โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2494

ดัชนี พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

569 ความสัมพันธ์: ชรัส เฟื่องอารมย์ชวลิต อภัยวงศ์บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยาบัณฑิต ฤทธิ์ถกลบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ชั่วฟ้าดินสลาย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)ชาห์แห่งอิหร่านบานประตูวิหารวัดพระฝางชิงชัย มงคลธรรมบุญชัย บำรุงพงศ์บุญคลี ปลั่งศิริบุญเติม จันทะวัฒน์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ชูชัย พระขรรค์ชัยฟรานซิส คริกฟร็องซัว มีแตร็องฟิล คอลลินส์ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียฟ็อล์คสพาร์คชตาดิโยนพ.ศ. 2403พ.ศ. 2404พ.ศ. 2412พ.ศ. 2544พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2557พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามพรรคประชาชนปฏิวัติลาวพรรคประชาธิปัตย์พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พรรคเอกราชมลายาพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)พระญาณวิศิษฏ์ (ทอง จนฺทสิริ)พระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตฺโต)พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)...พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรพระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)พระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส)พระวิสุทธิสารเถร (ภูสิต ขนฺติธโร)พระสมุห์เจือ ปิยสีโลพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)พระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผาพระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)พระครูพิศาลธรรมประยุต (เกิด ปฺณณปญฺโญ)พระครูธรรมสรคุณ (เขียน ขนฺธสโร)พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร)พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)พระเศวตอดุลยเดชพาหนพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบียพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียพระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส)พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)พะจุณณ์ ตามประทีปพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยาพิรุณ แผ้วพลสงพนัส สิมะเสถียรกบฏแมนฮัตตันกบฏในประเทศไทยกบฏเสนาธิการกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานครกรุงเทพประกันชีวิตกอบศักดิ์ ชุติกุลกอร์ดอน บราวน์กันตนาการรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาลการรถไฟแห่งประเทศไทยการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลการท่าเรือแห่งประเทศไทยกำพล วัชรพลกำธร พุ่มหิรัญกีฬากระโดดน้ำในเอเชียนเกมส์ 1951ฐานทัพอากาศกรุงโซลภาษาอินเทอร์ลิงกวาภิญโญ นิโรจน์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์มะซะรุ ฟุจิมามโบมิสึรุ อะดะชิมิสเวิลด์มุฮัมมัด มุรซีมณทิพย์ ศรีรัตนายอดเขาเอเวอเรสต์ยุทธการสะพานยุลตงยูริ กาการินยูล บรีนเนอร์ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิชรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495รัฐธรรมนูญแห่งเนปาลรัฐประหารในประเทศไทยรัตน์ เปสตันยีราชอาณาจักรลิเบียรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยรายชื่อธงในประเทศศรีลังการายชื่อธงในประเทศจอร์เจียรายชื่อธงในประเทศเบลารุสรายชื่อธงในประเทศเบลเยียมรายชื่อธงในประเทศเกาหลีรายชื่อธงในประเทศเกาหลีใต้รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์จอร์แดนรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาลรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดนรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เนปาลรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากรรายพระนามและรายนามปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทยรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยรายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีลาวรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามนายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาลอนดอนอายลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรลิเบีย ลิเบีย ลิเบียลูเธอร์ แวนดรอสวัฒนธรรมวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถวัดพระธาตุดอยเวาวัดภูเขาแก้ววัดมฤคทายวันวัดศรีอุทุมพรวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)วัดธรรมาธิปไตยวัดดาวเรืองวัดคุ้งยางใหญ่วัดป่าสุนทรารามวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารวันตำรวจวิภูแถลง พัฒนภูมิไทวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์วิษณุ เครืองามวิฑูรย์ วงษ์ไกรวิเชียร อัศว์ศิวะกุลวุฒิสภาไทยวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2วีระพล ตั้งสุวรรณวีระศักดิ์ ฟูตระกูลวีเอชเอฟวง อ.ส. วันศุกร์ศรีลังกามาตาศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณสภาผู้แทนราษฎรไทยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6สมบัติ ธำรงธัญวงศ์สมชาย สหชัยรุ่งเรืองสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลสมาคมสร้างคุณค่าสมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ)สมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาลสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาลสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนาสมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าอับดุลลอฮ์ที่ 1 แห่งจอร์แดนสมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดนสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสรศักดิ์ ส.ลูกบุคคโลสวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติสหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาวสหภาพพม่าในเอเชียนเกมส์ 1951สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1951สะพานสารสินสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสังศิต พิริยะรังสรรค์สามารถ แก้วมีชัยสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรสิริกร มณีรินทร์สุชาดา ถิระวัฒน์สุชาติ เหมือนแก้วสุกำพล สุวรรณทัตสุภัค ลิขิตกุลสุรสีห์ อิทธิกุลสุรทิน พิมานเมฆินทร์สุวรรณี สุคนธาสุนัย จุลพงศธรสุเมธ แย้มนุ่นสถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือสถาบันสถาปนา (หนังสือ)สดใส รุ่งโพธิ์ทองสงวน เล็กสกุลสงัด ชลออยู่สงครามจีน–พม่าสงครามโลกครั้งที่สองสติงสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกสโมสรฟุตบอลปาอีสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)หลิว เจียฮุยอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์อัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตันอัศวิน วิภูศิริอัศวิน ขวัญเมืองอันเดรอา ฟอน ฮับส์บูร์กอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์อาร์ชดัชเชสโยลันเดอแห่งออสเตรียอาคม เอ่งฉ้วนอาซาฮีบรอดแคสติงคอร์ปอเรชันอำเภอท่าสองยางอำเภอเมืองตรังอิกอร์ สตราวินสกีอีวาโนเอ โบนอมีอดุล อดุลเดชจรัสอนันต์ ลิมปคุปตถาวรฮาง ทุน ฮักฌัก ชีรักผิน ชุณหะวัณผุสดี ตามไทผุดผาดน้อย วรวุฒิผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุชจังหวัดเชียงใหม่จาง อี้โหมวจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาจีระพันธ์ วีระพงษ์จตุพล ภูอภิรมย์ธำรงค์ ไทยมงคลธีระชัย ภูวนาถนรานุบาลธงชาติลิเบียธงชาติศรีลังกาธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียธงชาติจอร์เจียธงชาติปากีสถานธงชาติเบลารุสธงชาติเฮิร์มธนาคารกลางเวียดนามธนิสร์ ศรีกลิ่นดีถนนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืมถนนอุทยานทอมมี ฮิลฟิเกอร์ทิพยประกันภัยทิวา เงินยวงท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพท้าวภัณฑสารนุรักษ์ (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5)ขวัญสรวง อติโพธิขัตติยะ สวัสดิผลขุนศึก (บันเทิงคดี)ดวงดาว จารุจินดาดี๋ ดอกมะดันคริส คูเปอร์คริสตัล เกลคริสโตเฟอร์ ครอสส์ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคาร์ล โจฮัน เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์กคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติคณะองคมนตรีไทยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานประกาศผลรางวัลออสการ์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 23ตานชเวตำบลหินเหล็กไฟ (อำเภอหัวหิน)ตำรวจตระเวนชายแดนตุนกู อับดุล ระฮ์มันตุ๊กตา หนูอยากกลับบ้านตุ๊กตาจ๋าซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซานเตียโก กาลาตราบาซิกวาร์ด เบอร์นาดอตซูเปอร์มาร์เก็ตประชาธิปไตยบนเส้นขนานประยุทธ์ อุดมศักดิ์ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ประสาท ตันประเสริฐประจักษ์ แกล้วกล้าหาญประเทศฟิลิปปินส์ใน ค.ศ. 1951ประเทศฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์ 1951ประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1951ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1951ประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1951ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1951ประเทศญี่ปุ่นในเอเชียนเกมส์ 1951ประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1951ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1951ประเทศมาเลเซียใน ค.ศ. 1951ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1951ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1951ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์ใน ค.ศ. 1951ประเทศสิงคโปร์ในเอเชียนเกมส์ 1951ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1951ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1951ประเทศอัฟกานิสถานในเอเชียนเกมส์ 1951ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1951ประเทศอิหร่านประเทศอิหร่านในเอเชียนเกมส์ 1951ประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1951ประเทศอินเดียใน ค.ศ. 1951ประเทศอินเดียในเอเชียนเกมส์ 1951ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1951ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1951ประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1951ประเทศปาปัวนิวกินีใน ค.ศ. 1951ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1951ประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1951ประเทศโอมานประเทศโคลอมเบียใน ค.ศ. 1951ประเทศไอซ์แลนด์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2491ประเทศไทยใน พ.ศ. 2494ประเทศไทยในเอเชียนเกมส์ 1951ประเทศเบลเยียมประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1951ประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 1951ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1951ปรากปลาหมอแคระคาเคทอยเดสปารีส-แบร็สต์-ปารีสปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุลปานี ยาท่อตู้ปีเตอร์ วิธนักฟุตบอลแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอลนายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)นารีมาน ศอดิกนาลันทานิมุคตาร์ วาบานิยม เวชกามานิติศาสตร์นีกอลา ซาร์กอซีนทีทิพย์ กฤษณามระแฟรงก์ ฮอปกินส์แพนอเมริกันเกมส์ 1951แก้วสรร อติโพธิแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์แอตแลนตา ฮอกส์แอนนา ลีโอโนเวนส์แผน สิริเวชชะพันธ์แผนมาร์แชลล์แผนลับ 20 กรกฎาคมแจ็ก เดมป์ซีย์โชคชัย โชคอนันต์โฟล์กสวาเกน บีเทิลโกวิทย์ ธารณาโกสัมพีโรบิน วิลเลียมส์โรมพินาศโรงพยาบาลราชวิถีโรงพยาบาลขอนแก่นโรงแรมนรกโรงเรียนบรบือโรงเรียนบริษัทไทยกสิกรสงเคราะห์โรงเรียนบ้านโป่งแดงโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์โรงเรียนพานพิเศษพิทยาโรงเรียนกันทรวิชัยโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัยโรงเรียนวัดทรงธรรมโรงเรียนศรีราชาโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯโรงเรียนศิริมาตย์เทวีโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรังโรงเรียนสันกำแพงโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสูงเนินโรงเรียนอยุธยานุสรณ์โรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์โรงเรียนทวีธาภิเศกโรงเรียนขุขันธ์โรงเรียนตากใบโรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิโรงเรียนแก่งคอยโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์โรงเรียนเมืองพัทยา 5 (บ้านเนินพัทธยาเหนือ)โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรเบร์โต ดูรันโรเจอร์ มัวร์โจะเซ โทะดะโทรทัศน์ประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1951โทรทัศน์ประเทศเนเธอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1951โทรทัศน์ในประเทศไทยโดม สุขวงศ์โตเกียวบรอดแคสติงซิสเตมไกวัล วัฒนไกรไม้อัดไทยไมเคิล คีตันไวเอตไอเวอร์ โนเวลโลไทยรัฐไดฮัทสุเบเนลักซ์เฟรนช์เกียนาเฟร์นันโด ลูโกเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์เพลงชาติคูเวตเพลงสรรเสริญพระบารมีเกมรวมดาราเอ็นบีเอเกริกกำพล ประถมปัทมะเกรน ประชาศรัยสรเดชเกาะเดวอนเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเมอร์เซเดส-เบนซ์ เอส-คลาสเรือหลวงพลายชุมพลเรือหลวงมัจฉาณุเรือหลวงวิรุณเรือหลวงศรีอยุธยาเรือหลวงสินสมุทรเลส พอลเลื่อน พงษ์โสภณเลียง ไชยกาลเวียง วรเชษฐ์เสม พริ้งพวงแก้วเสริม วินิจฉัยกุลเสือโคร่งแคสเปียนเส้นเวลาของยุคใหม่เหวง โตจิราการเอมัน เดฟเลอราเอลีโย ดี รูโปเอเชียนเกมส์ 1974เฮนเรียตตา แล็กส์เฮเลน (นักแสดง)เผ่า ศรียานนท์เจฟฟรีย์ รัชเจมส์ ดี. วัตสันเจป็อปเจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวดส์เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซียเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์เจ้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์เจ้าชายแคสเปียนเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงินเจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5เจเน็ต ลีห์เทศกาลภาพยนตร์เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลินเขื่อนเจ้าพระยาเขตการปกครองของประเทศไทยเดวิด เอ. ฮัฟฟ์แมนเดอะคิงแอนด์ไอเดินอากาศไทยเด๋อ ดอกสะเดาเคยู แบนด์ (วงดนตรี)เครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเควิน คีแกนเคิร์ต รัสเซลล์เคนนี แดลกลีชเปเรซ ปราโด1 กรกฎาคม1 ตุลาคม11 มิถุนายน11 เมษายน14 กุมภาพันธ์14 มิถุนายน14 มีนาคม14 ตุลาคม16 มิถุนายน16 เมษายน17 พฤษภาคม17 มีนาคม19 มีนาคม2 กรกฎาคม2 มิถุนายน2 ตุลาคม2001 จอมจักรวาล (นวนิยาย)21 กรกฎาคม22 พฤษภาคม23 กุมภาพันธ์24 สิงหาคม25 กันยายน26 พฤษภาคม26 มิถุนายน27 มกราคม28 พฤษภาคม29 พฤศจิกายน29 มิถุนายน29 ตุลาคม3 พฤษภาคม3 กันยายน30 มกราคม31 มีนาคม31 ธันวาคม4 มกราคม4 มีนาคม4 เมษายน5 กรกฎาคม5 กันยายน5 เมษายน51 (แก้ความกำกวม)6 กรกฎาคม6 กุมภาพันธ์7 มิถุนายน7 มีนาคม7 เมษายน8 พฤศจิกายน8 สิงหาคม9 กันยายน9 กุมภาพันธ์9 มกราคม ขยายดัชนี (519 มากกว่า) »

ชรัส เฟื่องอารมย์

รัส เฟื่องอารมย์ เกิดวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในปี 28 ยังทำงานอยู่ที่ธนาคารกรุงเทพ สาขาลุมพินี ชรัสเป็นนักร้องนักแต่งเพลงที่เป็น role model ช่วงแรกการนำเสนอผลงานเป็นการร่วมกัน ระหว่าง ชรัส และ แฟลช (วงของพนเทพ สุวรรณะบุณย์ โปรดิวเซอร์คุ่หูและศิลปินหลายท่าน อาทิ วิยะดา, กบ (ทรงสิทธิ์) ออกผลงาน ผีเสื้อ แมลงปอ ในสังกัดรถไฟดนตรี ต่อมาออกผลงานกับ EMI โดยร่วมกับ ชลิต เฟื่องอารมย์ ในชุด ชรัส-ชลิต และคนแปลกหน้า ในปี 2528 ไนท์สปอตโปรดักชั่น ดึงตัวไปออกงานร่วมกับ มาลีวัลย์ เจมีน่า ชุด มาลีวัลย์และชรัส เป็นงานพ๊อพแจ๊ซ ชรัสกลับมาดังอีกครั้งเมื่อออกงานชุด ชรัสวันนี้ กับแกรมมี่ในปี 2529 เพลง ทั้งรู้ก็รัก แล้วจึงมาอยู่ ครีเอเทียอาร์ทติสท์ ในชุด เหงา เหงา ก็เอามาฝาก หลังจากนี้มีชุด ชรัส พักร้อน กับค่ายบายมี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชรัส เฟื่องอารมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต อภัยวงศ์

วลิต อภัยวงศ์ เป็นอดีตรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระตะบอง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชวลิต อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต ฤทธิ์ถกล

ัณฑิต ฤทธิ์ถกล (21 มีนาคม พ.ศ. 2494 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552) ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย มีผลงานที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ ด้วยเกล้า (2530) และภาพยนตร์ในชุด บุญชู ที่สร้างชื่อเสียงให้กับดาราคู่ขวัญ จินตหรา สุขพัฒน์ และสันติสุข พรหมศิริ ซึ่งมีการสร้างภาคต่อรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง บัณฑิต ฤทธิ์ถกล เกิดที่อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน โดยบัณฑิตเป็นพี่คนโต จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และอัสสัมชัญพานิช เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบัณฑิต ฤทธิ์ถกล · ดูเพิ่มเติม »

บันทึกสถิติโลกกินเนสส์

หน้าปกกินเนสส์บุ๊ก ฉบับปี ค.ศ. 2008 หนังสือบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ หรือ กินเนสส์บุ๊ค (Guinness Book of World Records) เป็นหนังสือที่บันทึกที่สุดในโลกด้านต่างๆ โดยออกเป็นรูปแบบหนังสือรายปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชั่วฟ้าดินสลาย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)

ั่วฟ้าดินสลาย เป็นภาพยนตร์โศกนาฏกรรมความรัก กำกับโดย หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของ มาลัย ชูพินิจ นำแสดงโดย อนันดา เอเวอริ่งแฮม, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, ธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์, ศักราช ฤกษ์ธำรงค์, เพ็ญเพชร เพ็ญกุล และ ดารณีนุช โพธิปิติ ชั่วฟ้าดินสลายเป็นการกลับร่วมงานกันอีกครั้งระหว่างหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพกับสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล หลังจากผลงานเรื่องแรกคือ เพลิงพิศวาส ที่สร้างชื่อให้กับ สินจัย เปล่งพานิช ถึง 26 ปี และห่างจากผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่องล่าสุด อันดากับฟ้าใส ที่อนันดาแสดงเป็นพระเอก ถึง 13 ปี ออกฉายวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553 ชั่วฟ้าดินสลาย เป็นผลงานกำกับและเขียบทภาพยนตร์เรื่องที่ 9 ของหม่อมน้อยในรอบ 26 ปี ซึ่งจะโดดเด่นด้วยการออกแบบงานสร้างในรูปแบบศิลปกรรมล้านนาโบราณและเครื่องแต่งกายตามขนบธรรมเนียมล้านนา ได้รับเรตติ้ง "น 18+" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) ได้เปิดตัวรอบสื่อมวลชน ณ บริเวณชั้น 6 โรงภาพยนตร์พารากอน ซีนีเพล็กซ์ เมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชั่วฟ้าดินสลาย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553) · ดูเพิ่มเติม »

ชาห์แห่งอิหร่าน

มเด็จพระเจ้าชาห์แห่งอิหร่าน หรือที่มักเรียกว่าพระเจ้าชาห์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองราชวงศ์ซาฟาวิดจนถึงราชวงศ์ปาห์ลาวี โดยระบอบจักรวรรดินับตั้งแต่ ค.ศ. 1501 - ค.ศ. 1979 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายคือ พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี โดยนับตั้งแต่การปฏิวัติอิสลามอิหร่านมีพระจักรพรรดิเป็นเชื้อพระวงศ์ในราชวงศ์กอญัร และ ราชวงศ์ปาห์ลาวี ที่สืบราชสกุล และ อ้างสิทธิในราชบัลลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชาห์แห่งอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

บานประตูวิหารวัดพระฝาง

นประตูวัดพระฝาง เป็นบานประตูไม้จำหลักปิดทองประดับกระจกโบราณสมัยอยุธยาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจังหวัดอุตรดิตถ์ และเป็นบานประตูพุทธศาสนสถานที่มีความสวยงามมากที่สุด 1 ใน 3 คู่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ บานประตูวิหารวัดพระฝาง, บานประตูพระวิหารวัดพระแท่นศิลาอาสน์ และบานประตูวิหารวัดดอนสัก โดยประตูวิหารวัดพระฝางนี้เป็น 1 ใน 2 คู่ บานประตูสำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ยังคงหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันบานประตูวัดพระฝางบานเดิมจัดแสดงอยู่ที่อาคารธรรมสภา วัดธรรมาธิปไตย ภายในตัวเมืองอุตรดิตถ์ ส่วนบานจำลองสร้างใหม่ติดตั้งจัดแสดงอยู่ในกรอบประตูวิหารหลวงวัดพระฝาง สามารถเข้าชมได้ทุกวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบานประตูวิหารวัดพระฝาง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงชัย มงคลธรรม

นายชิงชัย มงคลธรรม หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชิงชัย มงคลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

บุญชัย บำรุงพงศ์

ลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 12 กันยายน พ.ศ. 2538) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหารบก ลำดับที่ 20 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 - 30 กันยายน 2519 เป็นบุตรนายยัง และนางแพ บำรุงพงศ์ สมรสกับคุณหญิงจรัสลักษณ์ บำรุงพงศ์ บุญชัยสำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุญชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญคลี ปลั่งศิริ

ญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บูญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารระดับสูง ที่ถูกยกย่องให้เป็นผู้บริหารที่อยู่แถวหน้าของไทย การวิเคราะห์แต่ละอย่างได้ลงในหนังสือพิมพ์อยู่บ่อยครั้ง เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยน บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ให้กลายมาเป็น Conglomerate รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในช่วงการดูแลกิจการของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้ขยายงานออกไปสายธุรกิจอื่น เช่น สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, แอร์เอเชีย, Capital OK, Shinee.com และอื่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุญคลี ปลั่งศิริ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเติม จันทะวัฒน์

ญเติม จันทะวัฒน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนเดียวของพรรคถิ่นไทย นับตั้งแต่ก่อตั้งพรรคเป็นต้นม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุญเติม จันทะวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูชัย พระขรรค์ชัย

ูชัย พระขรรค์ชัย อดีตนักมวยไทยชื่อดังและอดีตนักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียงในยุคก่อนปี พ.ศ. 2500 เจ้าของฉายา เทพบุตรสังเวียน จากการที่เป็นนักมวยที่มีหน้าตาดี ได้ชื่อว่าเป็นนักมวยที่หมัดหนักโดยเฉพาะ หมัดขว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชูชัย พระขรรค์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส คริก

ฟรานซิส คริก ฟรานซิส คริก (Francis Harry Compton Crick OM FRS (8 มิถุนายน พ.ศ. 2459 – 28 กรกฎาคม 2547) นักอณูชีววิทยาชาวอังกฤษ นักฟิสิกส์และนักประสาทวิทยาศาสตร์ ผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของ “กรดดีออกซีไรโบนิวคลิอิก” หรือ “ดีเอ็นเอ” เมื่อ พ.ศ. 2496 ฟรานซิส คริก กับ เจมส์ ดี. วัตสัน ผู้ร่วมค้นพบ ได้ร่วมรับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยา หรือ การแพทย์ “สำหรับการค้นพบที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลิอิกและความสำคัญของมันในการถ่ายทอดข้อมูลสำคัญในสิ่งมีชีวิต” งานของฟรานซิส คริกในช่วงหลังจนถึงปี พ.ศ. 2520 ที่หอทดลองอณูชีววิทยา “เอ็มอาร์ซี” หรือ “สภาวิจัยทางการแพทย์” (MRC-Medical Research Council) ไม่ได้รับการยอมรับเป็นทางการมากนัก ในช่วงท้ายในชีวิตงาน คริกได้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เมธีวิจัย “เจ ดับบลิว คีกเคเฟอร์” ที่ “สถาบันซอล์คชีววิทยาศึกษา” ที่เมืองลาโฮลา รัฐแคลิฟอร์เนีย และได้ดำรงตำแหน่งนี้จนสิ้นชีวิตเมื่ออายุได้ 88 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟรานซิส คริก · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2538 โดยชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในฐานะตัวแทนพรรคสังคมนิยม (PS) เขาชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2524 กลายเป็นประธานาธิบดีสังคมนิยมคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5และเป็นประมุขแห่งรัฐที่มาจากฝ่ายซ้ายคนแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 และในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2531นั้น เขาก็ชนะอีกครั้งหนึ่งและดำรงตำแหน่งจนถึงปี พ.ศ. 2538 ก่อนที่จะต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในปีเดียวกัน ในการดำรงตำแหน่งทั้งสองวาระนั้น เขาได้ยุบสภาเพื่อที่จะได้เสียงข้างมากในสภา แต่ทว่าพรรคสังคมนิยมก็ได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองครั้ง และทำให้เกิด "การบริหารร่วมกัน" ในสองปีสุดท้ายของทั้งสองวาระ โดยมีฌัก ชีรักเป็นแกนนำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2531 และเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดด้วยระยะเวลา 14 ปี ทั้งยังเป็นประธานาธิบดีที่อาวุโสที่สุดอีกด้วย (สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งเมื่ออายุ 78 ปี) ฟร็องซัว มีแตร็องถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟร็องซัว มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฟิล คอลลินส์

ฟิล คอลลินส์ (มีชื่อเต็มว่า Philip David Charles Collins) เกิดเมื่อปี 30 มกราคม ค.ศ. 1951 ในเมืองชิสิก, ลอนดอน ประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟิล คอลลินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี

อมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข รองนายกรัฐมนตรี จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี มีนามเดิมว่า ฟื้น ฤทธาคนี เป็นบุตรของนายฟุ้ง ฤทธาคนีและนางพุดตาน ฤทธาคนี ศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน (อาหรับ: منتخب البحرين لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ราชอาณาจักรบาห์เรน อยู่ภายใต้การควบคุมของ สมาคมฟุตบอลบาห์เรน ทีมชาติบาห์เรนก่อตั้งในปี พ.ศ. 2494 และเข้าร่วมฟีฟ่าในปี 2509 ทีมบาห์เรนยังไม่เคยเข้าร่วมฟุตบอลโลก แต่ในระดับเอเชียแล้ว ทีมชาติบาห์เรนได้อันดับ 4 ใน เอเชียนคัพ 2004 และในปีนั้นทีมบาห์เรนได้รับรางวัลทีมที่มีการพัฒนามากที่สุดจากฟีฟ่า ในปี 2547.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟ็อล์คสพาร์คชตาดิโยน

ฟ็อล์คสพาร์คชตาดิโยน (Volksparkstadion) ในชื่อเดิม "อิมเท็คอาเรนา" (Imtech Arena) เป็นสนามกีฬาในเมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนีสร้างใน พ.ศ. 2494-2497 เปิดใช้เมื่อ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ภายใต้ชื่อ Volksparkstadion จนกระทั่งมาเปลี่ยนชื่อเป็นอาโอเอ็ล อาเรนา ใน พ.ศ. 2544 ตามชื่อบริษัทเอโอแอลไทม์วอร์เนอร์ ปัจจุบันทีมฮัมบูร์เกอร์เอสเฟาทีมในลีกบุนเดสลีกา ใช้สนามนี้เป็นสนามเหย้าของสโมสร สนามนี้ใช้ในการแข่งขันยูฟ่าคัพ 2010 รอบสุดท้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟ็อล์คสพาร์คชตาดิโยน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2412

ทธศักราช 2412 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2412 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (Communist Party of Kampuchea; គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា; CPK) หรือพรรคคอมมิวนิสต์เขมร (Khmer Communist Party), เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม

รรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Đảng Cộng sản Việt Nam) เป็นพรรคการเมืองที่ถูกกฎหมายพรรคเดียวในเวียดนาม เป็นพรรคนิยมลัทธิมากซ์-เลนินที่สนับสนุนโดยแนวหน้าปิตุภูมิเวียดนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนปฏิวัติลาว

งานเฉลิมฉลองวันสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ครบรอบ 30 ปี วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (ພັກປະຊາຊົນປະຕິວັດລາວ, พักปะซาซนปะติวัดลาว; Lao People’s Revolutionary Party) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่จัดตั้งรัฐบาลในลาว มีกำเนิดจากพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนที่เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2473 จนสลายตัวไปใน พ.ศ. 2494 เพื่อเป็นเงื่อนไขให้ 3 ประเทศอินโดจีนมีพรรคเป็นของตนเอง พรรคได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2498 ใช้ชื่อว่า "พรรคประชาชนลาว" โดยเป็นองค์กรแกนนำของแนวลาวฮักซาดและขบวนการปะเทดลาว พรรคประชาชนลาวได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคประชาชนปฏิวัติลาวในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2515 หลังจากประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 แล้ว เลขาธิการพรรคท่านแรกคือท่านไกสอน พมวิหาน ที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2498 จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2535 กองประชุมพรรคจึงได้เลือกท่านคำไต สีพันดอน เป็นประธานพรรค ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2535 - 2549 และกองประชุมใหญ่ครั้งที่ 8 ของพรรค ได้เลือกตั้งท่าน จูมมะลี ไซยะสอน เป็นเลขาธิการคณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว และเป็นประธานประเทศคนปัจจุบัน จนถึงวันที่ 22 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพรรคประชาชนปฏิวัติลาว · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)

รรคเสรีธรรม (Liberal Integrity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 113/1617 ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ที่ประชุมใหญ่ของพรรคมีมติเอกฉันท์ให้รวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเอกราชมลายา

รรคเอกราชมลายา (Independence of Malaya Party) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2494 เป็นองค์กรไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดเพื่อกระตุ้นให้อังกฤษให้เอกราชแก่มลายา ผู้ก่อตั้งคือ ดาโต๊ะ โอนท์ บิน จาอาฟาร์ ซึ่งเป็นประธานอัมโนคนแรกด้วย จาอาฟาร์สนับสนุนให้มีการยอมรับคนกลุ่มอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ชาวมลายูด้วย แต่สมาชิกอัมโนส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย จาอาฟาร์จึงแยกออกมาตั้งพรรคเอกราชมลายาเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพรรคเอกราชมลายา · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)

ระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) (2 มกราคม พ.ศ. 2462 - 29 มกราคม พ.ศ. 2557) พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิศิษฏ์ (ทอง จนฺทสิริ)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระญาณวิศิษฏ์ (ทอง จนฺทสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตฺโต)

ระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตโต) (2474-2553) อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าวิเวก (ธรรมชาน์) และเจ้าคณะอำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พระผู้เปี่ยมด้วยเมตตาและศิษยานุศิษย์ให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก ท่านเป็นพระปฏิบัติด้านวิปัสสนากรรมฐาน โดยเป็นลูกศิษย์รุ่นแรกๆ ของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดศรีสะเกษ‎ ค หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (ธรรมยุติกนิกาย).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)

มหาเสวกเอก พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) อดีตผู้บัญชาการกรมมหรสพในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)

ลตรี พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) (18 ธันวาคม พ.ศ. 2425 - พ.ศ. 2494) ทหารบกชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

ลเอก พระยาเทพหัสดิน (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) หัวหน้าคณะทูตทหารไทยที่เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 นักโทษประหาร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พลเอกพระยาเทพหัสดินฯ ได้รับพระราชทานยศ บรรดาศักดิ์ และราชทินนามเต็มว่า พลเอก พระยาเทพหัสดิน สยามพิชิตินทร์สวามิภักดิ์ อุดมศักดิ์เสนีย์พิริยะพาหะ เป็นบุตรชายคนโตในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 8 คน ของพันเอก หลวงฤทธิ์นายเวร (พุด เทพหัสดิน ณ อยุธยา พี่ชายต่างมารดาของ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)) ซึ่งเป็นมหาดเล็กข้าหลวงเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เกิดเมื่อวันขึ้น 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 ณ บ้านสำเพ็ง หน้าวัดจักรวรรดิราชาวาส จังหวัดพระนคร พระยาเทพหัสดิน มีศักดิ์เป็นหลานอาของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี แต่มีอายุไล่เลี่ยกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)

ระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ) (นามเดิม:วิเชียร เรืองขจร) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ และรองเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส)

ระวิสุทธิสังวรเถร (พรหมวํโส) นำแถวพระภิกษุออกบิณฑบาต พระวิสุทธิสังวรเถร (พรหมวํโสภิกฺขุ) หรือ "พระพรหมวังโส" หรือตามที่รู้จักในหมู่ลูกศิษย์ว่า "อาจารย์พรหม" (Ajahn Brahm) เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนา นิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวอังกฤษ หนึ่งในศิษย์ชาวต่างประเทศของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิญาณ เมืองเซอร์เพนไทน์ รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็นอดีตวัดสาขาของวัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย พระพรหมวังโสเป็นที่รู้จักทั่วไปจากกรณีเป็นพระกรรมวาจาจารย์บวชภิกษุณี 4 รูปอย่างลับๆ ที่ประเทศออสเตรเลีย เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 ทำให้คณะสงฆ์ไทยและคณะสงฆ์นานาชาติสายวัดหนองป่าพงได้เชิญท่านมาประชุมชี้แจงถึงเรื่องดังกล่าวในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน ผลปรากฏว่ามีการลงมติขับพระพรหมวังโสออกจากความเป็นหมู่คณะของสงฆ์สายวัดหนองป่าพง เพราะเห็นว่าการบวชภิกษุณีเป็นการขืนกระทำโดยผิดต่อพระวินัยฝ่ายเถรวาท และตัดวัดโพธิญาณออกจากความเป็นวัดสาขาของวัดหนองป่าพงอีกด้วย มติดังกล่าวนี้ทำให้พระพรหมวังโสได้ขาดจากความปกครองของคณะสงฆ์ไทยมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิสารเถร (ภูสิต ขนฺติธโร)

ระวิสุทธิสารเถร (ภูสิต ขันติธโร) วัดป่าหลวงตาบัว ญาณสัมปันโน หมู่ 5 บ้านพุไม้แดง ต.สิงห์ อ.ไทร.กาญจนบุรี นามเดิมคือ ภูสิต แต่มักจะคุ้นหูในชื่อ หลวงตาจันทร์ ท่านเป็นศิษย์ผู้ใกล้ชิดและเคยอุปัฎฐาก พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) มาเป็นเวลานานและชื่อ"จันทร์" ก็เป็นชื่อที่หลวงตาตั้งให้ใหม่ หลังจากบวชที่วัดป่าบ้านต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระวิสุทธิสารเถร (ภูสิต ขนฺติธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระสมุห์เจือ ปิยสีโล

ระสมุห์เจือ ปิยสีโล หรือ หลวงปู่เจือ ปิยสีโล ท่านเกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 ตรงกับปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ ฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บ้านท้ายคุ้ง ต.ไทยยาวาส อ. นครชัยศรี.นครปฐม บิดา-มารดา ชื่อ นายแพและนางบู่ เนตรประไพ เมื่อครั้นวัยเยาว์ ท่านเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดประชานาถ (วัดโคกแขก) แล้วมาช่วย ครอบครัวทำนา หาเลี้ยงชีพ จนกระทั่งเมื่อมีอายุ 26 ปีจึงกราบลาบิดามารดาไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดกลางบางแก้ว โดยมี (พระครูพุทธวิถีนายก (เพิ่ม ปุญญวสโน) เจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว เป็นพระอุปัชฌาย์, พระธรรมธรมูล วัดกลางบางแก้ว เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูพุทธไชยศิริ (ผูก) วัดใหม่สุประดิษฐาราม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลังจากอุปสมบทแล้วท่านก็มา ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมอย่างมุ่งมั่น สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก และได้รับตำแหน่งรองเจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้วเมื่อปี พ.ศ. 2528 หลงจากที่ปฏิเสธตำแหน่งเจ้าอาวาสมาครั้งหนึ่ง หลวงปู่ท่านได้สร้างวัตถุมงคลมากมาย มีทั้งเบี้ยแก้ และทางด้านแคล้วคลาด เมตตามหานิยม ป้องกันคุณไสยต่าง ๆ นอกจากนี้ท่านยังสร้างวัตถุมงคลต่าง ๆ แจกให้กับลูกศิษย์ เช่น หลวงปู่เจือ รุ่น 1 พ.ศ. 2534 เนื้อเงิน เนื้อกะไหล่ทอง รูปหล่อลอยองค์ รูปเหมือนบูชา พระพิฆเนศวรบูชา พระกริ่งนเรศวรตรึงไตรภพ พระพิมพ์ปรกโพธิ์เนื้อผง พระนางพญาสะดุ้งกลับเนื้อผงขมิ้นเสก และเนื้อดินเผา พระพิมพ์เศียรโล้น พระพิมพ์ซุ้มแหลม พระขุนแผนเคลือบ เหรียญหล่อหลวงปู่เจือ พระปิดตา เนื้อผง ผ้ายันต์และยาจินดามณี แต่น่าเสียดายที่ท่านได้ถึงแก่มรณภาพอย่างกะทันหันเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ในแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ปัจจุบัน รวมสิริอายุได้ 84 ปี 58 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระสมุห์เจือ ปิยสีโล · ดูเพิ่มเติม »

พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)

หลวงปู่เขียน ฐิตสีโล (29 ตุลาคม พ.ศ. 2456 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) เป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระอริยเวที อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดา อดีตเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระเถราจารย์ผู้ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นที่น่าเคารพสักการบูชาของบรรดาศิษยานุศิษย์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า รวมทั้ง เป็นเพื่อนสหธรรมิกกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ตั้งแต่ครั้งสมัยที่ท่านทั้งสามยังมีอายุพรรษาไม่มากนัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา

ระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา (18 มกราคม พ.ศ. 2494 - เมษายน พ.ศ. 2519) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี มีพระพี่น้องร่วมพระมารดา 7 พระองค์ พระองค์ทรงพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)

ระธรรมวงศาจรย์ (สุข สุขโณ) หรือ หลวงปู่สุข (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457-3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554)พระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระธรรมวงศาจารย์ สุวิธาน ปริยัติกิจ อนุสิฐธรรมสุนทร ปสาทกร ภาวนาวิสิฐ มหาคณิสรร บวรสังฆาราม คามวาสี อดีตเจ้าอาวาสวัดกลาง จังหวัดกาฬสินธุ์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

ระธรรมโสภณ หรือ หลวงพ่อใหญ่ นามเดิม โกศล โพธิ์งาม ฉายา สิรินฺธโร (30 มิถุนายน พ.ศ. 2467) เป็นพระภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุรินทร์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนวัดสุทธจินดา,เจ้าสำนักเรียนวัดสุทธจินดา, ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทธจินดา, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ดูแลคณะสงฆ์ 6 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวลำภูและ บึงกาฬ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูพิศาลธรรมประยุต (เกิด ปฺณณปญฺโญ)

หลวงพ่อเกิด วัดสะพาน (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2415 - 27 ธันวาคม พ.ศ. 2499) เหรียญของท่านเสมือนอัญมณีชิ้นเอกของเมืองนครนายกวัตถุมงคลของท่านช่วยคุ้มครองป้องกันภัยนานาประการ และดลบันดาลแต่สิ่งที่เป็นมงคลศิษย์เอกขงอท่านที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาจากท่านคือ หลวงพ่อภู่ วัดช้าง อำเภอบ้านน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระครูพิศาลธรรมประยุต (เกิด ปฺณณปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูธรรมสรคุณ (เขียน ขนฺธสโร)

หลวงพ่อเขียน ขนฺธสโร (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 — 28 เมษายน พ.ศ. 2555) พระเกจิอาจารย์อีกท่านหนึ่งแห่ง จันทบุรี อดีตเจ้าอาวาสวัดกระทิงท่านเป็นผู้มีอิทธิฤทธิ์และมีอิทธิปาฏิหาริย์ มีวิชาอาคมอันแก่กล้า โดยเฉพาะ ท่านสามารถใช้เวทมนตร์ สะกดพวกสัตว์ป่า ไม่ให้ออกมาเพ่นพ่าน ในตอนที่ เขาคิชฌกูฎ ได้เปิดให้ผู้คนขึ้นมาสักการะพระพุทธรูป ไหว้พระ และมากราบนมัสการท่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระครูธรรมสรคุณ (เขียน ขนฺธสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร)

หลวงพ่อเดิม พุทธสโร (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2403 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) เทพเจ้าแห่งนครสวรรค์ ผู้สร้างมีดหมอที่โด่งดังมากที่สุดในประเทศไทย ท่านมีลูกศิษย์มาขอศึกษาวิชาพุทธาคมมากมายเช่น หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ เป็นต้น ท่านมีรูปร่างสูงใหญ่ และมีอิริยาบถงามสง่า จึงเป็นที่เคารพยำเกรงของคนทั่วไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)

ระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) ม.ว.ม. ป..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเศวตอดุลยเดชพาหน

ระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นพระยาช้างเผือกประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นช้างสำคัญในตระกูลพรหมพงศ์ จำพวกอัฏฐทิศ ชื่อ กมุท สีกายดังดอกกมุท หรือบัวสายแดง ได้รับพระราชทานนามเต็มว่า พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นช้างพลายเผือกโท เกิดในป่าเขตจังหวัดกระบี่ เมื่อประมาณ พ.ศ. 2494 ถูกคล้องได้ที่ บ้านหนองจูด ตำบลดินอุดม อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่เมื่อ พ.ศ. 2499 โดยนายแปลก ฟุ้งเฟื่องและนายปลื้ม สุทธิเกิด(หมอเฒ่า) เป็นลูกช้างติดแม่อยู่ในโขลงช้างป่า พร้อมกับช้างอื่นๆ อีก 5 เชือกคือ พังสาคร พลายทอง พังเพียร พังวิไล และพังน้อย โดยในตอนนั้นพระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ได้ชื่อว่า "พลายแก้ว" มีความสูง 1.60 เมตร เมื่อพระราชวังเมือง (ปุ้ย คชาชีวะ)ได้ตรวจสอบคชลักษณ์แล้วพบว่าเป็นช้างสำคัญ จึงนำมาเลี้ยงไว้ที่สวนสัตว์ดุสิต เมื่อเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเศวตอดุลยเดชพาหน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย

มเด็จพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย (إدريس الأول), (พระนามเดิม: ซัยยิด มุฮัมมัด อิดริส บิน มุฮัมมัด อัลมะห์ดี อัสเซนุสซียะห์; Sayyid Muhammad Idris bin Muhammad al-Mahdi as-Senussi), 12 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย

มเด็จพระเจ้าซ็อกที่ 1 สคันเดอร์เบ็กที่ 3 แห่งแอลเบเนีย (Zog I, Skanderbeg III) พระนามเดิม อาเหม็ด มุห์ตา เบย์ โซโกลลี ภายหลังเปลี่ยนเป็น อาเหม็ด โซกู (8 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 9 เมษายน พ.ศ. 2504) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งแอลเบเนียตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2482 ก่อนหน้านั้นพระองค์ทรงเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2465 - 2467) และประธานาธิบดีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2468 - 2471).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส)

ระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส) (นามเดิม: กฤช ประเวสจินดา) (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 - ปัจจุบัน) เจ้าอาวาสวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)

นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) เป็นนายทหารนักบินไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1 และอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดินคนแรก เดิมชื่อ "หลี" เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2438 ณ บ้านเลขที่ 6 ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ของนายคำและนางยวง สุวรรณานุช ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกในปีพุทธศักราช 2457 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนายร้อยตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้บังคับหมวดในกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 พุทธศักราช 2460 ได้สมัครเข้าเป็นกองทหารอาสาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตำแหน่งนายร้อยโท ผู้บังคับหมวดในกองย่อยรถยนต์ กองใหญ่รถยนต์ที่ 4 พุทธศักราช 2461 เดินทางไปราชการในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำการ ณ ประเทศฝรั่งเศส และด้วยที่มีใจรักทางการบิน จึงเข้าฝึกเป็นนักบินในโรงเรียนการบินทหารบกและโรงเรียนการทิ้งระเบิดแห่งประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2462 สำเร็จการฝึกเป็นนักบิน เข้าประจำการในกองทัพยึดดินแดนเมืองนอยสตาดท์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทำหน้าที่เป็นนักบินและผู้ทิ้งลูกระเบิด โดยปฏิบัติการอยู่ประมาณ 4 เดือน เมื่อสงครามสงบได้เดินทางกลับประเทศไทยแล้วย้ายสังกัดไปอยู่ กรมอากาศยานทหารบก ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด กองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งกรมอากาศยานทหารบกนี้ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” และได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนขยายหน่วยงานจนได้รับการยกฐานะเป็น “กองทัพอากาศ” ในปัจจุบัน พุทธศักราช 2464 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นเรืออากาศเอก ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับกองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2467 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงเทวัญอำนวยเดช” และเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2468 เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บังคับกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2469 เป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 2 กองบินใหญ่ที่ 3 ปีพุทธศักราช 2470 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศตรี และเป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 1 กองบินใหญ่ที่ 2 พุทธศักราช 2473 ประจำกองอากาศยานเพื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก พุทธศักราช 2474 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศโท พุทธศักราช 2475 เข้าศึกษาในโรงเรียนการบินขั้นสูง และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระเทวัญอำนวยเดช” พุทธศักราช 2476 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมอากาศยาน ฝ่ายธุรการ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองกรณี “กบฏบวรเดช” มีการใช้กำลังทหารต่อสู้กันระหว่างฝ่ายของ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กับฝ่ายรัฐบาลของคณะราษฎร เป็นผลให้นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ต้องพ้นจากราชการ และเปลี่ยนฐานะเป็น “นักโทษการเมือง” ต่อมา พุทธศักราช 2480 ได้มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองในกรณีดังกล่าว และพิจารณาให้กลับเข้ารับราชการ โดยให้ไปเป็นข้าราชการพลเรือนปฏิบัติงานในกระทรวงทบวงกรมอื่น พุทธศักราช 2481 ได้รับบรรจุเป็นเสมียนพนักงาน กองสหกรณ์ภาคใต้ กรมสหกรณ์ แล้วเข้าศึกษาในโรงเรียนการอบรมกรมสหกรณ์ที่ดิน หลังจากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานสหกรณ์จัตวา กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2482 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพนักงานสหกรณ์ตรี กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ประจำเขตอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พุทธศักราช 2489 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองขยายการสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2494 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสหกรณ์นิคม กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2495 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศปรับปรุงการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรม ให้มีการจัดตั้งกระทรวงการสหกรณ์ขึ้น และมี กรมสหกรณ์ที่ดิน เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด โดย นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอธิบดี พุทธศักราช 2496 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดิน โดยนับเป็นอธิบดีคนแรกเมื่อมีการประกาศแบ่งส่วนราชการนี้ขึ้น (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อหน่วยงานเป็น "กรมส่งเสริมสหกรณ์" สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) พุทธศักราช 2501 เกษียณอายุราชการเพื่อรับบำนาญ ในตอนปลายของชีวิต นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ใช้เวลาอยู่กับการปลูกและดูแลต้นไม้ซึ่งเป็นสิ่งที่รักเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาสุขภาพทรุดโทรมลง และเริ่มมีอาการป่วยจนถึงแก่กรรมในที่สุดจากเหตุตับวาย ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พุทธศักราช 2514 เวลา 19.05 นาฬิกา สิริอายุ 76 ปี 6 เดือน จัดการพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) · ดูเพิ่มเติม »

พะจุณณ์ ตามประทีป

ลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป (ชื่อเล่น: ตุ้ม) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบและสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตหัวหน้าสำนักงานมูลนิธิรัฐบุรุษและนายทหารคนสนิท พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรีและประธานองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 (ตท.12-ร่วมรุ่นกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา, พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี, พล.ต.ท.สัณฐาน ชยนนท์), โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 69, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 (วปอ.46) พล.ร.อ.พะจุณณ์ มีบทบาทในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2549 โดยในคืนวันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 พล.ร.อ.พะจุณณ์ ซึ่งในขณะนั้นมียศ พลเรือโท (พล.ร.ท.) เป็นผู้รับหนังสือร้องทุกข์ของแผ่นดินจาก นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้นำการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่นำคณะผู้ชุมนุมกลุ่มหนึ่งเดินจากที่ชุมนุมลานพระบรมรูปทรงม้า มายังบ้านสี่เสาเทเวศน์ ซึ่งเป็นบ้านพักของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ และเป็นผู้นำนายสนธิเข้าไปเจรจาในบ้านเป็นเวลา 10 นาที ก่อนที่นายสนธิจะออกมา เนื่องจากในขณะนั้น พล.อ.เปรม มิได้อยู่ในบ้าน หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ด้วยในอัตราข้าราชการทหารกองทัพเรือ จากนั้นในปี พ.ศ. 2552 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง ข้าราชการทหารและตำรวจ ในส่วนของ พล.ร.อ.พะจุณณ์ ได้เลื่อนยศเป็น พลเรือเอก (พล.ร.อ.) ในอัตราจอมพล และได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือ โดยในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทยนั้น พล.ร.อ.พะจุณณ์ ในฐานะนายทหารใกล้ชิด พล.อ.เปรม มักจะเป็นผู้ตอบโต้หรือแถลงแทนตัว พล.อ.เปรม เมื่อถูกพาดพิงถึงเสมอ ๆ หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศและกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ชีวิตส่วนตัว พล.ร.อ.พะจุณณ์สมรสกับ นางพรเพ็ญ ตามประทีป มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ แพรววลัย ตามประทีป อดีตประธานสหภาพรัฐวิสาหกิจ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพะจุณณ์ ตามประทีป · ดูเพิ่มเติม »

พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา

รณ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อดีตวุฒิสมาชิกและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

พิรุณ แผ้วพลสง

ลเอก พิรุณ แผ้วพลสง อดีตประธานกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน กรรมการ เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 ปฏิบัติหน้าที่ตาม พรก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพิรุณ แผ้วพลสง · ดูเพิ่มเติม »

พนัส สิมะเสถียร

ตราจารย์ พนัส สิมะเสถียร เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพนัส สิมะเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

กบฏแมนฮัตตัน

กบฏแมนฮัตตัน หรือ กรณีแมนฮัตตัน ชื่อเรียกเหตุการณ์การกบฏในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เมื่อทหารเรือกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะกู้ชาติ" นำโดย น.ต.มนัส จารุภา ร.น.ผู้บังคับการเรือหลวงรัตนโกสินทร์ พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ นายทหารนอกราชการ อดีตผู้บังคับการกรมนาวิกโยธิน นาวาเอก อานนท์ ปุณฑริกาภา ผู้บังคับการกองสำรองเรือรบ นาวาตรี ประกาย พุทธารี สังกัดกรมนาวิกโยธิน และ นาวาตรี สุภัทร ตันตยาภรณ์ สังกัดกรมนาวิกโยธิน ทำการกบฏจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ระหว่างเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดสันดอนสัญชาติอเมริกัน ชื่อ "แมนฮัตตัน" ที่ท่าราชวรดิฐ โดยนำไปกักขังไว้ในเรือรบหลวงชื่อ "ศรีอยุธยา" ที่จอดรออยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งก่อนหน้านี้ คณะผู้ก่อการคิดจะก่อการในลักษณะเช่นนี้มาหลายครั้งแล้ว แต่ยังไม่สบจังหวะที่เหมาะสม จึงได้แต่เลื่อนออกไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวลาลงมือจริง หลายฝ่ายที่ถูกชักชวนให้ลงมือก็คาดว่าจะต้องมีการเลื่อนอีกแน่นอน จึงมิได้ปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ เหตุที่เลือกเอาวันนี้เป็นวันลงมือ เพราะก่อนหน้านั้นเพียงหนึ่งวัน มีการปล่อยกำลังทหารกองหนุนกลับสู่ภูมิภาค ทำให้จำนวนทหารในพระนครเหลือน้อย เรียกกลับมาประจำการไม่ทัน อีกทั้งพื้นที่บริเวณนี้ก็เป็นเขตของทหารเรือด้วย จึงลงมือได้ง่ายกว่า ในเหตุการณ์กบฏ หัวหน้าคณะก่อการ คือ น.อ.อานนท์ ปุณฑริกกาภา ร.น. สั่งการให้ทหารเรือกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการมุ่งหน้าและตรึงกำลังไว้ที่พระนคร และประกาศตั้ง พระยาสารสาสน์ประพันธ์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม กระจายเสียงในฐานะนายกรัฐมนตรีจากในเรือ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลไม่ยอม ได้กระจายเสียงตอบโต้ไปโดยใช้วิทยุของกรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) โดยได้ให้นายวรการบัญชา ประธานสภาผู้แทนราษฎร รักษาการนายกรัฐมนตรีแทน และตั้งกองบัญชาการขึ้นที่ทำเนียบรัฐบาล (ในขณะนั้นคือ พระที่นั่งอนันตสมาคม) จึงเกิดการต่อสู้ยิงกันอย่างหนักระหว่างทหารฝ่ายรัฐบาลและทหารฝ่ายก่อการ ซึ่งตามแผนการของผู้ก่อการแล้ว ฝ่ายก่อการต้องยึดโรงไฟฟ้าและสถานีโทรศัพท์กลาง ที่หน้าวัดราชบุรณะ (วัดเลียบ) ให้ได้ โดยเรือรบหลวงศรีอยุธยาจะต้องแล่นผ่านสะพานพระพุทธยอดฟ้า ซึ่งเปิดรอ เพื่อไปตั้งกองบัญชาการที่ฝั่งพระนคร และมีกำลังทหารจากต่างจังหวัดยกเข้ามาสมทบทั้งทหารเรือและทหารบก แต่เมื่อลงมือจริง ๆ แล้วกลับไม่เป็นไปตามนั้น สะพานพระพุทธยอดฟ้าก็ไม่เปิด และในที่สุดเครื่องยนต์เรือก็เสียจากการถูกโจมตีหนัก โดยในวันที่ 29 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกบฏแมนฮัตตัน · ดูเพิ่มเติม »

กบฏในประเทศไทย

ตามกฎหมายไทย กบฏ เป็นความผิดอาญา ฐานกระทำความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ ภายในราชอาณาจักร โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อล้มล้าง หรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ หรือล้มล้างอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร หรืออำนาจตุลาการ หรืออำนาจอธิปไตยทั้งสาม หรือแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครองในส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งราชอาณาจักร เรียกว่า ความผิดฐานเป็นกบฏหรือขบถ และกำหนดโทษสำหรับผู้ก่อการกบฏ ให้ประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต อย่างไรก็ตาม มีผู้ได้รับโทษทัณฑ์ในข้อหากบฏในราชอาณาจักรน้อย มีที่ได้รับพระราชทานอภัยโทษ เช่น กบฏ ร.ศ. 130 รับนิรโทษกรรมจากรัฐบาล หรือหลบหนีไปนอกราชอาณาจักร เช่น กบฏวังหลวง กรณีที่มีผู้รับโทษประหารชีวิตได้แก่ กบฏ 26 มีนาคม 2520 ซึ่งเป็นหนึ่งในชนวนเหตุที่ทำให้ทหารรัฐประหารรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียรในเวลาต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกบฏในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กบฏเสนาธิการ

กบฏเสนาธิการ หรือ กบฏนายพล หรือ กบฏ 1 ตุลาคม เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491 เมื่อนายทหารระดับเสนาธิการของกองทัพ เช่น พลตรีสมบูรณ์ ศรานุชิต และ พล.ต.เนตร เขมะโยธิน เป็นหัวหน้าคณะนายทหารกลุ่มหนึ่ง วางแผนที่จะเข้ายึดอำนาจการปกครอง และปรับปรุงกองทัพจากความเสื่อมโทรม และได้ให้ทหารเล่นการเมืองต่อไป แต่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทราบแผนการล่วงหน้าและทำการจับกุมผู้คิดก่อการได้ การกบฏครั้งนี้ เกิดหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 ที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นหัวหน้าคณะรัฐประหาร ยึดอำนาจจากรัฐบาลพลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ประมาณหนึ่งปี และหลังจากกบฏเสนาธิการไม่ถึงหนึ่งปี ก็เกิดกบฏซ้ำอีกครั้ง คือ กบฏวังหลวง เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 และหลังจากนั้นอีกครั้ง คือ กบฏแมนฮัตตัน เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกบฏเสนาธิการ · ดูเพิ่มเติม »

กรมสามัญศึกษา

กรมสามัญศึกษา (อังกฤษ: Department of General Education) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2459 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีหน้าที่จัดการศึกษาสามัญ ปัจจุบันถูกยุบรวมเข้ากับสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เป็น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกรมสามัญศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพประกันชีวิต

ริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) (BANGKOK LIFE ASSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BLA) บริษัทประกอบธุรกิจประกันชีวิตโดยรับประกันชีวิตทั้งแก่บุคคลทั่วไป และการประกันชีวิตกลุ่ม โดยบริษัทจะจัดสรรเบี้ยประกันรับส่วนหนึ่งไว้เป็นเงินสำรองประกันชีวิต และบริหารเงินสำรองประกันชีวิตโดยการนำไปลงทุนเพื่อสร้างผลตอบแทนให้ครอบคลุมภาระที่จะเกิดขึ้นและอาจจะเกิดขึ้นต่อผู้เอาประกัน นอกจากการประกันชีวิตแล้ว การลงทุนก็ถือเป็นธุรกรรมที่มีความสำคัญมากต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัท แบบรายงาน56-1 กรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกรุงเทพประกันชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

กอบศักดิ์ ชุติกุล

ร.กอบศักดิ์ ชุติกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคชาติไทย และอดีตผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกอบศักดิ์ ชุติกุล · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ดอน บราวน์

มส์ กอร์ดอน บราวน์ (James Gordon Brown; 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นชาวสกอตแลนด์ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรและควบตำแหน่งลอร์ดแห่งสภาการคลัง, รัฐมนตรีการสวัสดิการสังคม และหัวหน้าพรรคแรงงาน ซึ่งเข้ารับตำแหน่งในฐานะหัวหน้าพรรคแรงงานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการคลังในรัฐบาลของนายโทนี แบลร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกอร์ดอน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

กันตนา

ริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (Kantana Group Public Company Limited) นานกว่า 6 ทศวรรษที่กันตนาโดดเด่นอยู่ในวงการบันเทิงไทย ด้วยแนวคิดในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมธุรกิจทั้งด้านสื่อบันเทิงด้านการศึกษาและธุรกิจก่อสร้าง (เป็นธุรกิจใหม่) ใน 4 สายธุรกิจ ได้แก่ สายธุรกิจโทรทัศน์ (Television Business) สายธุรกิจภาพยนตร์ (Film Business) สายธุรกิจการศึกษา (Education Business) และสายธุรกิจบริหารจัดการเนื้อหาและธุรกิจใหม่ (Content Management & New Biz) กันตนา พร้อมด้วยทีมงานผู้ที่มีประสบการณ์ยาวนานกว่า1,000คน บนพื้นที่สตูดิโอขนาดใหญ่ 3 แห่ง อันได้แก่ กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ถนนรัชดาภิเษก ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่, กันตนา บางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นที่ตั้งสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมต่างๆ ในเครือกันตนา และ กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ถือได้ว่าเป็นสตูดิโอกลางแจ้งที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค พร้อมให้บริการงานโฆษณา ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ทั้งในและต่างประเทศอย่างสมบูรณ์แบบ   ด้วยศักยภาพในด้านการผลิตสื่อทุกประเภท นำไปสู่ความน่าเชื่อถือในระดับนานาชาติและก่อให้เกิดเป็นเครือข่ายธุรกิจที่สัมพันธ์เชื่อมโยงจากกันตนาสู่ประเทศคู่ค้ากว่า 40 ประเทศทั่วโลก .

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกันตนา · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล

รถไฟของรัฐบาลเนปาลในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 บัตรรถไฟรักเสาละ-สิมรา การรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล (ตัวย่อ: NGR) เป็นเส้นทางรถไฟสายแรกของประเทศเนปาล ดำเนินการระหว่างปี ค.ศ. 1927 จนถึง ค.ศ. 1965 เชื่อมต่อระหว่างเมืองรักเสาละกับอัมเลขคัญชะ เป็นทางรถไฟรางแคบ ขนาดความกว้าง ระยะทาง 47 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และการรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สวรรคตเพราะต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง และนำไปสู่การเถลิงถวัลยราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และการลดบทบาททางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 โดยกลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทุกวันนี้กรณีดังกล่าวยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ แต่ไม่เป็นประเด็นสาธารณะเพราะกรณีดังกล่าวพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยโดยตรง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

การท่าเรือแห่งประเทศไทย

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2494 เพื่อดำเนินการกิจการท่าเรือของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และการท่าเรือแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กำพล วัชรพล

นายกำพล วัชรพล จ่าโท กำพล วัชรพล (27 ธันวาคม พ.ศ. 2462 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, เสียงอ่างทอง, ข่าวภาพ, มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกำพล วัชรพล · ดูเพิ่มเติม »

กำธร พุ่มหิรัญ

ลเรือเอก กำธร พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ติ๊ด) เกิดเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นบุตรของนายอรุณ พุ่มหิรัญ อดีตรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับนางนันทนา พุ่มหิรัญ จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10) โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 67 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือรุ่นที่ 45 วิทยาลัยการทัพเรือรุ่นที่ 29 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 และหลักสูตรจากต่างประเทศอีก 4 หลักสูตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกำธร พุ่มหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากระโดดน้ำในเอเชียนเกมส์ 1951

กีฬากระโดดน้ำ เป็นชนิดกีฬาที่จัดแข่งขันในกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งจัดเป็นครั้งแรก ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ในระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกีฬากระโดดน้ำในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ฐานทัพอากาศกรุงโซล

นทัพอากาศกรุงโซล (บางครั้งเรียกว่า ฐานทัพอากาศเค-16, สนามบินกรุงโซล หรือ ฐานทัพอากาศซ็องนัม) อยู่ที่ซ็องนัมใกล้กรุงโซลในประเทศเกาหลีใต้ รันเวย์มีทิศทาง 19 และ 20 ตามหลัก ILS.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฐานทัพอากาศกรุงโซล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินเทอร์ลิงกวา

ภาษาอินเทอร์ลิงกวา (Interlingua) เป็นภาษาประดิษฐ์ ใช้ในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่างๆ คิดค้นโดยองค์การภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ ในปี พ.ศ. 2494 หมวดหมู่:ภาษาประดิษฐ์ หมวดหมู่:ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และภาษาอินเทอร์ลิงกวา · ดูเพิ่มเติม »

ภิญโญ นิโรจน์

ร.ภิญโญ นิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันเป็นประธานสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครสวรรค์ และเป็นที่ปรึกษาสมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และภิญโญ นิโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (Rajabhat Rajanagarindra University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา จัดตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มะซะรุ ฟุจิ

มะซะรุ ฟุจิ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมะซะรุ ฟุจิ · ดูเพิ่มเติม »

มามโบ

มามโบ (Mambo ออกเสียงแบบอเมริกัน /ˈmɑmboʊ/ แบบบริติช /ˈmæmbəʊ/) เป็นชื่อจังหวะดนตรีและการเต้นรำของชาวคิวบา มีความหมายว่า "conversation with the gods" มาจากชื่อหมอผีลัทธิวูดูในเฮติ แถบตะวันตกของทวีปแอฟริกา ซึ่งย้ายถิ่นฐานมาอยู่แถบทะเลแคริบเบียนพร้อมกับการค้าทาสตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ดนตรีมามโบสมัยใหม่ เริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1938 พร้อมกับจังหวะการเต้นที่เรียกว่า "มามโบ" พัฒนามาจากรูปแบบการเต้นแบบพื้นเมืองแอฟริกา แต่งโดย Orestes López และ Cachao López พี่น้องนักดนตรีชาวคิวบา ผู้ได้รับการยกย่องเป็น ผู้ให้กำเนิดดนตรีมามโบ โดยผสมผสานดนตรีแอฟริกัน-คิวบัน กับดนตรีจังหวะสวิงของอเมริกัน มีทั้งจังหวะเร็ว และช้า ดนตรีมามโบได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เมื่อเปเรซ ปราโด (Perez Prado) นักเปียโนและนักแต่งเพลงชาวคิวบา นำดนตรีแนวนี้มาเล่นในคาสิโนในฮาวานา เมื่อเปเรซ ปราโด ย้ายไปอยู่ที่เม็กซิโกในปี ค.ศ. 1948 เขาเริ่มบันทึกแผ่นเสียงในสังกัด RCA Victor และทำให้ดนตรีมามโบเป็นที่นิยมในวงกว้าง และข้ามฝั่งไปในสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1951 เปเรซ ปราโด ได้รับฉายาว่าเป็น "ราชาแห่งมามโบ" (หรือ Mambo King) ลักษณะเด่นของดนตรีมามโบของเปเรซ ปราโด คือ ใช้แซกโซโฟนให้จังหวะ และใช้เครื่องเป่าทองเหลือง (ทรอมโบนและทรัมเปต)ให้ทำนอง มีเปียโน กลอง และเครื่องเคาะเป็นส่วนประกอบ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมามโบ · ดูเพิ่มเติม »

มิสึรุ อะดะชิ

มิสึรุ อะดะชิ มิสึรุ อะดะชิ เป็น นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ในเมืองอิเซะซะกิ จังหวัดกุนมะ หลังจากจบการศึกษาจากวิทยาลัยพาณิชย์มาเอะบาชิ โรงเรียนประจำจังหวัดกุนมะ อาดาจิได้เขียนการ์ตูนเล่มแรกออกมาในปี พ.ศ. 2513 เรื่อง Kieta Bakuon ซึ่งดัดแปลงมาจากการ์ตูนเรื่องดั้งเดิมของ ซาโตรุ โอซาวะ ได้รับการตีพิมพ์ใน Deluxe Shōnen Sunday ซึ่งเป็นนิตยสารมังงะของโชงะกุกัง อาจารย์อาดาจิเป็น นักเขียนผู้ชื่นชอบการเขียนการ์ตูนกีฬา และชีวิตรักวัยรุ่น ผ่านการเล่าเรื่องด้วยภาพ ใช้คำบรรยายน้อย โครงเรื่องที่น่าติดตาม และการมองโลกในแง่มุมที่สวยงามอยู่เสมอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมิสึรุ อะดะชิ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์

มิสเวิลด์ (Miss World) เป็นการประกวดนางงามระดับนานาชาติ ก่อตั้งในสหราชอาณาจักรโดย เอริค มอร์ลีย์ ใน ค.ศ. 1951 หรือ พ.ศ. 2494 หลังจากที่เอริค มอร์เลย์เสียชีวิตลงใน ค.ศ. 2000 ภรรยา จูเลีย มอร์ลีย์ ได้ขึ้นมาเป็นประธานของการประกวดมิสเวิดล์ในปัจจุบัน มิสเวิลด์เป็นการประกวดนางงามที่มีผู้เข้าร่วมและถ่ายทอดออกอากาศมากที่สุด โดยมีตัวแทนเข้าประกวดประมาณ 100 คน และเป็นเวทีการประกวดที่มีผู้เข้าร่วมประกวดมากที่สุด (นางงามจักรวาลมีประมาณ 80 ประเทศในแต่ละปี) โดยปัจจุบันมีผู้ที่ได้ตำแหน่งมิสเวิลด์แล้วทั้งหมด 65 คน (ปี 2558) มิสเวิลด์ 2008 มิสเวิลด์ 2009.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมิสเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด มุรซี

มุฮัมมัด มุรซี อีซา อัลอัยยาฏ (محمد مرسى عيسى العياط; Muhammad Morsi Isa al-Ayyat; 8 สิงหาคม ค.ศ. 1951 —) เป็นอดีตประธานาธิบดีของประเทศอียิปต์ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมุฮัมมัด มุรซี · ดูเพิ่มเติม »

มณทิพย์ ศรีรัตนา

ร.มณทิพย์ ศรีรัตนา เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมณทิพย์ ศรีรัตนา · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเอเวอเรสต์

อดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ในทางภูมิรัฐศาสตร์ ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต โดยชาวเนปาลเรียกยอดเขาเอเวอเรสต์ว่า สครมาตา (ภาษาสันสกฤต: सगरमाथा หมายถึง มารดาแห่งท้องสมุทร) ส่วนชาวทิเบตขนานนามยอดเขาแห่งนี้ว่า โชโมลังมา (จากภาษาทิเบต: จูมู่หลั่งหม่า (珠穆朗玛) หมายถึง มารดาแห่งสวรรค์) ชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์นั้น ตั้งโดย เซอร์แอนดรูว์ วอ นักสำรวจประเทศอินเดียชาวอังกฤษ เพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์จอร์จ อีฟเรสต์ นักสำรวจประเทศอินเดียรุ่นก่อนหน้า (คำว่า Everest นี้ คนส่วนมากอ่านออกเสียงเป็น เอเวอเรสต์ ขณะที่เซอร์จอร์จอ่านออกเสียงชื่อสกุลของตัวเองว่า อีฟเรสต์) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักสำรวจเรียกยอดเขาแห่งนี้เพียงว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา (Sherpa) และนักปีนเขา (climber) บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และยอดเขาเอเวอเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการสะพานยุลตง

การต่อสู้ที่สะพานยุลตงเป็นการปะทะกันระหว่างกองกำลังฟิลิปปินส์กับจีนในวันที่ 22-23 สิงหาคม ค.ศ. 1951 ซึ่งตรงกั..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และยุทธการสะพานยุลตง · ดูเพิ่มเติม »

ยูริ กาการิน

นาวาอากาศเอก ยูริ อะเลคเซเยวิช กาการิน (Юрий Алексеевич Гагарин; อักษรโรมัน: Yuri Alekseyevich Gagarin) ชาวโซเวียต เป็นนักบินอวกาศคนแรกของโลกที่สามารถเดินทางกลับโลกอย่างปลอดภัย เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2476 ในเมืองกชาทสค์ และเสียชีวิตวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2511 ใกล้กรุงมอสโก กาการินเป็นบุตรช่างไม้ในนารวม (เมื่อครั้งรัสเซียเป็นประเทศคอมมิวนิสต์) ได้เรียนเป็นช่างปั้นจากโรงเรียนการค้าใกล้กรุงมอสโก ปี พ.ศ. 2494 จากนั้นศึกษาต่อในวิทยาลัยอุตสาหกรรมที่เมืองซาราตอฟ และในเวลาเดียวกันก็เข้าอบรมการบินด้วย เมื่อสำเร็จหลักสูตรก็เข้าโรงเรียนนายเรืออากาศโซเวียต ในโอเรนบูร์ก และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2500 ภารกิจของยูริกาการินครั้งนี้ไม่ได้ประกาศเป็นการล่วงหน้า ยานวอสตอค 1 (Vostok 1) ของกาการินมีน้ำหนัก 4 ¾ ตัน ปล่อยจากฐานยิงเมื่อเวลา 9.07 น. วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2504 และโคจรรอบโลก 1 รอบ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 48 นาที ที่ระดับความสูงมากที่สุด 187 ไมล์ (301 กิโลเมตร) และลงจอดเมื่อเวลา 10.55 นาฬิกา ตามเวลาในรัสเซีย ซึ่งการบินในอวกาศครั้งนี้ทำให้กาการินมีชื่อเสียงก้องไปทั่วโลก และได้รับเครื่องประดับเกียรติยศเลนิน และได้ตำแหน่งเป็นวีรบุรุษแห่งสหภาพโซเวียต นอกจากนี้ยังมีการสร้างอนุสรณ์สถานและตั้งชื่อถนนเพื่อเป็นเกียรติแต่กาการินในสถานที่หลายแห่งทั่วประเทศ ยูริ กาการินไม่ใช่มนุษย์คนแรกที่ขึ้นไปยังอวกาศ ก่อนหน้านั้น สหภาพโซเวียตได้พยายามส่งมนุษย์ขึ้นไปหลายครั้ง คนที่ได้รับการเปิดเผยคือ วลาดีมีร์ โคมารอฟ เพื่อนของกาการิน ที่เสียชีวิตในเที่ยวบินทดสอบในโครงการโซยูส เนื่องจากร่มไม่กางระหว่างเดินทางกลับโลก ทำให้ร่างเขาแหลกด้วยแรงกระแทกพื้นโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และยูริ กาการิน · ดูเพิ่มเติม »

ยูล บรีนเนอร์

ูล บอริสโซวิช บรีนเนอร์ (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1911 - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1985) นักแสดงละครบรอดเวย์และภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดชาวรัสเซีย ที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา เป็นที่จดจำจากบทบาทการแสดงเป็นคิงมงกุฏ ในละครบรอดเวย์ และภาพยนตร์ ของริชาร์ด ร็อดเจอร์ส และออสการ์ แฮมเมอร์สไตน์ที่ 2 เรื่อง เดอะคิงแอนด์ไอ บทฟาโรห์รามเสสที่สอง ในภาพยนตร์ บัญญัติสิบประการ และบทคาวบอย ในภาพยนตร์ เจ็ดสิงห์แดนเสือ ยูล บรีนเนอร์ เกิดที่วลาดิวอสต็อก รัสเซีย มีชื่อจริงว่า Yuliy Borisovich Brynner (รัสเซีย: Юлий Бори́сович Бри́ннер) บิดาเป็นชาวสวิส มารดาเป็นชาวรัสเซีย หลังจากบิดามารดาแยกทางกัน ยูลและน้องสาวอยู่กับมารดา และย้ายไปอยู่ที่เมืองฮาร์บิน ประเทศจีน และย้ายไปอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และยูล บรีนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช

นายกองเอก ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช มีชื่อเล่นว่า แดง (26 มิถุนายน พ.ศ. 2494 —) เป็นนักสังคมสงเคราะห์ และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 6 ที่ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2495 สืบเนื่องจากภายหลังการ รัฐประหารตัวเอง ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในชื่อ คณะบริหารประเทศชั่วคราว เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ได้มีการประกาศยกเลิก รัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อข้าราชการประจำทางคณะบริหารประเทศชั่วคราวจึงนำรัฐธรรมนูญ ปี 2475 แก้ไขเพิ่มเติม ปี 2483 มาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมโดยกำหนดให้ข้าราชการประจำสามารถเป็นนักการเมืองและรัฐมนตรีได้นอกจากนี้ยังให้มี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งเนปาล

ณะนี้ ประเทศเนปาลยังไม่มีรัฐธรรมนูญฉบับถาวร หากใช้ฉบับชั่วคราวซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2550 ปกครองไปพลางก่อน ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งเนปาลฉบับชั่วคราวดังกล่าวร่างขึ้นโดยคณะกรรมการอันมีนายลักษมัน ปราสาท อารยัล (Laxman Prasad Aryal) อดีตข้าราชการตุลาการ เป็นประธานกรรมการ เพื่อใช้แทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรเนปาล..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย

ณะรัฐประหารของไทยที่ก่อการสำเร็จ มักจะเรียกตนเองหลังก่อการว่า "คณะปฏิรูป" หรือ "คณะปฏิวัติ" เพื่อให้มีความหมายไปในเชิงบวก อย่างไรก็ตาม มีผู้เสนอว่าการ "ปฏิวัติ" หรือ "อภิวัฒน์" (revolution) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองนั้น เกิดขึ้นกับประเทศไทยเพียงครั้งเดียว จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) เป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 แต่ความเห็นอีกด้านหนึ่งกล่าวว่า เหตุการณ์ดังกล่าวมีลักษณะผสมผสาน ระหว่างการปฏิวัติกับการรัฐประหาร เนื่องจากมีการใช้กำลังทหาร ในการควบคุมบังคับ เพื่อระงับอำนาจของรัฐบาล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ก่อการรัฐประหารในประเทศไทยเป็นผลสำเร็จ ส่วนใหญ่เกิดจากฝ่ายกองทัพบก ส่วนทหารเรือเคยพยายามก่อรัฐประหารมาแล้ว ในกรณีกบฏวังหลวง เมื่อปี พ.ศ. 2492 และกบฏแมนฮัตตัน เมื่อปี พ.ศ. 2494 แต่กระทำการไม่สำเร็จ แล้วหลังจากนั้น ทหารเรือก็เสียอำนาจในการเมืองไทยไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐประหารในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัตน์ เปสตันยี

รัตน์ เปสตันยี (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2451 – 17 สิงหาคม พ.ศ. 2513) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัตน์ เปสตันยี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิเบีย

ราชอาณาจักรลิเบีย (المملكة الليبية) เดิมมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหราชอาณาจักรลิเบีย เป็นรัฐลิเบียสมัยใหม่ซึ่งได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1951 และ สิ้นสุดลงด้วยการรัฐประหารล้มล้างระบอบราชาธิปไตยและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1969.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และราชอาณาจักรลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง (ไม่รวมบริษัทลูก / บริษัทในเครือ).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศศรีลังกา

หน้านี้คือรายการธงที่มีการใช้ในศรีลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อธงในประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศจอร์เจีย

นื้อหาต่อไปนี้แสดงภาพธงต่างๆ ที่ใช้ในสาธารณรัฐจอร์เจีย ธงชาติจอร์เจียกับธงสาธารณรัฐปกครองตนเองอัดจารา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อธงในประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเบลารุส

ื้องล่างต่อไปนี้ เป็นข้อมูลอย่างสังเขป เกี่ยวกับธงชาติ และธงอื่นๆ ที่ใช้ใน สาธารณรัฐเบลารุส สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อธงในประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเบลเยียม

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่มีการใช้ในราชอาณาจักรเบลเยียม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อธงในประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเกาหลี

รายการต่อไปนี้เป็นบรรดาธงซึ่งใช้ในประเทศจักรวรรดิเกาหลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี และ สาธารณรัฐเกาหลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อธงในประเทศเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเกาหลีใต้

รายการต่อไปนี้เป็นบรรดาธงซึ่งใช้ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อธงในประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์จอร์แดน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามพระมหากษัตริย์จอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล

ระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียกโดยราชประเพณีว่า "ศรีปัญจมหาราชธิราช" (เนปาลี: श्री ५ महाराजधिराज, Śrī Pañca Mahārājdhirāj) ส่วนสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียก "ศรีปัญจพฑามหารานี" (เนปาลี: श्री ५ बडामहारानी, Śrī Pañca Badāmahārānī) ทั้งนี้ การปกครองประเทศเนปาลตามระบอบราชาธิปไตยนั้นได้ยกเลิกไปโดยมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลซึ่งให้เปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสาธารณรัฐตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดน

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งจอร์แดน นับตั้งแต่การสถาปนาราชวงศ์ฮัชไมต์ในปี ค.ศ. 1949 ตั้งแต่พระบรมราชินีในรัชกาลสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 1 แห่งจอร์แดน จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ในตำแหน่งพระบรมราชินีของจอร์แดนนั้นเป็นเพียงพระบรมราชินีพระราชชายา แต่ยังไม่ปรากฏว่ามีพระบรมราชินีนาถผู้สำเร็จราชการ จอร์แดน *.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เนปาล

น ร หมวดหมู่:ราชินีแห่งเนปาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี

รายพระนามพระคู่ครองในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี เป็นพระยศของคู่สมรสของกษัตริย์แห่งอียิปต์ในช่วงราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี ซึ่งตำแหน่งนี้ได้เริ่มการใช้ในรัชสมัยของพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ (ครองราชย์ 1917-1936) ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงพระยศของพระองค์เองจากสุลต่านแห่งอียิปต์เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์พร้อมกับตำแหน่งพระคู่สมรสด้วย โดยผู้ที่ได้รับแต่งตั้งพระยศสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์พระองค์แรกคือ สมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ (1919-1936) ส่วนพระราชินีองค์สุดท้ายคือสมเด็จพระราชินีฟาดิลาแห่งอียิปต์ (1976-1999) แม้ว่าจะเสกสมรสภายหลังจากที่พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ สละราชบัลลังก์แล้วก็ตาม แต่พระองค์ก็ยังถือเป็นผู้อ้างสิทธิในตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์ ภายหลังฟาดิลาก็ได้หย่าขาดจากพระราชสวามี ปัจจุบันจึงดำรงพระยศเป็นเจ้าหญิงนอกราชบัลลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทย

ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง (นักบริหารระดับ 11 เดิม) เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงของกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายพระนามและรายนามปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

้านล่างนี้เป็นรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามเจ้ากรมรถไฟ ผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีลาว

นายกรัฐมนตรีลาว เป็นตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศลาว เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2483 โดยมีเจ้าเพชรราช รัตนวงศาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศในสมัยที่ประเทศลาวถูกปกครองโดยญี่ปุ่น โดยปัจจุบันมี ทองลุน สีสุลิด ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามนายกรัฐมนตรีลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

้านล่างนี้คือรายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์

รายนามนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองสุรินทร์ จากอดีต-ปัจจุบัน สุรินทร์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามนายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา

ตำแหน่งของร่องลึกบาดาลมาเรียนา ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา (Mariana Trench, Marianas Trench) เป็นชื่อธรณีวิทยาทางทะเลของร่องลึกก้นสมุทรที่ลึกที่สุดในโลก และเป็นจุดที่ต่ำที่สุดของเปลือกโลกเท่าที่ทราบกันในปัจจุบัน ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนามีตำแหน่งอยู่ที่ก้นมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงเหนือ และอยู่ในแนวตะวันออกและแนวใต้ของหมู่เกาะมาเรียนา ณ พิกัด 11° 21’ เหนือ และ 142° 12’ ตะวันออก ใกล้เกาะกวม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอนอาย

ลอนดอนอาย (London Eye) หรือยังรู้จักในชื่อ มิลเลเนียมวีล (Millennium Wheel) เป็นชิงช้าสวรรค์ที่สูงที่สุดในทวีปยุโรป มีความสูง 135 เมตร (443 ฟุต) และกลายมาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมและเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวได้อย่างมากในสหราชอาณาจักร มีผู้มาเยือนมากกว่า 3 ล้านคนต่อปี ส่วนบัตรเข้าชมสำหรับผู้ใหญ่อยู่ที่ 15 ปอนด์ต่อคน ซึ่งในอดีตเคยเป็นชิงช้าสวรรค์ก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก ก่อนจะถูกชิงตำแหน่งไปจากชิงช้าสวรรค์ เดอะ สตาร์ ออฟ นานชาง ในประเทศจีน (160 เมตร) ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2006 ต่อมาภายหลังตำแหน่งตกเป็นของ สิงคโปร์ ฟลายเออร์ ในประเทศสิงคโปร์ (165 เมตร) ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 อย่างไรก็ตาม ลอนดอน อาย ก็ยังคงได้รับตำแหน่งจากการให้บริการว่า "ชิงช้าสวรรค์ที่ก่อสร้างด้วยโครงเหล็กค้ำข้างเดียวที่สูงที่สุดในโลก" (เพราะการโครงสร้างทั้งหมดใช้โครงค้ำเหล็กรูปตัว A ในการให้บริการโดยใช้โครงค้ำเพียงแค่ด้านเดียวเท่านั้นไม่เหมือนชิงช้าสวรรค์อื่นๆ ทั่วไป ที่มีโครงค้ำสองข้าง) ลอนดอน อาย ตั้งอยู่ ณ ที่ฝั่งสุดด้านตะวันตกของสวนจูบิลี่ บนริมฝั่งทางใต้ของแม่น้ำเทมส์ ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ระหว่างสะพานเวสต์มินสเตอร์กับสะพานฮันเกอร์ฟอร์ด โดยสถานที่แห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของโดมแห่งการค้นพบ ที่เคยสร้างขึ้นเพื่อใช้ในงานนิทรรศการเฟสติวัล ออฟ บริเตน ในปี ค.ศ. 1951.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และลอนดอนอาย · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)

ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91) ครอบคลุมความเป็นช่างประดิษฐ์และความก้าวหน้าทางนวัตกรรมของประเทศสหรัฐอเมริกาภายในบริบททางประวัติศาสตร์, ย้อนไปตั้งแต่ยุคร่วมสมัยถึงยุคปัจจุบัน, ซึ่งได้บรรลุความสำเร็จโดยนักประดิษฐ์ทั้งหลาย ผู้เป็นทั้งประชากรโดยกำเนิดหรือได้รับเป็นพลเมืองของประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91) · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย

ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย (หรือในอีกชื่อ "ยา บิลาดี" หมายถึง "ประเทศของข้า") เป็นบทเพลงซึ่งประพันธ์ทำนองโดย โมฮัมเหม็ด อับเดล วาฮับ (Mohammed Abdel Wahab) บทร้องโดย อัล บะชีร์ อัล อะเรบี (Al Bashir Al Arebi) เดิมใช้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรลิเบียนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากอิตาลีเมื่อ ค.ศ. 1951 จนถึง ค.ศ. 1969 เนื่องจากรัฐบาลของพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย ได้ถูกรัฐประหารโดยคณะทหารภายใต้การนำของ พันเอก มูอัมมาร์ กัดดาฟี กัดดาฟีได้นำเอาเพลงมาร์ชของอียิปต์ชื่อ "อัลลอหุ อักบัร" มาใช้เป็นเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียซึ่งสถาปนาขึ้นแทนที่รัฐบาลเดิม ตราบจนกระทั่งลิเบียได้เกิดการลุกฮือต่อต้านรัฐบาลกัดดาฟีและบานปลายไปสู่สงครามกลางเมือง ตั้งแต่ช่วงต้นปี ค.ศ. 2011 เพลง "ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย" ก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นเพลงสัญลักษณ์ของฝ่ายต่อต้านรัฐบาลกัดดาฟี ภายใต้การนำของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติมาโดยตลอด เมื่อฝ่ายสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสามารถโค่นล้มรัฐบาลกัดดาฟีได้สำเร็จในช่วงเดือนสิงหาคมของปีเดียวกัน เพลงนี้จึงได้กลับมีสถานะเป็นเพลงชาติของลิเบียอย่างเป็นทางการอีกครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ลูเธอร์ แวนดรอส

ลูเธอร์ แวนดรอส (Luther Vandross) นักร้องเสียงเทเนอร์ สไตล์อาร์แอนด์บีโซล ชาวอเมริกัน เจ้าของเพลงฮิตอย่างเช่น Never Too Much, Give Me The Reason และ A House Is Not A Home ในช่วงเวลา 30 ปีที่ลูเธอร์ แวนดรอส โลดแล่นอยู่ในวงการเพลง ทำสถิติขายอัลบั้มกว่า 25 ล้านก๊อบปี้ อีกทั้งรางวัลแกรมมี่ 8 รางวัล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และลูเธอร์ แวนดรอส · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ

วัดพระฝาง หรือชื่อเต็มว่า วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ตั้งอยู่ที่บ้านฝาง หมู่ที่ 3 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ตามทะเบียนวัดระบุว่า ประมาณปี พ.ศ. 1700 (ก่อนสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช) วัดพระฝางนับว่าเป็นกลุ่มโบราณสถานของศูนย์กลางเมืองฝางสวางคบุรี เพียงแห่งเดียวที่ยังหลงเหลืออยู่ วัดนี้เป็นวัดพระมหาธาตุประจำเมืองสวางคบุรี ซึ่งในอดีตได้รับการนับถือเทียบเท่ากับพระธาตุเจดีย์หริภุญชัย และพระพุทธบาทสระบุรี นอกจากนี้ วัดพระฝางนั้น ยังเคยเป็นวัดที่จำพรรษาของ “เจ้าพระฝาง” เมืองสวางคบุรี ผู้นำชุมนุมเจ้าพระฝางในคราวเสียสมัยกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 อีกด้วย วัดพระฝาง มีปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดคือพระธาตุเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตั้งอยู่กลางกลุ่มโบราณสถานวัดพระฝาง สันนิษฐานว่าพระเจดีย์องค์นี้สร้างในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นพระบรมธาตุศักดิ์สิทธิ์สำคัญของอาณาจักรมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ ราชทูตจากราชสำนักฝรั่งเศสซึ่งเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้บันทึกไว้ในหนังสือของท่านว่า พระมหาธาตุองค์นี้ได้รับการเคารพนับถือว่าเป็นพุทธปูชนียสถานสำคัญของอาณาจักรคู่กับรอยพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ได้เสด็จขึ้นทำศึกชนะเจ้าพระฝางและตั้งงานสมโภชพระมหาธาตุเมืองพระฝางถึง 3 วัน เทียบเท่างานนมัสการพระพุทธชินราช แต่ความศรัทธาในพระมหาธาตุเมืองฝางคงได้เสื่อมถอยลงในช่วงหลัง จากความเสื่อมของเมืองสวางคบุรี หลังชุมนุมเจ้าพระฝางถูกตีแตกในสมัยธนบุรี จนในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์องค์เดิมได้ปรักหักพังไปมาก ทำให้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้มีการบูรณะพระมหาธาตุเมืองพระฝางใหม่ แปลงเป็นแบบเจดีย์ทรงลังกาดังที่เห็นในปัจจุบัน นอกจากนี้ วัดพระฝางยังมีอุโบสถมหาอุด (มีประตูทางเข้าบานเดียว) อยู่ด้านทิศตะวันตกของกลุ่มโบราณสถาน ตัวอุโบสถมีสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งเดิมภายในอุโบสถเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพระฝาง ซึ่งปัจจุบันตัวอุโบสถยังคงมีบานประตูไม้และหน้าบันแกะสลักศิลปะสมัยอยุธยาอันสวยงามอยู่ (บานปัจจุบันเป็นบานจำลอง) และด้านทิศตะวันออกของกลุ่มโบราณสถานมีพระวิหารหลวง เดิมเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปเชียงแสน ปัจจุบันในพระวิหารหลวงมีบานประตูไม้แกะสลักวัดพระฝาง (เป็นบานประตูบานจำลอง สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2551 เพื่อนำมาติดตั้งแทนที่บานประตูเดิมที่ได้นำไปเก็บรักษาที่วัดธรรมาธิปไตยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494) ปัจจุบัน วัดพระฝางมีพระมหาณรงค์ กิตติสาโร เป็นเจ้าอาวาส พระลูกวัดทั้งสิ้น 15 รูป วัดแห่งนี้ ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 52 ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 มีพื้นที่ได้รับประกาศเป็นโบราณสถานประมาณ 32 ไร่ 3 งาน 90 ตารางว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุดอยเวา

วัดพระธาตุดอยเวา เป็นวัดอันเป็นที่ประดิษฐานพระธาตุดอยเวา พระธาตุที่เชื่อกันว่า มีความเก่าแก่เป็นรองพระธาตุดอยตุง พระธาตุดอยเวานั้น ตั้งอยู่บนยอดดอยเวา แต่พระอุโบสถและเขตสังฆาวาสจะอยู่ที่เชิงดอย ผู้ที่จะขึ้นไปนมัสการต้องเดินขึ้นบันไดไปนมัสการ ซึ่งข้างบนเป็นจุดชมทัศนียภาพสองฝั่งสาย สามารถเห็นทัศนียภาพได้รอบท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดพระธาตุดอยเวา · ดูเพิ่มเติม »

วัดภูเขาแก้ว

วัดภูเขาแก้ว หรือ วัดป่าภูเขาแก้ว เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2480 โดย พระอาจารย์ดี ฉนฺโน ซึ่งเป็นลูกศิษย์องค์สำคัญของ พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) และ พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต วัดตั้งอยู่บนเนินเขาในเขตเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร ติดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217 ห่างจากตัวจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 44 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดภูเขาแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วัดมฤคทายวัน

วัดมฤคทายวัน ตั้งอยู่เลขที่ 35 บ้านน้ำสวย ถนนมิตรภาพหนองคาย - อุดรธานี หมู่ 9 ตำบลสระใคร อำเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 625 ไร่ 1 ตารางว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดมฤคทายวัน · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรีอุทุมพร

วัดศรีอุทุมพร (Watsriutumpron) ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 9 ตำบลหนองกรด อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 4 มีที่ดินในการตั้งวัดเนื้อที่จำนวน 16 ไร่ 2 งาน 93 ตารางวา สร้างขึ้นโดย พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดศรีอุทุมพร · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)

วัดหนองโพธิ์ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 65 บ้านหนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 ถนนสุวรรณศร ตำบลหนองสรวง อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน 72 ตารงวากองพุทธสถาน, สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดธรรมาธิปไตย

วัดธรรมาธิปไตย เดิมชื่อ วัดต้นมะขาม ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกจุดตัดถนนอินใจมี กับถนนสำราญรื่น ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นที่ตั้งอาคารธรรมสภาซึ่งเป็นสถานที่เก็บรักษาบานประตูวิหารวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นประตูไม้แกะสลักที่มีความสวยงามที่สุดในจังหวัดอุตรดิตถ์และสวยงามเป็นที่สองรองจากบานประตูวัดสุทัศนเทพวราราม วัดธรรมาธิปไตยนั้นได้เคยเป็นที่ตั้งสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์อยู่ระยะหนึ่ง (อาคารธรรมสภาชั้นล่าง) ปัจจุบันเป็นวัดจำพรรษาของเจ้าคณะอำเภอตรอน และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาประจำจังหวัดเช่น กิจกรรมอบรมและการประกวดต่าง ๆ ในเทศกาลวันสำคัญทางพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดธรรมาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

วัดดาวเรือง

วัดดาวเรือง ตั้งอยู่ที่ บ้านดอนหัน หมู่ที่ 9 ตำบลชุมแพ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น เป็นชนิดวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดที่ก่อตั้งมาตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งยางใหญ่

วัดคุ้งยางใหญ่เป็นวัดในสังกัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ที่มีประวัติความเป็นในนับแต่ครั้งอดีต และศูนย์กลางของชุมชนชาวพุทธที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัย ที่วัดคุ้งยางใหญ่พระพุทธรูปศิลปสุโขทัย ที่เป็นมรดกตกทอดมาจนกระทั่งทุกวันนี้ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย จำนวน 3 องค์ ที่ชาวบ้านสวนเรียกว่า "หลวงพ่อสามพี่น้อง" ซึ่งเป็นสิ่งการะและเคารพของชาวบ้านสวนนับแต่ครั้งอดีต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดคุ้งยางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าสุนทราราม

วัดป่าสุนทราราม หรือ วัดบ้านกุดแห่ เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยพระอาจารย์ดี ฉนฺโน ลูกศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต โดยมี พระอธิการอินทร์ สุนฺทโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดป่าสุนทราราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร อยูในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ใกล้สะพานกษัตริย์ศึกและสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) อยู่รวมกับ "โรงเรียนเทพศิรินทร์" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อ พ.ศ. 2419 ขณะมีพระชนมายุครบ 25 พรรษาพอดี เพื่อทรงเฉลิมพระเกียรติและอุทิศพระราชกุศลสนองพระเดชพระคุณกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งได้เสด็จสวรรคตตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ยังทรงพระเยาว์ วันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วันตำรวจ

วันตำรวจของไทย ตรงกับวันที่ 13 ตุลาคม ของทุกปี เนื่องจากวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2458 เป็นวันประกาศรวม "กรมพลตระเวน" กับ "กรมตำรวจภูธร" เป็นกรมเดียวกัน เรียกว่า "กรมตำรวจ" (ในภายหลังได้เปลี่ยนเป็น "สำนักงานตำรวจแห่งชาติ") กรมตำรวจจึงถือเอาวันที่ 13 ตุลาคมของทุกปี เป็น "วันตำรวจ" โดยมีการประกอบพิธีในวันตำรวจอย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ซึ่งขณะนั้น พล.ต.อ. หลวงชาติตระการโกศล เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ในปี พ.ศ. 2494 พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจในขณะนั้นได้จัดให้มีพิธีเดินสวนสนาม และปฏิบัติต่อเนื่องมาจนถึง พ.ศ. 2500 หลังจากนั้นได้ระงับการจัดพิธีเดินสวนสนามที่เป็นการรวมหน่วยทุกหน่วยของตำรวจ ประกอบแต่พิธีทางศาสนาและกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เพียงอย่างเดียว ในวันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวันตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

วิภูแถลง พัฒนภูมิไท

วิภูแถลง พัฒนภูมิไท ชื่อเดิม แถลง รองขุน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย เป็นชาวพัทลุง ผู้ก่อตั้งและเป็นโฆษกกลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ ที่ออกมาเคลื่อนไหวต่อต้าน คมช. เป็นแนวร่วมกับกลุ่มวิทยุชุมชนคนรักทักษิณของชินวัตร หาบุญผาด ต่อมาเข้าร่วมเป็น 1 ใน 8 แกนนำกลุ่ม นปก. ที่เคลื่อนไหวต่อต้าน คมช.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิภูแถลง พัฒนภูมิไท · ดูเพิ่มเติม »

วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์

นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ หรือวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ วงษ์ไกร

นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร 5 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิฑูรย์ วงษ์ไกร · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร อัศว์ศิวะกุล

วิเชียร อัศว์ศิวะกุล (หรือ วิเชียร อัศว์วิเศษศิวะกุล) (เกิด 10 มีนาคม พ.ศ. 2494) เป็นนักธุรกิจชาวไทย อดีตประธานบริษัท นิธิทัศน์ โปรโมชั่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิเชียร อัศว์ศิวะกุล · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2489 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 แบ่งรูปแบบสำคัญออกเป็น 2 ยุค คือ ยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง และยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งและการสรรหา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนวุฒิสภา โดยมี นายนัฑ ผาสุข เป็นเลขาธิการว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

วีระพล ตั้งสุวรรณ

วีระพล ตั้งสุวรรณ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2494 -) เป็นประธานศาลฎีกา คนที่ 43 เริ่มดำรงตำแหน่งนี้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 และเป็นประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม แทนที่ดิเรก อิงคนินันท์ ที่เกษียณไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวีระพล ตั้งสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วีระศักดิ์ ฟูตระกูล

นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศและอดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี กระทรวงต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส แคนนาดา และในอีกหลายประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวีระศักดิ์ ฟูตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

วีเอชเอฟ

วีเอชเอฟ (VHF) เป็นชื่อย่อของคลื่นความถี่สูงมาก (Very-High Frequency) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากกว่าชื่อเต็ม มักใช้ในการสื่อสารของวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวีเอชเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วง อ.ส. วันศุกร์

วงดนตรี อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวง อ.ส. วันศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีลังกามาตา

ลงชาติแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา มีชื่อว่า ศรีลังกามาตา (สิงหล: ශ්‍රී ලංකා මාතා) อันมีความหมายว่า "มารดาแห่งศรีลังกา" ประพันธ์เนื้อร้องภาษาสิงหลและทำนองโดย อานันทะ สะมะระโกน (สิงหล: ආනන්ද සමරකෝන්) เมื่อ พ.ศ. 2483 และได้รับการรับรองเป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ภายหลังได้เกิดข้อขัดแย้งถึงเนื้อเพลงเดิมในท่อนแรก ซึ่งขึ้นต้นว่า "Namo namo matha, apa Sri Lanka" ต่อมาจึงมีการแก้ไขเนื้อร้องให้เป็นแบบปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และศรีลังกามาตา · ดูเพิ่มเติม »

ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ

ลท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ บริเวณเทวาลัย ศาลท้าวมหาพรหม ถ่ายจากรถไฟฟ้าบีทีเอส ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ (Erawan Shrine; 四面佛, 梵天; พินอิน:Sìmiàn fú, Fàntiān; 梵天; โรมะจิ: Bonten) เป็นศาลของท้าวมหาพรหมตั้งอยู่หน้าโรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ บริเวณสี่แยกราชประสงค์ ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 (29 มกราคม พ.ศ. 2491 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 99 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 99 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6 (5 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 21 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 เพิ่มเติม จาก สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มเติม จำนวน 21 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ. 2518 ปัจจุบันเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย สหชัยรุ่งเรือง

นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี สังกัดพรรคชาติไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมชาย สหชัยรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

สมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์

นายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (27 เมษายน 2494 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีต..อ่างทอง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมสร้างคุณค่า

ัญลักษณ์แห่งสมาคมโซคา สมาคมสร้างคุณค่า (創価学会, Sōka Gakkai โซคา กักไก) เป็นองค์การศาสนาพุทธดำเนินการโดยฆราวาสที่จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ ก่อตั้งขึ้นโดยแยกตัวออกมาจากนิกายนิชิเร็นโชชู ในปัจจุบันสมาคมโซคา กักไก นั้นไม่ได้ขึ้นตรงต่อวัดไทเซะคิและสังฆปริณายกนิชิเร็นโชชู กระทั่งปัจจุบันไม่ได้มีความเกี่ยวข้องอันใดกัน โดยสมาคมโซคาศรัทธาในคำสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินที่กล่าวว่า "คฤหัสถ์ก็สามารถเข้าถึงการรู้แจ้งและเปิดสภาพชีวิตพุทธะในตนเองได้" ซึ่งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมาคมสร้างคุณค่า · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Thammasat Association; ชื่อย่อ: สมธ.) เป็นองค์กรที่เป็นศูนย์กลางของนักศึกษาปัจจุบัน ศิษย์เก่า และประชาคมทั้งปวงจากทุกคณะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการรับรู้ข่าวสารและมีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยสมาคมฯ มีภารกิจหลักที่การสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทางด้านการศึกษาและพัฒนาสังคม ทั้งนี้ยังเป็นองค์กรที่มีเกียรติและมีชื่อเสียง ในฐานะของสมาคมศิษย์เก่าของสถาบันชั้นนำของประเทศไทย และยังเป็นหน่วยงานสำคัญในการดำเนินการจัดงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะกรรมการดำเนินการจัด และผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ าณวโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในการปกครองคณะสงฆ์ไทย เช่น สังฆนายก เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ)

มเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี ชวน ณาต โชตญาโณ สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) (សម្ដេច​ព្រះ​មហា​សុមេធាធិបតី ជួន ណាត ជោតញ្ញាណោ; Chuon Nath; ค.ศ.1883–1969) อดีตสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคณะสงฆ์มหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดอุณาโลมในกรุงพนมเปญ เป็นพระสงฆ์นักปราชญ์ที่บทบาทในการนิพนธ์หนังสือ และองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนาจำนวนมาก อาทิ พจนานุกรมเขมร แต่งเพลงชาติกัมพูชา มีบทบาทด้านการจัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บาลี โดยเฉพาะตัวท่านเองมีความรู้หลายภาษา เช่น บาลี สันสกฤต อังกฤษ ฝรั่งเศส และไทย เป็นต้น เป็นพระผู้มีบทบาทในการก่อตั้งสถาบันพุทธศาสนาบัณฑิต (Institut Bouddhique) ซึ่งก่อตั้งโดยฝรั่งเศสและมีเป้าหมายเพื่อการปกป้องอิทธิพลสยามที่มาพร้อมกับพุทธศาสนานิกายธรรมยุติกนิกายในประเทศกัมพู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์

มเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์ (ประสูติ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1945 -) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี จึงถือว่าพระองค์เป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล

มเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ (ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव; Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์ (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาลในราชวงศ์ศาห์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ ประสูติแต่เจ้าหญิงอินทระ มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 จนกระทั่งสละราชสมบัติแก่พระโอรสของพระองค์ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 มีพระราชดำรัสผ่านสถานีโทรทัศน์ว่าทรงมีพระราชพระสงค์สละราชสมบัติให้เจ้าชายฟิลิป มกุฎราชกุมาร ในวันที่ 21 เดือนและปีเดียวกัน เนื่องจากทรงมีพระชนมพรรษามากและพระวรกายที่ไม่แข็งแรงเช่นในอดีต จึงทำให้พระองค์เป็นประมุขแห่งราชวงศ์พระองค์ที่ 4 ที่ทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 2013 ตามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16, สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ และฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานีแห่งกาตาร์ และยังเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 ของเบลเยียมที่สละราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา คือ สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ซึ่งทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1951.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีแอนน์แห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงแอนน์ แอนโตแนต ฟรองซัวส์ ชาร์ล็อตต์ ซีต้า มาร์เกอริต แห่งบูร์บง-ปาร์มา (18 กันยายน พ.ศ. 2466 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย อดีตพระมหากษัตริย์แห่งโรมาเนีย พระองค์เป็นพระนัดดาใน เจ้าชายวัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก เป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก ผ่านทางสายพระราชมาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน (جلالة الملكة نور) พระนามเดิม ลิซา นาจีบ ฮัลลาบี (ประสูติ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1951 ณ วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา) พระมเหสีม่ายในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน อดีตพระบรมราชินีแห่งจอร์แดน พระองค์เป็นสุภาพสตรีสัญชาติอเมริกันที่มีเชื้อสายซีเรีย, PBS, Faces of America series, with Professor Henry Louis Gates, Jr., 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาล

มเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหแห่งเนปาล (कोमल राज्य लक्ष्मी देवी - Komala Rājya Lakṣmī Devī, ประสูติ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951 ณ เมืองพาคมตี ประเทศเนปาล —) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาล ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม วาสน์ นิลประภา ฉายา วาสโน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2517 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงอยู่ในตำแหน่ง 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2531 สิริพระชันษา 91 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปุ่น สุขเจริญ ฉายา ปุณฺณสิริ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2515 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดำรงพระยศอยู่ 1 ปีเศษ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516 สิริพระชันษาได้ 77 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2425 - 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา

มเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา มีพระนามเต็มว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชษฐาขัติยวงศา พระมหาศรีสว่างวัฒนา (ພຣະບາດສົມເດັດພຣະເຈົ້າເຊດຖາຂັດຕິຍະວົງສາ ພຣະມະຫາສີສະຫວ່າງວັດທະນາ) หรือ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา (ເຈົ້າມະຫາຊີວິດສີສະຫວ່າງວັດທະນາ)สะกดด้วยอักขรวิธีเก่าว่า ພຣະບາທສົມເດັຈພຣະເຈົ້າເຊສຖາຂັຕິຍວົງສາ ພຣະມຫາສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชสถาขัติยวงสา พระมหาสรีสว่างวัทนา และ ເຈົ້າມຫາຊີວິຕສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: เจ้ามหาชีวิตสรีสว่างวัทนา ตามลำดับ (ສົມຈິຕ ພັນລັກ. (2012) ພາສາລາວລ້ານຊ້າງ ກ່ອນປີ ພ.ສ 2478; ຄ.ສ 1935 ສະບັບຄົ້ນຄວ້າ. ສົມມະນາ ການພິມ ສປປ ລາວ.) เป็นพระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรลาว ก่อนที่จะถูกฝ่ายปะเทดลาวยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนและนอร์เวย์ (ประสูติ 21 มกราคม พ.ศ. 2372 - สวรรคต 8 ธันวาคม พ.ศ. 2450) เป็นพระมหากษัตริย์ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2415 ทรงสละราชสมบัติจากการเป็นกษัตริย์แห่งนอร์เวย์เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2448 และทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสวีเดนเมื่อวันเดียวกันกับการเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2450 รวมพระชนมายุได้ 78 ปี ทรงดำรงตำแหน่งตามฐานันดรดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอับดุลลอฮ์ที่ 1 แห่งจอร์แดน

มเด็จพระเจ้าอับดุลลอฮ์ที่ 1 แห่งจอร์แดน หรือ อับดุลเลาะห์ อิบนิ ฮูไซน์ (Abdullah ibn Husein) เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ฮัชไมต์จอร์แดน ประสูติที่เมืองมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบียเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระเจ้าอับดุลลอฮ์ที่ 1 แห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีฎอลาลแห่งจอร์แดน ประสูติเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สรศักดิ์ ส.ลูกบุคคโล

รศัก.ลูกบุคคโล มีชื่อจริงว่า ชื่น จาดพิมาย เกิดเมื่อปี 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ที่อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นหลานชายของ สุข ปราสาทหินพิมาย เริ่มแรกหัดชกมวยไทยกับสุข ปราสาทหินพิมาย ผู้เป็นอา เมื่อจบ ป.4 จากนั้นจึงได้ตระเวนชกแถวบ้านสิบกว่าครั้งไม่แพ้ใคร สุขจึงตัดสินใจส่งมาอยู่กับ ประเสริฐ สุขใจธรรม เจ้าของ.ลูกบุคคโล ที่กรุงเทพมหานคร ไม่เพียงแต่เป็นหลานชายและลูกศิษย์เท่านั้น สรศักดิ์ยังเป็นมวยหมัดหนักลีลาการชกก็ถอดแบบมาจากยักษ์สุขผู้เป็นอา คือ บุกตะลุยเดินหน้ามีสถิติการชกไม่ต่ำกว่า 100 ครั้ง ที่สำคัญ ๆ เคยชนะธนูน้อย ทวีเกียรติ, กิตติชัย ลูกบ่อน้ำมันฝาง, เดช ศรีโสธร, แสนทนง เกศสงคราม และ อิศรชัย อิสสระภาพ และเคยแพ้หาญ ศิลาทอง, มงคลเดช พิทักษ์ชัย, วิสันต์ ไกรเกรียงยุค เป็นต้น สรศักดิ์ได้ครองแชมป์จูเนียร์เวลเตอร์เวท ของสนามมวยเวทีลุมพินี โดยการชนะน็อก ประยุทธ ศุภราช (ขวัญประเทศ ส.ยิ่งเจริญ) ยกที่ 4, ชนะคะแนน แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์, แพ้คะแนน ศรนักรบ เกียรติวายุภักษ์ แล้วเสียแชมป์แพ้น็อก แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ เพียงแค่ยกแรก ต่อมาได้ชิงแชมป์รุ่นเดียวกันที่ว่างของเวทีราชดำเนิน ชนะคะแนน บุรีรัมย์ สวนมิสกวัน, แพ้คะแนน สะท้านฟ้.ประทีป อย่างพลิกล็อกถล่มทลาย, ชนะน็อก สีชัง สาครพิทักษ์ ยกที่ 4, จากนั้นได้รับการติดต่อให้ไปป้องกันแชมป์กับ สะท้านฟ้.ประทีป ที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สรศักดิ์แพ้คะแนนเอกฉันท์เสียตำแหน่งไป กลับมาชกอีกไม่กี่ครั้งก็เลิกชกแขวนนวมไป เหตุเพราะมีกำหนดขึ้นชกน้อยลง เพราะในรุ่นเดียวกันหานักมวยที่ขึ้นชกด้วยได้ยาก หลังแขวนนวม สรศักดิ์ได้กลับไปอาศัยอยู่ที่อำเภอพิมายบ้านเกิด และไม่ได้ยุ่งเกี่ยวกับวงการมวยอีกเล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสรศักดิ์ ส.ลูกบุคคโล · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ

ลโท สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว

หพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว (Lao Football Federation) หรือ สะหะพันบานเตะแห่งชาดลาว (ສະຫະພັນບານເຕະແຫ່ງຊາດລາວ) เป็นองค์กรกำกับดูแลฟุตบอลในประเทศลาว ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบสำหรับฟุตบอลทีมชาติลาว ตลอดจนการแข่งขันระดับชาติ เช่น ลาวลีก และถ้วยนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ ผู้ดำรงตำแหน่งประธานคนปัจจุบันของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว คือ วีเพ็ด สีหาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพพม่าในเอเชียนเกมส์ 1951

ประเทศพม่า ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกที่กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ในระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ถึง 11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) โดยหลังจากจบการแข่งขัน พม่า สามารถคว้าเหรียญทองมาได้มากเป็นอันดับที่ 8 คือ 3 เหรียญทองแดง โดยไม่สามารถคว้าเหรียญทอง และเหรียญเงินได้เล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสหภาพพม่าในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานสารสิน

รือประมงและสะพานสารสิน เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 สะพานสารสิน เป็นสะพานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดพังงากับจังหวัดภูเก็ต เป็นสะพานแรกที่มีการสร้างเพื่อข้ามจากจังหวัดพังงาไปภูเก็ต เชื่อมต่อระหว่างบ้านท่าฉัตรไชยและบ้านท่านุ่นของจังหวัดพังงา โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 มีความยาวทั้งหมด 660 เมตร เปิดใช้เมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 สะพานแห่งนี้ตั้งชื่อตามนามสกุลของ นายพจน์ สารสิน ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เริ่มสร้างครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 โดยเปิดให้บริษัทรับเหมาก่อสร้าง แต่ปรากฏว่าการก่อสร้างในระยะเริ่มต้นมีปัญหาเพราะความไม่ชำนาญการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2508 จึงได้เริ่มลงมือก่อสร้างอีกครั้งโดยบริษัท Cristiani & Nelson (Thailand) Ltd.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสะพานสารสิน · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สังศิต พิริยะรังสรรค์

รองศาสตราจารย์ สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ(สปท.), กรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ, อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.),อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ(สปช.),อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตรองประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสังศิต พิริยะรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ แก้วมีชัย

มารถ แก้วมีชัย (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 -) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ชุดที่ 23) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงราย สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสามารถ แก้วมีชัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาผู้แทนราษฎร แต่ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สิริกร มณีรินทร์

ริกร มณีรินทร์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และเป็นเหรัญญิกพรรคคนแรก (คณะกรรมการชุดที่ขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสิริกร มณีรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา ถิระวัฒน์

ณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ (20 มิถุนายน พ.ศ. 2467 —) อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ท่านที่ ๕ อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการท่านแรก และผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุชาดา ถิระวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ เหมือนแก้ว

ลตำรวจโท สุชาติ เหมือนแก้ว อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 26 รุ่นเดียวกั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จบปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2538 และนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปี พ.ศ. 2543 ผ่านการอบรมหลักสูตรโรงเรียนผู้บัญชาการรุ่นที่ 18 (ร.ร.ผบก) และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 48 (วปอ 48) รับราชการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ในกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) จากนั้นได้ผ่านตำแหน่งสำคัญในกองปราบปรามกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ในปี พ.ศ. 2547 และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2551 พล.ต.ท.สุชาติ ได้รับการคาดหมายว่าจะดำรงตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลางเป็นคนต่อไป แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ขึ้น ได้มีคำสั่งโยกย้าย พล.ต.ท.อัศวิน ขวัญเมือง ผ..น. ไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) และแต่งตั้งให้ พล.ต.ท.สุชาติ ขึ้นดำรงตำแหน่งแทนในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ต่อมาในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จึงถูกย้ายไปเป็น ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) จากนั้นในปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีมติปลด พล.ต.ท.สุชาติออกมาจากราชการ เนื่องจากมีความผิดร้ายแรงจากเหตุการณ์การสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 จากการชี้มูลของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ซึ่งในขณะนั้น พล.ต.ท.สุชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบอยู่ด้วยการเป็น ผ.ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุชาติ เหมือนแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สุกำพล สุวรรณทัต

ลอากาศเอก สุกำพล สุวรรณทัต (ชื่อเล่น: โอ๋) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตที่ปรึกษาพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และอดีตเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุกำพล สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

สุภัค ลิขิตกุล

ัค ลิขิตกุล เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 เป็นนางงาม นางแบบ และนักแสดงไทย เกิดที่บางลำพู เป็นบุตรีคนสุดท้องของ นายจำลอง และนางทองดี ลิขิตกุล ในจำนวนพี่น้อง 4 คน สุภัคเริ่มเข้ารับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนอนุบาลพรประสาท เรียนอยู่ที่นั่นได้ 2 ปี ก็เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนราชินี (บน) ตั้งแต่ชั้นประถมปีที่ 1 เรื่อยมาจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อจบมาก็มาเรียนด้านภาษาอังกฤษและพิมพ์ดีดเพิ่มเติม ศึกษาด้านภาษาอังกฤษอยู่ 2 ปีก็ได้ทำงานเป็นดีไซน์ไทย เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องแต่งกาย และเกี่ยวกับความงามของสตรี การที่สุภัคได้ทำงานในสถาบันแฟชั่นและความงามแห่งนี้ ประกอบกับเธอเป็นผู้หญิงที่มีส่วนสูงเหนือมาตรฐานของผู้หญิงไทยในยุคเดียวกันค่อนข้างมาก เนื่องจากเธอสูงถึง 173 เซนติเมตร ทำให้เธอเป็นที่ประสบพบเห็นของคนในวงการ สวย ๆ งาม ๆ อย่างกว้างขวาง เธอถูกเชิญชวนให้ไปประกวดนางงามเชียงใหม่ แต่ด้วยความอายและทางบ้านไม่เห็นด้วยเลยทำให้เธอตัดสินใจไม่เข้าประกวดนางงามเชียงใหม่ เธอกลายเป็นนางแบบเดินแฟชั่นอยู่ในระดับแถวหน้าๆ มีครั้งหนึ่งของการเดินแฟชั่น ได้มีช่างภาพหนังสือพิมพ์นำรูปของเธอไปลงในปกหน้าสีของหนังสือพิมพ์ "เดลิเมล์วันจันทร์" แล้วภาพของเธอก็ไปสะดุดเอากับบริษัทหนึ่งได้ทาบทามเธอมาทำงานที่บริษัท และได้มอบหมายให้เป็นนางแบบประจำของบริษัท กระทั่งได้มีการประกวดนางงามบางกอก หรือมิสบางกอก ก็ได้ติดต่อที่จะส่งสุภัคเข้าประกวด มิสบางกอก อันเป็นการประกวดนางงามเดียวกับนางสาวไทย ด้วยในยุคนั้นมีการเปลี่ยนแปลงชื่อในการประกวดหลายครั้ง มิสบางกอกก็เป็นการประกวดนางสาวไทยเช่นกัน ผลการประกวดนางสาวสุภัค ลิขิตกุลได้รับตำแหน่งนางงามที่น่องงามที่สุด และเธอได้รับเกียรติเป็นตัวแทนสาวไทยร่วมประกวดในตำแหน่ง "มิสอินเตอร์เนชั่นแนล 1971" ที่ลองบีช แคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐ ฯ ด้ว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุภัค ลิขิตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรสีห์ อิทธิกุล

รสีห์ อิทธิกุล (ชื่อเล่น อ๋อง; เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นหนึ่งในนักร้อง นักดนตรีชาวไทย ผู้พลิกยุคสมัยแห่งดนตรีของประเทศไทย มาสู่ดนตรีในแนวสากล มีผลงานทางดนตรีอัลบั้มเพลงส่วนตัวมาแล้ว 4 ชุด และเพลงประกอบภาพยนตร์ ละคร หรือ โฆษณาอีกมากม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุรสีห์ อิทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรทิน พิมานเมฆินทร์

ันตำรวจโท สุรทิน พิมานเมฆินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุรทิน พิมานเมฆินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณี สุคนธา

วรรณี สุคนธา เป็นนามปากกาของ สุวรรณี สุคนธ์เที่ยง (1 มีนาคม พ.ศ. 2475 – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) นักเขียนชาวไทย สุวรรณีเป็นบุตรของนายย้อยและนางแตงอ่อน มีพี่ชายหนึ่งคน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนผดุงนารี-กวีพิทยา ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก แล้วมาต่อที่วิทยาลัยเพาะช่างสองปี และคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยสำเร็จการศึกษาและได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงจิตรกรรม เมื่อ พ.ศ. 2494 จากนั้นจึงเริ่มเป็นครูศิลปะที่โรงเรียนศิลปศึกษา กรุงเทพมหานคร อยู่สามปี แล้วไปเป็นอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างนั้นได้เริ่มเขียนเรื่องสั้น เรื่องแรกคือ "จดหมายถึงปุก" (พ.ศ. 2508) โดยตีพิมพ์ในสตรีสาร และใช้นามปากกาว่า "สุวรรณี" ต่อมานายประมูล อุณหธูป บรรณาธิการสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ได้ตั้งนามปากกาให้ใหม่ว่า "สุวรรณี สุคนธา" เมื่อได้ส่งเรื่องสั้นให้ตีพิมพ์ในสยามรัฐ ส่วนนวนิยายเรื่องแรกที่เขียนคือ "สายบ่หยุดเสน่ห์หาย" ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี เมื่องานเขียนเริ่มเป็นที่นิยมสุวรรณีจึงลาออกจากราชการ และปฏิบัติงานเขียนอย่างเต็มตัว จนถึง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุวรรณี สุคนธา · ดูเพิ่มเติม »

สุนัย จุลพงศธร

ร.สุนัย จุลพงศธร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุนัย จุลพงศธร · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ แย้มนุ่น

มธ แย้มนุ่น อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เกิดวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2494 สมรสกับนางอาภรณ์ แย้มนุ่น อาจารย์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา มีบุตร 1 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุเมธ แย้มนุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงหนือ เดิมมีชื่อว่า ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 โดยใช้ชื่อเมื่อครั้งก่อตั้งว่า ศูนย์กลางอบรมการศึกษาผู้ใหญ่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อย่อว.อ..อ. เป็นหน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียนในระดับภาค ตั้งอยู่ใจกลางเมืองอุบลราชธานี เคยเป็นสถานที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี (ชั่วคราว) ซึ่งถูกเผาทำลายจากเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมือง เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสถาปนา (หนังสือ)

หน้าปกสถาบันสถาปนา ฉบับพิมพ์ครั้งล่าสุดของโปรวิชั่น สถาบันสถาปนา เป็นนิยายวิทยาศาสตร์แต่งโดยไอแซค อสิมอฟ โดยเป็นหนังสือเล่มแรกในนิยายชุดสถาบันสถาปนา สถาบันสถาปนาเป็นการตีพิมพ์เรื่องสั้นที่มีเนื้อหาต่อเนื่องกันจำนวน 5 เรื่อง พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1951.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสถาบันสถาปนา (หนังสือ) · ดูเพิ่มเติม »

สดใส รุ่งโพธิ์ทอง

ใส รุ่งโพธิ์ทอง มีชื่อจริงในอดีตว่า วันชัย โรจนวิชัย เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ที่ อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยมีพ่อเป็นคนทำขวัญนาค แม่มีอาชีพชาวนา ในวัยเด็กชอบร้องเพลง โดยเฉพาะเพลงลูกทุ่ง สดใสบันทึกเสียงตัวเองลงแผ่นเสียงครั้งแรกกับเพลง ข้าด้อยเพียงดิน ซึ่งเป็นเพลงที่เขียนเอง แต่เพลงที่ทำให้ได้ชื่อเสียงและได้รับความนิยมคือ รักจางที่บางปะกง ในปี พ.ศ. 2517 ซึ่งสดใสเขียนเนื้อเพลงเอง เป็นที่ได้รับความนิยมมากเพราะมีเนื้อร้องที่ไหลลื่นและคลองจองกัน พร้อมกับมีดนตรีที่เป็นจังหวะฉิ่งฉับ ฟังแล้วให้รู้สึกคึกคัก หลังจากนั้นมา สดใส ก็ได้มีผลงานบันทึกเสียงกับบริษัท นิธิทัศน์ โปรโมชั่น โดยอยู่ในอัลบั้ม สุดยอดลูกทุ่งเสียงทอง ต่อมาสดใสก็มีผลงานบันทึกเสียงกับค่ายโรสวิดีโอ (ปัจจุบันคือ โรสมีเดียฯ) โดยนำผลงานเพลงของตัวเอง และเพลงของ ศรเพชร ศรสุพรรณ รวมถึงนักร้องท่านอื่น ๆ มาขับร้องด้วย สดใส รุ่งโพธิ์ทอง กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้งในปี พ.ศ. 2540 กับเพลง รักน้องพร ซึ่งมีเนื้อหาและลีลาการร้องที่ออดอ้อน ซึ่งเพลงนี้ต่อมาได้ถูกนำมาร้องใหม่และแปลงเนื้อร้องโดยนักร้องลูกทุ่งหลายคน ในทางการเมือง สดใสสนใจการเมืองมาตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา ได้นำเอาเพลงของคาราวานไปใส่เนื้อร้องใหม่เป็นเพลงลูกทุ่ง เช่นเพลง เราคนจน มาจากเพลง คนกับควาย เพลงโอ้ชาวนา มาจากเพลง เปิบข้าว เป็นต้น จากนั้น ได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาและปริญญาโท รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549 สดใสได้ลงสมัครเป็น ส.ว. ที่จ.ปทุมธานี และได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงถึง 52,180 คะแนน เป็นอันดับหนึ่งของจังหวัด มีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการศิลปวัฒนธรรมของวุฒิสภา แต่ทำหน้าที่ได้เพียง 5 เดือนเท่านั้นก็ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยการถูกรัฐประหาร ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งที.ปทุมธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ด้วยการทาบทามของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรค โดยลงในเขต 2.ปทุมธานี ซึ่งประกอบด้วย อ.ธัญบุรี อ.ลำลูกกา และ อ.หนองเสือ พร้อมกับได้เปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น สดใส โรจนวิชัย แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งในกลางปี พ.ศ. 2554 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งในพื้นที่เดิม โดยย้ายไปสังกัดพรรคชาติไทยพัฒน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสดใส รุ่งโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

สงวน เล็กสกุล

งวน เล็กสกุล (8 มกราคม พ.ศ. 2452 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) หัวหน้าหมวดวิชาภาษาไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คนแรก และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาคนที่ 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสงวน เล็กสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 พล.ร.อ.สงัดในขณะนั้นยังมียศ นาวาโท (น.ท.) เป็นผู้บังคับบัญชาเรือรบหลวงสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ยิงปืนจากเรือไปยังรถถังของฝ่ายรัฐบาลจนเสียหาย หลังเหตุการณ์ได้ถูกควบคุมตัวและถูกคุมขังเช่นเดียวกับผู้ต้องหาคนอื่น ๆ ที่สนามกีฬาแห่งชาติด้วย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ เป็นนายทหารที่มีบทบาทอย่างสูงในทางการเมือง โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ด้วยการเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารเรือและผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเป็นผู้นำในการรัฐประหารถึง 2 ครั้ง คือในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 จนได้รับฉายาว่า "บิ๊กจอวส์" หรือ "จอวส์ใหญ่" ถึงแก่อนิจกรรมด้วยอาการหัวใจวาย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสงัด ชลออยู่ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–พม่า

งครามจีน–พม่า (တရုတ်-မြန်မာ စစ်, 中緬戰爭, 清緬戰爭) หรือ การบุกพม่าของราชวงศ์ชิง หรือ การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง (Qing invasions of Burma, Myanmar campaign of the Qing Dynasty) เป็นการสงครามระหว่างราชวงศ์ชิงของจีน กับราชวงศ์โกนบองของพม่า กินเวลา 4 ปี ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสงครามจีน–พม่า · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สติง

กอร์ดอน แมททิว โทมัส ซัมเนอร์ (Gordon Matthew Thomas Sumner, CBE) เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1951 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สติง (Sting) เป็นนักดนตรี นักแสดงชาวอังกฤษ จากวอลล์เซนด์ ในนอร์ธไทน์ไซด์ ก่อนที่จะก้าวสู่ฐานะศิลปินเดี่ยวเขาเป็นนักเขียนเพลงและนักร้องและมือเบสให้กับวงร็อกที่ชื่อ เดอะโพลิซ ในฐานะศิลปินเดี่ยวและสมาชิกวงเดอะโพลิซ สติงได้รับรางวัลแกรมมี่ 16 ครั้งจากผลงานของเขา ได้รับรางวัลแกรมมี่ครั้งแรกในสาขาแสดงดนตรีร็อกบรรเลงยอดเยี่ยมในปี 191 และเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาเพลงยอดเยี่ยม 3 ครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสติง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ. 2494) เป็นสนธิสัญญาที่นำไปสู่การยุติสงครามระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศร่วมลงนามในสัญญาอีก 49 ประเทศ ประเทศต่างๆ เหล่านี้ได้แก่ประเทศที่ได้ประกาศสงครามกับญี่ปุ่น ยกเว้นรัสเซีย จีนไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่และประเทศอื่นเคยอยู่ในการยึดครองของญี่ปุ่นระหว่างสงคราม ที่ประกาศตั้งเป็นรัฐใหม่หลังการประกาศยอมแพ้ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2488 สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก เป็นสัญญาที่นำไปสู่การยุติการยึดครองประเทศญี่ปุ่นของประเทศต่าง ๆ หลังการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข และเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการรับญี่ปุ่นเข้าร่วมกับประชาคมโลกในฐานะเท่าเทียมกันอีกครั้งหนึ่ง มีดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลปาอี

มสรฟุตบอลปาอีหรือ สโมสรฟุตบอลออร์กัสเฟิร์ส (八一八一足球俱乐部 August 1st Football Team) เป็นสโมสรฟุตบอล ของกองทัพประเทศจีน ในช่วงปี 2494-2546 โดยปัจจุบันทีมนี้ได้ยุบไปแล้ว ชื่อของปาอี (八一) หมายความว่า ปา (八) คือแปด และ อี (一) คือหนึ่ง ชื่อนี้มาจากการจัดตั้งคนของกองทัพปลดปล่อยใน 1 สิงหาคม 2570 สโมสรฟุตบอลปาอีแต่เดิมมาจากเมืองปักกิ่ง แต่ภายหลังประสบปัญหาเรื่องผู้สนับสนุน จึงได้ย้ายเมืองไปตามเมืองต่างๆ รวมถึงเปลี่ยนชื่อสโมสรตามผู้สนับสนุนใหม่เรื่อยๆ จนกระทั่งในปี 2546 สโมสรได้ถูกยุบโดยทางกองทัพจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสโมสรฟุตบอลปาอี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด (Newcastle United Football Club; ตัวย่อ: NUFC) เป็นทีมฟุตบอลอาชีพทีมหนึ่งในฟุตบอลลีกอังกฤษ ตั้งอยู่ที่เมืองนิวคาสเซิลอะพอนไทน์ มีชื่อเล่นของทีมว่า "แม็กพายส์" ("สาลิกาดง" หรือ "กางเขนเหล็ก" ในภาษาไทย) แฟนของทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด จะมีชื่อเรียกว่า "ทูนอาร์มี" ซึ่งคำว่า "ทูน" นั้นเป็นภาษาแซกซัน คือคำว่า "ทาวน์" ที่แปลว่า "เมือง" นิวคาสเซิลยูไนเต็ดถือว่ามีคู่แข่งในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยกัน คือ ซันเดอร์แลนด์ และ มิดเดิลส์เบรอ ในฤดูกาล 2015–16 นิวคาสเซิลยูไนเต็ดต้องตกชั้นลงไปเล่นในเดอะแชมเปียนชิป หลังจากจบการเล่นนัดที่ 37 ของฤดูกาล เนื่องจากมีเพียง 34 คะแนน และอยู่ในอันดับ 18 ของตารางคะแนน ซึ่งไม่สามารถไล่ตามทันทีมที่อยู่ในอันดับ 17 คือ ซันเดอร์แลนด์ ที่มี 38 คะแนน ได้ทันแล้ว เนื่องจากเหลือการแข่งขันอีกเพียงนัดเดียว แต่เพียงฤดูกาลเดียว นิวคาสเซิลยูไนเต็ดก็ได้เลื่อนชั้นกลับขึ้นไปเล่นในพรีเมียร์ลีก โดยหลังจากชนะเปรสตันนอร์ทเอนด์ไป 4–1 และมีคะแนนทิ้งห่างจากทีมอันดับ 3 คือ เรดิงถึง 9 คะแนน และตามหลังไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน 1 คะแนน และเมื่อจบฤดูกาล นิวคาสเซิลยูไนเต็ดได้แชมป์ โดยมี 94 คะแนน มากกว่าไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียนที่ได้เลื่อนชั้นไปก่อนแล้ว 1 คะแนน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

สเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์

ปกโตรสโคปดาวของ หอดูดาวลิก ในปี ค.ศ. 1898 ออกแบบโดย James Keeler และสร้างขึ้นโดย John Brashear สเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ (Astronomical spectroscopy) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับดาราศาสตร์ โดยใช้เทคนิคสเปกโทรสโกปี ในการวัดสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า,รวมทั้งแสงที่มองเห็นได้และคลื่นวิทยุ,ซึ่งแผ่กระจายจากดาว และวัตถุท้องฟ้าร้อนอื่น ๆ สเปกโทรสโกปี สามารถนำมาใช้เพื่อหาคุณสมบัติหลายอย่างของดาวและกาแลคซีที่ห่างไกล เช่น องค์ประกอบทางเคมี,อุณหภูมิ,ความหนาแน่น,มวลระยะทาง,ความส่องสว่าง และการเคลื่อนไหวสัมพัทธ์โดยใช้การวัดปรากฏการณ์ดอปเพลอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตประธานองคมนตรี อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์ ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)

ันเอก หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) (24 สิงหาคม พ.ศ. 2439 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497) นักเขียน นักประพันธ์ บรรณาธิการหนังสือ สารานุกูล เป็นผู้แต่งเพลงชาติไทย เป็นนายกสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 4 เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) · ดูเพิ่มเติม »

หลิว เจียฮุย

หลิว เจียฮุย หรือ กอร์ดอน หลิว (อังกฤษ: Gordon Liu) เป็นนักแสดงชายชาวฮ่องกง ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์ในสังกัดของ ชอว์บราเดอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และหลิว เจียฮุย · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ (عبدالله بن حمد العطية; ค.ศ. 1951 —) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศกาตาร์และหัวหน้าศาลของเอมีร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตัน

ลงชาติเนอการาบรูไนดารุสซาลาม มีชื่อว่า อัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตัน (Allah Peliharakan Sultan; الله فليهاراكن سلطن, "ขอพระเจ้าทรงพิทักษ์องค์สุลต่าน") ประพันธ์เนื้อร้องเป็นภาษามลายูโดยเปองีรัน ฮัจญี มูฮัมมัด ยูซุฟ บิน อับดุล ราฮิม ทำนองโดยอาวัง ฮัจญี เบอซาร์ บิน ซากัป เมื่อปี พ.ศ. 2490 และประกาศใช้เป็นเพลงชาติเมื่อ พ.ศ. 2494.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตัน · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน วิภูศิริ

นายอัศวิน วิภูศิริ (เกิด: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดพิจิตร) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 33 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการพรรคมหาชน ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคชาติไทย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอัศวิน วิภูศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน ขวัญเมือง

ลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ คอลัมนิสต์ อัศวินเมืองกรุง หนังสือพิมพ์เอ็มทูเอฟ, อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาจากระดับชั้น ม.3 จากโรงเรียนด่านช้างวิทยา, โรงเรียนตำรวจภูธรภาค 7, โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 30 (นรต.30) จบหลักสูตรการบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 16 และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 45 พล.ต.อ.อัศวิน ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบฝีมือดีคนหนึ่ง เคยผ่านคดีสำคัญ ๆ ระดับชาติมาแล้วหลายคดี อาทิ คดีสังหารนายศุภฤกษ์ เรือนใจมั่น (โจ ด่านช้าง), คดีคาร์บอมบ์รถอดีตนายกรัฐมนตรี.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, คดีจับกุมนายประชา โพธิพิพิธ (กำนันเซี๊ยะ), คดีจับกุมนายนพพล ประสงค์ศิล (จิ๊บ ไผ่เขียว) และคดีวิสามัญฆาตกรรมนายชาญชัย ประสงค์ศิล (โจ๊ก ไผ่เขียว) เป็นต้น ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่อดำรงยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.สุชาติ เหมือนแก้ว รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้ ต่อมาในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษ.10 ในยศพลตำรวจเอก (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทางคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติและต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอัศวิน ขวัญเมือง · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา ฟอน ฮับส์บูร์ก

อาร์คดัชเชสแอนเดรียแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: แอนเดรีย มาเรีย ฟอน ฮับส์บูร์ด-โลทรินเธน; Andrea Maria von Habsburg-Lothringen) ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรียและเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์โตในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 ณ เมืองเวิร์ซเบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอันเดรอา ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์

นายกองตรี อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน กลุ่ม 8 สังกัดพรรคมาตุภูมิ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคมาตุภูม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสโยลันเดอแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสโยลันเดแห่งออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอาร์ชดัชเชสโยลันเดอแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาคม เอ่งฉ้วน

อาคม เอ่งฉ้วน กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 9 สมัย เกิดวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2494 เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากนายอาคมเป็นบุคคลที่มีรูปร่างอ้วนใหญ่ จึงได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า ตูมตาม มีบทบาทตรวจสอบรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผ่านสภาผู้แทนราษฎร โดยเป็นผู้อภิปรายเรื่อง การทุจริตจัดซื้อเครื่องฉายดาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอาคม เอ่งฉ้วน · ดูเพิ่มเติม »

อาซาฮีบรอดแคสติงคอร์ปอเรชัน

ที่ทำการปัจจุบันที่เขตฟุกุชิมะ อาซาฮีบรอดแคสติงคอร์ปอเรชัน; Asahi Broadcasting Corporation; ชื่อย่อ: ABC) เป็นบริษัทกระจายเสียงและแพร่ภาพของประเทศญี่ปุ่น สำนักงานตั้งที่โอซะกะ มีเขตพื้นที่ให้บริการในเขตพื้นที่คันไซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอาซาฮีบรอดแคสติงคอร์ปอเรชัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าสองยาง

ท่าสองยาง เป็นอำเภอในจังหวัดตาก ติดชายแดนประเทศพม่า ริมแม่น้ำเมย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าเขาสูงตามแนวทิวเขาถนนธงชัย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยพื้นราบ ประกอบอาชีพทำไร่ ระยะทางจากอำเภอแม่สอดถึงอำเภอท่าสองยาง ประมาณ 84 กิโลเมตร รวมระยะทางจากตัวอำเภอเมืองตากถึงอำเภอท่าสองยางประมาณ 169 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอำเภอท่าสองยาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตรัง

มืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อีวาโนเอ โบนอมี

อีวาโนเอ โบนอมี (Ivanoe Bonomi; 18 ตุลาคม ค.ศ. 1873 - 20 เมษายน ค.ศ. 1951) เป็นนักการเมืองฝ่ายซ้ายและรัฐบุรุษชาวอิตาลีในช่วงก่อนและช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรอิตาลี 2 สมัย (สมัยแรก ค.ศ. 1921-1922, สมัยที่ 2 ค.ศ. 1944 - 1945).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอีวาโนเอ โบนอมี · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ลิมปคุปตถาวร

นายอนันต์ ลิมปคุปตถาวร (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ เขต 4 อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอนันต์ ลิมปคุปตถาวร · ดูเพิ่มเติม »

ฮาง ทุน ฮัก

ง ทุน ฮัก (ហង្ស ធុន ហាក់ Hang Thun Hak) เป็นนักการเมือง นักเขียนบทละคร และนักวิชาการฝ่ายซ้ายในกัมพูชา เกิดเมื่อ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฮาง ทุน ฮัก · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก ชีรัก

ัก เรอเน ชีรัก (Jacques René Chirac; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 —) รัฐบุรุษฝรั่งเศส อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกเทศมนตรีกรุงปารี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฌัก ชีรัก · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ผุสดี ตามไท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผุสดี ตามไท กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และอดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และผุสดี ตามไท · ดูเพิ่มเติม »

ผุดผาดน้อย วรวุฒิ

ผุดผาดน้อย วรวุฒิ มีชื่อจริงว่า ผ่อน ออมกลิ่น เกิดเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดขอนแก่น มีชื่อเล่นว่า "หมู" เป็นบุตรคนที่ 4 จากพี่น้องทั้งหมด 8 คน เริ่มชกมวยตั้งแต่อายุ 10 ขวบตามบรรดาพี่ชาย ในชื่อ "ผุดผาดน้อ.หาญผจญ" ค่ายมวยในขอนแก่น ของนายแพทย์จำลอง มุ่งการดีและนายยล หาญเผชิญ (พี่ชายคนโตใช้ชื่อมวย "ผุดผาด จ.หาญผจญ") แต่บิดา (นายผ่อง ออมกลิ่น) ไม่สนับสนุน อยากให้เรียบจบ ม.3 ก่อน เมื่อเรียนจนจบ ม.3 ที่ขอนแก่น ได้ฝึกเชิงมวยกับเพื่อนของพี่ชายชื่อ "ศรทอง ลูกเครื่องมือกล" และได้ตระเวนชกทั่วภาคอีสานเป็นจำนวนกว่า 60 ครั้ง โดยไม่แพ้ใครเลย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และผุดผาดน้อย วรวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช

อร์จ เฮอร์เบิร์ต วอล์กเกอร์ บุช (George Herbert Walker Bush) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 41 ของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2532-พ.ศ. 2536) และเป็นบิดาของจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ประธานาธิบดีคนที่ 43 จอร์จ บุช เป็นรองประธานาธิบดีให้กับประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน จากพรรคริพับลิกัน และลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีหลังจากหมดสมัยของเรแกน เหตุการณ์สำคัญในสมัยของเขาคือสงครามอ่าวเปอร์เซีย จอร์จ บุช จบจากมหาวิทยาลัยเยล เคยเป็นนักบินในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำองค์การสหประชาชาติ เคยเป็นผู้อำนวยการใหญ่ซีไอเอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จาง อี้โหมว

ง อี้โหมว (จีน: 张艺谋, พินอิน: Zhāng Yìmóu) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2494 -) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีน ที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เขาเริ่มเข้าสู่วงการ ด้วยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง Red Sorghum งานของเขามักมีจุดเด่นในเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกต่อการใช้สี ดังที่เห็นได้ในภาพยนตร์ไตรภาคเรื่องแรกๆ เช่น Raise the Red Lantern หรือในหนังศิลปะการต่อสู้ เช่น Hero และ House of Flying Daggers ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจาง อี้โหมว · ดูเพิ่มเติม »

จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จีระพันธ์ วีระพงษ์

ีระพันธ์ วีระพงษ์ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี ที่อยู่ในวงการเพลงลูกทุ่งมามากกว่า 35 ปี และมีผลงานเพลงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางหลายเพลง เสียงของจีระพันธ์ วีระพงษ์ ออกมาในทางเดียวกับ ระพิน ภูไท ปัจจุบันก็ยังคงผลิตผลงานเพลงออกสู่ท้องตลาด จีระพันธ์ วีระพงษ์ โด่งดังมาจากเพลง “ คุณนายใจบุญ “ และโด่งดังอย่างมากจากเพลง “ ไก่นาตาฟาง “ และ " มาดามดิงดอง ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจีระพันธ์ วีระพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

จตุพล ภูอภิรมย์

ตุพล ภูอภิรมย์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2524) นักแสดงชาวไทย จตุพล ภูอภิรมย์ เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม โรงเรียนสันติราษฎร์บำรุง แล้วเดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศอินเดียเป็นเวลาสั้นๆ ก่อนจะกลับมาศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เข้าสู่วงการจากการเป็นนายแบบโฆษณายาสีฟันใกล้ชิด เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจตุพล ภูอภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธำรงค์ ไทยมงคล

นายธำรงค์ ไทยมงคล เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 ซึ่งมีนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธำรงค์ ไทยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล

ีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และประธานกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) อดีตรองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และเป็นประธานกลุ่ม ก.ล.ต. อาเซียน (ACMF) 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลิเบีย

งชาติลิเบีย (علم ليبيا) ในปัจจุบันเป็นธงชาติเดิมในสมัยสหราชอาณาจักรลิเบีย ระหว่าง พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2512 ซึ่งได้ถูกฟื้นฟูเป็นสัญลักษณ์ของชาติลิเบียอีกครั้งเมื่อเริ่มเกิดการต่อต้านรัฐบาลของพันเอกมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 จนกระทั่งบานปลายไปสู่สงครามกลางเมือง ต่อมาเมื่อกองทัพของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสามารถยึดกรุงตริโปลิและโค่นล้มรัฐบาลของกัดดาฟีลงได้ จึงได้มีการประกาศฟื้นฟูฐานะธงชาติแบบเดิมขึ้นอีกครั้ง เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธงชาติลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติศรีลังกา

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีทอง ภายในประกอบด้วยแถบสีเขียวและสีแสดแนวตั้งที่ด้านคันธง ส่วนด้านปลายธงเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงเลือดหมู ภายในมีรูปราชสีห์ยืน เท้าหน้าข้างหนึ่งถือดาบ ที่มุมสี่เหลี่ยมแต่ละมุมนั้นมีใบโพธิ์มุมละ 1 ใบ ธงนี้เรียกชืออีกอย่างว่า "ธงราชสิห์" ("Lion Flag") ธงนี้ใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2494 เมื่อประเทศศรีลังกายังใช้ชื่อว่ารัฐอธิราชซีลอน (Dominion of Ceylon) ภายใต้ความปกครองของสหราชอาณาจักรต่อมาจึงได้มีการแก้ไขให้เป็นธงแบบปัจจุบันเมื่อประเทศศรีลังกาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธงชาติศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย เป็นธงที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) จนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) มีลักษณะดังความที่บรรยายในประกาศแบบธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย ลงวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจอร์เจีย

งชาติจอร์เจีย (საქართველოს სახელმწიფო დროშა., sakartvelos sakhelmtsipo drosha) ที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ธงที่มีชื่อเรียกว่า "ธงห้ากางเขน" หรือ "ธงห้ากากบาท" (The five-cross flag) ซึ่งได้นำมาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หลังธงนี้ได้เลิกใช้มานานถึง 500 ปี ในอดีตธงนี้เป็นธงของอาณาจักรจอร์เจียโบราณในยุคกลางของทวีปยุโรป และเคยใช้เป็นสัญลักษณ์ของพรรคการเมืองจอร์เจียที่มีชื่อว่า พรรคขบวนการเอกภาพแห่งชาติ หรือพรรค ENM (ย่อมาจาก Ertiani Natsionaluri Modzraoba).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธงชาติจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปากีสถาน

งชาติปากีสถาน มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็น 2 ส่วนตามแนวตั้ง ตอนต้นพื้นสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 4 ส่วนของความยาวธง ส่วนที่เหลือเป็นพื้นสีเขียว ภายในมีรูปพระจันทร์เสี้ยวและดาวห้าแฉกสีขาว ธงนี้ออกแบบโดย ไซเอ็ด อาเมียร์ อุดดิน เก็ดวาอี (Syed Amir uddin Kedwaii) โดยอาศัยต้นแบบจากธงสันนิบาตมุสลิม (Muslim League) สภาแห่งชาติปากีสถานได้ประกาศให้ใช้ธงนี้เป็นธงชาติ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2490 ก่อนหน้าการประกาศเอกราชจากบริติชราชในวันถัดมา ในเพลงชาติปากีสถาน ได้กล่าวถึงธงชาติไว้ในชื่อ "ธงเดือนเสี้ยวและดาว" (ภาษาอูรดู: Parcham-e-Sitāra-o-Hilāl) พื้นสีเขียวในธงชาติ หมายถึงศาสนาอิสลาม อันเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ แถบสีขาวที่ต้นธง หมายถึงศาสนาอื่นๆ ของชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในปากีสถาน รูปพระจันทร์เสี้ยวที่กลางธงหมายถึงความก้าวหน้า ส่วนดาวห้าแฉกสีขาวคือแสงสว่างและความรู้ ความหมายของธงโดยรวมจึงหมายถึงศาสนาอิสลาม โลกอิสลาม และสิทธิของชนกลุ่มน้อยผู้นับถือศาสนาอื่น ธงชาติปากีสถานจะใช้ประดับในโอกาสสำคัญต่างๆ ของแต่ละปี เช่น วันสาธารณรัฐ (23 มีนาคม) และวันเอกราช (14 สิงหาคม) เป็นต้น เดิมธงชาติปากีสถานออกแบบโดย มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ ผู้ก่อตั้งประเทศปากีสถาน ลักษณะเป็นธงพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวสีขาว ใช้ในสันนิบาตมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) ในฐานะเป็นสัญลักษณ์ของเป้าหมายในการตั้งรัฐเอกราชของชาวมุสลิม แถบสีขาวได้ถูกเพิ่มเข้ามาในภายหลังเมื่อปากีสถานประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2490 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนชนกลุ่มน้อยอื่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธงชาติปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบลารุส

งชาติเบลารุส แบบที่ใช้อยู่ปัจจุบันนั้น เริ่มบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2538 หลังจากการลงประชามติเพื่อเลือกแบบธงชาติเบลารุสในเดือนประชาชนในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน ธงที่ใช้อยู่นี้ใช้แทนธงชาติเดิมในปี พ.ศ. 2461 สมัยที่ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐประชาชนเบลารุส ก่อนที่ประเทศเบลารุสจะมีฐานะเป็นสาธารณรัฐโซเวียต ขึ้นตรงต่อสหภาพโซเวียต ต่อมาเมื่อประเทศได้รับเอกราชก็ได้ใช้ธงในยุคดังกล่าวอีกครั้ง ธงแบบปัจจุบันนี้เป็นการดัดแปลงจากธงชาติสมัยสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียเพียงเล็กน้อย โดยยกเอารูปค้อนเคียวและดาวแดงออก ซึ่งธงขององค์กรและหน่วยงานราชการต่างๆ ในเบลารุสหลายแห่งล้วนดัดแปลงจากรูปแบบของธงชาติด้วย อย่างในก็ตาม ยังมีคนบางกลุ่มที่ใช้ธงสีพื้นขาวและแดงเป็นเครื่องหมายในการต่อต้านรัฐบาลของประธานาธิบดีอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค แม้ว่าธงดังกล่าวนี้ถือเป็นธงต้องห้ามในประเทศเบลารุสก็ตาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธงชาติเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเฮิร์ม

งชาติเฮิร์ม สัดส่วนธง 3:5 ธงชาติเฮิร์ม เป็นธงกางเขนแห่งนักบุญจอร์จ ธงพื้นขาวมีรูปกางเขนสมมาตรสีแดงปลายจดขอบธงทุกด้าน ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน มีช่องมุมบนด้านค้นธงเป็นรูปตามลวดลายของตราราชการของดินแดนเฮิร์ม กล่าวคือ พื้นตรามีสีน้ำเงินมีแถบสีเหลืองพาดจากมุมซ้ายบนมายังมุมขวาล่าง ภายในมีรูปนักบวชสวมชุดดำยืนเรียงตามแนวแถบสีเหลือง 3 คน ที่ช่องขวาบนและซ้ายล่างซึ่งเกิดจากการแบ่งพื้นตรานั้น เป็นรูปปลาโลมาสีขาว 2 ตัว ตราดังกล่าวนี้ออกแบบเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2496 จึงประมาณการว่าธงนี้น่าจะเริ่มใช้ในช่วงเวลาเดียวกัน ส่วนผลงานการออกแบบธงนั้นเป็นของ "วิลเลียม แครมตัน" (William Crampton) นักธัชวิทยาชาวบริเตน ก่อนหน้านี้ประมาณปี พ.ศ. 2494 เกาะแห่งนี้ใช้ธงพื้นสีน้ำเงินมีตราแผ่นดินของเกิร์นซีย์เป็นสัญลักษณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธงชาติเฮิร์ม · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกลางเวียดนาม

นาคารกลางเวียดนาม (Ngân hàng Nhà nước Việt Nam) เป็นธนาคารกลางของประเทศเวียดนาม ในปัจจุบันนี้มีสัดส่วนการถือหุ้นประมาณ 65% ของ VietinBank - ธนาคารจดทะเบียนที่ใหญ่ที่สุดของประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธนาคารกลางเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี

หน้าปกซีดีอัลบั้ม ลมไผ่ เป้า, เทียรี่ ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี เป็นอดีตสมาชิกวงคาราบาว ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันจัดรายการวิทยุประจำที่คลื่นความคิด F.M.96.5 ของอสมท และเป็นวิทยากรประจำรายการคุณพระช่วย ของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธนิสร์ ศรีกลิ่นดี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืม

นนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืม หรือเรียกโดยย่อว่า ออลเวย์ส (Always) คือ ภาพยนตร์ญี่ปุ่นปี พ.ศ. 2548 ที่ดัดแปลงมาจากมังงะของเรียวเฮ ไซงัง เรื่อง ซังโจเมะโนะยูฮิ กำกับและประพันธ์บทภาพยนตร์โดย ทะกะชิ ยะมะซะกิ นำแสดงโดย มะกิ โฮะริกิตะ, ฮิเดะตะกะ โยะชิโอะกะ, ชินอิจิ สึสึมิ, โคะยุกิ, ฮิโระโกะ ยะกุชิมะรุ, คะซุกิ โคะชิมิสุ และเค็นตะ ซุงะ เข้าฉายในประเทศญี่ปุ่นวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ฉายแบบจำกัดโรงในประเทศไทยเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2549 และเข้าฉายในไต้หวันเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื้อเรื่องของภาพยนตร์เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต ความสัมพันธ์ ความหวัง และความรักของสมาชิกในชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งบนถนนสายที่ 3 โดยมีกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ประมาณคริสต์ทศวรรษที่ 1950) เป็นฉากหลัง ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือได้ว่าประสบความสำเร็จทั้งรายได้และรางวัลที่ได้รับ โดยผลงานที่โดดเด่นที่สุดคือการได้รับรางวัลแจแปนิสอคาเดมี ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และถนนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอุทยาน

นนอุทยาน ในปี พ.ศ. 2549 ถนนอุทยาน (Thanon Utthayan) หรือที่นิยมเรียกในชื่อเดิมว่า ถนนอักษะ เป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 ในเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ถึงถนนพุทธมณฑลสาย 4 ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีระยะทาง 3.98 กิโลเมตร ความกว้าง 90 เมตร พร้อมด้วยทัศนียภาพที่สวยงาม มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น คือ เสาโคมไฟรูปหงส์เรียงราง 2 ข้างทาง ที่มากถึง 979 ต้น และคูน้ำคั่นกลางความกว้าง 30 เมตร ที่มีน้ำพุเล่นระดับ 3 แห่ง จนได้ชื่อว่าเป็นถนนที่สวยที่สุดในประเทศไทย ถนนอุทยานหรือเดิมชื่อถนนอักษะ เป็นถนนที่สร้างมุ่งไปพุทธมณฑลซึ่งได้เริ่มก่อสร้างใน พ.ศ. 2498 สมัยที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีเพื่อเฉลิมฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2500) โดยเริ่มดำเนินการเวนคืนที่ดินของราษฎรเพื่อสร้างถนนตั้งแต่ พ.ศ. 2494 แต่การก่อสร้างพุทธมณฑลและถนนอักษะได้หยุดชะงักไปเมื่อจอมพล ป.พิบูลสงคราม ถูกจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก่อรัฐประหารยึดอำนาจใน พ.ศ. 2500 ต่อมาในสมัยพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้เริ่มรื้อฟื้นโครการพุทธมณฑลขึ้นเนื่องจากใกล้การเฉลิมฉลองโอกาสที่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปีใน พ.ศ. 2525 และเสร็จสมบูรณ์ในสมัยที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนถนนอักษะได้รับอนุมัติให้ลงมือก่อสร้างในสมัยที่นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โครงการก่อสร้างถนนอักษะเป็นโครงการหนึ่งที่กรุงเทพมหานครดำเนินการเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ใน พ.ศ. 2539 เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสง่างามแก่พุทธมณฑลซึ่งเป็นสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ และอำนวยความสะดวกในพระราชพิธีที่พุทธมณฑล ใช้งบประมาณการก่อสร้าง 1,068,987,571 บาท (ถือเป็นถนนที่ใช้งบประมาณในการสร้างสูงที่สุดในประเทศไทยด้วยกรุงเทพมหานคร, แฟนพันธุ์แท้. เกมโชว์ทางช่อง 5: ศุกร์ที่ 5 เมษายน 2545) และเสร็จสมบูรณ์เปิดให้ประชาชนใช้ได้ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 สำหรับชื่อถนนอักษะซึ่งมาจากภาษาอังกฤษว่า "Axis" แปลว่า "แกนกลาง" นั้นเป็นคำที่ใช้เรียกหมายถึงประเทศฝ่ายอักษะ คือ เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น ซึ่งทำสงครามกับฝ่ายพันธมิตร คือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ในสงครามโลกครั้งที่ 2 และรัฐบาลในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ประกาศเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายอักษะ เมื่อสร้างถนนเสร็จแล้ว กรุงเทพมหานครได้ประสานงานกับกรมศิลปากรในเรื่องชื่อถนนอักษะ ซึ่งกรมศิลปากรได้แนะนำให้ใช้ชื่อว่า ถนนอักษะ ซึ่งแปลว่าแกนกลาง เนื่องจากเป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต่อมากรุงเทพมหานครได้ประสานงานกับกรมศิลปากรเพื่อขอพระราชทานชื่อถนนจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนว่า "ถนนอุทยาน" ซึ่งเป็นชื่อที่สัมพันธ์กับพุทธมณฑล ในเทศกาลสงกรานต์สมัยปัจจุบัน ถนนอุทยานรวมถึงถนนเลียบคลองทวีวัฒนาที่อยู่ใกล้เคียงกัน นิยมใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมและเล่นสาดน้ำเช่นเดียวกับถนนข้าวสารในเขตพระนครและถนนสีลมในเขตบางรัก แต่ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และถนนอุทยาน · ดูเพิ่มเติม »

ทอมมี ฮิลฟิเกอร์

ทอมมี ฮิลฟิเกอร์ หรือ โทมัส เจคอบ ฮิลฟิเกอร์ (Tommy Hilfiger หรือ Thomas Jacob Hilfiger) (24 มีนาคม พ.ศ. 2494-) เป็นดีไซเนอร์ชาวอเมริกัน เจ้าของผลิตภัณฑ์ ทอมมี ฮิลฟิเกอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และทอมมี ฮิลฟิเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทิพยประกันภัย

ทิพยประกันภัย เป็นบริษัทประกันภัยและประกันชีวิตในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และทิพยประกันภัย · ดูเพิ่มเติม »

ทิวา เงินยวง

รองศาสตราจารย์ ทิวา เงินยวง (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2553) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ เป็นมือกฎหมายฝีมือดีคนหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และทิวา เงินยวง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพ

ท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพ (김포국제공항) หรือรู้จักกันในชื่อ ท่าอากาศยานคิมโพ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของโซล ห่างจากย่านใจกลางประมาณ 15 กิโลเมตร เคยเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ ก่อนถูกแทนที่ด้วยท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนในปี ค.ศ. 2001 สถิติปี ค.ศ. 2014 มีผู้โดยสาร 21,566,946 คน นับว่ามากเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ รองจากอินช็อนและเชจู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวภัณฑสารนุรักษ์ (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5)

ณท้าวภัณฑสารนุรักษ์ หรือ เจ้าจอมเพิ่ม รัตนทัศนีย (ในรัชกาลที่๕) ตำแหน่งพระคลังในและเป็นกวีหญิงแห่งราชสำนักและเป็นผู้สร้างวัดเสมียนนารี ต่อจากมารดาของท่านคือท่านขำ ท่านเป็นธิดาขุนสมุทรสาคร(ยอด) และท่านขำ เสมียนพระคลังใน ท่านขำเป็นธิดาพระยาวิเศษภักดี เจ้าเมืองสงขลา คนที่ ๓ (เถี้ยนจ๋ง ณ สงขลา พ.ศ. ๒๓๕๕๘-๒๓๖๐ สายสกุล "โรจนะหัสดิน") เจ้าจอมเพิ่ม เกิดเมื่อปีมะเส็ง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และท้าวภัณฑสารนุรักษ์ (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญสรวง อติโพธิ

วัญสรวง อติโพธิ นายขวัญสรวง อติโพธิ เป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากรและนักเขียนบทความอิสระ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาเมืองและพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม นายขวัญสรวง อติโพธิ เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน เป็นคู่แฝดกับนายแก้วสรร อติโพธิ บิดาคือนายศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการประพฤติมิชอบในวงราชการ (ปปป.) วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ประธานกรรมการนโยบายชั่วคราวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (TPBS) ซึ่งเข้าบริหารคลื่นความถี่การถ่ายทอดโทรทัศน์ในระบบยูเอชเอฟทางช่อง 29 เช่นเดิม แทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ที่ถูกระงับการแพร่ภาพเมื่อวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และขวัญสรวง อติโพธิ · ดูเพิ่มเติม »

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

ขุนศึก (บันเทิงคดี)

นศึก ของ ไม้ เมืองเดิม ขุนศึก เป็นผลงานประพันธ์เรื่องสุดท้ายของ ไม้ เมืองเดิม ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2482 ในนิตยสารเพลินจิตรายสัปดาห์ โดยใช้เวลาเพียงสองปีเศษในการสร้างสรรค์งานเขียนชิ้นนี้ก่อนเสียชีวิตในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2484 โดยตอนสุดท้ายในการเขียนของ ไม้ เมืองเดิม ลงตีพิมพ์เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2485 ต่อมากิ่ง พึ่งบุญ ณ อยุธยา น้องชายของ ไม้ เมืองเดิม ได้เขียนเรื่องขุนศึกจนเสร็จสมบูรณ์ โดยใช้นามปากกา "สุมทุม บุญเกื้อ" ภายหลังได้มีการนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และขุนศึก (บันเทิงคดี) · ดูเพิ่มเติม »

ดวงดาว จารุจินดา

ฟ้ามีตา) ดวงดาว จารุจินดา เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494 เป็นนักแสดงและนักพากย์ที่มีชื่อเสียง ดวงดาวเป็นบุตรสาวของสักกะ จารุจินดา ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 5 ขวบจากการเป็นนักแสดง พากย์ภาพยนตร์ครั้งแรกจากภาพยนตร์เรื่อง “เข็ดจริงๆให้ดิ้นตาย” ซึ่งให้เสียงพากย์เป็นขอใจ ฤทัยประชา พออายุได้ 21 ปีจึงหันมาพากย์หนังอย่างจริงจัง และรับหน้าที่พากย์เสียงให้นักแสดงชื่อดังของไทยหลายท่าน เช่น จารุณี สุขสวัสดิ์ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ จินตหรา สุขพัฒน์ และได้รับรางวัลจากการพากย์เสียงจากรางวัลพระสุรัสวดี นักพากย์ยอดเยี่ยม กับภาพยนตร์เรื่องรักพยาบาท โดยพากย์เป็นเสียงของคุณเพ็ญพักตร์ ศิริกุล คุณดวงดาว พากย์ซีรีส์เกาหลีทุกเรื่อง บางเรื่อง พากย์ นางเอก นางรอง นางร้าย คุณย่าของพระเอก โดยมีการพากย์ที่โดดเด่นที่สุด คือการพากย์เสียงของ เอเย่นต์ดานา สกัลลีย์ ที่เล่นโดย จิลเลียน แอนเดอร์สัน ในซีรีส์ชุด The X-Files ที่ฉายทางช่อง 7 ด้านงานบันเทิง เคยได้รับบทเป็นนางเอกจากหนังเรื่องแรกของเธอ ที่พ่อเธอเป็นผู้สร้าง คือเรื่อง 'มนต์รักชาวไร่' แต่หนังไม่ประสบความสำเร็จ หลังจากนั้นจึงกลายเป็นรับบทรองจนถึงนางร้ายมาตลอด ก่อนจะมาลงเล่นละครทีวี ช่วงแรกยังไม่สังกัด ก็จะเห็นผลงานเธอทางช่อง 3, 5, 9 ในบทนางร้าย เช่น นางทาส ช่อง 3 ที่เธอรับบทเป็น 'สาลี่' โดยมี อี๊ด-รัชนู บุญชูดวง เป็นนางเอก ต่อมาช่อง 7 ชวนไปพากย์หนังชุด จึงเป็นที่มาของการพบกันของเธอกับ หน่อง-พลากร สมสุวรรณ จึงเกิดสัญญาใจในการเล่นละครให้ช่อง 7 ตั้งแต่ปี 2530 จนปัจจุบันก็ยังเห็นหน้าเธอทางจอเจ็ดสีอยู่สม่ำเสมอ นับผลงานละครที่เธอร่วมงานกับช่อง 7 ได้ประมาณกว่า 80 เรื่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดวงดาว จารุจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

คริส คูเปอร์

ริสโตเฟอร์ ดับเบิลยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคริส คูเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตัล เกล

ริสตัล เกล หรือมีชื่อจริงว่า เบรนดา เกล เว็บบ์ เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นนักร้องเพลงคันทรี ป็อป ชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในช่วงปลายยุคคริสต์ทศวรรษ 1970-ต้น 1980 เคยมีชื่อติดอันดับ 50 บุคคลสวยหล่อที่สุดในโลกจากนิตยสารพีเพิลประจำปี 1983 ปี 1977 คริสตัล ได้รับรางวัลแกรมมี่ สาขาการแสดงสดเพลงคันทรี่ฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากเพลง Don't It Make My Brown Eyes Blue ซึ่ง คริสตัล เผยว่า ริชาร์ด ลีห์ เขียนเพลงนี้ โดยได้แรงบันดาลใจจากสุนัขของเขา ที่มีดวงตาสีน้ำตาลหนึ่งข้างและดวงตาสีฟ้าอีกหนึ่งข้าง แต่เนื้อหาเพลงจริงกล่าวถึงหญิงสาวที่เจ็บปวดกับความรัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคริสตัล เกล · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ ครอสส์

ริสโตเฟอร์ ครอสส์ (Christopher Cross) หรือชื่อเกิด คริสโตเฟอร์ เกปเพิร์ต (Christopher Charles Geppert) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน จากแซนแอนโทนิโอ รัฐเทกซัส ผลงานอัลบั้มเปิดตัวของเขาทำให้เขาได้รับ 4 รางวัลใหญ่จากเวทีรางวัลแกรมมี่ ในปีเดียวกัน เขายังได้รับรางวัลออสการ์และรางวัลลูกโลกทองคำกับผลงานของเขาที่เป็นเพลงดังจากภาพยนตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคริสโตเฟอร์ ครอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล โจฮัน เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก

ร์ล โจฮัน เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก (His Excellency carl Johan Bernadotte, Count of Wisborg.) (เดิม:เจ้าชายคาร์ล โยฮัน ดยุกแห่งดัลลันด์) เป็นพระราชโอรสพระองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนกับเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต เป็นพระราชอนุชาในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเตินและอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก เป็นพระราชปิตุลา(อาชาย)ในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งสวีเดน เจ้าหญิงบีร์กิตตาแห่งสวีเดน เจ้าหญิงเดซีเรแห่งสวีเดน เจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน และทรงเป็นพระราชมาตุลา(น้าชาย)ใน สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงเบเนดิกเทอแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ ต่อมาทรงลาออกจากการเป็น เจ้าชายแห่งสวีเดน ดยุกแห่งดัลลันด์ และมาใช้พระอิสริยยศเป็น เคานต์แห่งวิสบอร์ก แทน โดยคาร์ล โจฮัน เบอนาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก ได้สมรสจำนวน2ครั้ง โดยครั้งแรกสมรสกับ เอลิน เคอร์สติน มาร์กาเรทา วิจมาร์ค เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 และได้สมรสครั้งที่ 2 กับ กุนนีลา เคาน์เตสแห่งวิสบอร์ก เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2531 มีพระบุตรที่เกิดจากการสมรสทั้ง 2 ครั้งนี้ 2 คน คือ โมนิกา คริสตินา มาร์กาเรทา เบอร์นาดอตต์ และ คริสเตียน คาร์ล เฮนนิง เบอร์นาดอตต์ และเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 คาร์ล โจฮัน เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก สิ้นพระชนม์ลง สิริพระชันษา 95 ชันษา ตราอาร์มในฐานะเคานต์แห่งวิสบอร์ก ตราอาร์มในฐานะดยุกแห่งดัลลัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคาร์ล โจฮัน เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้สถาปนาเป็นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศไทยที่ผลิตบุคลากรเพื่อสนองความต้องการของธุรกิจของประเทศซึ่งมีการพัฒนาและเจริญก้าวหน้ามากขึ้น คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับหนึ่งของไทยในสาขา การเงินและการบัญชี (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก และเป็นแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดับ) และ การบริหารธุรกิจและการจัดการ (อันดับที่ 151 - 200 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคณะองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์

รายการประกาศผลรางวัลออสการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 23

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 23 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ตานชเว

ลเอกอาวุโส ตานชเว (သန်းရွှေ,; เกิดวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476) ผู้นำเผด็จการของรัฐบาลทหารพม่า ดำรงตำแหน่งประธานสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ (State Peace and Development Council - SPDC) ภายหลังการรัฐประหารล้มอำนาจของพลเอกอาวุโส ซอมอง อดีตประธานสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (State Law and Order Restoration Council - SLORC) เมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และตานชเว · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลหินเหล็กไฟ (อำเภอหัวหิน)

ตำบลหินเหล็กไฟ เป็นตำบลในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2494 โดยใช้ชื่อ "เขาหินเหล็กไฟ" เป็นชื่อตำบลโดยแยกออกมาในปี พ.ศ. 2515 และได้รับการจัดตั้งตามพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2539 มีประชากร 8,634 คน (พ.ศ. 2548) เป็นชาย 4,179 คน แยกเป็นหญิง 4,455 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และตำบลหินเหล็กไฟ (อำเภอหัวหิน) · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจตระเวนชายแดน

ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) (Border Patrol Police) เป็น ตำรวจผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อเป็นกำลังเสริม แทนการใช้กำลังทหาร ในรักษาความสงบตามแนวตะเข็บชายแดน อันเนื่องจากสนธิสัญญากรุงเจนีวาระหว่างไทยกับฝรั่งเศสกำหนดห้ามไม่ให้มีกำลังทหารในระยะ 25 กิโลเมตรจากแนวชายแดน จุดประสงค์หลักในการจัดตั้ง ต.ในช่วงแรกคือป้องกันกองกำลังคอมมิวนิสต์ที่เข้ามารุกรานในประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และตำรวจตระเวนชายแดน · ดูเพิ่มเติม »

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน ปูตรา อัล-ฮัจ อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชะฮ์ที่ 2 (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj ibni Almarhum Sultan Abdul Hamid Halim Shah II, تونكوعبدالرحمن ڤوترا الهاج ابن المرحوم سلطان عبدالحميد حاليم شه) หรือ ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2533) เป็นผู้นำการเรียกร้องเอกราชและนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ Bapa of Malaysia.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และตุนกู อับดุล ระฮ์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กตา หนูอยากกลับบ้าน

ปกหนังสือ ตุ๊กตา หนูอยากกลับบ้าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และตุ๊กตา หนูอยากกลับบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กตาจ๋า

ตุ๊กตาจ๋า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2494 ในรูปแบบฟิล์ม 16 มม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และตุ๊กตาจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ซานเตียโก กาลาตราบา

Puente del Alamillo สะพานในประเทศสเปนออกแบบโดยซานเตียโก ซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ (บาเลนเซีย: Santiago Calatrava Valls) เป็นทั้งสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง และประติมากรชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 ในเมืองเบนีมาเมต ประเทศสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และซานเตียโก กาลาตราบา · ดูเพิ่มเติม »

ซิกวาร์ด เบอร์นาดอต

้าชายซิกวาร์ดแห่งสวีเดน เจ้าชายซิกวาร์ดแห่งสวีเดน ดยุคแห่งอัปป์ลันด์ (Prince Sigvard of Sweden, Duke of Uppland) หรือว่า เค้านท์ซิกวาร์ด เบอร์นาด็อตแห่งวิสบอร์ก (Count Sigvard Bernadotte of Wisborg; ซิกวาร์ด ออสการ์ เฟรเดริค ประสูติ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2450 สิ้นพระชนม์ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545) เป็นพระราชโอรสพระองค์รองและที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน และ เจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งคอนน็อต และเป็นพระปิตุลาของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก นอกจากนั้นยังเป็นพระราชปนัดดาที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และซิกวาร์ด เบอร์นาดอต · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์มาร์เก็ต

ซูเปอร์มาร์เก็ตแห่งหนึ่งในแคนาดา ซูเปอร์มาร์เก็ต (Supermarket) หรือ ร้านสรรพาหาร (มาจาก สรรพ + อาหาร) ในภาษาไทย คือร้านค้าแบบบริการตนเองอันเป็นรูปแบบหนึ่งของร้านขายของชำ ซึ่งเสนอขายสินค้าอาหารและของใช้ในครัวเรือนหลายประเภทโดยจัดจำแนกไว้ตามแผนก ซูเปอร์มาร์เก็ตมีขนาดใหญ่กว่าและมีสินค้าให้เลือกซื้อหลากหลายมากกว่าร้านขายของชำแบบดั้งเดิม และยังจำหน่ายสินค้าที่พบได้ปกติในร้านสะดวกซื้อ แต่ก็ยังเล็กกว่าและมีสินค้าจำกัดประเภทกว่าไฮเปอร์มาร์เก็ตหรือซูเปอร์สโตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ตโดยทั่วไปประกอบด้วยแผนกเนื้อสัตว์ พืชผักผลไม้ ผลิตภัณฑ์นม และขนมปัง พร้อมกับพื้นที่บนชั้นซึ่งสงวนไว้สำหรับสินค้าบรรจุกระป๋องและสินค้าหีบห่อ เช่นเดียวกับรายการต่าง ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร เช่นผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด เภสัชกรรม และสินค้าเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง ซุปเปอร์มาร์เก็ตส่วนใหญ่ก็จำหน่ายผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนอื่น ๆ ที่มีการบริโภคอย่างสม่ำเสมอ เช่นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ที่ได้รับอนุญาต) อุปกรณ์การแพทย์ และเสื้อผ้า และบางร้านก็จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหารโดยกว้างขวางมากกว่าอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ตในแถบชานเมืองแบบเดิมตั้งอยู่บนพื้นที่ว่างขนาดใหญ่ซึ่งโดยปกติจะมีชั้นเดียว มักตั้งอยู่ใกล้เขตที่อยู่อาศัยเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้บริโภค ความดึงดูดใจพื้นฐานของซูเปอร์มาร์เก็ตคือ ความพร้อมของสินค้าอย่างกว้าง ๆ ที่มีให้เลือกซื้อภายใต้หลังคาเดียวในราคาที่ค่อนข้างต่ำ ข้อได้เปรียบอื่น ๆ อาทิความสะดวกในการจอดรถ และความสะดวกในเรื่องเวลาของการจับจ่ายใช้สอย ที่บ่อยครั้งขยายเวลาไปจนค่ำหรือแม้แต่ยี่สิบสี่ชั่วโมงต่อวัน ซูเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่มักมีการจัดสรรงบประมาณจำนวนมากเพื่อการโฆษณา ซึ่งโดยทั่วไปผ่านหนังสือพิมพ์ นอกจากนี้ก็ยังมีการนำเสนออธิบายรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ในร้านค้า ซูเปอร์มาร์เก็ตมักจะเป็นส่วนหนึ่งของร้านค้าสาขาในบรรษัทที่เป็นของตนเอง หรือควบคุมซูเปอร์มาร์เก็ตอื่นที่ตั้งอยู่ใกล้เคียง (บางครั้งโดยแฟรนไชส์) หรือแม้แต่ควบคุมข้ามประเทศ ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสในการประหยัดต่อขนาด การจัดหาสินค้าเข้าซูเปอร์มาร์เก็ตมักจัดการโดยศูนย์กระจายสินค้าของบรรษัทแม่ เช่นบริษัทลอบลอว์ในประเทศแคนาดาซึ่งดำเนินธุรกิจซูเปอร์มาร์เก็ตหลายพันแห่งทั่วประเทศ ลอบลอว์ดำเนินงานศูนย์กระจายสินค้าในทุกจังหวัด โดยปกติในเมืองที่ใหญ่ที่สุดของจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และซูเปอร์มาร์เก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน

right หน้าปกนวนิยาย "ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน" ฉบับจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ดอกหญ้า ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน เป็นหนังสือของ วินทร์ เลียววาริณ วางจำหน่ายใน พ.ศ. 2537 และได้รางวัลซีไรต์ใน พ.ศ. 2540 ฉบับภาษาอังกฤษให้ชื่อว่า (Democracy, Shaken & Stirred) วางจำหน่าย พ.ศ. 2546 เป็นนิยายเชิงการเมืองไทย โดยดำเนินเรื่องตามการปฏิวัติในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 จนถึงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬใน พ.ศ. 2535 ตัวละครหลักในเรื่องเป็นตัวละครสมมติ แต่มีการใช้บุคคลในประวัติศาสตร์มากมาย วินทร์ได้ใช้ลักษณะการเขียนแบบเดียวกันนี้ในนิยายอีกเรื่องของเขา คือ ปีกแดง (พ.ศ. 2545) เพียงแต่เป็นเรื่องของลัทธิคอมมิวนิสต์ทั้งในประเทศไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประชาธิปไตยบนเส้นขนาน · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ อุดมศักดิ์

ประยุทธ์ อุดมศักดิ์ ชื่อจริง สวัสดิ์ ดอกมณี เจ้าของฉายา ม้าสีหมอก เก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประยุทธ์ อุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์

ประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสาท ตันประเสริฐ

นายประสาท ตันประเสริฐ หรือที่รู้จักในนาม "กำนันอู๊ด" สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ เขต 6 สังกัดพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประสาท ตันประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ

นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ รองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 2 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตประธาน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศฟิลิปปินส์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์ 1951

ประเทศฟิลิปปินส์ เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งได้จัดขึ้นเป็นครั้งแรก ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ในระหว่างวันที่ 4 - 11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) โดยหลังจากจบการแข่งขัน ทีมชาติฟิลิปปินส์สามารถคว้าเหรียญรางวัลมาได้ 5 เหรียญทอง 6 เหรียญเงิน และ 8 เหรียญทองแดง รวม 19 เหรียญ โดยอยู่ในอันดับที่ 5 ในตารางสรุปเหรียญรางวัล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศฟินแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศกรีซใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศกัมพู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในเอเชียนเกมส์ 1951

ประเทศญี่ปุ่น ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกที่กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย ในระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ถึง 11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) โดยหลังจากจบการแข่งขัน ญี่ปุ่น สามารถคว้าเหรียญทองมาได้มากเป็นอันดับที่ 1 คือ 24 เหรียญทอง 21 เหรียญเงิน และ 15 เหรียญทองแดง รวม 60 เหรียญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศญี่ปุ่นในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศมอลต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศมองโกเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซียใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศมาเลเซียใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศสิงคโปร์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์ในเอเชียนเกมส์ 1951

งคโปร์ (อาณานิคมของสหราชอาณาจักร) ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งจัดเป็นครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย ในระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ถึง 11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) โดยหลังจากจบการแข่งขัน สิงคโปร์ สามารถคว้าเหรียญมาได้มากเป็นอันดับที่ 4 คือ 4 เหรียญทอง 6 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง รวม 12 เหรียญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศสิงคโปร์ในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถานในเอเชียนเกมส์ 1951

ประเทศอัฟกานิสถาน เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกที่กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย ในระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ถึง 11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) โดยหลังจากจบการแข่งขัน อัฟกานิสถาน ไม่สามารถคว้าเหรียญทอง และเหรียญเงินได้เล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอัฟกานิสถานในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศอาร์เจนติน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่านในเอเชียนเกมส์ 1951

ประเทศอิหร่าน ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งจัดเป็นครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย ในระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ถึง 11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) โดยหลังจากจบการแข่งขัน ประเทศอิหร่าน สามารถคว้าเหรียญมาได้มากเป็นอันดับที่ 3 คือ 8 เหรียญทอง 6 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง รวม 16 เหรียญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอิหร่านในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอินเดียใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในเอเชียนเกมส์ 1951

ประเทศอินเดีย ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1951 ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกที่กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย ในระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ถึง 11 มีนาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) โดยหลังจากจบการแข่งขัน อินเดีย สามารถคว้าเหรียญทองมาได้มากเป็นอันดับที่ 2 คือ 15 เหรียญทอง 16 เหรียญเงิน และ 20 เหรียญทองแดง รวม 51 เหรียญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศอินเดียในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศตองกาใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศซามัวใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศซานมารีโน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาปัวนิวกินีใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศปาปัวนิวกินี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศปาปัวนิวกินีใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโอมาน

อมาน (Oman; عُمان) หรือชื่อทางการว่า รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman; سلطنة عُمان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตะวันตกติดกับซาอุดีอาระเบีย และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเยเมน มีชายฝั่งบนทะเลอาหรับทางใต้และตะวันออก และอ่าวโอมานทางตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีดินแดนส่วนแยกอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโคลอมเบียใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศโคลอมเบี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศโคลอมเบียใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2491

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2494 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศไทยใน พ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2494

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2494 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศไทยใน พ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในเอเชียนเกมส์ 1951

ประเทศไทย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 1..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศไทยในเอเชียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศเกาหลีเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ. 1992 องค์การยูเนสโก ได้ประกาศให้ปรากเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปราก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระคาเคทอยเดส

ปลาหมอแคระคาเคทอยเดส หรือ ปลาหมอแคระคาเคทอย (Cockatoo cichlid, Cockatoo dwarf cichlid) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง ในสกุลอพิสโตแกรมมา มีลักษณะเหมือนกับปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ มีครีบกระโดงหลังที่ตั้งชูงอนเหมือนนกกระตั้ว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ และมีสีลำตัวและครีบต่าง ๆ เป็นโทนเข้ม เช่น สีส้มหรือสีแดง โดยมีลวดลายบนครีบต่าง ๆ สดเข้มตลอดเวลาไม่ว่าปลาจะอยู่ในอารมณ์หรือสภาพแวดล้อมใด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ ในสาขาของแม่น้ำอเมซอน ที่มีกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ มีใบไม้หล่นร่วงมาพื้นท้องน้ำ โดยปลาจะใช้เป็นที่หลบซ่อน โดยน้ำจะมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่ำ (ต่ำกว่า 6.5 pH) กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นปลาที่นิยมอย่างมากในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ โดยถือเป็นชนิดที่นิยมเป็นอันดับต้น ๆ ของสกุลนี้ เนื่องจากคุณสมบัติที่ว่า จะมีสีสันสดสวยตลอดรวมทั้งครีบหลังที่ตั้งสูง และนิยมที่จะเพาะขยายพันธุ์กันในตู้เลี้ยง โดยปลาตัวเมียจะวางไข่ไว้กับซอกหลีบหรือเพดานของวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และเป็นฝ่ายดูแลลูก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปลาหมอแคระคาเคทอยเดส · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส-แบร็สต์-ปารีส

ปารีส-แบร็สต์-ปารีส (Paris-Brest-Paris (PBP) หรือ Paris-Brest et retour) เป็นกิจกรรมการขี่จักรยานทางไกลระยะทาง 1,200 กิโลเมตรในประเทศฝรั่งเศส เส้นทางจากปารีส ไปยังแบร็สต์ เมืองชายฝั่งตะวันตกของจังหวัดฟีนิสแตร์ แคว้นเบรอตาญ แล้วกลับไปสิ้นสุดที่ปารีส เริ่มจัดตั้งแต่ปี ค.ศ. 1891 จัดเป็นกิจกรรมการขี่จักรยานรายการหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุด ที่ยังคงจัดอยู่จนถึงปัจจุบัน กิจกรรมนี้ในระยะแรกถือเป็นการจัดการแข่งขัน มีการประกาศผลผู้ชนะ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1931 ได้มีการจัดกิจกรรมจักรยานทางไกลของนักกีฬาสมัครเล่น ออแดกซ์ โดยสหภาพออแดกซ์แห่งฝรั่งเศส (Union des Audax Françaises) และเบรอแว โดยชมรมออแดกซ์แห่งปารีส (Audax Club Parisien) ควบคู่กันไป กิจกรรมของสหภาพออแดกซ์แห่งฝรั่งเศส และชมรมออแดกซ์แห่งปารีส จัดทุก 4 ปีต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนรายการแข่งขันสำหรับนักกีฬาอาชีพได้ยกเลิกไปหลังการแข่งขันครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1951 กิจกรรมปารีส-แบร็สต์-ปารีส ในปัจจุบัน กำหนดให้ผู้เข้าร่วมต้องผ่านกิจกรรมร็องดอเนอร์ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งระยะ 200, 300, 400 และ 600 กิโลเมตรภายในหนึ่งปีนั้นมาก่อน นักกีฬาจะต้องขี่จักรยานเป็นระยะทาง 1,200 กิโลเมตร ภายในเวลา 90 ชั่วโมง และย้ายจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดไปที่เมืองแซ็ง-ก็องแต็ง-อ็อง-อีฟว์ลีนทางตะวันออกเฉียงใต้ของปารี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปารีส-แบร็สต์-ปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล (4 กันยายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง เจ้าของผลงานอัลบั้ม ไปทะเล เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปานี ยาท่อตู้

ปานี ยาท่อตู้ (ภาษาลาว: ປານີ ຢາທໍ່ຕູ້; เกิด: 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951) เกิดที่บ้านสามแจ เมืองหนองแฮด แขวงเชียงขวาง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการกรมการเมืองศูนย์กลางพรรค (กรรมการบริหารพรรค), ประธานคณะประจำสภาแห่งชาติ, ประธานสภาแห่งชาติ, กรรมการคณะประจำ, ผู้ประจำการคณะประจำสภาแห่งชาติ ปีที่เข้าร่วมการปฏิวัติ วันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปานี ยาท่อตู้ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ วิธ

ในขณะคุมทีมชาติไทย ปีเตอร์ วิธ (Peter Withe; เกิด 30 สิงหาคม พ.ศ. 2494) นักฟุตบอลอังกฤษ และเป็นผู้ฝึกสอนฟุตบอล รวมถึง เป็นผู้ฝึกสอนทีมชาติไทย ระหว่าง พ.ศ. 2541-พ.ศ. 2545 และหลังจากนั้นได้เป็นผู้ฝึกสอนให้กับทีมชาติอินโดนีเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปีเตอร์ วิธ · ดูเพิ่มเติม »

นักฟุตบอลแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอล

รางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของสมาคมผู้สื่อข่าวอังกฤษ เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1947 เป็นรางวัลประจำปีที่มอบให้แก่นักฟุตบอลที่ถูกตัดสินว่าดีที่สุดของฤดูกาลในฟุตบอลอังกฤษ รางวัลนี้เริ่มมอบตั้งแต่ฤดูกาล 1947-48 ผู้ได้รับรางวัลคนแรกคือ สแตนลีย์ แมตทิวส์ ปีกของแบล็กพูล ผู้ได้รับรางวัลคนล่าสุด (ฤดูกาล 2012-13) คือ แกเร็ธ เบล จากทอตนัมฮอตสเปอร์ มีผู้เล่นแปดคนที่ได้รับรางวัลมากกว่าหนึ่งครั้ง คนล่าสุดคือคริสเตียโน โรนัลโด ที่ได้รับรางวัลครั้งที่สองของเขาในฤดูกาล 2007-08 ผู้ที่ได้รับรางวัลมากที่สุดคือเธียร์รี อองรี โดยได้รางวัลสามครั้งในสี่ฤดูกาล รางวัลนี้มอบโดย สมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอลอังกฤษ (Football Writers' Association: FWA) ซึ่งเป็นสมาคมฟุตบอลแห่งหนึ่งของประเทศอังกฤษ มีสมาชิกเป็นนักข่าวฟุตบอล ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 400 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนักฟุตบอลแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

ันเอก นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) อดีตประธานวุฒิสภา, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

นารีมาน ศอดิก

นารีมาน ศอดิก (อาหรับ:ناريمان صادق Nārīmān Sādiq, ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1933 —สวรรคต 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) เป็นธิดาของนายฮุสเซน ฟาห์มี ศอดิก เบย์ และนางอาซีลา คามิล โดยนารีมานเป็นพระมเหสีองค์ที่สองของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนารีมาน ศอดิก · ดูเพิ่มเติม »

นาลันทา

250px โบราณสถานในนาลันทา ด้านหน้า โบราณสถานในนาลันทา ด้านหลัง นาลันทา เป็นชื่อเมือง ๆ หนึ่งในแคว้นมคธ อยู่ห่างจากพระนครราชคฤห์ประมาณ 1 โยชน์ (ประมาณ 16 กิโลเมตร) ณ เมืองนี้มีสวนมะม่วง ชื่อ ปาวาริกัมพวัน (สวนมะม่วงของปาวาริกเศรษฐี) ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับแรมหลายครั้งคัมภีร์ฝ่ายมหายานกล่าวว่า พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นอัครสาวก เกิดที่เมืองนาลันทา แต่คัมภีร์ฝ่ายบาลีเรียกถิ่นเกิดของ พระสารีบุตรว่า หมู่บ้านนาลกะหรือนาลันทคาม "นาลันทามหาวิชชาลัยของพุทธศาสนานิกายมหายาน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนาลันทา · ดูเพิ่มเติม »

นิมุคตาร์ วาบา

นิมุคตาร์ วาบา (เกิด 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนิมุคตาร์ วาบา · ดูเพิ่มเติม »

นิยม เวชกามา

นายนิยม เวชกามา (เกิด 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนิยม เวชกามา · ดูเพิ่มเติม »

นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนิติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

นทีทิพย์ กฤษณามระ

ตราจารย์ ดร. นทีทิพย์ กฤษณามระ ศาสตราจารย์ นทีทิพย์ กฤษณามระ เกิดวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นทางด้านสรีรวิทยา เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านระบบต่อมไร้ท่อโดยเฉพาะเกี่ยวกับฮอร์โมนโพรแลคติน ที่พบว่ามีหน้าที่ควบคุมเมตาบอลิสมของแคลเซียม มีประสบการณ์งานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้ การขนส่งแคลเซียมในเซลล์เต้านม และสรีรวิทยาของกระดูก ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ 11 หัวหน้าเครือข่ายวิจัยด้านแคลเซียมและกระดูก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สมรสกับศาสตราจารย์สมฤกษ์ กฤษณามระ มี บุตร 1 คน คือ นายศมกฤต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนทีทิพย์ กฤษณามระ · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงก์ ฮอปกินส์

แฟรงก์ ฮอปกินส์ (Frank Hopkins; ค.ศ. 1865 — ค.ศ. 1951) เป็นนักขี่ม้าระดับอาชีพ ผู้ซึ่งครั้งหนึ่งได้ทำการแสดงร่วมกับคณะละครสัตว์ริงลิง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักขี่ม้าทางไกลระดับตำนาน โดยได้มีการอ้างว่าชนะการแข่งมา 400 ครั้ง และได้รับการยอมรับโดยผู้คนสมัยเดียวกันกับเขาในฐานะผู้ให้การสนับสนุนการอนุรักษ์ม้ามัสแตง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแฟรงก์ ฮอปกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอเมริกันเกมส์ 1951

กีฬาแพนอเมริกันเกมส์ 1951 (Juegos Panamericanos de 1951) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ – 9 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแพนอเมริกันเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

แก้วสรร อติโพธิ

นายแก้วสรร อติโพธิ สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน นายแก้วสรรเป็นพี่น้องฝาแฝดกับ นายขวัญสรวง อติโพธิ บิดาคือ นาย ศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธาน ปปป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแก้วสรร อติโพธิ · ดูเพิ่มเติม »

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2494 — 16 เมษายน พ.ศ. 2552) อดีตนักมวยแชมป์โลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท (140 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) มีชื่อจริงว่า บุญส่ง มั่นศรี เป็นชาวตำบลสะเดียง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ แสนศักดิ์ เป็นนักมวยที่มีช่วงแขนยาวกว่าปกติ และมีหมัดซ้ายหนักโดยธรรมชาติ นับเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนที่ 5 และเป็นนักมวยแชมป์โลกรุ่นใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา นอกจากนี้แสนศักดิ์ยังเป็นเจ้าของสถิติโลก ที่ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งก็ได้ครองตำแหน่งแชมป์โลกอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอตแลนตา ฮอกส์

แอตแลนต้า ฮอกส์ เป็นทีมบาสเกตบอลในลีก เอ็นบีเอ ตั้งอยู่ที่ แอตแลนต้า รัฐจอร์เจี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแอตแลนตา ฮอกส์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนนา ลีโอโนเวนส์

แอนนา ลีโอโนเวนส์ หรือ แหม่มแอนนา มีชื่อจริงว่า แอนนา แฮร์เรียต เอ็มมา เอ็ดเวิดส์ (Anna Harriet Emma Edwards; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2374 - 19 มกราคม พ.ศ. 2458) แหม่มแอนนาเป็นที่รู้จักในฐานะเป็น "พระอาจารย์ฝรั่ง" ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แต่สำหรับชาวต่างชาติทั่วไปแหม่มแอนนาคือตัวละครเอกของนวนิยายและละครบรอดเวย์ชื่อดัง เรื่อง "เดอะคิงแอนด์ไอ" รวมทั้งภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่องล่าสุด "แอนนาแอนด์เดอะคิง" ซึ่งสวมบทบาทโดยนักแสดงชั้นนำ คือโจดี ฟอสเตอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแอนนา ลีโอโนเวนส์ · ดูเพิ่มเติม »

แผน สิริเวชชะพันธ์

นายแผน สิริเวชชะพันธ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2457 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ทั้งยังเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแผน สิริเวชชะพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

แผนมาร์แชลล์

แผนมาร์แชลล์ (Marshall Plan) หรือชื่อทางการคือ แผนงานฟื้นฟูยุโรป (European Recovery Programme: ERP) เกิดขึ้นเมื่อ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ของนายพล จอร์จ แคตเลตต์ มาร์แชลล์ (George Catlett Marshall) เป็นโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาแก่ยุโรปตะวันตก เพื่อป้องกันการพังทลายทางเศรษฐกิจ และเพื่อฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมรัฐชาติของยุโรปตะวันตกขึ้นมาใหม่ โดยในแผนมาร์แชลล์นี้ยุโรปได้รับมากกว่า 12 พันล้านดอลลาร์ทั้งในรูปเงินกู้และเงินช่วยเหลือตลอดระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ. 1948-1951 แผนมาร์แชลล์อย่างเป็นทางการโปรแกรมกู้ยุโรปที่เรียกว่าช่วยมาร์แชลล์เป็นโปรแกรมช่วยสหรัฐมุ่งเป้าไปที่ยุโรปซึ่งเปิดตัวในปี 1947 หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองโดยสหรัฐอเมริกาเลขานุการของรัฐโปรแกรมจอร์จมาร์แชลล์ได้ริเริ่มขึ้นหลังจากที่มาร์แชลล์ได้รับเมื่อสัปดาห์ที่หก การเดินทางไปทั่วยุโรปซึ่งเขาก็เชื่อว่าทวีปสงครามฉีกขาดไม่สามารถอยู่รอดได้โดยปราศจากความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาและสั่งขนาดใหญ่โปรแกรมการช่วยเหลือสหรัฐ แผนเปิดตัวโดยมาร์แชลล์ในการพูดที่ Harvard University 5 มิถุนายน 1947 แต่ทว่าทางสหภาพโซเวียตได้มองแผนมาร์แชลล์ว่า เป็นแผนอุบายอันแยบยลของสหรัฐอเมริกาที่จะดึงประเทศอันเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกเพื่อเปลี่ยนการปกครองเป็นประชาธิปไตยแทน จึงได้บังคับเหล่าประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกไม่ให้ยอมรับแผนมาร์แชลและเริ่มดำเนินแผนโมโลตอฟคือการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจตามแบบคอมมิวนิสต์แทน อันเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามเย็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแผนมาร์แชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แผนลับ 20 กรกฎาคม

แผนลับ 20 กรกฎาคม (20 July plot) เป็นความพยายามลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฟือเรอร์แห่งไรช์ที่สาม ภายในกองบัญชาการสนาม "รังหมาป่า" ใกล้เมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

แจ็ก เดมป์ซีย์

ำหรับนักมวยแห่งศตวรรษที่ 19 ดูที่ แจ็ค "นอนพาเรียล" เดมป์ซีย์ สำหรับปลาหมอสี ดูที่ ปลาหมอแจ็ค เดมป์ซีย์ แจ็ค เดมป์ซีย์ (Jack Dempsey) อดีตนักมวยชาวอเมริกันผู้ยิ่งใหญ่ในทศวรรษที่ 1920 ผู้ที่เป็นเสมือนตำนานแห่งวงการมวยสากลระดับโลก เป็นแชมเปี้ยนโลกรุ่นเฮฟวี่เวทคนที่ 9 ของโลก แจ็ค เดมป์ซีย์ มีชื่อจริงว่า วิลเลี่ยม แฮร์ริสัน เดมป์ซีย์ (William Harrison Dempsey) เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1895 ที่เมืองมานาสซา รัฐโคโลราโด ในครอบครัวนิกายมอร์มอนที่ยากจน เป็นบุตรชายของฮีรูน และซีเลีย เดมป์ซีย์ ที่มีพื้นเพจากรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย เดมป์ซีย์ ทำงานครั้งแรกเมื่ออายุได้ 8 ขวบ ในฟาร์มพืชไร่ ใกล้กับเมืองโบทสปริงส์ ต่อมาได้เปลี่ยนมาทำงานในเหมืองแร่และเป็นคาวบอย ซึ่งต้องดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตให้รอด เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ เดมป์ซีย์ ก็ยังคงทำงานทั้งสามอย่าง และในช่วงปีนี้เอง ที่ เบอร์นี เดมป์ซีย์ พี่ชายคนโตได้รับเงินพิเศษเป็นนักมวยสมัครเล่นในบ่อนการพนันของเมืองร็อกกี้ เมาเท่น ซึ่งเบอร์นีนี่เองที่เป็นผู้สอนเดมป์ซีย์ให้เคี้ยวหมากฝรั่งเพื่อสร้างความแข็งแกร่งของกราม และสร้างความทนทานให้กับผิวหน้าด้วยการแช่น้ำเกลือ ในวัยเด็กนั้น เดมป์ซีย์ทำงานหนักแทบทุกอย่าง และก้าวเข้าสู่ความเป็นนักมวยอาชีพเมื่ออายุได้ 17 ปี ในช่วงปี ค.ศ. 1911-ค.ศ. 1916 เดมป์ซีย์ได้ย้ายไปมาระหว่างเหมืองต่อเหมือง การชกครั้งแรกของเดมป์ซีย์ เกิดขึ้นที่ท้องถิ่นเป็นผู้จัด ที่เมืองซอลต์เลกซิตี ในฉายา "คิด แบล็คกี้" ซึ่งเดมป์ซีย์สามารถที่จะชนะน็อก ฮาร์ดี ดาวนีย์ ภายในหมัดเดียวที่เรียกว่า "หมัดแฮนด์ค็อก" ซึ่งก่อนชก ดาวนีย์ได้ยั่วเดมป์ซีย์ให้โมโห ก่อนที่จะยอมจ่ายเงินค่าเดิมพันให้เมื่อแพ้ โดยที่ชื่อ แจ็ค เดมป์ซีย์ นั้น เบอร์นีย์ ผู้เป็นพี่ชายเป็นผู้ตั้งให้จาก แจ็ค "นอนพาเรียล" เดมป์ซีย์ นักมวยที่มีชื่อเสียงอีกคนแห่งศตวรรษที่ 19 ในปี ค.ศ. 1917 เดมป์ซีย์ได้กลายมาเป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงแถบซานฟรานซิสโกและชายฝั่งทะเลตะวันออก เดมป์ซีย์ ได้แชมป์โลกรุ่นเฮฟวี่เวทจากเอาชนะน็อก เจสส์ วิลลาร์ด ในยกที่ 3 ในงานฉลองวันชาติอเมริกา วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1919 ทั้ง ๆ ที่เดมป์ซีย์มีส่วนสูงเตี้ยและช่วงชกทุกอย่างเสียเปรียบวิลลาร์ด ซึ่งการชกครั้งนี้ ภายหลังในปี ค.ศ. 1964 ได้กลายเป็นกรณีขึ้นเมื่อ แจ็ค คลีนส์ อดีตผู้จัดการของเดมป์ซีย์ได้เปิดเผยว่า เป็นผู้ให้เดมป์ซีย์ใช้ปูนพลาสเตอร์เคลือบกับผ้าพันมือ เพราะหน้าตาของวิลลาร์ดหลังการชกนั้นเต็มไปด้วยริ้วรอย เหมือนกับถูกกระทบจากวัตถุแข็งและสาก แต่จากการตรวจสอบด้วยภาพยนตร์การชกแล้ว เชื่อว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ว่าจะมีเรื่องดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ต่อมา เดมป์ซีย์สามารถป้องกันตำแหน่งได้ถึง 5 ครั้ง ภายในระยะเวลา 6 ปีที่เป็นแชมป์อยู่ แม้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เดมป์ซีย์ไม่ยอมเกณฑ์เป็นทหารไปรบ ทำให้เสื่อมศรัทธาจากมหาชนไปช่วงนึง แต่กระนั้น การชกของเดมป์ซีย์ก็ยังถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นการจัดชกมวยสากลชิงแชมป์โลกอย่างในปัจจุบัน คือ การชกกับ จอร์จ ฌาปองติเยร์ นักมวยชาวฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1921 ซึ่งสามารถเก็บเงินค่าเข้าชมได้มากถึง 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ ได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ จากการจัดของ จอร์จ ลูอิส ริคคาร์ด โปรโมเตอร์ชื่อดัง นอกจากนั้นแล้ว การชกครั้งนี้ยังเป็นที่มาของการก่อตั้ง สมาคมมวยแห่งสหรัฐอเมริกา (NBA) ขึ้นมา จากผลประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งต่อมาสถาบันแห่งนี้ก็ได้กลายมาเป็น สมาคมมวยโลก (WBA) อย่างในปัจจุบัน เดมป์ซีย์ ได้เสียแชมป์เมื่อเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ จีน ทันนีย์ ในปี ค.ศ. 1926 ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1927 ทั้งคู่ก้ได้พบกันอีกครั้งในนัดล้างตา แต่ก็เป็นทันนีย์ที่เป็นฝ่ายเอาชนะไปได้อีกครั้ง แต่การชกครั้งนั้นมียอดผู้ชมมากกว่า 100,000 คน และเก็บค่าเข้าชมได้ถึง 2,658,660 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แจ็ค เดมป์ซีย์ ได้ถูกบรรจุชื่อลงในหอเกียรติยศ เมื่อปี ค.ศ. 1951 ชีวิตส่วนตัว เดมป์ซีย์สมรสกับภรรยา 3 คน มีบุตรทั้งหมด 3 คน แจ็ค เดมป์ซีย์ ได้ชื่อว่าเป็นนักมวยที่มีหมัดหนัก มีความทนทรหด สามารถที่จะเอาชนะน็อกคู่ต่อสู้ได้ด้วยหมัดเดียวซึ่งเป็นหมัดเหวี่ยง แม้จะมีรูปร่างที่เล็กกว่านักมวยเฮฟวี่เวททั่วไป คือ มีความสูงเพียง 6 ฟุต 1 นิ้ว น้ำหนักเพียง 187 ปอนด์ จนได้รับฉายาว่า "จอมลุยแห่งมานาซา" ซึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง Fighting Spirit ก็ได้นำหมัดเหวี่ยงของเดมป์ซีย์มาอ้างอิงไว้ในเนื้อเรื่อง ซึ่งเรียกว่า "เดมป์ซีย์โรล" แจ็ค เดมป์ซีย์ เสียชีวิตด้วยอาการหัวใจล้มเหลวเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1983 ที่เมืองนิวยอร์กซิตี สิริอายุได้ 87 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแจ็ก เดมป์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

โชคชัย โชคอนันต์

ัย โชคอนันต์เป็นนักร้องลูกทุ่ง ที่มีผลงานเพลง "หลงเสียงนาง" ที่โด่งดังไปทั่วประเทศ เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโชคชัย โชคอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์กสวาเกน บีเทิล

ฟล์กสวาเกน บีเทิล (Volkswagen Beetle) เป็นรถรุ่นหนึ่ง ของค่ายรถยนต์โฟล์กสวาเกน ผลิตระหว่าง พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2546 รวมระยะเวลาการผลิต 65 ปี ยอดจำหน่ายรวมทั้งสิ้น 21,529,464 คัน ซึ่งถือเป็นรุ่นที่ออกแบบครั้งเดียว แล้วสามารถทำยอดขายได้สูงสุด และผลิตเป็นระยะเวลานานที่สุดในประวัติศาสตร์ยานยนต์ (รถรุ่นอื่นๆ จะต้องมีการออกแบบใหม่และปรับโฉมนับสิบรุ่นในชื่อเดียวกัน เพื่อให้ทันสมัยและรักษายอดจำหน่าย จึงจะสามารถทำยอดขายได้ในหลักล้าน) บีเทิล เป็นรถขับเคลื่อนล้อหลัง และเครื่องยนต์อยู่ด้านหลังของตัวรถ อันที่จริงแล้ว ชื่อเดิมของมันไม่ใช่บีเทิล เดิมทีโฟล์กสวาเกน จะเรียกรถรุ่นนี้ว่า Volkswagen แล้วตามด้วยขนาดของลูกสูบโดยประมาณของรถคันนั้น ซึ่งมี 5 ขนาด ทำให้มีชื่อเรียกได้ 5 แบบ คือ Volkswagen 1600, Volkswagen 1500, Volkswagen 1300, Volkswagen 1200 และ Volkswagen 1100 แต่ต่อมา ผู้คนในประเทศเยอรมนี (โฟล์กสวาเกน เป็นบริษัทเยอรมัน) เริ่มเรียกรถรุ่นนี้ว่า "Käfer" ซึ่งเป็นศัพท์ภาษาเยอรมันว่า ด้วง ตามรูปทรงของรถ และในแถบประเทศอื่นๆ ก็เริ่มเรียกกันย่อๆ ว่า Beetle และการเรียกย่อๆ ได้รับความนิยม ด้วยเป็นชื่อที่เรียกง่ายกว่าที่จะเรียกว่า โฟล์กสวาเกน 1100 หรือตัวเลขอื่นๆ ต่อมา ความนิยมที่จะเรียกรถรุ่นนี้ว่า ด้วง ได้แพร่กระจายไปยังประเทศอื่นที่มีรถรุ่นนี้จำหน่าย โดยในแต่ละประเทศ มักจะเรียกรถรุ่นนี้ย่อๆ เป็นคำว่า ด้วง หรือแมลงอื่นๆ ที่ใกล้เคียง ของภาษานั้นๆ รวมทั้งในประเทศไทย ที่เรียกรถรุ่นนี้กันอย่างติดปากมาจนถึงปัจจุบันว่า "รถโฟล์กเต่า" หรือ "รถเต่า" ต่อมา ใน พ.ศ. 2510 โฟล์กสวาเกน จึงได้เริ่มใช้ชื่อ โฟล์กสวาเกน บีเทิล อย่างเป็นทางการ และการผลิตบีเทิลดำเนินต่อไปเป็นรถยะเวลานาน เมื่อรูปทรงเริ่มมองดูล้าสมัย ยอดขายก็เริ่มลดลง และโฟล์กสวาเกนเริ่มหยุดขายบีเทิลในประเทศต่างๆ (ประเทศไทย หยุดขาย พ.ศ. 2521) จนกระทั่ง พ.ศ. 2541 ก็เหลือประเทศสุดท้ายคือ เม็กซิโก เป็นประเทศสุดท้ายที่โฟล์กสวาเกนยังผลิตรุ่นบีเทิลอยู่ จนกระทั่ง โฟล์กสวาเกน ตัดสินใจหยุดการผลิตบีเทิลลงอย่างสมบูรณ์ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ถึงการผลิตจะได้สิ้นสุดลงแล้ว บีเทิลก็ยังได้รับการจัดอันดับในรายชื่อรถยนต์ยอดเยี่ยมแห่งศตวรรษ เป็นอันดับ 4 รองจาก ฟอร์ด โมเดลที, มินิ และ ซีตรอง ดีเอส, James G. Cobb, The New York Times, December 24, 1999.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโฟล์กสวาเกน บีเทิล · ดูเพิ่มเติม »

โกวิทย์ ธารณา

นายโกวิทย์ ธารณา หรือชื่อที่รู้จักดีในฉายา วิทย์ บางแค แคร์ทุกคน แต่คนบางแค แคร์บางคน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโกวิทย์ ธารณา · ดูเพิ่มเติม »

โกสัมพี

กสัมพี (Kosambi) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นวังสะ 1 ใน มหาชนบทในสมัยพุทธกาล เมืองนี้รุ่งเรืองจากการที่เป็นชุมนุมการค้าขายในสมัยโบราณ ปัจจุบันเมืองนี้เหลือเพียงซากโบราณสถาน รูปโค้งพระจันทร์เสี้ยวริมฝั่งแม่น้ำยมุนา ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านโกสัม (Kosam) หรือหมู่บ้านหิสัมบาทตชนบท จังหวัดอัลลฮาบาต รัฐอุตตรประเทศ ของอินเดีย ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 59 กิโลเมตร เมืองนี้ได้เริ่มต้นทำการขุดค้นทางโบราณคดีโดยศาสตรจารย์ จี.อาร.ชาร์มา แห่งมหาวิทยาลัยอัลลาหบาต ในปี พ.ศ. 2492 และมีการสำรวจอีกครั้งในปี พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2499 ปัจจุบันปรากฏหลักฐานที่ได้จากการสำรวจขุดค้นเป็นที่แน่นอนแล้ว โดยยังคงมีซากกำแพงเมืองปรากฏให้เห็นอยู่ และได้ค้นพบวัดโบราณที่สันนิษฐานว่าเป็นวัดโฆสิตารามมหาวิหาร วัดที่สร้างขึ้นในสมัยพุทธกาล ซึ่งมีการค้นพบบาตรดินโบราณ พระพุทธรูป และโบราณวัตถุจำนวนมากภายในแหล่งขุดค้นเมืองโกสัมพีแห่งนี้ โบราณวัตถุส่วนใหญ่ทางการอินเดียได้นำไปเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑ์แห่งเมืองอัลลหบาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโกสัมพี · ดูเพิ่มเติม »

โรบิน วิลเลียมส์

รบิน แม็กลอริม วิลเลียมส์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1951Sources conflict.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรบิน วิลเลียมส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรมพินาศ

รมพินาศ หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า ศึกรัก ศึกแผ่นดิน (ชื่อภาษา) เป็นภาพยนตร์คลาสสิกอมตะเรื่องหนึ่ง ที่สร้างขึ้นโดยค่าย เมโทร โกลด์วีน เมเยอร์ (ชื่อภาษา) ออกฉายใน ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรมพินาศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลราชวิถี

รงพยาบาลราชวิถี เป็นโรงพยาบาลรัฐบาล นับเป็นโรงพยาบาลศูนย์วิชาการที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มีผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายแพทย์มานัส โพธาภรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงพยาบาลราชวิถี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลขอนแก่น

รงพยาบาลขอนแก่น เป็นโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประเภทโรงพยาบาลศูนย์ ประเภทสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (advance tertiary care).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงพยาบาลขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมนรก

มพงษ์ รับบทศาสตราจารย์ที่เข้ามาซ้อมร้องเพลงโอเปร่าในโรงแรม ชูศรี รับบทคู่รักที่ล่ามโซ่ข้อมือติดกัน ล้อเลียนเรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย ภาพยนตร์เรื่องก่อนหน้าของรัตน์ ที่กำกับโดย มารุต ฉากพ่อแง่-แม่งอน ของเรียมกับชนะ โรงแรมนรก เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงแรมนรก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบรบือ

รงเรียนบรบือ (อักษรย่อ: บ.ร., ฺB.R.) เป็นโรงเรียนประจำอำเภอบรบือ และเป็นโรงเรียนประจำตำบลบแห่งที่ 2 ถัดจากโรงเรียนบรบือวิทยาคาร สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ซึ่งตั้งอยู่ที่เขตเทศบาลบรบือ ตำบลบรบือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม และ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนแจ้งสนิท อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม สหวิทยาเขตบรบือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนบรบือ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบริษัทไทยกสิกรสงเคราะห์

รงเรียนบริษัทไทยกสิกรสงเคราะห์ หมู่ที่ 77 หมู่ 1 บ้านไร่หนึ่ง ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนบริษัทไทยกสิกรสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านโป่งแดง

รงเรียนบ้านโป่งแดง (อักษรย่อ ป.ด.) ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 บ้านโป่งแดงใหม่ ตำบลทรายขาว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นโรงเรียนรัฐบาลที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ปัจจุบันมีการเรียนการสอนในระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนบ้านโป่งแดง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี (Prommanusorn Phetchaburi School) (อักษรย่อ พ.บ. / P.B.) ตั้งอยู่เลขที่ 278 ถนนบันไดอิฐ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย อีกทั้งยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์

รงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ในความดูแลของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีกำเนิดมาจาก โรงเรียนแม่พระสกลสงเคราะห์ ที่บาทหลวงบรัวซาร์ อธิการโบสถ์วัดพระแม่สกลสงเคราะห์องค์แรกจัดตั้งขึ้น เมื่อปี ค.ศ. 1924 (พ.ศ. 2467) ต่อมา คุณพ่อตาปี อธิการโบสถ์องค์ถัดมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อโรงเรียนที่ใช้มาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพานพิเศษพิทยา

รงเรียนพานพิเศษพิทยา (อังกฤษ: Phan Phiset Phitthaya School; ย่อ: พ.พ.ย., P.P.Y.) หรือชื่อเดิม โรงเรียนพานมัธยมสามัญ (พาน ช.ร.8) เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ประเภทสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 (เชียงราย และพะเยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 250 หมู่ 1 ตำบลสันติสุข อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายไชยนคร ขุมคำ และมีรองผู้อำนวยการคือ นายชวลิต ปัญจขันธ์ ป้ายหน้าโรงเรียนพานพิเศษพิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนพานพิเศษพิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกันทรวิชัย

รงเรียนกันทรวิชัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางประจำอำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 กระทรวงศึกษาธิการ สหวิทยาเขต 2 ตักสิลา ตั้งอยู่ที่ ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบันเปิดสอนในช่วงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย รูปแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนกันทรวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์

รงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ (อังกฤษ: Kalasinpittayasan School) (อักษรย่อ: ก.พ.ส,K.P.S.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์

รงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ (Mathayom Wat Makutkasat School) เป็นโรงเรียนสหศึกษา (เดิมชื่อโรงเรียนวัดมกุฏกษัตริย์ เป็นโรงเรียนชายล้วน) เปิดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งอยู่บนพื้นที่ของวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2494 โดยกระทรวงศึกษาธิการกำหนดสถานที่ตั้งไว้ที่บริเวณหน้าวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร หน่วยแนะแนวการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการจัดนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่หาที่เรียนไม่ได้มาเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ ตั้งอยู่เลขที่ 330/3 ถนนกรุงเกษม แขวงบางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10200 ใช้พื้นที่ของวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร รวมพื้นที่ทั้งหมด 3 ไร่ 1 งาน 86.66 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ ทั้งหมด 5 อาคาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

รงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทสหศึกษา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 171/3151 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์10220.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดทรงธรรม

รงเรียนวัดทรงธรรม เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 (ฉะเชิงเทรา-สมุทรปราการ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งตั้งอยู่ในพระอารามหลวงที่มีนามว่า "วัดทรงธรรมวรวิหาร" ตำบลตลาด อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีพื้นที่ของโรงเรียนทั้งหมด ประมาณ 4 ไร่เศษ โดยเจ้าพระคุณอุดมวิจารณ์ (พระใบฎีกากลั่น สีละเตชะ หรือ กลั่น นพคุณ) อดีตเจ้าอาวาสวัดทรงธรรมวรวิหาร ได้ทำหนังสือต่อท่านขุนประพจน์ เนติประวัตร นายเวรการโรงเรียน ขอนำความกราบบังคมทูลพระเจ้าลูกเธอฯ อธิบดีกรมการศึกษา ทรงทราบเป็นโรงเรียนเชลยศักดิ์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2438 (ร.ศ. 114)http://www.songtham.ac.th/HistoryOfSongtham.htm โดยพระอุดมวิจารณ์เป็นผู้เริ่มก่อตั้ง ซึ่งดำรงตำแหน่งครูใหญ่คนแรก และพระใบฎีกาลั่น เป็นครูสอน ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนนี้เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนวัดทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีราชา

รงเรียนศรีราชา (อังกฤษ: Sriracha School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ และเป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา มีฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ

รงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเขต 1 มีชื่อย่อว.อ. ก่อตั้งเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศิริมาตย์เทวี

รงเรียนศิริมาตย์เทวี (Sirimart Thevi School) เป็นเซมินารีและโรงเรียนเอกชนโรมันคาทอลิกในความดูแลของมิสซังโรมันคาทอลิกเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 1951 โดยบาทหลวงเอ็ดมอน แวดิแอร์ ชาวเบลเยียม ซึ่งเป็นอธิการโบสถ์แม่พระองค์อุปถัมป์ พาน ในสมัยนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนศิริมาตย์เทวี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

รงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดตรัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย รับนักเรียนแบบสหศึกษาทั้งชายและหญิง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี 11 ห้อง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 11 ห้อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสันกำแพง

รงเรียนสันกำแพง (อักษรย่อ: ส.ก.; อังกฤษ: Sankamphaeng School: SKP) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนแบบสามัญศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น-ตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนสันกำแพง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสูงเนิน

รงเรียนสูงเนิน (อักษรย่อ ส.น.) (SUNGNOEN SCHOOL) สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ที่ 644 หมู่ที่ 1 ตำบลสูงเนิน อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นทีรวม 29 ไร่ 24 ตารางว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนสูงเนิน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอยุธยานุสรณ์

รงเรียนอยุธยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณถนนอู่ทอง ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนอยุธยานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ

รงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ (Islamsriayutthaya Foundation School.) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (หรือที่คนส่วนใหญ่เรียกว่า อ.ศ.อ.) เป็นโรงเรียนที่สอนศาสนาอิสลามควบคู่กับสามัญ เปิดสอนมากกว่า 70 ปี มีนักเรียนจากทั่วทุกภาคของประเทศไทย ได้รับการยอมรับจากสังคมมุสลิม สีประจำโรงเรียน เขียว - ขาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

รงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ บริเวณถนนอู่ทอง ตำบลหอรัตนไชย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายโดยรับเฉพาะนักเรียนหญิง และเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทวีธาภิเศก

รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนทวีธาภิเศก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขุขันธ์

รงเรียนขุขันธ์ (อังกฤษ: Khukhan School) (บ้างเรียก ขุขันธ์ใหญ่, ย่อ: ข.ข., KKS) โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอขุขันธ์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทมัธยมสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 60 ถนนเจริญราษฎร์สมบัติ หมู่ 3 ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ บนพื้นที่ 62 ไร่ 18 ตารางวา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนตากใบ

รงเรียนตากใบ (Takbai School) เป็นโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 140 หมู่ที่ 4 ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส 96110 (ซึ่งปัจจุบันตำบลแจ๊ะเห ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองตากใบแล้ว).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนตากใบ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ

รงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ เป็นโรงเรียนรัฐบาล โรงเรียนรางวัลพระราชทานประจำปีการศึกษา2554 และ โรงเรียนมัธยมแห่งที่ 3 ของจังหวัดอ่างทอง ตั้งอยู่ตำบลป่าโมก อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 5(สิงห์บุรี ลพบุรี ชัยนาท อ่างทอง) เปิดทำการสอนตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2481.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนแก่งคอย

รงเรียนแก่งคอย เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณถนนสุดบรรทัด ตำบลแก่งคอย อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอแก่งคอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนแก่งคอย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

รงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 222 ถนนชุมพล ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ฉะเชิงเทรา เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษา ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2435 เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนประจำมณฑลปราจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพัทยา 5 (บ้านเนินพัทธยาเหนือ)

รงเรียนเมืองพัทยา 5 (บ้านเนินพัทธยาเหนือ) - Pattaya City 5 School เป็นโรงเรียนในสังกัดเมืองพัทยา และเปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรก ปี 2494 มีผู้บริหารมาแล้ว 16 คน มีนายเชิญ กล้าแข็งเป็นครูใหญ่คนแรก มีนายนงนุช รักษา เป็นรักษาการผู้อำนวยการคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนเมืองพัทยา 5 (บ้านเนินพัทธยาเหนือ) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรเบร์โต ดูรัน

การชกครั้งแรกระหว่างดูรันกับเลียวนาร์ด ในครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1980 ซึ่งดูรันสามารถเอาชนะคะแนนไปได้ นับเป็นนักมวยรายแรกที่สร้างความปราชัยแก่เลียวนาร์ดได้และนับเป็นหนึ่งในการชกที่ดีที่สุดในชีวิตของดูรัน โรเบร์โต ดูรัน ซามาเนียโก (Roberto Durán Samaniego) วีรบุรุษนักชกแห่งปานามา และอดีตแชมป์โลก 4 รุ่น ดูรันถือได้ว่าเป็นยอดนักมวยขวัญใจชาวปานามา เช่นเดียวกับคูลีโอ เซซาร์ ชาเบซ ที่เป็นยอดนักมวยขวัญใจชาวเม็กซิโก ดูรันเกิดเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 1951 ที่เมืองกวาราเร ประเทศปานามา เริ่มชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1967 ในรุ่นไลต์เวต ทำสถิติชนะรวดจนได้ชิงแชมป์โลกในรุ่นไลต์เวต สมาคมมวยโลก (WBA) กับ เคน บูชาแนน นักชาวสกอตแลนด์ ที่นิวยอร์กซิตี เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 1972 ดูรันสามารถเอาชนะน็อกบูชาแนนไปได้ในยกที่ 13 จากนั้นดูรันได้ชกนอกรอบอีก 3 ครั้ง 2 ครั้งแรกสามารถเอาชนะน็อกนักมวยโนเนมได้เพียงยกแรก แต่ในครั้งที่ 3 ดูรันต้องพบกับความพ่ายแพ้ครั้งแรกในชีวิตแก่นักมวยชาวเปอร์โตริโก เอสเตบัน เด เฮซุส ซึ่งต่อมากลายมาเป็นคู่ปรับคนสำคัญอีกคนหนึ่งของดูรัน ดูรันป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกไลต์เวตของ WBA ไว้ได้ถึง 12 ครั้ง นับว่าเป็นสถิติการป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกสูงสุดของรุ่นไลต์เวตมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งครั้งสุดท้ายในการป้องกันตำแหน่งรุ่นนี้คือ การเดิมพันแชมป์ในรุ่นด้วยกันกับแชมป์โลกของสภามวยโลก (WBC) กับเอสเตบัน เด เฮซุส คู่ปรับเก่า ผลปรากฏว่าดูรันสามารถเอาชนะน็อกได้ในยกที่ 12 เมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1978 ต่อมา ดูรันสละแชมป์ไลต์เวต 2 สถาบันนี้ไป เพื่อก้าวขึ้นไปชกในรุ่นที่ใหญ่กว่า คือ เวลเตอร์เวต ซึ่งในขณะนั้น ชูการ์ เรย์ เลียวนาร์ด ยอดนักชกชาวอเมริกันเป็นเจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกของสภามวยโลก และยังมีสถิติไม่เคยแพ้ใคร เมื่อทั้งคู่มาพบกัน ไม่มีใครคาดคิดว่ามวยบู๊อย่างดูรันจะเอาชนะมวยที่มีชั้นเชิงอย่างเลียวนาร์ดได้ แต่ทว่าดูรันก็ใช้ความแข็งแกร่ง ทรหดกว่า เดินบดเข้าหาเลียวนาร์ดตลอดการชกทั้ง 15 ยก จนในที่สุดก็สามารถเอาชนะคะแนนเลียวนาร์ดได้ ในวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1980 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา ได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นที่ 2 อีก 5 เดือนต่อมา ทั้งคู่ได้มีโอกาสล้างตากันอีกครั้งที่นิวออร์ลีนส์ คราวนี้เลียวนาร์ดเตรียมตัวมาดีกว่าเก่า สามารถแก้ทางของดูรันได้ จนดูรันไม่สามารถทำอะไรได้เหมือนครั้งแรก จนดูรันเป็นฝ่ายขอยอมแพ้ไปเองดื้อ ๆ ในระหว่างพักยกที่ 7 ขึ้นยกที่ 8 โดยบอกเป็นภาษาสเปนว่า "No Más" (ไม่เอาแล้ว) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่ดูรันก็สามารถชกต่อไปอีกได้ ต่อมาดูรันก็สามารถได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นที่ 3 ได้ เมื่อเอาชนะน็อกยก 8 เดวี่ มัวร์ นักมวยชาวอเมริกัน เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1983 ได้แชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์มิดเดิลเวต สมาคมมวยโลก ซึ่งก่อนหน้านั้นดูรันเกือบได้เป็นแชมป์โลกรุ่นที่ 3 มาแล้ว แต่เป็นฝ่ายแพ้คะแนน 15 ยก แก่ วิลเฟรด เบนิเตซ นักมวยชาวเปอร์โตริกัน เจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกซูเปอร์เวลเตอร์เวต สภามวยโลก เมื่อปี ค.ศ. 1982 ในทศวรรษที่ 80 นี้ โรเบร์โต ดูรัน ถือได้ว่าเป็น 1 ใน 4 ยอดนักชกแห่งรุ่นกลาง (ตั้งแต่เวลเตอร์เวตจนถึงซูเปอร์มิดเดิลเวต-ประกอบไปด้วย ชูการ์ เรย์ เลียวนาร์ด, โรเบร์โต ดูรัน, ทอมัส เฮินส์ และมาร์วิน แฮ็กเลอร์ ซึ่งนักมวยทั้ง 4 นี้จะพบกันเองตลอด และผลัดแพ้-ผลัดชนะกัน) ต่อมา ดูรันได้ขึ้นชิงแชมป์โลกรุ่นที่ 4 กับ มาร์วิน แฮ็กเลอร์ เจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกมิดเดิลเวต 3 สถาบันใหญ่ แต่เมื่อครบ 15 ยกแล้ว ดูรันเป็นฝ่ายแพ้คะแนนขาดลอย เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1983 ต่อมา ดูรันก็เป็นฝ่ายแพ้น็อกแค่ยก 2 แก่ทอมัส เฮินส์ ในการชิงแชมป์โลกซูเปอร์เวลเตอร์เวต สภามวยโลก ที่เฮิร์นส์เป็นแชมป์โลกอยู่อย่างชนิดที่สู้ไม่ได้เลย เพราะดูรันเป็นฝ่ายที่รับหมัดของเฮิร์นส์แต่เพียงฝ่ายเดียว เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1984 ที่ลาสเวกัส จากนั้นดูรันก็ไม่ได้ขึ้นเวตีอีกลย จนหลายฝ่ายคิดว่าเขาคงจะแขวนนวมไปแล้ว แต่ดูรันก็หวนกลับมาชกอีกครั้งในปี ค.ศ. 1986 ชนะทั้งหมด 7 ครั้ง มีสะดุดแพ้อยู่ครั้งเดียวเมื่อแพ้คะแนนต่อร็อบบี ซิมส์ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 ดูรันก็ได้ครองแชมป์โลกรุ่นที่ 4 เมื่อชนะคะแนน 12 ยก ต่อ ไอแรน บาร์กเลย์ นักมวยชาวอเมริกัน ได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นมิดเดิลเวตของสภามวยโลกที่แอตแลนติกซิตี ครั้งถัดมา ดูรันพยายามที่จะเป็นแชมป์โลกรุ่นที่ 5 ให้ได้ โดยข้ามขึ้นไปชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์มิดเดิลเวต สภามวยโลก กับ ชูการ์ เรย์ เลียวนาร์ด อดีตคู่ปรับเก่า แต่ดูรันก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอย่างขาดลอยอีก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1989 ที่ลาสเวกัส ด้วยอายุที่มากขึ้น แต่โรเบร์โต ดูรัน ก็ยังไม่มีความตั้งใจที่เลิกชกมวย เขายังคงพากเพียรขึ้นเวทีอีกเรื่อย ๆ จนกระทั่งทำฟอร์มชนะอีก 8 ครั้ง ก็ขึ้นชิงแชมป์โลกอีกครั้งในรุ่นซูเปอร์มิดเดิลเวต สถาบันเล็ก ๆ อย่าง IBC กับ วินนี่ ปาเซียนซ่า แต่ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอีกถึง 2 ครั้ง เมื่อปี ค.ศ. 1994 และ ค.ศ. 1995 รวมทั้งชิงแชมป์ในรุ่นเดียวกันนี้ กับสถาบันแห่งนี้ กับ เอกตอร์ กามาโช ยอดนักมวยจอมลีลาชาวเปอร์โตริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1996 ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยกไปอีก ดูรันยังคงพยายามชิงแชมป์ต่อไป ในปี ค.ศ. 1998 ดูรันเป็นฝ่ายแพ้เคะแนน 12 ยก แก่ วิลเลียม จอปปี เจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกมิดเดิลเวต สมาคมมวยโลก ชาวอเมริกัน ดูรันชกมวยเป็นครั้งสุดท้ายเป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยก แก่ เอกตอร์ กามาโช อีกครั้ง เมื่อปี ค.ศ. 2001 ที่เดนเวอร์ โคโลราโด โดยที่ดูรันมีอายุถึง 50 ปีแล้ว โรเบร์โต ดูรัน ถือได้ว่าเป็นวีรบุรุษนักชกชาวปานามา เป็นนักมวยที่มีสภาพร่างกายแข็งแกร่ง หมัดหนักทั้งซ้ายและขวา เป็นมวยในสไตล์ไฟเตอร์เดินหน้าเข้าชนกับคู่ต่อสู้ตลอด เป็นนักมวยที่ไว้หนวดทำให้หน้าตาดูดุดัน จนได้ฉายาในภาษาอังกฤษว่า "Hands of Stone" ในขณะที่แฟนมวยชาวไทยให้ฉายาว่า "มนุษย์หิน" ปัจจุบัน ดูรันได้รับการเกียรติให้ตั้งชื่อเป็นสนามกีฬาในร่ม ในกรุงปานามาซิตี ประเทศปานามา ชื่อ "โรเบร์โต ดูรัน อารีนา".

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรเบร์โต ดูรัน · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ มัวร์

รเจอร์ มัวร์ ในบท เจมส์ บอนด์ ในภาพยนตร์บอนด์เรื่อง Mianly Millicent ออกฉายในค.ศ. 1964 โรเจอร์ มัวร์ กับ โทนี่ เคอร์ติส ในซีรีส์ The Persuaders! ในค.ศ. 1971 ถึง ค.ศ. 1972 A View to a Kill (ค.ศ. 1985) ภาพ โรเจอร์ มัวร์ ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2007 ภาพ โรเจอร์ มัวร์ ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2009 ภาพ โรเจอร์ มัวร์ ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2010 เซอร์โรเจอร์ จอร์จ มัวร์ (Roger George Moore; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1927 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2017) เกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรเจอร์ มัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

โจะเซ โทะดะ

ซ โทะดะ เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2443 ใน จังหวัดอิชิกะวะเป็นนายกสมาคมโซกา งัคไค ท่านที่ 2 เป็นอาจารย์ของไดซาขุ อิเคดะ ท่านได้ยืนหยัดต่อสู้เพื่อสมาคม และเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการบูรณะ วัดใหญ่ไทเซขิจิ ร่วมกับลูกศิษย์ คือ ดร.ไดซาจุ อิเคดะ และสมาชิกสมาคมสร้างคุณค่า ให้มีสภาพที่ดีขึ้นหลังจากตกต่ำในช่วงสงครามโลกครั้งที่2 จนถึงแก่มรณกรรมวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2501.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโจะเซ โทะดะ · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในโทรทัศน์ประเทศเดนมาร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโทรทัศน์ประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนเธอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในโทรทัศน์ประเทศเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโทรทัศน์ประเทศเนเธอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 เริ่มใช้ย่านความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) ซึ่งประกอบด้วย ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 2-4 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 5-12 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 จึงเริ่มใช้ย่านความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) คือช่องสัญญาณที่ 26-60 (ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 35-60) ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มออกอากาศ จนถึง พ.ศ. 2517 ใช้ระบบสัญญาณแอนะล็อก ในการส่งแพร่ภาพขาวดำ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (National Television System Committee; NTSC) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Committee; FCC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเต็มเป็น Federal Communications Commission) ต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จึงเริ่มนำระบบการส่งแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที (Phase Alternating Line; PAL) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยคลื่นวิทยุ (Consultative Committee on International Radio; CCIR ปัจจุบันคือ ภาควิทยุคมนาคมโดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ International Telecommunication Union Radiocommunication Sector; ITU-R) เข้ามาใช้ในประเทศไทย และเริ่มออกอากาศด้วยภาพสี ภายใต้ระบบดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใต้กำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริ่มจากส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเริ่มดำเนินการในส่วนกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน จากนั้นก็เริ่มนำระบบดิจิทัล เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตรายการ และควบคุมการออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้กับกระบวนการส่งแพร่ภาพ ผ่านโครงข่ายอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยจะยุติการออกอากาศด้วยสัญญาณแอนะล็อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ส่วนระบบการออกอากาศด้วยช่องทางอื่น ซึ่งนำเข้ามาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service; MMDS) ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2556, ผ่านคลื่นวิทยุไมโครเวฟ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โดม สุขวงศ์

ม สุขวงศ์ (10 กันยายน พ.ศ. 2494 -) นักวิชาการภาพยนตร์ ผู้ก่อตั้ง หอภาพยนตร์แห่งชาติ และโครงการอนุรักษ์ภาพยนตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็น ผู้อำนวยการหอภาพยนตร์ องค์การมหาชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโดม สุขวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวบรอดแคสติงซิสเตม

ตเกียวบรอดแคสติงซิสเตม หรือ สถานีโทรทัศน์โตเกียว และ สถานีวิทยุโตเกียว (Tokyo Broadcasting System; TBS) เป็นกลุ่มบริษัทประกอบกิจการวิทยุและโทรทัศน์ในประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2494 ปัจจุบัน TBS มีบริษัทแม่คือ โตเกียวบรอดแคสติงซิสเตมโฮลดิงส์ (Tokyo Broadcasting System Holdings, Inc.) โดยมีบริษัทลูกคือ ทีบีเอสเรดิโอแอนด์คอมมิวนิเคชันส์ รับหน้าที่กระจายเสียงวิทยุภายใต้ชื่อ ทีบีเอสเรดิโอ (ความถี่เอเอ็ม 954 กิโลเฮิร์ตซ์ และเอฟเอ็ม 90.5 เมกะเฮิร์ตซ์) และ ทีบีเอสเทเลวิชัน รับหน้าที่แพร่ภาพสถานีโทรทัศน์ในเขตภูมิภาคคันโต (ช่อง 6).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโตเกียวบรอดแคสติงซิสเตม · ดูเพิ่มเติม »

ไกวัล วัฒนไกร

กวัล วัฒนไกร เกิดวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2494 เป็นนักพากย์การ์ตูนที่มีชื่อเสียงและมีประสบการณ์สูงคนหนึ่งในประเทศไทย เป็นเจ้าของเสียงพากย์พระเอกประจำทีมพากย์ วิดิโอสแควร์ ไกวัลทำงานเป็นนักพากย์การ์ตูนและภาพยนตร์มามากกว่า 20 ปี พากย์เสียงให้กับบริษัทการ์ตูนในประเทศไทยหลายบริษัท เช่น ช่อง 9 อ..ม.ท. (โมเดิร์นไนน์ทีวี), ไทก้า, เด็กซ์, อามีโก้ และ โรสแอนิเมชั่น ปัจจุบันยังมีผลงานพากย์ทั้งการ์ตูนและโทคุซัทสึที่ลิขสิทธิ์ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไกวัล วัฒนไกร · ดูเพิ่มเติม »

ไม้อัดไทย

ริษัท ไม้อัดไทย จำกัด (Thaiplywood) (ชื่อย่อ มอท.) เป็นอดีตรัฐวิสาหกิจของประเทศไทย ในการกำกับดูแลของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปการใช้ทรัพยากรป่าไม้ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และทดแทนการใช้ไม้สัก เริ่มดำเนินการเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไม้อัดไทย · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล คีตัน

มเคิล จอห์น ดักลาส (Michael John Douglas) เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1951 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ไมเคิล คีตัน (Michael Keaton) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในช่วงแรกกับบทตลกอย่างเช่น Night Shift, Mr. Mom, Beetlejuice และรับบทเป็นบรูซ เวย์น / แบทแมน ในภาพยนตร์ของทิม เบอร์ตัน เรื่อง Batman และ Batman Returns เช่นเดียวกับบทนำในภาพยนตร์อื่นอย่างเช่น The Paper, Jackie Brown และ White Noise.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไมเคิล คีตัน · ดูเพิ่มเติม »

ไวเอต

วเอต (Wyeth) เดิมรู้จักกันในชื่อ อเมริกัน โฮมโปรดักต์ (American Home Products) เป็นหนึ่งในบริษัทยาที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในรัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไวเอต · ดูเพิ่มเติม »

ไอเวอร์ โนเวลโล

เดวิด ไอเวอร์ เดวีส์ (David Ivor Davies) (15 มกราคม ค.ศ. 1893 - 6 มีนาคม ค.ศ. 1951) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ไอเวอร์ โนเวลโล (Ivor Novello) เป็นนักประพันธ์เพลง นักร้องและนักแสดง ชาวเวลส์ เป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งดาราบันเทิงสหราชอาณาจักรที่มีชื่อเสียงในต้นศตวรรษที่ 20 หมวดหมู่:นักร้องเวลส์ หมวดหมู่:นักแสดงเวลส์ หมวดหมู่:บุคคลจากคาร์ดิฟฟ์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไอเวอร์ โนเวลโล · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรัฐ

ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ. 2523 ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ปัจจุบันมี บริษัท วัชรพล จำกัด เป็นเจ้าของ, ยิ่งลักษณ์ วัชรพล เป็นผู้อำนวยการ และสราวุธ วัชรพล เป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการ มีจำนวนพิมพ์ปัจจุบันที่ 1,000,000 ฉบับ ราคาจำหน่าย 10.00 บาท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไทยรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ไดฮัทสุ

ตราสัญลักษณ์ ไดฮัทสุ เป็นยี่ห้อรถยนต์ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้นำการผลิตรถยนต์ขนาดเล็ก (Keicar).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไดฮัทสุ · ดูเพิ่มเติม »

เบเนลักซ์

นแดนประเทศสมาชิกเบเนลักซ์ ที่ตั้งของเบเนลักซ์ในทวีปยุโรป ธงเบเนลักซ์ สาธารณรัฐเบเนลักซ์ หรือ สหภาพเศรษฐกิจเบเนลักซ์ (Bénélux) เป็นกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ของสามประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ประเทศเบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และลักเซมเบิร์ก โดยการนำเอาพยางค์หน้าชื่อของแต่ละประเทศดังกล่าวมาตั้งเป็นชื่อ "สหภาพปลอดภาษีเบเนลักซ์" (Benelux Customs Union) ปัจจุบันสหภาพเบเนลักซ์มีขนาด 74,102 ตร.กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเบเนลักซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์เกียนา

ฟรนช์เกียนา (French Guiana) หรือ กุยยานฟร็องแซซ (Guyane française) เป็นจังหวัดโพ้นทะเล (département d'outre-mer) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ทิศเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศบราซิล และทางทิศตะวันตกติดกับประเทศซูรินาม เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศสจังหวัดอื่น ๆ เฟรนช์เกียนายังมีฐานะเป็นแคว้นโพ้นทะเล (région d'outre-mer) ซึ่งเป็น 1 ใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศสด้วย โดยถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับประเทศฝรั่งเศสในทวีปยุโรปและใช้สกุลเงินยูโรเช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเฟรนช์เกียนา · ดูเพิ่มเติม »

เฟร์นันโด ลูโก

ฟร์นันโด ลูโก เฟร์นันโด อาร์มินโด ลูโก เมนเดซ (Fernando Armindo Lugo Méndez, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 - ปัจจุบัน) เป็นนักการเมืองชาวปารากวัยที่ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของปารากวัยจากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2551 เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และถูกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาขับออกจากตำแหน่งเมื่อปลายเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 หลังเกิดเหตุการณ์ปะทะกันอย่างรุนแรงระหว่างตำรวจกับชาวนาที่ไร้ที่ดินทำกินในเมืองกูรูกวาตี ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 17 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเฟร์นันโด ลูโก · ดูเพิ่มเติม »

เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์

ลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 —) ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษาผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บก.ปส.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึงกันยายน พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติคูเวต

อัลนาชีด อัลวาตานิ (ภาษาอาหรับ: النشيد الوطني‎, แปลว่า "เพลงชาติ") เป็นเพลงชาติประเทศคูเวต ประพันธ์โดย อาร์เหม็ด มิชารี อัลวาตวานิ และอิบราฮิม อัลซูลนา คำร้องและทำนองโดย อาเหม็ด อาลี จึงได้มีการจัดเนื้อเพลงใหม่ เพลงนี้ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 อามิรี ซารุท ถูกนำไปใช้ก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเพลงชาติคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสรรเสริญพระบารมี

ำว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) โดยการแปลเทียบเคียงจากชื่อเพลงสรรเสริญพระบารมีของไทย (แปลตามตัวว่า เพลงยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์) เพลงชนิดนี้เป็นเพลงปลุกใจชนิดหนึ่ง โดยมากจะคล้ายคลึงกับเพลงชาติ แต่มักใช้กับบรรดาพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ เนื้อหาของเพลงมักเป็นไปในทางถวายพระพรแด่สถาบันพระมหากษัตริย์ เพลงประเภทนี้นิยมบรรเลงในยามที่พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์เสด็จออกในที่สาธารณะ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่าง ๆ การเสด็จออกมหาสมาคม และการเสด็จพระราชดำเนินในที่ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวาระโอกาสสำคัญของพระราชวงศ์ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเพลงสรรเสริญพระบารมี · ดูเพิ่มเติม »

เกมรวมดาราเอ็นบีเอ

กมรวมดาราเอ็นบีเอ (NBA All-Star Game) เป็นการแข่งขันบาสเกตบอลที่จัดโดยเอ็นบีเอ เกมจะจัดในช่วงกลางฤดูกาล (ซึ่งปัจจุบันอยู่ประมาณต้นเดือนกุมภาพันธ์) ของทุกปี มีการแข่งขันกันหนึ่งเกมระหว่างทีมตะวันออกกับทีมตะวันตก ซึ่งใช้โค้ชและผู้เล่นจากคอนเฟอร์เรนซ์ตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ เริ่มแข่งครั้งแรกเมื่อ 2 มีนาคม พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเกมรวมดาราเอ็นบีเอ · ดูเพิ่มเติม »

เกริกกำพล ประถมปัทมะ

หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

เกรน ประชาศรัยสรเดช

กรน ประชาศรัยสรเดช หรือ เจ้าเกรน ประชาศรัยสรเดช เป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองแพร่ 6 สมัย และเป็นผู้บุกเบิกกิจการธนาคารแห่งแรกของจังหวัดแพร่ เป็นบุตรชายของเจ้าทิพเกษร เตมียานนท์ หรือคุณหญิงจงกลนี ประชาศรัยสรเดช (ราชนัดดาเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์สุดท้าย).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเกรน ประชาศรัยสรเดช · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเดวอน

ทิวทัศน์ในเกาะเดวอน เกาะเดวอน (Devon Island; Inuit: Tatlurutit) ตั้งอยู่ที่อ่าวบัฟฟิน,นูนาวุต,ประเทศแคนาดา มันเป็นเกาะที่อยู่ใน หมู่เกาะอาร์กติกของแคนาดา เป็นเกาะที่ใหญ่อันดับ 27 ของโลก ซึ่งเนื้อที่ 55,247 กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเกาะเดวอน · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์เซเดส-เบนซ์ เอส-คลาส

มอร์เซเดส-เบนซ์ เอส-คลาส (Mercedes-Benz S-Class) เป็นรถซีดาน ที่ใหญ่ที่สุด ที่เมอร์เซเดส-เบนซ์ผลิต และเป็นรถธง ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ด้วย โดยเริ่มการผลิตเมื่อ พ.ศ. 2494 จนถึงปัจจุบัน เป็นรถซีดานระดับหรูหราที่ขายดีที่สุดในโลก วิวัฒนาการแบ่งตามช่วงเวลาได้ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเมอร์เซเดส-เบนซ์ เอส-คลาส · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงพลายชุมพล

รือหลวงพลายชุมพล (HTMS Phlai-chumphon) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงวิรุณ และเรือหลวงสินสมุทร โดยเรือหลวงพลายชุมพล ประกอบขึ้นพร้อมกับเรือหลวงสินสมุทร แต่มีรูปแบบแตกต่างกัน โดยเรือหลวงสินสมุทร เรือหลวงมัจฉาณุและเรือหลวงวิรุณ 3 ลำ มีลักษณะภายนอกเหมือนกันทุกประการ ต่างจากเรือหลวงพลายชุมพล ชื่อเรือหลวงพลายชุมพล เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเรือหลวงพลายชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงมัจฉาณุ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเรือหลวงมัจฉาณุ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงวิรุณ

right เรือหลวงวิรุณ (HTMS Wirun) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงสินสมุทร และเรือหลวงพลายชุมพล ชื่อเรือหลวงวิรุณ เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเรือหลวงวิรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงศรีอยุธยา

รือหลวงศรีอยุธยา (HTMS Sri Ayudhya) เป็นเรือรบประเภทเรือปืนยามฝั่งสังกัดราชนาวีไทย มีระวางขับน้ำ 2,350 ตัน เครื่องจักรดีเซล 2 เครื่อง ความเร็วมัธยัสถ์ 12.2 นอต ติดอาวุธปืน 8 นิ้ว ป้อมคู่ จำนวน 2 ป้อม ปืน 3 นิ้ว จำ นวน 4 กระบอก ปืน 50 มิลลิเมตร จำนวน 2 แท่น พลประจำเรือ 234 นาย ต่อจากอู่ต่อเรือคาวาซากิ ประเทศญี่ปุ่น ขึ้นระวางประจำการ เมื่อ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเรือหลวงศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงสินสมุทร

รือหลวงสินสมุทร (HTMS Sinsamut) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงวิรุณ และเรือหลวงพลายชุมพล โดยเรือหลวงสินสมุทร ประกอบขึ้นพร้อมกับเรือหลวงพลายชุมพล แต่มีรูปแบบแตกต่างกัน โดยเรือหลวงสินสมุทรมีลักษณะภายนอกเหมือนกับเรือหลวงมัจฉาณุและเรือหลวงวิรุณ ทุกประการ ชื่อเรือหลวงสินสมุทร เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเรือหลวงสินสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

เลส พอล

ลส พอล (Lester William Polsfuss; 9 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 13 สิงหาคม พ.ศ. 2552) นักประดิษฐ์ นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เป็นผู้ริเริ่มประดิษฐ์กีตาร์ไฟฟ้าแบบตัวถังทึบที่สามารถ “ทำให้เสียงแบบเพลงร็อคแอนด์โรลเป็นไปได้” เลส พอลได้รับเกียรติเป็นผู้ริเริ่มด้านนวัตกรรมการอัดเสียงเพลงแบบต่างๆ รวมถึงการอัดเสียงทับซ้อน (Overdubbing) หรือ “การอัดเสียงทับเสียง” (Sound on sound) เสียงประกอบ (Sound effect) เสียงเหลื่อม (Delay effect) และการอัดเสียงแบบลู่อเนก (Multitrack recording) ด้วยความเก่งกาจทางนวัตกรรมนี้เองที่เอื้อให้พอลมีแบบอย่างการเล่นของตนเอง ซึ่งรวม “การเล่นโน๊ตสวยงามเป็นประโยค” (lick) “การเคาะสายรัวๆ” (trill) เทคนิคลำดับคอร์ด (Chording sequence) หรือ fretting และการจับเวลา ซึ่งทำให้การเล่นเขาแตกต่างไปจากวงการดนตรีที่ร่วมสมัยอยู่ในเวลานั้นและกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักกีตาร์จำนวนมากในปัจจุบัน เลส พอลอัดแผ่นเสียงร่วมกับภรรยา คือแมรี่ ฟอร์ด ในช่วงทศวรรษ 1950 (ประมาณ พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2503) ซึ่งจำหน่ายได้เป็นจำนวนหลายล้านแผ่น ในด้านเกียรติประวัติ เลส พอล เป็นหนึ่งในจำนวนน้อยคนที่ได้รับการจัดนิทรรศการเดี่ยวอย่างถาวรในหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล โดยได้รับการจารึกไว้ในเว็บไซต์ของพิพิธภัณฑ์ดนตรีว่าเป็น "สถาปนิก" และผู้มีชื่อร่วมกับ แซม ฟิลิปส์ และ อลัน ฟรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเลส พอล · ดูเพิ่มเติม »

เลื่อน พงษ์โสภณ

นาวาอากาศเอก เลื่อน พงษ์โสภณ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนช่างกลแห่งแรกในประเทศไทย ปรมาจารย์มอเตอร์ไซค์ไต่ถัง นักบิน ผู้ประดิษฐ์รถสามล้อ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมคนแรกของประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์หลายสมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเลื่อน พงษ์โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

เลียง ไชยกาล

นาย เลียง ไชยกาล นักการเมืองไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยและอดีตหัวหน้าพรรคประชาชน เป็นผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ของจังหวัดอุบลราชธานี นายเลียง เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเลียง ไชยกาล · ดูเพิ่มเติม »

เวียง วรเชษฐ์

นายเวียง วรเชษฐ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด 4 สมัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเวียง วรเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสม พริ้งพวงแก้ว

ตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้งพวงแก้ว (31 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเสม พริ้งพวงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเสริม วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งแคสเปียน

ือโคร่งแคสเปียน หรือ เสือโคร่งเปอร์เซีย (Caspian tiger, Persian tiger.; ببر قزويني) เสือโคร่งสายพันธุย่อยสายพันธุ์หนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้ว มีการกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงตะวันออกกลาง เช่น อัฟกานิสถาน, เทือกเขาคอเคซัส, ภาคตะวันตกของจีน, ที่ราบสูงแมนจูเรีย, อิหร่าน, อิรัก, ตุรกี, มองโกเลีย, คาซัคสถาน, ทาจิกิสถาน, คีร์กีซสถาน, เติร์กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน รวมถึงอาจจะแพร่กระจายพันธุ์ไปถึงซูดานในแอฟริกาเหนือด้วยก็เป็นได้ เนื่องจากมีผู้พบขนเสือโคร่งวางขายในตลาดของไคโร อียิปต์ ในปี ค.ศ. 1951 ซึ่งขนเสือผืนนี้มาจากซูดาน เสือโคร่งแคสเปียน มีลักษณะคล้ายคลึงกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) มาก นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่อีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยตัวผู้ในเตอร์กิสถานมีความยาวลำตัว 270 เซนติเมตร นับเป็นสถิติที่ใหญ่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา ในขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมา น้ำหนักตัวเต็มที่ประมาณ 240 กิโลกรัม ล่ากวางและหมูป่า รวมถึงไก่ฟ้า กินเป็นอาหาร ถิ่นที่อยู่อาศัยของเสือโคร่ง 2 สายพันธุ์นี้ต่อติดกัน โดยเสือโคร่งแคสเปียนจะกระจายพันธุ์อยู่แถบตะวันตกของภูมิภาคเอเชียกลาง และเสือโคร่งไซบีเรียจะกระจายพันธุ์อยู่ทางตะวันออกของภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงเอเชียเหนือ ภาพวาดแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของลายที่หางของเสือโคร่งแคสเปียน (ซ้าย) กับเสือโคร่งไซบีเรีย (ขวา) เสือโคร่งแคสเปียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 โดยที่เทือกเขาคอเคซัสตัวสุดท้ายถูกฆ่าตายไปในปี ค.ศ. 1922 ใกล้กับทบิลิซี จอร์เจีย หลังจากไปฆ่าสัตว์เลี้ยงในฟาร์มของชาวบ้าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายในตุรกีถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1970 ใกล้กับอูลูเดเร ฮักการี ในอิรักเคยพบเสือโคร่งแคสเปียนเพียงตัวเดียว ถูกฆ่าใกล้กับโมซูล ในปี ค.ศ. 1887 ในอิหร่าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1959 ในโกลีสตาน เสือโคร่งแคสเปียนตัวหนึ่งในลุ่มแม่น้ำทาริม ของจีนถูกฆ่าตายในปี ค.ศ. 1899 ใกล้กับทะเลสาบลอปนอร์ในมณฑลซินเจียง และหลังจากทศวรรษที่ 20 ก็ไม่มีใครเห็นเสือโคร่งสายพันธุ์นี้ในลุ่มแม่น้ำนี้อีกเลย เสือโคร่งแคสเปียนหายไปจากลุ่มแม่น้ำมานัสในเทือกเขาเทียนซานทางตะวันตกของอุรุมชี ในทศวรรษที่ 60 ที่แม่น้ำไอรี ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยสำคัญแหล่งสุดท้ายในบริเวณทะเลสาบบัลฮัช มีผู้พบครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1948 และตอนปลายแม่น้ำอามูดาร์ยาบริเวณชายแดนระหว่างเติร์กเมนิสถาน, อุซเบกิสถาน และอัฟกานิสถาน เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 แล้ว แม้จะมีรายงานอย่างไม่เป็นทางการว่าพบเสือโคร่งแคสเปียนบริเวณทะเลอารัลใกล้กับนูคัส ในปี ค.ศ. 1968 หรือในเขตสงวนทางธรรมชาติทิโกรวายาบัลกา ซึ่งเป็นป่ากกริมแม่น้ำอามูดาร์ยา บริเวณชายแดนทาจิกิสถานและอัฟกานิสถาน มีผู้พบเห็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1953 แต่มีผู้อ้างว่าพบเห็นรอยเท้าคล้ายรอยเท้าเสือโคร่งขนาดใหญ่ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเสือโคร่งแคสเปียน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เหวง โตจิราการ

นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเหวง โตจิราการ · ดูเพิ่มเติม »

เอมัน เดฟเลอรา

อมัน เดฟเลอรา (Éamon de Valera; 14 ตุลาคม พ.ศ. 2425 — 29 สิงหาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักการเมืองชาวไอริชผู้ต่อสู้เพื่อให้ไอร์แลนด์เป็นอิสระจากอังกฤษจนมีการสถาปนาสาธารณรัฐไอร์แลนด์ เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเอมัน เดฟเลอรา · ดูเพิ่มเติม »

เอลีโย ดี รูโป

อลีโย ดี รูโป (Elio Di Rupo,; เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม คนที่ 40 และหัวหน้าคณะรัฐมนตรีชุดที่ 68 ดำรงตั้งแต่วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสในรอบสามสิบปีหลังจากผู้ดำรงตำแหน่งคนสุดท้ายคือ เปาล์ ฟันเดิน บุยนันตส์ เข้ารับตำแหน่งเมื่อพ.ศ. 2522 และยังเป็นนายกรัฐมนตรีจากพรรคสังคมนิยมคนแรกในรอบเกือบสี่สิบปีหลังจากแอดมง เลอบูร์ตง ซึ่งหมดวาระลงในปีพ.ศ. 2517 เอลีโย ดี รูโป ยังเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของเบลเยียมที่ไม่ได้สืบเชื้อสายจากชาววัลลูนหรือเฟลมิช โดยบิดาและมารดาของเขาเป็นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี และยังเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่แสดงออกว่าเป็นเกย์ในกลุ่มประเทศยุโรป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเอลีโย ดี รูโป · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1974

อเชียนเกมส์ 1974 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 จัดขึ้นที่กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่านระหว่างวันที่ 1 – 16 กันยายน 2517 ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้เกือบต้องล้มคว่ำลงกลางคันเนื่องจากอิหร่านและญี่ปุ่นได้นำข้อเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 17 – 18 กันยายน 2516 ให้ที่ประชุมพิจารณารับเอาประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าเป็นสมาชิกแต่มีเงื่อนไขว่า สหพันธ์ฯ ต้องขับจีนชาติออกจากการเป็นสมาชิก ผลปรากฏว่ากรรมการบริหาร 4 คน ได้เดินออกจากที่ประชุม ในที่สุดจากการวิ่งเต้นของอิหร่านและญี่ปุ่นจึงทำให้การรับรองสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าเป็นสมาชิกสหพันธ์ฯ ก็ผ่านไปด้วยดี ดังนั้น การแข่งขันครั้งที่ 7 จึงมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขัน 19 ประเทศ มีนักกีฬาเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ชนิด คือ กรีฑา แบดมินต้น บาสเกตบอล มวย จักรยาน ฟุตบอล ฟันดาบ ยิมนาสติคส์ ฮอกกี้ ลอนเทนนิส ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก และมวยปล้ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเอเชียนเกมส์ 1974 · ดูเพิ่มเติม »

เฮนเรียตตา แล็กส์

นเรียตตา แล็กส์ (Henrietta Lacks) เป็นสตรีชาวแอฟริกันอเมริกัน เจ้าของเซลล์มะเร็งที่ถูกนำไปเพาะโดยจอร์จ ออตโต กาย จนเป็นสายพันธุ์เซลล์ซึ่งแบ่งตัวได้ไม่สิ้นสุด ("อมตะ") ซึ่งใช้กันแพร่หลายในการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ ชื่อว่าสายพันธุ์เซลล์เฮล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเฮนเรียตตา แล็กส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลน (นักแสดง)

ลน ไชราค ริชาร์ดสัน (Helen Jairag Ricardson; हेलन जैराग रिचर्डसन, เกิด 21 ตุลาคม ค.ศ. 1939) หรือที่รู้จักกันในนาม เฮเลน (हेलन เหลัน) นักแสดงภาพยนตร์และนักเต้นชาวอินเดีย ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงจากการเต้นของเธอ ในยุคปี 1950-1960 และได้รับฉายาว่า คาบาเรต์ควีน (Cabaret Queen).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเฮเลน (นักแสดง) · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟรีย์ รัช

ฟฟรีย์ รอย รัช เกิดวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย ถือเป็นนักแสดงออสเตรเลียคนแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์สาขาการแสดงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจฟฟรีย์ รัช · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ดี. วัตสัน

มส์ ดี. วัตสัน เจมส์ ดิวอี วัตสัน (James Dewey Watson; 6 เมษายน พ.ศ. 2471) นักอณูชีววิทยาชาวอเมริกัน ได้รับการยอบรับว่าเป็นผู้ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของดีเอ็นเอร่วมกับฟรานซิส คริกและมอริส วิลคินส์ โดยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ มีผลงานการตีพิมพ์คือบทความ โครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลีอิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจมส์ ดี. วัตสัน · ดูเพิ่มเติม »

เจป็อป

มะโมะอิโระโคลเวอร์ Z เจป็อป (J-pop; Japanese Pop) หมายถึงแนวดนตรีของประเทศญี่ปุ่น ที่มีลักษณะดนตรีผสมผสานจากทางตะวันตก ซึ่งรวมถึงดนตรีในลักษณะ ป็อป ร็อก แดนซ์ ฮิปฮอป และ โซล เจป็อป เป็นหนึ่งใน 4 แนวดนตรีที่มีการจำแนกในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้แก่ เจป็อป, เอ็งกะ (ลักษณะคล้ายบัลลาด), ดนตรีคลาสสิก และ ดนตรีต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวดส์

้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย

ฟรีดริช วิลเฮล์ม วิคเตอร์ ออกุสต์ แอร์นส์ (ภาษาเยอรมัน:Friedrich Wilhelm Victor August Ernst; ประสูติ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2425 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารพระองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรปรัสเซีย และจักรวรรดิเยอรมัน เจ้าชายวิลเฮล์มประสูติ ณ เมืองพอทสดัม รัฐบรานเดนบวร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี และพระมเหสีพระองค์แรกเจ้าหญิงออกัสตา วิคตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลง สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี พระราชบิดาทรงสละราชสมบัติ เจ้าชายวิลเฮล์มทรงถูกเนรเทศไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ และเสด็จกลับมายังเยอรมันในปี พ.ศ. 2466 หลังจากให้คำสัญญาว่าจะไม่ทรงยุ่งเกี่ยวกับการเมืองอีก พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 ด้วยโรคหัวใจ ณ รัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก ประเทศเยอรมัน พระชนมายุ 69 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์

้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน กับ โซเฟียแห่งนอสซอ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระราชธิดาใน สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก กับ หลุยส์แห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 4 พระองค์ โดยพระองค์ถือเป็นพระราชอัยกา(ตา) ใน 3 พระมหากษัตริย์ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์

้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์ (Prince Carl Bernadotte).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแคสเปียน

้าชายแคสเปียน (Prince Caspian: The Return to Narnia หรือ Prince Caspian เฉยๆ ในบางฉบับ) เป็นนิยายแฟนตาซีเยาวชนในชุดตำนานแห่งนาร์เนีย เขียนโดยซี. เอส. ลูอิส ใน พ.ศ. 2494(ค.ศ. 1951) ถือเป็นเล่มที่สองในชุดถ้านับตามลำดับเวลาที่เขียน แต่ถ้านับตามลำดับเหตุการณ์ในเรื่องถือเป็นลำดับที่สี่ ฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ แปลโดยสุมนา บุณยะรัตเวช พิมพ์ครั้งแรก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าชายแคสเปียน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งเอดินเบอระ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (วิกตอเรีย เมลิตา; 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2479) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าหญิงได้ทรงดำรงพระอิสริยยศทั้ง แกรนด์ดัชเชสพระชายาแห่งเฮสส์ (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2444) และ แกรนด์ดัชเชสวิกตอเรีย เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พ.ศ. 2448 - พ.ศ. 2460) เจ้าหญิงวิกตอเรียได้ทรงสร้างความอื้อฉาวให้กับราชวงศ์ยุโรปด้วยการหย่าร้างและอภิเษกสมรสอีกครั้งในช่วงต้นศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2435 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา และพระมเหสีในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย ดังนั้นจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย (Empress of Austria) สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี (Queen of Hungary) และสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย (Queen of Bohemia) โดยทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตกับราชวงศ์ฝรั่งเศส โปรตุเกส และสเปน เจ้าหญิงซีตา ซึ่งเป็นพระธิดาพระองค์ที่สิบเจ็ดในดยุกโรเบิร์ตที่ 1 แห่งปาร์มา ได้อภิเษกสมรสกับอาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรียในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Katherine of Greece and Denmark) หรือว่า เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (Lady Katherine Brandram; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามและองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2466) และ เจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (พ.ศ. 2413 - พ.ศ. 2475) และเป็นพระราชปนัดดาหญิงซึ่งทรงพระชนม์ชีพอยู่พระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (โดยพระราชปนัดดาชายพระองค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ขณะนี้คือ เค้านท์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต (พระชนมายุ 91 ชันษา).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน

้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน (พระนามเต็ม: เจ้าหญิงเรกีนา เฮเลเนอ เอลีซาเบท มาร์กาเรเทอแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน; Regina Helene Elizabeth Margarete of Habsburg-Lorraine; 6 มกราคม พ.ศ. 2468 — 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) ทรงเป็นสมาชิกราชวงศ์เวททิน และเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งออสเตรีย ฮังการี และโบฮีเมียแต่เพียงในนาม พระองค์เป็นพระธิดาพระองค์เล็กสุดในเจ้าชายเกออร์ก เจ้าชายแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน และเคาน์เตส คลารา มาเรียแห่งคอร์ฟ ชมิสซิง-เคอร์เซมบรอค พระองค์เป็นพระองค์เดียวที่มีบุตร เจ้าชายอันโทน อูริชพระเชษฐาของพระองค์ถูกปลงพระชนม์เมื่อพระชนมายุ 20 พรรษาคราวสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่วนเจ้าชายฟรีดริช อัลเฟรดทรงบวชเป็นนักพรตคณะคาร์ทูเซียน ส่วนเจ้าหญิงมารี เอลิซาเบธ พระขนิษฐาพระองค์เดียวของพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุเพียง 3 พรรษา เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก ซึ่งเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา ณ โบสถ์กอร์เดลีแยร์ ประเทศฝรั่งเศส และได้รับประทานพระพรจากสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 หลังจากการอภิเษกสมรส พระองค์ทรงรับพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารีแห่งออสเตรีย นับตั้งแต่วันอภิเษกสมรส ทั้งสองพระองค์ทรงประทับอยู่ที่วิลล่าออสเตรีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ไกเซอร์วิลล่า (Kaiservilla) ซึ่งคำว่า Kaiser ในภาษาเยอรมัน แปลว่า จักรพรรดิ ณ ทะเลสาบสตานเบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พระองค์ทรงเข้ารับการรักษาพระอาการสมองที่โรงพยาบาลเมื่องแนนซี ประเทศฝรั่งเศส ทำให้หลายคนสงสัยว่าพระองค์อาจความจำเสื่อม อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 พระองค์ก็ยังจำทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพระราชมารดา พระเชษฐา หรือแม้แต่พระบิดา เป็นต้น ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์ สิริพระชนมายุ 85 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5

้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 ต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจเน็ต ลีห์

น็ต ลีห์ (Janet Leigh) อดีตนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน มีชื่อเต็มว่า จีนเน็ต เฮเลน มอร์ริสัน (Jeanette Helen Morrison) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1927 ที่เมืองเมอร์เซด รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นลูกคนเดียว เริ่มเข้าสู่วงการการแสดงเมื่ออายุได้ 19 ปี ขณะเรียนอยู่ระดับวิทยาลัย เมื่อมีแมวมองของบริษัท เอ็มจีเอ็ม ได้เห็นภาพถ่ายของเธอขณะเล่นสกี โดยผลงานเรื่องแรก คือ The Romance of Rosy Ridge ประกบคู่กับ แวน จอห์นสัน โดยได้รายได้ 50 ดอลลาร์สหรัฐต่อสัปดาห์ และเมื่อมีชื่อเสียงแล้วค่าตัวเปลี่ยนเป็น 150 ดอลลาร์ต่อสัปดาห์ และกลายเป็นหนึ่งในนักแสดงหญิงที่มีงานรัดตัวมากที่สุดของบริษัทเอ็มจีเอ็มเลยทีเดียว เฉพาะในปี ค.ศ. 1949 เธอรับเล่นถึง 6 เรื่องด้วยกัน เป็นที่รู้จักกันดีจากการรับบทพี่สาวคนโตในภาพยนตร์เรื่อง Little Women (สี่ดรุณี) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจเน็ต ลีห์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลภาพยนตร์

ทศกาลภาพยนตร์ (film festival) คือเทศกาลที่นำเสนอหรือแสดงภาพยนตร์ ภาพยนตร์ที่นำมาฉายมักเป็นภาพยนตร์ปัจจุบัน และขึ้นอยู่กับจุดเน้นของแต่ละเทศกาลภาพยนตร์ โดยอาจจะรวมภาพยนตร์ต่างชาติที่สร้างนอกประเทศของประเทศที่จัดงานเทศกาลภาพยนตร์ก็ได้ บางครั้งอาจเน้นรูปแบบเฉพาะ เช่น เทศกาลภาพยนตร์แอนิเมชัน หรือ เฉพาะเจาะจงบางเรื่อง เช่น เทศกาลภาพยนตร์สำหรับเกย์และเลสเบี้ยน โดยมากเทศกาลภาพยนตร์จะจัดขึ้นแบบประจำปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเทศกาลภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน

ัญลักษณ์ของเทศกาลเป็นรูปหมี เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน (Berlin International Film Festival) หรือที่เรียกกันว่า "Berlinale" (ล้อชื่อ Biennale ที่เวนิส) เป็นเทศกาลภาพยนตร์ชั้นนำของยุโรป เคียงข้างเทศกาลที่เวนิสและกาน เทศกาลนี้จัดเป็นประจำในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปีที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1951 คณะกรรมการของเทศกาลให้ความสำคัญเป็นพิเศษในการนำเสนอภาพยนตร์จากทุกภูมิภาคในโลก รางวัลหลักของเทศกาลนี้ชื่อว่า หมีทองคำ (โกลเดนแบร์) และ หมีเงิน (ซิลเวอร์แบร์) (หมี เป็นสัญลักษณ์ของเบอร์ลิน) รางวัลหมีทองคำมีสองประเภทคือ รางวัลหมีทองคำ สำหรับ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (Best Motion Picture) และ รางวัลหมีทองคำเกียรติยศ สำหรับ ผู้ที่อุทิศชีวิตให้กับภาพยนตร์ (Lifetime Achivement) ส่วนรางวัลหมีเงินมอบให้กับสาขาย่อยอื่น ๆ เช่น ผู้กำกับยอดเยี่ยม นักแสดงยอดเยี่ยม ฯลฯ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนเจ้าพระยา

ื่อนเจ้าพระยา เป็นเขื่อนทดน้ำขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่บริเวณคุ้งบางกระเบียน หมู่ที่ 4 ตำบลบางหลวง อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิดเขื่อนเจ้าพระยาเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เขื่อนเจ้าพระยามีลักษณะเป็นเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 237.50 เมตร สูง 16.5 เมตร ติดตั้งบานประตูเหล็กรูปโค้งสูง 7.50 เมตร มีช่องระบายให้น้ำไหลผ่านขนาดกว้าง 12.50 เมตร จำนวน 16 ช่อง ประตูน้ำสำหรับเรือสัญจรติดกับเขื่อนด้านขวากว้าง 14 เมตร ยาว 170.50 เมตร เรือขนาดใหญ่สามารถผ่านเข้าออกได้ บนสันเขื่อนมีสะพานกว้าง 7 เมตร รับรถน้ำหนักบรรทุกไม่เกิน 20 ตัน และมีทางระบายน้ำล้นฉุกเฉินสร้างบนคันกั้นน้ำซ้ายมือเหนือเขื่อนเจ้าพระยา กว้าง 10 เมตร ยาว 1,000 เมตร เพื่อช่วยระบายน้ำเมื่อเกิดอุทกภัย อัตราการระบายน้ำผ่านเขื่อนสูงสุดประมาณ 3,300 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แต่การปล่อยน้ำจะควบคุมให้อยู่ในระดับไม่เกิน 2,500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพื่อมิให้กระทบต่อพื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทัศนียภาพรอบเขื่อนสวยงาม ช่วงเดือนมกราคมในบริเวณแม่น้ำเหนือเขื่อนจะมีฝูงนกเป็ดน้ำนับหมื่นมาอาศัยหากิน เขื่อนนี้ใช้ประโยชน์ด้านการชลประทาน การทดน้ำเพื่อการเกษตร โดยระบายน้ำจากแม่น้ำในภาคเหนือสู่ภาคกลางและอ่าวไทย ส่งน้ำไปในพื้นที่เพาะปลูกภาคกลางเข้าคลองส่งน้ำสายใหญ่รวม 5 สาย คือ แม่น้ำน้อย แม่น้ำท่าจีน คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง คลองชัยนาท-ป่าสัก และคลองชัยนาท-อยุธยา และยังใช้ผลิตไฟฟ้าสำหรับจ่ายในจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเขื่อนเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด เอ. ฮัฟฟ์แมน

วิด อัลเบิรต์ ฮัฟแมน หรือ เดวิด เอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเดวิด เอ. ฮัฟฟ์แมน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะคิงแอนด์ไอ

อะคิงแอนด์ไอ ฉบับปี พ.ศ. 2499 เดอะคิงแอนด์ไอ (The King and I) เป็นละครบรอดเวย์ ที่ออกแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2494 ที่โรงละครเซนต์เจมส์ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา แต่งบทร้องโดย ออสการ์ แฮมเมอร์สไตน์ที่ 2 และประพันธ์ดนตรีโดย ริชาร์ด ร็อดเจอร์ โดยดัดแปลงมาจากนวนิยาย Anna and the King of Siam (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม) ฉบับปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเดอะคิงแอนด์ไอ · ดูเพิ่มเติม »

เดินอากาศไทย

ริษัท เดินอากาศไทย จำกัด (Thai Airways Company Limited ชื่อย่อ: บดท.; TAC) เป็นอดีตสายการบินแห่งชาติภายในประเทศไทย โดยทำการบินหลักที่ท่าอากาศยานดอนเมือง และมีคำขวัญว่า เพียงงีบหนึ่ง ก็ถึงแล้ว (Just a nap, you'll be there) ปัจจุบันโอนกิจการไปรวมกับการบินไทย เมื่อปี พ.ศ. 2531 ตามนโยบายของรัฐบาลสมัยนั้นโดยเริ่มมีแผนควบรวมปี พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเดินอากาศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เด๋อ ดอกสะเดา

๋อ ดอกสะเดา (21 มีนาคม พ.ศ. 2494 —) หรือชื่อจริงว่า สมใจ บุรานนท์ เข้าสู่วงการโดยเป็นนักแสดงตลกจากวงดนตรีลูกทุ่งระพิน ภูไท ประมาณ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเด๋อ ดอกสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

เคยู แบนด์ (วงดนตรี)

KU Band เป็น วงดนตรีสากลประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2494 นับว่าเป็นวงดนตรีประจำมหาวิทยาลัยวงแรกของประเทศไทย ก่อตั้งโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ เพื่อออกแสดงใน “ งานวันไก่” หรือ งานตัดสินและแจกรางวัลการประกวดไก่ไข่ดกประจำปีของสมาคมเลี้ยงไก่ ปัจจุบัน KU Band วงดนตรีประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีที่ทำการ ณ อาคาร อวบ เหมะรัชตะ และมีงานเทศกาลคอนเสิร์ตจัดขึ้นเป็นประจำในทุกๆปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเคยู แบนด์ (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

รื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์เยอรมนี สถาปนาเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2494 โดยประธานาธิบดีเยอรมนีมอบเครื่องอิสริยาภรณ์นี้ให้แก่ข้าราชการ ประชาชน ทหาร ชาวเยอรมนีและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

เควิน คีแกน

ซฟ เควิน คีแกน (เกิด 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951) หรือที่คนส่วนใหญ่รู้จักในชื่อ เควิน คีแกน เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอังกฤษ เขาเริ่มค้าแข้งกับสคันธอร์ปยูไนเต็ดใน ค.ศ. 1968 ก่อนที่จะย้ายไปร่วมทีมลิเวอร์พูลใน ค.ศ. 1971 โดยสวมเสื้อเบอร์ 7 ในขณะที่ค้าแข้งอยู่กับลิเวอร์พูลนั้น คีแกนสามารถคว้าแชมป์รายการสำคัญต่างๆมากมาย ได้แก่ ดิวิชันหนึ่ง 3 สมัย, ยูฟ่าคัพ 2 สมัย, เอฟเอคัพ 2 สมัย และยูโรเปียนคัพอีก 1 สมัย เขาติดทีมชาติอังกฤษเป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1972 ต่อมาใน ค.ศ. 1977 เขาตัดสินใจย้ายไปร่วมทีมฮัมบูร์ก ในการค้าแข้งกับฮัมบูร์กเขาได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป 2 สมัยติดต่อกัน คือ 1978 และ 1979 ในฤดูกาลเดียวกันเขาได้เป็นกำลังสำคัญในการพาทีมคว้าแชมป์บุนเดสลีกา ฤดูกาล 1978-79 และสามารถคว้าแชมป์ยูโรเปียนคัพในปีถัดมาอีกด้วย หลังจากนั้นเขาก็ได้ย้ายไปร่วมทีมเซาแธมป์ตันเป็นเวลา 2 ฤดูกาล ก่อนที่จะย้ายไปค้าแข้งกับนิวคาสเซิลใน ค.ศ. 1984 และสามารถพาทีมเลื่อนชั้นได้สำเร็จ ก่อนที่จะประกาศเลิกเล่นฟุตบอลในอีก 2 ปีถัดมา ในขณะที่ติดทีมชาติอังกฤษทั้งหมด 63 นัด และยิงได้ 21 ประตู ใน ค.ศ. 1992 เขากลับสู่นิวคาสเซิลอีกครั้งในฐานะผู้จัดการทีม และพาทีมเลื่อนชั้นสู่ลีกสูงสุดในฐานะแชมป์ได้สำเร็จ หลังจากเลื่อนชั้นแล้วคีแกนพาทีมคว้าอันดับ 2 ในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 1995–96 หลังจากนั้นเขาก็ได้ย้ายไปคุมฟูแลม ก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งผู้จัดการทีมชาติอังกฤษใน ค.ศ. 1999 แต่คุมทีมเพียงแค่ปีเดียวเขาก็ขอลาออกจากตำแหน่ง ปีถัดมาคีแกนตัดสินใจเขาดำรงตำแหน่งผู้จัดการทีมแมนเชสเตอร์ซิตี และคุมทีมได้นาน 4 ปี ก็ขอลาออกจากตำแหน่ง หลังจากนั้นเขาก็ไม่ได้ยุ่งเกี่ยวกับฟุตบอลอีกเลยเป็นเวลา 3 ปี ก่อนที่จะกลับมาคุมนิวคาสเซิลอีกเป็นครั้งที่ 2 ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2008 แต่หลังจากนั้นเขาก็ได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 2008 เนื่องจากขัดแย้งกับบอร์ดบริหารของสโมสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเควิน คีแกน · ดูเพิ่มเติม »

เคิร์ต รัสเซลล์

เคิร์ต โวเจล รัสเซลล์ (Kurt Vogel Russell) เกิดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เขาเริ่มแสดงในภาพยนตร์ฮอลลีวูดตั้งแต่ยังเด็ก ในยุคทศวรรษ 1960 และเริ่มมีผลงานภาพยนตร์ที่หลากหลายขึ้นเป็นต้นมา รวมถึงแสดงใน The Thing, Big Trouble in Little China, Escape from New York, Silkwood, Stargate, Backdraft, Tombstone, Vanilla Sky, และ Grindhouse หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากสปริงฟิลด์ (รัฐแมสซาชูเซตส์).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเคิร์ต รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เคนนี แดลกลีช

นเนท แมทีสัน "เคนนี" แดลกลีช (Kenneth Mathieson "Kenny" Dalglish) เกิดวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1951 เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวสกอตแลนด์ เล่นตำแหน่งกองหน้า เคยเป็นกองหน้าของสโมสรฟุตบอลเซลติก และ สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล เจ้าของฉายา "คิง เคนนี" เป็นอดีตผู้จัดการทีมลิเวอร์พูล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเคนนี แดลกลีช · ดูเพิ่มเติม »

เปเรซ ปราโด

มาโซ เปเรซ ปราโด นักแต่งเพลง นักเปียโน และหัวหน้าวงดนตรีชาวคิวบา/เม็กซิกัน เป็นผู้นำดนตรีในแนวซัลซามาพัฒนาให้เป็น มามโบจนเกิดความนิยม จนได้รับฉายาว่า "ราชาแห่งมามโบ" (Mambo King) เปเรซ ปราโดเกิดที่คิวบา เริ่มหัดเล่นเปียโนคลาสสิกและออร์แกนมาตั้งแต่เด็ก และเริ่มทำงานเป็นนักดนตรีให้กับวงออร์เคสตราที่เล่นในคาสิโนในฮาวานา ที่ซึ่งเขาเริ่มนำดนตรีแมมโบมาเล่นในคลับ เมื่อเปเรซ ปราโด ย้ายไปอยู่ที่เม็กซิโกในปี ค.ศ. 1948 เขาเริ่มบันทึกแผ่นเสียงในสังกัด อาร์ซีเอวิกเตอร์ และทำให้ดนตรีแมมโบเป็นที่นิยมในวงกว้าง และข้ามฝั่งไปในสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1951 ลักษณะเด่นของดนตรีมามโบของปราโด คือ ใช้แซกโซโฟนให้จังหวะ และใช้เครื่องเป่าทองเหลือง (ทรอมโบนและทรัมเปต)ให้ทำนอง มีเปียโน กลอง และเครื่องเคาะเป็นส่วนประกอบ ตอนกลางเพลง เปเรซ ปราโด จะเปล่งเสียงว่า ugh เป็นภาษาละตินซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษว่า say it โดยเพลงที่มีชื่อเสียงของเขา ได้แก่เพลง Mambo No.5, เพลง Mambo No.8, เพลง Patricia และเพลง Cherry Pink (and Apple Blossom White) ซึ่งขึ้นถึงอันดับหนึ่งจากการจัดอันดับของนิตยสารบิลบอร์ด ประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1955 นอกจากนี้ยังมีเพลง "Qué rico el mambo" ที่ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "Mambo Jambo" เปเรซ ปราโดเสียชีวิตจากอาการหัวใจวายที่บ้านพักในเม็กซิโกซิตี ด้วยวัย 72 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเปเรซ ปราโด · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 มิถุนายน

วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ11 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ11 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มิถุนายน

วันที่ 16 มิถุนายน เป็นวันที่ 167 ของปี (วันที่ 168 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 198 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ16 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ17 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

2 ตุลาคม

วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ2 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2001 จอมจักรวาล (นวนิยาย)

2001 จอมจักรวาล (2001: A Space Odyssey) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ในชุด จอมจักรวาล ของ อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก เกี่ยวกับการเดินทางไปยังดาวเสาร์ของมนุษย์ในปี ค.ศ. 2001 นวนิยายเรื่องนี้ อาร์เทอร์ ซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ2001 จอมจักรวาล (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ22 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ24 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤษภาคม

วันที่ 26 พฤษภาคม เป็นวันที่ 146 ของปี (วันที่ 147 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 219 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ26 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มกราคม

วันที่ 27 มกราคม เป็นวันที่ 27 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 338 วันในปีนั้น (339 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ27 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 ตุลาคม

วันที่ 29 ตุลาคม เป็นวันที่ 302 ของปี (วันที่ 303 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 63 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ29 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ3 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

51 (แก้ความกำกวม)

 51 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ51 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ6 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ7 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 มกราคม

วันที่ 9 มกราคม เป็นวันที่ 9 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 356 วันในปีนั้น (357 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ9 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พ.ศ.2494ค.ศ. 1951

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »