ากันว่าเขาอาจจะเป็นบรรพบุรุษของพระถังซัมจั๋ง หมวดหมู่:วุยก๊ก หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและตันกุ๋น · ดูเพิ่มเติม »

ตือโป๊ยก่าย

ตือหงอเหนง หรือสำเนียงกลางว่า จู อู้เหนิง หรืออีกชื่อว่า ตือโป๊ยก่าย หรือสำเนียงกลางว่า จู ปาเจี้ย เป็นหนึ่งในตัวละครเอกเรื่องไซอิ๋ว เป็นลูกศิษย์คนที่สองของพระถังซัมจั๋ง แต่เดิมคือแม่ทัพสวรรค์นาม เทียนเผิงหยวนซ่วย เคยเป็นแม่ทัพอยู่บนสวรรค์มีหน้าที่ดูแลลำน้ำสวรรค์และมีคุมทหารจำนวน 85,000 นาย อยู่มาวันหนึ่งในงานชุมนุมท้อเซียนของเจ้าแม่แห่งตะวันตกซีหวังหมู่ แม่ทัพเทียนเผิงได้เมาและลวนลามเทพธิดาพระจันทร์ฉางเอ๋อร์ ต่อมาเง็กเซียนฮ่องเต้ ได้สั่งนำตัวแม่ทัพเทียนเผิงไปลงโทษโดยการโบยด้วยฆ้อนทองแดงทั้งหมด 2,000 ครั้งและให้นำตัวแม่ทัพเทียนเผิงไปจุติยังโลกมนุษย์โดยให้เกิดในครรภ์สุกร ภายหลังเจ้าแม่กวนอิมได้ให้ตือโป๊ยก่ายเป็นศิษย์และติดตามพระถังไปยังชมพูทวีป เพื่ออัญเชิญพระไตรปิฏก ทำความดีเพื่อไถ่บาปที่ได้ก่อไว้ ตือโป๊ยก่าย มีอาวุธเป็นคราด 9 ซี่หลอมจากเตาปากว้าของไท่ซ่างเหล่าจวิน มีวิชาแปลงกายได้ 36 อย่าง.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและตือโป๊ยก่าย · ดูเพิ่มเติม »

ซัวเจ๋ง

ซัวเจ๋ง ตัวละครจากไซอิ๋ว ซัวหงอเจ๋ง หรือสำเนียงกลางว่า ชา อู้จิ้ง หรือ ซัวเจ็ง (沙僧) เป็นตัวละครในเรื่อง ไซอิ๋ว เดิมเป็นเทวดาบนสวรรค์ แต่ทำความผิดจึงถูกสาปให้ทรมานทุกวันโดยให้มีด 7 ด้ามตามแทงหัวใจ อยู่มาวันหนึ่งคิดการใหญ่จึงหนีดำลงไปใต้บาดาล และกลายเป็นพรายน้ำชอบจับผู้คนกินเป็นอาหาร ต่อมาได้พบพระถังซัมจั๋ง ได้รับฟังพระธรรมเทศนาจึงกลับตัวเป็นคนดี ออกติดตามไปอัญเชิญพระไตรปิฎกด้วย โดยมากจะรับหน้าที่แบกสัมภาระ มีอาวุธคือ พลั่วพระธรรม เป็นท่อนยาวด้านหนึ่งคล้ายเสี้ยวพระจันทร์ อีกด้านหนึ่งเป็นเหล็กสี่เหลี่ยมคล้ายจอบ หรือพลั่ว ภายหลังเสร็จสิ้นภารกิจไปอัญเชิญพระไตรปิฏกแล้ว จึงพ้นโทษกลับไปเป็นเทวดาบนสวรรค์ตามเดิม.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและซัวเจ๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ปรมัตถทีปนี

ปรมัตถทีปนี เป็นชื่อคัมภีร์อรรถกถาของหมวดขุททกนิกาย หมวดย่อยอุทาน-อิติวุตตกะ, วิมานวัตถุ-เปตวัตถุ และเถรคาถา-เถรีคาถา ในพระสุตตันตปิฎก รจนาขึ้นโดยพระธัมมปาละหรือพระธรรมปาลเถระ หรือพระธรรมาบาล พระเถระชาวอินเดียโบราณ เป็นชาวเมืองกาญจีปุรัม ทางภาคใต้ของอินเดี.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและปรมัตถทีปนี · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร (प्रज्ञापारमिताहृदय, สันสกฤต-โรมาไนซ์: Prajñāpāramitā Hṛdaya; 摩訶般若波羅蜜多心經; རིན་ཆེན་སྡེ.) คือพระสูตรที่สำคัญและเป็นที่นิยมยิ่งในพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ชื่อ "ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร" มีความหมายตามตัวอักษรว่า "พระสูตรอันเป็นหัวใจแห่งปฏิปทาอันยวดยิ่งแห่งความรู้แจ้ง" ในภาษาอังกฤษมักแปลโดยสังเขปว่า "หฤทัยสูตร" (The Heart Sūtra) พระสูตรนี้มักได้รับการยอมรับว่าเป็นพระสูตรที่มีผู้รู้จักและนิยมที่สุดมากกว่าพระสูตรใดของพุทธศาสน.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร · ดูเพิ่มเติม »

นาลันทา

250px โบราณสถานในนาลันทา ด้านหน้า โบราณสถานในนาลันทา ด้านหลัง นาลันทา เป็นชื่อเมือง ๆ หนึ่งในแคว้นมคธ อยู่ห่างจากพระนครราชคฤห์ประมาณ 1 โยชน์ (ประมาณ 16 กิโลเมตร) ณ เมืองนี้มีสวนมะม่วง ชื่อ ปาวาริกัมพวัน (สวนมะม่วงของปาวาริกเศรษฐี) ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับแรมหลายครั้งคัมภีร์ฝ่ายมหายานกล่าวว่า พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นอัครสาวก เกิดที่เมืองนาลันทา แต่คัมภีร์ฝ่ายบาลีเรียกถิ่นเกิดของ พระสารีบุตรว่า หมู่บ้านนาลกะหรือนาลันทคาม "นาลันทามหาวิชชาลัยของพุทธศาสนานิกายมหายาน".

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและนาลันทา · ดูเพิ่มเติม »

นาคารชุนะ

ระนาคารชุนะ รูปปั้นของพระนาคารชุนะ ในวัดพุทธแบบทิเบตแห่งหนี่งในสหราชอาณาจักร นาคารชุนะ (नागार्जुन; Nāgārjuna; నాగార్జునా;; มีชีวิตในช่วงประมาณ พ.ศ. 700 - 800) เป็นนักปรัชญาอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสำนักมัธยมกะ (ทางสายกลาง) ในนิกายมหายาน แห่งพุทธศาสนา และนับเป็นนักคิดชาวพุทธที่มีอิทธิพลสูงสุด ถัดจากพระพุทธเจ้า เป็นที่ศรัทธาและกล่าวถึงในหมู่นักศึกษาพุทธศาสนาชาวยุโรปมาโดยตลอด ท่านเป็นนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาที่มีผลงานโดดเด่นในด้านปรัชญาและตรรกวิทยา ผลงานสำคัญของท่านคือ มาธยมิกการิกา (มาธยมิกศาสตร์)อันเป็นพื้นฐานสำคัญของแนวคิดศูนยวาท ประกอบด้วยการิกา 400 การิกา ใน 27 ปริเฉท หนังสือเล่มนี้ได้รับการยกย่องตลอดมา และเป็นที่ยอมรับกันว่านักตรรกวิทยาที่ยิ่งใหญ่กว่าพระนาคารชุนะไม่เคยมีปรากฏในโลก ศาสนิกชนมหายานทุกนิกายยกย่องท่านในฐานะคุรุผู้ยิ่งใหญ่เสมอ อย่างไรก็ตาม ประวัติของท่านกลับไม่ชัดเจนเท่าที่ควร.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและนาคารชุนะ · ดูเพิ่มเติม »

โยคาจาร

นิกายโยคาจารตั้งขึ้นโดยเมตตรัยนาคซึ่งเกิดหลังนาคารชุนราว 100 ปี ชื่ออื่นๆของนิกายนี้คือ นิกายวิญญาณวาท หรือนิกายวิชญาณวาท สานุศิษย์ที่สืบต่อนิกายนี้คือ พระอสังคะ และพระวสุพันธุ พระทินนาคะ และพระธรรมปาละ เป็นต้น.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและโยคาจาร · ดูเพิ่มเติม »

โซอิชิโร โฮะชิ

ซอิชิโร โฮะชิ เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่นสังกัดอาร์ตส์วิชัน แจ้งเกิดจากบทเคน บลูริเวอร์ ในเรื่องลอสต์ยูนิเวิร์ส แต่มีชื่อเสียงจากบทคิระ ยามาโตะ ในเรื่องกันดั้มซี้ด เขามักจะได้พากย์อะนิเมะที่เป็นผลงานการกำกับของโกโร่ ทานิงุจิ อยู่บ่อย ๆ เช่น มุเก็น โนะ รีไวอัส, สไครด์, แพลเน็ตทิส และ กัน x ซอร.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและโซอิชิโร โฮะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว

วาดเรื่องไซอิ๋ว จากพระราชวังฤดูร้อน ที ประเทศจีน แสดงภาพตัวละครเอกของเรื่อง (จากซ้าย) ซุนหงอคง, ม้ามังกร, พระถังซัมจั๋ง, ตือโป๊ยก่าย, ซัวเจ๋ง ไซอิ๋ว (ซีโหยวจี้; Journey to the West แปลตรงตัวว่า บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก) เป็นนิยายคลาสสิกของจีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป (อินเดีย) เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พระพุทธศาสนาของหลวงจีนชื่อ พระถังซำจั๋ง (อ้างอิงจากผู้มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ มีนามว่าพระเสวียนจั้ง 玄奘大師) โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา) ซึ่งระหว่างการเดินทางต้องพบกับการขัดขวางของเหล่าปิศาจมากมาย ด้วยเนื้อหาที่เป็นการผจญภัย และมีสัตว์เป็นตัวเอก ทำให้ไซอิ๋วได้รับความนิยมจากหมู่เยาวชนมากที่สุดในวรรณกรรมเอกทั้ง 4 เรื่อง เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับสามก๊ก(三國演義) ความฝันในหอแดง (紅樓夢) และซ้องกั๋ง (水滸傳) การ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ดราก้อนบอล เป็นหนึ่งในงานที่ได้รับอิทธิพลจากไซอิ๋ว หลักฐานภาพจิตรกรรมฝาฝนังตุนหวง พระเสวียนจั้ง เดินทางมีสัมภาระจูงเสือเดินทางไปด้ว.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและไซอิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร

ซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร (The Monkey King 2) เป็นภาพยนตร์จีนที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่าย

ซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่าย (The Monkey King 3) เป็นภาพยนตร์จีนที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและไซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่าย · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุม

ซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุม (The Cave of Silken Web) เป็นภาพยนตร์จีนกำลังภายในที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1967 กล่าวถึงเรื่องราวส่วนหนึ่งของวรรณกรรมชิ้นเอกของ อู๋ เฉิงเอิน เรื่อง ไซอิ๋ว นำแสดงโดย อู๋ เฉิน, เฮลเลน หม่า, ฟาน เหอ, หวู เว.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและไซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุม · ดูเพิ่มเติม »

เกสริยาสถูป

มหาสถูปแห่งเกสเรีย หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่า เกสริยา, เกสเรีย (Kesaria, อักษรเทวนาครี: केसरिया) เป็นสถานที่ตั้งของมหาสถูปพบใหม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินเดีย สถานที่ประดิษฐานบาตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงประทานแก่ชาววัชชี เมื่อครั้งพุทธกาลเกสเรียอยู่ในเขตพรมแดนของแคว้นวัชชีและมัลละต่อกัน (รัฐพิหารในปัจจุบัน)แต่ไม่ใช่สถานที่แสดงกาลามสูตร ดังที่เข้าใจกัน เพราะสถานที่แสดงกาลามสูตรนั้น อยู่ในแคว้นโกศล แต่สถูปเกสเรีย อยู่ในแคว้นวัชชีต่อกันกับพรมแดนแคว้นมัลล.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและเกสริยาสถูป · ดูเพิ่มเติม »

เห้งเจีย

alt.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและเห้งเจีย · ดูเพิ่มเติม »

เด็กแดง

right เด็กแดง หรือ หง ไหเอ๋อร์ ตามสำเนียงกลาง หรือ อั้งฮั้ยยี้ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Red Boy) เป็นตัวละครจากนวนิยายคลาสสิกของจีนเรื่อง ไซอิ๋ว เป็นบุตรขององค์หญิงพัดเหล็กกับราชาปีศาจกระทิง เนื่องจากบำเพ็ญพรตมากว่าสามร้อยปี จึงมีพละกำลังวิเศษ บิดาจึงให้ไปคอยรักษาภูเขาเพลิงไว้ เด็กแดงจึงมี "เพลิงสมาธิ" ("ซันเม่ย์เจินหั่ว" ตามสำเนียงกลาง หรือ "ซิมม้วยฮวย" ตามสำเนียงฮกเกี้ยน) ซึ่งทำให้เขาสามารถปล่อยกระแสไฟจากดวงตา รูจมูก และปาก ซึ่งเป็นไฟที่มิอาจดับด้วยน้ำได้ เด็กแดงมีชื่ออื่น ๆ อีก เช่น "ยุวธีรราช" ("เชิ่งยิงต้าหวัง" ตามสำเนียงกลาง หรือ "เซี้ยเองไต้อ๋อง" ตามสำเนียงฮกเกี้ยน; Boy Sage King) ต่อมาสถาปนาเป็นสุธนกุมาร อัครสาวกเบื้องซ้ายของพระโพธิสัตว์กวนอิม.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและเด็กแดง · ดูเพิ่มเติม »

เง็กเซียนฮ่องเต้

ง็กเซียนฮ่องเต้ เป็นเทพเจ้าสูงสุดของจีน เทวรูปและรูปวาดขององค์เง็กเซียนฮ่องเต้จะทรงฉลองพระองค์เช่นเดียวกับจักรพรรดิจีน คือมีพระมาลา ด้านหน้ามีเส้นร้อยไข่มุกเป็นแถวห้อยลงมาหน้าพระพักตร์ พระหัตถ์ทรงพระป้ายซือฮุดหน้าพระอุระ ด้านหลังมีพนักงานสองคนคอยโบกพัด ด้านหน้ามีองครักษ์สององค์ทั้งฝ่ายบู๊และฝ่ายบุ๋น พระองค์ทรงได้รับการยกย่องให้เป็นเทพเจ้าสูงสุดตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๔ เป็นต้นม.

ใหม่!!: พระถังซัมจั๋งและเง็กเซียนฮ่องเต้ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hiouen ThsangHiuen TsangHiun TsangHsuan TsangHsüan-tsangXuan ZangXuanzangพระถังพระถังซำจั๋งพระเสวียนจั้งถังซัมจั๋งซัมจั๋ง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »