โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2449

ดัชนี พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

336 ความสัมพันธ์: บัลปาราอิโซบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ฟิลิป จอห์นสันพ.ศ. 2391พ.ศ. 2506พ.ศ. 2510พ.ศ. 2518พ.ศ. 2520พ.ศ. 2522พ.ศ. 2532พ.ศ. 2547พ.ศ. 2557พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระราชวังเดิมพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุชพระวิเชียรกวี (ฉัตร อินฺทสุวณฺโณ)พระอภิเนาว์นิเวศน์พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พระที่นั่งวิมานเมฆพระที่นั่งอัมพรสถานพระครูญาณสาคร (แฉ่ง สีลปญฺโญ)พระครูภาวนาภิรัต (ทิม อิสริโก)พระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร)พระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ)พระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม ฐานุสฺสโก)พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)พีระมิดเตติพ่อท่านเอื้อม กตฺปฺญฺโญกองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์...กองทัพเรือไทยกามนิตกุสตาฟ มาห์เลอร์กีฬาโอลิมปิกซ้อน 1906ภาพยนตร์ภาพเหมือนตนเองมหาวิทยาลัยซีหนานมหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมาลัย ชูพินิจมาเรียแห่งเท็คมณฑลเทศาภิบาลม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ระบบสี่สภารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยราชวงศ์ชิงราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายชื่อธงในประเทศอิหร่านรายชื่อธงในประเทศอินเดียรายชื่อธงในประเทศจาเมการายชื่อธงในประเทศคอสตาริการายชื่อธงในประเทศไนจีเรียรายชื่อนามปากการายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์ตูนิเซียรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิงรายพระนามจักรพรรดิจีนรายพระนามจักรพรรดินีจีนรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสรายนามประธานาธิบดีคอสตาริการายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์กรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีรถไฟฟ้าปารีส สาย 5รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงินลิ่นจีนลุดวิก โบลทซ์มันน์วลาดีมีร์ เลนินวัดพระธาตุนารายณ์เจงเวงวัดสมณานัมบริหารวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)วัดจีนประชาสโมสรวัดดงสระแก้ววัดปากอ่าวบางตะบูนวัดโพธิสมภรณ์วังลดาวัลย์วังปารุสกวันวังเบลนิมวาเลนเซีย (แก้ความกำกวม)วิกตอร์ วาซาเรอลีวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนวิจิตร ลุลิตานนท์วงศ์ปลาวัวศาสนาพุทธในเกาหลีสกุลออรีเซียสสมเด็จพระราชาธิบดีฟัยศ็อล บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูดสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์กสรรเสริญธงมังกรสวนสัตว์ย่างกุ้งสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1906สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1906สะพานชุดเฉลิมสายเบเคอร์ลูสโมสรฟุตบอลยูเวนตุสสโมสรฟุตบอลโตรีโนสโมสรฟุตบอลเชลซีหมาป่าเคราขาวหม่อมหลวงต้อย ชุมสายหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลกหม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพลหม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากรหม่อมเจ้าทองประทาศรี ทองใหญ่หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากรหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์หม่อมเจ้าเผ่าเพ็ญพัฒน์ เพ็ญพัฒน์อริสโตเติล โอนาซิสอัลฟาโรเมโออัลเบิร์ต ฮอฟมานน์อามาร์ โชนาร์ บังกลาอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรียอาร์แซน ลูแปงอาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนียอาสนวิหารบลัวอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมลอาสนวิหารมงเปอลีเยอาสนวิหารลารอแชลอาสนวิหารลูว์ซงอาสนวิหารวีวีเยอาสนวิหารอารัสอาสนวิหารอานซีอาสนวิหารอ็อชอาสนวิหารปามีเยอาสนวิหารนิสอาสนวิหารนีมอาสนวิหารน็องซีอาสนวิหารแรนอาสนวิหารแวร์ซายอาสนวิหารแอร์อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์อาสนวิหารแปร์ปีญ็องอำเภอบ้านโพธิ์อำเภอกำแพงแสนอำเภอกุยบุรีอำเภอหัวหินอำเภอทุ่งสงอำเภอปราณบุรีอำเภอปายอำเภอโคกโพธิ์อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์อินโดจีนของฝรั่งเศสอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สองผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)จักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดินีวั่นหรงจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดินิยมในเอเชียจังหวัดพระตะบองจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดปัจจันตคิรีเขตรจังหวัดนราธิวาสจังหวัดเลยจาโกโม ปุชชีนีธงชาติบรูไนดารุสซาลามธงชาติสวีเดนธงชาติสาธารณรัฐจีนธงชาติคอสตาริกาธงพระอิสริยยศในประเทศอิหร่านธนาคารพาณิชย์ธนาคารไทยพาณิชย์ถงเหมิงฮุ่ยทองอินทร์ ภูริพัฒน์ทางรถไฟสายพระพุทธบาทที. เอช. ไวท์ที่สุดในประเทศไทยดมีตรี ชอสตโกวิชความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคองเงอซังเงินคุโจ มิชิตะกะคุโจ ฮิซะตะดะคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติงูอนาคอนดางูอนาคอนดายักษ์ตราแผ่นดินของคอสตาริกาซามูเอล เบ็คเค็ทท์ประเทศบรูไนประเทศฟินแลนด์ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1906ประเทศมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 1906ประเทศวานูอาตูประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1906ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1906ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1906ประเทศจีนใน ค.ศ. 1906ประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1906ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1906ประเทศโครเอเชียใน ค.ศ. 1906ประเทศไทยใน พ.ศ. 2449ประเทศไซปรัสใน ค.ศ. 1906ประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1906ประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1906ประเทศเซอร์เบียใน ค.ศ. 1906ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1906ปลาบ้า (สกุล)ปลากะพงขาว (สกุล)ปลากะพงข้างปานปลาสลิดหินม้าลายปลาหมอ (สกุล)ปลาหมอฟรอนโตซ่าปลาอินซีเน็ตขาวปลาอินซีเน็ตดำปลาแลมป์เพรย์ปอล ดูแมร์ปีแยร์ กูว์รีนิคมช่องแคบแบงท์ เอ็ดเลียนแอร์เนสโต เชซะโรแองเคอร์สะเวห์แอนสท์ รัสกาแอโรเพลนเจลลีแฮร์มันน์ เฮสเซอโม่ สัมบุณณานนท์โรคอัลไซเมอร์โรงเรียนบำรุงวิทยาโรงเรียนพิชัยรัตนาคารโรงเรียนราชินีโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพโรงเรียนสารคามพิทยาคมโรงเรียนสตรีวิทยาโรงเรียนผดุงดรุณีโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์โรงเรียนนายเรือโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์โอฟีเลีย (มิเล)โอลิมปิกฤดูร้อน 2012โอแคนาดาโจซูเอ คาร์ดุชชีโซชีเอตาสปอร์ตีวากัลโชนาโปลีไฟเซอร์ไรเฟิล .30 – 06ไทม์สแควร์ไคลด์ ทอมบอเพลงชาติเพลงสรรเสริญพระบารมีเพลงสรรเสริญธงชาติบราซิลเพลงของหลี่ฮงชานเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเส้นเวลาของยุคใหม่เหตุการณ์แดรฟุสเอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์เอมีล ลูแบเอ็ด กีนเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอเจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซียเจ้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย (2449-2483)เจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าชายโทะชิฮิโตะ คุโจเจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปางเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงมาเรีย แอนนันซิเอตาแห่งซิซิลีทั้งสองเจ้าหญิงลูอีสแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลนเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู)เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5เทียนวรรณเขตการปกครองของประเทศไทยเงาะป่า (วรรณคดี)เต่าหับเอเชียเต่าหัวค้อนเนชันนัลเอมเบลม1 เมษายน13 มิถุนายน15 พฤศจิกายน17 ตุลาคม18 เมษายน1906 (แก้ความกำกวม)2 กรกฎาคม20 พฤศจิกายน21 กุมภาพันธ์22 ตุลาคม22 เมษายน23 มีนาคม25 กันยายน25 เมษายน27 พฤษภาคม27 กรกฎาคม29 พฤษภาคม30 สิงหาคม4 เมษายน5 พฤศจิกายน5 กันยายน6 มกราคม7 เมษายน8 กรกฎาคม9 มีนาคม ขยายดัชนี (286 มากกว่า) »

บัลปาราอิโซ

ัลปาราอิโซ (Valparaíso, "หุบเขาสวรรค์") เป็นหนึ่งในเมืองท่าที่สำคัญที่สุดและศูนย์กลางวัฒนธรรมที่เริ่มมีชีวิตชีวาขึ้นเรื่อย ๆ ของประเทศชิลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ เป็นเมืองหลักของแคว้นบัลปาราอิโซ โดยในขณะที่ซานเตียโกเป็นเมืองหลวงของประเทศนั้น บัลปาราอิโซก็มีความสำคัญในฐานะเป็นที่ตั้งรัฐสภา ซึ่งเมืองนี้ก็เช่นเดียวกับเมืองอื่น ๆ ในชิลีที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวครั้งใหญ่เกิดขึ้นล่าสุดในปี ค.ศ. 1906 ได้ทำลายตัวเมืองและคร่าชีวิตผู้คนไปกว่า 20,000 ราย ในปี ค.ศ. 2003 รัฐสภาชิลีได้มีมติประกาศให้บัลปาราอิโซเป็น "เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของชิลี" และเป็นที่ตั้งของสำนักงานกระทรวงวัฒนธรรมแห่งใหม่ของประเทศ แม้ว่าจริง ๆ แล้วเมืองนี้จะเป็นเพียงเมืองใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของประเทศ โดยมีจำนวนประชากร 263,499 คน แต่เมื่อรวมกับพื้นที่ปริมณฑล (เช่นเมืองพักตากอากาศบิญญาเดลมาร์) แล้ว เขตมหานครกรันบัลปาราอิโซ (Gran Valparaíso) จะใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ (จำนวนประชากร 803,683 คน) บัลปาราอิโซตั้งอยู่ทางตอนกลางของชิลี ห่างจากกรุงซานเตียโกไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 120 กิโลเมตร การเดินทางระหว่างสองเมืองนี้ใช้เวลาประมาณ 70 นาที เมืองนี้ยังเป็นศูนย์กลางการศึกษาของประเทศอีกด้วย เนื่องจากมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึง 9 แห่ง รายได้หลักของเมืองมาจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว วัฒนธรรม และการขนส่ง ท่าเรือของเมืองยังเป็นศูนย์กลางการเดินเรือบรรทุกขนส่งสินค้า และส่งออกไวน์ ทองแดง และผลไม้สด บัลปาราอิโซมีบทบาทสำคัญทางภูมิศาสตร์การเมืองในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเป็นที่พักกลางทางของเรือที่เดินทางระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกผ่านทางช่องแคบมาเจลลัน ชาวยุโรปได้อพยพเข้ามาอย่างมาก บัลปาราอิโซในขณะนั้นได้รับการขนานนามจากกะลาสีจากชาติต่าง ๆ ว่าเป็น "แซนแฟรนซิสโกน้อย" หรือ "อัญมณีแห่งแปซิฟิก" ซึ่งช่วงนี้เองที่ถือเป็นยุคทองของเมือง โดยตัวอย่างที่แสดงถึงความรุ่งเรืองของเมืองนี้ ได้แก่ ตลาดหุ้นที่เก่าแก่ที่สุดในภูมิภาคลาตินอเมริกา ห้องสมุดประชาชนแห่งแรกของชิลี และหนังสือพิมพ์ภาษาสเปน (ซึ่งพิมพ์ต่อเนื่องกัน) ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เป็นต้น จนกระทั่งการเปิดใช้คลองปานามาและความซบเซาของการเดินเรือได้ทำให้ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชะงักลง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และบัลปาราอิโซ · ดูเพิ่มเติม »

บุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์

ันโทบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ (21 เมษายน พ.ศ. 2449 - 29 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตนักธุรกิจและนายกเทศมนตรีเมืองกาญจนบุรี ผู้มีส่วนช่วยเหลือเชลยสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อดีตนักธุรกิจกิจการรถเมล์บุญผ่อง รถเมล์เอกชนวิ่งรับผู้โดยสารในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป จอห์นสัน

ฟิลิป คอร์เทลยู จอห์นสัน (Philip Cortelyou Johnson) (8 กรกฎาคม ค.ศ. 1906 - 25 มกราคม ค.ศ. 2005) เป็นสถาปนิกผู้ทรงอิทธิพลชาวอเมริกัน ที่มีผลงานสถาปัตยกรรมลักษณะ กระจกมีกรอบมน หนา จอห์นสันเป็นหนึ่งหนึ่งในผู้สร้างสรรค์ผลงานสถาปัตยกรรมมีชื่อเสียงมาหลายทศวรรษ เขาศึกษาที่บัณฑิตวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดด้านการออกแบบ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และฟิลิป จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2391 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

ระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)

ระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) เป็นพระภิกษุนิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกายชาวไทย ในบรรดาหมู่ผู้ศรัทธานับถือมักเรียกท่านด้วยชื่อ "หลวงพ่อวัดปากน้ำ" เนื่องจากท่านดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร) ท่านเป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะพระวิปัสสนาจารย์ผู้เป็นต้นกำเนิดของการปฏิบัติกรรมฐานพุทธานุสติที่เรียกว่า วิชชาธรรมกาย ซึ่งนับเป็นวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังเดิม

ท้องพระโรง พระราชวังกรุงธนบุรี (วังเดิม) พระราชวังกรุงธนบุรี หรือ พระราชวังเดิม เป็นพระราชวังหลวงในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ ในเขตที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมวิไชยเยนทร์ ที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตำแหน่งของพระราชวังเดิมเป็นจุดสำคัญทางยุทธศาสตร์ สามารถสังเกตการณ์ได้ในระยะไกล อีกทั้งยังใกล้กับเส้นทางคมนาคม และเส้นทางการเดินทัพที่สำคัญ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงโปรดให้สร้างพระราชวังนี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2310 ภายหลังจากที่ทรงกอบกู้เอกราชให้ชาติไทย เพื่อใช้เป็นที่ประทับและว่าราชการ เมื่อทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี พร้อมกับปรับปรุงป้อมวิไชยเยนทร์ และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นป้อมวิไชยประสิทธิ์ เดิมพระราชวังแห่งนี้มีอาณาเขต ตั้งแต่ป้อมวิไชยประสิทธิ์ขึ้นมาจนถึงคลองเหนือวัดอรุณราชวราราม (คลองนครบาล) โดยรวมวัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) และวัดท้ายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) เข้าไปในเขตพระราชวังเดิม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ ได้ทรงย้ายราชธานีมาอยู่ฝั่งพระนคร โดยสร้างพระบรมมหาราชวังขึ้นเป็นที่ประทับ พระราชวังกรุงธนบุรี (พระราชวังเดิม) จึงได้ชื่อว่า "พระราชวังเดิม" ตั้งแต่บัดนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงกำหนดเขตวังให้แคบกว่าเดิม โดยให้วัดทั้งสองที่กล่าวแล้วคือ วัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) และวัดโมลีโลกยาราม (วัดท้ายตลาด) อยู่ภายนอกพระราชวัง และ นอกจากนี้ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์ชั้นสูงที่ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยมาประทับที่นี่ อันเนื่องจากเห็นว่าพระราชวังนี้มีความสำคัญทางด้านทำเลที่ตั้ง ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระราชวังเดิม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าชิด พนมวัน ทรงประสูติเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2362 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร ที่ประสูติแต่หม่อมน่วม พนมวัน ณ อยุธยา และในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช · ดูเพิ่มเติม »

พระวิเชียรกวี (ฉัตร อินฺทสุวณฺโณ)

ระวิเชียรกวี (ฉัตร อินฺทสุวณฺโณ) ท่านเกิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2429 ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรของนายเคลือบ รอดประพันธ์ เกิด ณ ตำบลบางประทุน อำเภอบางขุนเทียน จังหวัดธนบุรี (ฝั่งธนบุรี)ในปัจจุบัน อุปสมบทเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 ณ พัทธสีมาวัดราชโอรสารามโดยมี หลวงปู่เอี่ยมอดีตเจ้าอาวาสวัดหนัง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูธีรานันทมุนี (ภู) แห่งวัดดาวคะนอง แต่ครั้งนั้นยังเป็นพระอธิการ กับพระพิมลธรรม (นาค) แห่งวัดอรุณราชวาราม แต่ครั้งยังเป็นพระศรีสมโพธิอยู่วัดสุทัศเทพวราราม เมื่ออุปสมบทได้ศึกษากับพระวิเชียรกวี (เชย) และ พระราชโมลี (บัว) พระวิสุทธิโสภณ (โพ) แห่งวัดมหรรพาราม นายแปลก สิริเดชธรรม แต่ครั้งยังอุปสมบทเป็นภิกษุ อยู่ ณ วัดพระเชตุพนบ้าง แต่ที่ได้ศึกษาเป็นพื้นแลนานนั้นคือ ในสำนักสมเด็จพระวันรัต (เขมจารี) แห่งวัดมหาธาตุ พ.ศ. ๒๔๕๓ สอบไล่ได้บาลีประโยค ๓ พ.ศ. 2455 สอบไล่ได้บาลีประโยค ๔ พ.ศ. ๒๔๕๗ สอบไล่ได้ประโยค ๕ ท่านได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส วัดหนังราชวรวิหารเมื่อปี พ.ศ. 2469 สืบต่อจาก พระภาวนาโกศลเถระ (เอี่ยม สุวณฺณสโร) ในยุคแรก ปูชนียสถานเสนาสนะและสิ่งอุปกรณ์ของวัด ท่านเจ้าคุณ พระภาวนาโกศลเถร (เอี่ยม) ปฏิสังขรณ์ก่อสร้างขึ้นไว้ สำเร็จบริบูรณ์ดีแล้ว แต่ต้องคอยระวังไว้และซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ใหม่ให้ดียิ่งขึ้น เมื่องานบูรณปฏิสังขรณ์ ยังไม่เป็นภาระ แก่หลวงพ่อมากนัก หลวงพ่อเจ้าคุณพระวิเชียรกวี ก็เริ่มงานการศึกษา มีการเปิดสอนบาลี และนักธรรม เป็นการวางรากฐานการศึกษา และแก้ไข ปรับปรุงระเบียบ แบบแผนกฎข้อบังคับของวัดให้เป็นที่เรียบร้อย หลวงพ่อเจ้าคุณพระวิเชียรกวี เป็นพระเถระที่มั่นคงในเพศสมณะจนตราบเท่าอายุขัย มีพลานุภาพทางจิตสูง เมือคิดว่าจะทำอะไรจะต้องใช้วิริยะอุตสาหะอันแรงกล้าให้งานนั้น ๆ สำเร็จสมความประสงค์ ท่านถึงแก่มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2503 รวมสิริอายุได้ 74 ปี 54 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระวิเชียรกวี (ฉัตร อินฺทสุวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระอภิเนาว์นิเวศน์

ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายภาพ ณ พระอภิเนาว์นิเวศน์ พระอภิเนาว์นิเวศน์ เป็นพระราชมนเทียร (เรือนหลวง) ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง โดยทรงเลือกบริเวณที่เรียกว่า "สวนขวา" เป็นที่จัดสร้างพระราชมนเทียรขึ้นใหม่ สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมของชาติตะวันตก ทั้งนี้เพื่อจะใช้เป็นที่ต้อนรับแขกบ้านแขกเมื่อและเป็นที่แสดงเครื่องบรรณาการที่ประเทศแถบยุโรปส่งมาถวาย และเป็นพระเกียรติยศของพระองค์อีกประการหนึ่ง พระราชมนเทียรแห่งนี้เป็นสถานที่สำคัญในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากใช้เป็นที่ประทับ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองของพระองค์ ประกอบด้วย พระที่นั่ง 8 องค์ และหอ 3 หอ รวมทั้งหมด 11 หลัง แต่การตั้งนามพระที่นั่งและอาคารต่าง ๆ นั้น ได้รวมเอานามพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาทและพระที่นั่งไชยชุมพลเข้ามาเป็นหมู่พระที่นั่งเดียวกันด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้ประทับ ณ หมู่พระอภิเนาว์นิเวศน์ ประกอบกับพระราชมนเทียรแห่งนี้สร้างด้วยเครื่องไม้ประกอบอิฐ ปูนเป็นหลัก เมื่อเวลาผ่านไปจึงผุกร่อนจนต้องรื้อลงเกือบทั้งหมดและปรับพื้นที่เป็นสวนดังเช่นปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม นามของพระที่นั่งภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์บางองค์ก็นำไปใช้เป็นนามพระที่นั่งองค์ต่าง ๆ ในภายหลัง เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายในพระราชวังดุสิต, พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระอภิเนาว์นิเวศน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งวิมานเมฆ

ระที่นั่งวิมานเมฆ เป็นพระที่นั่งในพระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระที่นั่งวิมานเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอัมพรสถาน

ระที่นั่งอัมพรสถาน ก่อนการบูรณะ พระที่นั่งอัมพรสถาน เป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชวังดุสิต ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระที่นั่งอัมพรสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พระครูญาณสาคร (แฉ่ง สีลปญฺโญ)

ระครูญาณสาคร (แฉ่ง สีลปญฺโญ) เป็นเจ้าคณะสงฆ์ตำบลบางตะบูน อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ชื่อเดิมว่า แฉ่ง สำเภาเงิน เป็นพระเกจิเถราจารย์ที่เป็นที่เคารพนับถือที่มีชื่อเสียงรูปหนึ่งของ จังหวัดเพชรบุรี ร่วมสมัยกับพระเกจิอาจารย์ผู้มีชื่อเสียงในสมัยยุคก่อน พ.ศ. 2500 แล้ว ท่านยังได้ดำรงตนเป็นผู้สมถะ มักน้อยสันโดษ ไม่ปรารถนาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระครูญาณสาคร (แฉ่ง สีลปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูภาวนาภิรัต (ทิม อิสริโก)

หลวงปู่ทิม อิสริโก หรือ พระครูภาวนาภิรัต (16 มิถุนายน พ.ศ. 2422 — 16 ตุลาคม พ.ศ. 2518) ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดละหารไร่เป็นยอดพระคณาจารย์ที่มีพลังจิตแก่กล้ารูปหนึ่งของภาคตะวันออก ท่านเป็นคนถือสันโดษ ถือสมถะ ไม่ยึดติดทรัพย์สินใดๆ ท่านฉันอาหารเพียงมื้อเดียวและไม่ฉันเนื้อสัตว์ ท่านสามารถตัดกิเลสออกไปทั้งปวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระครูภาวนาภิรัต (ทิม อิสริโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร)

ระครูรัตนสราธิคุณ หรือ หลวงพ่อทอง รัตนสาโร (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2523) อดีตเจ้าคณะอำเภอสระแก้ว พระอาจารย์ผู้บุกเบิกวัดสระแก้วด้วยความลำบากตรากตรำอย่างยิ่ง ท่านได้บูรณะซ่อมแซมปฏิสังขรณ์วัดเมื่อครั้งสมัยสงครามอินโดจีนติดต่อกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงเวลาที่ข้าวยากหมากแพง ชาวบ้านยากจน มีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ท่านได้ให้พระภิกษุในวัดถางไร่เพื่อปลูกข้าวและปลูกพืช จนได้ข้าวปลาอาหารเลี้ยงพระภิกษุสามเณรในวัด เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของชาวบ้าน ปัจจุบันท่านได้เกณฑ์พระภิกษุ สามเณร เด็กวัด และ ชาวบ้านร่วมกันปลูกอ้อย ปลูกข้าวโพด และพืชยืนต้นต่าง ๆ ในสวนที่นายเว่าและนางตื้อถวายแก่วัด เพื่อนำผลประโยชน์มาบำรุงวัดต่อไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ)

ระครูประสาธน์ขันธคุณ หรือที่พุทธศานิกชนชาวศรีสะเกษและชาวไทยรู้จักโดยทั่วไปในนาม หลวงปู่มุม หรือ หลวงพ่อมุม เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดปราสาทเยอเหนือ อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ บรรพชาเป็นสามเณรตั้งแต่ยังเด็กและอุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุ 20 ปี แล้วดำรงอยู่ในสมณเพศตลอดชีวิตจนมรณภาพ เป็นพระภิกษุผู้ถือเคร่งทางธรรมปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน ได้ฝึกเดินธุดงค์ไปตามป่าเขาในบริเวณเทือกเขา พนมดงเร็ก เขตจังหวัดทางภาคอีสานตอนล่าง ของประเทศไทย และเดินธุดงค์เข้าไปในประเทศกัมพูชาจำพรรษาอยู่ในประเทศกัมพูชาหลายปี หลังจากนั้นจึงได้กลับมาจำพรรษาอยู่ที่วัดปราสาทเยอเหนือ บ้านเกิด ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีกลุ่มชาติพันธุ์เยอ ตั้งถิ่นฐานอยู่ จากความสมถะ มักน้อย สันโดษและเคร่งครัดในวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ทำให้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของพุทธศานิกชนทั่วไป และที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วประเทศก็คือความศรัทธาในวัตถุมงคลกลุ่มที่ชื่อ พระหลวงพ่อมุม ซึ่งท่านได้เคยสร้างและทำพิธีปลุกเสกด้วยตัวเอง โดยพิธีพุทธาภิเษกแบบเขมรโบราณ ทั้งยังเป็นผู้มีส่วนร่วมบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ในบวรพระพุทธศาสนาและเพื่อสังคมไว้มหาศาล ถือป็น ปูชนียบุคคล ที่ควรกราบไหว้บูชาสักการะของปวงชนทั่วๆ ไป หลวงปู่มุม ยังเป็นหนึ่งในพระเถระผู้ร่วมประกอบพิธีพุทธาภิเษก พระกริ่งมหาราช ระหว่างวันที่ 3 ธันวาคม - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2512 ซึ่งวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือวัดโพธิ์ จัดสร้างขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงได้รับการเทิดทูนอย่างสูงสุดจากปวงชนชาวไทย โดยการถวายพระบรมราชสมัญญานาม มหาราช ต่อท้ายพระปรมาภิไธย อนึ่ง วัดปราสาทเยอเหนือ เป็นวัดโบราณมีอายุเก่าแก่ที่สุดวัดหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษหรือจังหวัดขุขันธ์ ในอดีต วัดแห่งนี้ได้รับการก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 1313 หรือราวต้นพุทธศตวรรษที่ 14 ตั้งแต่สมัยทวารวดีและสมัยขอม อันเป็นช่วงเวลาก่อนการตั้งเมืองศรีนครลำดวน (ต้นเค้าเมืองขุขันธ์ที่พัฒนามาเป็นจังหวัดขุขันธ์และจังหวัดศรีสะเกษ) ใน พ.ศ. 2302 กรมศิลปากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม ฐานุสฺสโก)

ระครูเกษมธรรมนันท์ หรือ หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม (6 มีนาคม พ.ศ. 2449 — 9 ธันวาคม พ.ศ. 2536) ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม อำเภอดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ท่านเป็นพระสุปฏิปันโนอีกรูปหนึ่งแห่งเมืองนครปฐม และท่านเป็นผู้ที่สืบต่อการดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอมต่อจากหลวงพ่อเงิน และวัตถุมงคลของท่านแต่ละรุ่นล้วนน่าบูชาและเคราพนับถือ และท่านเป็นผู้ที่ประชาชนให้ความเคราพนับถืออีกรูปหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม ฐานุสฺสโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

มหาอำมาตย์ตรี พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) (พ.ศ. ๒๔๐๑ - พ.ศ. ๒๔๖๑) กรมการพิเศษเมืองมหาสารคาม มณฑลร้อยเอ็จและที่ปรึกษาราชการเมืองมหาสารคาม อดีตเจ้าเมืองวาปีปทุมคนสุดท้าย (องค์ที่ ๒) อดีตเจ้าเมืองมหาสารคามคนสุดท้าย (องค์ที่ ๔) อีกทั้งเคยดำรงตำแหน่งข้าหลวงกำกับราชการเมืองมหาสารคาม ผู้ว่าราชการเมืองมหาสารคามท่านแรก นายอำเภอวาปีปทุมท่านแรก รวมถึงมีศักดิ์เป็นบุตรเขยและหลานลุงของพระเจริญราชเดชวรเชษฐ์มหาขัติยพงศ์ (กวด) เจ้าเมืองมหาสารคามคนแรก อนึ่ง พระเจริญราชเดช (อุ่น) เป็นต้นสกุลและได้รับพระราชทานนามสกุล ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม ซึ่งเป็นหนึ่งในสกุลหัวเมืองอีสานที่มีชื่อเสียงของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ ประสูติวันพุธ เดือน 12 ขึ้น 5 ค่ำ ปีขาล ฉศก จุลศักราช 1216 ตรงกับวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2397 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวลำดับที่ 2 ใน เจ้าจอมมารดาแพ ธรรมสโรช สิ้นพระชนม์ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะเมีย อัฐศก จุลศักราช 1268 ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2449 พระชันษา 52 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรฯ (8 ตุลาคม พ.ศ. 2337 - 27 เมษายน พ.ศ. 2399) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 11 ขึ้น 14 ค่ำ ปีขาล ฉศก จุลศักราช 1156 ตรงกับวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2337 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาศิลา ณ บางช้าง ธิดาในขรัวยายฟักทอง ราชินิกุล ณ บางช้าง (ขรัวยายฟ้กทองนั้นมีบิดานาม ขุนสนิทภิรมย์ ซึ่งเป็นบุตรชายท่านยายเจ้ามุก ส่วนมารดาคือท่านยายเชียง บุตรสาวของท่านตาเจ้าแทนและท่านเจ้ามุก โดยเจ้าแทนมีศักดิ์เป็นพระชนกทอง หรือพระชนกของ สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ในรัชกาลที่ 1) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรฯ ทรงเป็นต้น ราชสกุล "พนมวัน" พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิพิธภูเบนทร และได้ทรงกำกับกรมพระนครบาล ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2375 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น กรมขุนพิพิธภูเบนทร และโปรดเกล้าฯ ให้กำกับกรมคชบาล ต่อมาในรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ เลื่อนกรมขึ้นเป็นกรมพระพิพิธโภคภูเบนทร นเรนทรสุริยวงศ์ อิศวรพงศพรพิพัฒนศักดิรัตนธำรง คุณาลงกฎเกียรติวิบุลย อดุลยเดชบพิตร ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2394 กรมพระพิพิธฯทรงกำกับ กรมพระนครบาล (เวียง) ระหว่างรัชกาลที่ 2 ถึงรัชกาลที่ 3 โดยมีการโปรดฯ ให้กำกับกรมพระคชบาลเพิ่มอีกหนึ่งกรมอีกด้วย โดยกรมทั้งสองต่างเป็นกรมสำคัญที่มีผู้คนสังกัดมากทั้งสองกรม ทรงประทับอยู่ที่วังท้ายหับเผย (วังที่ 1) และสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ เดือน 5 แรม 8 ค่ำ ปีมะโรง อัฐศก จุลศักราช 1218 ตรงกับวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2399 พระชันษา 62 ปี ณ เดือน 4 ขึ้น 11 ค่ำ วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา (Her Royal Highness Princess Oradaya Debkan ya) (18 กันยายน พ.ศ. 2402 - 4 เมษายน พ.ศ. 2449) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาบัว ธิดาเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ในจำนวนพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมเจ้าจอมมารดาอีก 4 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี (18 กันยายน พ.ศ. 2395 — 13 กันยายน พ.ศ. 2449) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ และเป็นพระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวงพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติกาลพระราชบุตร แต่เมื่อมีพระประสูติกาล พระราชบุตรพระองค์นั้นก็ได้สิ้นพระชนม์ไปอย่างกระทันหันภายในเวลาอันสั้น พระองค์เจ้าทักษิณชาทรงเสียพระทัยยิ่งนักจนสูญเสียพระจริตในเวลาต่อมา และมิสามารถสนองพระเดชพระคุณรับราชการฝ่ายในได้ต่อไป ทรงอยู่ในสภาพผู้ป่วยตลอดชีพตราบจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย

นายพันเอก มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยันตมงคล เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 77 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาห่วง ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 3 ขึ้น 14 ค่ำ ปีฉลูสัปตศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ. 2421 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) จางวางพิเศษพระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (ประสูติ 8 เมษายน ค.ศ. 1818 — สวรรคต 29 มกราคม ค.ศ. 1906) คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 (อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด; 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2384 – 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ประมุขแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเป็นพระประมุขพระองค์แรกและพระองค์เดียวของราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระองค์ทรงครองราชสมบัตินับตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2444 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ก่อนการเสวยราชสมบัติ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ และทรงมีลักษณะเด่นพิเศษที่เป็นรัชทายาทในรัชบัลลังก์ยาวนานกว่าใครในประวัติศาสตร์ของอังกฤษและสหราชอาณาจักร เป็นบันทึกสถิติที่เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์องค์ปัจจุบันไล่ตามมาอย่างรวดเร็ว รัชกาลของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ซึ่งเรียกว่า สมัยเอ็ดเวิร์ด (Edwardian Period) ทำให้เห็นถึงการยอมรับอย่างเป็นทางการครั้งแรกในการดำรงตำแหน่งหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระประมุขอังกฤษพระองค์แรกที่เสด็จเยือนประเทศรัสเซียเมื่อปี พ.ศ. 2451 ถึงแม้ว่าทรงปฏิเสธที่จะเสด็จเยือนในปี พ.ศ. 2449 (เพราะว่าโปรดสภาดูมามากกว่าซาร์) พระองค์ยังทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนากองทัพเรืออังกฤษให้ทันสมัยขึ้นและการปฏิรูปหน่วยการแพทย์ในกองทัพบกอังกฤษหลังจากสงครามบัวร์ครั้งที่สอง การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างอังกฤษกับนานาประเทศของทวีปยุโรป โดยเฉพาะประเทศฝรั่งเศส ของพระองค์ ซึ่งทำให้ทรงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางว่า "ผู้สร้างสันติภาพ" (Peacemaker) ได้ถูกทำให้ผิดแผกแปลกไปอย่างน่าเศร้าจากการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2457.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)

นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) เป็นนายทหารนักบินไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1 และอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดินคนแรก เดิมชื่อ "หลี" เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2438 ณ บ้านเลขที่ 6 ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ของนายคำและนางยวง สุวรรณานุช ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกในปีพุทธศักราช 2457 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนายร้อยตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้บังคับหมวดในกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 พุทธศักราช 2460 ได้สมัครเข้าเป็นกองทหารอาสาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตำแหน่งนายร้อยโท ผู้บังคับหมวดในกองย่อยรถยนต์ กองใหญ่รถยนต์ที่ 4 พุทธศักราช 2461 เดินทางไปราชการในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำการ ณ ประเทศฝรั่งเศส และด้วยที่มีใจรักทางการบิน จึงเข้าฝึกเป็นนักบินในโรงเรียนการบินทหารบกและโรงเรียนการทิ้งระเบิดแห่งประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2462 สำเร็จการฝึกเป็นนักบิน เข้าประจำการในกองทัพยึดดินแดนเมืองนอยสตาดท์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทำหน้าที่เป็นนักบินและผู้ทิ้งลูกระเบิด โดยปฏิบัติการอยู่ประมาณ 4 เดือน เมื่อสงครามสงบได้เดินทางกลับประเทศไทยแล้วย้ายสังกัดไปอยู่ กรมอากาศยานทหารบก ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด กองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งกรมอากาศยานทหารบกนี้ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” และได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนขยายหน่วยงานจนได้รับการยกฐานะเป็น “กองทัพอากาศ” ในปัจจุบัน พุทธศักราช 2464 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นเรืออากาศเอก ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับกองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2467 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงเทวัญอำนวยเดช” และเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2468 เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บังคับกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2469 เป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 2 กองบินใหญ่ที่ 3 ปีพุทธศักราช 2470 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศตรี และเป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 1 กองบินใหญ่ที่ 2 พุทธศักราช 2473 ประจำกองอากาศยานเพื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก พุทธศักราช 2474 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศโท พุทธศักราช 2475 เข้าศึกษาในโรงเรียนการบินขั้นสูง และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระเทวัญอำนวยเดช” พุทธศักราช 2476 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมอากาศยาน ฝ่ายธุรการ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองกรณี “กบฏบวรเดช” มีการใช้กำลังทหารต่อสู้กันระหว่างฝ่ายของ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กับฝ่ายรัฐบาลของคณะราษฎร เป็นผลให้นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ต้องพ้นจากราชการ และเปลี่ยนฐานะเป็น “นักโทษการเมือง” ต่อมา พุทธศักราช 2480 ได้มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองในกรณีดังกล่าว และพิจารณาให้กลับเข้ารับราชการ โดยให้ไปเป็นข้าราชการพลเรือนปฏิบัติงานในกระทรวงทบวงกรมอื่น พุทธศักราช 2481 ได้รับบรรจุเป็นเสมียนพนักงาน กองสหกรณ์ภาคใต้ กรมสหกรณ์ แล้วเข้าศึกษาในโรงเรียนการอบรมกรมสหกรณ์ที่ดิน หลังจากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานสหกรณ์จัตวา กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2482 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพนักงานสหกรณ์ตรี กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ประจำเขตอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พุทธศักราช 2489 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองขยายการสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2494 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสหกรณ์นิคม กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2495 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศปรับปรุงการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรม ให้มีการจัดตั้งกระทรวงการสหกรณ์ขึ้น และมี กรมสหกรณ์ที่ดิน เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด โดย นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอธิบดี พุทธศักราช 2496 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดิน โดยนับเป็นอธิบดีคนแรกเมื่อมีการประกาศแบ่งส่วนราชการนี้ขึ้น (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อหน่วยงานเป็น "กรมส่งเสริมสหกรณ์" สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) พุทธศักราช 2501 เกษียณอายุราชการเพื่อรับบำนาญ ในตอนปลายของชีวิต นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ใช้เวลาอยู่กับการปลูกและดูแลต้นไม้ซึ่งเป็นสิ่งที่รักเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาสุขภาพทรุดโทรมลง และเริ่มมีอาการป่วยจนถึงแก่กรรมในที่สุดจากเหตุตับวาย ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พุทธศักราช 2514 เวลา 19.05 นาฬิกา สิริอายุ 76 ปี 6 เดือน จัดการพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดเตติ

ีระมิดเตติ เป็นพีรามิดแบบเรียบตั้งอยู่ในเขตพีระมิดซักการา เป็นที่รู้จักของพีรามิดของพระราชินีสองพระองค์โดยรู้จากทางดาวเทียม พีระมิดถูกเปิดโดยแกนสตอน แมสโปร์ ในปีค.ศ. 1882 เป็นการสำรวจที่ซับซ้อนเนื่องจากโครงสร้างของพีระมิดตั้งแต่ปีค.ศ. 1907 ถึง ค.ศ. 1965 ปัจจุบันสถานที่นี้เหมือนเนินเขาเล็ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพีระมิดเตติ · ดูเพิ่มเติม »

พ่อท่านเอื้อม กตฺปฺญฺโญ

อท่านเอื้อม (15 กันยายน พ.ศ. 2449 — 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557) ท่านเป็นพระคณาจารย์อีกรูปหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมราช ทางด้านอิทธิปาฏิหาริย์ ทางด้านคงกระพัน เมตตามหานิยม นับเป็นพระคณาจารย์อีกท่านหนึ่งที่มีอายุยืนยาวถึง 5 แผ่นดินคือ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และพ่อท่านเอื้อม กตฺปฺญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ มีต้นกำเนิดจากกองทหารอินยิเนียใน พ.ศ. 2418 โดยขึ้นตรงต่อกรมทหารมหาดเล็ก ผ่านการแปรสภาพหน่วยมาหลายครั้ง จนมาใช่ชื่อหน่วยในปัจจุบัน นับตั้งแต่ พ.ศ. 2496 เป็นต้นมา และจัดให้อยู่ในสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน หน่วยทหารหน่วยนี้เคยเข้าร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา เคยเข้าร่วมการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในยุทธการภูขวางใน พ.ศ. 2515 และมีบทบาทในภารกิจด้านการบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ หลายครั้ง ปัจจุบันนี้มีที่ตั้งหน่วยอยู่ที่ เลขที่ 471 หมู่ 3 แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และกองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือไทย

กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร. กร.) หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ (นสร. กร.) และหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (นย.).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และกองทัพเรือไทย · ดูเพิ่มเติม »

กามนิต

กามนิต (Der Pilger Kamanita) เป็นวรรณกรรมประเภทนวนิยายอิงพระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงมาก ประพันธ์ในปี ค.ศ. 1906 โดยคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป นักประพันธ์ชาวเดนมาร์ก ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1917 หนังสือกามนิตได้รับการยกย่องให้เป็นหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ฉบับภาษาไทยแปลโดยเสฐียรโกเศศ–นาคะประทีป ในปี พ.ศ. 2473 มีรูปประกอบโดยอาจารย์ช่วง มูลพินิจ โดยแปลจากฉบับภาษาอังกฤษ (The Pilgrim Kamanita) ซึ่งแปลมาจากต้นฉบับภาษาเยอรมัน (Der Pilger Kamanita) อีกทอดหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และกามนิต · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ มาห์เลอร์

กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และกุสตาฟ มาห์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิกซ้อน 1906

กีฬาโอลิมปิกซ้อน 1906 (1906 Intercalated Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายประเภทในระดับนานาชาติ จัดขึ้นที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ระหว่างวันที่ 22 เมษายน - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 ซึ่งอยู่ในระหว่างการตัดสินใจว่าจะกำหนดให้เป็นกีฬาโอลิมปิกหรือไม่ และเหรียญรางวัลที่มอบในการแข่งขันนี้ก็ไม่ได้รับการบันทึกจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และกีฬาโอลิมปิกซ้อน 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยซีหนาน

มหาวิทยาลัยซีหนาน (Southwest University:SWU) ตั้งอยู่ที่เขตเป่ยเป้ย มหานครฉงชิ่ง ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1906 ปัจจุบันมีนักศึกษากว่า 80,000 คน คณาจารย์ 2,650 คน เปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาต่างๆ หลายหลาก ครอบคลุม 336 หลักสูตร เฉพาะสาขาวิชาภาษาจีนนั้นมีการสอนถึงระดับปริญญาเอก จัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำอันดับต้นๆ ของประเทศ มีศักยภาพทางการวิชาการและวิจัยในระดับสูง และมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ นอกจากมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครันและตั้งอยู่ไม่ห่างจากใจกลางเมืองแล้ว มหาวิทยาลัยซีหนานยังมีสภาพแวดล้อมร่มรื่นงดงาม รายล้อมด้วยมีสิ่งปลูกสร้างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะและพรรณไม้นานาชนิด จนได้รับการขนานนามว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในฉงชิ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และมหาวิทยาลัยซีหนาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

มาลัย ชูพินิจ

มาลัย ชูพินิจ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2449 ที่บ้านริมแม่น้ำปิง ตำบลคลองสวนหมาก (ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนครชุม) อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นบุตรของ นายสอน และนางระเบียบชูพินิจ บิดาและมารดาประกอบอาชีพทางด้านการค้าไม้สักและไม้กระยาเลย เป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทย นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ครูมาลัย ใช้นามปากกา "แม่อนงค์" "น้อย อินทนนท์" "นายฉันทนา" เป็นต้น ในวัยเด็ก มาลัย ชูพินิจ เข้ารับการศึกษาชั้นต้นที่จังหวัดกำแพงเพชร จนจบชั้นประโยคประถมศึกษา เมื่ออายุประมาณ 10 ปี จึงเข้าไปศึกษาต่อในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ระดับสูงจนจบประโยคมัธยมศึกษา (ม.8) เมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และมาลัย ชูพินิจ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์

้าหญิงม็อดแห่งเวลส์ (ม็อด ชาร์ล็อต แมรี วิกตอเรีย ต่อมาทรงเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2412 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481) ทรงเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย และต่อมาทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ พระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระราชินีแห่งประเทศนอร์เวย์พระองค์แรกนับตั้งแต่ พ.ศ. 2405 ที่มิได้ทรงเป็นทั้งพระราชินีแห่งประเทศเดนมาร์กและประเทศสวีเดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสี่สภา

ระบบสี่สภา (Tetracameralism จากภาษากรีก tetra, สี่ + ละติน camera, สภาหรือหอ) หมายถึงการมีองค์นิติบัญญัติ 4 องค์หรือ 4 สภา แตกต่างกับระบบสภาเดียวและระบบสองสภาที่มีใช้กันมากที่สุด และระบบสามสภาที่พอมีใช้กันบ้าง รัฐบาลที่ใช้ระบบสี่สภามีใช้กันน้อยมาก สภาที่ปรึกษา (deliberative assemblies) ในสมัยสแกนดิเนเวียยุคกลาง ส่วนใหญ่ใช้ระบบสี่สภาโดยแบ่งเป็น 4 เอสเตท ได้แก่สภาชนชั้นสูง สภานักบวช สภาชาวเมืองและสภาชาวนา สภาริคส์แดก เอสเตท (Riksdag of the Estates) ของสวีเดนและฟินแลนด์ใช้ระบบนี้นานที่สุด โดยแบ่งองค์นิติบัญญัติออกเป็นสี่สภา ฟินแลนด์เมื่อครั้งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย ได้ใช้ระบบสี่สภามาจนถึง พ.ศ. 2449 ซึ่งเปลียนมาเป็นองค์นิติบัญญัติที่นับว่าทันสมัยที่สุดในขณะนั้นคือระบบสภาเดียวที่มีการให้สิทธิการออกเสียงเลือกตั้งแบบทั่วไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และระบบสี่สภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอิหร่าน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อธงในประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอินเดีย

งในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อธงในประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศจาเมกา

นื้อหาต่อไปนี้แสดงภาพธงต่างๆ ที่ใช้ในประเทศจาเมก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อธงในประเทศจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศคอสตาริกา

งในหน้านี้ เป็นธงที่มีการใช้และเคยใช้ในประเทศคอสตาริกาสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมของธงชาติ ดูที่ ธงชาติคอสตาริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อธงในประเทศคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศไนจีเรีย

ตารางข้างล่างแสดงเป็นภาพธงชนิดต่างๆ ที่ใช้ในประเทศไนจีเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อธงในประเทศไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนามปากกา

นี่คือรายชื่อนามปากก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อนามปากกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ตูนิเซีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามพระมหากษัตริย์ตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง

* พระนามเดิม จักรพรรดิราชวงศ์ทรงอยู่ในราชสกุล อ้ายซินเจว๋หลัว (อักษรจีนตัวย่อ: 爱新觉罗; อักษรจีนตัวเต็ม: 愛新覺羅; พินอิน: àixīn juéluó) แต่ตามปฏิบัติของชาวแมนจู การเรียกชื่อไม่จำเป็นต้องรวมนามสกุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิจีน

รายพระนามจักรพรรดิจีน รวมถึงรัชทายาทของประเทศจีนที่มีชื่อต่างๆ จากยุคโบราณ จนถึงราชวงศ์ชิง การปกครองมักจะถือกรรมสิทธิ์คือ กษัตริย์ (Chinese: 王 Wáng) มีการแบ่งแยกจีนในรัฐต่อสู้กันแยกเป็นสัดส่วน รายพระนามจักรพรรดิจีน มี ดังนี้ สำหรับลิงก์เหล่านี้เพื่อดูว่าเหล่าราชวงศ์มีความสัมพันธ์กัน ไดแก่ พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในยุคโบราณ → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงต้น → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงกลาง → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดินีจีน

ในจักรวรรดิจีน จักรพรรดินี เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในจักรพรรดิจีน และ จักรพรรดินีพันปีหลวง เป็นพระอิสริยยศของพระราชชนนีในจักรพรรดิจีนพระองค์ปัจจุบันหรือพระองค์ก่อน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามจักรพรรดินีจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามสมเด็จพระราชินี, สมเด็จพระราชินีนาถ และ เจ้าฟ้าชายพระราชสวามีแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส ('épouse du président de la République française) คือผู้ที่เป็นภรรยาประมุขแห่งรัฐ (ประธานาธิบดี) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสจำนวนทั้งสิ้น 25 คน ทั้งนี้ฝรั่งเศสไม่มีตำแหน่งสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแต่อย่างใด สุภาพสตรีคนล่าสุดคือบรีฌิต มาครง ภริยาแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดี เข้ารับตำแหน่งในวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก

นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งเดนมาร์กและเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรีแห่งเดนมาร์ก ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส สาย 5

รถไฟฟ้าปารีส สาย 5 (ligne 5 du métro de Paris) เป็นเส้นทางของรถไฟฟ้าปารีส มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 10 ของเส้นทาง โดยล้อขับเคลื่อนของเส้นทางในปัจจุบันคือ เอ็มเอฟ 67 และเอ็มเอฟ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรถไฟฟ้าปารีส สาย 5 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงิน

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงิน เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินของการคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์ วิ่งจากสถานีวันเดอร์แลนด์ ไปยังสถานีบาวโดอิน และเป็นเส้นทางเดียวที่เชื่อมต่อกับ ท่าอากาศยานนานาชาติโลแกน นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายอื่น ๆ เช่น สายสีส้ม กับสายสีเขียว และรถโดยสารประจำทางบอสตัน สายสีเงิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่นจีน

ลิ่นจีน (อังกฤษ: Chinese pangolin; 中華穿山甲; ชื่อวิทยาศาสตร์: Manis pentadactyla) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำพวกลิ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และลิ่นจีน · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิก โบลทซ์มันน์

ลุดวิก เอดูอาร์ด โบลทซ์มันน์ (Ludwig Eduard Boltzmann; 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1844 - 5 กันยายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ผู้มีชื่อเสียงจากการเป็นส่วนหนึ่งของการค้นพบด้านกลศาสตร์สถิติและอุณหพลศาสตร์สถิติ เป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ผู้คิดค้นทฤษฎีอะตอมในยุคที่แบบจำลองวิทยาศาสตร์ด้านอะตอมยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และลุดวิก โบลทซ์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวลาดีมีร์ เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุนารายณ์เจงเวง

วัดพระธาตุนารายณ์เจงเวง เป็นสถานที่ตั้งพระธาตุนารายณ์เจงเวง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 6 กิโลเมตร ตามถนนสายสกลนคร-อุดรธานี ตำบลธาตุนาเวง อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร พระธาตุนารายณ์เจงเวง สกลนคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวัดพระธาตุนารายณ์เจงเวง · ดูเพิ่มเติม »

วัดสมณานัมบริหาร

วัดสมณานัมบริหาร เป็นวัดมหายานในสังกัดคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ริมคลองผดุงกรุงเกษม แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นที่บรรจุอัฐิธาตุขององสรภาณมธุรส (บ๋าวเอิง) ซึ่งที่เคารพบูชาของบุคคลทั่วไป เดิมชื่อ วัดเกี๋ยงเพื้อกตื่อ ชาวญวนที่อพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นผู้สร้างขึ้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2449 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า วัดสมณานัมบริหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวัดสมณานัมบริหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)

วัดหนองโพธิ์ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 65 บ้านหนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 ถนนสุวรรณศร ตำบลหนองสรวง อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน 72 ตารงวากองพุทธสถาน, สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดจีนประชาสโมสร

วัดจีนประชาสโมสร (เล่งฮกยี่) (龍福寺) เป็นอารามที่ขยายมาจากวัดมังกรกมลาวาสในกรุงเทพมหานคร เริ่มสร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีพ.ศ. 2449 เป็นวัดจีนเก่าแก่วัดหนึ่งแห่งศาสนาพุทธนิกายมหายาน ได้รับพระราชทานนามอารามว่าวัดจีนประชาสโมสร ภายในวัดมีพระพุทธรูปที่หล่อด้วยกระดาษ เทพเจ้าแห่งโชคลาภไฉ่ซิ้งเอี๊ย เจ้าแม่กวนอิม และสรีระสังขารจริงของอดีตเจ้าอาวาส2รูป ที่มรณภาพในอริยาบถสมาธิแล้วไม่เน่าเปื่อยอยู่ภายในวัด ถือเป็นวัดจีนเพียงแห่งเดียวในจังหวัดฉะเชิงเทรา มีระฆังใบใหญ่ของชาวจีนแต้จิ๋วที่ได้สร้างถวายขึ้น มีน้ำหนักกว่า 1 ตัน วัดจีนประชาสโมสร ตั้งอยู่ที่ ถนนศุภกิจ ต.บ้านใหม่ อ.เมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันมีพระอธิการเย็นจุง เป็นรักษาการเจ้าอาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวัดจีนประชาสโมสร · ดูเพิ่มเติม »

วัดดงสระแก้ว

วัดดงสระแก้ว ตั้งอยู่ที่ ตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันเป็นวัดที่จำพรรษาของเจ้าคณะตำบลไผ่ล้อม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดดงสระแก้ว ปัจจุบันเป็นที่รู้จักของชาวจังหวัดอุตรดิตถ์และใกล้เคียง ที่นิยมไปทำพิธีลอดอุโบสถไม้สักทองของวัด และวัดนี้ เคยเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูป หลวงพ่ออู่ทอง (ทองคำ) พระพุทธรูปทองคำโบราณองค์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ถูกโจรกรรมไปเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวัดดงสระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วัดปากอ่าวบางตะบูน

วัดปากอ่าวบางตะบูน หรือ วัดปากอ่าว เป็นวัดราษฏร์แห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี สร้างขึ้นด้วยความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านผู้มีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนา อยู่บริเวณปากอ่าวแม่น้ำบางตะบูน ปลายสุดของแม่น้ำเพชรบุรี ทำให้อุดมไปด้วยทรัพยากรทางทะเลและพันธุ์ไม้ชายเลนมากมาย จึงทำให้วัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญเชิงอนุรักษ์ป่าชายเลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวัดปากอ่าวบางตะบูน · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิสมภรณ์

วัดโพธิสมภรณ์ (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่บนถนนเพาะนิยม เลขที่ 22 ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี อยู่ทางทิศตะวันตกของหนองประจักษ์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 40 ไร่ ในวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวัดโพธิสมภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วังลดาวัลย์

วังลดาวัลย์ ตั้งอยู่ติดถนน 3 ด้าน คือ ถนนประชาธิปไตย ถนนลูกหลวงและถนนราชสีมา ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวังลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

วังปารุสกวัน

ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2449 ปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ และกองบัญชาการตำรวจนครบาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

วังเบลนิม

วังเบลนิม (Blenheim Palace) หรือ คฤหาสน์เบลนิม เป็นคฤหาสน์ที่สร้างอย่างวังตั้งอยู่ที่เมืองเล็กๆ ชื่อวู้ดสต็อคในมลฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ สร้างโดยซาราห์ เชอร์ชิลผู้เป็นภรรยาของจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเป็นพระสหายสนิทของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ระหว่างปี ค.ศ. 1705 ถึง ค.ศ. 1722 วังเบลนิมเป็นสถาปัตยกรรมแบบวัง โดยมี เซอร์จอห์น แวนบรูห์เป็นสถาปนิก วังเบลนิมเป็นคฤหาสน์ที่มิได้เป็นของราชวงศ์ แต่ก็ใช้คำนำหน้าว่า “วัง” ซึ่งเป็นแห่งเดียวในอังกฤษเพราะความยิ่งใหญ่ของสิ่งก่อสร้าง จุดประสงค์ของการก่อสร้างเมื่อเริ่มแรกเพื่อเป็นของขวัญสำหรับจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระเพื่อเป็นการตอบแทนในการนำกองทัพอังกฤษรบชนะฝรั่งเศสและบาวาเรีย แต่ต่อมาเบลนิมกลายเป็นปัญหาในการต่อสู้ทางการเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้ดยุกและดัชเชสแห่งมาร์ลบะระสิ้นอำนาจ รวมทั้งการเสียชื่อเสียงของสถาปนิกจอห์น แวนบรูห์ ตัววังสร้างเป็นแบบบาโรก ปฏิกิริยาหรือคุณค่าของสิ่งก่อสร้างจนบัดนี้ก็ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันได้ เช่นเดียวกับในสมัยเมื่อเริ่มสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1720 ตัวสิ่งก่อสร้างเป็นลักษณะที่ผสมระหว่างที่อยู่อาศัย, ที่เก็บศพ และ อนุสาวรีย์ นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือเป็นที่เกิดของวินสตัน เชอร์ชิลอดีตนายกรัฐมนตรีคนสำคัญของอังกฤษ คำจารึกเหนือประตูใหญ่ทางตะวันออกบอกประวัติของสิ่งก่อสร้าง: แต่ตามความเป็นจริงแล้วความสำเร็จของการสร้างเบลนิมเป็นผลจากความทะเยอทะยานของซาราห์ เชอร์ชิลเป็นส่วนใหญ่ หลังจากสร้างเสร็จเบลนิมก็กลายเป็นที่พำนักของตระกูลเชอร์ชิลมาจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลาได้ราว 300 ปี ในระหว่างนั้นตัววังและอุทยานก็ได้รับการเปลื่ยนแปลงมาโดยตลอด เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตระกูลมาร์ลบะระก็ประสบปัญหาทางการเงินจนต้องขายทรัพย์สมบัติสำคัญๆ ไปบ้าง แต่การแต่งงานกับสตรีชาวอเมริกันก็ช่วยนำเงินมาบำรุงรักษาเบลนิมให้ยังอยู่ในสภาพดังเช่นเมื่อเริ่มสร้าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวังเบลนิม · ดูเพิ่มเติม »

วาเลนเซีย (แก้ความกำกวม)

วาเลนเซีย (Valencia) ซึ่งดั้งเดิมคือเมืองและภูมิภาคในประเทศสเปน อาจหมายถึง:;ในประเทศสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวาเลนเซีย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอร์ วาซาเรอลี

ผลงานของวิกตอร์ วาซาเรอลี วิกตอร์ วาซาเรอลี หรือ วิกโตร์ วอซอแรลี (ฝรั่งเศส, Victor Vasarely; 9 เมษายน พ.ศ. 2449 ที่เปช - 15 มีนาคม พ.ศ. 2540 ที่ปารีส) เป็นชาวฝรั่งเศสเกิดที่ฮังการี เป็นจิตรกรที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งศิลปะลวงตา (op art) ทำงานเป็นศิลปินกราฟิกใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวิกตอร์ วาซาเรอลี · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; พระนามเต็ม วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร ลุลิตานนท์

ตราจารย์วิจิตร ลุลิตานนท์ (พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2530) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลนายปรีดี พนมยงค์ และอดีตรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวิจิตร ลุลิตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัว

วงศ์ปลาวัว หรือ วงศ์ปลางัว หรือ วงศ์ปลากวาง (วงศ์: Balistidae, Triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวกว้างแบนเป็นทรงกลมรีคล้ายรูปไข่ ข้างตำแหน่งตาอยู่สูงบริเวณด้านบนของหัว ที่ครีบหลังอันแรกจะมีหนามแข็ง 3 อัน สามารถพับเก็บได้ และจะตั้งขึ้นได้เพื่อใช้ในการข่มขู่ศัตรู มีก้านครีบหางจำนวน 12 ก้าน และ 18 ก้านครีบที่ครีบหลัง มีเกล็ดที่ใหญ่แข็งและหนังหนา ส่วนของใบหน้ายาวและยื่นแหลมออกมา ปากมีขนาดเล็ก ภายในมีฟัน 4 ซี่ที่ด้านนอก และด้านในอีก 3 ซี่ ที่แหลมคมมาก ใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ กินเป็นอาหาร รวมถึงฟองน้ำ, ปะการัง, สาหร่าย หรือเม่นทะเลด้วย เช่นเดียวกับปลาปักเป้า อันเป็นปลาในอันดับเดียวกัน แต่อยู่ต่างวงศ์กัน พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น เช่น อินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะฮาวาย, ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลฟิลิปปิน และมหาสมุทรแอตแลนติก ตาของปลาวัวสามารถกลอกกลิ้งไปมาได้ อันเป็นลักษณะเฉพาะ โดยปกติแล้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้าวก้าวร้าวมาก มักไล่กัดปลาอื่นหรือแม้แต่พวกเดียวกันเองที่รุกล้ำเข้ามาในถิ่นที่อยู่อาศัย เป็นปลาที่จะหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการัง มีพฤติกรรมหากินโดยซอกซอนหากินเอาในแนวปะการังในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้รวดเร็วมากโดยใช้ครีบหลัก ๆ ทั้ง 2 ครีบในด้านบนและด้านล่างของลำตัว ขณะที่ครีบหางใช้เป็นตัวควบคุมทิศทาง เป็นปลาที่มีพฤติกรรมผสมพันธุ์วางไข่ โดยวางไข่ตามพื้นในรังซึ่งตัวผู้จะทำหน้าที่เฝ้าระวัง ซึ่งบางชนิดจะมีนิสัยดุร้ายมากในช่วงนี้ โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามสดใสมาก จึงเป็นที่นิยมมากของนักดำน้ำและนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่ว่าเป็นปลาที่ดุร้ายมาก สามารถพุ่งเข้ากัดจนเป็นแผลเหวอะหรือไล่มนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์ที่ใหญ่กว่ามากได้อย่างไม่เกรงกลัว มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 25-50 เซนติเมตร โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาวัวไททัน (Balistoides viridescens) ที่ใหญ่ได้ถึง 75 เซนติเมตร หรือราว 1 เมตร และนับเป็นชนิดที่อันตรายมาก เพราะมีรายงานการกัดและไล่นักดำน้ำมาแล้วในหลายที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และวงศ์ปลาวัว · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในเกาหลี

ระพุทธศาสนาเริ่มเข้าสู่ประเทศเกาหลีเมื่อ พ.ศ. 915 โดยสมณทูตซุนเตา เดินทางจากประเทศจีนแผ่นดินใหญ่เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาจักรโคกูรยอ คือ ประเทศเกาหลีในปัจจุบัน พระพุทธศาสนาได้ขยายเข้ามาในเกาหลีอย่างรวดเร็ว เพียงระยะเวลา 20 ปี ก็มีการสร้างวัดขึ้นมากมาย เฉพาะเมืองหลวงแห่งเดียว 9 วัด ประเทศเกาหลีในสมัยก่อนนั้นประกอบด้วย 3 อาณาจักรคือ โคกูรยอ แพ็กเจ และชิลลา แต่ผู้นำทั้ง 3 อาณาจักรก็นับถือพระพุทธศาสนา และให้การสนับสนุนกิจการต่าง ๆ อันที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเสมอ และที่สำคัญได้ทรงถือว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ เพราะคำสอนของพระพุทธศาสนาเป็นสิ่งที่ส่งเสริม และให้การศึกษาแก่ประชาชน และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน พร้อมทั้งสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชาติ พระพุทธศาสนาจึงมีความเจริญรุ่งเรืองตลอดม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และศาสนาพุทธในเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลออรีเซียส

กุลออรีเซียส เป็นสกุลของปลาในวงศ์ปลาซิวข้าวสาร (Adrianichthyidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Oryzias (/ออ-รี-เซียส/) โดยมาจากภาษากรีกคำว่า ὄρυζα ซึ่งแปลว่า "ข้าว" อ้างอิงมาจากสถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ นาข้าว มีลักษณะสำคัญ คือ ขากรรไกรไม่ยืดหด ฐานด้านบนของครีบอกอยู่ใกล้แนวสันหลังของลำตัว ครีบหลังอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบก้นมีฐานยาว ครีบหางมีปลายกลมมน เป็นปลาที่เก็บไข่ไว้ใต้ครีบอก มีความยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ขนาดเต็มที่ไม่เกิน 9 เซนติเมตร โดยพบในแหล่งน้ำที่มีพรรณไม้น้ำมากมาย โดยมากพบในอุณหภูมิประมาณ 28 เซนติเมตร บ่อยครั้งที่พบในแหล่งน้ำที่มีค่าแร่ธาตุคาร์บอเนต และมีค่าความเป็นกรดด่าง (pH) ประมาณ 7.5 และอาจพบได้ในน้ำกร่อยได้ด้วย มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงญี่ปุ่น, เกาะสุลาเวสี, คาบสมุทรอินโดจีนจนถึงออสเตรเลีย ปัจจุบันพบแล้วประมาณ 32 ชนิด เป็นการพบได้ในประเทศไทย 6 ชนิด หน้า 26-27, สกุล Oryzias ปลาข้าวสาร โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสกุลออรีเซียส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฟัยศ็อล บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด

มเด็จพระราชาธิบดีฟัยศ็อล บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด (فيصل بن عبدالعزيز آل سعود‎ Fayṣal ibn ‘Abd al-‘Azīz Āl Su‘ūd) (พระราชสมภพ 14 เมษายน พ.ศ. 2449 - สวรรคต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งซาอุดีอาระเบีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด สมเด็จพระราชาธิบดีฟัยศ็อล บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด ถูกลอบปลงพระชนม์ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 พระชนมายุ 68 พรรษา ครองราชย์สมบัติ 11 ปี สมเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด พระอนุชาธิราช จึงขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระราชาธิบดีฟัยศ็อล บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ (พระนามเดิม เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ พระนามเต็ม คริสเตียน เฟรเดอริก คาร์ล จอร์จ วัลเดมาร์ แอกเซล; Christian Frederik Carl Georg Valdemar Axel, ต่อมาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 21 กันยายน พ.ศ. 2500) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงหลุยส์แห่งสวีเดน ในปีพ.ศ. 2448 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์พระองค์แรกหลังการยุบสหภาพระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนโดยการสลายรัฐร่วมประมุขร่วมกับสวีเดน พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก ในฐานะที่ทรงเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเลือกตั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนได้ทรงชนะใจพสกนิกรด้วยความเคารพและความรักจากประชาชนของพระองค์ และทรงมีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์รวมจิตใจชาตินอร์เวย์ในการทำการต่อต้านกองทัพนาซีที่ทำการรุกรานและต่อมายาวนานอีกห้าปีทรงต่อต้านการที่นาซียึดครองนอร์เวย์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในนอร์เวย์ สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนทรงถือเป็นหนึ่งในชาวนอร์เวย์ที่มีความสำคัญสูงสุดในศตวรรษที่ 20 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการยอมรับในความกล้าหาญของพระองค์ในระหว่างการรุกรานของเยอรมัน พระองค์ทรงขู่ว่าจะสละราชบัลลังก์ถ้ารัฐบาลร่วมมือกับผู้รุกรานชาวเยอรมัน และสำหรับความเป็นผู้นำของพระองค์ และยังทรงรักษาความเป็นสามัคคีของนอร์เวย์ได้ในระหว่างการยึดครองของเยอรมัน พระองค์เสด็จสวรรคตขณะมีพระชนมายุ 85 พรรษา ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 หลังจากทรงครองราชสมบัติมายาวนานเกือบ 52 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงเป็นต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นพระมาตุลาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระชนกในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นเจ้านายต่างกรมพระองค์เดียวในชั้นพระองค์เจ้าที่ยังไม่ได้เป็นกรมพระยา ที่ได้รับสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป็นพระองค์แรก นอกจากนี้ยังทรงเคยดำรงตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาในระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2425 พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ การปกครองและสาขาวิชาประวัติศาสตร์ เคยทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และอภิรัฐมนตรี ในรัชกาลที่ 7 พระองค์สิ้นพระชนม์วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2475 และทรงเป็นต้นราชสกุลยุคล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ (19 เมษายน พ.ศ. 2359 - พ.ศ. 2391) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 5 แรม 7 ค่ำ ปีชวด อัฐศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2425 - 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริคที่ 8 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์โตในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ค และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริคที่ 8 เสด็จพระราชสมภพที่กรุงโคเปนเฮเกน ขณะนั้นพระราชมารดาทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระรัชทายาทหญิงแห่งราชบัลลังก์ ในฐานะมกุฎราชกุมาร พระองค์ทรงเข้าร่วมสงครามในปี พ.ศ. 2407 ระหว่างเดนมาร์กกับปรัสเซียและออสเตรีย ระหว่างนั้นได้ทรงสำเร็จราชการแทนพระราชบิดา พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2449 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญธงมังกร

ลงสรรเสริญธงมังกร เป็นเพลงชาติฉบับแรกอย่างไม่เป็นทางการของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์ชิง มีสถานะเป็นเพลงประจำกองทัพและเพลงสรรเสริญพระบารมีได้เช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสรรเสริญธงมังกร · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์ย่างกุ้ง

วนสัตว์ย่างกุ้ง (ရန်ကုန်မြို့ တိရစ္ဆာန်ဥယျာဉ်; Yangon Zoological Gardens) เป็นสวนสัตว์ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในตัวเมืองย่างกุ้ง ถนนพระเจดีย์กะบะ อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสวนสัตว์ย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานชุดเฉลิม

นเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง ประติมากรรมรูปหัวช้าง สะพานชุดเฉลิม เป็นสะพานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อบำเพ็ญพระราชกุศลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาเป็นประจำทุกปี นับตั้งแต่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 42 พรรษา ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสะพานชุดเฉลิม · ดูเพิ่มเติม »

สายเบเคอร์ลู

อร์ลู เป็นสายหนึ่งของรถไฟใต้ดินลอนดอน มีสีน้ำตาลบนแผนที่รถไฟใต้ดิน รถไฟที่วิ่งอยู่บนสายนี้มีทั้งขึ้นบกและอยู่ใต้ดิน โดยมี 10 สถานีอยู่ใต้ดิน และ 15 สถานีอยู่ใต้ดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสายเบเคอร์ลู · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลยูเวนตุส

มสรฟุตบอลยูเวนตุส (Juventus Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในเมืองตูริน(โตริโน)เป็นสโมสรเก่าแก่สโมสรหนึ่งของประเทศอิตาลี โดยก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) ประสบความสำเร็จมากมาย อีกทั้งยังเป็นสโมสรแรกที่ได้แชมป์ยุโรปทั้งสามรายการ คือ ยูโรเปียนคัพ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก), ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ และยูฟ่าคัพ ยูเวนตุส เป็นสโมรสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดใน เซเรียอา ได้แชมส์ถึง 34 สมัย แชมส์ โคปป้า อิตาเลีย 10สมัย แชมส์ซูเปอร์โคปป้า อิตาเลียน่า อีก 7 สมัย ยูโรเปี้ยน คัพ 2 ครั้ง และ ยูฟ่าคัพ 3 ครั้ง สำหรับยูเวนตุส เดิมแฟนฟุตบอลชาวไทยจะอ่านออกเสียงว่า "จูเวนตัส" จะเรียกฉายาในภาษาไทยว่า "ม้าลาย" หรือ เรียกสั้นๆว่า "ยูเว่" ส่วนฉายาในภาษาอิตาลี คือ "La Vecchia Signora" ซึ่งแปลได้ว่า "หญิงชรา" (อันเป็นฉายาเดียวกับแฮร์ธาเบอร์ลิน ในบุนเดสลีกา เยอรมนี) เนื่องจากในช่วงทศวรรษที่ 30 เป็นช่วงที่ยูเวนตุสประสบความสำเร็จมาก โดยได้แชมป์เซเรียอาติดต่อกันถึง 6สมัย ขณะที่ผู้เล่นคนสำคัญส่วนใหญ่อายุเลย 30 ปีแล้วทั้งนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสโมสรฟุตบอลยูเวนตุส · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลโตรีโน

มสรฟุตบอลโตรีโน เป็นสโมสรฟุตบอลจากเมืองตูรินและเป็นคู่แข่งกับยูเวนตุส ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1906 โดยในยุคนั้นใช้ชื่อว่า AC Torino และใช้ชื่อนี้มาจนถึงปี ค.ศ. 2005 ก่อนจะเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น Torino F.C. จนถึงปัจจุบันโตรีโนยิ่งใหญ่มากในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1940 ได้แชมป์มากมายหลายรายการแต่หลังจากเหตุการณ์เครื่องบินตกในปีค.ศ. 1949 ความยิ่งใหญ่ของสโมสรก็สิ้นสุดลง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสโมสรฟุตบอลโตรีโน · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี

มสรฟุตบอลเชลซี (Chelsea Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพที่ตั้งอยู่ในเขตฟูลัม, ลอนดอน ซึ่งเล่นอยู่ในพรีเมียร์ลีก ลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ สโมสรฟุตบอลเชลซีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และสโมสรฟุตบอลเชลซี · ดูเพิ่มเติม »

หมาป่าเคราขาว

หมาป่าเคราขาว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Chrysocyon brachyurus; Maned wolf) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์สุนัข (Canidae) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Chrysocyon พบในทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศบราซิล, ประเทศปารากวัย และประเทศโบลิเวีย หมาป่าเคราขาวมีลักษณะโดยผิวเผินคล้ายคลึงกับหมาจิ้งจอก แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก โดยสูงถึงสามฟุตนับจากเท้าถึงหัวไหล่ เพราะมีช่วงขาที่ยาวทำให้การมองเห็นได้ดีเมื่อต้องอยู่ในทุ่งหญ้าหรือที่รกชัฏ มีน้ำหนักประมาณ 20 ถึง 25 กิโลกรัม ขนลำตัวเป็นสีแดงน้ำตาล โดยมีขนขาและหลังคอเป็นสีดำ ขนปลายหางและใต้ลำคอเป็นสีขาว ขนดำที่หลังคอเป็นขนยาวและตั้งชันได้เวลากลัวหรือต้องการแสดงความก้าวร้าว หมาป่าเคราขาวมักอาศัยเป็นลำพัง หรือเป็นคู่ ซึ่งต่างจากสัตว์ในวงศ์หมาป่าขนาดใหญ่ชนิดอื่นๆที่มักอยู่เป็นฝูง หมาป่าเคราขาวล่าสัตว์ขนาดเล็กและขนาดกลางเป็นอาหารในเวลากลางคืน เช่น สัตว์ฟันแทะ, กระต่าย และ นก นอกเหนือจากนี้ หมาป่าเคราขาวกินผลไม้และพืชอีกหลายชนิดไม่แพ้เนื้อสัตว์ หากไม่ได้กินพืช หมาป่าเคราขาวจะเป็นโรคนิ่วได้ หมาป่าเคราขาวที่อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าเซอราโด ของบราซิล มีพฤติกรรมชอบกินผลของโลบิรา (Solanum lycocarpum) มาก และเมื่อกินแล้วจะถ่ายมูลลงบนยอดจอมปลวกเล็ก ๆ ที่ขึ้นในทุ่งหญ้าเซอราโด ซึ่งในมูลนั้นจะมีเมล็ดของโลบิราอยู่ด้วย ซึ่งจะงอกเป็นต้นโลบิราขึ้นมาบนจอมปลวกนั้น เป็นเหตุให้ต้นโลบิราในทุ่งหญ้าเซอราโด มักขึ้นอยู่บนยอดจอมปลวกขนาดเล็ก ในปัจจุบัน หมาป่าเคราขาวมีจำนวนลดลง เนื่องจากถูกล่าจากมนุษย์ และติดเชื้อโรคจากสุนัขบ้าน หมาป่าเคราขาวเป็นสัตว์ในบัญชีหมายเลข ๒ ของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (CITES) โดยห้ามส่งออกหรือนำเข้าโดยปราศจากใบอนุญาต ซึ่งรวมถึงประเทศไทย ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหมาป่าเคราขาว · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงต้อย ชุมสาย

หม่อมหลวงต้อย ชุมสาย (28 มกราคม พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2504) นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนในคณะสุภาพบุรุษ ศิลปินช่างภาพ เป็นผู้บุกเบิกวงการถ่ายภาพนู้ดของไทย เมื่อราวทศวรรษ 2480 เคยเป็นอาจารย์ ผู้แนะนำรงค์ วงษ์สวรรค์เข้าสู่แวดวงนักหนังสือพิมพ์ หม่อมหลวงต้อย เป็นบุตรของ พระยาสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ถัด ชุมสาย บุตรหม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย กับหม่อมเจ้าหญิงสารภี สนิทวงศ์) กับคุณหญิงสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (ติ๊ โภคาสมบัติ ธิดาขุนโภคาสมบัติ (เอม) กับนางโภคาสมบัติ (เอม)) เกิดที่บ้านหลังวัดสังขเวชวิศยราม บางลำพู พี่น้องจำนวน 7 คน ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมหลวงต้อย ชุมสาย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หรือ หม่อมคัทริน จักรพงษ์ ณ อยุธยา หรือ คัทริน เดสนิตสกี (Catherine Desnitski) มีชื่อเต็มว่า เยกาเจรีนา อีวานอฟนา เดสนิตสกายา (Катерина Іванівна Десницька; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 — 3 มกราคม พ.ศ. 2503) เป็นอดีตหม่อมชาวรัสเซีย (ปัจจุบันส่วนหนึ่งของประเทศยูเครน) ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ มีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานนามสกุล ณ พิศณุโลก อันเป็นนามสกุลพิเศษเนื่องจากไม่มีเลขลำดับที่พระราชทาน และมีผู้ใช้เพียงท่านเดียว คือ หม่อมคัทริน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล

หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร

หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร พลอากาศโท หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2449 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2508) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์กับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพย์สัมพันธุ์ ทรงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีสั่งราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าทองประทาศรี ทองใหญ่

หม่อมเจ้าทองประทาศรี ทองใหญ่ (พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2526) เป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม กับหม่อมนวม ประสูติเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 ทรงรับราชการในตำแหน่งอธิบดีกรมทะเบียนการค้า หลังจากเกษียณอายุราชการ ทรงเป็นรองประธานธนาคารกรุงไทย จำกัด นอกจากนี้ ยังทรงเคยเป็นประธานมูลนิธิ "จุลจักรพงษ์ บุญนิธิ" สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2526.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้าทองประทาศรี ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร

ลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กับหม่อมช้อย วิจิตรานุช ทรงรับราชการทหารเรือจนได้เป็นผู้บัญชาการทหารเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 สืบต่อจากพลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร เสกสมรสกับหม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า รพีพัฒน์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีบุตรธิดา คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์

หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2449 โดยเพราะนาม "คัสตาวัส" นี้ มาจากภาษาสวีเดนว่า Gustavus เป็นพระนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ในวโรกาสที่เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก พระราชโอรส เสด็จเยือนประเทศสยาม หม่อมเจ้าคัสตาวัสทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์

หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์กับหม่อมราชวงศ์ละม้าย (สุริยกุล) เกษมสันต์ ประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2438 ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถเมื่อ พ.ศ. 2449 สอบได้ทุนของกระทรวงกลาโหมไปศึกษาต่อที่ประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2456 ทรงเสกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงวงศ์แข เกษมศรี สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2507 นิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ นิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ หมวดหมู่:ราชสกุลสุริยกุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ

ันโท หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ (9 มกราคม พ.ศ. 2449 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2506) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ ทรงประสูติเมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2449 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์และหม่อมอ่อนมีพระเชษฐาพระภคินีและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าเผ่าเพ็ญพัฒน์ เพ็ญพัฒน์

หม่อมเจ้าเผ่าเพ็ญพัฒน์ เพ็ญพัฒน์ (ด้านหน้า คือ หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิไชย) หม่อมเจ้าเผ่าเพ็ญพัฒน์ เพ็ญพัฒน์ ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม กับหม่อมเทียม คชเสนี ประสูติเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 เข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และหม่อมเจ้าเผ่าเพ็ญพัฒน์ เพ็ญพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อริสโตเติล โอนาซิส

อริสโตเติล โสกราตีส โอนาซิส (ΑριστοτέληςΩνάσης; 15 มกราคม ค.ศ. 1906 — 15 มีนาคม ค.ศ. 1975) หรือเรียกว่า อริสโตเติล โอนาซิส เป็นผู้มีอิทธิพลการจัดส่งสินค้าที่โดดเด่นกรีก บางแหล่งอ้างว่าเขาเกิดในปี 1900 แต่ว่าเขาภายหลังเปลี่ยนวันเดือนปีเกิดของเขาเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกเนรเทศออกจากตุรกี ต่อมาสมรสกับแจ็กเกอลีน เคนเนดี ภรรยาหม้ายของจอห์น เอฟ. เคนเนดี อริสโตเติลเสียชีวิตด้วยโรคปอดบวม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอริสโตเติล โอนาซิส · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟาโรเมโอ

อัลฟาโรเมโอ (Alfa Romeo) ในนามบริษัท Alfa Romeo Automobiles S.p.A. บางครั้งก็นิยมเรียกชื่อสั้นๆเข้าใจง่ายว่า "อัลฟา" เป็นผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติอิตาลี แห่งเมืองมิลาน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1910 สร้างชื่อเสียงมาจากการผลิตรถสปอร์ตราคาแพง และการแข่งขันกีฬามอเตอร์สปอร์ต ปัจจุบันอยู่ภายใต้การครอบครองของ FCA Italy S.p.A. ในเครือบริษัท Fiat Chrysler Automobiles, NV.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอัลฟาโรเมโอ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์

ร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 87 ปี ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 100 ปีเมื่อ พ.ศ. 2549 อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ (Albert Hofmann; 11 มกราคม พ.ศ. 2449 - 29 เมษายน พ.ศ. 2551) เป็นนักเคมีคนสำคัญของสวิตเซอร์แลนด์ ได้รับการขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งแอลเอสดี" เกิดที่เมืองบาเดิน สวิสเซอร์แลนด์ จบการศึกษาด้านเคมีจากมหาวิทยาลัยซูริก ขณะเรียนมีความสนใจเคมีที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์ ซึ่งต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าวิจัยงานสำคัญในโครงสร้างของสารที่มีอยู่ทั่วไปในสัตว์ คือ "ไคทิน" (สารหลักในเปลือกกุ้ง ปูและสัตว์ที่คล้ายกัน) ซึ่งเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของฮอฟมานน์ ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ ได้เข้าทำงานในแผนกเภสัช-เคมีในสถานีทดลองของบริษัทแซนดอส (ปัจจุบันคือบริษัทโนวาร์ติส) เมืองบาเซิล โดยทำการวิจัยพืชหัวที่ใช้ทำยา และเออร์กอตของพวกเห็ดรา เพื่อนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสังเคราะห์และทำความบริสุทธิ์ให้กับตัวยาสำคัญที่จะนำมาใช้ทางเภสัชกรรม อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์เสียชีวิตด้วยภาวะหัวใจล้มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ · ดูเพิ่มเติม »

อามาร์ โชนาร์ บังกลา

อามาร์ โชนาร์ บังกลา (เบงกาลี: আমার সোনার বাংলা) หรือ "บังกลาแดนทองของข้า" เป็นบทเพลงภาษาเบงกาลีซึ่งรพินทรนาถ ฐากูร กวีรางวัลโนเบลชาวเบงกอล ได้ประพันธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2449 เนื้อร้องในสิบบทแรกของเพลงนี้ได้มีการนำมาใช้เป็นเพลงชาติของประเทศบังคลาเทศเมื่อปี พ.ศ. 2515 หลังจากประเทศบังกลาเทศได้รับเอกราชจากประเทศปากีสถานอย่างเป็นทางการในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอามาร์ โชนาร์ บังกลา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย (อังกฤษ: Archduke Karl Ludwig of Austria, de.: Erzherzog Karl Ludwig von Österreich) (พระนามเต็ม: คาร์ล ลุดวิจ โจเซฟ มาเรีย, Karl Ludwig Joseph Maria von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าชายแห่งฮังการี และเป็นพระราชอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสมารี-วาเลอรีแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Marie-Valerie of Austria, the Princess of Tuscany, de.: Erzherzogin Marie-Valerie von Österreich, Prinzessin von Toskana) (พระนามเต็ม: มารี วาเลอรี มาธิลด์, Marie-Valerie Mathilde von Habsburg-Lorraine (ราชสกุลเดิม Habsburg-Lothringen)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และทรงได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าหญิงแห่งทัสคานี ภายหลังจากการอภิเษกสมร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์แซน ลูแปง

อมโจรลูแปง หรือชื่อเต็มว่า อาร์แซน ลูแปง (Arsène Lupin) เป็นนวนิยายของมอริส เลอบล็อง นักเขียนชาวฝรั่งเศส มีการนำเอา เชอร์ล็อก โฮมส์ มาจับเข้าหากัน แม้แต่ในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ยังมี โมริ รัน ซึ่งมาจากชื่อของมอริส เลอบล็อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาร์แซน ลูแปง · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย

อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย (RMS Lusitania) คือชื่อเรือเดินสมุทรสัญชาติอังกฤษที่ครอบครองรางวัลบลูริบบันด์ (Blue Riband) ซึ่งมอบให้กับเรือที่เป็นเจ้าของสถิติเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเวลาน้อยที่สุด และเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ณ ขณะนั้น อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนียเดินสมุทรครั้งแรกโดยบริษัทสายการเดินเรือคูนาร์ดในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบลัว

อาสนวิหารบลัว (Cathédrale de Blois) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งบลัว (Cathédrale Saint-Louis de Blois) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลบลัว ตั้งอยู่ในเขตเมืองบลัว จังหวัดลัวเรแชร์ ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญหลุยส์ อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารบลัว · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล

อาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล (Cathedral of the Immaculate Conception) เป็นอาสนวิหารประจำมิสซังโรมันคาทอลิกจันทบุรี ตั้งอยู่บริเวณริมคลองจันทบุรี ตรงข้ามชุมชนเก่าแก่จันทบูร ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี วิหารปัจจุบันนี้เป็นหลังที่ 5 ซึ่งบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ ชาวฝรั่งเศส ได้ทำพิธีเสกขึ้นในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2452และก่อสร้างขึ้นโดยคุณพ่อเปรีกาล เดิมวิหารติดยอดแหลมบริเวณหอระฆังทั้ง 2 หอ แต่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปี พ.ศ. 2483, ผู้จัดการ.สืบค้นเมื่อ 05/06/2559 ทางรัฐบาลได้มีคำสั่งให้ทำการรื้อออกด้วยเหตุผลว่าจะเป็นเป้าทิ้งระเบิดจากเครื่องบินรบ, amazing Thailand.สืบค้นเมื่อ 05/06/2559 จนภายหลังสงครามยุติก็ได้นำมาติดตั้งอีกครั้งในวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552 วิหารแห่งนี้มีอายุรวมแล้วกว่า ปี อาสนวิหารนับเป็นวิหารที่อยู่คู่ชุมชนชาวจันทบูรมาช้านาน นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 วิหารแห่งแรกได้ถูกสร้างขึ้นโดยกลุ่มชาวญวน 130 คน ที่หนีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนในประเทศเวียดนาม เข้ามาตั้งรกรากในปี พ.ศ. 2254 โดยมีบาทหลวงเฮิ้ต โตแลนติโน เป็นผู้ดูแลกลุ่มชาวญวนเหล่านี้ และได้ทำการก่อสร้างวิหารหลังแรกขึ้นในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมงเปอลีเย

อาสนวิหารมงเปอลีเย (Cathédrale de Montpellier) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งมงเปอลีเย (Cathédrale Saint-Pierre de Montpellier) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่วิหารประจำอัครมุขนายกแห่งอัครมุขมณฑลมงเปอลีเย ตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองมงเปอลีเย จังหวัดเอโร แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่อัครทูตสำคัญคือนักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสถานที่ในแบบสถาปัตยกรรมกอทิกที่ใหญ่โตที่สุดในเมืองมงเปอลีเย และเป็นอาสนวิหารที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคล็องก์ด็อก-รูซียงอีกด้วย อาสนวิหารมงเปอลีเยได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารมงเปอลีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลารอแชล

อาสนวิหารลารอแชล (Cathédrale de La Rochelle) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งลารอแชล (Cathédrale Saint-Louise de La Rochelle) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ ตั้งอยู่ที่ในเขตเมืองลารอแชล จังหวัดชาร็องต์-มารีตีม ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญหลุยส์ (อดีตพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส) สืบเนื่องจากการผนวกระหว่างมุขมณฑลลารอแชล (ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1648) และมุขมณฑลแซ็งต์ เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารลารอแชล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลูว์ซง

อาสนวิหารลูว์ซง (Cathédrale de Luçon) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งลูว์ซง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Luçon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลูว์ซง ตั้งอยู่ในเขตเมืองลูว์ซง จังหวัดว็องเด แคว้นเปอีเดอลาลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นในแบบกอทิก และยังมีองค์ประกอบบางส่วนในแบบโรมาเนสก์ รวมทั้งในยุคที่ใหม่กว่านั้น คือ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (หรือคลาสสิก) ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ นี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906, ค.ศ. 1915 และของระดับแคว้นเมื่อปี ค.ศ. 1992.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารลูว์ซง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวีวีเย

อาสนวิหารวีวีเย (Cathédrale de Viviers) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญบิเซนเตแห่งวีวีเย (Cathédrale Saint-Vincent de Viviers) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลวีวีเยตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 เป็นต้นมา ตั้งอยู่ที่เมืองวีวีเย จังหวัดอาร์แด็ช แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญบิเซนเตแห่งอูเอสกา อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารวีวีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอารัส

อาสนวิหารอารัส (Cathédrale d'Arras) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระและนักบุญวัสต์แห่งอารัส (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Vaast d'Arras) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลอารัส ตั้งอยู่ที่เมืองอารัส จังหวัดปาดกาแล แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารีและนักบุญวัสต์แห่งอารัส ตัวอาสนวิหารได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906 อาสนวิหารเดิมสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1030 และ ค.ศ. 1393 ในสถาปัตยกรรมกอทิกอย่างงดงามที่สุดแห่งหนึ่งของฝรั่งเศสตอนเหนือ จนกระทั่งถูกทำลายลงในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส และส่วนของอารามนักบุญวัสต์ (Abbaye Saint-Vaast) ซึ่งเป็นกลุ่มอาคารที่ติดกันได้ถูกเปลี่ยนเป็นโรงพยาบาลและคลังแสง ซึ่งในปัจจุบันเป็นกลุ่มอาคารพิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งอารัส (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1825) และหอสมุดแห่งอารัส อนึ่ง อาสนวิหารหลังเก่ายังใช้เป็นที่ฝังศพของหลุยส์แห่งบูร์บง เคานต์แห่งแวร์ม็องดัว พระโอรสนอกสมรสของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส กับดัชเชสหลุยส์ เดอ ลา วาเลียร์ (พระสนม) ต่อมาในปี ค.ศ. 1883 ได้มีการสร้างโบสถ์สำหรับอารามแห่งนี้ขึ้นใหม่โดยสร้างต่อเนื่องกันเป็นกลุ่มอาคารในรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก และต่อมาได้ใช้เปลี่ยนสถานะโบสถ์หลังนี้มาเป็นอาสนวิหารตามดำริของพระคาร์ดินัลหลุยส์ เรอเน เอดัวร์ เดอ รออ็อง เพื่อทดแทนอาสนวิหารแบบกอทิกหลังเดิมที่ถูกทำลายลง ต่อมาช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1917 อาสนวิหารและหมู่อาคารของอารามได้ถูกทำลายลงจากผลของสงคราม และได้ถูกสร้างใหม่ในรูปขนาดและรูปแบบเดิม ตั้งแต่ปี..1920 โดยปีแยร์ ปาแก สถาปนิกชำนาญการด้านอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส กินเวลาบูรณปฏิสังขรณ์ทั้งสิ้นรวม 14 ปี ทางเข้าหลักของอาสนวิหารซึ่งรอดจากการถูกทำลายในระหว่างสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารอารัส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอานซี

อาสนวิหารอานซี (Cathédrale d'Annecy) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งอานซี (Cathédrale Saint-Pierre d'Annecy) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลอานซี ตั้งอยู่ที่เมืองอานซีในจังหวัดโอต-ซาวัว แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารอานซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอ็อช

อาสนวิหารอ็อช (Cathédrale d'Auch) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งอ็อช (Cathédrale Sainte-Marie d'Auch) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลอ็อช ตั้งอยู่ที่เมืองอ็อช จังหวัดแฌร์ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี อาสนวิหารแห่งนี้ประกอบด้วยบริเวณกลางโบสถ์ถึง 3 ด้าน ด้วยความยาวถึง 102 เมตร และกว้าง 35 เมตร เริ่มการก่อสร้างในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1489 โดยการสนับสนุนของฟร็องซัว เดอ ซาวัว โดยสร้างบนซากปรักหักพังของอาสนวิหารโรมาเนสก์เก่าซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของอาสนวิหารนักบุญอ็อสแต็งด์ และมีการเสกขึ้นเป็นอาสนวิหารเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1548 ในขณะที่งานก่อสร้างทั้งหมดยังไม่เสร็จสิ้น จนกระทั่งอีกราวสองร้อยกว่าปีต่อมา ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นแบบกอธิกวิจิตร (ฟล็องบัวย็อง) ที่ได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ทั้งหมดสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ด้วยหน้าบันหลัก และมุขทางเข้าตกแต่งด้วยเสาแบบคอรินเทียน ภายในประกอบด้วยชาเปลกว่า 21 หลัง งานตกแต่งภายในมีความโดดเด่นด้วยงานกระจกสีถึง 18 ชิ้น โดยศิลปินอาร์โน เดอ มอล บริเวณร้องเพลงสวดได้รับการประดับประดาด้วยงานไม้ถึง 115 ชิ้น ซึ่งไม่ทราบผู้ออกแบบ ซึ่งต่อเป็นฉากในพระคัมภีร์ไบเบิลซึ่งเล่าเรื่องต่อมาจากงานกระจกสีโดยรอบ อาสนวิหารอ็อชได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906 รวมทั้งยังอยู่ในรายชื่อแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารอ็อช · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารปามีเย

อาสนวิหารปามีเย (Cathédrale de Pamiers) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญอ็องตอแน็งแห่งปามีเย (Cathédrale Saint-Antonin de Pamiers) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก อันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลปามีเย กูเซอร็อง และมีร์ปัว ตั้งอยู่ที่เมืองปามีเย จังหวัดอาเรียฌ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสำคัญประจำเมือง คือ นักบุญอ็องตอแน็ง อาสนวิหารปามีเยได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารปามีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนิส

อาสนวิหารนิส (Cathédrale de Nice) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเรปาราตาแห่งนิส (Cathédrale Sainte-Réparate de Nice) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขนายกแห่งนิส ตั้งอยู่ที่ในเขตเมืองเก่าของนิส (Vieux Nice) จังหวัดอาลป์-มารีตีม ในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์และนักบุญเรปาราตา ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906 อาสนวิหารถูกสร้างขึ้นตอนแรกโดยหันหน้าทางทิศเหนือเป็นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ต่อมาได้สร้างใหม่ตามต้นแบบของโบสถ์ซานตาซูซานาที่กรุงโรม เป็นทรงกางเขนหันหน้าทางทิศตะวันออก พร้อมทั้งหอหลังคาโดมที่มุงด้วยกระเบื้องเคลือบแบบเจนัวตั้งอยู่ตรงกลางวิหาร สถาปัตยกรรมของตัววิหารเป็นแบบบาโรก ภายหลังมีการปรับปรุงเพิ่มเติม รวมถึงหอระฆังซึ่งสร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารนิส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนีม

อาสนวิหารนีม (Cathédrale de Nîmes) หรือ อาสนวิหารแม่พระและนักบุญกัสตอร์แห่งนีม (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Castor de Nîmes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลนีม จนถึงปี ค.ศ. 1877 มุขมณฑลจึงเปลี่ยนชื่อมาเป็นมุขมณฑลนีม อาแล็ส และอูว์แซ็ส อาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองนีม จังหวัดการ์ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารนี้สถาปนาขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารีและนักบุญกัสตอร์แห่งอัปต์ ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906 นีม หมวดหมู่:คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ หมวดหมู่:คริสต์ศาสนสถานแบบกอทิก หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดการ์ หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารนีม · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารน็องซี

อาสนวิหารน็องซี (Cathédrale de Nancy) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารและนักบุญซีฌแบร์แห่งน็องซี (Cathédrale Notre-Dame-de-l’Annonciation et Saint-Sigisbert de Nancy) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นทั้ง ไมเนอร์บาซิลิกา (Minor Basilica) และ ไพรเมต (Primate) เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลน็องซี-ตูลร่วมกับอาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งตูล ตั้งอยู่ในเขตเมืองน็องซี จังหวัดเมอร์เตมอแซล แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสารและนักบุญซีฌแบร์ (พระเจ้าซีฌแบร์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง) อาสนวิหารน็องซีได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารน็องซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแรน

อาสนวิหารแรน (Cathédrale de Rennes) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแรน (Cathédrale Saint-Pierre de Rennes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลแรน ตั้งอยู่ในเขตเมืองแรนในจังหวัดอีเลวีแลน แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารแรน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแวร์ซาย

อาสนวิหารแวร์ซาย (Cathédrale de Versailles) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งแวร์ซาย (Cathédrale Saint-Louis de Versailles) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งคาเทดราของมุขนายกประจำมุขมณฑลแวร์ซาย ตั้งอยู่ในเมืองแวร์ซาย ชานกรุงปารีส จังหวัดอีฟว์ลีน แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างตามพระบัญชาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส ในฐานะโบสถ์ประจำเขตแพริช ในสถาปัตยกรรมแบบโรโกโกอันวิจิตร เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแอร์

อาสนวิหารแอร์ (Cathédrale d'Aire) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาแห่งแอร์ (Cathédrale Saint-Jean-Baptiste d'Aire) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) นิกายโรมันคาทอลิก สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา ในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแอร์ซึ่งต่อมาถูกยุบลงในปี ค.ศ. 1801 ตามสนธิสัญญาความตกลง ค.ศ. 1801 โดยเสียพื้นที่ปกครองให้กับมุขมณฑลบายอน อาสนวิหารจึงถูกลดฐานะเป็นเพียงโบสถ์ประจำเขต ต่อมาได้มีการฟื้นฟูฐานะมุขมณฑลนี้กลับขึ้นมาอีกในปี ค.ศ. 1822 และในปี ค.ศ. 1857 ได้มีการผนวกเพื้นที่เข้ากับพื้นที่ของอดีตมุขมณฑลดักซ์ กลายเป็นมุขมณฑลแอร์และดักซ์ อาสนวิหารแห่งนี้จึงมีฐานะเป็นอาสนวิหารร่วมจนถึงปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่เมืองแอร์-ซูร์-ลาดูร์ จังหวัดล็องด์ แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale de Saint-Flour) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale Saint-Pierre de Saint-Flour) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลมุขมณฑลแซ็ง-ฟลูร์ ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-ฟลูร์ จังหวัดก็องตาล ในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เป็นหนึ่งในอาสนวิหารทั้งหมดสี่แห่งของภูมิภาคโอแวร์ญ ตั้งอยู่กลางใจเมืองเก่าของแซ็ง-ฟลูร์ และเป็นอาสนวิหารที่สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมกอทิกสร้างเสร็จในคริสต์ศตวรรษที่ 15 บนที่ตั้งของบาซิลิกาแบบโรมาเนสก์เดิม หินที่ใช้สร้างมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับสิ่งก่อสร้างทางคริสต์ศาสนาในแถบนี้ ซึ่งเป็นหินภูเขาไฟมีสีดำสนิทอันเป็นเอกลักษณ์สำคัญของอาสนวิหาร ต่อมาภายหลังอาสนวิหารได้ถูกปล่อยให้ชำรุดทรุดโทรมลงมากในช่วงของการปฏิวัติฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง (Cathédrale de Perpignan) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาแห่งแปร์ปีญ็อง (Cathédrale Saint-Jean-Baptiste de Perpignan; Catedral de Sant Joan Baptista de Perpinyà) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งอาสนะของมุขนายกประจำมุขมณฑลแปร์ปีญ็อง-แอลน์ ตั้งอยู่ในเขตเมืองแปร์ปีญ็อง จังหวัดปีเรเน-ออรีย็องตาล แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอาสนวิหารจากการย้ายอาสนะของมุขนายกจากมุขมณฑลแอลน์ (เดิมอาสนะตั้งอยู่ที่อาสนวิหารแอลน์) มารวมอยู่ที่มุขมณฑลแปร์ปีญ็องเมื่อปี ค.ศ. 1602 ตามพระบัญชาของสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8 อาสนวิหารแปร์ปีญ็องได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอาสนวิหารแปร์ปีญ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านโพธิ์

อำเภอบ้านโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอบ้านโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกำแพงแสน

กำแพงแสน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอกำแพงแสน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกุยบุรี

กุยบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งแยกออกมาจากอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ และได้รับจัดตั้งเป็นอำเภอเมื่อ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอกุยบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหัวหิน

หัวหิน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เดิมมีชื่อว่า "บ้านสมอเรียง" หรือ "บ้านแหลมหิน" ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) ได้ทรงสร้างวังไกลกังวลเพื่อประทับพักผ่อนในฤดูร้อน และปัจจุบันวังไกลกังวลนั้นเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบัน ทุกวันนี้หัวหินมีชื่อเสียงจากการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวตากอากาศที่สามารถเที่ยวได้ใน 1 วัน และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครเพียง 196 กิโลเมตร หากใช้เส้นทางถนนพระรามที่ 2 ใช้เวลาประมาณ 2.5-3 ชั่วโมงหากโดยสารทางรถ หรือ 45 นาทีหากเดินทางโดยเครื่องบิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอหัวหิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งสง

ทุ่งสง เป็นอำเภอที่มีความเจริญเป็นอันดับสองของจังหวัดนครศรีธรรมราช รองจากอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคใต้และเป็นจุดศูนย์กลางคมนาคมทางบกทั้งรถยนต์และรถไฟ อำเภอทุ่งสงมีประวัติความเป็นมายาวนาน ปรากฏตามตำนานเมืองนครศรีธรรมราชว่าเคยเป็นแขวงขึ้นอยู่ในปกครองของเมืองนครศรีธรรมราชตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองจากมณฑล เป็นจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2440 ได้จัดตั้งเป็นอำเภอทุ่งสงขึ้นกับจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอทุ่งสง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปราณบุรี

ปราณบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีทะเลที่สวยงามและเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่รู้จักและคึกคักที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอปราณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปาย

อำเภอปาย (25px) เป็นอำเภอขนาดเล็กทางตอนเหนือของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่รู้จักกันดีในด้านความงามของธรรมชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอปาย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกโพธิ์

อำเภอโคกโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอโคกโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์

นสิงขร เมืองประจวบคีรีขันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยประกอบด้วยตังเกี๋ย อันนัม โคชินไชนา (ทั้งสามแห่งรวมกันเป็นประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) และกัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงได้รวมเอาลาวเข้ามา อินโดจีนมีไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวงจนถึงปี พ.ศ. 2445 จึงได้ย้ายเมืองหลวงมาที่ฮานอย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อินโดจีนถูกปกครองโดยฝรั่งเศสเขตวีชีและยังถูกญี่ปุ่นรุกรานด้วย ในต้นปี พ.ศ. 2489 เวียดมินห์ได้เริ่มต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งในภายหลังเรียกว่าสงครามอินโดจีน ส่วนทางใต้ได้มีการก่อตั้งรัฐเวียดนามซึ่งนำโดยจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2492 แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 เวียดมินห์ก็ได้กลายเป็นรัฐบาลของเวียดนามเหนือตามอนุสัญญาเจนีวา โดยที่รัฐบาลของจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ยังคงปกครองเวียดนามใต้อยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอินโดจีนของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง

อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง (Second Geneva Convention) คือสนธิสัญญาหนึ่งในสี่ฉบับของอนุสัญญาเจนีวาที่วางรากฐานของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการพิทักษ์ผู้เป็นเหยื่อของสงคราม และมีผลบังคับเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1906 อนุสัญญาได้รับการแก้ไขต่อมาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีวั่นหรง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเค่อหมิ่น หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงหรือชื่อเล่น ๆ ว่า วั่นจิง หรือพระนามแรกประสูติว่า โกวปู้โลว วั่นหรง (13 พฤศจิกายน 2449 - 20 มิถุนายน 2489) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของประเทศจีนด้วยเหตุที่เป็นสมเด็จพระมเหสีในผู่อี๋ฮ่องเต้ สมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของจีน จักรพรรดินีวั่นหรงทรงสืบเชื้อสายจากวงศ์สกุลด๋าหว่อ (Daur People) จากมองโกเลียลึกตั้งแต่ครั้งโบราณกาล สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงนั้นต่อมาได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งแมนจูกัว (หรือเป็นที่รู้จักกันในนามของ "จักรวรรดิแมนจูกัว") สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงกับฉลองพระองค์สมเด็จพระจักรพรรดินีแบบแมนจู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจักรพรรดินีวั่นหรง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจังหวัดพระตะบอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัจจันตคิรีเขตร

ังหวัดปัจจันตคิรีเขตร หรือบางเอกสารจะเรียกว่า ปัตจันตคีรีเขตร์ บ้าง ประจันต์คิรีเขตต์บ้าง เป็นเมืองเดิมของราชอาณาจักรขอม (เขมร) ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นเมืองหน้าด่านทางชายฝั่งทะเลตะวันออกที่มีความสำคัญเทียบเท่าจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด ในอดีต มีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เกาะกง เขตจังหวัดเกาะกงในประเทศกัมพูชาปัจจุบัน ดินแดนจังหวัดนี้ตกเป็นของฝรั่งเศสพร้อมกับหัวเมืองฝั่งขวาแม่น้ำโขง คือ แขวงไชยบุรีและแขวงจำปาศักดิ์ เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจังหวัดปัจจันตคิรีเขตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเลย

ังหวัดเลย เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 540 กิโลเมตร มีสภาพภูมิประเทศที่งดงาม อากาศหนาวเย็น เป็นแหล่งเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจังหวัดเลย · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโม ปุชชีนี

กโม ปุชชีนี จาโกโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี (Giacomo Puccini 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467) เป็นคีตกวีชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองลูคคา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ปุชชินี และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อุปรากรที่โด่งดังของเขาได้แก่เรื่อง มาดามบัตเตอร์ฟลาย และ ทอสก้า ปุชชินีเสียชีวิตที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และจาโกโม ปุชชีนี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบรูไนดารุสซาลาม

(ดูทั้งตราแผ่นดิน) ธงชาติบรูไนดารุสซาลาม เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเหลือง ภายในมีแถบสีขาวและสีดำวางพาดตามแนวทแยงมุม จากมุมบนด้านคันธงไปยังมุมล่างด้านปลายธง โดยสีขาวอยู่บน สีดำอยู่ล่าง กลางธงนั้นมีภาพตราแผ่นดินของบรูไน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และธงชาติบรูไนดารุสซาลาม · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสวีเดน

งชาติสวีเดน แบบปัจจุบันเป็นธงสีเหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีฟ้ามีรูปกางเขนสีเหลือง ประกาศใช้เป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2449 แต่ประวัติศาสตร์ตามตำนานโบราณบอกว่า ธงผืนนี้ได้โบกสะบัดตั้งแต่ศตวรษที่ 16 ในขณะนั้นเป็นธงชาติสวีเดนผู้รักชาติที่ทำการต่อสู้กับผู้กดขี่ชาวเดนนิช สีสัญลักษณ์บนธงชาติมาจากตราประจำชาติที่มีรูป 3 มงกุฎสีเหลืองทองบนพื้นสีฟ้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และธงชาติสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐจีน

งชาติสาธารณรัฐจีน เป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีตั้งแต่สมัยที่สาธารณรัฐจีนยังอยู่บนจีนแผ่นดินใหญ่ กระทั่งภายหลังได้ตั้งมั่นอยู่ที่เกาะไต้หวันนับแต่ พ.ศ. 2492 พรรคก๊กมินตั๋งได้เริ่มใช้ธงดังกล่าวเป็นครั้งแรกในจีนแผ่นดินใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2460 และใช้เป็นธงชาติสาธารณรัฐจีนอย่างเป็นทางการนับตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ธงนี้มีชื่อเรียกในภาษาจีนว่า ชิงเทียน ไป๋รื่อ หม่านตี้ หงฉี แปลว่า ธงท้องฟ้าสีคราม ตะวันสาดส่อง ปฐพีแดง แผ่นดินอุดม และมีชื่อที่รู้จักกันดีในภาษาอังกฤษว่า "Blue Sky, White Sun, and a Wholly Red Earth".

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และธงชาติสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคอสตาริกา

งชาติคอสตาริกา เริ่มบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 แต่จริงๆ แล้วเริ่มใช้มาตั้งแต่เมื่อคอสตาริกาประกาศแยกตัวเป็นเอกราชจากสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง (Federal Republic of Central America) ในปี พ.ศ. 2391 ออกแบบโดย ปาซิฟิกา เฟอร์นานเดซ (Pacífica Fernández) รองประธานาธิบดีของคอสตาริกา และภริยาของประธานาธิบดีโฆเซ มารีอา คาสโตร มาดริซ (José María Castro Madriz) โดยได้รับแรงบันดาลใจจากสีของธงชาติฝรั่งเศส ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบสีน้ำเงิน-ขาว-แดง-ขาว-น้ำเงิน โดยแถบกลางสีแดงนั้น กว้างกว่าแถบสีขาวและสีน้ำเงินเป็นสองเท่า ธงอย่างนี้สำหรับใช้เป็นธงเรือพลเรือน (civil ensign) เท่านั้น ถ้าเป็นธงสำหรับราชการ จะเพิ่มตราแผ่นดินในวงรีรูปไข่สีขาวไว้ที่กลางแถบสีแดงลงในธงชาติ โดยค่อนมาทางด้านติดคันธง ธงชาติคอสตาริกามีลักษณะคล้ายกับธงชาติไทย ต่างกันตรงวางตำแหน่งสีธงสลับกันเท่านั้น และแต่ละสีนั้นก็มีความหมายใกล้เคียงกัน กล่าว คือ สีแดง หมายถึง เลือดเนื้อ จิตวิญญาณ, สีขาว หมายถึง ความสงบสุข ส่วนสีน้ำเงิน หมายถึง ท้องฟ้า และ โอก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และธงชาติคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงพระอิสริยยศในประเทศอิหร่าน

งพระอิสริยยศในประเทศอิหร่าน เป็นธงสำหรับใช้หมายพระอิสริยยศของสมเด็จพระเจ้าชาห์ สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช และ บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ในรัชสมัยต่าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และธงพระอิสริยยศในประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารพาณิชย์

นาคารพาณิชย์ (Commercial bank) หมายถึง การประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันได้กำหนดไว้ และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เช่น การให้กู้ยืม ซื้อขายหรือเก็บเงินตามตั๋วเงิน หรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด ซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศ ทั้งนี้จะประกอบธุรกิจประเภทอื่นๆ อันเป็นประเพณีของธนาคารพาณิชย์ด้วยก็ได้ สำหรับธนาคารพาณิชย์ คือธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบการธนาคารพาณิชย์ และหมายความรวมถึงสาขาของธนาคารต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบการธนาคารพาณิชย์ด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และธนาคารพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2449 ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,070.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และธนาคารไทยพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถงเหมิงฮุ่ย

ถงเหมิงฮุ่ย (แปลตามตัวอักษร:United Allegiance Society) คือ สมาพันธ์ความร่วมมือเพื่อการปฏิวัติประชาธิปไตยจีน (Chinese Revolutionary Alliance) หรือยังรู้จักกันอีกในนาม สหสันนิบาตจีน (Chinese United League) เป็นสมาคมลับที่ทำการเคลื่อนไหวใต้ดินต่อต้านราชวงศ์ชิง ก่อตั้งโดยซุนยัตเซ็นและซ่งเจี้ยวเหรินที่กรุงโตเกียวของญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1905 หลังจากการเยือนสิงคโปร์ของซุนยัตเซ็น ในปี ค.ศ. 1906 สาขาหนานหยางก็ได้ถูกตั้งขึ้นที่นั่น โดยถูกใช้เป็นกองบัญชาการกลางขององค์กรในเอเชียอาคเนย์ ต่อมา เมื่อก่อตั้งสาธารณรัฐจีนสำเร็จในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1912 ถงเหมิงฮุ่ยก็ได้พัฒนาไปเป็นกว๋อหมินตั่งหรือพรรคคณะชาติ หมวดหมู่:ประเทศจีน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และถงเหมิงฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ทองอินทร์ ภูริพัฒน์

รองอำมาตย์ตรี ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็นนักการเมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นที่รู้จักกันดีในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ในกรณี "พระราชบัญญัติปักป้ายข้าวเหนียว" ต่อมาได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็น 1 ใน 4 อดีตรัฐมนตรีที่ถูกสังหารโหด ที่ ทุ่งบางเขน เมื่อปี พ.ศ. 2492 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยสาเหตุทางการเมือง ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็น นักการเมืองผู้ต่อสู้เพื่อชาวอิสานอย่างแท้จริงคนหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และทองอินทร์ ภูริพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายพระพุทธบาท

ทางรถไฟสายพระพุทธบาท เป็นทางรถไฟเอกชนที่เดินรถระหว่างสถานีรถไฟท่าเรือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับอำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี เป็นระยะทาง 20 กิโลเมตร ตั้งแต่ พ.ศ. 2445 ถึง พ.ศ. 2485 ชาวบ้านท้องถิ่นมักเรียกรถไฟสายนี้ว่า รถไฟกรมพระนรา หรือ รถไฟกรมพระดารา รถไฟเล็กสายพระพุทธบาทนี้ ได้รับพระบรมราชานุญาตเป็นพิเศษ เมื่อปี พ.ศ. 2445 และได้รับการจัดชั้นเป็น รถราง โดยเปิดให้บริการปี พ.ศ. 2449 ทางรถไฟสายพระพุทธบาทดำเนินการโดย บริษัทท่าเรือจำกัด ซึ่งมีผู้ถือหุ้นหลักคือ บริษัทนาบุญจำกัดสินใช้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้รับสัมปทานตั้งแต่ พ.ศ. 2445.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และทางรถไฟสายพระพุทธบาท · ดูเพิ่มเติม »

ที. เอช. ไวท์

ทเรนซ์ แฮนเบอรี ไวท์ (Terence Hanbury White; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1906 – 17 มกราคม ค.ศ. 1964) หรือ ที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และที. เอช. ไวท์ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ดมีตรี ชอสตโกวิช

องชอสตาโกวิช เมื่อปี ค.ศ. 1950 ดมีตรี ดมีตรีเยวิช ชอสตโกวิช (Dmitri Dmitrievich Shostakovich; Дмитрий Дмитриевич Шостакович; เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1906 - เสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1975) เป็นคีตกวีชาวรัสเซีย ในยุสมัยสหภาพโซเวียตเรืองอำนาจ ผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาส่วนใหญ่เป็นซิมโฟนี และสตริงควอร์เต็ต อย่างละ 15 บท หลังจากที่เขาเสียชีวิต ความเห็นของเขาที่มีต่อชีวิตในสหภาพโซเวียตได้กลายมาเป็นหัวข้อวิพากษ์วิจารณ์ทางการเมือง และความขัดแย้งทางดนตรี ชื่อของเขาเป็นที่รู้จักในภาษาเยอรมันว่า "Dmitri Schostakowitsch" อันเนื่องมาจากการที่เขาได้นำชุดตัวโน้ต DSCH (ซึ่งหมายถึง ตัว เร-มีแฟลต-โด-ที ในระบบตัวโน้ตของเยอรมัน และชื่อย่อของเขาในภาษาเยอรมัน) มาใช้เป็นเอกลักษณ์ทางดนตรีของตนเอง ชอสตโกวิชมีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนกับรัฐบาลโซเวียด ถูกทางการประณามบทเพลงของเขาถึงสองครั้ง ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และดมีตรี ชอสตโกวิช · ดูเพิ่มเติม »

ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม

วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม · ดูเพิ่มเติม »

คองเงอซังเงิน

องเงอซังเงิน (Kongesangen, "เพลงของพระเจ้าแผ่นดิน") เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของนอร์เวย์ ประพันธ์โดยเฮนริก เวร์เกอลันด์ ส่วนเนื้อร้องที่ใช้อยู่ในปัจจุบันประพันธ์โดยกุสตัฟ เยนเซิน สำหรับใช้ในพิธีบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และคองเงอซังเงิน · ดูเพิ่มเติม »

คุโจ มิชิตะกะ

้าชายคุโจ มิชิตะกะ (九条 道孝, Kujō Michitaka? 1839-1906), บุตรชายของนิโจ ฮิสะทาดะ และเป็นบุตรบุญธรรมของ นิโจ ยูกิโนะริ เป็นขุนนางของญี่ปุ่นในปลายสมัยเอโดะ และตอนต้นสมัยเมจิ ในเวลาต่อมา พระธิดาของพระองค์ได้สมรสกับสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช เป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม ซึ่งหลังจากนั้นก็คือเป็นสมเด็จพระอัยยิกาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ปัจจุบัน ดังนั้นเจ้าชายคุโจ มิชิตะกะผู้ซึ่งเป็นพระบิดาของสมเด็จพระจักรพรรดินีเทเมจึงทรงเป็นพระเปตามหัยกาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ปัจจุบันด้วย ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และคุโจ มิชิตะกะ · ดูเพิ่มเติม »

คุโจ ฮิซะตะดะ

ทาดะ คุโจว ฮิสะทาดะ (ญี่ปุ่น:九条 尚忠, Kujō Hisatada? พ.ศ. 2341- พ.ศ. 2414) บุตรชายของนิโจ ฮารุทากะ เป็นสมาชิกของตระกูลฟุจิวะระ และ ตระกูลคุโจว เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นคัมปะกุในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และคุโจ ฮิซะตะดะ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดา

งูอนาคอนดา หรือ งูโบอาน้ำ (Anacondas, Water Boas) เป็นชื่อสามัญและสกุลของงูขนาดใหญ่ 4 ชนิดที่อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae ใช้ชื่อสกุลว่า Eunectes อาศัยอยู่ในหนอง บึง และแม่น้ำในป่าดิบชื้นในทวีปอเมริกาใต้และเกาะตรินิแดด โดยที่คำว่า Eunectes มาจากภาษากรีกคำว่า Eυνήκτης หมายถึง "ว่ายน้ำได้ดี".

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และงูอนาคอนดา · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดายักษ์

งูยักษ์ในแม่น้ำบนเกาะบอร์เนียว ที่เชื่อว่าเป็นภาพตกแต่ง งูอนาคอนดายักษ์ (Giant Anaconda) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่เชื่อกันว่าว่ามีอยู่ในป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้ โดยเป็นงูอนาคอนดาขนาดใหญ่ที่ใหญ่กว่างูอนาคอนดาธรรมดามาก ซึ่งชื่อในภาษาท้องถิ่นเรียกว่า "คอบร้าแกรนดี" แปลว่า "งูยักษ์" โดยที่งูอนาคอนดาสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดนั้น คือ งูอนาคอนดาเขียว (Eunectes murinus) ที่โตเต็มที่จะยาวได้ประมาณ 17 ฟุต (แต่อาจยาวได้ถึง 29 ฟุต) และงูใหญ่จำพวกอื่น คือ งูเหลือม (Python reticulatus) ที่พบในทวีปเอเชีย ก็อาจยาวได้มากกว่า 20 ฟุต เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์นั้น ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าและนิทานพื้นบ้านของชนพื้นเมืองมานานแล้ว จนกระทั่งมีการเข้าไปสำรวจทวีปอเมริกาใต้ของชาวตะวันตกในยุคล่าอาณานิคม โดยชาวสเปนและชาวโปรตุเกสได้รายงานมาว่า มีงูขนาดใหญ่ที่เรียกว่า "มาตาโตโร่" ที่แปลได้ว่า "งูกินวัว" โดยรายงานว่ามันมีความยาวกว่า 80 ฟุต ต่อมาในปี ค.ศ. 1906 พันเอกเพอร์ซี ฟาลเคตต์ ซึ่งเป็นนักสำรวจผู้เขียนแผนที่ป่าอเมซอนได้เขียนลงในบันทึกของเขาว่าเขามีหนังงูที่มีความยาว 62 ฟุต และกล่าวว่า เขาได้สังหารงูตัวนี้ด้วยปืนไรเฟิลด้วยกระสุนขน.44 ในกระดูกสันหลังของมัน ซึ่งมันโจมตีใส่เรือของคณะเขา เส้นผ่าศูนย์กลางของลำตัวมันเกินกว่า 12 นิ้ว และอาจจะใหญ่ได้มากกว่านี้ถ้าได้กินอาหารเข้าไป ในปี ค.ศ. 1925 สาธุคุณวิคเตอร์ไฮนซ์ เห็นงูขนาดใหญ่ที่แม่น้ำริโอเนโกรซึ่งสาขาของแม่น้ำอเมซอน ท่านกล่าวว่าลำตัวของมันที่มองเห็นได้อย่างน้อยยาวกว่า 80 ฟุต และร่างกายมีความหนาเหมือนหนังกลอง ต่อมาหนังสือพิมพ์เปอร์นัมบูโก ในบราซิลประจำวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1948 ตีพิมพ์ภาพและพาดหัวว่า พบงูอนาคอนดาที่มีน้ำหนักกว่า 5 ตัน ขณะที่กำลังกินวัวไปครึ่งตัว โดยภาพส่วนหนึ่งแสดงให้เห็นซากงูที่ถูกชำแหละโดยชาวอินเดียนพื้นเมือง วัดความยาวได้ 113 ฟุต 4 เดือนต่อมาหนังสือพิมพ์นูตี อิลลัสตราดา ของริโอเดอจาเนโร ได้ลงภาพถ่ายของงูอนาคอนดาตัวหนึ่งที่ถูกฆ่าโดยทหารบก มีความยาวทั้งสิ้น 115 ฟุต นอกจากนี้แล้วการรายงานพบเห็นงูขนาดใหญ่ยังมีในทวีปอื่นด้วย ในทวีปแอฟริกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 มีเรื่องเล่าของนักสำรวจว่า ในประเทศแอฟริกาใต้ บริเวณแม่น้ำออเรนจ์ มีถ้ำที่มีอัญมณีซุกซ่อนอยู่ โดยมีงูยักษ์ชื่อ กรูสสแลง เฝ้าอยู่ปากถ้ำ งูนี้มีลำตัวยาว 13 เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางลำตัวกว้าง 1 เมตร และมีความเชื่อของชนพื้นเมืองแถบน้ำตกอูกราบีส์ ซึ่งเป็นน้ำตกของแม่น้ำออเรนจ์ว่า ใต้น้ำตกเป็นที่อยู่ของงูใหญ่ที่เฝ้าสมบัติอยู่ในนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังฝนตก เมื่อปรากฏรุ้งขึ้น นั่นคือ ลำตัวของงูที่มานอนอาบแดด ซึ่งมีผู้อ้างว่าเคยพบเห็นงูตัวนี้ โดยอ้างว่ามีสีดำสนิททั้งตัว พันเอกเรเน่ เลียร์ด ได้ขับเฮลิคอปเตอร์ของเขาจากเมืองกาตังกาในเบลเยียมคองโก ทันใดนั้นมีงูขนาดใหญ่ตัวหนึ่งได้โจมตีเฮลิคอปเตอร์ของเขา แต่เขาเอาตัวรอดพ้นได้และถ่ายรูปงูนั้นได้หลายรูป ประมาณความยาวได้กว่า 40–50 ฟุต ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 ปรากฏเป็นข่าวฮือฮาจากชาวพื้นเมือง บนเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซียว่าได้พบเห็นงูขนาดยักษ์ตัวหนึ่งแหวกว่ายอยู่ในแม่น้ำบนเกาะและถูกบันทึกภาพไว้ได้ ซึ่งน่าจะยาวกว่า 100 ฟุต แต่รูปนี้ก็ยังเป็นที่สงสัยอยู่ว่าเป็นการตกแต่งหรือไม่ และในเดือนพฤศจิกายน ปีเดียวกัน ที่เมืองกูผิง มณฑลเจียงซี ประเทศจีน ขณะมีการก่อสร้างถนนผ่านพื้นที่ป่า คนงานก่อสร้างก็พบกับงูขนาดใหญ่ยาวถึง 16.7 เมตร หนักถึง 300 กิโลกรัม อายุคาดว่าน่าจะอยู่ที่ 140 ปี ถึง 2 ตัว และหนึ่งในสองตัวนั้นก็ได้รับบาดเจ็บจากการถูกรถแบ็คโฮขุดถนนขุดถูกทำให้บาดเจ็บและตายลงในที่สุด อีกตัวก็หนีเข้าป่าไป ซึ่งซากงูตัวที่ตายนั้นได้ถูกถ่ายภาพและเป็นภาพที่แพร่หลายกันในประเทศจีน เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์ได้ถูกอ้างอิงในวัฒนธรรมสมัยนิยมหลายประการ เช่น ภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด 3 ภาค เรื่อง Anaconda ในปี ค.ศ. 1997 Anacondas: The Hunt for the Blood Orchid ในปี ค.ศ. 2004 และ Anaconda 3: The Offspring ในปี ค.ศ. 2008 และเป็นสารคดีทางโทรทัศน์ของดิสคัฟเวอรี่ แชนนอลชุด Lost Tapes ในปี ค.ศ. 2009 ชื่อตอน Megaconda.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และงูอนาคอนดายักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา (Escudo de Costa Rica) ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848), แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่1 เมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และ ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964), การแก้ไขครั้งล่าสุดเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และตราแผ่นดินของคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ (Samuel Beckett) (13 เมษายน ค.ศ. 1906 - 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนเรื่องสั้น, นักเขียนบทละคร, นักเขียนบทความ และ กวีคนสำคัญชาวไอริช งานของเบ็คเค็ทท์ที่แสดงภาพพจน์อันมืดมนของวัฒนธรรมของมนุษย์ทั้งอย่างเป็นทางการและในทางปรัชญาค่อยกลายมาที่มีลักษณะเป็นงานจุลนิยม (minimalism) มากขึ้นต่อมา ขณะที่เป็นลูกศิษย์ ผู้ช่วย และเพื่อนของเจมส์ จอยซ์ เบ็คเค็ทท์ถือว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนแบบสมัยใหม่นิยมคนสุดท้ายผู้เป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเขียนหลายคนต่อมา และบางครั้งก็ถือว่าเป็นนักเขียนคนแรกของสมัยใหม่นิยมสมัยหลัง (Postmodernism) นอกจากก็ยังถือกันว่าเบ็คเค็ทท์เป็นนักเขียนคนสำคัญคนหนึ่งของลักษณะการเขียนที่มาร์ติน เอสส์ลิน (Martin Esslin) เรียกว่า "ละครแปลกวิสัย" (Theatre of the Absurd) ซึ่งทำให้เบ็คเค็ทท์กลายเป็นนักเขียนผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เบ็คเค็ทท์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และซามูเอล เบ็คเค็ทท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบรูไน

รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศกรีซใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศวานูอาตู

วานูอาตู (บิสลามา, อังกฤษ และVanuatu) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐวานูอาตู (บิสลามา: Ripablik blong Vanuatu; Republic of Vanuatu; République de Vanuatu) เป็นประเทศหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย 1,750 กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศวานูอาตู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศอาร์เจนติน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศจีนใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศซานมารีโน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชียใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศโครเอเชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศโครเอเชียใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2449

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2449 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศไทยใน พ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไซปรัสใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศไซปรั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศไซปรัสใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศเดนมาร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบียใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศเซอร์เบี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศเซอร์เบียใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบ้า (สกุล)

ปลาบ้า (Leptobarbus) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะที่สำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ มีหัวกว้าง มีหนวดยาว 2 คู่ ปากค่อนข้างกว้าง มุมปากอยู่หน้านัยน์ตา เกล็ดมีขนาดปานกลาง เส้นข้างลำตัวอยู่ต่ำกว่าแนวกลางลำตัว ไปสิ้นสุดลงที่ส่วนล่างของโคนหาง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 7 ก้าน และที่ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน เป็นปลาที่กินพืช โดยเฉพาะเมล็ดพืชเป็นอาหาร สกุลปลาบ้ามีทั้งหมด 4 ชนิด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศไทย ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา นับเป็นปลาจำพวกปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ สำหรับในประเทศไทยพบเพียงแค่ชนิดเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลาบ้า (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงขาว (สกุล)

ปลากะพงขาว สกุลของปลาน้ำจืด, น้ำกร่อย และปลาทะเลจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Lates (/ลา-ติส/) มีรูปร่างโดยรวม คือ รูปร่างลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากค่อนข้างยาวและแหลม นัยน์ตาโต ปากกว้างยืดหดได้ มุมปากอยู่เลยไปทางหลังนัยน์ตา ฟันเป็นฟันเขี้ยวอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง ขอบกระดูกแก้มเป็นหนามแหลม ขอบกระดูกกระพุ้งเหงือกแข็งและคม คอดหางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง เกล็ดใหญ่มีขอบหยักเป็นหนามเมื่อลูบจะสากมือ ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบเป็นหนามแข็ง ปลายแหลม อันที่สองเป็นครีบอ่อนมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบใหญ่ปลายกลมมน มีขนาดตั้งแต่ประมาณ 1 ฟุต ไปจนถึงเกือบ 2 เมตร และมีน้ำหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม ในปลากะพงแม่น้ำไนล์ (L. niloticus) ซึ่งจัดว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลนี้และวงศ์นี้ ที่พบได้ในแหล่งน้ำจืดของทวีปแอฟริกา ปลากะพงขาวมีทั้งหมด 9 สปีชีส์ ซึ่งจัดว่ามีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ ทั้งหมดนิยมใช้ตกเป็นปลาเกมกีฬา และนิยมบริโภคเนื้อเป็นอาหาร พบตั้งแต่ทะเลสาบน้ำจืดหลายแห่งในทวีปแอฟริกาไปจนถึงชายฝั่งทะเลในทวีปเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย โดยมี 2 ชนิดเท่านั้นที่พบในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ซึ่งคำว่า Lates นั้นมาจากภาษาละตินคำว่า latēre หมายถึง "ถูกซ่อนไว้".

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลากะพงขาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงข้างปาน

ปลากะพงข้างปาน (Russell's snapper, Moses perch) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์เดียวกันทั่วไป ครีบหลังมีฐานยาว ครีบหางมีขนาดใหญ่และปลายเว้าเล็กน้อย มีพื้นลำตัวสีเหลืองหรือสีทอง หรือสีน้ำตาลแดงหรือสีขาวเงิน มีเส้นสีแดงปนน้ำตาลจำนวน 8 เส้น พาดผ่านและโค้งไปตามแนวลำตัว บริเวณก่อนถึงโคนหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร เมื่อยังเป็นลูกปลาจะมีลายพาดแนวนอนตามลำตัวตั้งแต่หัวจรดหาง 3-4 ขีด และเมื่อโตขึ้นลายขีดจะหายไป ครีบและหางกลายเป็นสีเหลือง อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลใกล้ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน พบในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ในประเทศไทยพบได้ทั้งชายฝั่งอันดามันและอ่าวไทย นิยมอยู่เป็นฝูง นิยมตกเป็นเกมกีฬา เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลากะพงปานข้างลาย", "ปลาเหลืองลีซี" หรือ "ปลากะพงทอง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลากะพงข้างปาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินม้าลาย

ปลาสลิดหินม้าลาย หรือ ปลาสลิดหินอานม้า (หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปลาม้าลาย หรือ ปลาอานม้า; Whitetail dascyllus, Hambug dascyllus, Three stripe damsel, Threebar dascyllus) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dascyllus aruanus อยู่ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลาสลิดหินม้าลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอ (สกุล)

ปลาหมอ (Climbing perch) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอ (Anabantidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Anabas (/อะ-นา-เบส/) ลักษณะที่สำคัญของปลาในสกุลนี้คือ จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่ด้านหน้าจุดเริ่มต้นของครีบอก และฐานของครีบหลังยาวกว่าฐานของครีบก้น มีฟันเป็นทรงกรวยลักษณะแหลมคม ไม่มีฟันที่เพดานปาก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และฟิลิปปินส์ พบเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลาหมอ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอฟรอนโตซ่า

ปลาหมอฟรอนโตซ่า มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyphotilapia frontosa อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างแบนข้าง ริมฝีปากหนา ลำตัวสีขาวคาดด้วยแถบสีดำเป็นปล้อง ๆ ตลอดลำตัว ครีบต่าง ๆ ปลายครีบยาวแหลมโดยเฉพาะตัวผู้ เมื่อโตขึ้นหัวของตัวผู้จะโหนกนูนเห็นได้ชัดเจน มีความยาวเต็มที่ราว 30 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง อาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาบริเวณแอฟริกาตอนกลางและแอฟริกาตะวันออก โดยเฉพาะในทะเลสาบแทนกันยีกา อาหารหลักได้แก่ ลูกปลาขนาดเล็กกว่า ปลาหมอฟรอนโตซ่าจัดเป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมอสี จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามมาช้านาน จนอาจกล่าวได้ว่า เป็น "ราชาของปลาหมอสี" เช่นเดียวกับปลาปอมปาดัวร์ที่ถูกจัดเป็น "ราชินีแห่งปลาตู้" ในแวดวงปลาสวยงามจะจำแนกปลาหมอฟรอนโตซ่าเป็นสายพันธุ์ย่อยต่าง ๆ โดยแบ่งตามเกณฑ์ที่พบในแหล่งน้ำหรือภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งสามารถแบ่งได้นับ 10 สายพันธุ์ แต่ไม่จัดว่าเป็นการแบ่งตามหลักอนุกรมวิธาน ปลาหมอฟรอนโตซ่าจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เมื่อถึงอายุ 3-4 ปี โดยตัวเมียจะมีพฤติกรรมอมไข่หลังจากไข่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 4 สัปดาห์ จัดเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่มีอายุยาวนาน โดยสามารถมีอายุยาวได้ถึง 25 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลาหมอฟรอนโตซ่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตขาว

ปลาอินซีเน็ตขาว หรือ ปลาอินซิกนิสขาว (โปรตุกิส: Bocachico) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Curimata cyprinoides อยู่ในวงศ์ปลาคาราซินไม่มีฟัน (Curimatidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาอินซีเน็ต (Semaprochilodus spp.) ที่อยู่ต่างวงศ์กัน แต่อยู่ในอันดับเดียวกัน คือ Characiformes แต่ว่ามีข้อแตกต่างกันที่ปลาอินซีเน็ทขาวมีเกล็ดเป็นสีเงินหรือสีขาวแวววาวตลอดทั้งตัวตลอดทั้งครีบต่าง ๆ ด้วย มีปากที่ขยับไปมาได้ตลอดใช้สำหรับคุ้ยเขี่ยหาอาหารตามพื้นน้ำกินเป็นอาหารเหมือนปลาอินซีเน็ท ยกเว้นแต่แผงฟันในขากรรไกรและในคอหอยไม่มีหรือขาดตอนไป อันเป็นลักษณะเฉพาะของปลาในวงศ์นี้ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำหลัก ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ อาทิ อเมซอน, โอรีโนโกและโทแคนตินส์ เมื่อปลามีขนาดโตเต็มที่ สีตามลำตัวจะเปลี่ยนไปเป็นคล้ำลง และทรวดทรงลำตัวจะออกไปในทรงป้านมากกว่าทรงยาว เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่นเป็นปกติ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งนับได้ว่าเป็นปลาที่หาได้ยากในแวดวงปลาสวยงาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลาอินซีเน็ตขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตดำ

ปลาอินซีเน็ตดำ (Black Prochilodus, Boquichico) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prochilodus nigricans อยู่ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างยาวและลำตัวกลมกว่าปลาในสกุล Semaprochilodus ริมฝีปากหนาและขยับไปมาตลอดเวลาได้ เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมีสีเงินและมีสีดำคล้ำเป็นแถบยาวตามแนวนอนลำตัว ยิ่งปลาที่มีขนาดเล็กจะเห็นได้ชัดเจน ขอบเกล็ดมีสีดำ ครีบหลังและครีบหางมีขนาดเล็ก ส่วนท้องป่องออก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 31 เซนติเมตร พบใหญ่สุดประมาณ 37 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโทแคนตินส์ ในบราซิลและอาร์เจนตินา เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยมักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำ และหากินโดยใช้ปากที่ขยับไปมาตลอดนั้นตอดหากินบริเวณท้องน้ำ ผสมพันธุ์และวางไข่ในฤดูน้ำหลาก โดยมีอัตราการวางไข่เฉลี่ยครั้งละ 100,000 ฟอง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย นับเป็นปลาที่หาได้ยากและมีราคาแพงชนิดหนึ่งของวงศ์นี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลาอินซีเน็ตดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแลมป์เพรย์

ปลาแลมป์เพรย์ (Lamprey, Lamprey eel) เป็นปลาที่อยู่ในชั้นใหญ่ปลาไม่มีขากรรไกร จัดอยู่ในอันดับ Petromyzontiformes และวงศ์ Petromyzontidae ปลาแลมป์เพรย์มีลำตัวยาวลักษณะคล้ายปลาไหล ลำตัวด้านหลังมักจะเป็นสีดำ มีครีบหลังและครีบหาง แต่ไม่มีครีบคู่ ไม่มีเกล็ด ปากจะอยู่ค่อนลงมาทางด้านท้อง มีลักษณะเป็นวงกลมใช้สำหรับดูด มีฟันแหลมคมจำนวนมากที่เจริญดีอยู่ในอุ้งปาก รูจมูกมี 1 รูซึ่งอยู่กึ่งกลางด้านบนของหัว มีตา 1 คู่ ถุงเหงือก 7 ถุง และมีช่องเหงือก 7 ช่อง หัวใจประกอบด้วยเวนตริเคิล 1 ห้อง และเอเตรียม 1 ห้อง โครงร่างเป็นกระดูกอ่อนและเส้นใย และยังคงมีโนโตคอร์ดอยู่ เส้นประสาทหลัง มีการพัฒนาเป็นสมองซึ่งมีเส้นประสาทสมอง 8-10 คู่ ทางเดินอาหารไม่มีกระเพาะอาหาร ส่วนลำไส้บิดเป็นเกลียว มีลักษณะเพศแยกออกเป็นเพศผู้และเพศเมียชัดเจน ปลาแลมป์เพรย์พบได้ทั้งลำธารในน้ำจืด และในทะเล พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก ทั้งยุโรปตอนบน, อเมริกาเหนือ, อเมริกาใต้, แอฟริกาตะวันตก, ญี่ปุ่น, เกาหลี, ชิลี, ออสเตรเลีย และเกาะแทสมาเนีย ปลาแลมป์เพรย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 จำพวกใหญ่ ๆ คือ แบบธรรมดา จะอาศัยอยู่ตามลำธาร ช่วงชีวิตส่วนใหญ่จะเป็นระยะตัวอ่อนที่กินอาหารแบบกรอง ตัวเต็มวัยมีชิวิตอยู่ 3-4 สัปดาห์ โดยไม่กินอาหารเนื่องจากทางเดินอาหารสลายตัว เหลือเพียงสายของเนื้อเยื้อที่ไม่มีหน้าที่การทำงานและจะตายไปหลังวางไข่ ปลาแลมป์เพรย์จำพวกนี้สามารถดำรงชีวิตได้เอง โดยการกินสัตว์อื่นเป็นอาหาร มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 15-60 เซนติเมตร จะมีการวางไข่ที่ลำธารน้ำจืดที่มีพื้นเป็นทรายและก้อนกรวดเล็ก ๆ ตามพื้นท้องน้ำและวางไข่ในฤดูตัวผู้จะเริ่มสร้างแอ่งวางไข่โดยใช้ปากคาบเอาหินและกรวดจากพื้นโดยการแกว่งลำตัวทำให้ก้อนกรวดกระจายออกไปเกิดเป็นแอ่งรูปไข่ ตัวเมียจะตามมาและเกาะกับหินเหนือแอ่ง ตัวผู้เกาะทางด้านหัวของตัวเมีย ตัวเมียปล่อยไข่ลงในแอ่ง ตัวผู้ปล่อยน้ำเชื้อออกผสม ไข่ที่ปฏิสนธิแล้วจะยึดเกาะกับก้อนกรวดในแอ่ง แล้วกลบด้วยทราย ลักษณะพิเศษคือ หลังวางไข่แล้วทั้งตัวผู้และเมียก็จะตายไป จากนั้น ไข่จะฟักออกในเวลา 2 สัปดาห์ เป็นตัวอ่อนขนาดเล็กตัวยาว เรียกว่า แอมโมซีทิส (Ammocoetes) ซึ่งจะคงอยู่ในแอ่งจนตัวยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ก็จะฝังตัวเข้าไปในทรายแล้วออกมาหากินในเวลากลางคืน ระยะตัวอ่อนแอมโมซีทีสจะยาวนานประมาณ 3-7 ปี จึงจะเจริญเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ซึ่งตัวเต็มวัยจะคงอยู่ในน้ำจืดอีกประมาณ 1 ปี แล้วก็วางไข่ จากนั้นก็จะตายไป ส่วนชนิดที่เป็นปลาทะเลก็จะอพยพคืนถิ่นสู่ทะเล มีอายุยืนยาวกว่าชนิดที่เป็นปลาน้ำจืด เมื่อเข้ามาวางไข่ในน้ำจืดจะไม่กินอาหาร และ ปลาแลมป์เพรย์ที่เป็นปรสิต จะมีปากคล้ายแว่นดูดและมีอุ้งปาก คล้ายถ้วยลึกลงไปในอุ้งปาก และลิ้นมีฟันที่เจริญดีอยู่ มันจะใช้ปากเกาะเหยื่อและใช้ฟันและลิ้นครูดเอาเนื้อออก และให้เลือดของเหยื่อไหลผ่านได้สะดวก ปลาแลมป์เพรย์จะสร้างสารป้องกันการตกตะกอนของเลือดส่งไปที่ปากแผล เมื่อดูดเลือดของเหยื่อจนตัวเหยื่อแห้งก็จะปล่อยแล้วหาเหยื่อใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปลาแลมป์เพรย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปอล ดูแมร์

แซ็ฟ อาตานาซ ปอล ดูเม (Joseph Athanase Paul Doumer; 22 มีนาคม พ.ศ. 2400 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2475) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและผู้ว่าการอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปอล ดูแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ กูว์รี

ปีแยร์ กูว์รี (Pierre Curie; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 – 19 เมษายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส สามีของมารี กูว์รี นักเคมีชาวโปแลนด์ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1903.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และปีแยร์ กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2369 โดยในตอนแรกเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดินแดนที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2410 ได้กลายเป็นอาณานิคมอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลสหราชอาณาจักรอย่างเต็มตัว และได้รับเอกราชภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และนิคมช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

แบงท์ เอ็ดเลียน

แบงท์ เอ็ดเลียน (ขวา) กับสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน แบงท์ เอ็ดเลียน (Bengt Edlén; 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1906 — 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993) เป็นทั้งศาสตราจารย์ทางฟิสิกส์และนักดาราศาสตร์ชาวสวีเดนผู้ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในด้านสเปกโทรสโกปี เขาได้เข้าร่วมในการแก้ ปริศนาโคโรนา ซึ่งเป็นเส้นเงาที่ไม่สามารถระบุได้ในสเปกตรัมของดวงอาทิตย์ โดยเชื่อกันอย่างคร่าวๆว่าน่าจะมาจากธาตุไม่ปรากฏชื่อมาจนบัดนี้โดยเรียกว่าโคโรเนียม ในภายหลัง แบงท์ เอ็ดเลียน ได้แสดงให้เห็นว่าเส้นเหล่านั้นมาจากการแตกตัวของเหล็กที่แตกตัวเป็นไอออน (Fe-XIV) การค้นพบของเขาไม่ได้รับการยอมรับในทันที ตั้งแต่ไอออนไนซ์ได้รับการอ้างอิงว่าต้องมีอุณหภูมิที่ล้านองศา หลังจากนั้นอุณภูมิของโคโรนาดวงอาทิตย์ก็ได้รับการตรวจสอบ นอกจากนี้ เขายังมีผลงานสำคัญในการวิเคราะห์สเปกตรัมของดาววูล์ฟ-ราเยท์ แบงท์ เอ็ดเลียน ได้เป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยลุนด์ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และแบงท์ เอ็ดเลียน · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เนสโต เชซะโร

แอร์เนสโต เชซะโร (Ernesto Cesàro; 12 มีนาคม พ.ศ. 2402 – 12 กันยายน พ.ศ. 2449) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลีที่ศึกษาด้านเรขาคณิตอนุพันธ์ หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลจากเนเปิลส์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และแอร์เนสโต เชซะโร · ดูเพิ่มเติม »

แองเคอร์สะเวห์

แองเคอร์สะเวห์ (Anchors Aweigh แปลว่า "ถอนสมอ") เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งโดยชาลส์ เอ. ซิมเมอร์แมน คำร้องโดย อัลเฟรด ฮาร์ต ไมลส์ในปี ค.ศ. 1906 โดยไมลส์ซึ่งเป็นนักเรียนโรงเรียนนายเรือสหรัฐอเมริการุ่นปี 1907 ได้ขอร้องให้ซิมเมอร์แมน ซึ่งเป็นหัวหน้าวงดุริยางค์โรงเรียนนายเรือ ช่วยแต่งเพลงสำหรับเป็นเพลงประจำรุ่นในปีนั้น เพลงแองเคอร์สะเวห์ได้รับการบรรเลงและขับร้องครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และแองเคอร์สะเวห์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ รัสกา

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่สร้างโดยรัสกาในปี ค.ศ. 1933 แอนสท์ เอากุสต์ ฟรีดริช รัสกา (Ernst August Friedrich Ruska; 25 ธันวาคม ค.ศ. 1906 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1988) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองไฮเดลแบร์ก และเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก หลังเข้าทำงานที่มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลิน รัสกาได้ตั้งข้อสังเกตว่ากล้องจุลทรรศน์ที่ใช้อิเล็กตรอนจะให้รายละเอียดของภาพมากกว่าชนิดที่ใช้แสง เขาและมักซ์ นอลล์จึงได้ร่วมกันสร้างกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนขึ้น ต่อมารัสกาได้ร่วมงานกับบริษัทซีเมนส์ ซึ่งมีส่วนในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนในเชิงพาณิชย์ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และแอนสท์ รัสกา · ดูเพิ่มเติม »

แอโรเพลนเจลลี

แอโรเพลนเจลลี เป็นยี่ห้อเยลลีในออสเตรเลียซึ่งคิดค้นโดยเบิร์ท แอปเปิลรอธ (Bert Appleroth) ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทเทรเดอร์ส จำกัด ของแอปเปิลรอธที่เริ่มจากการประกอบธุรกิจหลังบ้าน และต่อมากลายเป็นหนึ่งในธุรกิจครอบครัวผู้ผลิตอาหารรายใหญ่รายหนึ่งของออสเตรเลีย ได้ขายธุรกิจให้กับแม็คคอมิค ฟูดส์ ออสเตรเลีย (McCormick Foods Australia) บริษัทในเครือแม็คคอมิคแอนด์คัมพานี (McCormick & Company) ของสหรัฐอเมริกา แอโรเพลนเจลลีเป็นผู้นำทางการตลาดในธุรกิจเยลลี่ของประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขายมากกว่า 18 ล้านห่อต่อปี มีรสแรสเบอร์รีเป็นรสชาติที่ขายดีที่สุด แอโรเพลนเจลลีได้ออกโฆษณาที่ประสบความสำเร็จ และมีเพลงโฆษณาที่ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาวออสเตรเลีย เพลงโฆษณาดังกล่าวเป็นหนึ่งในเพลงโฆษณาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในออมเตรเลีย โดยเฉพาะในทศวรรษที่ 1940 ซึ่งมีการเล่นเพลงโฆษณาผ่านสื่อวิทยุมากกว่า 100 ครั้งต่อวัน เพลงโฆษณาดังกล่าวได้รับการบันทึกไว้ยังหอภาพยนตร์และเสียงของออสเตรเลีย ในหมวดหมู่เสียงแห่งออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และแอโรเพลนเจลลี · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เฮสเซอ

แฮร์มันน์ เฮสเซอ right แฮร์มันน์ เฮสเซอ (Hermann Hesse) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1877 — 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นกวี นักเขียน และจิตรกรชาวเยอรมัน-สวิส เกิดที่เมืองคาลฟ์ในประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1945 ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ สิทธารถะ และ เกมลูกแก้ว เฮสเซอเริ่มสร้างสรรค์งานประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเมื่อมีอายุได้ 21 ปี จนเมื่อมีอายุได้ 26 ปี จึงเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย นอกจากความสามารถทางด้านการประพันธ์แล้ว เฮสเซอยังมีความสามารถทางจิตรกรรมสีน้ำอีกด้วย เฮสเซอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และแฮร์มันน์ เฮสเซอ · ดูเพิ่มเติม »

โม่ สัมบุณณานนท์

ม่ สัมบุณณานนท์ เกิดเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2449 ที่กรุงเทพฯ เป็นบุตรของนายกิ๊ด-นางอุ่น สัมบุณณานนท์ เป็นพี่ชายของคำรณ สัมบุณณานนท์ นักร้องชื่อดัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโม่ สัมบุณณานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคอัลไซเมอร์

รคอัลซไฮเมอร์ หรือ โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's disease หรือ AD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois Alzheimer) และถูกตั้งชื่อตามท่าน โรคนี้จัดเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่หายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท้าย โดยทั่วไปแล้วสามารถวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ได้ในผู้ป่วยอายุมากกว่า 65 ปี แต่ก็พบโรคอัลไซเมอร์ชนิดหนึ่งคือ โรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็ว (early-onset Alzheimer's) ซึ่งเกิดในคนอายุน้อยแต่มีความชุกของโรคน้อยกว่า ประมาณการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2549 มีประชากรราว 26.6 ล้านคนทั่วโลกที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ และจะเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่าใน พ.ศ. 2593ประมาณการณ์ความชุกใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรคอัลไซเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบำรุงวิทยา

รงเรียนบำรุงวิทยา (Bamrung Wittaya school;; อักษรย่อ: บ.ว., BWS) เป็นโรงเรียนเอกชน โดยโรงเรียนมีการแบ่งแผนก เป็นแผนกอนุบาล แผนกประถม และแผนกมัธยม ก่อตั้งโดยโดยโดย ศาสนาจารย์อัลเฟรดดีฮัดสันและ ศาสนาจารย์เพอร์ซี แอล เอ คล้าร์ค มิชชันนารี (คณะคริสตจักรของพระคริสต์แห่งประเทศสหราชอาณาจักร) วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2449.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนบำรุงวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร

รงเรียนพิชัยรัตนาคาร (Phichai Rattanakhan School.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ  มีเนื้อที่ 76 ไร่ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางริ้น อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนพิชัยรัตนาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2447 ณ ตึกแถวมุมถนนอัษฎางค์และถนนจักรเพชร ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ตึกริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองตลาด และมีการเปิดรับนักเรียนกินนอนขึ้นใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนราชินี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ

รงเรียนวัฒโนทัยพายัพ โรงเรียนมาตรฐานสากล(World- Class Standard School) โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเคยเป็นโรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพมาก่อน ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนแบบสหศึกษาในระดับมัธยมศึกษา พ.ศ. 2449 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "ยุพราชวิทยาลัย" พ.ศ. 2471 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "วัฒโนทัยพายัพ" พ.ศ. 2476 โรงเรียนสตรีวัฒโนทัยพายัพ พ.ศ. 2517 โรงเรียนวัฒโนทัยพายั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสารคามพิทยาคม

รงเรียนสารคามพิทยาคม (Sarakham Pittayakhom School) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งตั้งอยู่ที่เขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มหาสารคาม เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนนครสวรรค์ เทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม มีบริเวณพื้นที่ทั้งหมด 36 ไร่ 2 งาน เดิมเปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รับทั้งนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย ในปีการศึกษา 2538 กรมสามัญศึกษาอนุญาตให้เปิดสอนสหศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนสารคามพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวิทยา

รงเรียนสตรีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ว.; อังกฤษ: Satri Wittaya School) หรือเรียกอย่างย่อ ว่า สตรีวิท เป็นโรงเรียนรัฐบาลมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนสตรีล้วน ตั้งอยู่ที่ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 ถึง ม.6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุงเทพมหานคร).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนสตรีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนผดุงดรุณี

รงเรียนผดุงดรุณี เป็นโรงเรียนเอกชน เปิดสอนที่ ซอยประมวญ ถนนสีลม กรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ปัจจุบันได้รวมกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนผดุงดรุณี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์

รงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ เป็นโรงเรียนเอกชนโรมันคาทอลิกและคอนแวนต์ของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร และมีผู้จัดตั้งโรงเรียนคือมุขนายกฌอง หลุยส์ เวย์ จัดตั้งโรงเรียนเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายเรือ

รงเรียนนายเรือ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนายทหารเรือชั้นสัญญาบัตรของกรมยุทธศึกษาทหารเรือ กองทัพเรือไทย ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายเรือ เรียกว่า นักเรียนนายเรือ (นนร.) นักเรียนนายเรือที่สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาบัตรในระดับปริญญาตรีเช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ และมีสิทธิได้รับการแต่งตั้งยศนายทหารชั้นสัญญาบัตรเป็น "ว่าที่เรือตรี".

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนนายเรือ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

รงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 222 ถนนชุมพล ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ฉะเชิงเทรา เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษา ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2435 เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนประจำมณฑลปราจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โอฟีเลีย (มิเล)

อฟีเลีย (Ophelia) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอห์น เอเวอเรตต์ มิเล จิตรกรสมัยกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลชาวอังกฤษ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์เททบริเตนใน กรุงลอนดอนในอังกฤษ จอห์น เอเวอเรตต์ มิเลเขียนภาพ “โอฟีเลีย” ระหว่างปี ค.ศ. 1851 ถึงปี ค.ศ. 1852 เป็นภาพของตัวละครโอฟีเลียในบทละคร “แฮมเลต” โดยวิลเลียม เช็คสเปียร์ ขณะที่ร้องเพลงก่อนที่จะจมน้ำตายในลำแม่น้ำในเดนมาร์ก “โอฟีเลีย” เป็นภาพเขียนที่มีอิทธิพลต่อศิลปะแขนงต่าง ๆ นอกไปจากในสาขาจิตรกรรมเองเช่นในศิลปะการถ่ายภาพ หรือการสร้างภาพยนตร์และอื่น ๆ เมื่อแสดงเป็นครั้งแรกที่ราชสถาบันศิลปะภาพเขียนไม่ได้รับการต้อนรับเท่าใดนัก แต่ต่อมาได้รับการชื่นชมมากขึ้นในความงามของภาพและรายละเอียดภูมิทัศน์ธรรมชาติของภาพ มูลค่าของภาพเขียนตีราคากันว่าประมาณ 30 ล้านปอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโอฟีเลีย (มิเล) · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

โอแคนาดา

อแคนาดา หรือ โอกานาดา เป็นเพลงชาติของประเทศแคนาดา ประพันธ์ทำนองโดย กาลิซา ลาวาลเล (Calixa Lavallée) เมื่อ ค.ศ. 1880 เพื่อใช้เป็นเพลงปลุกใจสำหรับการเฉลิมฉลองวันแซงต์-ฌ็อง-บาปตีสต์ในปีนั้น (Saint-Jean-Baptiste Day) เนื้อร้องเดิมแต่งเป็นภาษาฝรั่งเศสโดย เซอร์อดอล์ฟ บาซีล รูทิเอร์ (Sir Adolphe Basile Routhier) เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโอแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

โจซูเอ คาร์ดุชชี

ซูเอ คาร์ดุชชี (โจซูเอ คาร์ดุชชี) (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2378 – 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450) เป็นกวีชาวอิตาลีซึ่งบ่อยครั้งเป็นที่ยกย่องว่าเป็นหนึ่งในกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอิตาลี เขายังเป็นครูอีกด้วย คาร์ดุชชีถูกยกย่องให้เป็นกวีแห่งชาติอย่างไม่เป็นทางการของประเทศอิตาลีสมัยใหม่ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโจซูเอ คาร์ดุชชี · ดูเพิ่มเติม »

โซชีเอตาสปอร์ตีวากัลโชนาโปลี

ซชีเอตาสปอร์ตีวากัลโชนาโปลี (Società Sportiva Calcio Napoli) เป็น สโมสรฟุตบอล ใน ประเทศอิตาลี จาก เมืองเนเปิลส์ และเป็นหนึ่งในสโมสรที่ร่วมก่อตั้งลีก เลกาเซเรียอา นาโปลียุคแรกก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1904 โดย กะลาสี เรือ ชาวอังกฤษ ชื่อ วิลเลี่ยม พ็อตส์ ในชื่อว่า Napoli Foot-ball & Cricket โดยใช้ สีฟ้า สีของ ทหารเรือ เป็นสีประจำสโมสรมาจนถึงทุกวันนี้และใช้ สีดำ เป็นสีของกางเกงในอีก 2 ปีต่อมาคือ ค.ศ. 1906 สโมสรได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งโดยเหลือแค่ Napoli Foot-ball Club ในปี ค.ศ. 1926 จิออร์จิโอ อัสคาเรลลี ประธานสโมสรในขณะนั้นได้ทำการเปลี่ยนชื่อสโมสรอีกครั้งเป็น AC Napoli และใช้ชื่อนี้มาถึง 78 ปีก่อนที่ในปี ค.ศ. 2004 ออเรลิโอ เด ลอเรนติส ผู้สร้างหนังชื่อดัง ชาวอิตาลี ได้ทำการเทคโอเวอร์สโมสรพร้อมกับเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น S.S.C. Napoli มาจนถึงปัจจุบัน ในยุคทศวรรษที่ 80 สโมสรได้ทำการดึงตัว ดิเอโก มาราโดนา กัปตันทีมชาติอาร์เจนตินาชุดแชมป์ ฟุตบอลโลก 1986 เข้าร่วมทีมพร้อมกับพาทีมคว้าแชมป์ เซเรียอา ถึง 4 สมัยและแชมป์ ยูฟ่าคัพ ในปี 1990.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และโซชีเอตาสปอร์ตีวากัลโชนาโปลี · ดูเพิ่มเติม »

ไฟเซอร์

ฟเซอร์ อิงค์ (Pfizer, Incorporated) (NYSE) เป็นบริษัทยาที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก (รองจาก จอห์นสัน & จอห์นสัน) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นผู้ผลิตยาลิปิเตอร์ (อะโทวาสแตติน) ซึ่งเป็นยาที่ขายดีที่สุดในโลก (เป็นยาลดคอเลสเตอรอลในเลือด) ยาต้านเชื้อรา ไดฟลูแคน (ฟลูโคนาโซน-fluconazole) ยาปฏิชีวนะออกฤทธิ์นาน ไซโทรแมกซ์ (อะซิโทรมัยซิน-azithromycin) ยารักษาโรคย้อนสมรรถภาพทางเพศ (erectile dysfunction) ไวอะกรา (ซิลเดนาฟิลซิเตรต - sildenafil citrate) และยาบรรเทาปวด ซีลีเบรกซ์ (ซีลีโคซิบ-celecoxib) หุ้นของไฟเซอร์อยู่ในดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2004.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และไฟเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรเฟิล .30 – 06

รเฟิล.30 - 06 เป็นปืนไรเฟิลที่มีหมายเลขกำกับอยู่ 2 หมายเลขคือ หมายเลข 30 ซึ่งหมายถึงขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของลำกล้องปืนเท่ากับ 0.30 นิ้ว และหมายเลข 06 หมายถึงเลขปี ค.ศ. 1906 ซึ่งเป็นปีที่ทหารในกองทัพสหรัฐอเมริกา นำปืนไรเฟิล.30 - 06 เข้ามาประจำการ สำหรับปืนไรเฟิล ซีแซ.30 - 06 (Rifle CZ.30 - 06) เป็นปืนที่ผลิตภายในสาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic) มีความแข็งแรงและทนทาน ลำกล้องเรียบ น้ำหนักไม่มากและมีราคาถูก จึงได้รับความนิยมจากผู้ใช้เช่นชาวบ้านหรือพรานล่าสัตว์มืออาชีพ ใช้กระสุนขนาด 30 - 06 ที่ได้รับการพัฒนาในประเทศอเมริกาเพื่อใช้ภายในกองทัพ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1906 และเป็นที่มาของหมายเลข 06 ต่อท้ายหมายเลข 30 เป็นกระสุนขนาดกลาง หัวกระสุนมีน้ำหนักที่แตกต่างกันออกไป สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม เช่น หัวกระสุนในขนาด 180 เกรน ความเร็วของวิถีกระสุนประมาณ 2750 ฟิต/วินาที เกิดแรงปะทะ 3023 ฟุต-ปอนด์John Walter, Rifle of The World, DBI Books, Inc, ISBN 0873492021 ปืนไรเฟิล มัลลิเคอร.30 - 06 (Rifle Mannlicher.30 - 06) เป็นปืนที่ผลิตและจำหน่ายภายในประเทศออสเตรีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีการผลิตปืนยาวที่ใช้สำหรับราชการทหารและทางเชิงพาณิชย์ ลำกล้องปืนมีลักษณะเพรียว หนาและหนักรวมทั้งมีราคาค่อนข้างสูงตามแบบฉบับปืนในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และไรเฟิล .30 – 06 · ดูเพิ่มเติม »

ไทม์สแควร์

ูนย์กลางเศรษฐกิจ และความบันเทิงของโลก ไทม์สแควร์ (Times Square) เป็นจุดตัดสำคัญของถนนใน แมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก โดยเป็นจุดตัดของถนนบรอดเวย์ กับ ถนนเซเวนท์ เอเวนิว อีกทั้งยังเป็นจุดที่อยู่ระหว่าง ถนนเวสต์ โฟตี เซเคอนด์ สตรีท กับ ถนนเวสต์ โฟตี เซเวนท์ สตรีท ซึ่งไทม์สแควร์ทอดตัวยาวอยู่บนพื้นที่ในบล็อกระหว่างถนนซิกท์ เอเวนิว กับ ถนนเอกท์ เอเวนิว ในความยาวแนวตะวันออก - ตะวันตก และอยู่บนพื้นที่ระหว่างถนนเวสต์ โฟตีท์ สตรีท กับ ถนนเวสต์ ฟิฟท์ตี เทิร์ด สตรีท ในแนวเหนือ - ใต้ โดยไทมสแควร์เองได้กลายเป็นจุดสำคัญจุดหนึ่งบนฝั่งตะวันตกของย่านธุรกิจการค้าในเขตมิดทาวน์ แมนฮัตตัน เดิมทีในอดีตไทม์สแควร์มีชื่อว่า ลองแกร์ สแควร์ โดยภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น ไทม์สแควร์ ภายหลังจากที่ได้มีการก่อสร้างตึกไทม์ (ปัจจุบัน:ตึกวันไทม์สแควร์) แล้วเสร็จ ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของหนังสือพิมพ์ เดอะนิวยอร์กไทมส์ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1904 ไทม์สแควร์ได้กลายสถานะเป็นสถานที่ที่สำคัญของโลกและได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของนครนิวยอร์ก ซึ่งเป็นผลมาจากที่ไทม์สแควร์เป็นสถานที่ที่ดูทันสมัย ล้ำยุค เพราะมีจอโฆษณาขนาดใหญ่มากมายติดอยู่ตามบริเวณโดยรอบ นอกจากนี้ไทม์สแควร์ ยังเป็นจุดปลายสุดทางฝั่งตะวันออกของ ลินคอล์น ไฮเวย์ หรือ ทางหลวงลินคอล์น อันเป็นทางหลวงสายแรกที่ตัดผ่านสหรัฐอเมริกา บริเวณโดยรอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และไทม์สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไคลด์ ทอมบอ

ทอมบอในไร่นาของครอบครัวกับกล้องโทรทรรศน์ทำเอง ไคลด์ วิลเลียม ทอมบอ (Clyde William Tombaugh; 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 – 17 มกราคม พ.ศ. 2540) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันผู้ค้นพบดาวเคราะห์แคระพลูโตเมื่อ พ.ศ. 2473 ทอมบอ เกิดที่เมืองสเตรเตอร์ รัฐอิลลินอยส์ ครอบครัวยากจนเกินกว่าที่จะส่งทอมบอ เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยได้ หลังจากครอยครัวย้ายไปเมืองอยู่ที่รัฐแคนซัส ทอมบอ ได้สร้างกล้องโทรทัศน์ขึ้นด้วยตนเองเพื่อใช้ส่องดูดาว จากการส่งภาพวาดดาวพฤหัสและดาวอังคารที่เขาศึกษาจากกล้องทำเองไปให้สถาบันหอดูดาวโลเวลล์ดู ทอมบอจึงได้งานเป็นผู้ช่วยนักดาราศาสตร์ที่นั่นแลได้ค้นพบดาวพลูโตดังกล่าวเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และไคลด์ ทอมบอ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติ

ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ประกอบเพลงชาติ มักมีการใช้ภาพประกอบเพลงที่แสดงถึงความฮึกเหิมและปลุกใจให้รักชาติ (ตัวอย่างในที่นี้ เป็นภาพยนตร์เพลงชาติสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2487) เพลงชาติ (National anthem) หมายถึง บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้น เพื่อปลุกเร้าให้หวนระลึกถึงหรือสรรเสริญประวัติศาสตร์ชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ หรือการต่อสู้ของชนในชาติ โดยได้รับการยอมรับจากรัฐบาลของชาตินั้น ๆ อย่างเป็นทางการ หรือความตกลงใจร่วมกันของประชาชนในชาติว่า เพลงดังกล่าวเป็นเพลงประจำชาติของตน ในหนังสือ "เพลงชาติ" โดย สุกรี เจริญสุข ได้กล่าวถึงความหมายของเพลงชาติไว้ 4 ประการ คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเพลงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสรรเสริญพระบารมี

ำว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) โดยการแปลเทียบเคียงจากชื่อเพลงสรรเสริญพระบารมีของไทย (แปลตามตัวว่า เพลงยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์) เพลงชนิดนี้เป็นเพลงปลุกใจชนิดหนึ่ง โดยมากจะคล้ายคลึงกับเพลงชาติ แต่มักใช้กับบรรดาพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ เนื้อหาของเพลงมักเป็นไปในทางถวายพระพรแด่สถาบันพระมหากษัตริย์ เพลงประเภทนี้นิยมบรรเลงในยามที่พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์เสด็จออกในที่สาธารณะ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่าง ๆ การเสด็จออกมหาสมาคม และการเสด็จพระราชดำเนินในที่ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวาระโอกาสสำคัญของพระราชวงศ์ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเพลงสรรเสริญพระบารมี · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสรรเสริญธงชาติบราซิล

ลงสรรเสริญธงชาติบราซิล (Hino à Bandeira Nacional), เป็นเพลงสรรเสริญธงชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเพลงสรรเสริญธงชาติบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงของหลี่ฮงชาน

ลงของหลี่ฮงชาน เป็นเพลงชาติฉบับแรกอย่างไม่เป็นทางการของจักรวรรดิจีน บทร้องประพันธ์โดย หลี่ ฮงชาน เมื่อ ค.ศ. 1896 สมัยราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเพลงของหลี่ฮงชาน · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์แดรฟุส

ันทึกข้อมูลบอร์เดอโร จุดเริ่มต้นของเหตุการณ์แดรฟุส เหตุการณ์แดรฟุส (Affaire Dreyfus) คือ วิกฤตการณ์ทางการเมืองและสังคมในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 ของฝรั่งเศส ซึ่งเริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2437 และดำเนินต่อเนื่องกันไปจนถึง พ.ศ. 2449 เหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดความแตกแยกระหว่างสถาบันหลักทางการปกครองและสังคมฝรั่งเศสซึ่งเริ่มตั้งแต่การปฏิวัติฝรั่งเศส พ.ศ. 2332 ปรากฏเด่นชัดอีกครั้ง และกลายเป็นปัญหาล่อแหลมต่อการดำรงอยู่ของระบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ทั้งยังมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางการเมืองและสังคมของฝรั่งเศสในเวลาต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเหตุการณ์แดรฟุส · ดูเพิ่มเติม »

เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์

อกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École nouvelle de la Suisse romande) โรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2449 ซึ่งนักเรียนที่ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนแห่งนี้มีทั้งแบบไป-กลับและอยู่ประจำ ที่โรงเรียนแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ได้เคยเสด็จมาศึกษาในช่วง พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2486 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ขณะดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช) ได้เคยเสด็จมาศึกษาในช่วง พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2488.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอมีล ลูแบ

อมีล ฟร็องซัว ลูแบ (Émile François Loubet) อดีตประธานาธิบดีฝรั่งเศส, นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส และผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์ร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเอมีล ลูแบ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ด กีน

อ็ดเวิร์ด ทีโอดอร์ กีน (Edward Theodore Gein) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ เอ็ด กีน (Ed Gein) เป็นฆาตกรฆ่าต่อเนื่องโรคจิตชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเอ็ด กีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2497) ทรงเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ในประเทศเยอรมนี พระองค์ที่สี่และสุดท้าย (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) และในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งอัลบานีอีกด้วย เจ้าชายชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พระองค์ทรงถูกถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2461 พระองค์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และต่อมาได้ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีเยอรมัน ยังความเสื่อมเสียที่ใหญ่หลวงมาให้แก่เจ้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน ซึ่งเป็นพระภคินีเพียงพระองค์เดียว สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระภคินีในพระเชษฐภรรดา รวมถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ

้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย

ฟรีดริช วิลเฮล์ม วิคเตอร์ ออกุสต์ แอร์นส์ (ภาษาเยอรมัน:Friedrich Wilhelm Victor August Ernst; ประสูติ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2425 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารพระองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรปรัสเซีย และจักรวรรดิเยอรมัน เจ้าชายวิลเฮล์มประสูติ ณ เมืองพอทสดัม รัฐบรานเดนบวร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี และพระมเหสีพระองค์แรกเจ้าหญิงออกัสตา วิคตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลง สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี พระราชบิดาทรงสละราชสมบัติ เจ้าชายวิลเฮล์มทรงถูกเนรเทศไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ และเสด็จกลับมายังเยอรมันในปี พ.ศ. 2466 หลังจากให้คำสัญญาว่าจะไม่ทรงยุ่งเกี่ยวกับการเมืองอีก พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 ด้วยโรคหัวใจ ณ รัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก ประเทศเยอรมัน พระชนมายุ 69 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย (2449-2483)

้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย (วิลเฮล์ม ฟรีดริช ฟรันซ์ โจเซฟ คริสเตียน โอลาฟ; ประสูติ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2449 - 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) ทรงเป็นเจ้าชายแห่งปรัสเซีย เจ้าชายวิลเฮล์มประสูติเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย (2449-2483) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าชายแอนดรูว์ แห่งกรีซและเดนมาร์ก (20 มกราคม พ.ศ. 2425 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีโอลก้าแห่งกรีซ ทรงเป็นสมาชิกของราชวงศ์ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึกซ์เต็นบูร์ก เป็นพระชนกในเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโทะชิฮิโตะ คุโจ

้าชายคุโจ โทะชิฮิโตะ หรือ พระมาตุลาโทชิฮิโตะ (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2423 - 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกของตระกูลฟุจิวะระ ของญี่ปุ่น เป็นพระโอรสในเจ้าชายคุโจ มิจิทะกะ และ นางโนะมะ อิกุโกะ ประสูติที่ ปราสาทคุโจ กรุงโตเกียว พระองค์ได้เษกสมรสกับ คุณหญิง อิจิโจะ มิซูโกะ เป็นพระเชษฐาใน สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม พระอัครมเหสีใน จักรพรรดิไทโช โทชิฮิโตะเป็นพระมาตุลาในจักรพรรดิโชวะ เจ้าชายโทชิฮิโตะ เป็นต้นราชสกุลคาซาม่า หรือ ตระกูลคาซาม่า มีโอรส-ธิดาทั้งสิ้น 2 พระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าชายโทะชิฮิโตะ คุโจ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง

้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง เป็นราชบุตรองค์โต ในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)

อมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) (14 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464) ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2457 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464 เป็นพระโอรสในหม่อมเจ้านิล ฉัตรกุล (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) กับหม่อมราชวงศ์ สุ่น ปาลกะวงศ์ (นัดดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปาน กรมหมื่นนราเทเวศร์).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน

้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน (พ.ศ. 2449 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์โตใน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าขานแก้วขจรศักดิ์ เจ้าพงศ์ธาดา เป็นผู้เป็นพุทธบริษัท ทำนุบำรุงพรพพุทธศาสนาตลอด และสอนให้บุตรทุกคนประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เมื่อครั้งไปรับราชการที่จังหวัดนครปฐม เจ้าพงศ์ธาดา มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 4 ท่าน คือ เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน เจ้าวรรณรา ณ ลำพูน เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน และเจ้ารัทธาธร ณ ลำพูน และมีน้องต่างมาดา จำนวน 4 คน คือ เจ้าประกายคำ ณ ลำพูน เจ้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน และเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม

้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม (HRH Princess Marie-José of Belgium; มารี-โจเซ ชาร์ล็อต โซฟี อาเมลี อ็องเรียต กาเบรียลล์; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2449 — 27 มกราคม พ.ศ. 2544) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์สุดท้ายของประเทศอิตาลี ในช่วงการดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระราชินีมเหสีเป็นเวลาสามสิบห้าวันในเดือนพฤษภาคม ทำให้มีพระสมัญญาว่า "ราชินีแห่งเดือนพฤษภาคม" (The May Queen) เจ้าหญิงมารี-โจเซประสูติ ณ เมืองออสเตนด์ ประเทศเบลเยียม โดยเป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กและพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบรต์ที่ 1 แห่งเบลเยียม กับ เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย พระมเหสี เมื่อแรกประสูติพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี จนกระทั่งการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์

้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาเรีย แอนนันซิเอตาแห่งซิซิลีทั้งสอง

้าหญิงมาเรีย แอนนันซิเอตาแห่งซิซิลีทั้งสอง เจ้าหญิงมาเรีย แอนนันซิเอตาแห่งซิซิลีทั้งสอง หรือพระนามเต็ม มาเรีย อันนุนซีอาตา อีซาเบลลา ฟีโลเมนา ซาบาเซีย (Princess Maria Annunciata of the Two-Sicilies; พรนามเต็ม Maria Annunziata Isabella Filomena Sabasia von Habsburg-Lothringen (ราชสกุลเดิม de Bourbon)) ทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงแห่งซิซิลีทั้งสอง และอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย หลังจากทรงอภิเษกสมรส และเป็นพระชายาองค์ที่ 2 ในอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรียด้วย เจ้าหญิงมาเรีย แอนนันซิเอตา ประสูติเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2386 ณ เมืองกาแซร์ตา ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งซิซิลีทั้งสอง และอาร์ชดัชเชสมาเรีย เทเรซ่าแห่งออสเตรีย พระองค์ทรงได้รับการศึกษาในเมืองเนเปิลส์ ตั้งแต่ทรงพระเยาว์จวบจนสำเร็จการศึกษา เมื่อทรงสำเร็จการศึกษา สมเด็จพระราชมารดาทรงจัดพระราชพิธีอภิเษกสมรสให้ทันที โดยพระองค์ได้ทรงอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์ อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรีย พระโอรสในอาร์ชดยุกฟรานซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย เมื่อวันที่ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2405 โดยหลังจากอภิเษกสมรส พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย มีพระโอรส 3 พระองค์ และพระธิดา 1 พระองค์ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงมาเรีย แอนนันซิเอตาแห่งซิซิลีทั้งสอง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลูอีสแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงลูอีสแห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงลูอีสแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน

้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน หรือ อลิซ แมรี่ วิกตอเรีย ออกัสตา พอลีน หรือพระอิสริยยศแรกเดิม เจ้าหญิงอลิซแห่งออลบานี (Princess Alice, Countess of Athlone, VA, GCVO, GBE; พระอิสริยยศแรกเดิม Princess Alice of Albany; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2426 - 3 มกราคม พ.ศ. 2524) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงมีจุดเด่นที่ยังคงเป็นเจ้าหญิงในเชื้อพระวงศ์ที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของพระราชวงศ์อังกฤษและพระราชนัดดาที่ทรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย อีกทั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี พร้อมกับทั้งเจ้าหญิงแห่งเท็คจากการอภิเษกสมรสจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2460 เมื่อพระองค์ต้องทรงสละฐานันดรศักดิ์ทั้งหมดตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2435 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา และพระมเหสีในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย ดังนั้นจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย (Empress of Austria) สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี (Queen of Hungary) และสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย (Queen of Bohemia) โดยทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตกับราชวงศ์ฝรั่งเศส โปรตุเกส และสเปน เจ้าหญิงซีตา ซึ่งเป็นพระธิดาพระองค์ที่สิบเจ็ดในดยุกโรเบิร์ตที่ 1 แห่งปาร์มา ได้อภิเษกสมรสกับอาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรียในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เจ้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา หรือ เบียทริซ เลโอโพลดีน วิกตอเรีย (20 เมษายน พ.ศ. 2427 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2509) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย และต่อมาได้อภิเษกสมรสไปสู่พระราชวงศ์สเปน และเป็นพระชายาในเจ้าชายอัลฟองโซแห่งออร์เลอ็อง-บอร์บอน เจ้าชายแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู)

้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู) (พ.ศ. 2387 - พ.ศ. 2456) เป็นตำแหน่งที่เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเจ้าหลวงน้อยอินทร์, เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ ๘ กับ พระเจ้ามโหตรประเทศ, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๕ ขณะดำรงพระยศ เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ ได้ทูลขอตั้งเมืองเชียงรายโดยให้เป็นเมืองขึ้นของเชียงใหม่ และตั้งเมืองงาว เมืองพะเยา เป็นเมืองขึ้นของนครลำปาง ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เจ้าหลวงวงศ์เป็น "พระยาประเทศอุดรทิศ" ผู้ครองเมืองพะเยา ตั้งแต่นั้นมา จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเปลี่ยนอำนาจการบริหารปกครองประเทศใหม่โดยยกเลิกมณฑลเปลี่ยนมาเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ตำแหน่งเจ้าผู้ครองเมืองจึงได้ยกเลิกไป พระยาประเทศอุดรทิศเจ้าเมืองพะเยาองค์สุดท้ายได้กราบบังคมทูลลาออกจากตำแหน่ง ทางการจึงตั้งนายคลาย บุษยบรรณ มาเป็นนายอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ (6 มีนาคม พ.ศ. 2433 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2526) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนั้นท่านยังเป็นคนสุดท้ายที่ได้ร้องเพลง นางร้องไห้ และเจ้าจอมคนสุดท้ายของราชวงศ์จักรีที่ยังดำรงชีพและถึงแก่อนิจกรรมในรัชกาลที่9.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5

้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันพุธที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2429 เป็นธิดา หม่อมเจ้าจำรูญ ปราโมช และ หม่อมเยื้อน ปราโมช ณ อยุธยา ท่านมีน้องร่วมมารดา 2 คน คือ ร้อยโท หม่อมราชวงศ์จรัญ ปราโมช และหม่อมราชวงศ์ชาย (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังไม่มีชื่อ) เมื่อวัยเยาว์ เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย อาศัยอยู่กับท่านพ่อที่วังบูรพาภิรมย์ เพราะท่านพ่อเสด็จอยู่กับ จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จนกระทั่งอายุได้ 7 ปี ท่านพ่อจึงส่งเข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวังกับพระญาติในราชสกุลปราโมช ซึ่งรับราชการอยู่ในห้องเครื่องต้น วันหนึ่งท่านได้ตามเสด็จ หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช ไปรับเงินจ่ายประจำเดือนของห้องเครื่อง จากพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ (พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา) พระอรรคชายาเธอฯทอดพระเนตรเห็นหม่อมราชวงศ์จรวยเป็นเด็กน่าเอ็นดู จึงขอไปทรงเลี้ยง และเมื่อหม่อมราชวงศ์จรวยมีอายุครบ 10 ปี ได้ทรงพระเมตตาจัดพิธีโกนจุกประทานด้วย ครั้นอายุได้ 18 ปี พระอรรคชายาเธอฯจึงนำท่านขึ้นถวายตัวรับราชการฝ่ายใน เป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับพระราชทานเงิน 5 ชั่ง ผ้าลายและแพรห่ม 2 สำรับตามประเพณี ซึ่งท่านได้รับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณจนตลอดรัชกาล โดยมีหน้าที่จัดเตรียมเครื่องสรงพระพักตร์ และทรงเครื่องในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวบรรทมตื่นที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ในช่วงเวลา 11-12 น. และเมื่อเสด็จพระราชดำเนินออกเสวย ก็ต้องอยู่ประจำในหน้าที่ตั้งเครื่องเสวยทั้งในมื้อเช้าและมื้อเย็น รับใช้ไปจนเข้าที่พระบรรทม ราว 5-6 น. บางครั้งก็ต้องรับหน้าที่อ่านหนังสือถวายแทนเจ้าจอมมารดาเลื่อน และคอยเฝ้าในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปรุงพระกระยาหารด้วยพระองค์เองด้วย เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้า เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 และเข็มพระกำนัล อักษรพระบรมนาม.ป.ร.ลงยาสีชมพูห้อยริบบิ้นเหลืองจักรี และเมื่อมีพิธีเฉลิมพระที่นั่งอัมพรสถาน ท่านได้รับพระราชทานเกียรติยศให้เป็นผู้เชิญพานฟักในงานพระราชพิธีสำคัญนั้นด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 5 แล้ว เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้ออกจากพระบรมมหาราชวังมาอาศัยอยู่ในสำนักพระวิมาดาเธอฯ ที่พระราชวังสวนสุนันทา จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2472 จึงออกมาอาศัยกับหม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช จนสิ้นชีพิตักษัย ครั้งสุดท้ายได้ออกมาอยู่กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา ที่ตำหนักทิพย์ ถนนราชวิถี ได้ตามเสด็จเสด็จพระองค์อาทรฯไปฟังธรรมที่วัดบวรนิเวศวิหารเป็นประจำ จนกระทั่งเสด็จพระองค์อาทร สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ. 2501 จึงอยู่กับเจ้าจอมอาบ และนายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ ผู้เป็นทายาทต่อมา เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ปราโมช ป่วยด้วยโรคชรา ถึงอนิจกรรมเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 สิริอายุได้ 82 ปี 4 เดือน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เทียนวรรณ

ทียนวรรณ หรือ ต.ว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเทียนวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เงาะป่า (วรรณคดี)

งาะป่า เป็นวรรณคดีไทย ประเภท บทละครร้อยกรอง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในระหว่างการพักฟื้นหลังทรงพระประชวร โดยใช้เวลาเพียง 8 วันเท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเงาะป่า (วรรณคดี) · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหับเอเชีย

ต่าหับเอเชีย (Asian box turtles; 閉殼龜屬; พินอิน: Bì ké guī shǔ) เป็นสกุลของเต่าสกุลหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cuora มีรูปร่างคล้ายโดยรวมคล้ายกับเต่าในวงศ์นี้ส่วนใหญ่ คือ กระดองโค้งกลมเห็นได้ชัด มีลักษณะสำคัญ คือ กระดองส่วนท้องแบ่งออกเป็น 2 ตอน สามารถทำให้พับหับได้เหมือนกล่อง ซึ่งเต่าจะสามารถเก็บส่วนหัว ขาทั้ง 4 ข้าง และหางได้ปิดสนิท เต่าหับเอเชียนั้นมีอยู่ด้วยกันทั้งหมดประมาณ 9 ชนิด กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และตอนใต้ของจีน เช่น มณฑลยูนนาน เป็นเต่าที่สามารถว่ายน้ำได้ดี แต่มักที่จะอยู่บนพื้นดินที่มีความชุ่มชื้นมากกว่า กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เต่าหับเอเชียนอกจากได้รับความนิยมในแง่ของการเป็นสัตว์เลี้ยงแล้ว ยังถือว่าเป็นสัตว์นำโชคอีกด้วย เชื่อว่าจะนำโชคลาภมาสู่ผู้เป็นเจ้าของ โดยเฉพาะหากเต่าหับตัวใดมีหับที่ใต้ท้องมากกว่า 2 ตอน หรือ 3 ตอน และยังนำกระดองไปทำเป็นเครื่องรางของขลังได้อีกด้วย โดยเฉพาะอย่างในเต่าหับเหรียญทอง (C. aurocapitata) โดยที่มาของความเชื่อมาจากชาวจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเต่าหับเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหัวค้อน

ต่าหัวค้อน หรือ เต่าล็อกเกอร์เฮด หรือ เต่าจะละเม็ด (Loggerhead) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caretta caretta จัดเป็นเพียงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Caretta ลักษณะทั่ว ๆ ไปคล้ายเต่าหญ้า (Lepidochelys olivacea) และเต่าตนุ (Chelonia mydas) มาก ต่างกันที่เกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้ามี จำนวน 2 คู่ เท่ากับเต่าหญ้า แต่เกล็ดบนกระดองหลังแถวข้างมีจำนวน 5 แผ่นซึ่งต่างจากเต่าทะเลชนิดอื่น ๆ และรูปทรงของกระดองจะเรียวเล็กลงมาทางส่วนท้ายและเป็นสันแข็งเห็นชัดเจน กระดองมีสีน้ำตาลแดง น้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลส้ม ขอบชายโครงมีสันแข็ง ขณะที่ยังเป็นลูกเต่ากระดองจะยกสูง ที่สำคัญเป็นจุดเด่น คือ มีหัวขนาดใหญ่โตอย่างเห็นได้ชัด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ขาซึ่งเป็นใบพายทั้งคู่หน้าและคู่หลังมีเล็บหนึ่งเล็บในแต่ละข้าง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดกระดองหลังยาวประมาณ 85 เซนติเมตร กระดองท้อง 60 เซนติเมตร มีน้ำหนักตัวประมาณ 70 กิโลกรัม กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำมีเปลือกและหอย เป็นอาหารหลัก พบน้อยมากที่มหาสมุทรแปซิฟิก แต่พบมากที่มหาสมุทรแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบน้อยมาก และไม่พบรายงานว่ามีการขึ้นมาวางไข่เป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว แต่ยังพบได้บ้างที่เขตอบอุ่นทางตอนเหนือของออสเตรเลียและทะเลญี่ปุ่น หรืออินโดนีเซีย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเต่าหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

เนชันนัลเอมเบลม

นชันนัลเอมเบลม (National Emblem) เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งโดยเอดวิน ยูยีน แบกลีย์ นักแต่งเพลงชาวอเมริกันในปี ค.ศ. 1902 เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1906 เป็นหนึ่งผลงานเพลงมาร์ชอเมริกันที่มีชื่อเสียงที่สุด นิยมบรรเลงในวันชาติสหรัฐอเมริกา เนื่องจากส่วนหนึ่งของทำนองเพลง มาจากบางท่อนของ เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์ เพลงชาติสหรัฐ แบกลีย์แต่งเพลงนี้ขณะโดยสารรถไฟไปกับเพื่อนร่วมวง เมื่อแต่งเพลงนี้เสร็จเขากลับไม่ชอบทำนองตอนจบเพลง แต่เพื่อนร่วมวงที่ฟังอยู่ในตู้โดยสารถัดไปกลับชื่นชอบ และแจ้งกับแบกลีย์ว่าจะนำเพลงนี้ออกบรรเลงในการแสดงครั้งต่อไปของวง ทั้งๆ ที่ตัวแบกลีย์โยนโน้ตเพลงนี้ทิ้งไปแล้ว ครั้งหนึ่งจอห์น ฟิลิป ซูซา ให้สัมภาษณ์ว่า หากให้เลือกเพลงมาร์ชห้าเพลงที่คิดว่าดีที่สุด ห้าเพลงนั้นประกอบด้วยผลงานของซูซาเองจำนวนสี่เพลงได้แก่ เซ็มเปอร์ฟิเดลิส, เดอะวอชิงตันโพสต์, เดอะทันเดอเรอร์ และ เดอะสตาร์แอนด์สไตรพ์ฟอร์เอเวอร์ อีกเพลงหนึ่งนั้นคือ เนชันนัลเอมเบลม ของแบกลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และเนชันนัลเอมเบลม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ18 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

1906 (แก้ความกำกวม)

1906 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ1906 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ27 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤษภาคม

วันที่ 29 พฤษภาคม เป็นวันที่ 149 ของปี (วันที่ 150 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 216 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ29 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กรกฎาคม

วันที่ 8 กรกฎาคม เป็นวันที่ 189 ของปี (วันที่ 190 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 176 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ8 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 มีนาคม

วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2449และ9 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ร.ศ. 125ค.ศ. 1906

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »