โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2301

ดัชนี พ.ศ. 2301

ทธศักราช 2301 ใกล้เคียงกั.

220 ความสัมพันธ์: ชะมดแผงชะมดแผงหางปล้องชั้นไบวาลเวียชิน ยุน-บกบ่างฟิลิปปินช้างเอเชียช้างเอเชีย (สกุล)พ.ศ. 2278พ.ศ. 2279พ.ศ. 2304พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซียพะยูนแมนนาทีพิตต์สเบิร์กกรมพระราชวังบวรสถานมงคลกระรอกข้างลายท้องแดงกระต่ายยุโรปกระต่ายแจ็กกวางชะมดไซบีเรียกวางแดงกั้งตั๊กแตนเจ็ดสีกิ้งก่าบินก็องดีดมอลลัสกามักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์มนุษย์ราชวงศ์บ้านพลูหลวงราชอาณาจักรบริเตนใหญ่รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามพระประมุขทิเบตรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปนรายนามจุฬาราชมนตรีลิงบาบูนลิงบาร์บารีลิ่นจีนวาฬฟินวาฬสเปิร์มวาฬหัวคันศรวาฬนาร์วาลวาฬเพชฌฆาตวงศ์กวางชะมดวงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาววงศ์ปลาวัววงศ์ปลาสามรสวงศ์นกเป็ดน้ำวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทาสกุลพุนชัสสกุลลิงซ์สกุลวูลเปสสกุลแมวสกุลไซเลอร์อัส...สกุลเตตราโอดอนสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 13สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรสังข์รดน้ำสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกสัตว์ปีกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสิงโตสิงโตบาร์บารีหมาจิ้งจอกอาร์กติกหมาจิ้งจอกทองหมาจิ้งจอกแดงหมาไม้ต้นสนยุโรปหมีสีน้ำตาลหอยชักตีนหอยสังข์มะระหอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลียหอยหมากหอยงวงช้างมุกหอยแมลงภู่หอยแครงหอยเบี้ยจักจั่นหอยเบี้ยแก้ตัวเล็กหอยเต้าปูนหอยเต้าปูนลายแผนที่หนอนนกหนูหริ่งหนูหริ่งบ้านหนูท้องขาวหนูตะเภาอัลปากาอันดับวานรอันดับด้วงอาสนวิหารล็องกร์อาณาจักรอยุธยาอิเหนาฮิปโปโปเตมัสผีเสื้อหนอนใบกระท้อนฌ็อง-ฌัก เดซาลีนจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะจิ้งหรีดทองแดงลายทะไลลามะทากิฟูงุทาร์เซียร์ฟิลิปปินดาวมงกุฎหนามด้วงกว่างแอตลัสด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสด้วงแรดมะพร้าวควายคางคกซูรินามค้างคาวสเปกตรัมค้างคาวแม่ไก่ป่าฝนงูสมิงทะเลงูสมิงทะเลปากดำงูอนาคอนดาเขียวงูเหลือมอ้องูเขียวหัวจิ้งจกมลายูตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรูตัวกินมดยักษ์ตัวกินมดซิลกี้ตุ๊กแกบ้านตุ่นจมูกดาวซาลาแมนเดอร์ไฟประวัติศาสตร์อังกฤษประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ตปลาพาราไดซ์ปลากระโทงดาบปลากะพงขาว (สกุล)ปลากะพงแม่น้ำไนล์ปลาการ์ตูนอานม้าปลาวัวปิกัสโซปลาสลิดหินม้าลายปลาสิงโตปีกปลาสเตอร์เจียนยุโรปปลาสเตอร์เจียนขาวปลาหางแข็งปลาหนวดพราหมณ์ปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้นปลาอีโต้มอญปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาวปลาผีเสื้อนกกระจิบปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือปลาขี้ตังเบ็ดลายปลาดักปลาดาบเงินใหญ่ปลาตูหนายุโรปปลาฉลามกรีนแลนด์ปลาฉลามขาวปลาซักเกอร์ธรรมดาปลาปักเป้าฟาฮากาปลาปักเป้าหนามทุเรียนปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาวปลาแสงอาทิตย์ปลาแซลมอนแอตแลนติกปลาใบโพจุดปลาโอแถบปลาโนรีปลาโนรีครีบยาวปลาโนรีเทวรูปปลาไนปลาเขียวพระอินทร์ปลาเฉี่ยวหินปูปูม้าปูจั๊กจั่นนกชาปีไหนนกกระจอกชวานกกระเต็นน้อยธรรมดานกกานกกาน้ำใหญ่นกกาเหว่านกยูงนกสาลิกาปากดำนกอีเสือสีน้ำตาลนกขุนทองนกคอพันนกปรอดหัวโขนนกเกาะคอนนกเดินดงสีดำนกเค้าแมวหิมะนากทะเลนากใหญ่ธรรมดาแบล็กบักแบดเจอร์ยุโรปแฟร์ดีนันด์ อัลเบร็คท์ที่ 2 ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิลแมลงแมวแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกสแมงอีนูนแมงดาแอตแลนติกแรดอินเดียแรดดำแร็กคูนแร้งเคราโจชัว เรย์โนลส์โดโดโซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์โนวาร์ติสโนอาห์ เว็บสเตอร์ไก่ฟ้าสีทองไก่ต๊อกหมวกเหล็กไก่ป่าเฟร์ริตเพียงพอนเพนกวินแอฟริกันเม่นต้นไม้เม่นใหญ่แผงคอยาวเสือจากัวร์เสือดาวเสือโคร่งเบงกอลเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยาเออร์มินเฮดจ์ฮอกยุโรปเจมส์ มอนโรเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้วเจ้าพระยามหาเสนา (เสน)เต่าเต่าหัวค้อนเต่าตนุเซเบิลเป็ดหางแหลมเป็ดแมลลาร์ดเป็ดแมนดาริน16 ตุลาคม21 สิงหาคม28 พฤษภาคม28 กรกฎาคม ขยายดัชนี (170 มากกว่า) »

ชะมดแผง

มดแผง เป็นสกุลของชะมดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Viverra มีลักษณะคล้ายกับชะมดหรืออีเห็นทั่วไป มีลักษณะเด่น คือ ที่อุ้งตีนมีนิ้วทั้งหมด 5 นิ้ว โดยที่หัวแม่เท้ามีขนาดเล็กมากจนดูเหมือนมี 4 นิ้ว เมื่อประทับลงบนพื้นดิน จะมีรอยเท้าเพียง 4 นิ้ว เนื่องจากหากินบนพื้นดินเป็นหลัก และมีขนาดใหญ่กว่าของอีเห็น อีกทั้งที่ขนบริเวณสันหลังจรดปลายหางมีลักษณะเป็นแผงขนสีดำ พาดยาวตั้งแต่สันคอไปตามแนวสันหลัง ซึ่งเวลาตกใจหรือต้องการข่มขู่ผู้รุกรานจะยกแผงขนหลังนี้ให้ตั้งชันได้ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญที่ใช้เรียกขาน ส่วนหางจะเป็นลายปล้อง ๆ เป็นชะมดขนาดใหญ่ หากินตามพื้นดินมากกว่าบนต้นไม้ และักินสัตว์เล็ก ๆ เช่น หนู, กระรอก หรือ กบ, เขียด มากกว่ากินผลไม้หรือลูกไม้ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชียอาคเนย์ทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และเกาะต่าง ๆ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก พบได้ในประเทศไทย 2 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และชะมดแผง · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแผงหางปล้อง

มดแผงหางปล้อง (Large indian civet;; อีสาน: เหง็นแผงหางก่าน) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง มีลำตัวสีเทาค่อนข้างดำ มีลายสีดำข้างลำตัว ข้างลำคอมีเส้นสีดำสามแถบพาดผ่านในแนวขวาง มีจุดเด่น คือ ส่วนหางมีลายสีดำสลับกับขาวเป็นปล้อง ๆ 5-6 ปล้อง มีขนสีดำสนิทพาดตั้งแต่กึ่งกลางหลังจนถึงโคนหาง เท้ามีสีดำ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย จัดเป็นชะมดที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีความยาวลำตัวและหัว 75-85 เซนติเมตร ความยาวหาง 38-46 เซนติเมตร น้ำหนักตัว 8-10 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, อินโดจีน, ประเทศจีน, ฮ่องกง, มาเลเซีย และสิงคโปร์ สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ในป่าหลากหลายประเภท แม้กระทั่งใกล้ชุมชนของมนุษย์ หากินในเวลากลางคืน กินอาหารได้หลากหลาย โดยจับเหยื่อจะใช้ฟันกัดและสะบัดอย่างแรงจนเหยื่อตายมากกว่าจะใช้เล็บตะปบ ตอนกลางวันจะนอนหลับตามโพรงไม้หรือโพรงหินหรือในถ้ำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และชะมดแผงหางปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นไบวาลเวีย

ั้นไบวาลเวีย (ชั้น: Bivalvia) เป็นมอลลัสคาชั้นหนึ่ง ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยวิวัฒนาการให้อาศัยอยู่ได้ทั้งในทะเลและน้ำจืด มีชื่อเรียกในภาษาสามัญว่า หอยฝาคู่ หรือ หอยสองฝา หรือ หอยเปลือกคู่ หรือ หอบกาบคู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และชั้นไบวาลเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ชิน ยุน-บก

น ยุน-บก หรือนามปากกาว่า ฮเย-ว็อน เป็นจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในปลาย สมัยราชวงศ์โชซอน เขาเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1758 ในรัชสมัย พระเจ้ายองโจ โดยตระกูลของเขาทั้งปู่และพ่อก็เป็นจิตรกรประจำราชสำนักและเมื่อมาถึงรุ่นของเขาเขาก็เป็นจิตรกรประจำราชสำนักเช่นกันโดยเขาเป็นจิตรกรประจำราชสำนักในรัชสมัยพระเจ้าจองโจ โดยภาพของเขาส่วนมากเป็นแนวอีโรติก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และชิน ยุน-บก · ดูเพิ่มเติม »

บ่างฟิลิปปิน

งฟิลิปปิน (Philippine Flying Lemur) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง บ่างฟิลิปปินจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงหนึ่งในสองชนิดเท่านั้นที่อยู่ในอันดับบ่าง (Dermoptera) ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดหนึ่งนั้นคือ บ่าง (Galeopterus variegatus)) และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Cynocephalus บ่างฟิลิปปินมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับบ่างที่พบในภูมิภาคอินโดจีนและแหลมมลายู แต่มีขนาดที่เล็กกว่าและมีน้ำหนักตัวที่เบากว่า โดยมีความยาวประมาณ 14-17 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 1-1.7 กิโลกรัม มีหัวโต หูเล็ก ตาโต พังผืดมีขนาดใหญ่และมีกรงเล็บเท้าเป็นพังผืด สามารถปีนต้นไม้เพื่อร่อนได้อย่างรวดเร็ว และสามารถร่อนได้ไกลกว่า 100 เมตร บ่างฟิลิปปินมีฟันทั้งหมด 34 ซี่ ใช้สำหรับกินอาหารจำพวก ยอดไม้, ใบไม้อ่อน หรือดอกไม้ มีพฤติกรรมคล้ายกับบ่าง คือ ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวันตามโพรงไม้หรือพุ่มไม้หนา ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ลูกอ่อนจะยังเกาะที่หน้าท้องและดูดนมของแม่ บ่างฟิลิปปิน จะพบได้เฉพาะบนเกาะมินดาเนาและเกาะโบฮอล ในหมู่เกาะฟิลิปปินเท่านั้น ถูกล่าโดยมนุษย์เพื่อนำเนื้อไปทำอาหาร และกำจัดลงเพราะเป็นศัตรูของพืชสวน เช่น มะพร้าว หรือผลไม้ต่าง ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และบ่างฟิลิปปิน · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอเชีย

้างเอเชีย (Asian elephant) จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และช้างเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอเชีย (สกุล)

้างเอเชีย หรือ ช้างยูเรเชีย (Asian elephant, Eurasian elephant) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับ Proboscidea หรืออันดับช้าง ใช้ชื่อสกุลว่า Elephas (/อี-เล-ฟาส/) จัดอยู่ในวงศ์ Elephantidae.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และช้างเอเชีย (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2278

ทธศักราช 2278 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และพ.ศ. 2278 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2279

ทธศักราช 2279 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และพ.ศ. 2279 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2304

ทธศักราช 2304 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และพ.ศ. 2304 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย

มเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย (Friedrich Wilhelm I, Frederick William I of Prussia) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 - 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740) ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและอีเล็คเตอร์แห่งบรานเดนบวร์ก (ในพระนามฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2) ผู้ทรงครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 ในปี ค.ศ. 1713 และครองราชย์ต่อมาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740 โดยมีสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ สมเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 และ โซฟี ชาร์ล็อทเท่แห่งฮันโนเฟอร์ สมเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มทรงได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” (der Soldatenkönig) และมีความโปรดปรานการแสดงทางการทหาร ที่ทำให้ทรงพยายามจ้างบุคคลที่มีความสูงมาจากทั่วยุโรปมาเข้าสังกัดกองทหารที่มีชื่อเล่นว่า “ยักษ์พอร์ทสดัม”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พะยูนแมนนาที

ูนแมนนาที บางทีเรียก พะยูนหางกลม หรือ วัวทะเล (Manatee, Sea cow) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอาศัยในน้ำขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง สัตว์ในวงศ์ Trichechidae ต่างจากสัตว์ในวงศ์ Dugongidae หรือพะยูนตรงรูปร่างของกะโหลกศีรษะและรูปร่างของหาง โดยหางของพะยูนแมนนาทีจะมีรูปร่างแบนกลมคล้ายใบพาย ส่วนหางของพะยูนจะแยกออกเป็นส้อมคล้ายหางโลมา แมนนาทีเป็นสัตว์กินพืชซึ่งใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการหาอาหารกินในเขตน้ำตื้น รวมถึงอาจเข้าไปหากินในแหล่งน้ำจืดที่ไกลจากทะเล 300 กิโลเมตรได้ด้วย โดยคำว่า "แมนนาที" (manatí) มาจากภาษาตีโน ซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองในแถบแคริบเบียน หมายถึง "เต้านม" เขตอาศัยของพะยูนแมนนาทีได้แก่ พื้นที่หนองน้ำตื้นแถบชายฝั่งของอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง อเมริกาใต้ และทะเลแคริบเบียน พะยูนแมนนาทีชนิด Trichechus senegalensis (พะยูนแมนนาทีแอฟริกาตะวันตก หรือ พะยูนแมนนาทีเซเนกัล) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ส่วนชนิด T. inunguis (พะยูนแมนนาทีแอมะซอน) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ ส่วนอีกชนิดหนึ่งได้แก่ T. manatus (พะยูนแมนนาทีอินเดียตะวันตก หรือ พะยูนแมนนาทีแคริบเบียน) อยู่อาศัยแถบหมู่เกาะอินเดียตะวันตกในทะเลแคริบเบียน สำหรับแมนนาทีฟลอริดานั้น นักสัตวศาสตร์บางส่วนถือว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ระบบไอทีไอเอสจัดให้พะยูนแมนนาทีฟลอริดาเป็นชนิดย่อยของ T. manatus และปัจจุบันถือเป็นที่ยอมรับทั่วไปพะยูน แมนนาทีฟลอริดามีลำตัวยาว 4.5 เมตรหรือมากกว่านั้น และอยู่ได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ในอดีตพะยูนแมนนาทีฟลอริดาเคยถูกล่าเพื่อเอาน้ำมันและหนัง แต่ปัจจุบันสัตว์ชนิดนี้ได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายให้พ้นจากการถูกล่า พะยูนแมนนาที พะยูนแมนนาทีอินเดียตะวันตกเป็นหนึ่งในกลุ่มสัตว์ชนิดที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ แม้มันจะไม่มีผู้ล่าตามธรรมชาติ แต่การขยายดินแดนของมนุษย์ทำให้ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติแถบบึงน้ำตื้นชายฝั่งของมันลดลง พะยูนแมนนาทีจำนวนมากยังได้รับบาดเจ็บจากการถูกใบพัดเรือบาด อีกทั้งพะยูนแมนนาทียังมักกินอุปกรณ์ตกปลาที่มนุษย์ทิ้งไว้ เช่นเบ็ดหรือตุ้มถ่วงเข้าไปบ่อย ๆ วัตถุแปลกปลอมเหล่านี้โดยมากจะไม่ทำอันตรายแก่พะยูนแมนนาที ยกเว้นแต่สายเบ็ดหรือเอ็นตกปลา ซึ่งจะเข้าไปอุดตันระบบย่อยอาหารของพะยูนแมนนาที และทำให้มันค่อย ๆ ตายอย่างช้า ๆ พะยูนแมนนาทีมักมารวมกันอยู่ใกล้โรงไฟฟ้าซึ่งน้ำในแถบนั้นจะมีอุณหภูมิสูงกว่าที่อื่น จนกระทั่งกลายเป็นการพึงพิงแหล่งน้ำอุ่นที่มนุษย์สร้างขึ้นนี้ไปในที่สุด โดยไม่ยอมอพยพไปยังแหล่งที่น้ำอุ่นกว่าเนื่องจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะให้ความร้อนตลอดทั้งปี ไม่นานมานี้ โรงไฟฟ้าหลายแห่งได้ปิดตัวลง กรมคุ้มครองสัตว์น้ำและสัตว์ป่าของสหรัฐอเมริกาซึ่งทราบถึงการพึ่งพิงแหล่งน้ำอุ่นของพะยูนแมนนาที จึงได้พยายามหาหนทางที่จะเพิ่มอุณหภูมิของน้ำเพื่อช่วยพะยูนแมนนาที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และพะยูนแมนนาที · ดูเพิ่มเติม »

พิตต์สเบิร์ก

ตต์สเบิร์ก (Pittsburgh) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา และเป็นเคาน์ตีซีตของแอลลิเกนีเคาน์ตี ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐ ตรงจุดบรรจบของแม่น้ำแอลลิเกนีและแม่น้ำโมนังกาฮีลาซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น้ำโอไฮโอ เป็นเมืองที่มีเขตเมืองใหญ่เป็นอันดับ 22 ของสหรัฐอเมริกา มีประชากร 305,704 คน (สำรวจเมื่อ ค.ศ. 2010) เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์สำคัญในเรื่องการผลิตเหล็กกล้า ปัจจุบันมีเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ด้านสุขภาพ การศึกษา เทคโนโลยี หุ่นยนต์ และการให้บริการการเงิน เมืองได้มีการปรับปรุงเมือง ในสถานที่ที่เคยเป็นย่านอุตสาหกรรมที่ทิ้งร้าง เปลี่ยนมาเป็นสำนักงานและย่านช็อปปิ้ง เช่นบริเวณเซาท์ไซด์เวิกส์ และเบเกอรีสแควร์ ฝรั่งเศสสร้างป้อมดูเคนขึ้นที่บริเวณเมืองนี้ใน ค.ศ. 1754 ต่อมาอังกฤษได้ยึดป้อมในปี ค.ศ. 1758 และเปลี่ยนชื่อมาเป็นพิตต์ จนเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานในปี ค.ศ. 1760 และตั้งเป็นเมืองในปี ค.ศ. 1816.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และพิตต์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกข้างลายท้องแดง

กระรอกข้างลายท้องแดง (Plantain squirrel) สัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่ง จำพวกกระรอก กระรอกข้างลายท้องแดงที่พบในสิงคโปร์ เป็นกระรอกขนาดกลาง มีความยาวประมาณ 17-30 เซนติเมตร (7.9-12 นิ้ว) ส่วนหางยาว 16-23 เซนติเมตร (6-8 นิ้ว) มีลำตัวสีเทาหรือน้ำตาล มีจุดเด่น คือ ด้านข้างลำตัวมีแถบสีคล้ำและสีขาวตัดกันเห็นชัดเจน ที่มีขนสีเหลืองส้มหรือสีน้ำตาลส้ม หางมีจุดด่างสีดำและเขียวไพร ปลายหางมีสีแดง ซึ่งเห็นได้ชัดเจนเมื่อมองจากด้านล่าง กระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่คาบสมุทรมลายูลงไป จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป พบในป่าดิบชื้น มักชอบอยู่ตามชายป่าหรือตามป่ารุ่น ไม่ค่อยพบในป่าที่สมบูรณ์ นอกจากนี้ยังพบได้ในป่าชายเลน, สวนป่า และสวนผลไม้ เป็นกระรอกอีกชนิดหนึ่งที่พบบ่อยได้บ่อย หากินในเวลากลางวัน มีกิจกรรมมากในช่วงเช้ามืดและช่วงบ่ายแก่ ๆ อาศัยอยู่บนต้นไม้ในเรือนยอดระดับต่ำ ไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ป่าสงวนในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกระรอกข้างลายท้องแดง · ดูเพิ่มเติม »

กระต่ายยุโรป

กระต่ายยุโรป หรือ กระต่ายบ้าน (European rabbit, Common rabbit; ชื่อวิทยาศาสตร์: Oryctolagus cuniculus) เป็นกระต่ายพื้นเมืองของแถบยุโรป (สเปน และ โปรตุเกส) และตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา (โมรอคโค และ แอลจีเรีย) เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Oryctolagus แบ่งออกได้เป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้ 6 ชนิด (ดูในตาราง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกระต่ายยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

กระต่ายแจ็ก

ำหรับ Lepus ในความหมายอื่น ดูที่: กลุ่มดาวกระต่ายป่า กระต่ายแจ็ก หรือ กระต่ายป่า (Jackrabbit, Jacklope, Hare) เป็นสกุลของกระต่ายสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Lepus (/ลี-ปัส/) กระต่ายสกุลนี้ เป็นกระต่ายป่า กระจายพันธุ์ไปในทุกภูมิภาคทั่วโลก ยกเว้นทวีปออสเตรเลีย มีทั้งหมด 32 ชนิด โดยปกติจะมีขนสีน้ำตาลหรือเทา หูยาวมีขนาดใหญ่ และขาหลังที่ใหญ่และทรงพลัง มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก ใต้ฝ่าเท้ามีขนอ่อนนุ่มรองรับไว้เพื่อรองรับการกระโดด ในประเทศไทย พบเพียงชนิดเดียว คือ กระต่ายป่า (L. peguensis) กระต่ายแจ็ก หรือ กระต่ายป่านั้นเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก วิ่งและกระโดดได้เร็ว เมื่อคิดเป็นสถิติแล้วยังสามารถวิ่งได้เร็วกว่านักกรีฑาเหรียญทองโอลิมปิกถึง 2 เท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกระต่ายแจ็ก · ดูเพิ่มเติม »

กวางชะมดไซบีเรีย

กวางชะมดไซบีเรีย (Siberian musk deer, Кабарга, 原麝, 사향노루) เป็นกวางชะมด (Moschidae) ชนิดหนึ่ง มีตัวสั้นป้อม ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลแดง หูตั้ง หางสั้น มีแถบยาวสีขาว 2 แถบ ขนานกันตามความยาวของลำคอ ที่ตะโพกและหลังช่วงท้ายมีจุดสีขาว ไม่มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ตัวผู้มีเขี้ยวบนยาวประมาณ 7 เซนติเมตร โผล่ออกมาจากปากเห็นได้ชัดเจน มีต่อมผลิตกลิ่นอยู่ที่ใต้ท้องระหว่างสะดือกับอวัยวะเพศ พบกระจายพันธุ์ในเอเชียเหนือ ในป่าไทกาทางตอนใต้ของไซบีเรีย และพบในบางส่วนของมองโกเลีย, มองโกเลียใน, แมนจูเรีย และคาบสมุทรเกาหลี ออกหากินตามลำพังเวลาเช้ามืดหรือพลบค่ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกวางชะมดไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

กวางแดง

กวางแดง (Red Deer) เป็นกวางขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ตามอนุกรมวิธาน กวางแดงมีถิ่นอาศัยในทวีปยุโรป เทือกเขาคอเคซัส เอเชียน้อย บางส่วนทางตะวันตกของเอเชีย และเอเชียกลาง สามารถพบในเทือกเขาแอตลาสระหว่างประเทศโมร็อกโกและประเทศตูนิเซียทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา เป็นกวางเพียงชนิดเดียวที่อาศัยอยู่ในแอฟริกา มีการนำกวางแดงไปยังพื้นที่ส่วนอื่นบนโลก ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย, ประเทศนิวซีแลนด์ และ ประเทศอาร์เจนตินา ในหลายส่วนของโลกกินเนื้อของกวางแดงเป็นอาหาร กวางแดงเป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีกระเพาะ 4 ห้อง กีบเท้าคู่ ตัวผู้สูง 175 - 230 ซม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกวางแดง · ดูเพิ่มเติม »

กั้งตั๊กแตนเจ็ดสี

กั้งตั๊กแตนเจ็ดสี (Peacock mantis shrimp, Harlequin mantis shrimp, Painted mantis shrimp) เป็นครัสเตเชียนชนิดหนึ่ง จำพวกกั้ง จัดอยู่ในวงศ์ Odontodactylidae เป็นกั้งที่มีสีสวย มักอยู่ตามพื้นทราย นอกเขตแนวปะการัง บางครั้งอาจพบได้ในเขตน้ำตื้น ส่วนใหญ่หลบซ่อนอยู่ในรูที่มีทางออกหลายทาง แต่บางครั้งอาจเดินอยู่บนพื้นเพื่อหาอาหาร ได้แก่ หอยฝาเดียว, กุ้ง, ปู หรือปลาขนาดเล็ก ตามีการพัฒนาสูงสุด จนถือได้ว่าเป็นสัตว์ที่มีระบบการมองเห็นที่ดีที่สุดในบรรดาอาณาจักรสัตว์โลก โดยดวงตากลมโตทั้งสองข้างนั้นสามารถกลอกกลิ้งไปมาได้อย่างเป็นอิสระ มีเซลล์รับแสงมากถึง 12 สี เมื่อเทียบกับตามนุษย์ที่มีเซลล์รับแสงเพียงแค่ 3 สีเท่านั้น นอกจากจะมองเห็นสีสันได้มากมายหลายเฉดสีแล้ว ยังสามารถรับรู้แสงโพลาไรซ์ได้อีกด้วย และสามารถสแกนภาพได้ โดยใช้เส้นขนานกลางตาเพื่อเล็งเหยื่อ ก่อนใช้ขาคู่หน้าที่คล้ายกับกำปั้นหรือสันหมัดของมนุษย์ดีดไปอย่างแรง ลักษณะคล้ายตั๊กแตนตำข้าวจับเหยื่อ อาจใช้ดีดจนกระดองปูหรือเปลือกหอยแตกได้ หรือดีดเพื่อเกี่ยวกลับเข้ามา ซึ่งแรงดีดนี้รุนแรงมาก แม้แต่จะทำให้มนุษย์บาดเจ็บได้ หรือแม้กระทั่งกระจกตู้ปลาอาจแตกด้วยแรงดีดเพียงครั้งเดียว เพราะเป็นสัตว์ที่มีแรงในการดีดหนักกว่าน้ำหนักของตัวเองมากกว่า 1,000 เท่า ในอัตราความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (เร็วกว่ากระสุนขนาด.22 มิลลิเมตร) และยังสามารถดีดได้มากถึง 50,000 ครั้งโดยที่ไม่ได้รับบาดเจ็บแต่อย่างใด เนื่องจากโครงสร้างภายในของขาคู่หน้านั้นมีลักษณะเป็นชั้น ๆ ที่ซับซ้อน บริเวณที่รับแรงกระแทกโดยตรง ประกอบด้วยไฮดรอกซิลอะพาไทต์แบบผลึกที่พบมากในกระดูกและฟันของมนุษย์ จึงทำให้ผิวชั้นนี้มีสมบัติทนทานต่อแรงกดอัดได้ดี อีกทั้งที่อยู่ด้านในมีลักษณะซ้ำ ๆ ของชั้นเส้นใยไคตินที่มีสมบัติด้านความแข็งตึง (ความสามารถในการรักษารูปร่าง) ต่ำ ซึ่งพบมากในโครงสร้างภายนอกของสัตว์ครัสเตเชียน มีการจัดเรียงตัวในลักษณะวนเป็นเกลียวและเติมเต็มด้วยสารอนินทรีย์ชนิดอสัณฐานที่โครงสร้างของสสารไม่เป็นผลึกอยู่ระหว่างกลาง ทำหน้าที่เป็นตัวดูดซับแรงกระแทกที่เกิดจากการจู่โจม ส่วนชั้นที่มีลักษณะเป็นลายริ้ว ๆ เป็นเส้นใยไคตินมีหน้าที่ห่อหุ้มขาคู่หน้าทั้งหมดเพื่ออัดองค์ประกอบอนินทรีย์ต่าง ๆ ให้อยู่ภายในระยางค์เพื่อป้องกันการบาดเจ็บได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ซึ่งลักษณะทางกายภาคที่ยอดเยี่ยมเช่นนี้เป็นต้นแบบให้นักวิทยาศาสตร์แห่งมหาแคลิฟอร์เนีย, ริเวอร์ไซด์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยเพอร์ดู ของสหรัฐอเมริกาใช้ศึกษาเพื่อพัฒนาการสร้างวัสดุที่มีความแข็งแกร่งสูงแต่น้ำหนักเบา โดยเลียนแบบจากโครงสร้างอันนี้ มีพฤติกรรมหลบซ่อนอยู่ในรู โดยโผล่มาแต่เฉพาะส่วนหัว เมื่อภัยอันตรายเข้ามาใกล้ จะหดหัวเข้าไป ก่อนจะโผล่หัวออกมาดูอีกครั้งภายในเวลา 2–3 นาที แต่ถ้าเดินหากินอยู่ไกลโพรง เมื่อพบเจอกับศัตรู บางครั้งจะชูตัวยกขึ้นแล้วชูขาหน้าเพื่อขู่ศัตรู หากไม่ได้ผล จะงอตัวกลิ้งกับพื้น หากจวนตัวจะดีดตัวอย่างรวดเร็วพุ่งหายไป มีขนาดความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร พบในความลึกไม่เกิน 20 เมตร พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่เกาะกวมจนถึงแอฟริกาตะวันออก ในน่านน้ำไทยพบได้น้อยทางฝั่งอ่าวไทย แต่จะพบได้มากกว่าทางฝั่งทะเลอันดามัน เป็นกั้งที่ไม่ได้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ เพราะมีเนื้อน้อย แต่มีการเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงาม โดยผู้เลี้ยงอาจหาท่อพีวีซีใส่ในตู้ เพื่อให้เป็นที่หลบซ่อน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกั้งตั๊กแตนเจ็ดสี · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบิน

ำหรับ Draco ที่หมายถึงกลุ่มดาว ดูที่: กลุ่มดาวมังกร กิ้งก่าบิน (Flying dragon, Flying lizard) หรือ กะปอมปีก ในภาษาอีสานและลาว เป็นสกุลของกิ้งก่าในวงศ์ Agaminae ในวงศ์ใหญ่ Agamidae ใช้ชื่อสกุลว่า Draco กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีประสิทธิภาพในการร่อนมากที่สุด ด้วยมีแผ่นหนังขนาดใหญ่อยู่ทางด้านข้างลำตัวและได้รับการค้ำจุนด้วยกระดูกซี่โครง 5-7 ซี่ โดยมีกล้ามเนื้ออิลิโอคอสทาลิสทำหน้าที่ดึงกระดูกซี่โครง 2 ซี่แรกไปทางด้านหน้า แต่กระดูกซี่โครงชิ้นอื่นได้เชื่อมต่อกับกระดูกซี่โครงสองซี่แรกด้วยเส้นเอ็น สามารถทำให้แผ่นหนังทั้งหมดกางออกได้ เมื่อเริ่มร่อน ตัวของกิ้งก่าในระยะแรกจะทำมุม 80° ช่วงนี้กิ้งก่าจะยกหางขึ้น ต่อมาจึงลดหางลงและแผ่กางแผ่นหนังด้านข้างลำตัวและทำมุมที่ลงสู่พื้นเหลือ 15° เมื่อลงสู่พื้นหรือเกาะบนต้นไม้ จะยกหางขึ้นอีกครั้งและหมุนตัว กิ้งก่าบินที่ทิ้งตัวจากต้นไม้สูง 10 เมตร สามารถร่อนได้เป็นระยะทางไกลกว่า 60 เมตร และลงเกาะบนต้นไม้หรือพื้นที่ที่อยู่ต่ำลงได้จากเดิมได้ 2 เมตร กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นกิ้งก่าขนาดเล็ก มีความยาวลำตัวส่วนมากไม่เกิน 20 เซนติเมตร แต่หางจะมีความยาวมากกว่าลำตัว พบกระจายพันธุ์ในป่าของเอเชียใต้ และเอเชียอาคเนย์ เช่น ภาคอีสานในประเทศไทย และพบได้ชุกชุมในป่าดิบของแหลมมลายู มีทั้งหมด 31 ชนิด พบได้ในประเทศไทยหลายชนิด อาทิ กิ้งก่าบินปีกส้ม (D. maculatus), กิ้งก่าบินคอแดง (D. blanfordii), กิ้งก่าบินสีฟ้า (D. volans) โดยคำว่า Draco นั้น มาจากคำว่า "มังกร" ในภาษาละติน ผู้ที่อนุกรมวิธาน คือ คาโรลัส ลินเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และกิ้งก่าบิน · ดูเพิ่มเติม »

ก็องดีด

ก็องดีด (Candide) นวนิยายแนวปรัชญาของวอลแตร์ นักประพันธ์และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส เขาเริ่มเขียนปรัชญานิยาย (le conte philosophique) เรื่องนี้ในรูปแบบของร้อยแก้วในเชิงเสียดสีที่ใช้คำพูดที่มีความหมายขัดแย้งกันในปี ค.ศ. 1758 ซึ่งเขาอายุได้ 64 ปีแล้ว จึงอาจกล่าวได้ว่า ก็องดีดเป็นผลงานของบุคคลที่พร้อมด้วยวัยวุฒิและคุณวุฒิอย่างแท้จริง ก่อนหน้านี้วอลแตร์เคยเขียนบทกวี บทละคร บทความเชิงปรัชญา หนังสือประวัติศาสตร์ และเป็นราชบัณฑิต เขามีประสบการณ์ชีวิตที่โชกโชน เคยติดคุก เคยถูกเนรเทศ เคยมีชื่อเสียงเกียรติยศแล้วกลับตกต่ำในราชสำนักปารีส ราชสำนักเบอร์ลิน ประสบการณ์ชีวิตที่ผกผัน การเดินทาง การได้เห็น ได้อ่าน ได้ศึกษามามากทำให้วอลแตร์ไม่อาจมองโลกในแง่ดีได้ เขาจึงเขียนผลงานชิ้นนี้ออกมาเพื่อแสดงความคิดเห็นของเขาลงไป โดยอาศัยนิยายเป็นสื่อกลางในการนำเสนอ นิทานปรัชญาเรื่องนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1759 และตีพิมพ์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1961 ซึ่งวอลแตร์ได้เพิ่มชื่อที่สองให้ก็องดีด ว่า l’optimisme หรือลัทธิสุทรรศนิยม เพื่อเสียดสีบุคคลที่เชื่อตาม ไลบ์นิซ (Leibnitz) นักปราชญ์ชาวเยอรมันที่เชื่อว่า “ทุกสิ่งทุกอย่างที่พระเจ้าประทานมาเป็นไปด้วยดี”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และก็องดีด · ดูเพิ่มเติม »

มอลลัสกา

มอลลัสกา (ไฟลัม: Mollusca, เสียงอ่าน) เป็นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง คือสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม ส่วนใหญ่มีเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอก พบทั้งบนบก น้ำจืด น้ำเค็ม น้ำกร่อย ดำรงชีวิตเป็นอิสระ มีต่อมเมือกตามผิวลำตัว ระบบอวัยวะมีความซับซ้อน ลำตัวสั้น ด้านหน้าเป็นส่วนหัว ด้านล้างเป็นแผ่นเท้าสำหรับเคลื่อนที่และว่ายน้ำ ด้าบบนมีแมนเทิลที่ทำหน้าที่สร้างเปลือกแข็ง ภายในช่องปากมีแรดูลา ยกเว้นในหอยสองฝา ช่วยในการกินอาหาร มีต่อมน้ำลายและตับช่วยสร้างน้ำย่อย ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจอยู่ด้านบนและเส้นเลือดไปตามส่วนต่างๆ ระบบขับถ่ายมีเนฟริเดียม ระบบหายใจประกอบด้วยเหงือกหรือถุงหายใจที่คล้ายปอด ระบบประสาทมีปมประสาทสามคู่และมีเส้นประสาทยึดระหว่างปม มีอวัยวะสำหรับรับภาพ กลิ่นและการทรงตัว ระบบสืบพันธุ์ส่วนใหญ่แยกเพศ มีบางพวกไม่แยกเพศและเปลี่ยนเพศได้ มีการปฏิสนธิทั้งแบบภายในและภายนอก สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกาเรียกโดยรวมว่า มอลลัสก์ (mollusc, mollusk).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และมอลลัสกา · ดูเพิ่มเติม »

มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

มักซีมีเลียง ฟร็องซัว มารี อีซีดอร์ เดอ รอแบ็สปีแยร์ (Maximilien François Marie Isidore de Robespierre; 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337) เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมที่ตั้งขึ้นเพื่อสอดส่องดูแลความมั่นคงปลอดภัยในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประธานของคณะนี้มีอำนาจจับกุมและสั่งประหารชีวิตผู้คนได้ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 (ค.ศ. 1758) ที่เมืองอารัส แคว้นนอร์-ปาดกาแล ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาก็ได้เข้าเป็นผู้นำของกลุ่มฌากอแบ็งที่กล่าวหาพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส และพระนางมารี อ็องตัวแน็ตว่า ได้ทรงกระทำการในสิ่งที่เป็นการขายชาติ ทั้งยังเรียกร้องให้ประหารชีวิตทั้งสองพระองค์อีกด้วย แต่หลังจากนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) มีฝูงชนฝรั่งเศสกลุ่มใหญ่ลุกฮือทลายคุกบัสตีย์ในกรุงปารีส เพื่อต่อต้านระบอบกษัตริย์และขุนนางของฝรั่งเศส แล้วไม่นานชาวฝรั่งเศสจำนวนมากก็เข้าร่วมฝูงชนนี้ ทำให้การปฏิวัติสำเร็จอย่างรวดเร็ว ฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย แต่ประเทศอื่น ๆ ต่างคัดค้านไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัตินี้และพยายามกดขี่ข่มเหงฝรั่งเศส ดังนั้น ต่อมาในพ.ศ. 2336 รอแบ็สปีแยร์ก็ฉวยโอกาสตอนตนกำลังมีชื่อเสียงโด่งดังและช่วงที่ฝรั่งเศสกำลังถูกคุกคาม เข้ารับตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม เขาจึงได้กลายเป็นจอมเผด็จการอย่างแท้จริง ในเวลาปีเดียว เขาจับกุมและประหารผู้คนนับพัน ๆ ตั้งแต่ความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ จนถึงความผิดอุกฉกรรจ์ หรือแม้แต่การใส่ร้ายใส่ความโดยรอแบ็สปีแยร์ ต้องถูกประหารโดยเครื่องประหารกิโยตีน เขาคิดว่าสิ่งที่เขาทำเป็นสิ่งที่ถูกต้องดีงาม แต่คนอื่น ๆ เรียกช่วงเวลาที่รอแบ็สปีแยร์อยู่ในตำแหน่งว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ศัตรูจึงขนานนามเขาว่า ดิกตาเตอร์ซ็องกีแนร์ หรือเผด็จการกระหายเลือด ดังนั้นใน พ.ศ. 2337 จึงมีผู้คนจำนวนมหาศาลรวมตัวกันโค่นอำนาจและจับกุมรอแบ็สปีแยร์ เขาพยายามฆ่าตัวตาย แต่ไม่สำเร็จ ต้องตายโดยการถูกประหารด้วยเครื่องกิโยตีนท่ามกลางผู้คนมากมายที่รุมล้อมในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337 (ค.ศ. 1794) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2301 หมวดหมู่:นักการเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลในการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้สมรู้ร่วมคิดการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และราชวงศ์บ้านพลูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระประมุขทิเบต

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และรายพระนามพระประมุขทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามสมเด็จพระราชินี, สมเด็จพระราชินีนาถ และ เจ้าฟ้าชายพระราชสวามีแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามจุฬาราชมนตรี

รายนามจุฬาราชมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และรายนามจุฬาราชมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ลิงบาบูน

ลิงบาบูน (Baboons; بابون) เป็นสกุลของลิง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Papio ลิงบาบูนเป็นลิงที่จัดได้ว่ามีขนาดใหญ่ แขนและขายาวเท่ากัน ทำให้สามารถเดินด้วยขาทั้ง 4 ข้างได้เป็นอย่างดี ขณะที่ส่วนหางที่สั้น และร่างกายที่กำยำแข็งแรง ทำให้วิ่งได้รวดเร็วพอ ๆ กับม้า ลิงบาบูนส่วนมากจะหากินและอาศัยบนพื้นดินมากกว่าขึ้นต้นไม้ ตามแถบที่โล่งกว้างมากกว่าที่รกชัฏ โดยจะขึ้นต้นไม้เฉพาะตอนนอนเท่านั้น หากินในเวลากลางวัน มีลักษณะเด่น คือ มีใบหน้ายาวเหมือนสุนัข และมีฟันเขี้ยวที่แข็งแรงและยาวโง้ง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง อาจถึง 200-300 ตัว มีตัวผู้ขนาดใหญ่เป็นจ่าฝูง หากินผลไม้ เมล็ดพืช ตลอดจนสัตว์ขนาดเล็กอย่างแมงป่องและแมงมุมโดยการพลิกก้อนหินหา หรือแม้กระทั่งล้มสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ไก่ฟ้า หมูป่า หรือแอนทิโลปที่เป็นตัวลูกหรือตัวขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ ลิงบาบูนขึ้นชื่อว่าเป็นลิงที่มีอุปนิสัยดุร้าย ก้าวร้าว เนื่องจากเป็นลิงที่กินเนื้อเป็นอาหารหลัก โดยอาจโจมตีทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย แต่กระนั้นก็ยังมีผู้นำมาฝึกให้เล่นละครลิงหรือละครสัตว์ได้ นอกจากนี้แล้ว ลิงบาบูนยังเป็นลิงที่สามารถออกเสียงได้เหมือนกับเสียงสระในภาษาอังกฤษได้อีกด้วย เนื่องจากมีกล้ามเนื้อลิ้นที่สร้างความแตกต่างในการออกเสียงแต่ละสระได้เหมือนกับมนุษย์ และถึงแม้ว่าจะมีกล่องเสียงสูง ซึ่งต่างจากมนุษย์ที่ออกเสียงด้วยการใช้กล่องเสียงต่ำ แต่ลิงบาบูนก็ไม่สามารถที่จะพูดได้จริง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และลิงบาบูน · ดูเพิ่มเติม »

ลิงบาร์บารี

ลิงบาร์บารี หรือ บาร์บารีเอป หรือ มาก็อต (Barbary macaque, Barbary ape, Magot) เป็นลิงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นลิงประเภทลิงแม็กแคกชนิดหนึ่ง จัดเป็นลิงเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบกระจายพันธฺุ์อยู่ทางตอนเหนือของทะเลทรายสะฮารา บริเวณยิบรอลตา, โมร็อกโก และในพื้นที่อนุรักษ์ของลิเบีย รวมถึงอาจพบได้ในทวีปยุโรปทางตอนใต้ที่กับช่องแคบยิบรอลตาได้ด้วย ซึ่งก็จัดได้อีกว่าเป็นลิงเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบได้ในทวีปยุโรป ซึ่งตามปกติแล้ว ทวีปยุโรปจะไม่มีลิง สันนิษฐานว่า เกิดจากการนำเข้ามาในฐานะของสัตว์เลี้ยงหรือเพื่อการละเล่นละครสัตว์ ลิงบาร์บารี มีลักษณะเหมือนลิงแม็กแคกชนิดอื่น ๆ มีขนตามลำตัวเป็นสีส้มฟูหนา เป็นลิงที่ไม่มีหาง อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง และสามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถพบได้ทั้งในทะเลทรายที่ร้อนระอุ รวมถึงสถานที่ ๆ อากาศเหน็บหนาวอุณหภูมิติดลบ มีหิมะและน้ำแข็งได้ด้วย กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืช, เนืิ้อสัตว์ และสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ แต่ลิงบาร์บารี มีพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากลิงแม็กแคกชนิดอื่น ๆ คือ ตัวผู้มักจะกระเตงลูกไปไหนมาไหนด้วย และจะปกป้องดูแลลูกลิงเป็นอย่างดี จากการศึกษาพบว่า เป็นไปเพื่อการปฏิสัมพันธ์กับลิงตัวผู้ตัวอื่น ๆ โดยใช้ลูกลิงเป็นตัวเชื่อม บางครั้งจะพบลิงตัวผู้ตกแต่งขนให้กัน รวมทั้งดูแลลูกลิงซึ่งกันและกันด้วย ลิงบาร์บารี นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง โดยกลุ่มลักลอบค้าสัตว์ป่าจะจับลูกลิงประมาณ 300 ตัวจากป่าในโมร็อกโกเพื่อส่งไปขายยังตลาดสัตว์เลี้ยงในยุโรปที่เติบโตขึ้น ส่งผลเสียต่อความยั่งยืนของจำนวนประชากร ปัจจุบันมีจำนวนประชากรอยู่เพียง 6,000 ตัว ในจำนวนนี้ 4,000-5,000 ตัวอยู่ในโมร็อกโก โดยหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า ลิงบาร์รารีถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงมานานนับพันปีมาแล้ว เพราะมีการพบโครงกระดูกของลิงชนิดนี้ใต้เถ้าถ่านของเมืองปอมเปอี, ลึกลงไปในสุสานใต้ดินของอียิปต์ รวมทั้งถูกฝังใต้ยอดเขาในไอร์แลนด์ที่ซึ่งกษัตริย์อัลส์เตอร์ในยุคสำริดเคยครองบัลลังก์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และลิงบาร์บารี · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่นจีน

ลิ่นจีน (อังกฤษ: Chinese pangolin; 中華穿山甲; ชื่อวิทยาศาสตร์: Manis pentadactyla) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำพวกลิ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และลิ่นจีน · ดูเพิ่มเติม »

วาฬฟิน

วาฬฟิน (fin whale, finback whale, common rorqual) เป็นวาฬขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์วาฬอกร่อง (Balaenopteridae) วาฬฟินจัดเป็นวาฬขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 รองมาจากวาฬสีน้ำเงิน (B. musculus) ที่อยู่ในสกุลและวงศ์เดียวกัน มีขนาดโตเต็มที่ยาวถึง 27 เมตร น้ำหนักมากกว่า 75 ตัน ขนาดลูกแรกเกิดยาว 6-6.5 เมตร มีลักษณะเด่น คือ สีด้านหลังสีดำ ด้านท้องสีขาวตัดกันชัดเจน มีซี่กรองอาหารจำนวน 240-480 แผง บนขากรรไกรบนแต่ละข้าง ร่องใต้คางมีจำนวน 50-100 ร่อง วาฬฟินพบได้ในทะเลเปิดและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก สำหรับในประเทศไทย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง และมีหลักฐานที่พบเพียงตัวอย่างเดียว เป็นซากโครงกระดูกขุดพบเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวาฬฟิน · ดูเพิ่มเติม »

วาฬสเปิร์ม

วาฬสเปิร์ม หรือ วาฬหัวทุย (Sperm whale) เป็นวาฬขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นวาฬมีฟัน (Odontoceti) ชนิดที่ใหญ่ที่สุด วาฬสเปิร์มมีลักษณะเด่น คือ มีส่วนหัวใหญ่และยาวมากเกือบร้อยละ 40 ของลำตัว ลำตัวสีเทาดำผิวหนังเป็นรอยย่นตลอดลำตัว ส่วนหน้าผากตั้งฉากตรงขึ้นจากปลายปากบน และเป็นแนวหักลาดไปทางส่วนหลัง ท่อหายใจรูเดียว อยู่ส่วนบนเยื้องไปด้านซ้ายของหัวครีบหลัง มีลักษณะเป็นสันนูนขึ้นมาตั้งอยู่ค่อนไปทางท้ายลำตัว และมีสันเป็นลอน ๆ ไปจนเกือบถึงโคนหาง ครีบข้างค่อนข้างเล็กปลายมนเหมือนใบพาย ไม่มีครีบหลัง ขากรรไกรล่างแคบยาวและเล็กมากเมื่อเทียบกับส่วนหัว ฟันเป็นเขี้ยวจำนวน 16-30 คู่ บนขากรรไกรล่าง ขากรรไกรบนไม่มีฟัน แต่จะมีช่องสำหรับรองรับฟันล่างเวลาหุบปากเท่านั้น อย่างไรก็ตามอาจพบฟัน 10-16 คู่ ในกระดูกขากรรไกรบนของวาฬที่มีอายุมาก ๆ นอกจากนี้แล้วบริเวณรอบ ๆ ปากจะเป็นสีขาว ซึ่งเชื่อกันว่าในที่ ๆ น้ำลึกสีขาวนี้จะเรืองแสงในความมืด ใช้เป็นเครื่องล่อเหยื่อต่าง ๆ ของวาฬสเปิร์ม มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 15-20 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 3.5-4.5 เมตร แม่วาฬใช้เวลาตั้งท้องนาน 16-17 เดือน ลูกจะอาศัยอยู่กับแม่เป็นเวลาประมาณ 13 เดือนจึงแยกออกหากินอิสระ ขนาดโตเต็มที่ยาว 12-18 เมตร น้ำหนักมากถึง 28 ตัน วาฬสเปิร์ม เป็นวาฬที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง และเป็นวาฬชนิดที่ดำน้ำได้ลึกที่สุด มีรายงานว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 1,000 เมตร โดยใช้เวลาประมาณ 40 นาที มีรายงานจากการติดตามวาฬที่ติดเครื่องหมายด้วยระบบโซน่า พบว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 2,800-3,000 เมตร โดยใช้เวลากว่า 1 ชั่วโมง จากการสูดหายใจเพียงครั้งเดียวที่ผิวน้ำที่มีแรงกดดันเท่ากับที่มนุษย์หายใจ ซึ่งในระดับความลึกกว่า 1,000 เมตร แรงกดของอากาศมากกว่าที่ผิวน้ำ 100 เท่า บีบอัดปอดของวาฬให้เหลือเพียงร้อยละ 1 ของปริมาตรทั้งหมด แต่ขณะที่ยังเป็นวาฬวัยอ่อนอยู่ จะยังไม่สามารถดำน้ำลึกได้เหมือนตัวที่โตเต็มวัย นอกจากนี้แล้ววาฬสเปิร์มยังเป็นวาฬชนิดที่ชอบกินหมึกเป็นอาหารมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งหมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีความยาวได้ถึง 14 เมตร ในระดับความลึกระดับ 1,000 เมตร หรือหมึกกล้วยยักษ์ (Architeuthis dux) ที่มีขนาดรองลงมา โดยอาจยาวได้ถึง 12 เมตร โดยมีการพบซากจะงอยปากของหมึกในกระเพาะของวาฬสเปิร์ม ซึ่งวาฬบางตัวจะมีผิวหนังที่เป็นรอยแผลจากปุ่มดูดของหนวดหมึกปรากฏอยู่ รอยแผลเป็นบนผิวหนังวาฬสเปิร์มจากปุ่มดูดของหมึกมหึมา วาฬสเปิร์ม เป็นวาฬที่พบได้ในทะเลและมหาสมุทรทั่วโลก ในน่านน้ำไทยพบรายงานเพียง 3 จังหวัด คือ พังงา, ภูเก็ต และสตูล และถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมาย วาฬสเปิร์ม นับเป็นวาฬอีกชนิดหนึ่งที่ถูกล่าจากมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ด้วยการนำเขี้ยวและฟันมาเป็นทำเครื่องประดับ ไขมันในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เนื้อสำหรับรับประทาน นอกจากนี้แล้วอาเจียนหรือมูลของวาฬสเปิร์มยังมีลักษณะแข็งเหมือนอำพัน และมีกลิ่นหอมเป็นลักษณะพิเศษ เป็นของหายาก ราคาแพง ใช้เป็นส่วนสำคัญในการผลิตหัวน้ำหอมและยาไทยได้ด้วย เรียกว่า "อำพันขี้ปลา" หรือ "อำพันทะเล" หรือ "ขี้ปลาวาฬ" และที่ส่วนหัวยังมีสารพิเศษคล้ายไขมันหรือขี้ผึ้ง เรียกว่า "ไขปลาวาฬ" ซึ่งใช้ในการผลิตโลชั่น และเวชภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ซึ่งวาฬสเปิร์มได้ถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงระดับโลก คือ "โมบิดิก" ของเฮอร์มัน เมลวิลล์ ในปี ค.ศ. 1855 ที่เป็นเรื่องราวของการล่าวาฬสเปิร์มเผือกตัวหนึ่งที่มีนิสัยดุร้าย ชื่อ โมบิดิก หรือในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง "พินอคคิโอ" ที่ตอนท้ายเรื่องพินอคคิโอผจญภัยเข้าไปอยู่ในท้องของวาฬ ซึ่งก็คือ วาฬสเปิร์ม เป็นต้น ในปัจจุบัน มีผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์พบว่า วาฬสเปิร์มรวมถึงวาฬชนิดอื่น ๆ มีขนาดลำตัวที่เล็กลงจากอดีต บ่งบอกว่าเป็นสัตว์ที่อยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ โดยเฉพาะวาฬสเปิร์มนั้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวาฬสเปิร์ม · ดูเพิ่มเติม »

วาฬหัวคันศร

วาฬหัวคันศร หรือ วาฬโบว์เฮด (bowhead whale) เป็นสัตว์เลี้ยงด้วยนมในทะเลขนาดใหญ่ จำพวกวาฬชนิดหนึ่ง จัดเป็นวาฬไม่มีฟัน หรือวาฬบาลีนชนิดหนึ่ง วาฬหัวคันศร จัดเป็นวาฬที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่ง ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีความยาวได้ถึง 20 เมตร น้ำหนักกว่า 100 ตัน วาฬหัวคันศรมีจุดเด่น คือ มีส่วนหัวที่ใหญ่ ใต้คางหรือกรามเป็นสีขาว มีปากกว้างใหญ่คล้ายหัวคันธนู มีรูจมูกขนาดใหญ่อยู่ด้านบนหัว ส่วนหัวที่ใหญ่นี้สามารถใช้กระแทกน้ำแข็งที่หนาเป็นเมตรให้แตกแยกออกจากกันได้ ซึ่งต้องใช้แรงมากถึง 30 ตัน เพราะเป็นวาฬที่อาศัยอยู่แถบอาร์กติก ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ หนาวเย็นและห่างไกลมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก นอกจากนี้แล้ววาฬหัวคันศรยังถือเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีอายุยืนที่สุดในโลกอีกด้วย โดยตัวที่มีอายุมากที่สุดมีบันทึกว่ามากถึง 211 ปี ลูกวาฬหัวคันศร เมื่อแรกเกิดจะมีผิวหนังที่ย่นและมีสีอ่อนกว่าตัวเต็มวัย มีน้ำหนักราว 3-4 ตัน ลูกวาฬจะดูดกินนมแม่ภายในขวบปีแรก โดยหัวนมแม่จะอยู่ใกล้กับหาง แม่วาฬและลูกวาฬจะมีสายสัมพันธ์ที่เหนียวแน่น ลูกวาฬบางครั้งจะกลัวแผ่นน้ำแข็งซึ่งที่จริงแล้วใช้เป็นแหล่งกำบังตัวจากศัตรูได้ดีที่สุด แม่วาฬจะว่ายนำลูก เพื่อให้ลูกวาฬหายกลัว ภายใน 1 ปี ลูกวาฬจะมีความยาวเพิ่มขึ้น 2 เท่า (ราว 10 เมตร) จากแรกเกิด และเข้าวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 25 ปี วาฬหัวคันศร กินแพลงก์ตอนสัตว์ เช่น ไรทะเล หรือเคย เป็นอาหาร โดยกินได้เป็นปริมาณมากถึง 30 ตันภายในเวลา 1-2 เดือน และจะกินเช่นนี้ไปตลอดทั้งปี สามารถดำน้ำได้ลึกถึง 500 เมตร และกลั้นหายใจได้นานถึง 50 นาที วาฬหัวศร เป็นวาฬที่มีพฤติกรรมว่ายอพยพไปมาระหว่างทะเลและมหาสมุทรต่าง ๆ ตามแต่ละฤดูกาล ปริมาณของวาฬหัวคันศรในช่วงฤดูหนาวในอ่าวฮัดสัน มีจำนวนนับพัน และจะว่ายน้ำออกสู่มหาสมุทรเปิดไปยังน่านน้ำแคนาดาเพื่อหาอาหาร เช่น อ่าวแลงคาสเตอร์ซาวด์ ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงจะว่ายลงใต้เพื่อหาอาหารในช่วงฤดูหนาว รวมระยะทางราว 4,000-5,000 กิโลเมตร สามารถว่ายน้ำได้นับพันกิโลเมตรภายในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ โดยพักเป็นระยะ ๆ โดยลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ เหมือนว่าหลับ ในฤดูใบไม้ผลิเมื่อน้ำแข็งแตกออก จะว่ายข้ามอ่าวดิสโค เพื่อไปใช้ชีวิตในช่วงฤดูร้อนที่น่านน้ำแคนาดา อาจจะมีจำนวนประชากรวาฬที่มาจากอ่าวอลาสกาเข้ามาผสมรวมอยู่กับวาฬที่อาศัยอยู่บริเวณอาร์กติกด้วย ทำให้เหมือนมีปริมาณวาฬที่มากขึ้น คาดการว่ามีประชากรวาฬหัวคันศรนอกอลาสกาประมาณ 12,000 ตัว วาฬหัวคันศร เมื่อโตเต็มที่บางครั้งจะมีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นกลุ่มอย่างมีแบบแผน โผขึ้นเหนือผิวน้ำ รวมถึงสะบัดครีบหาง ดำผุดดำว่ายเช่นนั้นเหมือนเล่นหรือเกี้ยวพาราสีกัน แม้กระทั่งพ่นลมจากรูบนหัว วาฬหัวคันศรเป็นวาฬที่สื่อสารกันเองและนำทางโดยใช้เสียง สามารถที่รับฟังเสียงของวาฬชนิดอื่นรวมถึงพวกเดียวกันเองได้ไกลนับหลายร้อยหรือพันกิโลเมตร เนื่องจากเสียงสามารถเดินทางไปได้ไกลกว่าในอากาศ จากการศึกษาพบว่าวาฬหัวคันศรสามารถส่งเสียงร้องได้มากถึง 2 เสียงในเวลาเดียวกัน และยังสามารถเลียนเสียงวาฬชนิดอื่น เช่น วาฬเบลูกา ได้อีกด้วย รวมถึงเปลี่ยนเสียงร้องไปในทุก ๆ ปี แต่ก็เป็นวาฬที่มีพฤติกรรมการระแวดระวังภัยสูง แม้ได้ยินเสียงน้ำกระเพื่อมเพียงเล็กน้อยก็จะหลบหนีไปจากบริเวณนั้นเพื่อความปลอดภัย จึงทำให้มนุษย์เข้าใกล้ได้ยากมาก วาฬหัวคันศร ลักษณะของกรามที่เป็นสีขาว วาฬหัวคันศร ถือเป็นวาฬชนิดหนึ่งที่มีการล่าเป็นอย่างหนัก โดยเฉพาะในช่วงศตวรรษที่ 19 แม้จะมีรูปร่างที่ใหญ่โตและมีพละกำลังมหาศาล แต่วาฬหัวคันศรเมื่อถูกล่าจะหนีเพียงอย่างเดียว โดยนักล่าจะใช้ฉมวกยิงพุ่งไปยังหลังวาฬเพื่อให้มันลากเรือไป จนกระทั่งหมดแรงและลอยน้ำอยู่นิ่ง ๆ หรือกระทั่งถูกยิงอย่างรุนแรง ก็สามารถทำให้ส่วนหัวตกลงกระแทกกับพื้นทะเลทำให้กรามหักและตายลงได้ โดยนักล่าวาฬจะดักรอวาฬที่ว่ายอพยพไปมาในทะเลแถบอาร์กติก ซึ่งวาฬหัวคันศรสามารถให้ไขมันและน้ำมันเพื่อการบริโภคและนำไปทำเป็นสบู่หรือเนยเทียม รวมถึงไขวาฬต่าง ๆ โดยวาฬหัวคันศรถือเป็นวาฬชนิดที่มีไขมันมากที่สุด เป็นวาฬที่มีรูปร่างอ้วนที่สุด มีชั้นไขมันที่หนามาก น้ำหนักตัวกว่าร้อยละ 50 เป็นไขมัน ในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวาฬหัวคันศร · ดูเพิ่มเติม »

วาฬนาร์วาล

นาร์วาล (narwhal; ชื่อวิทยาศาสตร์: Monodon monoceros) เป็นวาฬมีฟันขนาดกลาง ซึ่งใช้ชีวิตตลอดทั้งปีที่บริเวณอาร์กติก เป็นหนึ่งในสองของสปีชีส์วาฬวงศ์โมโนดอนติแด เช่นเดียวกับวาฬเบลูกา นาร์วาลเพศผู้มีลักษณะที่โดดเด่นคือ มีงาที่ยาว, ตรง, เป็นเกลียวที่ยื่นมาจากกรามบนด้านซ้ายของพวกมัน ซึ่งแท้ที่จริงแล้วคือ ฟันเพียงซี่เดียวของพวกมันที่อาจยาวได้ถึง 3 เมตร สำหรับตัวผู้บางตัวอาจมีได้ถึงสองซี่ ขณะที่ตัวเมียเองก็อาจมีได้เหมือนกันแต่ทว่าไม่ยาวและไม่โดดเด่นเท่า ปัจจุบันยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัดว่ามีไว้สำหรับทำอะไร เพราะนาร์วาลไม่ได้ใช้งาตรงนี้ในการขุดเจาะหาอาหารหรือต่อสู้กันเอง ในยุคกลางงาของนาร์วาลถูกขายในราคาที่สูงให้แก่เชื้อพระวงศ์ชั้นสูง และถูกมองว่าเป็นยูนิคอร์นแห่งท้องทะเล นาร์วาลส่วนใหญ่พบในบริเวณอาร์กติกของแคนาดาและเขตทะเลของกรีนแลนด์ หาได้ยากในบริเวณละติจูด 65°เหนือ นาร์วาลเป็นนักล่าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในเขตอาร์กติก มันกินเหยื่อบริเวณพื้นใต้น้ำเป็นอาหาร โดยเป็นปลาซีกเดียวเป็นส่วนใหญ่ ที่ระดับความลึกถึง 1,500 เมตรใต้ก้อนน้ำแข็งหนา มีการล่านาร์วาลมากว่าหนึ่งพันปีโดยชาวอินูอิตในภาคเหนือของแคนาดาและกรีนแลนด์สำหรับเนื้อและงา รวมถึงล่าเพื่อการยังชีพแบบควบคุมยังคงดำเนินต่อไปจนถึงทุกวันนี้ ในขณะที่ประชากรต่างถือว่าพวกมันตกอยู่ในความเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีช่วงที่แคบและอดอาหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวาฬนาร์วาล · ดูเพิ่มเติม »

วาฬเพชฌฆาต

วาฬเพชฌฆาต หรือ วาฬออร์กา (Killer whale, Orca) เป็นสปีชี่ส์ที่ใหญ่ที่สุดในในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) สามารถพบเห็นได้ในมหาสมุทรทั่วโลก ตั้งแต่แถบอาร์กติกและแอนตาร์กติกา จนถึงทะเลในแถบเขตร้อน จนอาจเรียกได้ว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถพบเห็นได้ทั่วโลกมากที่สุดนอกเหนือจากมนุษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวาฬเพชฌฆาต · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กวางชะมด

กวางชะมด (Musk deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์เคี้ยวเอื้องในวงศ์ Moschidae และสกุล Moschus.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวงศ์กวางชะมด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว

วงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว หรือ วงศ์สางห่า (Wall lizard, True lizard, Old world runner, Lacertid lizard) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Squamata หรืองูและกิ้งก่า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lacertidae มีลักษณะโดยรวม คือ ทุกชนิดของวงศ์นี้มีขา เกล็ดปกคลุมลำตัวมีขนาดแตกต่างกัน เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและทางด้านข้างแปรผันตั้งแต่มีขนาดใหญ่และเรียบและเรียงซ้อนตัวเหลื่อมกันหรือมีขนาดเล็กเป็นตุ่มและมีสัน เกล็ดด้านท้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ และเรียงตัวต่อเนื่องกันหรือเรียงตัวซ้อนเหลื่อมกัน ไม่มีกระดูกในชั้นหนัง กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์ควาวิเคิลเป็นรูปโค้งและกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม หางยาว สามารถปล่อยหางหลุดจากลำตัวได้เพื่อหลบหนีศัตรู พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกเทอรีกอยด์มีฟันหรือไม่มีฟัน เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีขนาดเล็ก ตั้งแต่ 4 เซนติเมตรจนถึงมีขนาดใหญ่สุดไม่เกิน 12 เซนติเมตร ส่วนมากอาศัยและหากินบนพื้นดินในเวลากลางวัน หรือไม่ก็อาศัยในไม้พุ่มหรือต้นไม้ในระดับเตี้ย ๆ ส่วนมากกินแมลงเป็นอาหาร บางชนิดกินเมล็ดพืชเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่ ๆ ที่เป็นโลกเก่า คือ ทวีปยุโรป, แอฟริกา และเอเชีย จนถึงอินเดียตะวันออก มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับกิ้งก่าในวงศ์ Teiidae ที่พบในโลกใหม่ เนื่องจากมีนิเวศวิทยา, พฤติกรรม ตลอดจนแบบแผนการสืบพันธุ์คล้ายคลึงกัน พบประมาณ 220 ชนิด แบ่งออกได้เป็น 37 สกุล (ขณะที่บางข้อมูลระบุว่า 27 สกุล หรือแม้แต่ 5 สกุล).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัว

วงศ์ปลาวัว หรือ วงศ์ปลางัว หรือ วงศ์ปลากวาง (วงศ์: Balistidae, Triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวกว้างแบนเป็นทรงกลมรีคล้ายรูปไข่ ข้างตำแหน่งตาอยู่สูงบริเวณด้านบนของหัว ที่ครีบหลังอันแรกจะมีหนามแข็ง 3 อัน สามารถพับเก็บได้ และจะตั้งขึ้นได้เพื่อใช้ในการข่มขู่ศัตรู มีก้านครีบหางจำนวน 12 ก้าน และ 18 ก้านครีบที่ครีบหลัง มีเกล็ดที่ใหญ่แข็งและหนังหนา ส่วนของใบหน้ายาวและยื่นแหลมออกมา ปากมีขนาดเล็ก ภายในมีฟัน 4 ซี่ที่ด้านนอก และด้านในอีก 3 ซี่ ที่แหลมคมมาก ใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ กินเป็นอาหาร รวมถึงฟองน้ำ, ปะการัง, สาหร่าย หรือเม่นทะเลด้วย เช่นเดียวกับปลาปักเป้า อันเป็นปลาในอันดับเดียวกัน แต่อยู่ต่างวงศ์กัน พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น เช่น อินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะฮาวาย, ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลฟิลิปปิน และมหาสมุทรแอตแลนติก ตาของปลาวัวสามารถกลอกกลิ้งไปมาได้ อันเป็นลักษณะเฉพาะ โดยปกติแล้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้าวก้าวร้าวมาก มักไล่กัดปลาอื่นหรือแม้แต่พวกเดียวกันเองที่รุกล้ำเข้ามาในถิ่นที่อยู่อาศัย เป็นปลาที่จะหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการัง มีพฤติกรรมหากินโดยซอกซอนหากินเอาในแนวปะการังในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้รวดเร็วมากโดยใช้ครีบหลัก ๆ ทั้ง 2 ครีบในด้านบนและด้านล่างของลำตัว ขณะที่ครีบหางใช้เป็นตัวควบคุมทิศทาง เป็นปลาที่มีพฤติกรรมผสมพันธุ์วางไข่ โดยวางไข่ตามพื้นในรังซึ่งตัวผู้จะทำหน้าที่เฝ้าระวัง ซึ่งบางชนิดจะมีนิสัยดุร้ายมากในช่วงนี้ โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามสดใสมาก จึงเป็นที่นิยมมากของนักดำน้ำและนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่ว่าเป็นปลาที่ดุร้ายมาก สามารถพุ่งเข้ากัดจนเป็นแผลเหวอะหรือไล่มนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์ที่ใหญ่กว่ามากได้อย่างไม่เกรงกลัว มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 25-50 เซนติเมตร โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาวัวไททัน (Balistoides viridescens) ที่ใหญ่ได้ถึง 75 เซนติเมตร หรือราว 1 เมตร และนับเป็นชนิดที่อันตรายมาก เพราะมีรายงานการกัดและไล่นักดำน้ำมาแล้วในหลายที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวงศ์ปลาวัว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสามรส

ำหรับปลาวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลาปากแตร วงศ์ปลาสามรส หรือ วงศ์ปลาปากแตร หรือ วงศ์ปลาปากขลุ่ย (Cornetfish) วงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Fistulariidae มีลักษณะเด่น คือ หัวและลำตัวแบนลงแต่แคบและยาวมาก ตาโต ปากเป็นท่อยาว มีช่องปากขนาดเล็กอยู่ปลายสุดเชิดขึ้นดูคล้ายแตร ลำตัวไม่มีเกล็ด ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบหางเป็นแฉกมีเส้นยาวคล้ายแส้ยื่นออกจากกึ่งกลางครีบ ลำตัวทั่วไปรวมทั้งหัว และครีบสีน้ำตาลแดง ขนาดยาวได้ถึง 1 เมตร มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาปากแตร (Aulostomidae) แต่มีลำตัวเรียวยาวและผอมกว่า และไม่มีก้านครีบแข็งหน้าครีบหลัง พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการัง หากินในเวลากลางคืน โดยกินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาปากแตร ไม่ถือว่าเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่มีการบริโภคกันในท้องถิ่น พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย มีทั้งหมด 1 สกุล แบ่งออกเป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวงศ์ปลาสามรส · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกเป็ดน้ำ

วงศ์นกเป็ดน้ำ (Duck, Goose, Swan, Teal) เป็นวงศ์ของสัตว์ปีก ในอันดับ Anseriformes ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anatidae ลักษณะทั่วไปของนกในวงศ์นี้ คือ เป็นนกน้ำลำตัวป้อม มีลักษณะเด่นคึอ ปากแบนใหญ่ หางสั้น มีแผ่นพังผืดยึดนิ้วเท้า จึงช่วยให้ว่ายน้ำได้ดี มีลำคอเรียวยาว เมื่อเวลาว่ายน้ำจะโค้งเป็นรูปตัวเอส ขนเคลือบด้วยไขมันกันน้ำได้เป็นอย่างดี โดยน้ำไม่สามารถเข้าไปในชั้นขนได้ ตัวเมียมีลายสีน้ำตาลไม่ค่อยสวยงาม ต่างจากตัวผู้ที่มีสีสดใสกว่าชอบลอยตัวรวมกันเป็นฝูงในแหล่งน้ำ ทั้งในแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำกร่อย หาอาหารโดยใช้ปากไชจิกพืชน้ำ จับกินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ตามผิวน้ำ หรืออาจจะดำลงไปจับใต้น้ำ ส่วนใหญ่ทำรังตามริมน้ำด้วยพืชน้ำ บางชนิดทำรังในโพรงไม้หรือซอกกำแพง และมีพฤติกรรมจับคู่อยู่เพียงตัวเดียวไปตลอด จะเปลี่ยนคู่ก็ต่อเมื่อคู่นั้นได้ตายลง มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง สามารถบินได้ และบินได้ในระยะไกล ๆ หลายชนิดเป็นนกอพยพที่จะอพยพกันเป็นฝูงตามฤดูกาล โดยมากจะเป็นไปในฤดูหนาวที่อุณหภูมิลดต่ำลง มักจะบินอพยพจากซีกโลกทางเหนือลงสู่ซีกโลกทางใต้ ซึ่งอุณหภูมิอุ่นกว่า จากนั้นเมื่อถึงฤดูร้อนก็จะอพยพกลับไป และแพร่พันธุ์วางไข่ โดยนกที่อยู่ในวงศ์นี้ เป็นนกที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เป็ด, หงส์ และห่าน ชนิดต่าง ๆ ด้วยว่าเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินและบริโภคเนื้อและไข่เป็นอาหาร สามารถแบ่งออกได้เป็นราว 146 ชนิด ใน 40 สกุล จึงสามารถแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง) โดยที่พบในประเทศไทยราว 25 ชนิด เช่น เป็ดก่า (Asarcornis scutulata), เป็ดแดง (Dendrocygna javanica), เป็ดคับแค (Nettapus coromandelianus) และเป็ดหงส์ (Sarkidiornis melanotos) เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวงศ์นกเป็ดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (วงศ์: Phasianidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก อันดับไก่ (Galliformes) โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Phasianidae ลักษณะโดยรวมของนกในวงศ์นี้ มีจะงอยปากสั้นหนาแข็งแรง ปลายแหลม มีหงอน มีเหนียง 2 เหนียง ขนหางมี 8-32 เส้น ขาแข็งแรง แต่ละข้างมีตีนนิ้วยื่นไปข้างหน้า 3 นิ้ว ข้างหลัง 1 นิ้ว นิ้วที่ยื่นไปข้างหลังอยู่สูงกว่านิ้วอื่นเล็กน้อย ตัวผู้มีเดือยข้างละเดือย กินเมล็ดพืชและสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ โดยเฉพาะแมลงและหนอนบนพื้นดินเป็นอาหาร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปีกมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับนกในวงศ์อื่น จึงทำให้ไม่สามารถบินได้ แต่จะบินได้ในระยะใกล้ ๆ เช่น บินขึ้นต้นไม้ มักอาศัยอยู่ในป่าไผ่และป่าละเมาะ มีความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจน ตัวผู้จะมีขนาดและสีสันรวมทั้งลักษณะสวยงามกว่าตัวเมีย ไข่มีสีเปลือกทั้งขาว, สีนวล และลายประแต้มสีต่าง ๆ มีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ยาวเป็นเมตร จนเพียง 20 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์ในหลายทวีปทั่วโลก ได้แก่ เอเชีย, ยุโรป, อเมริกาเหนือ และแอฟริกา แบ่งออกได้เป็น 4 วงศ์ย่อย (ดูได้ในตาราง) พบราว 156 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งสิ้น 26 ชนิด อาทิ ไก่นวล (Rhizothera longirostris), นกคุ่มญี่ปุ่น (Coturnix japonica), ไก่จุก (Rollulus rouloul), ไก่ป่า (Gullus gullus) เป็นต้น นกในวงศ์นี้ มีความผูกพันกับมนุษย์มาอย่างช้านาน ด้วยการใช้เนื้อและไข่บริโภคเป็นอาหาร อาทิ ไก่ที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบัน ก็มีต้นทางมาจากไก่ป่า หรือไข่นกกระทา ก็นำมาจากไข่ของนกคุ่มญี่ปุ่น หรือบางชนิดที่มีความสวยงามหรือโดดเด่น ก็ถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม เช่น ไก่ฟ้าสีทอง (Chrysolophus pictus), นกยูง (Pavo spp.) เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลพุนชัส

ปลาตะเพียนหน้าแดง (''Sahyadria denisonii'') ซึ่งเดิมเคยอยู่ในสกุลนี้ แต่ปัจจุบันแยกอยู่ในสกุล ''Sahyadria''Raghavan, R., Philip, S., Ali, A. & Dahanukar, N. (2013): http://www.threatenedtaxa.org/ZooPrintJournal/2013/November/o367326xi134932-4938.pdf ''Sahyadria'', a new genus of barbs (Teleostei: Cyprinidae) from Western Ghats of India. ''Journal of Threatened Taxa, 5 (15): 4932-4938.'' สกุลพุนชัส (Barb) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีอยู่ด้วยกันมากมายหลายชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Puntius.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสกุลพุนชัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลลิงซ์

ำหรับลิงซ์ในความหมายอื่น ดูที่: Lynx ตะกูลลิงซ์ (Lynx, Bobcat) เป็นตะกูลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อสกุลหนึ่ง จัดเป็นเสือขนาดเล็ก ใช้ชื่อสกุลว่า Lynx อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) คำว่า Lynx ที่ใช้เป็นชื่อสกุล มีที่มาจากภาษาอังกฤษกลาง ที่มาจากภาษากรีกคำว่า "λύγξ" หรือมาจากรากศัพท์ภาษาอินโด-ยูโรเปียนคำว่า "ลุก" หมายถึง "แสงสว่าง" ซึ่งหมายถึงตาของลิงซ์ที่แวววาว ลิงซ์ มีลักษณะทั่วไปเหมือนแมวในสกุล Felis ทำให้ครั้งหนึ่งมีการพิจารณาว่า ควรมีสกุลเป็นของตนเองหรือไม่ หรือแค่จัดเป็นสกุลย่อยของสกุล Felis แต่ปัจจุบันได้ยอมรับว่าเป็นสกุลของตนเอง โดย จอห์นสัน และคนอื่น ๆ รายงานว่า ลิงซ์ได้มีเครือบรรพบุรุษร่วมกับ เสือพูม่า, แมวดาว และเชื้อสายของแมวบ้าน เมื่อ 7.15 ล้านปีมาแล้ว และลิงซ์ได้แยกตัวออกมาเป็นกลุ่มแรก เมื่อประมาณ 3.24 ล้านปีก่อน ลักษณะเด่นของลิงซ์ คือ มีขนที่หนาและปุกปุยกว่าตั้งแต่หางตาตลอดจนแก้ม มีจุดเด่น คือ ขนปลายหูที่เป็นพู่แหลมชี้ตั้งขึ้นตรง ลำตัวมีความยาวประมาณ 2 ฟุตครึ่ง แต่มีส่วนหางที่สั้นไม่สมมาตรกับลำตัว อุ้งเท้ามีขนาดกว้างใหญ่ ทำให้เดินบนหิมะและน้ำแข็งได้อย่างสะดวก ลิงซ์มีอุปนิสัยชอบลับเล็บกับต้นไม้ เหมือนกับสัตว์ในวงศ์นี้ทั่วไป ลิงศ์เป็นสัตว์ที่กินเนื้อได้หลากหลาย ตั้งแต่สัตว์เล็กเช่น นก, หนู, กระต่าย จนกระทั่งสัตว์ขนาดใหญ่กว่า เช่น ลูกวัว และลูกแกะ เป็นต้น ลิงซ์ กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทวีปเอเชียตอนเหนือและตอนกลาง, ทวีปยุโรป และอเมริกาเหนือ โดยอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ทั้งหมด 4 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสกุลลิงซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลวูลเปส

กุลวูลเปส (Fox, True fox) เป็นสกุลของหมาจิ้งจอกสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Vulpes จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ ซึ่งคำว่า "Vulpes" เป็นภาษาลาตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก" สกุลวูลเปส นับเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดของหมาจิ้งจอก คือ มีทั้งหมด 12 ชนิด โดยมี หมาจิ้งจอกแดง (Vulpes vulpes) เป็นต้นแบบของสกุล พบกระจายพันธุ์ไปแทบทุกส่วนของโลก ทั้ง ป่า, ชายป่าใกล้ชุมชนมนุษย์, ทะเลทราย, ที่ราบสูง หรือแม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสกุลวูลเปส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมว

กุลแมว หรือ สกุลแมวเล็ก (Small cat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับสัตว์กินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดเป็นเสือขนาดเล็ก ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Felis โดยที่คำว่า Felis นั้น มาจากภาษาละตินที่แปลตรงตัวว่า แมว และถือเป็นสกุลดั้งเดิมของหลายชนิดในวงศ์นี้ ก่อนที่จะแตกออกไปเป็นสกุลอื่น ๆ ตามเวลาที่มีการศึกษาเพิ่มเติม โดยสมาชิกที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้ ก็คือ แมวตีนดำ ที่พบในทวีปแอฟริกา ที่มีความยาวเต็มที่ 36.9 เซนติเมตร (14.5 นิ้ว) และความยาวหาง 12.6-17 เซนติเมตร ซึ่งถือเป็นชนิดที่เล็กที่สุดในวงศ์นี้ด้วย ขณะที่ใหญ่ที่สุด คือ แมวป่า มีความยาวลำตัวและส่วนหัว 50-56 เซนติเมตร ขณะที่ความยาวหาง 26-31 เซนติเมตร สมาชิกในสกุลนี้ยังรวมถึงแมวบ้าน ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงด้วย จากการศึกษาทางพันธุกรรมพบว่า สกุลนี้มีปรากฏครั้งแรกเมื่อราว 8-10 ล้านปีมาแล้ว ทางแถบเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสกุลแมว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไซเลอร์อัส

กุลไซเลอร์อัส (Sheatfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Silurus (/ไซ-เลอร์-อัส/) โดยถือว่าเป็นปลาหนัง (Siluriformes) ที่มีขนาดใหญ่ อาจยาวได้ถึง 3 เมตร และหนักได้เป็นร้อยกิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปยุโรปและเอเชียตะวันออก เป็นปลาที่กินไม่เลือก และมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมาก มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาวแบนข้าง หัวมีขนาดเล็ก นัยน์ตาอยู่เหนือมุมปาก มีหนวด 2 คู่ ที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ ครีบหลังเล็กอยู่หน้าล้ำครีบท้อง ครีบอกสั้น และยาวไม่ถึงฐานของครีบท้อง มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลางอยู่รวมกัน 1 กลุ่ม ครีบหางตัดตรงหรือเว้าเล็กน้อย ครีบก้นยาวแต่ไม่ต่อรวมถึงครีบหาง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสกุลไซเลอร์อัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเตตราโอดอน

กุลเตตราโอดอน เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Tetraodon (/เต-ตรา-โอ-ดอน/) มีรูปร่างโดยรวม ป้อมสั้น อ้วนกลม ครีบทั้งหมดสั้น ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 12-14 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 10-12 ก้าน เยื่อจมูกยื่นออกมาเป็นหลอด ปลายแยกเป็นสองแฉก ใต้ผิวหนังมีเกล็ดที่พัฒนาเป็นหนามเล็ก ๆ ซ่อนอยู่ ผิวหนังมักมีจุดสีดำแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด เมื่อตกใจหรือต้องการป้องกันตัว สามารถพองลมให้ใหญ่ขึ้นมาได้ ในปากมีฟันที่แหลมคมใช้สำหรับขบกัดเปลือกของสัตว์น้ำมีกระดอง ต่าง ๆ ได้ รวมถึงหอย ซึ่งเป็นอาหารหลัก มีอุปนิสัยดุร้าย มักจะชอบกัดกินเกล็ดหรือครีบหางของปลาชนิดต่าง ๆ ที่ติดอวนของชาวประมงอยู่เสมอ ๆ นอกจากนี้แล้วยังสามารถซ่อนตัวใต้พื้นทรายเพื่ออำพรางตัวหาอาหารได้ในบางชนิด ในบางชนิดก็สามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ และยังสามารถเป่าน้ำจากปากเพื่อคุ้ยหาอาหารในพื้นทรายได้ด้วย ภายในตัวและอวัยวะภายในมีสารพิษที่เรียกว่า เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) อยู่ เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วจะทำให้เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยรวมแล้ว ปลาในสกุลนี้จะว่ายน้ำได้ช้ากว่าปลาปักเป้าในสกุลอื่น เช่น Takifugu หรือ Auriglobus เนื่องจากมีครีบที่สั้นและรูปร่างที่อ้วนกลมกว่า พบได้ทั้งทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด โดยกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาจนถึงเอเชีย มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและใช้บริโภคในบางท้องถิ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสกุลเตตราโอดอน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14 (อังกฤษ: Benedict XIV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1740 ถึง ค.ศ. 1758 ประสูติเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1675 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1758 รวมพระชนมายุได้ 83 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2218 บแนดิกต์ที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากโบโลญญา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 13

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 13 (Clement XIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1758 ถึง ค.ศ. 1769 ประสูติเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1693 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1769 รวมพระชนมายุได้ 75 พรรษา คลีเมนต์ที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลจากเวนิส.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)

มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบุรณราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2386 ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 6 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2392 เมื่อพระชันษาได้ 86 ปี พระประวัติตอนต้นไม่พบรายละเอียด มีแต่เพียงว่าประสูติในรัชสมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์แห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 2301 เป็นพระราชาคณะที่ พระนิกรมุนี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้เลื่อนเป็น พระพรหมมุนี เมื่อปี พ.ศ. 2359 ต่อมาเป็น พระธรรมอุดม และได้เลื่อนเป็น สมเด็จพระพนรัตน เมื่อปี พ.ศ. 2373 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากในระยะเวลาที่ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์กำลังอยู่ระหว่างการปฏิสังขรณ์ พระองค์จึงสถิต ณ วัดราชบูรณะตลอดมาจนสิ้นพระชนม์ ทำให้ธรรมเนียมการแห่สมเด็จพระสังฆราชมาสถิต ณ วัดมหาธาตุ เป็นอันเลิกไปตั้งแต่นั้นมา และสมเด็จพระสังฆราชเคยสถิตอยู่ ณ พระอารามใด เมื่อครั้งก่อน เป็นสมเด็จพระสังฆราช ก็ยังคงสถิตอยู่ ณ พระอารามนับสืบต่อไป เป็นแบบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน ได้มีการส่งสมณทูตไปลังกาเป็นครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2387 โดยทางเรือและเดินทางกลับในปีเดียวกัน พร้อมกับ ได้ยืมหนังสือพระไตรปิฎกมาอีก 30 คัมภีร์ พร้อมทั้งมีภิกษุสามเณร และคฤหัสถ์ชาวลังกา ติดตามมาด้วยกว่า 40 คน การที่มีพระสงฆ์ชาวลังกาเดินทางเข้ามาสยามบ่อยครั้ง จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ขณะผนวชและเป็นเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร รับภาระต้อนรับดูแลพระสงฆ์ชาวลังกา ดังนั้น วัดบวรนิเวศจึงมีหมู่กุฎีไว้รับรองพระสงฆ์ลังกาโดยเฉพาะ เรียกว่า คณะลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร

มเด็จพระเจ้าอุทุมพร (พระราชพงศาวดารพม่าเรียก สุรประทุมราชา) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 32 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และมีพระสมัญญานามว่า ขุนหลวงหาวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สังข์รดน้ำ

ังข์รดน้ำ (Valambari shank, Great indian chank) เป็นหอยทะเลฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง ในวงศ์หอยสังข์มงคล (Turbinellidae) จัดเป็นหอยขนาดใหญ่ มีเปลือกหนา รูปเปลือกค่อนข้างป้อม วงเกลียวตัวกลม ส่วนปลายมีร่องยาวปานกลาง ส่วนยอดเตี้ย ช่องเปลือกรูปรี ขอบด้านในมีสัน 3-4 อัน ผิวชั้นนอกสุดสีน้ำตาล เป็นชั้นที่บางและหลุดล่อนง่าย และมักจะหลุดออกเมื่อหอยตาย เปลือกชั้นรองลงไปเป็นส่วนที่มีความหนาและแข็ง ค่อนข้างเรียบ มีสีขาวนวลหรือสีขาวอมชมพู พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะมหาสมุทรอินเดียทางตอนใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังกาเท่านั้น อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำที่เป็นพื้นทราย กินหนอนตัวแบนและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร สังข์รดน้ำ โดยปกติแล้วจะมีเปลือกเวียนทางซ้าย (อุตราวรรต) ตามเข็มนาฬิกา แต่มีบางตัวที่เวียนไปทางด้านขวา (ทักษิณาวรรต) ซึ่งพบได้น้อยมาก ซึ่งหอยลักษณะนี้ตามคติของศาสนาฮินดูจะถือเป็นมงคล (ตามคติของพราหมณ์-ฮินดู ขว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสังข์รดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

ัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Amphibia อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก มีลักษณะเฉพาะ คือ ผิวหนังมีต่อมเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปียกลื่นอยู่เสมอ ไม่มีเกล็ดตัวไม่แห้งหรือไม่มีขน หายใจด้วยเหงือก, ปอด, ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ โดยชั้นผิวหนังนั้นมีลักษณะพิเศษสามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เนื่องจากมีโครงข่ายหลอดเลือดฝอยจำนวนมาก เพื่อใช้ในการหายใจ สืบพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว สืบพันธุ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ออกลูกเป็นไข่อยู่ในน้ำ ไม่มีเปลือก วางไข่เป็นกลุ่มในน้ำมีสารเป็นวุ้นหุ้ม ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างคล้ายปลาเรียกว่า "ลูกอ๊อด" อยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่ต้องอยู่ใกล้น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรูปร่างอาศัยอยู่บนบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งในช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ส่วนใหญ่จะขุดรูจำศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผิวหนังแห้ง ถ้าผิวหนังแห้งจะหายใจไม่ได้และตายในที่สุด เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ำเมือกที่ผิวหนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต ระยะนี้จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่างกายอย่างช้า ๆ นิวต์และซาลามานเดอร์ก็เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกถือเป็นสัตว์เลือดเย็นเช่นเดียวกับสัตว์พวกปลา หรือแมลง หรือสัตว์เลื้อยคลาน ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานสัตว์ในชั้นแล้วกว่า 6,500 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ปีก

ัตว์ปีก หรือ นก (รวมถึง ไก่, เป็ด, ห่าน, ไก่ฟ้า) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้น Aves (คำว่า Aves เป็นภาษาละติน หมายถึง นก) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์ทวิบาท เลือดอุ่น ออกลูกเป็นไข่ รยางค์คู่หน้าเปลี่ยนแปลงไปเป็นปีก มีขนนก และมีกระดูกที่กลวงเบา ในปัจจุบันทั่วโลกมีนกอยู่ประมาณ 8,800 ถึง 9,800 ชนิด (ตามการจัดอนุกรมวิธานที่ต่างกัน) ซึ่งนับว่านกเป็นชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีความหลากหลายมากที่สุด ในบรรดาชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหลายที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน ความหลากหลายของนกนับเนื่องไปตั้งแต่ในเรื่องของขนาดตัว สีสัน เสียงร้อง อาหารการกิน และถิ่นที่อยู่อาศัย นกเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญเป็นอันมากทั้งต่อระบบนิเวศและต่อชีวิตมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับนกเป็นไปอย่างแน่นแฟ้น และการเกื้อกูลกันระหว่างนกกับสรรพสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติก็เป็นไปอย่างแนบแน่น ถ้าหากปราศจากนก คงเป็นเรื่องยากที่จะจินตนาการถึงการดำรงอยู่ต่อไปของชีวภาคใบนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสัตว์ปีก · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P. tigris) ซึ่งเป็นสัตว์ในสกุล Panthera เหมือนกัน จัดเป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) พื้นลำตัวสีน้ำตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม (550 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า มักทำหน้าที่ล่าเหยื่อ มีน้ำหนักประมาณ 180 กิโลกรัม (400 ปอนด์) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย ในป่าธรรมชาติ สิงโตมีอายุขัยประมาณ 10-14 ปี ส่วนสิงโตที่อยู่ในกรงเลี้ยงมีอายุยืนถึง 20 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตบาร์บารี

งโตบาร์บารี หรือ สิงโตแอตลาส หรือ สิงโตนูเบียน (Barbary lion; Atlas lion; Nubian lion) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo leo เป็นสิงโตชนิดย่อยชนิดหนึ่ง ที่เชื่อว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้ว สิงโตบาร์บารีเป็นสิงโตที่มีขนาดใหญ่ มีจุดเด่นคือ ตัวผู้มีแผงขนคอที่มีสีดำมากกว่าสิงโตสายพันธุ์อื่น ๆ และมีน้ำหนักตัวมากที่สุดในบรรดาสิงโตด้วยกัน โดยเพศผู้มีน้ำหนักตัว 200- 295 กิโลกรัม เพศเมียมีน้ำหนักตัว 120- 180 กิโลกรัม อย่างไรก็ตามมีผู้เชี่ยวชาญบางท่านกล่าวว่าการคาดคะเนน้ำหนักดูเกินความจริงไปมาก เดิมสิงโตชนิดย่อยนี้พบแพร่กระจายตามแนวเทือกเขาแอตลาสในแอฟริกาเหนือ ไปจนถึงภูมิภาคตะวันออกกลางในทวีปเอเชีย ได้มีการจับสิงโตชนิดนี้เป็นจำนวนมากเพื่อใช้ในการต่อสู้ในยุคโรมัน สิงโตบาร์บารีในธรรมชาติตัวสุดท้ายถูกล่าเมื่อปี ค.ศ. 1922 ในบริเวณเทือกเขาแอตลาส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้มีการเลี้ยงสิงโตสายพันธุ์นี้อยู่โรงแรม หรือคณะละครสัตว์หลายแห่งในทวีปยุโรป ในช่วงยุคกลางมีการเลี้ยงสิงโตบาร์บารี่ในบริเวณหอคอยลอนดอน ในปี ค.ศ. 1835 ได้มีการย้ายสิงโตออกจากหอคอยลอนดอนไปยังสวนสัตว์ลอนดอน โดยสิงโตบาร์บารี่ตัวที่มีชื่อเสียงที่สุด ชื่อ สุลต่าน ซึ่งอาศัยอยู่ในสวนสัตว์ลอนดอนในปี ค.ศ. 1896 ปัจจุบัน สิงโตกลุ่มที่คาดว่าน่าจะสืบเชื้อสายมาจากสิงโตบาร์บารี่มากที่สุดคือกลุ่มของสิงโตที่สวนสัตว์ในโมร็อคโค แอฟริกาเหนือ ซึ่งระบุว่าได้มาจากเทือกเขาแอตลาส และมีการทำประวัติไว้ทุกตัว ตลอดระยะเวลาหลายปี แต่จากผลตรวจดีเอ็นเอ โดย ดร.โนะบุยุกิ ยะมะกุชิ แห่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ซึ่งนำตัวอย่างซากของสิงโตที่คาดว่าจะเป็นสิงโตบาร์บารี่จากหลายพิพิธภัณฑ์มาตรวจสอบ เทียบกับสิงโตที่คาดว่าจะเป็นสิงโตบาร์บารี่ ในสวนสัตว์หลายแห่งในทวีปยุโรป รวมทั้งสิงโตในสวนสัตว์โมรอคโคบางตัว พบว่าไม่ได้มีสิงโตตัวใดเป็น สิงโตบาร์บารี่ อย่างไรก็ตามการศึกษาครั้งนี้ไม่ได้ศึกษาถึงกลุ่มประชากรของสิงโตที่มีที่มาจากหอคอยลอนดอนในสวนสัตว์ลอนดอน ในปี ค.ศ. 2008 มีการศึกษาพบว่าสิงโตในโมร็อคโค มี mitochondrial haplotypes (H5 และ H6) เหมือนกับสิงโตในแอฟริกากลาง และยังพบว่า mitochondrial haplotypes (H7 และ H8) พบได้ในสิงโตอินเดีย อาจกล่าวได้ว่าสิงโตเริ่มแพร่กระจายจากแอฟริกาตะวันออกสู่พื้นที่อื่น ๆ และเข้าสู่ทวีปเอเชียในภายหลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และสิงโตบาร์บารี · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกอาร์กติก

หมาจิ้งจอกอาร์กติก, หมาจิ้งจอกขั้วโลก หรือ หมาจิ้งจอกหิมะ (Arctic fox, Snowy fox, Polar fox; หรือ Alopex lagopus) เป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก อาศัยอยู่ทั่วไปในเขตชายผั่งมหาสมุทรอาร์กติก ตลอดจนเขตทุนดราที่เต็มไปด้วยหิมะและน้ำแข็ง จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอีกชนิดหนึ่ง ที่มีขนสีขาวเพื่อให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม ช่วยให้ล่าเหยื่อได้ง่าย และสามารถพรางตัวจากศัตรูได้ด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหมาจิ้งจอกอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกทอง

หมาจิ้งจอกทอง หรือ หมาจิ้งจอกเอเชีย (pmc Reed wolf) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis aureus ในวงศ์สุนัข (Canidae) และถึงแม้ว่าจะได้ชื่อสามัญว่าในภาษาไทยว่า "หมาจิ้งจอก" แต่ก็มิได้เป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ เพราะมิได้อยู่ในสกุล Vulpini แต่จัดเป็นหมาป่าที่มีขนาดเล็ก (แจ็กคัล) กว่าหมาใน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหมาจิ้งจอกทอง · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกแดง

หมาจิ้งจอกแดง (Red fox) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ ซึ่งอยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหมาจิ้งจอกแดง · ดูเพิ่มเติม »

หมาไม้ต้นสนยุโรป

หมาไม้ต้นสนยุโรป หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หมาไม้ต้นสน ในประเทศยุโรปที่พูดภาษาอังกฤษ เป็นสัตว์ท้องถิ่นในยุโรปเหนือ อยู่ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับมิงค์, นาก, แบดเจอร์ และวูล์ฟเวอรีน และวีเซิล มีขนาดใหญ่ประมาณแมวบ้าน ลำตัวยาว 53 เซนติเมตร และหางของมันสามารถยาวได้ถึง 25 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย โดยเฉลี่ย มีน้ำหนักประมาณ 1.5 กิโลกรัม ขนของมันมักมีสีน้ำตาลอ่อนไปจนถึงน้ำตาลเข้ม และจะมีขนาดใหญ่ขึ้นและนุ่มขึ้นระหว่างฤดูหนาว พวกมันมีช่วงลำคอสีครีมไปจนถึงเหลือง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหมาไม้ต้นสนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

หมีสีน้ำตาล

หมีสีน้ำตาล (Brown bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่มาก โดยตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย เมื่อยืน 4 เท้ามีความสูงถึง 5 ฟุต และเมื่อยืนด้วย 2 เท้า อาจสูงถึง 9 ฟุต แต่ยืนได้ในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักมากถึง 1,000 ปอนด์ ส่วนตัวเมียอาจมีน้ำหนักมากกว่า 450 ปอนด์ มีขนสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ปุ่มหรือเนินตรงหัวไหล่ มีขนและเล็บยาว มีจมูกที่ใหญ่ แต่มีใบหูขนาดเล็ก แต่จะมีขนสีเข้มหรืออ่อนไปตามสภาพแวดล้อมและภูมิประเทศที่อาศัย รวมถึงขนาดตัวด้วย ซึ่งถือเป็นชนิดย่อย (ดูในตาราง) โดยกระจายพันธุ์ไปในพื้นที่ ๆ กว้างไกลมาก ตั้งแต่อะแลสกา, แคนาดา, รัสเซีย, หลายพื้นที่ในยุโรป และตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย, เนปาล และจีน และตะวันออกกลาง หมีสีน้ำตาลกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้งพืชและสัตว์ โดยหากเป็นพืชมักจะเป็นผลไม้ประเภทเบอร์รี่ บางครั้งกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง หรือ หนู แต่บางครั้งก็กินสัตว์ใหญ่ เช่น ม้า, วัวป่า, กวาง รวมถึงซากสัตว์ ในช่วงฤดูกาลที่มีอาหารสมบูรณ์ อาหารที่หมีสีน้ำตาลชอบมาก คือ ปลาแซลมอน และปลาเทราท์ หมีสีน้ำตาลตัวเมียต้องมีอายุ 4 ถึง 10 ปี จึงจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และให้กำเนิดลูกโดยเฉลี่ย 2 ตัว ในระยะเวลา 4 ปี ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิถึงต้นฤดูร้อน แม่หมีจะให้กำเนิดลูกในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ปกติ 2-3 ตัว โดยลูกหมีที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และยังไม่มีขน ลูกหมีจะอาศัยอยู่ในถ้ำที่แม่หมีขุดขึ้นมาจนกระทั่งถึงเดือนเมษายน หรืออาจถึงเดือนมิถุนายน และเริ่มหย่านมเมื่ออายุประมาณ 5 เดือน และเริ่มเรียนรู้ว่า พืชหรือสัตว์ประเภทไหนที่ใช้เป็นอาหาร ลูกหมีจะอยู่กับแม่อย่างน้อยอีก 1 ปี หรือมากกว่านั้น จากนั้นจึงเริ่มแยกตัวออกไป ส่วนในฤดูหนาว หมีสีน้ำตาลจะจำศีลในถ้ำเป็นระยะเวลาราว 2 เดือน โดยใช้พลังงานจากไขมันที่สะสมไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหมีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

หอยชักตีน

หอยชักตีน เป็นชื่อของหอยทะเลชนิดฝาเดียวเปลือกบางชนิดหนึ่ง โดยมีรูปร่างคล้ายหอยสังข์ขนาดเล็ก บางทีจึงเรียกว่า หอยสังข์ตีนเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยชักตีน · ดูเพิ่มเติม »

หอยสังข์มะระ

หอยสังข์มะระ (Murex shell, Ramose murex, Branched murex) เป็นหอยฝาเดียวจำพวกหอยสังข์ จัดอยู่ในวงศ์หอยหนาม เป็นหอยฝาเดียวขนาดกลางที่มีเปลือกหนา ด้านปากมีหนามยื่นยาวออกไปและมีร่องลึก บนเปลือกมีหนามจำนวน 3 แถว เรียงตัวตามความยาว หนามแต่ละอันพับเป็นราง ปลายไม่แหลมและไม่แผ่แบน โดยแถวที่อยู่ขอบด้านนอกมีแง่ยื่นออกไปทางด้านข้างมากกว่าแถวอื่น ช่องเปิดปากกว้าง ความยาวเปลือกประมาณ 25 เซนติเมตร พื้นผิวเปลือกสีขาว พบอาศัยอยู่ตามแนวปะการัง ใต้เขตน้ำขึ้น-น้ำลง พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในเขตอินโด-แปซิฟิก และพบถึงยังแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, อ่าวโอมาน, มอริเชียส, อ่าวไทย, โปลินีเซีย, ตอนใต้ของญี่ปุ่น, นิวแคลิโดเนีย และรัฐควีนส์แลนด์ ในออสเตรเลีย เป็นหอยที่นิยมนำเนื้อมารับประทาน และเปลือกใช้ในการทำเครื่องประดับเพื่อความสวยงาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยสังข์มะระ · ดูเพิ่มเติม »

หอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลีย

หอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลีย (Australian trumpet, False trumpet) เป็นมอลลัสคาในชั้นหอยฝาเดียว (Gastopoda) เป็นหอยสังข์ที่มีขนาดใหญ่มาก โดยอาจยาวได้ถึง 91 เซนติเมตร มีน้ำหนักกว่า 18 กิโลกรัม และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Syrinx นับเป็นหอยฝาเดียวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีปากที่ใหญ่ขนาดที่สามารถนำเด็กทารกไปวางนอนในนั้นได้ เป็นหอยชนิดที่พบเฉพาะพรมแดนทางทะเลระหว่างอินโดนีเซียและออสเตรเลียเท่านั้น มีเปลือกภายนอกสีเหลืองออกทอง ซึ่งหอยสังข์ชนิดนี้ สันนิษฐานว่าเป็นต้นกำเนิดของวรรณคดีไทยเรื่อง สังข์ทอง สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลมาจากนิทานพื้นบ้านของชวา ที่มีเนื้อเรื่องคล้ายคลึงกัน ในยุคต้นรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยสังข์ยักษ์ออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

หอยหมาก

หอยหมาก (Spiral babylon snail) เป็นมอลลัสคาในชั้นหอยฝาเดียว ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับหอยหวาน (B. areolata) แต่มีความแตกต่างกันที่ หอยหมากจะมีเปลือกสีเข้มกว่าและมีแต้มสีน้ำตาลจำนวนมาก ส่วนหัวที่เป็นเกลียวจะเป็นร่องลึก มีขนาดเล็กกว่าหอยหวาน พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่แคบกว่าหอยหวาน โดยในน่านน้ำไทยจะพบแพร่กระจายอยู่ทางฝั่งทะเลอันดามัน โดยพบมากที่จังหวัดระนอง ต่างประเทศ พบที่ปากีสถาน, ศรีลังกา จนถึงไต้หวัน จัดเป็นหอยที่ใช้ในการบริโภคเช่นเดียวกับหอยหวาน แต่ได้รับความนิยมน้อยกว่า และมีราคาขายที่ถูกกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยหมาก · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้างมุก

หอยงวงช้างมุก (Chambered nautilus, Pearly nautilus) เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมมอลลัสคา ชั้นเซฟาโลโพดา จัดเป็นหอยงวงช้าง (Nautilidae) ชนิดหนึ่ง มีลักษณะของเปลือกค่อนข้างโตและมีพื้นสีขาว มีลายสีส้มอมแดง จากบริเวณปากไปจนถึงก้นเปลือกหอย โดยเป็นสัตว์ที่มีชีวิตอยู่มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการพบซากฟอสซิลที่ทะเลเกาะลูซอน ในประเทศฟิลิปปินส์ มีขนาดประมาณ 10-25 เซนติเมตร พบได้ทั่วไปในน่านน้ำเขตอินโด-แปซิฟิก จนถึงฟิลิปปิน, ทะเลญี่ปุ่น, ทะเลซูลู จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) ในน่านน้ำไทยจัดว่าหาได้ยาก โดยจะพบได้น้อยที่ฝั่งทะเลอันดามัน เช่น เกาะอาดัง, หมู่เกาะสิมิลัน, เกาะหลีเป๊ะ โดยไม่พบในอ่าวไทย เป็นสัตว์ที่ว่ายและหากินในแถบกลางน้ำและพื้นดิน โดยสามารถดำน้ำได้ถึง 3 กิโลเมตร จับสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เช่น ปลาหรือกุ้ง เป็นอาหาร รวมทั้งซากสัตว์ทั่วไป เป็นสัตว์ที่ใช้เนื้อรับประทานได้เช่นเดียวกับหมึกหรือหอยทั่วไป เปลือกใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องประดับ รวมถึงการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำทั่วไป ซึ่งหอยงวงช้างมุกจะไม่ค่อยเคลื่อนไหวมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากในธรรมชาติอาศัยอยู่ในน้ำลึก แต่จะลอยตัวนิ่ง ๆ อยู่ข้างตู้มากกว่า อุณหภูมิที่ใช้เลี้ยงจะอยู่ที่ประมาณ 18-20 องศาเซลเซียส และเป็นสัตว์ที่ไม่กินอาหารมากนัก จนสามารถให้อาหารเพียงแค่สัปดาห์ละครั้งหรือ 2 ครั้งเท่านั้น โดยสามารถใช้ไม้เสียบล่อให้มากินหรือให้อาหารเองกับมือได้ นอกจากนี้แล้วในสถานที่เลี้ยงพบว่า หอยงวงช้างมุกสามารถวางไข่ได้ด้วย โดยจะวางไข่ติดกับก้อนหิน ไข่ใช้ระยะเวลาฟัก 8 เดือน หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำ ตัวอ่อนมีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 3 เซนติเมตร แต่อย่างไรก็ตาม จวบจนปัจจุบันยังไม่สามารถเลี้ยงลูกหอยงวงช้างมุกจนกระทั่งโตเต็มวัยได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยงวงช้างมุก · ดูเพิ่มเติม »

หอยแมลงภู่

หอยแมลงภู่ จัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสคาเป็นหอยสองฝา สีของเปลือกเปลี่ยนไปตามสภาพการอยู่อาศัย กล่าวคือ ถ้าอยู่ใต้น้ำตลอดเวลามีสีเขียวอมดำ ถ้าอยู่บริเวณน้ำขึ้นน้ำลง ถูกแดดบ้างเปลือกจะออกเหลือง เปลือกด้านนอกมีสีเขียว ส่วนท้ายจะกว้างกว่าส่วนหน้า เนื้อหอยมีสีเหลืองนวลหรือสีส้ม มีหนวดหรือเส้นใยเหนียวสำหรับเกาะหลักเรียกว่า เกสร หรือ ซัง หอยแมลงภู่ ขนาดความยาวของเปลือกหอยที่สามารถสืบพันธุ์ได้มีความยาวตั้งแต่ 2.13 เซนติเมตรขึ้นไป มีความยาวตั้งแต่ 4-20 เซนติเมตร เป็นหอยที่กระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลแถบอินโดแปซิฟิก กินอาหารแบบกรองกิน ซึ่งกินได้ทั้งแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ หอยแมลงภู่มีทั้งเพศแยก และมีสองเพศในตัวเดียวกัน มีการผสมพันธุ์นอกลำตัว หอยเพศผู้จะมีลำตัวหรือที่ห่อหุ้มตัวสีครีมหรือขาว ส่วนเพศเมียจะมีสีส้ม มีช่วงฤดูสืบพันธุ์อยู่ 2 ช่วงในรอบ 1 ปี คือช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม และช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ หอยแมลงภู่ อาศัยด้วยการเกาะตามโขดหินและตามไม้ไผ่บริเวณชายฝั่งทะเล ห่างฝั่งประมาณ 1,000-3,000 เมตร ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้ง 2 ฝั่งทะเล หอยแมลงภู่เมื่อปรุงสุกแล้ว เป็นหอยที่นิยมบริโภคกันเป็นอย่างมาก สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่น หอยทอด, ออส่วน เป็นต้น เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีการเพาะเลี้ยงกันมาเป็นเวลานาน โดยที่พันธุ์ของหอย เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงจะอาศัยจากธรรมชาติ ที่เมื่อหอยในธรรมชาติได้ผสมพันธุ์และปฏิสนธิเป็นลูกหอยตัวอ่อน ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กลอยไปตามกระแสน้ำแบบแพลงก์ตอนแล้ว จะใช้วัสดุที่เพาะเลี้ยงปักลงไปในทะเล เพื่อให้ลูกหอยนั้นเกาะอาศัยตลาดสดสนามเป้า, รายการทางช่อง 5: อาทิตย์ที่ 29 เมษายน 2555 แบ่งออกได้เป็น การเลี้ยงแบบปักหลักล่อลูกหอย, การเลี้ยงแบบแพ, การเลี้ยงแบบแขวนบนราวเชือก และการเลี้ยงแบบตาข่ายเชือก แบบที่นิยมเลี้ยงกันมาก คือ แบบปักหลักล่อลูกหอย โดยใช้ไม้ไผ่หรือไม้ลวกในการล่อลูกหอยในระดับน้ำลึก 4-6 เมตร และเลี้ยงจนมีขนาดใหญ่ ถึงขนาดต้องการ บางแห่งนิยมใช้ไม้ไผ่ทำเป็นโป๊ะ เพื่อดักจับปลาและล่อลูกหอยในพื้นที่ 1 ไร่ หรือ 1,600 ตารางเมตร จะปักหลักได้ประมาณ 1,200 หลัก ทั้งนี้ใช้ระยะเวลาในการเลี้ยง 6-8 เดือน จะได้หอยขนาดความยาวเฉลี่ย 5-6 เซนติเมตร เป็นขนาดที่สามารถส่งตลาด แต่ก็เป็นสัตว์ที่มีความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมมาก เช่น อุณหภูมิร้อน หรือน้ำเสีย หรือมีน้ำจืดปะปนลงมาในทะเลเป็นจำนวนมาก หอยก็จะตาย ซึ่งภายในรอบปีสามารถเลี้ยงได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น นอกจากนี้แล้ว เปลือกหอยสามารถนำไปบดเพื่อผสมเป็นอาหารสัตว์ และผสมทำเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยแมลงภู่ · ดูเพิ่มเติม »

หอยแครง

หอยแครง เป็นหอยจำพวกกาบคู่ ความยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยแครง · ดูเพิ่มเติม »

หอยเบี้ยจักจั่น

หอยเบี้ยจักจั่น หรือ หอยเบี้ยจั่น (Money cowry) เป็นหอยทะเลฝาเดียวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monetaria moneta (ศัพทมูลวิทยา: moneta (/โม-เน-ตา/) เป็นภาษาละตินแปลว่า "เงินตรา") ในวงศ์ Cypraeidae มีเปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังนูน ท้องแบน ช่องปากยาวแคบและไปสุดตอนปลายทั้ง 2 ข้าง เป็นลำราง ริมปากทั้ง 2 เป็นหยักคล้ายฟัน ไม่มีฝาปิด มีความยาวประมาณ 12-24 มิลลิเมตร มีถิ่นแพร่กระจายอยู่ในทะเลเขตอบอุ่นทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย อาทิ ทะเลแดง อินโด-แปซิฟิก นอกชายฝั่งทะเลด้านมหาสมุทรแปซิฟิกของอเมริกากลาง ชายฝั่งทะเลทวีปแอฟริกาตอนตะวันออกและใต้ ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ทะเลญี่ปุ่น ไปจนถึงโอเชียเนีย ดำรงชีวิตอยู่ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนและสาหร่ายทะเลที่ลอยมาตามกระแสน้ำ เปลือกหอยของหอยเบี้ยชนิดนี้ มีความสำคัญต่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคโบราณ โดยใช้เป็นเครื่องแลกเปลี่ยนสิ่งของแทนเงินตราในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าคำว่า "เบี้ย" ในภาษาไทยก็เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "รูปี" ซึ่งเป็นหน่วยเงินตราของอินเดียมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลคอลัมน์ Aqua Pets โดย จอม สมหวัง ปัทมคันธิน "สุดยอดแฟนพันธุ์แท้เปลือกหอย 2 สมัย" หน้า 107 นิตยสาร Aquarium Biz Vo.1 issue 6 ฉบับเดือนธันวาคม 2010 นอกจากนี้แล้ว เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังใช้เป็นเครื่องรางของขลังในวัฒนธรรมไทย โดยมักนำไปบรรจุปรอทแล้วเปิดทับด้วยชันโรงใต้ดิน อาจจะมีแผ่นทองแดงลงอักขระยันต์หรือไม่ก็ได้ เชื่อกันว่า ถ้าพกเปลือกหอยเบี้ยชนิดนี้ไว้กับตัวเวลาเดินทางสัญจรในป่า จะช่วยป้องกันไข้ป่า รวมถึงป้องกันและแก้ไขภยันอันตรายจากร้ายให้กลายเป็นดีได้ หรือนำไปตกแต่งพลอยเรียกว่า "ภควจั่น" ในเด็ก ๆ เชื่อว่าช่วยป้องกันฟันผุ หรือพกใส่กระเป๋าสตางค์ เชื่อว่าทำให้เงินทองไหลเทมาและโชคดี ปัจจุบัน เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังนิยมสะสมกันเป็นของประดับและของสะสมกันอีกด้วย โดยมีชนิดที่แปลกแตกต่างไปจากปกติ คือ "ไนเจอร์" (Niger) ที่หอยจะสร้างเมลานินสีดำเคลือบเปลือกไว้จนกลายเป็นสีดำหรือสีน้ำตาลคล้ำทั้งหมด และชนิดที่มีราคาสูงที่สุด เรียกว่า "โรสเตรท" (Rostrat) หรือ หอยเบี้ยจักจั่นงวง คือ เป็นหอยเบี้ยจักจั่นในตัวที่ส่วนท้ายของเปลือกมิได้กลมมนเหมือนเช่นปกติ แต่สร้างแคลเซี่ยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในเวลาหลายปี จนกระทั่งยาวยืดออกมาและม้วนขึ้นเป็นวงอย่างสวยงามเหมือนงวงช้าง ซึ่งหอยในรูปแบบนี้จะพบได้เฉพาะแถบอ่าวด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะนิวแคลิโดเนียที่เดียวในโลกเท่านั้น มีการประเมินราคาของเปลือกหอยลักษณะนี้ไว้ถึง 25 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นราคาของเปลือกหอยที่มีค่าสูงที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยเบี้ยจักจั่น · ดูเพิ่มเติม »

หอยเบี้ยแก้ตัวเล็ก

หอยเบี้ยแก้ตัวเล็ก หรือ หอยเบี้ยหัวงู (Serpent's-head cowry) เป็นหอยทะเลเปลือกเดียวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monetaria caputserpentis อยู่ในวงศ์ Cypraeidae มีเปลือกหนา เปลือกเป็นรูปครึ่งทรงกลมด้านล่างแบนด้านหลังโค้งนูน ด้านข้างแผ่ออกเป็นฐาน มีช่องเปิดปากอยู่ทางด้านข้างเป็นร่องยาว มีฟันที่ขอบทั้งสองข้างไม่มีฝาปิด พื้นผิวด้านบนมีสีน้ำตาลแต้มด้วยจุดขาวเล็ก ๆ กระจัดกระจาย พบได้ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิก เช่น ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลฟิลิปปิน จนถึงออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบตามบริเวณที่มีปะการังในเขตน้ำตื้นไปจนถึงบริเวณที่เป็นร่องน้ำและน้ำค่อนข้างลึกได้ถึง 200 เมตร กินสาหร่ายและตะไคร่น้ำเป็นอาหาร มีความยาวประมาณ 3 เซนติเมตร เป็นหอยที่คนโบราณใช้เป็นของขลังทางไสยศาสตร์เหมือนหอยเบี้ยจั่น (M. moneta) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน โดยนำไปบรรจุปรอทแล้วเปิดทับด้วยชันโรงใต้ดิน อาจจะมีแผ่นทองแดงลงอักขระยันต์หรือไม่ก็ได้ เชื่อกันว่าช่วยป้องกันคุณไสยต่าง ๆ ได้ และปัจจุบันยังใช้เป็นของสะสมของผู้ที่นิยมสะสมเปลือกหอยด้วย โดยปกติแล้วเป็นเปลือกหอยที่มีราคาไม่แพง แต่ในตัวที่สวย เช่น มีสีดำสนิทแผ่ออกไปอย่างมากและมีแต้มสีแดงสดหรือมีสีเขียวระยิบระยับที่ปากขอบ จะมีราคาที่แพงมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยเบี้ยแก้ตัวเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

หอยเต้าปูน

หอยเต้าปูน (Cone snail, Cone shell) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมมอลลัสคา ชั้นแกสโทรโพดา เป็นสัตว์นักล่า พบได้ตามแถบแนวปะการัง เปลือกมีสีสันสดใส และมีลวดลายสวยงาม ดึงดูดสายตา แต่มีบางสายพันธุ์ที่สีของหอยเต้าปูนจะซ่อนอยู่ภายใต้เนื้อเยื่อพิเศษ ที่ยังไม่ทราบการทำงานที่แน่ชัด (Periostracum) บางชนิดในแถบทะเลเขตร้อน จะมีขนาดที่ค่อนข้างใหญ่ มีมากกว่า 500 สปีชี่ส์ จัดเป็นสัตว์กินเนื้อ มักจะล่าหนอนทะเล ปลาเล็ก ๆ หอย หรือแม้กระทั่งหอยเต้าปูนด้วยกันเองเป็นอาหาร เนื่องจากเคลื่อนที่ได้ช้า จึงมีการพัฒนาอาวุธเฉพาะตัวขึ้นมาคือ เข็มพิษ (venomous harpoon) เพื่อใช้สำหรับล่าเหยื่อและทำให้เหยื่อหมดสติก่อนกลายเป็นอาหาร ที่มีความรวดเร็วสูง ซึ่งในสายพันธุ์ขนาดใหญ่ พิษของหอยเต้าปูนมีความรุนแรงมากพอที่จะฆ่าคนได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยเต้าปูน · ดูเพิ่มเติม »

หอยเต้าปูนลายแผนที่

หอยเต้าปูนลายแผนที่ หรือ หอยบุหรี่ (Geography cone, Cigarette snail) เป็นหอยเปลือกเดี่ยวชนิดหนึ่ง ในวงศ์หอยเต้าปูน (Conidae) หอยเต้าปูนลายแผนที่ มีเปลือกรูปร่างคล้ายกรวย ปลายวนคล้ายเจดีย์ค่อนข้างแหลม มีสีสันสวยงาม มีขนาดยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร ในเวลากลางวันจะซ่อนตัวอยู่ใต้ทรายในแนวโขดหินหรือแนวปะการัง โดยยื่นงวงออกมาดักจับอาหาร และยื่นซิฟอนเพื่อให้น้ำผ่านเข้าออก หากินในเวลากลางคืน โดยกินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กด้วยกันเป็นอาหาร เช่น ดาวทะเล, ไส้เดือนทะเล หรือแม้แต่หอยเต้าปูนด้วยกันเอง ด้วยการใช้พิษล่าเหยื่อ โดยมีถุงน้ำพิษ ซึ่งมีท่อน้ำพิษเปิดออกอยู่ส่วนใกล้บริเวณปาก หอยเต้าปูนลายแผนที่ถือเป็นหอยเต้าปูนที่มีพิษร้ายแรงที่สุด โดยการปล่อยเข็มพิษจะเป็นไปอย่างเชื่องช้า เนื่องจากต้องใช้งวงยึดผิวหนังของเหยื่อก่อน เสร็จแล้วกล้ามเนื้อบริเวณคอหอย และส่วนปากบริเวณงวงพร้อมปล่อยเข็มพิษดันออกมาสู่เหยื่อ ซึ่งเข็มพิษนั้นจะมีน้ำพิษติดมาด้วย ทำให้ได้รับความเจ็บปวด โดยสามารถถึงกับฆ่าสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่กว่าอย่างมนุษย์ได้ด้วย โดยเข็มพิษนั้นสามารถทะลุชุดหรือถุงมือประดาน้ำได้ ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ชา บวม และกล้ามเนื้อเป็นอัมพาต สายตาพร่ามัว ระบบหายใจล้มเหลว ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มียาขนานใดที่จะเยียวยาหรือรักษาพิษนี้ได้ หอยเต้าปูนลายแผนที่กระจายพันธุ์ในวงที่กว้าง ตั้งแต่ ทะเลแดง, อินโด-แปซิฟิก, ฮาวาย, มาดากัสการ์, มอริเตเนีย, โมซัมบิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหอยเต้าปูนลายแผนที่ · ดูเพิ่มเติม »

หนอนนก

หนอนนก (Mealworm) เป็นชื่อสามัญที่เรียกสำหรับหนอนของแมลงปีกแข็งชนิด Tenebrio molitor ปัจจุบันนิยมเพาะเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยมีความสำคัญใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะ สัตว์เลี้ยงสวยงาม เช่น ปลาสวยงาม, นกสวยงาม, สัตว์เลื้อยคลาน รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กบางชนิด เช่น แฮมสเตอร์ หรือ กระรอก รูปร่างของหนอนนก เป็นหนอนที่มีเปลือก มีลำตัวยาวเรียวทรงกระบอกสีน้ำตาลอมเขียว เมื่อโตเต็มที่มีความกว้างลำตัว 0.28-3.2 มิลลิเมตร ยาว 29-35 มิลลิเมตร น้ำหนัก 0.2-0.24 กรัม มีอายุประมาณ 55-75 วัน ก่อนจะเข้าสู่ภาวะดักแด้ ซึ่งจะมีอายุในวงจรนี้ราว 5-7 วัน จากนั้นจะลอกคราบเป็นตัวโตเต็มวัย ซึ่งจะเป็นแมลงปีกแข็งลำตัวสีน้ำตาลอมดำ ซึ่งจัดเป็นแมลงศัตรูพืช มีถิ่นกำเนิดในทวีปยุโรปในที่ ๆ ที่มีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น ซึ่งตัวเต็มวัยจะมีอายุเฉลี่ยประมาณ 3-6 เดือน ตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 1-2 ฟอง/วัน หรือ 80-85 ฟอง/ตลอดวงจรชีวิต คุณค่าของหนอนนก คือ เป็นอาหารที่มีทั้งโปรตีนและไขมันค่อนข้างสูง โดยเฉพาะไขมัน ในปลาสวยงามบางชนิด เช่น ปลาอะโรวาน่า หากให้หนอนนกในปริมาณที่มาก ปลาจะติดใจในบางตัวอาจจะไม่ยอมกินอาหารชนิดอื่นเลยก็เป็นได้ และจะสะสมไขมันในตัวซึ่งจะนำมาซึ่งอาการตาตก นอกจากนี้แล้ว ในบางพื้นที่ ยังมีผู้รับประทานหนอนนกเป็นอาหารอีกด้วย ด้วยการทอดเช่นเดียวกับแมลงชนิดอื่น ๆ ที่รับประทานได้ ปัจจุบัน ได้มีผู้เพาะเลี้ยงหนอนนกเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยโรงเรือนที่เพาะต้องเป็นสถานที่ ๆ โปร่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก ที่สำคัญคือ ต้องไม่ชื้น หากชื้นหนอนนกจะตายด้วยเชื้อราและไม่มีศัตรูตามธรรมชาติมารบกวน เช่น จิ้งจก, ตุ๊กแก หรือ มด ผู้ที่เลี้ยงสัตว์ เมื่อซื้อหนอนนกไปแล้ว จะนิยมเก็บด้วยการเทใส่ถาดหรือถังพลาสติกที่มีความสูงพอสมควรที่หนอนนกไม่สามารถปีนออกมาได้ ปิดฝาด้วยภาชนะแบบตะแกรง อาหารที่ให้สามารถให้ได้หลากหลาย ทั้ง ผักชนิดต่าง ๆ อาหารปลาเม็ด หรือ รำข้าว และต้องมีตะแกรงรองพื้น เพื่อช่วยในการร่อนมูลและเปลือกของหนอนนกที่ถ่ายออกมาด้วย นิยมขายปลีกกันที่ขีดละ 40-80 บาท กิโลกรัมละ 300-500 บาท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหนอนนก · ดูเพิ่มเติม »

หนูหริ่ง

ระวังสับสนกับสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่กว่า: หมูหริ่ง บุคคลดูที่: สมบัติ บุญงามอนงค์ หนูหริ่ง เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ในวงศ์ Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mus หนูหริ่งเป็นหนูที่มีขนาดเล็ก มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับหนูในสกุล Rattus แต่ก็ยังมีขนาดเล็กกว่า แม้แต่หนูจี๊ด (R. exulans) ซึ่งเป็นหนูที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุล หนูหริ่งก็ยังเล็กกว่า ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 1–1.5 เดือน ขณะที่ตัวผู้ 1–2 เดือน หนูหริ่งเป็นหนูอีกจำพวกหนึ่งที่สามารถพบได้ทั่วไปทั้งในบ้านเรือนและในพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ถือเป็นหนูนา ที่เป็นศัตรูพืชที่สำคัญอีกจำพวกหนึ่งรวมกับหนูในสกุลอื่น หนูหริ่งชนิดที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ หนูหริ่งบ้าน (M. musculus) ซึ่งเป็นหนูอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ทั่วไปในบ้านเรือน ซึ่งเป็นชนิดที่นิยมนำมาเป็นสัตว์ทดลองในทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ และได้มีการพัฒนาสายพันธุ์จนกลายมาเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลิน ในแบบที่เป็นหนูเผือกทั้งตัว หรือมีสีสันที่หลากหลายในตัวเดียว เรียกว่า "หนูถีบจักร" หรือ "หนูขาว" โดยเริ่มครั้งแรกมาจากพระราชวังในจีนและญี่ปุ่น นอกจากนี้แล้ว หนูมาซิโดเนีย (M. macedonicus) ที่แพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเมเตอร์เรเนียนและประเทศในแถบตะวันออกกลางที่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยังเป็นสัตว์รังควานที่รบกวนมนุษย์มานานแล้วถึง 15,000 ปี ซึ่งเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นยุคก่อนที่มนุษย์จะรู้จักการเพาะปลูกเสียอีก โดยเข้ามาหาอาหารถึงในชุมชนมนุษย์ โดยมีหลักฐานเป็นฟอสซิลฟันของหนูชนิดนี้นับพันตัว ปัจจุบันได้มีการอนุกรมวิธานหนูหริ่งไว้ประมาณ 38 ชนิด ในประเทศไทยพบทั้งหมด 6 ชนิด นอกจากหนูหริ่งบ้านแล้ว ยังมี หนูหริ่งใหญ่ (M. cookii), หนูหริ่งนาหางสั้น (M. cervicolor), หนูหริ่งนาหางยาว (M. caroli), หนูหริ่งป่าใหญ่ขนเสี้ยน (M. shotridgei) และหนูหริ่งป่าเล็กขนเสี้ยน (M. pahari).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหนูหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หนูหริ่งบ้าน

หนูหริ่งบ้าน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ในวงศ์หนู (Muridae) หนูหริ่งบ้านจัดเป็นหนูที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักตัวเมื่อโตเต็มที่ทั้งตัวผู้และตัวเมียประมาณ 30-40 กรัม มีขนสีน้ำตาลอ่อนตลอดทั้งลำตัว ส่วนท้องสีขาว ไม่มีขนที่หาง ขาหน้ามี 4 นิ้ว ขาหลังมี 5 นิ้ว ตัวเมียมีเต้านม 10 เต้า มีอายุขัยประมาณ 1.5-3 ปี หนูหริ่งบ้านเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไว ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้แทบทุกอย่างเช่นเดียวกับหนูทั่วไป และจัดเป็นหนูอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ตามบ้านเรือนของมนุษย์ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบแทบทุกมุมของโลกและทุกทวีป แต่เชื่อว่า ดั้งเดิมเป็นสัตว์ที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย ก่อนจะกระจายไปทั่วโลกอย่างในปัจจุบัน หนูหริ่งบ้านเป็นหนูชนิดที่ได้รับความนิยมในการนำมาเป็นสัตว์เลี้ยง โดยมีการปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์โดยชาวจีนและชาวญี่ปุ่นจนกลายเป็นหนูเผือกทั้งตัว ตาสีแดง และพัฒนาจนเป็นสีต่าง ๆ ตามลำตัว โดยแรกเรี่มเลี้ยงกันในพระราชวัง และเป็นหนูชนิดที่นิยมเป็นสัตว์ทดลองและเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงแก่สัตว์เลื้อยคลาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหนูหริ่งบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนูท้องขาว

หนูท้องขาว หรือ หนูดำ หรือ หนูนาท้องขาว (Roof rat, Black rat) เป็นหนูที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rattus rattus อยู่ในวงศ์ Muridae จัดเป็นหนูที่พบได้ในบ้านเรือนของมนุษย์หนึ่งในสามชนิด ร่วมกับ หนูบ้าน (R. norvegicus) และหนูจี๊ด (R. exulans) เป็นหนูขนาดกลาง ใบหูใหญ่ ขนตามลำตัวด้านสีน้ำตาลอ่อนหรือสีน้ำตาลแดงหรือสีดำ ขนท้องสีขาว มีลายสีดำเล็ก ๆ ที่หน้าอก หางสีดำมีความยาวพอ ๆ หรือยาวกว่าความยาวลำตัวและหัว มีเกล็ดตลอดทั้งหาง จมูกแหลมกว่าหนูบ้าน มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 18 เซนติเมตร ส่วนหางก็มีความยาวพอ ๆ กัน ตัวเมียมีเต้านมที่หน้าอก 2 คู่ ออกลูกปีละ 4-6 ครอก ลูกหนึ่งครอกมีจำนวน 6-8 ตัว มีระยะทางหากิน 100-150 ฟุต เป็นหนูที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย และพบกระจายพันธุ์ไปไกลจนถึงทิศตะวันออกของโรมาเนีย เป็นหนูที่ปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ชอบขึ้นและหากินบนต้นไม้ เพราะชอบกินเมล็ดพืชมากที่สุด จึงมักพบในพื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทยพบได้ทุกภาค โดยเฉพาะในสวนมะพร้าวหรือปาล์มน้ำมันในภาคใต้ จัดเป็นศัตรูพืชของพืชจำพวกนี้ เกษตรกรจึงใช้วิธีตามธรรมชาติกำจัดหนูเหล่านี้ โดยสร้างรังนกแสก (Tyto alba) ให้อยู่ท้ายสวน เพราะนกแสกจะกินหนูโดยเฉพาะหนูท้องขาวเป็นอาหารหลัก ถ้าอาศัยอยู่ในบ้านก็มักจะสร้างรังบนเพดานบ้าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหนูท้องขาว · ดูเพิ่มเติม »

หนูตะเภา

หนูตะเภา (Guinea pig, Cavy) เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทฟันแทะ ชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดมาจากทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรู เป็นสัตว์เลี้ยง และสัตว์ทดลองที่ได้รับความนิยม ในประเทศไทย ยังนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หนูแกสบี โดยมักใช้กับสายพันธุ์สัตว์เลี้ยงจากต่างประเทศที่ได้รับการพัฒนา มีลักษณะภายนอกแตกต่างจากหนูตะเภาทั่วไปที่มีในประเทศไทย ไม่ปรากฏการใช้ชื่อนี้ในภาษาอื่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และหนูตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

อัลปากา

อัลปากา (Alpaca; ชื่อวิทยาศาสตร์: Vicugna pacos) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อยู่ในวงศ์อูฐ (Camelidae) มีลักษณะคล้ายคลึงกับตัวยามา อัลปากาเป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นฝูง พบได้ในที่สูงบริเวณแถบเทือกเขาแอนดีสในทวีปอเมริกาใต้ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของประเทศเปรู ตอนเหนือของประเทศโบลิเวีย ประเทศเอกวาดอร์ และตอนเหนือของประเทศชิลี อัลปากาเป็นสัตว์ที่มีความทรหดอดทนมาก โดยจะอยู่บริเวณที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลประมาณ 3,500 เมตร (11,000 ฟุต) ถึง 5,000 เมตร (16,000 ฟุต).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และอัลปากา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับวานร

อันดับวานร หรือ อันดับไพรเมต (Primate) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันได้แก่ สัตว์จำพวกลีเมอร์, ลิง และลิงไม่มีหาง ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย มีชื่อสามัญเรียกกันโดยทั่วไปว่า ไพรเมต จึงกล่าวได้ว่าสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแอฟริกา, ตอนล่างของทวีปเอเชีย, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่ชนิดในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเม็กซิโก โดยที่ไม่พบในทวีปยุโรป และทวีปออสเตรเลีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Primates.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และอันดับวานร · ดูเพิ่มเติม »

อันดับด้วง

้วง หรือ แมลงปีกแข็ง (Beetle) จัดเป็นแมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับย่อยอีก 4 อันดับ (ดูในตาราง) จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตสมบูรณ์ คือ เป็น ไข่, หนอน, ดักแด้ และตัวเต็มวัย ด้วง หรือ แมลงปีกแข็งนั้น นับเป็นแมลงที่มีจำนวนมากที่สุดในโลก กล่าวคือ มีประมาณร้อยละ 40 ของแมลงที่มีอยู่ทั้งหมด (ประมาณ 400,000 ชนิด) มีลักษณะเด่นโดยรวม คือ ในวัยเต็มตัวจะมีปีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกที่มีความแข็งเท่ากันหรือเกือบเท่ากันตลอดทั้งแผ่น เรียกว่า Elytra ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἔλυτρον) ซึ่งหมายถึง แผ่น หรือ ปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยู่ปีกคู่หลังจะพับซ้อนกันอย่างมีระเบียบและซ่อนอยู่ภายใต้ปีกคู่หน้าอย่างมิดชิด และเมื่อต้องการบิน ปีกคู่หลังนี้จะกางออก โดยการเปิดกางออกของปีกคู่หน้าขึ้นก่อนที่จะเหยียดกางปีกคู่หลังนี้ออกมาบินอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาที่จะเกาะหรือคลาน จะหุบปีกโดยปีกคู่หน้าจะประกบกันสนิทเป็นเส้นตรงอยู่ตรงกลางลำตัว ปีกคู่หน้าจึงทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันตัวและปีกคู่หลัง ในขณะที่บินปีกคู่หน้านี้จะไม่ช่วยในการบินแต่จะช่วยในการทรงตัว อย่างไรก็ตาม จะมีด้วงบางชนิดที่ปีกคู่หน้าเชื่อมติดกัน จึงไม่สามารถบินได้ และบางชนิดก็มีปีกคู่หน้าเล็กหรือสั้นกว่าลำตัวมากจนไม่สามารถปิดส่วนท้องได้สนิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และอันดับด้วง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็องกร์

อาสนวิหารล็องกร์ (Cathédrale de Langres) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญแมมมิสแห่งล็องกร์ (Cathédrale Saint-Mammès de Langres) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลล็องกร์ ตั้งอยู่ที่เมืองล็องกร์ในจังหวัดโอต-มาร์น แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญแมมมิสแห่งไกซาเรอา มรณสักขีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 ลักษณะเด่นของอาสนวิหารแห่งนี้อยู่ที่ความผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบบูร์กอญกับสถาปัตยกรรมกอทิก อาทิ เพดานแบบโค้งสัน หน้าบันหลักทิศตะวันตกซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิก อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และอาสนวิหารล็องกร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อิเหนา

ละครของกรมศิลปากร เรื่อง “อิเหนา” ตอนส่งดอกลำเจียกให้นางค่อม แสดงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275 – 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้นมาองค์ละเรื่อง เรียกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) ประวัติดังกล่าวมีบันทึกไว้ในพระราชนิพนธ์อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ดังนี้ นอกจากนี้ ยังมีบรรยายไว้ในปุณโณวาทคำฉันท์ ของพระมหานาค วัดท่าทราย ระบุถึงการนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศเช่นกัน โดยเล่าว่ามีงานมหรสพที่เล่นเรื่องอิเหนา ดังนี้ เนื้อเรื่องตรงกับอิเหนาเล็ก ที่ว่าถึงตอนลักบุษบาไปไว้ในถ้ำ ซึ่งไม่ปรากฏในเรื่องอิเหนาใหญ่ เรื่องอิเหนา หรือที่เรียกกันว่านิทานปันหยีนั้น เป็นนิทานที่เล่าแพร่หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ของชวา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุงแต่งมาจากพงศาวดารชวา และมีด้วยกันหลายสำนวน พงศาวดารเรียกอิเหนาว่า “ ปันจี อินู กรัตปาตี” (Panji Inu Kartapati) แต่ในหมู่ชาวชวามักเรียกกันสั้นๆ ว่า “ปันหยี” (Panji) ส่วนเรื่องอิเหนาที่เป็นนิทานนั้น น่าจะแต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 20-21 หรือในยุคเสื่อมของราชวงศ์อิเหนาแห่งอาณาจักรมัชปาหิต และอิสลามเริ่มเข้ามาครอบครอง นิทานปันหยีของชวานั้น มีด้วยกันหลายฉบับ แต่ฉบับที่ตรงกับอิเหนาของเรานั้น คือ ฉบับมาลัต ใช้ภาษากวีของชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และอิเหนา · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปโปโปเตมัส

ปโปโปเตมัส หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ฮิปโป (Hippopotamus; Hippo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินพืชชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กีบคู่ จัดอยู่ในวงศ์ฮิปโปโปเตมัส (Hippopotamidae) โดยเป็นสัตว์เพียง 1 ใน 2 ชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดนั้นคือ ฮิปโปโปเตมัสแคระ (Choeropsis liberiensis) ที่พบในป่าดิบชื้นของแอฟริกาตะวันตก) ชื่อ "ฮิปโปโปเตมัส" มาจากภาษากรีกคำว่า ἵππος (hippos) หมายถึง "ม้า" และ ποταμός (potamos) หมายถึง "แม่น้ำ" รวมแล้วหมายถึง "ม้าแม่น้ำ" หรือ "ม้าน้ำ" (ἱπποπόταμος) เนื่องจากมีส่วนหัวคล้ายม้ามาก โดยเฉพาะยามเมื่ออยู่ในน้ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และฮิปโปโปเตมัส · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน หรือ ผีเสื้อยักษ์ (Atlas moth) เป็นผีเสื้อที่อยู่ในวงศ์ Saturniidae จัดเป็นผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ ระยะที่เป็นตัวหนอนกินใบกระท้อน, ฝรั่ง, ขนุน และใบดาหลา ตัวเมียวางไข่บนใบพืชอาหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และผีเสื้อหนอนใบกระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก เดซาลีน

็อง-ฌัก เดซาลีน (Jean-Jacques Dessalines) เป็นอดีตสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเฮติ ซึ่งคือสาธารณรัฐเฮติในปัจจุบัน พระราชสมภพเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1758 ในเฮติซึ่งกำลังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ดังนั้น เมื่อพระองค์ทรงเจริญวัยขึ้น จึงทรงเข้าร่วมกับกองทัพเฮติเพื่อต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส พระองค์ทรงเป็นผู้นำการปฏิวัติเฮติ จนทำให้เฮติได้รับเอกราชในที่สุด และเป็นประมุขของเฮติองค์แรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 1801 ต่อมาพระองค์ได้สถาปนาตนเป็นปฐมกษัตริย์แห่งจักรวรรดิเฮติ พระองค์ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งเฮติ ปลายรัชกาลของพระองค์ พระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์ แล้วประเทศเฮติก็ถูกแบ่งออกเป็นสองสาธารณรั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และฌ็อง-ฌัก เดซาลีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 2 ประสูติเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1758 เป็นพระราชนัดดาในพระเจ้าปีเตอร์มหาราชเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 1 แห่งรัสเซีย เสด็จสวรรคตลงในวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1727 เจ้าชายปีเตอร์พระชนม์เพียง 12 พรรษาจึงเสด็จขึ้นครองราชย์แทนในวันรุ่งขึ้นและประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1728 เนื่องจากในรัชกาลนี้ทรงครองราชย์เพียง 2 ปีกว่า ๆ จึงไม่ค่อยมีผลงานที่สำคัญ พระองค์สวรรคตเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1730 ขณะพระชนม์เพียง 14 พรรษา หมวดหมู่:จักรพรรดิรัสเซีย หมวดหมู่:ราชวงศ์โรมานอฟ หมวดหมู่:บุคคลจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก หมวดหมู่:เสียชีวิตจากฝีดาษ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ในสมัยใหม่.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ

ักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ (Emperor Go-Momozono, 2301 - 2322, ครองราชย์ 2314 - 2322) จักรพรรดิพระองค์ที่ 118 ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2314 - พ.ศ. 2322.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และจักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งหรีดทองแดงลาย

้งหรีดทองแดงลาย หรือ จิ้งหรีดขาว หรือ แมงสะดิ้ง ในภาษาอีสาน (House cricket) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง จำพวกจิ้งหรีด (Gryllidae) เป็นจิ้งหรีดขนาดเล็ก มีลำตัวสีน้ำตาล ลักษณะคล้ายกับจิ้งหรีดทองแดง (Gryllus testaceus) แต่มีขนาดเล็กกว่า ตัวเมียมีปีกคู่หน้าสั้นครึ่งลำตัว ไม่ชอบบิน เคลื่อนไหวไม่รวดเร็วเท่าจิ้งหรีดชนิดอื่น ๆ โดยทั่ว ๆ ไปลำตัวกว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตร ยาว 2.05 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 0.53 กรัม หรือประมาณ 1,890 – 2,235 ตัว ต่อ 1 กิโลกรัม มีการแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ยุโรป, เอเชียตะวันตกเฉียงใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก โดยดั้งเดิมเป็นสัตว์ท้องถิ่นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ไปแพร่กระจายพันธุ์ที่ยุโรปตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ด้วยการติดไปกับกระถางต้นไม้ในเรือสำเภาขนส่งสินค้า จากนั้นก็ได้แพร่ขยายพันธุ์ไปยังอเมริกาเหนือ เป็นจิ้งหรีดอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และเป็นชนิดที่มีการเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจมากที่สุด เพราะจิ้งหรีดทองแดงลาย เป็นจิ้งหรีดที่มีขนาดเล็ก ให้ไข่เยอะ จึงมีความมันกว่าจิ้งหรีดชนิดอื่นเมื่อรับประทาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และจิ้งหรีดทองแดงลาย · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะ

ทะไลลามะ (ทิเบต: ཏཱ་ལའི་བླ་མ་, taa la’i bla ma, จีนตัวเต็ม: 達賴喇嘛; จีนตัวย่อ: 达赖喇嘛; พินอิน: Dálài Lǎmā) เป็นตำแหน่งประมุขหัวหน้าคณะสงฆ์ในพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก (นิกายหมวกเหลือง) เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณสูงสุดของชาวทิเบต ทะไลลามะ มาจากภาษามองโกเลีย dalai แปลว่า มหาสมุทร และภาษาทิเบต བླ་མ ་bla-ma แปลว่า พระชั้นสูง (ทะไลลามะ บางครั้งหรือนิยมออกเสียว่า ดาไลลามะ) ตามประวัติศาสตร์ของทิเบต เชื่อว่าองค์ทะไลลามะเป็นอวตารในร่างมนุษย์ของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และเมื่อองค์ทะไลลามะองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ไป จะกลับชาติมาประสูติใหม่เป็นองค์ทะไลลามะองค์ต่อไป โดยเรทิงรินโปเช ซึ่งเป็นพระสงฆ์ระดับรองลงมาจะเป็นผู้ใช้นิมิตสรรหาเด็กคนที่เชื่อว่าเป็นทะไลลามะกลับชาติมาเกิด ปัจจุบัน ดาไลลามะ เป็นองค์ที่ 14 ชื่อ เทนซิน เกียตโซ(Tenzin Gyatso)..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และทะไลลามะ · ดูเพิ่มเติม »

ทากิฟูงุ

ทากิฟูงุ (Takifugu; トラフグ属.) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์เรียกสกุลหนึ่งของปลาปักเป้าในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อสามัญภาษาญี่ปุ่นว่า "ฟูงุ" (河豚-แปลว่า หมูแม่น้ำ) เนื่องจากเป็นปลาปักเป้าสกุลที่นิยมนำมาทำซาชิมิหรือปลาดิบ อาหารญี่ปุ่นที่มีชื่อไปทั่วโลก โดยใช้ชื่อสกุลว่า Takifugu.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และทากิฟูงุ · ดูเพิ่มเติม »

ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน

ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน (Philippine tarsier; เซบัวโน: mawmag; mamag; เดิมเคยใช้ชื่อสกุลว่า Carlito) เป็นสัตว์เลี้ยงด้วยนมขนาดเล็ก จำพวกไพรเมตชนิดหนึ่ง ในกลุ่มทาร์เซียร์ ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน เป็นสัตว์ที่พบได้ในหมู่เกาะฟิลิปปิน ได้แก่ เกาะโบฮอล, เกาะมินดาเนา, เกาะเลย์เต และเกาะซามาร์ เป็นต้น ตัวเต็มวัยมีความยาวลำตัวเพียง 10 เซนติเมตรกว่า น้ำหนักเพียง 120 กรัมเท่านั้น จัดเป็นไพรเมตที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน อาศัยอยู่ในป่าดิบ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะกินเนื้อสัตว์เป็นอาหารเท่านั้น เช่น แมลง เป็นอาหารหลัก รวมถึงสัตว์เลื้อยคลานตัวเล็ก ๆ เช่น จิ้งจก, กิ้งก่าบิน เป็นต้น ทาร์เซียร์ฟิลิปปินโดยปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพังหรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวพักผ่อนในโพรงไม้หรือตามซอกไม้ตามต้นไม้ใหญ่ แต่สามารถกระโดดได้อย่างว่องไวเหมือนกบในเวลากลางคืน อันเป็นเวลาหากิน ซึ่งทาร์เซียร์ฟิลิปปินจะร้องส่งเสียงเพื่อเป็นการสื่อสารกันเอง ซึ่งจากการศึกษาพบว่า เป็นสัตว์ที่ส่งเสียงออกมาในย่านความถี่อัลตร้าสูงมากถึง 2,000 เฮิรตซ์ หรือ 20 กิโลเฮิรตซ์ อันเป็นย่านความถี่ที่หูมนุษย์ไม่ได้ยิน แต่โดยปกติแล้วเสียงร้องของทาร์เซียร์ร์ฟิลิปปินส่วนใหญ่มีความถี่อยู่ที่ระดับ 70 เฮิร์ตซ์ โดยมีช่วงต่ำสุดและสูงสุด 67-79 กิโลเฮิรตซ์ นอกจากนี้แล้วยังมีความเป็นไปได้ว่า อาจใช้ระบบเอคโคโลเคชั่นในการหาตำแหน่งของอาหารเหมือนค้างคาวด้วยหรือไม่ เนื่องจากแม้ทาร์เซียร์ฟิลิปปินจะมีดวงตาที่กลมโต แต่ทว่าไม่มีทาพีตัม ลูซิเดี่ยม เหมือนสัตว์หากินตอนกลางคืนจำพวกอื่น ๆ ที่จะช่วยรวบรวมแสงในที่มืดทำให้มองเห็นได้ดียิ่งขึ้น สถานภาพปัจจุบันของทาร์เซียร์ฟิลิปปินอยู่ในภาวะถูกคุกคาม อันเกิดจากการถูกทำลายถิ่นที่อยู่ แต่ปัจจุบันทางการฟิลิปปินส์ได้ทำการอนุรักษ์ และใช้เป็นตัวประชาสัมพันธ์ในเรื่องการท่องเที่ยวThe Real Gremlin, "Nick Baker's Weird Creatures".

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และทาร์เซียร์ฟิลิปปิน · ดูเพิ่มเติม »

ดาวมงกุฎหนาม

วมงกุฎหนาม หรือ ปลาดาวหนาม (Crown-of-thorns starfish) เป็นดาวทะเลชนิดหนึ่ง เป็นดาวทะเลขนาดใหญ่ มีแขนรวมกันทั้งหมด 16-21 แฉก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 25-30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิก ตามผิวหนังมีหนามยาวคล้ายเม่น ปากอยู่ทางด้านล่าง มีกระเพาะอยู่ด้านนอก ใต้แขนมีขาขนาดเล็ก ๆ คล้าย ๆ กับปุ่มที่หนวดปลาหมึกเป็นจำนวนมากยื่นออกมายึดเกาะพื้น ตรงกลางตัวด้านล่างมีปาก มีหนามแหลมคมปกคลุมที่ตัวทางด้านบน บนหนามมีสารซาโปนินเคลือบอยู่ ซึ่งมีพิษต่อสัตว์หลายชนิด เป็นสัตว์ที่แยกเพศ มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยตัวเมียปล่อยไข่ออกมานอกตัว และตัวผู้ปล่อยสเปอร์มออกมาผสมพันธุ์ ตัวเมียแต่ละตัวมีไข่ประมาณ 12-24 ล้านฟอง ฤดูกาลวางไข่ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่ก็มีรายงานว่าดาวมงกุฎหนามที่เกรตแบร์ริเออร์รีฟ วางไข่ในเดือนธันวาคม และมกราคม ดาวมงกุฎหนามเป็นสัตว์ที่กินปะการังเป็นอาหาร ในทางนิเวศวิทยาถือเป็นสัตว์ที่ควบคุมประชากรปะการังไม่ให้มากจนเกินไป แต่ในหลายพื้นที่ก็มีการแพร่ระบาดจนเกิดเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ที่เกาะกวม แนวปะการังถูกดาวมงกุฎหนามทำลายไปเป็นระยะทาง 1 กิโลเมตร ต่อเดือน บริเวณที่ถูกทำลายไปแล้วปะการังอาจฟื้นตัว ก่อตัวขึ้นใหม่ ซึ่งอาจใช้เวลานานถึง 10-40 ปี หรือนานกว่านี้ หรือในประเทศญี่ปุ่น ได้ลงทุนกำจัดดาวมงกุฎหนามโดยใช้ทุนไป 600 ล้านเยน กำจัดดาวมงกุฏหนามไป 13 ล้านตัวที่เกาะริวกิว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970-ค.ศ. 1983 แต่ก็ยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และจากการศึกษาในระยะหลัง มีการสรุปว่าปริมาณดาวมงกุฎหนามในพื้นที่ 1 เฮกตาร์ (10,000 ตารางเมตร) หากมีจำนวนเกิน 10 ตัว ก็ถือว่าอยู่ในระดับระบาดแล้ว ถ้าเกิน 30 ตัว ถือว่าระบาดรุนแรงมาก เมื่อดาวมงกุฎหนามระบาด ความเสียหายที่เกิดขึ้นในแนวปะการังจะแผ่เป็นบริเวณกว้างกว่าที่จะเกิดจากสาเหตุการทำลายโดยปัจจัยอื่น ๆ เพราะดาวมงกุฎหนามสามารถคืบคลานกินปะการังได้ทุกซอกทุกมุม แต่ดาวมงกุฎหนามเองก็มีศัตรูตามธรรมชาติ คือ หอยสังข์แตร (Charonia tritonis) ที่กินดาวมงกุฎหนามเป็นอาหาร ถือเป็นสัตว์ที่เป็นตัวควบคุมมิให้ปริมาณดาวมงกุฏหนามมีปริมาณมากเกินไปด้วย รวมถึงปูขนาดเล็กบางชนิดหนึ่งที่ซ่อนตัวในปะการัง ใช้ก้ามในการต่อสู้กับดาวมงกุฎหมายมิให้มากินปะการังอันเป็นที่หลบอาศัยด้วย แต่ก็ทำได้เพียงแค่ขับไล่ให้ออกไปเท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และดาวมงกุฎหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่างแอตลัส

้วงกว่างแอตลัส หรือ ด้วงกว่างสามเขาเขาใหญ่ (Atlas beetle) เป็นด้วงกว่างที่อยู่ในสกุลด้วงกว่างสามเขาชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chalcosoma atlas มีลักษณะคล้ายกับด้วงกว่างสามเขาชนิดอื่น ๆ แต่ตัวเมียซึ่งไม่มีเขา มีปีกนอกที่เป็นปีกแข็งค่อนข้างหยาบและไม่มีขนเป็นสีน้ำตาลเหมือนกำมะหยี่เหมือนด้วงกว่างสามเขาคอเคซัส (C. caucasus) ส่วนเขาที่สันคอหลังอกก็สั้นด้วยเช่นกัน ขณะที่ตัวผู้เขาหน้าจะโค้งเรียวตั้งขึ้นเล็กน้อย แต่ไม่แตกเป็นฟันในขอบในเหมือนด้วงกว่างสามเขาจันทร์ ในขณะที่ตัวผู้ที่มีเขาขนาดเล็กจะแตกแขนงตรงปลายออกเป็นสามแฉก และขนาดตัวก็เล็กกว่าด้วย โดยจะมีขนาดประมาณ 20-130 มิลลิเมตร ขณะที่เป็นระยะตัวหนอนตามลำตัวจะมีขนอ่อนปกคลุม ไข่มีลักษณะกลมรีสีขาว ในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์ทับซ้อนกับด้วงกว่างสามเขาจันทร์ และจะพบได้มากกว่าด้วย ขณะในต่างประเทศจะพบได้ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, อนุทวีปอินเดีย ไปจนถึงหมู่เกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเหมือนด้วงกว่างชนิดอื่น ๆ และสามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว มีชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 และมีชื่อติดอยู่ในบัญชีรายชื่อหมายเลข 2 (Appendix II) ตามประกาศของไซเต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และด้วงกว่างแอตลัส · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส

้วงกว่างเฮอร์คิวลีส เป็นด้วงกว่างที่มีความยาวและความใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dynastes hercules อยู่ในวงศ์ Scarabaeidae พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นตั้งแต่ภูมิภาคอเมริกากลางและทวีปอเมริกาใต้ นับเป็นด้วงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Dynastes ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด เป็นด้วงที่มีความแตกต่างระหว่างตัวผู้กับตัวเมียมาก ตัวผู้มีเขายาว และมีความยาวตั้งแต่ปลายเขาจรดลำตัว 45-178 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขา และมีความยาวเพียงครึ่งหนึ่งของตัวผู้ คือ 50-80 มิลลิเมตร ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส มีชนิดย่อยทั้งหมด 13 ชนิด โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด คือ D. h. hercules พบในเฟรนซ์ กัวดาลูเป้และดอมินีกา ที่ตัวผู้ยาวได้ถึง 178 มิลลิเมตร และมีบันทึกไว้ว่ายาวที่สุดคือ 190 มิลลิเมตร ตัวหนอนกินซากผุของต้นไม้เป็นอาหาร และมีระยะการเป็นตัวหนอนยาวนานถึง 16 เดือน ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในต่างประเทศมาอย่างยาวนาน เช่นที่ ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ได้รับความนิยมโดยเฉพาะในหมู่เด็ก ๆ สำหรับในประเทศไทย ผู้ที่จะเลี้ยงยังต้องนำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศแต่ในกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สามารถเพาะขยายพันธุ์เป็นผลสำเร็จครั้งแรกที่สวนแมลงสยาม ที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงแรดมะพร้าว

ระวังสับสนกับด้วงงวงมะพร้าวหรือด้วงสาคู ดู ด้วงงวงมะพร้าว ด้วงแรดมะพร้าว หรือ ด้วงมะพร้าว (Coconut rhinoceros beetle, Indian rhinoceros beetle, Asian rhinoceros beetle) เป็นด้วงกว่างชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oryctes rhinoceros มีลำตัวสีน้ำตาลแดงเกือบดำ มีขนสีน้ำตาลอ่อนที่ด้านข้างของส่วนหัว อก ขา และด้านล่างของลำตัว ตัวผู้มีเขาคล้ายนอแรดที่ส่วนหัวค่อนข้างยาว ตัวเมียมีลักษณะคล้ายตัวผู้แต่มีเขาสั้นกว่า และที่ส่วนปลายของท้องด้านล่างมีขนเยอะกว่าตัวผู้ และมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ไม่มาก มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 37-45 มิลลิเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชียอาคเนย์ โดยด้วงกว่างชนิดนี้ถือเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญมากของพืชจำพวกปาล์มและมะพร้าวในทวีปเอเชีย โดยตัวเต็มวัยจะเจาะกินยอดอ่อนในเวลากลางคืนทำให้ยอดอ่อนแตกออกมาเห็นใบหักเสียหาย ส่วนทางมะพร้าวหรือปาล์มที่ตัดทิ้งไว้บนดินภายในสวน ก็เป็นแหล่งเพาะอาศัยของตัวอ่อน โดยหลังจากวางไข่แล้วฟักเป็นตัวหนอนก็จะเจริญเติบโตกัดกินอยู่ด้านล่างหรืออยู่ในดิน ไข่มีทรงกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-4 มิลลิเมตร ฟักเป็นตัวในระยะเวลา 7-8 วัน หนอนมีสีขาวนวลมีอายุ 3-4 วัน มีส่วนหัวเป็นสีเหลืองปนน้ำตาล เป็นดักแด้ประมาณ 1 เดือน ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 2-3 เดือน นับว่าเป็นด้วงกว่างที่มีระยะเวลาเจริญเติบโตเร็วมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และด้วงแรดมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ควาย

| name.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และควาย · ดูเพิ่มเติม »

คางคกซูรินาม

งคกซูรินาม (Surinam toad, star-fingered toad; Aparo, Rana comun de celdillas) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์กบเล็บ (Pipidae) มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวมีลักษณะแบนคล้ายสี่เหลี่ยม ส่วนหัวเป็นสามเหลี่ยม มีสีเทาถึงสีน้ำตาลเข้ม ขนาดใหญ่ได้ถึง 20 เซนติเมตร แต่โดยทั่วไปจะมีขนาด 10-13 เซนติเมตร ทำให้แลดูเผิน ๆ เหมือนใบไม้แห้ง หรือกบที่ถูกทับแบน มีพังพืดเชื่อมระหว่างนิ้วตีนหน้าขนาดเล็ก ทำให้นิ้วตีนแยกจากกันจนมีลักษณะคล้ายนิ้วแยกเป็นแฉกเหมือนดาว แต่ปลายนิ้วไม่มีเล็บ พบกระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำในป่าดิบที่ราบต่ำของทวีปอเมริกาใต้ตอนบน โดยจะอาศัยหากินอยู่ในน้ำตลอดเวลา เนื่องจากไม่มีลิ้น จึงจะใช้ปากงับกินปลาหรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ เป็นอาหาร ลูกคางคกที่ฝังอยู่ในผิวหนังแม่ ตัวที่มีลำตัวสีเทา คางคกซูรินามมีพฤติกรรมที่เป็นที่น่าสนใจ คือ ตัวเมียเมื่อผสมพันธุ์กับตัวผู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตัวผู้จะว่ายขึ้นสู่ด้านบนของหลังตัวเมีย เพื่อนำไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้ววางลงบนหลังตัวเมีย ซึ่งจะมีไข่ทั้งหมดราว 60-100 ฟอง ไข่จะฝังลงบนหลังของตัวเมีย ผ่านไป 10 วัน ไข่จะฟักเป็นลูกอ๊อด แต่ยังไม่ออกมาจากหลัง จนกระทั่งผ่านไปราว 10-20 สัปดาห์ที่พัฒนาเหมือนตัวเต็มวัยที่มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จะผุดโผล่มาจากหลังตัวเมียจนผิวบนหลังเป็นรูพรุนเต็มไปหมด และแยกย้ายออกไปใช้ชีวิตเอง ด้วยลักษณะและพฤติกรรมที่แปลกเช่นนี้ ทำให้คางคกซูรินามได้รับความนิยมในการถ่ายทำเป็นสารคดี และเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในตู้ปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และคางคกซูรินาม · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวสเปกตรัม

ำหรับค้างคาวแวมไพร์แปลงอย่างอื่น ดูที่: ค้างคาวแวมไพร์แปลง ค้างคาวสเปกตรัม หรือ ค้างคาวแวมไพร์แปลง (Spectral bat, False vampire bat; – แวมไพรัม สเปกตรัม) เป็นค้างคาวขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง เป็นค้างคาวชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Vampyrum.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และค้างคาวสเปกตรัม · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน

้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Large flying fox, Greater flying fox, Malayan flying fox, Malaysian flying fox, Large fruit bat) เป็นค้างคาวชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pteropus vampyrus อยู่ในวงศ์ Pteropodidae หรือค้างคาวผลไม้ เป็นค้างคาวขนาดใหญ่ มีหัวคล้ายหมาจิ้งจอก มีดวงตาโต จมูกและใบหูเล็ก ขนสีน้ำตาลแกมแดง และมีเล็บที่แหลมคมสามารถเกาะกิ่งไม้ได้ โดยจะใช้เล็บของนิ้วที่ 2 ที่เหมือนตะขอเป็นหลักในการป่ายปีนและเคลื่อนไหว มีฟันทั้งหมด 36 ซี่ ที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Lekagul B., J. A. McNeely.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน · ดูเพิ่มเติม »

งูสมิงทะเล

งูสมิงทะเล หรือ งูสามเหลี่ยมทะเล (Sea kraits) เป็นสกุลของงูทะเลที่มีขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Laticauda อยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) โดยงูในสกุลนี้ ยังจัดว่าเป็นงูทะเลที่สามารถเลื้อยบนขึ้นมาบนบกได้ ด้วยเกล็ดท้องยังมีอยู่และค่อนข้างกว้างอย่างน้อยประมาณครึ่งหนึ่งของความกว้างลำตัว ทำให้สามารถเลื้อยขึ้นบนหาดทรายได้บ้าง นอกจากนี้ยังมีการสืบพันธุ์ด้วยการวางไข่โดยขึ้นมาวางไข่บนบก โดยจะไปวางไข่ในในโพรงหินหรือพนังถ้ำ มีรูปร่างโดยรวม มีหัวขนาดเล็ก ปากมีขนาดเล็ก ปลายหางแผ่แบนเหมือนครีบปลา เพื่อใช้ในการว่ายน้ำ ลำตัวมีลายปล้องดำสลับกันไปทั้งทั่ว จัดเป็นงูที่มีขนาดใหญ่ โดยมีความยาวได้ถึงเกือบ 3 เมตร งูสมิงทะเลพบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลที่ใกล้กับชายฝั่ง จะอาศัยหากินตามแนวปะการัง เป็นงูที่ว่ายได้ช้า จึงไม่สามารถจับปลาที่ว่ายไปมากินเป็นอาหารได้ จึงหาอาหารที่หลบซ่อนตามซอกหลีบปะการัง พบได้ตั้งแต่ทะเลในแถบเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงหมู่เกาะโซโลมอน หรือเกาะอื่น ๆ ในแถบโอเชียเนีย และเอเชียตะวันออก มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในทะเลสาบน้ำจืดบนหมู่เกาะโซโลมอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และงูสมิงทะเล · ดูเพิ่มเติม »

งูสมิงทะเลปากดำ

งูสมิงทะเลปากดำ (Black banded sea snake, Brown-lipped sea krait) เป็นงูทะเลที่มีพิษร้ายแรงต่อระบบกล้ามเนื้อ ที่พบได้ในประเทศไทย มีความยาวได้ถึง 2 เมตร จึงจัดเป็นทะเลที่ใหญ่ที่สุดด้วยที่พบได้ในน่านน้ำไทย ลำตัวเป็นสีเทา หรือเทาเหลืองลายเป็นปล้องหรือลักษณะคล้ายชายธงขว้างตามตัว หัวมีขนาดเล็ก ส่วนหางเล็กเหมือนส่วนหัว ใช้สำหรับว่ายน้ำ ปกติจะใช้ชีวิตอยู่ในทะเลตลอดทั้งชีวิต แต่ก็สามารถคลานขึ้นมาบนชายหาดได้บ้าง เพราะมีเกล็ดส่วนท้องมีค่อนข้างกว้างอย่างน้อยประมาณครึ่งหนึ่งของความกว้างลำตัว สามารถใช้คลานได้ โดยมักอาศัยหากินปลาตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่งที่เป็นบริเวณน้ำตื้น แต่เมื่อวางไข่จะขึ้นมาวางไข่บนบกในที่ ๆ เงียบสงบ เช่น ในโพรงถ้ำ โดยในน่านน้ำไทยจะพบที่อ่าวไทย สำหรับในต่างประเทศพบได้ที่ศรีลังกา, พม่า, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, โพลินีเซีย, ฟิจิ, ไต้หวัน, อ่าวเบงกอล, ปาปัวนิวกินี, นิวแคลิโดเนีย, หมู่เกาะโซโลมอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และงูสมิงทะเลปากดำ · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดาเขียว

งูอนาคอนดาเขียว หรือ งูอนาคอนดาธรรมดา (Green anaconda, Common anaconda) เป็นงูขนาดใหญ่มากที่สุดในโลกที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Eunectes murinus อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) งูอนาคาคอนดาเขียวนับเป็นงูอนาคอนดา ชนิดที่ใหญ่ที่สุดและรู้จักดีที่สุด เมื่อโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 30 ฟุต และหนักได้ถึง 550 ปอนด์ มีผิวลำตัวสีเขียว มีลายเป็นวงกลมสีดำ ใต้ท้องเป็นสีขาว ตาเป็นสีดำ ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้มาก อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ป่าอเมซอน, บราซิล, โบลิเวีย, กายอานา ในหนองน้ำ หรือบึง โดยมักจะอาศัยอยู่ในน้ำหรือหมกตัวในโคลนมากกว่าจะเลื้อยมาอยู่บนบก เนื่องจากน้ำหนักตัวที่มากทำให้งุ่มง่ามเชื่องช้ามากเมื่ออยู่บนบก แต่จะว่องไวกว่าเมื่ออยู่ในน้ำ ว่ายน้ำได้เก่ง บางครั้งอาจใช้วิธีการลอยน้ำอยู่บริเวณผิวน้ำแล้วปล่อยให้กระแสน้ำไหลพัดไป แต่มักจะขึ้นมาอาบแดดเป็นบางครั้งด้วยการเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ริมน้ำ ล่าเหยื่อด้วยการใช้แอ่งรับความร้อนอินฟราเรดที่อยู่บริเวณหน้าผาก ในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้ง สัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่ ทั้ง คาปรีบารา, จระเข้ไคแมน, ปลา, กบ หรือแม้กระทั่งวัวหรือควาย หรือปศุสัตว์ต่าง ๆ ของชาวบ้าน โดยใช้วิธีการรัดเหยื่อด้วยลำตัวอย่างแน่น และกดลงไปในน้ำให้จมน้ำตายก่อนจะเขมือบกลืนเข้าไปทั้งตัว โดยเริ่มจากส่วนหัวก่อน ซึ่งอาจใช้เวลานานหลายชั่วโมง แต่กระนั้นก็จะทำให้ไม่ต้องกินอะไรอีกไปนานนับเดือน ในยามที่อาหารขาดแคลนเช่นในช่วงฤดูร้อน อาจอดอาหารได้นานถึง 7 เดือน หลังจากนั้นแล้วจะเร่งรีบกินเพื่อชดเชยพลังงานที่สูญเสียไปและผสมพันธุ์ โดยถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3-4 ปี ฤดูผสมพันธุ์จะตกอยู่ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ตัวเมียจะปล่อยกลิ่นเพื่อดึงดูดตัวผู้ให้มาผสมพันธุ์ โดยอาจผสมพันธุ์กับตัวผู้ได้มากถึง 2-12 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน 6 เดือน ตกลูกเป็นตัว ซึ่งอาจออกได้ครั้งละ 40 ตัวหรือมากกว่านั้น ลูกงูที่ออกมาใหม่จะมีความยาวราว 2 ฟุต และจะไม่ถูกดูแลโดยแม่ ซึ่งอาจจะตกเป็นเหยื่อของสัตว์ที่ใหญ่กว่าหรือแม้กระทั่งงูอนาคอนดาด้วยกันเองกินก่อนที่จะโตต่อไปในอนาคต งูอนาคอนดาเขียวเป็นงูที่มนุษย์ให้ความสนใจมาก ด้วยขนาดที่ใหญ่โตและพละกำลังที่มากมายมหาศาล ดังนั้น เมื่อมีการจับงูชนิดนี้ได้ในแต่ละครั้งมักปรากฏเป็นข่าวโด่งดัง และถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ อาทิ Anaconda เมื่อปี ค.ศ. 1997 ของฮอลลีวู้ด เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และงูอนาคอนดาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

งูเหลือมอ้อ

งูเหลือมอ้อ หรือที่นิยมเรียกกันว่า งูหัวกะโหลก เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์งูน้ำ (Homalopsidae) อดีตเคยถูกจัดให้เป็นงูเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Homalopsis แต่ปัจจุบันได้มีการจำแนกออกใหม่เป็น 5 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และงูเหลือมอ้อ · ดูเพิ่มเติม »

งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู

งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู (Malayan green whipsnake, Big-eye green whipsnake) เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ahaetulla mycterizans อยู่ในวงศ์ Colubridae มีลักษณะทางกายภาพทั่วไปคล้ายคลึงกับงูเขียวปากจิ้งจก (A. prasina) และงูเขียวปากแหนบ (A. nasuta) มาก โดยเป็นงูที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่งูเขียวหัวจิ้งจกมลายูไม่มีติ่งแหลมที่ปลายหัว ตามีขนาดใหญ่มีเส้นผ่าศูนย์กลางตายาวเกินครึ่งหนึ่งของระยะจากปลายหัวถึงตา ตัวสีเขียวเข้ม หางสีเดียวกับลำตัว ใช้ชีวิตอาศัยส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ ขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 1 เมตร พบกระจายพันธุ์ในแหลมมลายูเรื่อยไปจนถึงสิงคโปร์ เกาะสุมาตราและเกาะชวาในอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยพบตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานเช่นเดียวกับงูเขียวปากจิ้งจกและงูเขียวปากแหน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และงูเขียวหัวจิ้งจกมลายู · ดูเพิ่มเติม »

ตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู

ตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู หรือ ตะขาบยักษ์อเมซอน (Peruvian giant yellow-leg centipede, Amazonian giant centipede) เป็นตะขาบชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Scolopendra โดยปกติเมื่อโตเต็มที่จะยาว 26 เซนติเมตร (10 นิ้ว) แต่บางครั้งก็สามารถโตได้ถึง 30 เซนติเมตร (12 นิ้ว) ตะขาบชนิดนี้อาศัยอยู่ทางแถบเหนือและตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ และตามเกาะแก่งของประเทศตรินิแดดและจาไมกา เป็นสัตว์กินเนื้อ โดยกินจิ้งจก, กบ, นก, หนู และแม้แต่ค้างคาวเป็นอาหาร และขึ้นชื่อในเรื่องความดุร้าย ร่างกายประกอบไปด้วยปล้องจำนวน 21-23 ปล้อง ปล้องมีสีทองแดงหรือสีแดงอมม่วง แต่ละปล้องมีขาสีเหลืองอ่อน 1 คู่ ขาแต่ละข้างสามารถเดินได้อย่างรวดเร็ว (หรือแม้แต่วิ่ง) และจับเหยื่อได้อย่างแน่นหนาก่อนที่จะฆ่า ตะขาบชนิดนี้มีเขี้ยวที่เรียกว่า Forcipule เรียงเป็นแนวโค้งอยู่รอบ ๆ หัว ซึ่งพัฒนาให้สามารถปล่อยพิษเข้าไปในตัวเหยื่อได้ พิษประกอบด้วยสารอะเซทิลคอลีน ฮิสตามีน เซโรโทนิน ซึ่งเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์ ทำให้เกิดแผลเหมือนถูกตัวต่อต่อย แผลจะบวมอย่างรุนแรง และตามด้วยอาการไข้สูง ตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู เป็นสัตว์เลี้ยงที่เป็นที่นิยมในบรรดาผู้นิยมสัตว์ประเภทสัตว์แปลก ๆ แต่ไม่ควรจับมันโดยไม่มีเครื่องป้องกัน แม้เพียงแค่ผิวหนังสัมผัสถูกผิดก็ทำให้เกิดอันตรายได้ อาการที่เกิดจากการถูกพิษของตะขาบในสกุลนี้เรียกว่า "Scolopendrism" ตะขาบขาเหลืองยักษ์เปรู ตัวเมียจะคอยดูแลและปกป้องรังที่มีไข่ของตนเอง ตัวอ่อนจะมีสีแดงเข้มหรือสีดำ ลำตัวบาง และมีหัวกลมใหญ่สีแดง มีวงจรชีวิตลอกคราบหลายครั้งก่อนที่จะโตเต็มวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และตะขาบยักษ์ขาเหลืองเปรู · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกินมดยักษ์

ตัวกินมดยักษ์ (Giant anteater) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ที่กินแมลงเป็นอาหาร พบทางแถบในอเมริกากลาง, อเมริกาใต้ และทางตอนเหนือของอาร์เจนตินาทั้งในทุ่งหญ้าเขตร้อน, ป่าผลัดใบ และป่าฝน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และตัวกินมดยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกินมดซิลกี้

ตัวกินมดซิลกี้ หรือ ตัวกินมดขนนุ่ม หรือ ตัวกินมดแคระ (Silky anteater, Pygmy anteater) เป็นตัวกินมดชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่่านั้นที่อยู่ในสกุล Cyclopes และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Cyclopedidae ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน เพราะอีกสกุลหนึ่ง คือ Palaeomyrmidon นั้นได้สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคไมโอซีนที่อาร์เจนตินา ตัวกินมดซิลกี้ เป็นตัวกินมดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก มีความยาวตั้งแต่ปลายปากจรดปลายหาง 35-40 เซนติเมตรเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในป่าของอเมริกากลาง จนถึงตอนเหนือของอเมริกาใต้ในหลายประเทศ แบ่งออกได้เป็น 7 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) พบได้ในหลายประเภทของป่า ตั้งแต่ป่าชายเลนในที่ราบต่ำ จนถึงที่ราบสูงที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,500 เมตร (4,900 ฟุต) ตัวกินมดซิลกี้ มีขนที่อ่อนนุ่มตลอดทั้งตัวสีเทาจนถึงสีเหลือง และมีสีที่หลากหลายออกไปตามแต่ละชนิดย่อย ตามีขนาดเล็กสีดำ มีกรงเล็บหน้าที่แหลมคมใช้สำหรับปีนป่ายต้นไม้ เนื่องจากเป็นตัวกินมดที่อาศัยและหากินบนต้นไม้เป็นหลัก โดยมักจะหากินบนปลา่ยยอดไม้สูง อาหารที่กินจะเป็น มด เป็นอาหารหลัก เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน ขณะที่เวลากลางวันจะนอนหลับด้วยการขดตัวเป็นวงกลมเหมือนลูกบอลบนต้นไม้ ตัวกินมดซิลกี้ สามารถใช้ปลายหางในการเกาะเกี่ยวต้นไม้เพื่อทรงตัวได้เป็นอย่างดี จึงสามารถป่ายปีนต้นไม้หรือกิ่งไม้ได้เป็นอย่างดี แม้กระทั้งตีลังกาห้อยหัวลงมา และสามารถที่จะยืนด้วยสองขาหลัง ชูขาหน้าและกรงเล็บได้ด้วยเพื่้อเป็นการป้องกันตัวAnteaters, "Nick Baker's Weird Creatures".สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: พุธที่ 10 เมษายน 2556.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และตัวกินมดซิลกี้ · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกบ้าน

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ Gecko ตุ๊กแกบ้าน (Tokay, Gecko, Calling gecko) หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ตุ๊กแก หรือ ต๊กโต ในภาษาเหนือ หรือ กั๊บแก ในภาษาอีสาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และตุ๊กแกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ตุ่นจมูกดาว

ตุ่นจมูกดาว (Star-nosed mole) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Condylura แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) ตุ่นจมูกดาว มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับตุ่นชนิดอื่น ๆ แต่มีส่วนหางยาว โดยลักษณะเฉพาะตัวที่ดูโดดเด่น คือ เส้นขนที่จมูกที่บานออกเป็นแฉก ๆ คล้ายดาว ซึ่งทำหน้าที่เป็นประสาทสัมผัส 22 เส้นอยู่รอบรูจมูก โดยมีปลายสัมผัสที่เส้นขนเหล่านี้มากมายราวถึงหนึ่งแสนจุด ตุ่นจมูกดาว อาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มชื้นแฉะ ในบริเวณภาคตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือระหว่างแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยพบไปถึงชายฝั่งทะเลในรัฐจอร์เจีย โตเต็มวัยจะมีความยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 55 กรัม มีฟัน 44 ซี่ หากินด้วยการใช้กรงเล็บอันแข็งแรงขุดคุ้ยดินในพื้นที่ชุ่มน้ำหรือตะกอนลำธาร โดยใช้หนวดรอบจมูกคอยสอดส่องหา อันได้แก่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก ๆ เช่น แมลงน้ำและตัวอ่อนชนิดต่าง ๆ, สัตว์จำพวกหอยและปลาหมึก เป็นต้น ซึ่งประสาทสัมผัสรอบจมูกนี้มีความว่องไวมาก ทำให้ตุ่นจมูกดาวสามารถจับเหยื่อเพื่อกินได้ในเวลาเพียง 120 มิลลิวินาทีเท่านั้น นอกจากนี้แล้ว ตุ่นจมูกดาวยังเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่สามารถดมกลิ่นใต้น้ำได้อีกด้วย โดยจะใช้หนวดสำรวจหาเหยื่อตามก้นแหล่งน้ำ โดยจะพ่นฟองอากาศออกมาจากรูจมูกหลายครั้ง เพื่อให้โมเลกุลกลิ่นในน้ำผสมกับอากาศ จากนั้นก็ทำการสูดหายใจเอาฟองอากาศกลับเข้าไปอย่างรวดเร็วด้วยความถี่ประมาณ 10 ครั้งต่อวินาทีเพื่อตรวจหากลิ่นของเหยื่อในน้ำ อีกทั้งยังเป็นตุ่นที่มีพฤติกรรมชอบใช้ชีวิตและหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขุดโพรงอยู่ใต้ดินเหมือนเช่นตุ่นชนิดอื่น ๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และตุ่นจมูกดาว · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาแมนเดอร์ไฟ

ำหรับซาลาแมนเดอร์ที่เป็นสัตว์ในตำนาน ดูที่: ซาลาแมนเดอร์ ซาลาแมนเดอร์ไฟ (Fire salamander) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดเล็กจำพวกซาลาแมนเดอร์ชนิดหนึ่ง จัดเป็นนิวต์ (Salamandridae) หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก ชื่อซาลาแมนเดอร์ไฟนั้น สันนิษฐานว่ามาจากการที่มนุษย์ในสมัยโบราณ จะใช้ฟืน ที่นำมาจากกิ่งไม้หรือโพรงไม้ต่าง ๆ โยนเข้ากองไฟเพื่อสร้างความอบอุ่นยามหนาว บางครั้งจะพบซาลาแมนเดอร์ชนิดนี้ซุกซ่อนอยู่ภายใน เมื่อฟืนถูกไฟ ด้วยความร้อนซาลาแมนเดอร์ก็จะคลานออกมา เหมือนกับว่าคลานออกมาจากกองไฟ อันเป็นที่มาของสัตว์ในตำนานที่ว่า เมื่อโยนซาลาแมนเดอร์เข้าไปในกองไฟแล้วก็ไม่ตาย เนื่องจากมีความชื้นในรูปแบบของเมือกที่ปกคลุมตัวอยู่ ซึ่งก็ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด ซาลาแมนเดอร์ไฟ นับเป็นซาลาแมนเดอร์ชนิดที่พบได้ง่ายกว่าซาลาแมนเดอร์ชนิดอื่น ๆ ในทวีปยุโรป มีลำตัวสีดำมีจุดสีเหลืองหรือลายเส้นที่แตกต่างกันออกไป บางตัวอาจจะมีสีเกือบดำสนิทในขณะที่บางตัวมีแถบสีเหลืองสดตัดกันโดดเด่น และบางตัวก็มีสีออกไปทางเหลืองเฉดแดง หรือสีส้ม มีขนาดความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ในตัวที่โตเต็มวัย และมีอายุขัยที่ยาวนานถึง 50 ปี นับว่ายาวนานกว่าซาลาแมนเดอร์ชนิดอื่น ๆ มาก นอกจากนี้แล้ว ยังสามารถปล่อยสารพิษประเภทอัลคาลอยด์ ในรูปแบบของต่อมพิษที่ผิวหนังเพื่อป้องกันตัวได้ด้วย มีผลทำให้กล้ามเนื้อชักเกร็ง, ความดันโลหิตสูง โดยต่อมพิษนี้กระจายอยู่ทั่วตัว และกระจุกในพื้นผิวบางส่วนของร่างกายเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนหัว และผิวหลังส่วนผิวหนังมักจะตรงกับต่อมเหล่านี้ ซึ่งสารประกอบในการหลั่งผิวหนังอาจจะมีผลต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราของผิวหนังชั้นนอก พบกระจายพันธุ์ตามแหล่งน้ำที่สะอาดต่าง ๆ ในป่าประเภท ป่าผลัดใบ หรือภูเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นป่าที่มีพืชชั้นต่ำประเภทมอสส์ปกคลุม ในหลายประเทศของทวีปยุโรป ตั้งแต่ประเทศแอลเบเนีย, ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, ฮังการี, โครเอเชีย, สาธารณรัฐเช็ก, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, กรีซ, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, มอนเตเนโกร, ยูโกสลาเวีย, เนเธอร์แลนด์, โปแลนด์, โปรตุเกส, โรมาเนีย, สเปน, สวิสเซอร์แลนด์ โดยพบไปได้ไกลถึงภูมิภาคตะวันออกกลาง เช่น ตุรกี และอิหร่าน มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางคืน กินสัตว์ขนาดเล็กกว่า เช่น แมลง, กุ้ง, ปู, ทาก หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำด้วยกันขนาดเล็ก โดยปกติในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวตามโขดหินและขอนไม้ จะออกมาหากินในเวลากลางวันบ้างก็ต่อเมื่อมีฝนตก ความชื้นในอากาศมีสูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ยกเว้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์จะสามารถเห็นถึงความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจนที่สุด คือ ต่อมบวมรอบ ๆ ระบายชายของตัวผู้ ต่อมนี้มีหน้าที่ผลิตถุงเก็บสเปิร์ม ซึ่งประกอบด้วยสเปิร์มจำนวนมากที่ตอนปลาย เมื่อซาลาแมนเดอร์ตัวเมียขึ้นมาบนบก ตัวผู้หลังจากปล่อยถุงสเปิร์มลงบนพื้นดินแล้วพยายามที่จะให้ตัวเมียรับเข้าไปผสมพันธุ์ หากประสบความสำเร็จทั้งไข่และสเปิร์มมีการปฏิสนธิกัน ซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวของตัวเมีย ตัวอ่อนจะได้รับการเพาะฟักในแหล่งน้ำที่สะอาดต่อไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และซาลาแมนเดอร์ไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต

ตราประจำจังหวัดภูเก็ต ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต เดิมคำว่า ภูเก็ต นั้นใช้คำว่า "ภูเก็จ" อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก มณีคราม ตามหลักฐาน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพาราไดซ์

ปลาพาราไดซ์ (Paradise fish, Paradise gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macropodus opercularis อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จึงมีอวัยวะช่วยหายใจพิเศษที่มีความวนเวียนเหมือนเขาวงกต เหมือนเช่นปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน ทำให้สามารถขึ้นมาฮุบอากาศที่ผิวน้ำได้โดยตรง และสามารถอยู่ในบริเวณที่มีออกซิเจนต่ำได้ โดยไม่ต้องรอให้ออกซิเจนละลายลงในน้ำก่อนเช่นปลาทั่วไป มีขนาดความยาวลำตัว ประมาณ 7.5 เซนติเมตร มีลำตัวค่อนข้างกว้าง แบนข้าง หัวเล็ก นัยน์ตาโต ปากอยู่หน้าสุด ริมฝีปากยืดหดได้ มีฟันบนกระดูกเพดานปาก เส้นข้างตัวไม่สมบูรณ์ มีลักษณะเด่นอยู่ที่ครีบหลัง ครีบหลัง ครีบท้อง และครีบก้น มีปลายที่ยื่นยาวเป็นเส้นสวยงาม ครีบท้องและครีบหางเป็นสีส้มแดง ครีบหลังมีก้านครีบแขนงไม่เกิน 10 ก้าน ครีบหลังและครีบก้นมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบอกบางใส ครีบท้องมีก้านครีบเดี่ยว อันแรกยื่นออกมาเป็นเส้นยาว ครีบหางมีปลายครีบตัดตรง สีพื้นลำตัวเป็นสีเขียวมีลายสีส้มขวางลำตัวจำนวน 9 แถบ ตัวผู้จะมีสีสันสวยสดกว่าตัวเมีย เป็นปลาที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ไต้หวัน, จีน, ฮ่องกง, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้ และตอนเหนือของเวียดนาม โดยอาศัยอยู่ตามหนองบึง นาข้าว เหมือนกับปลากัดหรือปลากระดี่โดยตัวผู้จะมีการก่อหวอด กินอาหารจำพวก ลูกน้ำ, ลูกไร หรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก มีการผสมพันธุ์และดูแลไข่เหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ ปลาพาราไดซ์ มีนิสัยค่อนข้างก้าวร้าว แต่สามารถเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงได้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีการเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันต่าง ๆ ที่แปลกออกไปจากชนิดที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น สีเผือกทั้งตัว หรือ สีเขียว เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาพาราไดซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโทงดาบ

ปลากระโทงดาบ หรือ ปลากระโทงแทงดาบ (Swordfish, Broadbill swordfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Xiphiidae จัดเป็นเพียงชนิดเดียวและสกุลเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์นี้ มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลากระโทงร่ม (Istiophoridae) ต่างกันที่จะงอยปากที่ยื่นยาวออกไปมีลักษณะแบนลง เมื่อโตเต็มวัยไม่มีเกล็ดหุ้มตัว ไม่พบครีบท้อง ในปากไม่มีฟัน (มีฟันแต่เฉพาะยามเป็นปลาวัยอ่อน ซึ่งฟันมีความกริบเหมือนมีดโกน และจะหลุดออกเมื่อโตขึ้น) บริเวณด้านข้างคอด หางมีสันนูนเพียงข้างละสันเดียว มีขนาดตัวยาวได้ถึง 4.5 เมตร พบกระจายพันธุ์ไปในมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก สามารถที่จะดำน้ำได้ถึง 550 เมตร กินปลาขนาดเล็กทั่วไป สามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 50 ไมล์/ชั่วโมง จัดเป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าวชนิดหนึ่ง มีรายงานโจมตีปลาฉลามหรือเต่าทะเล โดยพบชิ้นส่วนของจะงอยปากติดกับสิ่งที่แทง รวมถึงแม้แต่เรือดำน้ำขนาดเล็กเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ด้วย ก็เคยถูกปลากระโทงดาบโจมตี จนตัวปลาติดกับเรือจนตาย และเมื่อขึ้นสู่ผิวน้ำ ลูกเรือก็ได้กินปลาตัวนั้นเป็นอาหารSuper Fish: fasted predator in the sea, สารคดีทางแอนิมอลพนาเน็ต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลากระโทงดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงขาว (สกุล)

ปลากะพงขาว สกุลของปลาน้ำจืด, น้ำกร่อย และปลาทะเลจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Lates (/ลา-ติส/) มีรูปร่างโดยรวม คือ รูปร่างลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากค่อนข้างยาวและแหลม นัยน์ตาโต ปากกว้างยืดหดได้ มุมปากอยู่เลยไปทางหลังนัยน์ตา ฟันเป็นฟันเขี้ยวอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง ขอบกระดูกแก้มเป็นหนามแหลม ขอบกระดูกกระพุ้งเหงือกแข็งและคม คอดหางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง เกล็ดใหญ่มีขอบหยักเป็นหนามเมื่อลูบจะสากมือ ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบเป็นหนามแข็ง ปลายแหลม อันที่สองเป็นครีบอ่อนมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบใหญ่ปลายกลมมน มีขนาดตั้งแต่ประมาณ 1 ฟุต ไปจนถึงเกือบ 2 เมตร และมีน้ำหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม ในปลากะพงแม่น้ำไนล์ (L. niloticus) ซึ่งจัดว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลนี้และวงศ์นี้ ที่พบได้ในแหล่งน้ำจืดของทวีปแอฟริกา ปลากะพงขาวมีทั้งหมด 9 สปีชีส์ ซึ่งจัดว่ามีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ ทั้งหมดนิยมใช้ตกเป็นปลาเกมกีฬา และนิยมบริโภคเนื้อเป็นอาหาร พบตั้งแต่ทะเลสาบน้ำจืดหลายแห่งในทวีปแอฟริกาไปจนถึงชายฝั่งทะเลในทวีปเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย โดยมี 2 ชนิดเท่านั้นที่พบในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ซึ่งคำว่า Lates นั้นมาจากภาษาละตินคำว่า latēre หมายถึง "ถูกซ่อนไว้".

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลากะพงขาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงแม่น้ำไนล์

ปลากะพงแม่น้ำไนล์ (Nile perch, African snook) หรือชื่อในภาษาพื้นเมืองว่า อิมพิวทา (Imputa) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) มีรูปร่างคล้ายปลากะพงขาว (L. calcarifer) ซึ่งเป็นปลาอยู่ในวงศ์เดียวกัน สกุลเดียวกัน ต่างกันที่ปลากะพงแม่น้ำไนล์มีครีบหลังที่ยกสูงกว่า และมีขนาดตัวเมื่อโตเต็มที่ได้ใหญ่กว่ามาก โดยยาวได้ถึง 2 เมตร หนักได้ถึง 200 กิโลกรัม หนักสุดพบ 230 กิโลกรัม จัดเป็นปลาที่มีความใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ อาศัยอยู่ในแม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกา พบในอียิปต์, ชาด, เซเนกัล, คองโก, เคนยา เป็นต้น นิยมตกเป็นเกมกีฬา โดยถูกจัดให้เป็นปลาที่สามารถตกด้วยเบ็ดได้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใช้เนื้อบริโภคเป็นอาหารขึ้นชื่อในท้องถิ่น และส่งออกต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ด้วยความใหญ่ในรูปร่าง ในแง่ของปัญหาสิ่งแวดล้อม ปลากะพงแม่น้ำไนล์ถือเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่คุกคามสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ ในทะเลสาบแทนกันยีกาและทะเลสาบวิกตอเรีย โดยเพาะอย่าง ปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เพราะเป็นปลาขนาดใหญ่ที่กินปลาและสัตว์น้ำชนิดอื่นที่เล็กกว่าเป็นอาหาร และกินเป็นจำนวนมาก จึงเป็นต้นเหตุที่ทำให้หลายชนิดต้องอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ เพราะปลากะพงแม่น้ำไนล์มิได้เป็นปลาพื้นถิ่นของทะเลสาบทั้งสองแห่งนี้ แต่ทว่าถูกนำไปปล่อยโดยเมื่อทศวรรษที่ 50.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลากะพงแม่น้ำไนล์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนอานม้า

ปลาการ์ตูนอานม้า (Saddleback anemonefish, Saddleback clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง ได้ชื่อมาจากการที่มีลายสีขาวพาดตั้งแต่บริเวณปลายครีบหลังมายังบริเวณกลางลำตัว เหมือนอานม้า พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในมหาสมุทรอินเดีย เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง (A. sebae) มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 12 เซนติเมตร จะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด พรมทะเล (Stichodactyla haddoni) ซึ่งจะฝังตัวอยู่ในทรายพื้นทะเล ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ปลาการ์ตูนอานม้า นับว่าเป็นปลาการ์ตูนที่มีความหลากหลายทางสีสันและลวดลายมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยบางตัวอาจมีลายสองแถบ หรือสามแถบ สีสันมีตั้งแต่สีดำตลอดทั้งลำตัว หรือบางตัว มีเฉพาะส่วนปากเท่านั้นที่มีสีส้ม ลำตัวสีดำ ส่วนปากและท้องเป็นสีส้ม ไปจนถึงบางตัวที่มีสีส้มตั้งแต่ปาก, ท้อง และลำตัว มากกว่าพื้นที่สีดำบนลำตัว และขณะที่บางตัวอาจมีลายอานม้าเพียงไม่ถึงครึ่งหนึ่งของลำตัว แต่บางตัวมีลายอานม้าพาดยาวไปจนสุดด้านล่างของลำตัว เป็นต้น ส่วนปลาที่พบในเขตน่านน้ำไทยมักมีลายแถบสามแถบครึ่งลำตัว และมีลำตัวสีดำตลอดทั้งลำตัว เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาการ์ตูนอานม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวปิกัสโซ

ปลาวัวปิกัสโซ (Lagoon triggerfish, Blackbar triggerfish, Picasso triggerfish, Jamal, White-banded triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinecanthus aculeatus อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) มีรูปร่างกลมรีคล้ายรูปไข่ ปากมีขนาดเล็กแต่มีฟันแหลมคม ส่วนหน้าและจะงอยปากยาว มีลักษณะเฉพาะ คือ ลวดลายบนลำตัวที่จะเป็นแถบสีสดขีดไปมาเหมือนไม่ได้ตั้งใจจะให้เป็นหรือตั้งใจวาด ทั้งสีเขียวมะกอก, สีดำ, ฟ้า, เหลือง บนพื้นสีขาว แต่แลดูแล้วสวยงาม เหมือนกับภาพวาดของปาโบล ปิกัสโซ จิตรกรชื่อดังระดับโลก อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทย พบได้ทางฝั่งทะเลอันดามันทางภาคใต้แต่ก็พบในปริมาณที่น้อยมาก กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังชนิดต่าง ๆ เช่น มอลลัสคา, ครัสตาเชียน รวมทั้งปะการังและสาหร่ายด้วย โดยออกหากินในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนตามโขดหินหรือแนวปะการังในเวลากลางคืน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นที่มีขนาดและพฤติกรรมใกล้เคียงกันได้เป็นอย่างดี เนื่องจากแม้จะเป็นปลาก้าวร้าว แต่ก็ไม่ถึงกับดุร้ายเกินไปนัก ซึ่งผู้เลี้ยงสามารถฝึกให้กินอาหารจากมือได้ด้วย แต่ก็ต้องระวังเพราะมีฟันที่แหลมคมมาก ซึ่งปลาที่ถูกขายกันในตลาดปลาสวยงามนั้น โดยมากเป็นปลาขนาดเล็ก และนำเข้ามาจากประเทศอินโดนีเซียและทะเลฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาวัวปิกัสโซ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินม้าลาย

ปลาสลิดหินม้าลาย หรือ ปลาสลิดหินอานม้า (หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปลาม้าลาย หรือ ปลาอานม้า; Whitetail dascyllus, Hambug dascyllus, Three stripe damsel, Threebar dascyllus) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dascyllus aruanus อยู่ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาสลิดหินม้าลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโตปีก

ปลาสิงโตปีก หรือ ปลาสิงโตปีกจุด (Red lionfish; /เท-โร-อิส-โว-ลิ-แทนส์/) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง จำพวกปลาสิงโต ในวงศ์ปลาแมงป่อง (Scorpaenidae) มีครีบอกแผ่กว้างมีก้านครีบแข็งยื่นยาวออกไป และมีเยื่อยึดระหว่างก้านครีบ ครีบหางโค้งมน พื้นลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อน มีจุดสีดำแต้มบนเยื่อยึดระหว่างก้านครีบอก ครีบหลังมีก้านครีบแข็งทั้งหมด 13 ก้าน ซึ่งแต่ละก้านสามารถเคลื่อนไหวเป็นอิสระ โดยมีครีบเป็นตัวยึดติดไว้ ในก้านครีบหลังมีบางก้านซึ่งมีเข็มพิษและภายในบรรจุถุงพิษ รวมถึงครีบอื่น ๆ เช่น ครีบก้น, ครีบอก ด้วย หากถูกแทงจะได้รับความเจ็บปวดมาก เมื่อแทงเข้าไปในเนื้อเยื่อของผู้ที่โดนแทงจะก่อให้เกิดความปวดแสบปวดร้อน เพราะมีผลต่อระบบกล้ามเนื้อ ก่อให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น เป็นอัมพาต หรืออัมพาตชั่วคราว รวมถึงเป็นแผลพุพองได้ด้วย ขนาดโตเต็มที่สามารถยาวได้ถึง 47 เซนติเมตร (18.5 นิ้ว) ในขณะที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีความยาวสั้นกว่า 1 นิ้ว (2.5 เซนติเมตร) มีอายุขัยเฉลี่ยประมาณ 10 ปีNational Oceanic and Atmospheric Administration, National Centers for Coastal Ocean Science "Have You Seen Me?" Encyclopedia of Life (EOL).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาสิงโตปีก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนยุโรป

ปลาสเตอร์เจียนยุโรป หรือ ปลาสเตอร์เจียนธรรมดา (Baltic sturgeon, Common sturgeon, European sturgeon) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสเตอร์เจียน (Acipenseridae) มีรูปร่างหนาตัวยาวเรียว มีเกล็ดซึ่งเรียงกันเป็นหนามอยู่ 5 แถวทำให้ลำตัวเป็นเหลี่ยม ส่วนหัวขนาดใหญ่ค่อนข้างยาวแบนลง ส่วนปลายสุดค่อน ข้างแหลมงอนขึ้นเล็กน้อย มีลักษณะคล้ายพลั่วตักดิน ตามีขนาดเล็กสีดำกลมกลืนกับ สีลำตัวที่ด้านหน้าตอนใต้ของตามีช่องเปิด 2 ช่อง ช่วยในการหายใจ และดมกลิ่น ปาก อยู่ด้านใต้ที่ส่วนหน้าของปากมีหนวด 4 เส้น ซึ่งเป็นประสาทสัมผัสที่ไวมาก ปากสามารถ ยืดหดออกมาเพื่อดูดอาหาร มีครีบ 7 ครีบ ครีบหลังอยู่ค่อนไปทางโคนหางมีขนาดเล็ก หน้าครีบหลังมีแถวหนามเรียงกัน โดยเริ่มตั้งแต่ด้านหลังส่วนหัวเป็นต้นไป ครีบหางเป็นแฉกเว้ายาวไม่เท่ากัน ครีบหางตอนบนจะยื่นยาวออกไปมากกว่าครีบหางตอนล่าง ซึ่งสั้นมากลักษณะคล้ายหางของปลาฉลาม ครีบท้องและครีบก้นอยู่ค่อนมาทางตอน ท้ายของลำตัว สีลำตัวเป็นสีเทาเข้ม หรือสีดำ ส่วนใต้ท้องมีสีขาวจาง มีความยาวโดยเฉลี่ย 1–2 เมตร พบใหญ่ที่สุดถึง 3.5 เมตร น้ำหนักโดยเฉลี่ย 150 กิโลกรัม พบหนักที่สุดถึง 315 กิโลกรัม อายุเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ในตัวเมียอยู่ที่ 16–18 ปี ขณะที่ตัวผู้อยู่ที่ 12–14 ปี มีอายุยืนได้ถึง 40 ปี พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น ทะเลสาบ, แม่น้ำ ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ยกเว้นทะเลดำ ปลาสเตอร์เจียนยุโรป เป็นปลาสเตอร์เจียนชนิดที่นิยมบริโภคและนำไข่ทำคาเวียร์ มากที่สุด อีกทั้งลูกปลาขนาดเล็กยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาสเตอร์เจียนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนขาว

ปลาสเตอร์เจียนขาว (Beluga, European sturgeon, Giant sturgeon, Great sturgeon; Белуга-แปลว่า สีขาว) ปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Acipenseridae มีลักษณะลำตัวยาว ส่วนของหางเหมือนปลาฉลาม มีเกล็ดเป็นหนามแหลม ๆ เรียงเป็นแถวอยู่บนลำตัว ปลายปากเรียวแหลม ช่องปากอยู่ด้านล่างของลำตัวมีหนวดขนาดเล็กหลายเส้นรอบ ๆ ปากไว้รับสัมผัส ส่วนหลังมีสีดำอมเทา ส่วนท้องและขอบครีบต่าง ๆ มีสีขาว เมื่อยังเล็กส่วนท้องจะมีสีขาว ส่วนขอบของครีบมีสีขาว พื้นลำตัวมีสีเทาและหนามบนหลังมีสีขาว จึงเป็นที่มาของชื่อ ปลาสเตอร์เจียนขาว นับเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มาก เมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 5 เมตร น้ำหนักถึง 900 กิโลกรัม และมีบันทึกว่าพบใหญ่ที่สุดถึง 9 เมตร นับเป็น 2 เท่าตัวของความยาวปลาฉลามขาว ด้วยซ้ำจึงจัดว่าเป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ในธรรมชาติพบการแพร่กระจายในเขตหนาวของทวีปยุโรป เช่น ทะเลดำ, ทะเลสาบแคสเปียน และทะเลเอเดรียติก หากินอยู่ตามพื้นน้ำโดยใช้หนวดสัมผัส อาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาสเตอร์เจียนขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางแข็ง

ปลาหางแข็ง หรือ ปลาแข้งไก่ (Torpedo scad, Hardtail scad, Finny scad, Finletted mackerel scad, Cordyla scad) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Megalaspis มีลำตัวเรียวยาวคล้ายกระสวย หัวค่อนข้างแหลมตากลมโต ปากกว้าง หางยาวเรียวและคอด บริเวณโคนหางมีเกล็ดแข็งที่มีลักษณะคล้ายขาไก่ หรือแข้งไก่ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ครีบหลังและครีบก้นมีครีบฝอย ครีบหูเรียวโค้งคล้ายเคียว ลำตัวสีน้ำเงินปนเขียว ด้านหลังมีสีเขียวเข้ม มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 80 เซนติเมตร และหนักได้ถึง 40.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาหางแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนวดพราหมณ์

ปลาหนวดพราหมณ์ หรือ ปลาหนวดตาแป๊ะ (Threadfins) เป็นสกุลของปลาน้ำกร่อยและน้ำจืดจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลากุเรา (Polynemidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Polynemus (/โพ-ลี-นี-มัส/) เป็นปลาที่พบได้ในน้ำกร่อยและน้ำจืดเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน มีลักษณะโดยรวม คือ ครีบอกแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนบนเหมือนครีบปลาทั่วไป แต่ส่วนล่างแบ่งเป็นเส้น ๆ มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่ชนิด ตั้งแต่ 3-14 เส้น เป็นปลาที่ผสมพันธุ์และวางไข่ ฟักเป็นตัวในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ อาจพบได้บ้างตามแหล่งน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำหรือชายฝั่ง พบแพร่กระจายพันธุ์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศอินโดนีเซีย มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร สำหรับในชนิดที่พบในประเทศไทย ได้แก่ ปลาหนวดพราหมณ์เหนือ (P. aquilonaris), ปลาหนวดพราหมณ์ตะวันออก (P. dubius), ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 7 เส้น (P. paradiseus), ปลาหนวดพราหมณ์ทอง (P. melanochir) และ ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 14 เส้น (P. multifilis) นิยมรับประทานเป็นอาหาร และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาหนวดพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น

ปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น หรือ ปลาหนวดพราหมณ์ (Paradise threadfin) ปลาน้ำกร่อยที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลากุเรา (Polynemidae) มีส่วนหัวขนาดเล็ก ตามีขนาดเล็กอยู่เกือบสุดปลายส่วนหัวและมีเยื่อไขมันคลุม ปากกว้างมีฟันซี่เล็กละเอียดบนขากรรไกร ลำตัวแบนข้าง ครีบอกยาว ส่วนที่เป็นเส้นยาวมีความยาวมากกว่าลำตัวถึง 2 เท่า โดยเฉพาะเส้นบนมีทั้งหมดข้างละ 10 เส้น ครีบหางเว้าลึกปลายแหลม เกล็ดเล็กละเอียดมีลักษณะเป็นปากฉลาม ตัวมีสีเงินวาวอมชมพูหรือสีเนื้อ หัวสีจางอมชมพูหรือสีเนื้อ ครีบสีจาง ด้านท้องสีจาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร ใหญ่สุดพบถึง 20 เซนติเมตร นิยมอยู่เป็นฝูง บางครั้งหากินด้วยการหงายท้องล่าเหยื่อ พบมากในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง แม่น้ำบางปะกง, แม่น้ำแม่กลอง และแม่น้ำโขงตอนล่าง ในต่างประเทศพบได้จนถึงบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา เป็นปลาที่นิยมใช้บริโภคโดยการปรุงสดและทำปลาตากแห้ง นิยมตกเป็นเกมกีฬา อีกทั้งด้วยความสวยงามของหนวดที่ยาว ทำให้ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่เลี้ยงให้รอดได้ยากมาก เนื่องจากเป็นปลาที่เปราะบาง มักตายอย่างง่าย ๆ จึงทำให้มีราคาค่อนข้างสูงแต่ในต่างประเทศนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเป็นอย่างมาก โดยมีราคาเฉลี่ย 500 ถึง 1,500 บาท แล้วแต่ขนาดและความสมบูรณ์ของปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอีโต้มอญ

ปลาอีโต้มอญ (Common dolphinfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Percifoemes) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coryphaena hippurus จัดอยู่ในวงศ์ปลาอีโต้ (Coryphaenidae) ซึ่งมีอยู่ด้วยกันเพียง 2 ชนิดเท่านั้น ปลาอีโต้มอญ มีลำตัวยาวเรียว แต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นลำตัวจะกว้างขึ้นและแบนข้างเล็กน้อย หัวงุ้มลง ทำให้มีรูปร่างคล้ายมีดโต้ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีเกล็ดเล็กละเอียด ปากกว้างและเฉียงขึ้น ฟันเล็กละเอียด ครีบหลังยาวเริ่มตั้งแต่บริเวณโหนกหัวไปจนถึงโคนหาง ครีบหางใหญ่เว้าลึกรูปส้อม ตัวผู้มีโหนกหัวนูนออกไปข้างหน้าเป็นแนวตั้งฉากกับปากคล้ายกับโลมา อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ ส่วนตัวเมียจะมีโหนกหัวลาดลง ปลาขนาดโตเต็มวัยลำตัวมีสีน้ำเงินปนเขียว ข้างตัวมีจุดดำเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วลำตัว มีความยาวตั้งแต่ 40-100 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุดมีความยาวถึง 150 เซนติเมตร เป็นปลาที่อยู่รวมตัวกันเป็นฝูงขนาดไม่ใหญ่ อาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก และมักขึ้นมาหากินและหาอาหารบริเวณผิวน้ำ มักพบอยู่บริเวณข้างเกาะแก่ง ตามต้นไม้หรือกิ่งไม้หรือซากอวนที่ลอยมาตามน้ำ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่ปราดเปรียวว่องไว ว่ายน้ำได้เร็วมาก กินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร เป็นปลาที่เป็นที่นิยมอย่างยิ่งในการตกปลาเป็นเกมกีฬา เช่นเดียวกับปลากระโทง (Istiophoridae) หรือปลาทูน่า (Scombridae) เนื่องจากเป็นปลาที่สู้เบ็ดและมีความสวยงามเมื่อเวลาตก และนิยมจับเพื่อการประมงเชิงพาณิชย์ด้วย ซึ่งประเทศในแถบแคริบเบียนเป็นกลุ่มผู้บริโภคผลิตภัณฑ์จากปลาอีโต้มอญกลุ่มใหญ่ของโลก ส่วนหลาย ๆ ประเทศที่พัฒนาแล้วในยุโรปมีปริมาณการบริโภคเพิ่มมากขึ้นทุกปี และญี่ปุ่นก็เป็นประเทศที่บริโภคปลาชนิดนี้เป็นปริมาณมากเช่นกัน ปลาอีโต้มอญ ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก ในภาษาไทย เช่น "หน้ามอม", "อีโต้", "มงเจ้าเลือด", "โต้มอญ" หรือ "สีเสียดอินเดีย" เป็นต้น ในขณะที่ภาษาฮาวายจะเรียกว่า "Mahi-mahi" ซึ่งเป็นชื่อที่เพิ่งใช้ไม่นานมานี้ โดยจะปรากฏบนเฉพาะบนเมนูอาหาร ในขณะที่ภาษาสเปนจะเรียกว่า "Dorado" ที่หมายถึง ทองคำ สถานะของปลาอีโต้มอญ ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN Red List) ได้จัดให้อยู่สถานะสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ (LC).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาอีโต้มอญ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว

ปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว (Longtail seamoth, Slender seamoth) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อกลางคืน (Pegasidae) เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก มีขนาดยาวไม่เกิน 4-6 เซนติเมตร มีลำตัวเป็นเกราะแข็ง ครีบหางมีเกราะรูปวงแหวนต่อกัน เป็นข้อ ๆ ปากยื่นยาวออกไป ลำตัวแบนลง ครีบหูมีขนาดใหญ่แผ่ออกด้านข้างคล้ายปีกของผีเสื้อ ครีบท้องมีก้านแข็งหนึ่งคู่ ที่เหลือเป็นก้านครีบอ่อนที่พัฒนาไปคล้ายขาเดิน มีผิวตัวด้านบนมีลายรูปตาข่าย อาจมีสีน้ำตาลอ่อน จนถึงสีน้ำตาลเข้ม คล้ายกับปลาผีเสื้อกลางคืน (Eurypegasus draconis) ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว จะมีส่วนปากที่ยื่นยาวกว่า เป็นปลาที่หากินตามพื้นทะเล ที่เป็นพื้นทรายหรือทรายปนโคลน ด้วยการใช้ครีบคืบคลานไปกับพื้นคล้ายกับการเดิน โดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ ต่าง ๆ เป็นอาหาร พบแพร่กระจายพันธุ์กว้างไกล ตั้งแต่ ออสเตรเลีย, บาห์เรน, จีน, อินเดีย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, โมซัมบิก, พม่า, ฟิลิปปินส์, ซาอุดิอาระเบีย, สิงคโปร์, เกาะไต้หวัน, แทนซาเนีย และไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาผีเสื้อกลางคืนปากยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Copperband butterflyfish, Beak coralfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelmon rostratus ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีลำตัวแบนข้าง ลบลำตัวมีสีขาวคาดด้วยแถบสีส้มจำนวน 4 แถบ โดย 2 แถบแรกมีขอบสีดำตัดบาง ๆ ทั้งด้านหน้าและหลัง ปลายครีบบนและครีบล่างเจือด้วยปื้นสีส้ม โคนหางมีจุดสีดำเล็ก ๆ และมีจุดสีดำขนาดใหญ่บริเวณโคนครีบบนหนึ่งจุด คล้ายตา เพื่อใช้หลอกล่อศัตรูให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นดวงตาจริง ๆ ในขณะที่ดวงตาแท้ ๆ มีแถบสีส้มคาดเพื่ออำพรางไม่ให้ดูเด่นกว่าจุดวงกลมสีดำนั้น ปากยื่นยาวและมีขนาดเล็กคล้ายหลอด ใช้สำหรับดูดกินหรือแทะกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังต่าง ๆ ที่อาศัยตามแนวปะการังที่หลบตามซอกหลีบได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินดอกไม้ทะเลแก้ว (Aiptasia spp.) ซึ่งเป็นดอกไม้ทะเลขนาดเล็กที่หนวดพิษสามารถทำร้ายปะการังได้ด้วย นับเป็นปลาที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศในทะเลชนิดหนึ่ง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแนวปะการังของมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก เช่น ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, หมู่เกาะริวกิว จนถึงออสเตรเลีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จัดเป็นปลาที่ราคาไม่แพง เลี้ยงง่าย แต่ไม่อาจจะฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้เหมือนปลาผีเสื้อชนิดอื่น ๆ ซึ่งผู้เลี้ยงต้องให้กินอาหารสด เช่น ไรทะเลหรือเนื้อหอยชนิดต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นปลาที่ต้องรวบรวมมาจากแหล่งน้ำรรมชาติ ซึ่งในปลาขนาดกลางที่ไม่เล็กไปหรือใหญ่ไป ราว ๆ 2.5-3.5 นิ้ว เป็นขนาดที่กำลังพอดีที่จะนำมาเลี้ยง เพราะปลาจะปรับตัวให้เข้ากับตู้เลี้ยงได้ไม่ยากนัก ไม่ตื่นกลัวเหมือนปลาใหญ่หรืออ่อนแอเกินไปเหมือนปลาขนาดเล็ก อนึ่ง ปลาผีเสื้อนกกระจิบนั้น ในแวดวงของการดำน้ำยังมีการเรียกปนกับปลาผีเสื้อจมูกยาวในสกุลปลาผีเสื้อจมูกยาว ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ปลาผีเสื้อจมูกยาวใหญ่ (Forcipiger longirostris) และปลาผีเสื้อจมูกยาวเหลือง (F. flavissimus) ซึ่งปลาทั้ง 2 ชนิดนั้นมีสีสันที่แตกต่างออกจากปลาผีเสื้อนกกระจิบพอสมควร โดยมีสีเหลืองสดเป็นสีพื้นเป็นหลัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาผีเสื้อนกกระจิบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ

ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ หรือ ปลาทูน่ายักษ์ (Northern bluefin tuna, Atlantic bluefin tuna, Giant blufin tuna; タイセイヨウクロマグロ) ปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอหรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรเขตอบอุ่นระหว่างละติจูดที่ 5-50 องศาเหนือ สามารถอยู่อาศัยบริเวณผิวน้ำในระยะอุณหภูมิกว้างมากพบการแพร่กระจายบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกฝั่งตะวันตกและมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออก มีลักษณะพิเศษที่เห็นได้เด่นชัดคือ ความกว้างที่สุดของลำตัวปลาอยู่ทางตอนต้นของครีบหลังอันที่หนึ่ง ตัวค่อนข้างอ้วนสั้น หัวโต ตาโต ครีบหลังแยกออกเป็นสองส่วนอย่างชัดเจน ที่คอดหางมีสีดำ มีขนาดความยาวที่สุดมากกว่า 300 เซนติเมตร แต่ที่พบทั่วไปมีขนาด 200 เซนติเมตร โดยตัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่บันทึกได้ คือ ยาว 458 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 684 กิโลกรัม มีอายุยืนยาวกว่า 30 ปี และเป็นสัตว์เลือดอุ่น เพราะร่างกายมีระบบปรับอุณหภูมิอย่างยอดเยี่ยม สามารถดูดซึมออกซิเจนไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงสูง มีกลไกการทำงานของหัวใจที่ยอดเยี่ยม จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ นั้นเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญเช่นเดียวกับปลาทูน่าชนิดอื่น ๆ โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น เป็นปลาที่ชาวญี่ปุ่นทำการประมงมานานกว่า 5,000 ปี โดยชาวพื้นเมืองชาวไฮดาในแถบแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือหน้า 18 เรื่องเล่าจากต่างแดน, ราชาแห่งมัจฉ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขี้ตังเบ็ดลาย

ปลาขี้ตังเบ็ดลาย (Clown surgeonfish, Lined surgeonfish, Striped surgeonfish) หรือที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า ปลาเซอร์เจี้ยนลาย เป็นปลาทะเลที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาขี้ตังเบ็ด (Acanthuridae) มีสีสันและลวดลายที่สวยงามหลากหลายบนลำตัว ที่เป็นลายเส้นในแนวนอนทั้งเขียว, เหลือง, ดำ และน้ำเงิน พาดไปตามลำตัวตั้งแต่หัวจรดหาง ครีบหางแฉกปลายแหลมทั้งสองข้าง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 38 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการังของเขตอบอุ่นตั้งแต่ชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออก จนถึงทะเลอันดามัน และอินโด-แปซิฟิก มีพฤติกรรมชอบที่อาศัยอยู่เพียงตัวเดียว หรือรวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยมีตัวผู้เพียงตัวเดียว รวมกับตัวเมียหลายตัว โดยตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียและเจริญเติบโตเร็วกว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัด เมื่อผสมพันธุ์จะกระทำในคืนที่พระจันทร์เต็มดวง ที่น้ำขึ้นอย่างเต็มที่ ด้วยการปล่อยไข่และอสุจิให้ปฏิสนธิกันในกระแสน้ำ และปล่อยไข่ให้ล่องลอยไปกับกระแสน้ำ จนกระทั่งลูกปลาฟักออกมาเป็นตัว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน เช่น ปลาขี้ตังเบ็ดโซฮาล (A. sohal) หรือปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า (Paracanthurus hepatus) แต่จัดเป็นปลาที่เลี้ยงได้ยากชนิดหนึ่ง เนื่องจากปลาที่ถูกจับจากแหล่งน้ำธรรมชาติมักไม่ค่อยยอมรับอาหารและไม่อาจปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในที่เลี้ยงได้ จะมีเพียงไม่กี่ตัวเท่านั้นที่สามารถจะยอมกินอาหารได้ และในอีกหลาย ๆ ตัวเมื่อเลี้ยงไปสักระยะหนึ่ง กลับตายอย่างไร้สาเหต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาขี้ตังเบ็ดลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดัก

ปลาดัก (Blackskin catfish) ปลาดุกชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Clarias meladerma อยู่ในวงศ์ปลาดุก (Clariidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายปลาดุกด้าน (C. batrachus) เว้นแต่ที่ครีบอกด้านหน้ามีลักษณะขอบหยักคล้ายฟันเลื่อย และมีผิวเนื้อสีดำ จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ปลาดุกเนื้อเลน" (ภาษาใต้) โตเต็มที่ขนาดความยาวประมาณ 35 เซนติเมตร ในประเทศไทยพบได้แถบภาคกลางตอนบนและภาคอีสาน ในต่างประเทศพบได้ที่ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรกคือ ปัตตาเวีย (ปัจจุบัน คือ จาการ์ตา) บนเกาะชวา ในอินโดนีเซีย ไม่มีการเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาดัก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดาบเงินใหญ่

ปลาดาบเงินใหญ่ (Atlantic cutlassfish, Australian hairtail, Largehead hairtail, タチウオ) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาดาบเงิน (Trichiuridae) เป็นปลาที่มีลำตัวแบนเรียวยาว มีลักษณะคล้ายแถบริบบิ้น ไม่มีเกล็ด ปากล่างยื่นย่าวล้ำปากบน หางเรียวยาวปลายแหลม แผ่นปิดเหงือกมีปลายเป็นมุมแหลม ๆ อยู่แนวเดียวกับครีบอก ไม่มีครีบท้องและครีบหาง มีฟันแหลมคมเป็นเขี้ยวยาวโค้งออกมานอกปาก มีขนาดความยาวได้ถึง 2 เมตร น้ำหนักเต็มที่ได้ถึง 5 กิโลกรัม แต่ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไปประมาณ 40-50 เซนติเมตร มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 15 ปี แพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในหลายพื้นที่ของโลก ในอ่าวไทยอยู่รวมกันเป็นฝูงตามชายฝั่งทะเลน้ำตื้นและปากแม่น้ำ กินอาหาร โดยไล่ล่าปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เป็นปลาที่นำมาแปรรูป เช่น ทำลูกชิ้น, ทำปลาเค็มและปลาแห้งเป็นอาหาร ในอาหารญี่ปุ่น ปลาดาบเงินใหญ่ยังนิยมนำมาทำซาชิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาดาบเงินใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตูหนายุโรป

ปลาตูหนายุโรป หรือ ปลาไหลยุโรป (European eel, Common eel) ปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตูหนา (Anguillidae) มีรูปร่างเหมือนปลาตูหนาชนิดอื่น ๆ ทั่วไป โดยที่ปลาตูหนายุโรปมีข้อกระดูกสันหลังประมาณ 114 ข้อ เมื่อโตเต็มที่แล้วมีความยาวได้มากกว่า 1 เมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยจะอยู่ที่ 60-80 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ตามแถบชายฝั่งแม่น้ำในทวีปยุโรปและใกล้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยที่ปลาพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์จะว่ายน้ำไปวางไข่ในทะเลลึก โดยจะใช้เวลานานถึง 1-2 เดือน ลูกปลาเมื่อฟักเป็นตัวอ่อน จะมีลักษณะใส โปร่งแสง เหมือนวุ้นเส้น เมื่อปลาวางไข่แล้วจะตาย ขณะที่ลูกปลาขนาดเล็กจะเดินทางกลับสู่แม่น้ำทางทวีปยุโรป โดยลอยไปตามกระแสน้ำอุ่นกัลฟ์สตรีม และถูกกินระหว่างทางเป็นจำนวนมาก ตัวอ่อนใช้เวลาถึง 2 ปี ในการเดินทางถึงมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง จนกระทั่งถึงปลายปีที่ 3 จึงถึงชายฝั่งแม่น้ำในทวีปยุโรป โดยจะใช้เวลา 8-15 ปี ในการเจริญเติบโต จนเป็นตัวเต็มวัย ก่อนที่จะหวนกลับไปวางไข่ในทะเลตามวงจรชีวิต จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างหนึ่งชนิดหนึ่ง ของทวีปยุโรป โดยใช้บริโภคกันมาอย่างยาวนาน สามารถปรุงได้หลายวิธีและจัดเป็นอาหารราคาแพง จนกระทั่งในกลางปี ค.ศ. 2009 รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ได้ออกกฎหมายห้ามล่าปลาตูหนายุโรปเพื่อการค้าระหว่างเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน เพราะเกรงว่าจะสูญพันธุ์ ทั้งนี้มีจำนวนประชากรปลาตูหนายุโรปลดลงกว่าร้อยละ 95 ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา คาดว่าเกิดจากการจับในปริมาณที่มากเกิน รวมถึงมลภาวะน้ำเป็นพิษจากการปล่อยสารเคมีลงในแม่น้ำและการติดเชื้อร้ายแรง ผู้ใดละเมิดจะถูกปรับเป็นเงิน 3,000 ยูโร (เกือบ 150,000 บาท) และจะขยายเป็นตลอด 3 เดือนในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ส่งผลกระทบชาวประมงที่ยึดอาชีพจับปลา ทางรัฐบาลจะจ่ายค่าชดเชยจำนวนทั้งสิ้น 700,000 ยูโร (ราว 23.8 ล้านบาท) จากการคำนวณของกลุ่มชาวประมงที่คาดว่าจะขาดรายได้เดือนละ 1,000 ยูโร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาตูหนายุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามกรีนแลนด์

ปลาฉลามกรีนแลนด์ (Greenland shark, Gray shark, Ground shark, Gurry shark) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง จำพวกปลาฉลาม ในวงศ์ปลาฉลามสลีปเปอร์ (Somniosidae) ปลาฉลามกรีนแลนด์ เป็นปลาฉลามกินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่ง นับว่ารองมาจากปลาฉลามขาว เพราะอาจยาวได้ถึง 24 ฟุต และมีน้ำหนักได้ถึง 2,500 ปอนด์ แต่ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไปยาว 2.44–4.8 เมตร (8.0–16 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 400 กิโลกรัม (880 ปอนด์) ปลาฉลามกรีนแลนด์มีผิวหนังที่หนาหยาบเหมือนกระดาษทรายสีเทาเข้มเกือบดำ ครีบหลังเป็นเพียงโหนกสั้น ๆ ไม่เหมือนกับปลาฉลามทั่วไป มีขากรรไกรกว้าง มีฟันที่แหลมคมเรียงกันเป็นแถว บนขากรรไกรบน 48–52 ซี่ ในขณะที่ขากรรไกรล่างมีประมาณ 50–52 ซี่ ใช้สำหรับจับอาหารให้แน่นและงับเหยื่อ รวมทั้งสะบัดให้ขาด ลักษณะกรามและฟันของปลาฉลามกรีนแลนด์ ปลาฉลามกรีนแลนด์ พบกระจายพันธุ์อยู่ในแถบน้ำที่หนาวเย็นมีอุณหภูมิเพียง 10 ถึง -6 องศาเซลเซียส ในแถบอาร์กติก เช่น กรีนแลนด์, ไอซ์แลนด์ หรือนอร์เวย์ นับว่าเป็นปลาฉลามที่อาศัยอยู่ในซีกโลกตอนเหนือที่สุด นอกจากนี้แล้วยังอาศัยอยู่ในความลึกกว่า 2,000 ฟุตจากผิวน้ำ ดังนั้น วงจรชีวิตของปลาฉลามกรีนแลนด์จึงยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก เชื่อว่ากินปลาและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ตามพื้นทะเลเป็นอาหาร รวมถึงซากสัตว์ขนาดใหญ่ที่ตายลงน้ำด้วย เช่น หมีขั้วโลก, ม้า หรือ กวางแคริบู เนื่องจากมีการผ่าพบซากสัตว์เหล่านี้ในกระเพาะอาหาร และเชื่อว่าด้วยขนาดและรูปร่าง กอรปกับถิ่นที่อยู่อาศัยจึงเป็นต้นเหตุของความเชื่อเรื่องสัตว์ประหลาดขนาดใหญ่ในแม่น้ำหรือมหาสมุทรในแถบซีกโลกทางเหนือ เช่น สัตว์ประหลาดล็อกเนสส์ เนื้อปลาฉลามกรีนแลนด์แขวนตาก หรือฮัลกาติ ที่ไอซ์แลนด์ แม้จะยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก แต่ทว่าชาวไวกิ้งหรือชาวไอซ์แลนด์ได้รับประทานเนื้อของปลาฉลามกรีนแลนด์มานานนับเป็นพันปีแล้ว โดยมีชื่อเรียกในภาษาอินุอิตว่า "Eqalussuaq" โดยมีการทำการประมงจนเป็นอุตสาหกรรม โดยเรือประมงที่ใช้เอ็นเบ็ดน้ำลึกยาวถึง 1 ไมล์ หรือ 1 ไมล์ครึ่ง และมีระยะเวลาการออกเรือเป็นช่วงเวลา ซึ่งอาจทิ้งเวลานานถึงหลายสัปดาห์หรือหลายเดือน เนื้อของปลาฉลามกรีนแลนด์เมื่อรับประทานสด ๆ จะมีสภาพเป็นพิษ ต้องผ่านกระบวนการถนอมอาหาร เช่น หมัก และ ตากแห้ง เรียกในภาษาไอซ์แลนด์ว่า ฮัลกาติ (Hákarl) เป็นระยะเวลานานก่อนจึงจะสามารถรับประทานได้ เนื้อเมื่อหั่นมาแล้วจะมีสีขาวบาง กระนั้นก็ยังคงมีกลิ่นฉุนคล้ายกลิ่นปัสสาวะอยู่ดี เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วก็ยังคงมีกลิ่นติดอยู่ในปากไปอีกนาน Legend of Loch Ness, "River Monsters".

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาฉลามกรีนแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามขาว

ปลาฉลามขาว (Great white shark) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง มีขนาดตัวที่ค่อนข้างใหญ่ พบได้ตามเขตชายฝั่งแถบทะเลใหญ่ มีความยาวประมาณ 6 เมตร น้ำหนักประมาณ 2250 กิโลกรัม ทำให้ปลาฉลามขาวเป็นปลากินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก รวมถึงเป็นสัตว์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชี่ส์เดียวในสกุล Carcharodon ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์อยู่ในปัจจุบัน โดยเป็นปลาที่ถือกำเนิดมาแล้วนานกว่า 16 ล้านปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาฉลามขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซักเกอร์ธรรมดา

ปลาซักเกอร์ธรรมดา หรือ ปลาเทศบาล (common sucker, common pleco; ชื่อวิทยาศาสตร์: Hypostomus plecostomus) เป็นปลาชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาซักเกอร์ (Loricariidae) เป็นปลาตู้ชนิดหนึ่งที่รู้จักคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี มีส่วนหัวโต ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่างมีขนาดใหญ่และมีกล้ามเนื้อแข็งแรงสามารถใช้ดูดเกาะติดเป็นสุญญากาศกับตู้กระจกหรือวัสดุต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี มีลำตัวสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวสากและหยาบกร้านมาก หนังมีลักษณะแข็งจนดูเหมือนเกราะ มีลวดลายสีเขียวตามครีบหลังและครีบหาง ตัวผู้มีเงี่ยงแหลมบริเวณครีบอกและข้างหัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 2 ฟุต มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางจนถึงอเมริกาใต้ ปลาซักเกอร์ธรรมดาถูกนำไปยังประเทศต่าง ๆ ที่มิใช่ถิ่นกำเนิดในฐานะเป็นปลาสวยงามที่ใช้ทำความสะอาดเศษอาหารหรือคราบตะไคร่ภายในตู้ ซึ่งในบางครั้งพฤติกรรมของปลาซักเกอร์ธรรมดา ถ้าหากอาหารไม่เพียงพอก็จะก้าวร้าวไล่ดูดเมือกของปลาอื่น จนถึงแก่ความตายก็มี และเนื่องจากเป็นปลาที่มีความสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี แม้ในภาวะที่เป็นพิษ หรือแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนละลายในน้ำต่ำกว่ามาตรฐานปกติที่ปลาทั่วไปจะอาศัยอยู่ได้ จึงทำให้กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมในหลายประเทศ ในแม่น้ำแซนแอนโทนีโอ ในรัฐเท็กซัส ของสหรัฐอเมริกา พบได้เพิ่มปริมาณขึ้นเป็นจำนวนมากจนไปกินและทำลายไข่ของปลาเซนทรัลสโตนโรลเลอร์ (Campostoma anomalum) ซึ่งเป็นปลาพื้นเมือง ในส่วนประเทศไทย ขณะนี้กรมประมงได้มีประกาศให้กลายเป็นปลาต้องห้ามสำหรับเลี้ยงและจำหน่ายแล้ว โดยรณรงค์ให้นำไปปรุงเป็นอาหารแทนถ้าหากเจอ แต่ในปัจจุบันได้มีผู้นำไปหลอกขายเป็นปลาปล่อย โดยเรียกว่า "ปลาราหู" สำหรับชื่ออื่น ๆ ที่เรียกกันในภาษาไทย เช่น "ปลากดเกราะ", "ปลากดควาย" หรือ "ปลาดูด" เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาซักเกอร์ธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าฟาฮากา

ปลาปักเป้าฟาฮากา (Fahaka pufferfish, the Nile puffer, Globe fish, Lineatus puffer; อาหรับ: فهقة) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่งที่อาศัยในน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon lineatus อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) เป็นปลาปักเป้าที่มีรูปร่างอ้วนกลม ลำตัวยาว มีจุดเด่นคือ พื้นลำตัวสีเขียวเหลือบเหลืองมีลายพาดสีน้ำตาลขวางอยู่ตลอดทั้งลำตัว ซึ่งสีเหล่านี้สามารถปรับเปลี่ยนไปตามอารมณ์ปลาและสภาพแวดล้อม ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาปักเป้าที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจาก ปลาปักเป้าเอ็มบู (T. mbu) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกาทางตอนเหนือและตะวันตก แต่ทว่าลักษณะนิสัยนั้นต่างจากปลาปักเป้าเอ็มบู เพราะว่ามีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวกว่ามาก ในลูกปลานิสัยจะยังไม่ก้าวร้าวเท่าปลาโต แต่จะค่อย ๆ เพิ่มความก้าวร้าวขึ้นตามอายุ ดังนั้น การเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปลาปักเป้าฟาฮากาจะไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาอื่น ๆ ได้เลย แม้จะเป็นปลาชนิดเดียวกันก็ตาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาปักเป้าฟาฮากา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหนามทุเรียน

ปลาปักเป้าหนามทุเรียน (Porcupinefishes, Balloonfishes) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ในวงศ์ปลาปักเป้าฟัน 2 ซี่ (Diodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Diodon (/ได-โอ-ดอน/) ปลาปักเป้าหนามทุเรียนนั้น มีรูปร่างคล้ายปลาปักเป้าทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวยาว หนังหยาบหนา และมีหนามแข็งชี้ไปข้างท้ายลำตัวตลอดทั้งตัว ซึ่งหนามนี้จะตั้งแข็งตรงเมื่อพองตัวกลมคล้ายลูกบอล เพื่อใช้ในการป้องตัวตัวเองจากนักล่าขนาดใหญ่กว่าในธรรมชาติ เช่น ปลาฉลาม ครีบหางเป็นทรงกลม มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร มีลักษณะเด่น คือ มีฟันที่แหลมคมจำนวน 2 ซี่ภายในช่องปากใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ เป็นอาหาร เช่น กุ้ง, ปู, หอยฝาเดี่ยว หรือหอยสองฝา เป็นต้น ปลาปักเป้าหนามทุเรียนมีลักษณะแตกต่างไปจากปลาปักเป้าสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน คือ ลักษณะของหนามบนลำตัว มีทั้งหมด 5 ชนิด (ดูในเนื้อหา) กระจายพันธุ์ไปในทะเลและมหาสมุทรต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามตามบ้านหรือในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ และนิยมนำมาสตัฟฟ์เป็นเครื่องประดับโดยเฉพาะเมื่อยามพองตัว แต่ถือเป็นปลาที่มีอันตราย หากได้รับประทานเข้าไป เนื่องจากมีสารพิษชนิด เตโตรโดท็อกซิน และซิกัวเตราอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาปักเป้าหนามทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาว

ปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาว หรือ ปลาปักเป้าสามแถบ (long-spine porcupinefish, spiny balloonfish, freckled ballonfish) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟัน 2 ซี่ (Diodontidae) มีตัวค่อนข้างกลมและแบนทางด้านบนเล็กน้อย หัวขนาดใหญ่เรียวเล็กลงไปทางหาง ตากลมโตกลอกไปมาได้และมีหนังตายื่นลงมาเป็นติ่ง ปากหนามีฟันเชื่อมต่อกัน ครีบหูมีขนาดใหญ่คลี่ออกคล้ายพัด ครีบหลังมีอันเดียวอยู่เยื้องไปทางหาง ไม่มีครีบท้อง ครีบทวารอยู่ตรงกับครีบหลัง ครีบหางโค้งกลม ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร ผิวลำตัวเป็นหนังย่นและมีหนามแข็งพับลู่ไปทางหาง ซึ่งเมื่ออยู่ในยามปกติก็เห็นได้ชัดเจน แต่จะตั้งขึ้นเมื่อตกใจหรือถูกรบกวนและพองตัวได้ พื้นลำตัวมีสีน้ำตาลเขียว มีลายจุดสีดำเป็นปื้นตามลำตัวและบนหลัง ซึ่งเมื่อปลาโตขึ้นจุดเหล่านี้จะค่อย ๆ จางไป จัดเป็นปลาปักเป้าที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในแนวปะการังเขตร้อนและเขตอบอุ่น ตั้งแต่ฟลอริดา, บาฮามาส, บราซิล, หมู่เกาะกาลาปากอส, เกาะอีสเตอร์ รอบ ๆ แอฟริกาใต้, เรอูนียง, ทะเลแดง, มาดากัสการ์, มอริเชียส, หมู่เกาะฮาวาย, อ่าวเบงกอล, อินโด-แปซิฟิก, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, อ่าวตังเกี๋ย, ทะเลเหลือง, ทะเลจีนใต้, ทะเลจีนตะวันออก พบไปจนถึงทะเลญี่ปุ่น, ทะเลฟิลิปปิน และเกรตแบร์ริเออร์รีฟ เป็นปลาที่ไม่ใช้เนื้อในการบริโภค แต่นิยมทำมาเป็นเครื่องประดับ โดยนำมาสตัฟฟ์เมื่อเวลาที่พองตัวออก และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแสงอาทิตย์

ำหรับปลาแสงอาทิตย์ที่เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ดูที่: ปลาซันฟิช ปลาแสงอาทิตย์ หรือ ปลาโมลา โมลา (Ocean sunfish, Pacific sunfish, Sunfish, Mola mola) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ (Molidae) ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนแอตแลนติก

ปลาแซลมอนแอตแลนติก หรือ ปลาแอตแลนติกแซลมอน (Atlantic salmon) เป็นปลาน้ำกร่อยในวงศ์ปลาแซลมอน (Salmonidae) พบในมหาสมุทรแอตแลนติกและสาขาแม่น้ำที่เชื่อมต่อกับมหาสมุทรดังกล่าว พบในตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือด้วยเนื่องจากมนุษย์นำเข้าไป ปลาแซลมอนแอตแลนติกเป็นปลาขนาดใหญ่ ลำตัวรูปรูปกระสวย ยาว 71 - 76 เซนติเมตร หนัก 3.6 - 5.4 กิโลกรัม เมื่อยังเล็กขณะที่อาศัยในน้ำจืดลูกปลาจะมีจุดสีแดงและฟ้า มีโตเต็มที่จะมีสีเงินออกฟ้าเป็นประกาย มีจุดสีดำเหนือเส้นข้างลำตัว ครีบหางไม่มีจุด เมื่อสืบพันธุ์ตัวผู้มีสีออกเขียวหรือแดง ปลาแซลมอนแอตแลนติก ในประเทศอังกฤษจะไม่กินอาหารเลยตั้งแต่ฤดูใบไม้ผลิ และจะว่ายทวนกระแสน้ำกลับมาผสมพันธุ์และวางไข่ในแหล่งน้ำจืดในช่วงฤดูใบไม้ร่วงของอังกฤษ (ราวเดือนพฤศจิกายน) ซึ่งเป็นฤดูที่มีน้ำหลากจากปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาก่อนหน้านั้น โดยตัวผู้จะเป็นฝ่ายขุดหลุมและปล่อยน้ำเชื้อ ขณะที่ตัวเมียวางไข่ ในปริมาณนับเป็นหมื่นฟอง เมื่อเสร็จสิ้นจากการวางไข่ ปลาตัวผู้จะผอมลงและตายลงไปในที่สุดและจะกลายเป็นอินทรีวัตถุในก้นแม่น้ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาแซลมอนแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบโพจุด

ปลาใบโพจุด (หรือสะกด ปลาใบโพธิ์จุด) (Spotted sicklefish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาใบโพ (Drepaneidae) มีลำตัวป้อมสั้นเกือบกลม ด้านข้างแบน ดูคล้ายใบโพ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก สันหลังโค้งนูน หัวค่อนข้างใหญ่ จะงอยปากสั้น นัยน์ตาโต บริเวณระหว่างตาโค้งนูนออกมา ปากเล็กและยืดหดได้ มีฟันเล็กและแหลมคมบนขากรรไกรบนและล่าง ลำตัวด้านบนสีขาวปนเทาและมีจุดเล็ก ๆ สีส้มเรียงเป็นแถวขวางลำตัวจำนวน 4-11 แถว ปลาวัยอ่อนจะมีแถบสีดำในบริเวณที่เป็นจุดสีส้ม มีความยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 40 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำที่เป็นกรวดทรายใกล้แนวปะการังและแหล่งน้ำกร่อย กินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงออสเตรเลียตอนเหนือ ในประเทศไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน จัดเป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาใบโพจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโอแถบ

ปลาโอแถบ หรือ ปลาทูน่าท้องแถบ (Skipjack tuna, Arctic bonito, Striped tuna, Victor fish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอหรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Katsuwonus มีรูปร่างกลมและยาวเพรียวแบบรูปกระสวย ปากกว้าง นัยน์ตาขนาดปานกลาง ครีบหลังอันที่สองมีขนาดเล็กและไม่สูงครีบหูมีขนาดเล็ก ปลายแหลมเรียว ครีบท้องเล็ก ครีบก้นมีจุดเริ่มต้นอยู่ประมาณกลางครีบหลังอันที่สอง มีเกล็ดเฉพาะบริเวณใต้ครีบหลังอันแรกและบริเวณเส้นข้างลำตัวมีแถบสีดำ ประมาณ 4-6 แถบ อยู่ใต้เส้นข้างตัว แลดูเด่นเป็นลักษณะเฉพาะ เป็นปลาที่มีพฤติกรรมรวมฝูงขนาดใหญ่เป็นพันหรือหมื่นตัวกันหากินตามผิวน้ำ และชอบกระโดดพร้อมกันทีเดียว มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 40-80 เซนติเมตร โตเต็มที่ได้ถึง 110 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีการกระจายพันธุ์กว้างขวางมาก ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ในน่านน้ำไทยจะพบชุกชุมที่ทะเลอันดามันแถบจังหวัดระนอง, พังงา, ภูเก็ตถึงสตูล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาโอแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรี

ำหรับโนรีที่หมายถึงนก ดูที่: นกโนรี สำหรับโนรีที่หมายถึงนักมวย ดูที่: โนรี จ๊อกกี้ยิม ปลาโนรี (Bannerfishes, Pennanfishes) เป็นสกุลของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Heniochus อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวสั้นแต่กว้างมาก หัวแหลม ปากเล็กอยู่ที่ปลายสุดจะงอยปาก ครีบหลังที่มีก้านแข็งราว 11-12 อัน ก้านครีบหลังอันที่ 4 ตอนแรกยื่นยาวเป็นเส้นยาวมากดูโดดเด่น ตัวมีสีสันสดสวยหัวและลำตัวมีพื้นสีขาวเงิน มีแถบสีดำเข้มพาดขวางราว 3 แถบ มีทั้งหมด 8 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาโนรี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีครีบยาว

ปลาโนรีครีบยาว (Pennant coralfish, Longfin bannerfish, Coachman, Black and White Heniochus, Poor mans' moorish idol, Black and White bannerfish, Featherfin bullfish) เป็นปลาทะเลจำพวกปลาโนรีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus acuminatus อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) เป็นปลาที่สังเกตและแยกแยะได้ง่าย เพราะมีครีบหลังยาวออกมาเป็นเส้น ลำตัวเป็นลายสีขาวดำ ครีบและหางมีสีเหลือง ลักษณะคล้ายกับปลาโนรีอีกชนิดหนึ่ง คือ ปลาโนรีเกล็ด (H. diphreutes) แต่ปลาโนรีเกล็ดนั้นมีลำตัวที่ค่อนข้างกลมกว่า มีความยาวเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มักหากินกระจัดกระจายตามลำพังบ้าง เป็นคู่บ้าง หรือบางทีก็พบรวมกันเป็นฝูง ตามกองหินและแนวปะการัง เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย กินอาหารได้ง่าย และมีพฤติกรรมที่ไม่ก้าวร้าว แต่ยังเป็นปลาที่ต้องจับมาจากแหล่งน้ำธรรมชาติในทะเล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาโนรีครีบยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีเทวรูป

ปลาโนรีเทวรูป หรือ ปลาผีเสื้อเทวรูป (Moorish idol) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zanclus cornutus จัดอยู่ในวงศ์ Zanclidae (มาจากภาษากรีกคำว่า zagkios หมายถึง ทแยง) และถือเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ และสกุล Zanclus ปลาโนรีเทวรูป มีลักษณะคล้ายคลึงกับปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มาก โดยเฉพาะกับปลาโนรี (Heniochus spp.) ซึ่งในอดีตเคยถูกจัดให้อยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ปัจจุบันได้มีการแยกออกมา แต่ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นผลมาจากการวิวัฒนาการที่มีมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปลาโนรีเทวรูปมีความใกล้เคียงกับปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) หรือปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มากกว่า มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) และปลาโนรีเกล็ด (H. diphreutes) มาก แต่มีลำตัวทางด้านท้ายเป็นสีเหลืองนวล จะงอยปากแหลมยาวกว่า ครีบหางมีสีดำ และสีครีบหางจะคล้ำและมีรอยคล้ายเขม่าที่บริเวณครีบหลัง ลักษณะเกล็ดแลดูเรียบเป็นมันเงา มีความยาวเต็มที่ประมาณ 22 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยจะได้พบในด้านทะเลอันดามัน ในต่างประเทศ พบได้กว้างขวางมาก ตั้งแต่ มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวแคลิฟอร์เนีย, อเมริกาใต้, ฮาวาย, ทะเลญี่ปุ่น, ไมโครนีเซีย, แอฟริกา หากินอยู่ตามแนวปะการังเช่นเดียวกับปลาผีเสื้อ และสามารถหากินได้ลึกถึงหน้าดินในความลึกถึง 182 เมตร ซ้ำยังมีพฤติกรรมออกหากินในเวลากลางวันเช่นเดียวกัน แต่เป็นปลาที่มักอาศัยอยู่ตามลำพังหรือไม่ก็เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ โดยกินฟองน้ำเป็นอาหารหลัก และสัตว์น้ำทั่วไปขนาดเล็ก ปลาวัยอ่อนมีขนาดค่อนข้างใหญ่ แต่ลำตัวโปร่งใส ใช้ชีวิตคล้ายกับแพลงก์ตอนคือ จะถูกกระแสน้ำพัดพาลอยไปไกลจากถิ่นกำเนิด จึงทำให้การแพร่กระจายพันธุ์เป็นไปอย่างกว้างขวาง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาผีเสื้อหรือปลาโนรี และสามารถเลี้ยงรวมกันได้ ซึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัย ปลาโนรีเทวรูปได้ถูกสร้างเป็นตัวละครตัวหนึ่งในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง Finding Nemo ของวอลต์ ดีสนีย์ ออกฉายในปี ค.ศ. 2003 โดยเป็นหัวหน้าฝูงปลาชื่อ กิลด์ (ให้เสียงพากย์โดย วิลเลม ดาโฟ) ในตู้กระจกภายในคลินิกทันตแพทย์ ปลาโนรีเทวรูป ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก ได้แก่ "ปลาผีเสื้อหนัง" หรือ "ปลาโนรีหนัง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาโนรีเทวรูป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไน

ปลาไน หรือ ปลาคาร์ปธรรมดา (carp, common carp) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyprinus carpio อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาน้ำจืดที่เชื่อว่าเป็นปลาที่มนุษย์เลี้ยงเป็นชนิดแรกของโลกเพื่อเป็นอาหาร โดยเลี้ยงในประเทศจีนเมื่อประมาณ 2,000 ปีมาแล้ว โดยเริ่มพร้อมกับปลาทอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาไน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเขียวพระอินทร์

ำหรับเขียวพระอินทร์อย่างอื่น ดูที่: งูเขียวพระอินทร์ ปลาเขียวพระอินทร์ (Moon wrasse, Cressent wrasse) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) มีลำตัวยาวรี แบนข้าง พื้นลำตัวสีเขียวตลอดทั้งตัว มีริ้วสีน้ำเงินพาดขวางตลอดตัว บริเวณส่วนหัวมีแถบลวดลายสีม่วงแดง ครีบหางใหญ่สีเหลือง ปลายขอบบนและล่างเป็นสีแดง อาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ประมาณ 2-10 ตัว ตามแนวปะการังในแถบอินโด-แปซิฟิก เมื่อขนาดยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีพื้นสีน้ำตาลแดงที่บริเวณกลางครีบหลังและโคนครีบหางมีจุดกลมใหญ่สีดำ มีขนาดโตเต็มที่ 30 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 25 เซนติเมตร หากินสัตว์น้ำขนาดเล็กตามพื้นทะเล รวมทั้งไข่ของปลาชนิดอื่น เป็นปลาที่สามารถเปลี่ยนแปลงสีและเพศได้ใน​ช่วงการเจริญเติบโต​ โดยมากจะมีการเปลี่ยนเพศระหว่างการเจริญเติบโต​จาก​ปลา​เพศเมีย​เป็น​ปลา​เพศ​ผู้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาเขียวพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเฉี่ยวหิน

ปลาเฉี่ยวหิน หรือ ปลาเฉี่ยว หรือ ปลาผีเสื้อเงิน หรือ ปลาโสร่งแขก (Silver moony) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monodactylus argenteus อยู่ในวงศ์ปลาเฉี่ยว (Monodactylidae) มีรูปร่างแบนข้างมาก ลำตัวป้อมสั้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม ครีบหลังและครีบก้นยื่นยาว ผิวลำตัวสีเงินเหลือบเป็นประกายแวววาว เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด ครีบหลังสีเหลืองมีลายคาดสีดำตามขวางผ่านตาและบริเวณขอบแผ่นปิดเหงือก ปากเล็กและเฉียงขึ้นบน หัวเล็ก ดวงตากลมโต สามารถโตได้ถึง 13 นิ้ว แต่โดยทั่วไปจะอยู่ที่ 8 นิ้ว มีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่งในเขตอบอุ่น มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, ซามัว ไปจนถึงนิวแคลิโดเนียจนถึงออสเตรเลีย สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยและน้ำจืดสนิทได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง และความสามารถที่ปรับตัวในน้ำจืดได้ จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกในวงการปลาสวยงามว่า "บอร์เนียว" หรือ "เทวดาบอร์เนียว" เนื่องจากมีรูปร่างคล้ายปลาเทวดา ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง โดยแม่ปลาจะวางไข่ได้ทั้งปี โดยการแบ่งเพศจะไม่สามารถทำได้ จนกว่าจะถึงฤดูผสมพันธุ์ โดยสังเกตคร่าว ๆ ว่า ปลาเพศเมียนั้นจะมีขนาดใหญ่ปลาเพศผู้ และช่องท้องจะอูมกว่า ช่องเพศจะเต่งตึงขณะกำลังตั้งท้อง โดยจะเพาะได้ในบ่อดิน การรวบรวมไข่จะกระทำได้ต่อเมื่อถ่ายน้ำ โดยใช้วัสดุตาข่ายที่มีความละเอียดกรอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปลาเฉี่ยวหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปู

ปู เป็นสัตว์พวกเท้าปล้องชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมอาโทรโพดา ในอันดับฐานบราชีอูรา (Brachyura) มีลักษณะสิบขา มีหลายชนิดที่อยู่ทั้งน้ำจืดและทะเล รวมถึงอยู่แต่เฉพาะบนบก ปูจะมีกระดองซึ่งเป็นแคลเซียมแข็ง มีลักษณะสมมาตร แอบโดเมนพับลงไปอยู่ใต้กระดอง ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของอันดับฐานนี้ มีก้ามใหญ่ 1 คู่ มีขาเดิน 5 คู่ แตกออกเป็นรัศมีไปทางด้านข้างลำตัว หนวดคู่ที่ 2 อยู่ระหว่างตา ส่วนหาง ไม่มีหน้าที่ชัดเจน และไม่มีแพนหาง ปูในแนวปะการังมีหลายกลุ่มหลายรูปร่างโดยสัมพันธ์กับพฤติกรรม ปูหลายชนิดอาศัยตามพื้นทราย จะมีขาว่ายน้ำหรือกรรเชียงคล้ายปูม้า บางชนิดตัวใหญ่ มีกระดองแข็งคล้ายปูทะเล มีขาสั้นและแข็งแรงเพื่อเกาะยึดกับหิน เช่นปูใบ้ก้ามดำ ปูบางชนิดมีรูปร่างแปลกเพื่อพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม บางชนิดมีสีและลักษณะกระดองเหมือนกัลปังหา ปะการังอ่อน หรือดาวขนนก ในจำนวนนี้ยังมีปูที่นำฟองน้ำหรือสาหร่ายมาติดตามตัวเพื่อใช้พรางกาย ปูกลุ่มหนึ่งที่มีวิวัฒนาการมากกว่ากลุ่มอื่นคือ ปูเสฉวนจะเปลี่ยนส่วนท้องให้นิ่มและขดงอเพื่อสามารถเข้าไปอยู่ในเปลือกหอย นำเปลือกหอยติดตัวไปด้วยตลอดเวลา ซึ่งจะจัดอยู่ในอันดับฐานปูปลอม (Anomura) ปัจจุบันปูได้รับการจำแนกไว้แล้วกว่า 6,000 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแถบอินโด-แปซิฟิก ในประเทศไทยพบแล้วรวม 824 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปู · ดูเพิ่มเติม »

ปูม้า

ปูม้า (Flower crab, Blue crab, Blue swimmer crab, Blue manna crab, Sand crab) จัดเป็นปูที่อาศัยอยู่ในทะเลชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Portunus ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่วโลก และพบในน่านน้ำไทยราว 19 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปูม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปูจั๊กจั่น

ปูจักจั่น (อังกฤษ: Red Frog Crab, Spanner Crab, Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ Raninidae ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ไทย จนไปถึงหมู่เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก จัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ranina.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และปูจั๊กจั่น · ดูเพิ่มเติม »

นกชาปีไหน

thumb นกชาปีไหน หรือ นกกะดง (Nicobar pigeon, Nicobar dove) เป็นนกชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbidae) นับเป็นนกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ในสกุล Caloenas ในขณะที่ชนิดอื่น ๆ สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยมีความใกล้ชิดกับนกโดโดที่สูญพันธุ์ไปแล้วด้วย นกชาปีไหน มีขนาดลำตัวเท่า ๆ กับไก่แจ้ มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 40-41 เซนติเมตร มีลำตัวขนาดใหญ่ แต่มีหัวขนาดเล็กและมีเนื้อนูนเป็นตุ่มบริเวณจมูก ขนตามลำตัวเป็นสีเขียวเหลือบเทา ขนหางสีขาว แต่จะมีขนบริเวณคอห้อยยาวออกมาเหมือนสร้อยคอ ซึ่งขนนี้จะยาวขึ้นเมื่อนกมีอายุมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีขาขนาดใหญ่แข็งแรง เพราะเป็นนกที่ชอบเดินหากินตามพื้น นกชาปีไหน แม้จะเป็นนกที่หากินบนพื้นดินเป็นหลัก แต่ก็เป็นนกที่สามารถบินได้ มีรายงานว่าสามารถบินข้ามไปมาระหว่างเกาะต่าง ๆ ได้ เป็นนกที่หากตกใจจะบินหรือกระโดดขึ้นบนต้นไม้ และไม่ค่อยส่งเสียงร้องนัก นานครั้งจึงจะได้ยินเสียงร้องทีหนึ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์เฉพาะหมู่เกาะต่าง ๆ บริเวณทะเลอันดามันและอินโด-แปซิฟิก เช่น หมู่เกาะนิโคบาร์, หมู่เกาะอันดามัน, หมู่เกาะโซโลมอนและปาเลา ในประเทศไทยจัดเป็นนกที่หาได้ยากมากชนิดหนึ่ง โดยจะอาศัยอยู่ในป่าดิบหรือป่าชายหาดของหมู่เกาะสิมิลัน, หมู่เกาะสุรินทร์ หรือหมู่เกาะอ่างทอง รวมถึงอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี เท่านั้น เป็นนกที่ถูกจัดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักรราช 2535 แต่ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วโดยทางการของไทย เมื่อปี พ.ศ. 2538 พบว่านกชาปีไหนสามารถวางไข่ได้ตลอดทั้งปี โดยสร้างรังแบบหยาบ ๆ รูปร่างคล้ายจาน โดยใช้กิ่งไม้และใบไม้แห้งวางไข่ ครั้งละเพียง 1 ฟอง มีขนาด 31.64x45.0 มิลลิเมตร น้ำหนัก 25.05 กรัม พ่อและแม่นกช่วยกันฟักไข่ มีระยะฟัก 25-29 วัน แม่นกสามารถจะวางไข่ชุดใหม่ต่อไปได้หลังจากลูกนกมีอายุได้ประมาณ 40 วัน ลูกนกออกจากไข่ไม่มีขนปกคลุมตัว จัดอยู่ในพวกอัลติเชียล (นกที่บินไม่ได้) พ่อและแม่นกช่วยกันเลี้ยงดูลูกนกจนมีอายุได้ 34-36 วัน ลูกนกจึงจะทิ้งรังและกินอาหารเองได้ ขนชุดแรกขึ้นปกคลุมตัวสมบูรณ์หมด เมื่อลูกนกมีอายุได้ 3 เดือน และเมื่อมีอายุ 7 เดือน มีการผลัดขนปีกชุดแรก และมีขนชุดใหม่งอกขึ้นมาแทนที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกชาปีไหน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกชวา

นกกระจอกชวา (Java sparrow, Java finch) นกเกาะคอนขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกกระติ๊ด (Estrildidae) มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 13-17 เซนติเมตร หัวและหางสีดำ วงรอบตาสีแดง แก้มสีขาว ลำตัวด้านบนเป็นสีเทา ลำตัวด้านล่างตั้งแต่ช่วงกลางท้องลงไปเป็นสีชมพูอ่อน ปากหนาสำหรับขบเมล็ดพืชสีชมพูอมแดง นกตัวผู้และตัวเมียคล้ายกัน เป็นนกที่มีถิ่นกำเนิดในเกาะชวา, เกาะบาหลี และเกาะใกล้เคียงอื่น ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย อาศัยอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงตามทุ่งหญ้า, แหล่งเกษตรกรรม และที่ที่มีผู้คนอยู่อาศัย อาหารหลักได้แก่เมล็ดข้าว, เมล็ดหญ้า, ผลไม้และแมลงเล็ก ๆ ต่าง ๆ โดยจะลงมาหากินตามพื้นดิน มีเสียงร้องว่า "ชิ๊บ" และหากร้องติดต่อกันจะร้องว่า "ชิ๊บ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ" ต่อเนื่องกัน นกกระจอกชวาทำรังช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคมตามโพรงบนต้นไม้, ชายคาบ้าน และรอยแตกตามอาคารต่าง ๆ รังเป็นรูปกลมทำจากรากหญ้า ใบหญ้า ลักษณะค่อนข้างรกรุงรัง วางไข่ครั้งละ 4-6 ฟอง ใช้เวลากกไข่ประมาณ 13-14 วัน นกกระจอกชวา เป็นนกชนิดหนึ่งที่มีความสวยงาม น่ารัก จึงนิยมนำมาเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์จนได้นกที่มีสีสันแตกต่างสวยงามออกไปจากสีที่มีอยู่ในธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในหลายพื้นที่ จากการถูกนำเข้าไป เพราะเป็นนกที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี อาทิ หมู่เกาะแปซิฟิก, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ฮาวาย, เปอร์โตริโกและรัฐฟลอริด้า ในสหรัฐอเมริกา รวมถึงในประเทศไทย โดยนกในประเทศไทยหลุดมาจากการนำเข้าที่สนามบินดอนเมืองราวปี พ.ศ. 2500 นอกจากนี้แล้ว นกกระจอกชวายังได้ชื่อว่าเป็น "นกหมอดู" เนื่องจากมีผู้ที่เลี้ยงไว้เพื่อเสี่ยงทายดวงชะตาตามหลักโหราศาสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกกระจอกชวา · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเต็นน้อยธรรมดา

นกกระเต็นน้อยธรรมดา (Common kingfisher) เป็นนกกระเต็นชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย จัดอยู่ในวงศ์นกกระเต็นน้อย (Alcedinidae) และมีขนาดที่ค่อนข้างเล็กและน่ารัก มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 16–18 เซนติเมตร เมื่อเทียบกับนกกระเต็นชนิดอื่น ๆ แต่จะแตกต่างกันที่ตัวเมียมีโคนปากล่างและอาจทั้งปากล่างเป็นสีส้มแดงขณะที่ตัวผู้มีปากสีดำสนิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกกระเต็นน้อยธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

นกกา

นกกา หรือ อีกา (Crow) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก เป็นนกชนิดหนึ่งอยู่ในสกุล Corvus ในวงศ์นกกา (Corvidae) พบกระจายพันธุ์ทั่วโลก ยกเว้นในทวีปอเมริกาใต้ มีลักษณะเฉพาะตัวคือมีสีขนสีดำสนิทเป็นเงามันเลื่อม อยู่รวมกันเป็นกลุ่มและออกหากินเวลากลางวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งวันที่แดดแรง กาจะหาอาหารโดยการซ่อนตัวในเงาของต้นไม้ สำหรับการจู่โจมเหยื่อ นกกามีลักษณะเหมือนนกอีกประเภทหนึ่งชื่อ นกเรเวน ซึ่งเป็นนกที่มีสีดำเหมือนกัน นอกจากนี้แล้ว นกกายังถือว่าเป็นนกที่มีอายุขัยเฉลี่ยสูงถึง 90 ปี ซึ่งนับว่าสูงกว่าสัตว์ใหญ่อย่างช้างเสียอีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกกา · ดูเพิ่มเติม »

นกกาน้ำใหญ่

นกกาน้ำใหญ่ (Great cormorant, Great black cormorant, Black cormorant, Black shag) เป็นนกในวงศ์นกกาน้ำ (Phalacrocoracidae) กระจายพันธุ์ในโลกเก่าและชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกกาน้ำใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นกกาเหว่า

นกกาเหว่า หรือ นกดุเหว่า (Asian koel) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) พบในเอเชียใต้ จีน เอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศไทย เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นนกปรสิตที่วางไข่ให้กาและนกอื่น ๆ เลี้ยง เป็นนกจำพวกคัคคูที่ไม่เหมือนพันธุ์อื่น ๆ เพราะโดยมากกินผลไม้ (frugivore) เมื่อเติบใหญ่ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ชื่อว่า "กาเหว่า" และชื่ออื่น ๆ อีกหลายภาษารวมทั้งชื่ออังกฤษว่า "koel" เป็นชื่อเลียนเสียงนก เป็นนกที่ใช้เป็นสัญลักษณ์อย่างมากมายในวรรณกรรมอินเดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกกาเหว่า · ดูเพิ่มเติม »

นกยูง

นกยูง (Peacock, Peafowl) เป็นสัตว์ปีกจำพวกไก่ฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ มีจุดเด่นคือ เพศผู้มีขนหางยาวที่มีสีสันสวยงาม ที่เมื่อแผ่ขยายออกเพื่ออวดเพศเมียจะมีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง ที่เรียกว่า "รำแพน" นกยูงใช้ชื่อสกุลว่า Pavo ชอบอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบผสมตามริมลำธารในป่า มีพฤติกรรมมักร้องตอนเช้าหรือพลบค่ำ กินอาหารจำพวกเมล็ดพืช แมลง และสัตว์เล็ก ๆ มีการกระจายพันธุ์อยู่ทางเหนือของประเทศอินเดียไปทางทิศตะวันออกผ่านพม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซียและชวา นกยูงแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ นกยูงไทยตัวผู้ขณะรำแพน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกยูง · ดูเพิ่มเติม »

นกสาลิกาปากดำ

นกสาลิกาปากดำ (Eurasian magpie, European magpie, Common magpie) เป็นนกสีขาวดำในวงศ์นกกา (Corvidae) พบในซีกโลกเหนือ พบทั่วไปในทวีปยุโรป บางส่วนของทวีปเอเชีย และทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ในยุโรป โดยที่ชื่อ "Magpie" นั้นหมายถึงนกสาลิกาปากดำ เนื่องจากเป็นนกสาลิกา หรือ นกแม็กพายเพียงชนิดเดียวในยุโรปที่อยู่นอกคาบสมุทรไอบีเรีย นกสาลิกาปากดำเป็นหนึ่งในนกที่ฉลาดที่สุด และเป็นที่เชื่อกันว่าเป็นหนึ่งในที่สุดของสัตว์อัจฉริยะทั้งหมดและเป็นนกที่ชอบสะสมข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่แปลก ๆ หลายอย่างเป็นของใช้ของมนุษย์ ซึ่งมิได้มีความจำเป็นสำหรับนกเลย เช่น ลูกกอล์ฟ ในประเทศไทยถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทนก นอกจากนี้แล้วนกชนิดนี้ ยังถือเป็นฉายาของนิวคาสเซิล ยูไนเต็ด ทีมฟุตบอลในเอฟเอ พรีเมียร์ลีก เนื่องจากมีสีขนขาว-ดำ เช่นเดียวกับสีประจำทีม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกสาลิกาปากดำ · ดูเพิ่มเติม »

นกอีเสือสีน้ำตาล

นกอีเสือสีน้ำตาล (Brown shrike; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lanius cristatus) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Laniidae จัดเป็นนกอพยพย้ายถิ่นอาศัยเข้ามาหากินในประเทศไทย พบได้บ่อยในช่วงปลายฤดูร้อนและปลายฤดูฝน ซึ่งนกอีเสื้อสีน้ำตาลมีถิ่นการกระจายพันธุ์กว้างขวาง โดยพบได้ตั้งแต่เอเชียเหนือจรดยุโรป, เอเชียกลาง, เอเชียตะวันออก, เอเชียใต้ และยังพบได้ที่อเมริกาเหนือ จึงมีชนิดย่อยด้วยกันทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกอีเสือสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

นกขุนทอง

แสดงให้เห็นถึงหัวของนกขุนทองชนิดย่อยต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันที่เหนียง นกขุนทอง หรือ นกเอี้ยงคำ (คำเมือง) เป็นนกในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วไปในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีความสามารถเลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกแก้ว จึงนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกันสูง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกขุนทอง · ดูเพิ่มเติม »

นกคอพัน

นกคอพัน (Eurasian wryneck, Spotted woodpecker) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกหัวขวาน (Picidae) มีรูปร่างเพรียว คอสั้น ปากสั้นและแบนข้างมาก สั้นปากบนโค้งลงมาเล็กน้อย ปลายปากแหลมคล้ายรูปกรวย รูจมูกค่อนข้างใหญ่อยู่เกลือบชิดสันปากบน ไม่มีขนใด ๆ แต่มีเยื่อปกคลุม ปีกมีลักษณะมนกลม ด้านบนลำตัวเป็นลายจุดสีดำและน้ำตาล ด้านล่างลำตัวมีลายพาดระหว่าง สีขาวและน้ำตาล ดูระยะไกลจะเห็นเป็นสีน้ำตาลแกมเทากลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม แต่นกคอพันไม่สามารถไต่ต้นไม้ในลักษณะแนวตั้งเหมือนนกหัวขวานทั่วไปได้ เพราะขนหางอ่อนนุ่มไม่สามารถค้ำยันตัวได้ โดยจะเกาะกิ่งไม้เหมือนนกเกาะคอน อีกทั้งยังไม่สามารถใช้จะงอยปากเจาะลำต้นของต้นไม้เพื่อหาแมลงกินได้อีกด้วย แต่นกคอพันก็มีลิ้นที่ยาวและมีน้ำลายที่เหนียวตวัดกินมดหรือหนอนตามต้นไม้เป็นอาหาร เหมือนนกหัวขวาน มีลำตัวยาวประมาณ 16-18 เซนติเมตร เป็นนกที่อาศัยอยู่เพียงลำพัง หรือเป็นคู่ หากมีนกตัวอื่นหรือฝูงนกอื่นเข้ามาใกล้ จะบินหนี มักจะลงมาหากินตามพื้นดินมากกว่าบนต้นไม้ เนื่องจากกินมด ซึ่งเป็นแมลงอยู่ตามพื้นดินเป็นหลัก ด้วยการกระโดดไปมาบนพื้นแล้วหยุดมองหาตามร่องของพื้นดิน มีเสียงร้อง "ควี่ ๆ ๆ ๆ" ติดต่อกันราว 8-15 คำ ได้ยินกังวาลไปไกล นอกจากนี้แล้วยังสามารถที่บิดคอไปข้าง ๆ ได้เกือบ 180 องศาเหมือนงู จึงได้รับการตั้งชื่อสกุลว่า Jynx ซึ่งหมายถึง เวทมนตร์หรือการทำนายพยากรณ์ล่วงหน้า เหตุที่สามารถเลียนแบบส่วนคอได้เหมือนการเคลื่อนไหวของงู รวมถึงสามารถแลบลิ้นที่สำหรับใช้ตวัดกินแมลงได้เหมือนงูอีกด้วย ก็เพื่อป้องกันตัวเองและลูกวัยอ่อนที่อยู่ในโพรง จากนกตัวอื่นหรือสัตว์นักล่าชนิดอื่น พบกระจายพันธุ์ตามป่าโปร่ง, ชายทุ่ง, พื้นที่เกษตรกรรม ตลอดจนใกล้กับบ้านเรือนของมนุษย์ พบได้ตั้งแต่พื้นที่ราบจนถึงเหนือระดับน้ำทะเล 2,000 เมตร บนภูเขาสูง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปยุโรปจนถึงเอเชียกลางและเอเชียตะวันออก (มีชนิดย่อย 6 ชนิด ดูในตาราง) มีการอพยพหนีหนาวในช่วงฤดูหนาวไปในทวีปแอฟริกาตอนกลาง และประเทศไทย ซึ่งพบได้ทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ โดยไม่พบการวางไข่ขยายพันธุ์ในประเทศไทย และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกคอพัน · ดูเพิ่มเติม »

นกปรอดหัวโขน

นกปรอดหัวโขน หรือ นกปรอดหัวจุก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นกกรงหัวจุก (อังกฤษ: Red-whiskered bulbul; พายัพ: นกปิ๊ดจะลิว) เป็นนกที่อยู่ในวงศ์นกปรอด (Pycnonotidae) ซึ่งอยู่ด้วยกันทั้งหมด 109 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบได้ 36 ชนิด นกปรอดหัวโขนเป็นนกขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร ที่มีสีสันสวยงามและเสียงร้องไพเราะ ที่แก้มและคอจนถึงหน้าอกจะมีสีขาวและมีสีแดงเป็นเส้นอยู่ข้างหูลงมาถึงหน้าอกเหมือนเป็นเส้นแบ่งขนสีขาวกับสีดำที่มีอยู่ทั่วทั้งตัวขนส่วนหัวจะร่วมกัน เป็นเหมือนหน่อตั้งอยู่บนหัวสูงขึ้นไปเหมือนหัวโขน อันเป็นที่มาของชื่อ ใต้ท้องมีขนสีขาว พบกระจายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเอเชียตะวันออก พบได้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ตั้งแต่ยอดเขาสูง ป่าที่ราบต่ำ จนถึงทุ่งหญ้า ชายป่า และเขตที่ใกล้กับชุมนุมมนุษย์ มีชนิดย่อยทั้งหมด 9 ชนิด ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกปรอดหัวโขน · ดูเพิ่มเติม »

นกเกาะคอน

นกเกาะคอน หรือ นกจับคอน (Passerine, Perching bird) เป็นอันดับของนกอันดับหนึ่ง ในกลุ่มนกขากรรไกรแบบใหม่ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Passeriformes (โดยมีที่มาจาก Passer domesticus ซึ่งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของนกกระจอกใหญ่ และนกในสกุล Passer ที่เป็นนกขนาดเล็กที่ใกล้เคียงกัน) นกในอันดับนี้มีลักษณะทั่วไปทางกายภาค คือ เป็นนกที่มีวิวัฒนาการเพื่ออาศัยและหากินบนต้นไม้เป็นหลัก นิ้วตีนมีทั้งหมด 4 นิ้ว ทุกนิ้วเจริญดีและอยู่ในระนาบเดียวกัน จึงเหมาะแก่การจับหรือเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้หรือต้นไม้ในป่าประเภทต่าง ๆ แต่ไม่เหมาะสำหรับการเดินบนพื้นดิน ดังนั้นเมื่อเมื่อลงดินจะได้วิธีก้าวกระโดด โดยมากแล้วจะเป็นนกที่มีลำตัวขนาดเล็ก ปัจจุบัน นักปักษีวิทยาได้แบ่งอันดับนี้เป็นอันดับย่อย 3 อันดับ (ดูในตาราง-บางข้อมูลจัดให้มี 2) โดยพิจารณาจากกล้ามเนื้อควบคุมกล่องเสียงที่อยู่ในลำคอ โดยบางอันดับย่อยจะมีกล้ามเนื้อนี้เพียง 2 คู่ ซึ่งยังเป็นลักษณะของนกในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ทำให้เสียงร้องไม่ไพเราะนัก แต่บางอันดับย่อยมีมากกว่า คือมี 4 คู่ ทำให้มีเสียงร้องที่ไพเราะกว่า นกในอันดับนี้มีมากกว่า 100 วงศ์ (ราว 110 วงศ์) ประมาณ 5,400 ชนิด ทั่วโลก สำหรับในประเทศไทยที่มีการค้นพบนกแล้วราว 1,000 ชนิด แบ่งเป็นนกในอันดับต่าง ๆ 16 อันดับ ใน 70 วงศ์ นกที่อยู่ในอันดับนี้นับว่ามากกว่าครึ่ง ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกเกาะคอน · ดูเพิ่มเติม »

นกเดินดงสีดำ

นกเดินดงสีดำ หรือ นกแบล็กเบิร์ด (Blackbird) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกเดินดง (Turdidae) พบได้ทั่วไปในทวีปยุโรปและเอเชีย มักอาศัยอยู่ในพื้นที่ ๆ ที่เป็นป่าโปร่ง, พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่เปิดโล่งต่าง ๆ ที่ราบถึงความสูง 950 เมตร นกตัวผู้มีขนาดใหญ่ ปากและหนังรอบตาสีเหลือง ขนลำตัวดำทั้งหมด แข้งและตีนเหลือง นกตัวเมียมีปากสีเหลืองหรือเหลืองแกมน้ำตาล ปลายอาจมีสีดำ ขนลำตัวน้ำตาลดำ คอน้ำตาลอ่อนมีลายขีดจาง ๆ มีความยาวลำตัว 23.5 - 29 เซนติเมตร อายุเฉลี่ยของนกเดินดงสีดำคือ 2.4 ปีและนกเดินดงสีดำที่อายุยืนที่สุดที่เคยมีการค้นพบคือ 20 ปี สำหรับในประเทศไทย ถือเป็นนกที่หายากมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกเดินดงสีดำ · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าแมวหิมะ

นกเค้าแมวหิมะ หรือ นกเค้าหิมะ (Snowy owl) นกล่าเหยื่อชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) นกเค้าแมวหิมะจัดเป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดใหญ่ มีลักษณะเด่น คือ ขนตามลำตัวเป็นสีขาวล้วนสะอาด มีหัวกลมสีเหลือง ดวงตากลมโตสีดำ, สีฟ้า หรือสีเหลือง เท้ามีขนมาก ขนตามลำตัวโดดเด่นด้วยสีขาวแต้มด้วยบางส่วนสีดำเป็นแถบแนวนอนหรือลายจุด นกตัวเมียและนกวัยที่ยังไม่โตเต็มที่จะมีจุดดำขึ้นตามลำตัวมากกว่า ในขณะที่ตัวผู้เป็นสีขาวเกือบทั้งหมด และสีขนอาจเปลี่ยนไปตามฤดูกาลเพียงเล็กน้อย ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 51–68.5 เซนติเมตร (20–27 นิ้ว) ในขณะที่ตัวเมียประมาณ 66 เซนติเมตร (26 นิ้ว) ความยาวปีกประมาณ 137–164 เซนติเมตร (54–65 นิ้ว) เมื่อกางออก 137–164 เซนติเมตร (54–65 นิ้ว) น้ำหนักประมาณ 1,134–2,000 กรัม (40–70 ออนซ์) ตัวเมียประมาณ 1,707 กรัม (60 ออนซ์) ตัวผู้ประมาณ 1,612 กรัม (57 ออนซ์) จัดเป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของโลก นกเค้าแมวหิมะ พบกระจายพันธุ์ในแถบซีกโลกทางตอนเหนือ เช่น เขตทุนดราทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือและยุโรปตอนเหนือบริเวณใกล้กับขั้วโลกเหนือ, วงกลมอาร์กติก หรือสแกนดิเนเวีย หากินช่วงกลางวันตั้งแต่เช้าถึงค่ำ มีความแข็งแรงและมั่นคงบินมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว บินสั้น ๆ ใกล้พื้นดิน นกเค้าแมวหิมะมีความก้าวร้าวเมื่อทำรังวางไข่ นกเค้าแมวหิมะทำรังบนพื้นดินที่เป็นทุ่งหญ้าในช่วงฤดูร้อนของเขตอาร์กติก TUNDRA, "Wildest Arctic" สารคดีทางแอนิมอลแพลนเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: จันทร์ที่ 30 ธันวาคม 2556วางไข่ครั้งละ 6–8 หรือ 10 ฟอง โดยไข่ฟองแรกจะฟักเป็นตัวก่อนฟองสุดท้ายประมาณ 2 สัปดาห์ ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันดูแลไข่และลูกนก พ่อแม่นกจะฉีกเหยื่อเป็นชิ้น ๆ ก่อนจะป้อนให้ จนกว่าลูกนกจะโตพอแล้วจึงจะกลืนกินทั้งตัว จนกระทั่งลูกนกอายุได้ 6 สัปดาห์จึงพอจะช่วยเหลือตัวเองได้ นกเค้าแมวหิมะมีพฤติกรรมการเลี้ยงลูกนกต่างจากนกล่าเหยื่อชนิดอื่น ๆ ตรงที่จะดูแลลูกนกตัวที่อ่อนแอที่สุดด้วยโดยไม่ทอดทิ้ง เมื่อลูกนกค่อย ๆ โตขึ้น จะมีขนสีเทาขึ้นปกคลุมลำตัว และพ่อแม่นกจะทิ้งลูกนกให้อยู่ตามลำพังมากขึ้น ลูกนกเค้าแมวหิมะจะเริ่มหัดบินก่อนที่จะเข้าสู่ฤดูหนาว มีพฤติกรรมในการล่าเหยื่อด้วยการเฝ้ารอ หรือกระทั่งติดตามเหยื่อ ส่วนใหญ่มักล่าเหยื่อในเวลากลางวัน เหยื่อมีทั้งถูกจับบนพื้นและในอากาศ เหยื่อขนาดเล็กจะถูกกลืนทั้งหมด เหยื่อขนาดใหญ่จะถูกฉีกเป็นชิ้นใหญ่ กินอาหารจำพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือสัตว์เลือดอุ่นขนาดเล็ก เช่น นก, หนูเลมมิ่ง, กระรอก, กระต่าย, เป็ด, ห่าน หรือแม้กระทั่งลูกของหมาป่าหรือหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก แต่จะไม่ล่าใกล้รังของนกชนิดอื่น แต่ขณะเดียวกันไข่นกหรือลูกนกก็ถูกรังควาญจากหมาป่าหรือหมาจิ้งจอกด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนกเค้าแมวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

นากทะเล

ำหรับนากทะเลที่อยู่ในสกุล Lontra ดูที่: นากทะเลอเมริกาใต้ นากทะเล (Sea otters) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล ประเภทหนึ่งโดยอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในวัยเจริญพันธุ์จะมีน้ำหนักประมาณ 14–45 กิโลกรัม (31–99 ปอนด์) นากทะเลเป็นสัตว์ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ชนิดหนึ่ง และเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดอีกด้วย นากทะเลนั้นไม่เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลทั่วไปเพราะมีฉนวนกันความร้อนด้วยขนที่หนาแน่น จึงทำให้นากทะเลสามารถหาอาหารในทะเลเป็นเวลานาน ๆ ได้ นากทะเลจะอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่ง โดยจะดำดิ่งสู่พื้นทะเลเพื่อหาอาหาร อาหารที่ชอบคือ สาหร่ายทะเล (ถ้าเป็นสาหร่ายเคลท์จะชอบมาก) เม่นทะเล หอยต่าง ๆ กุ้งบางชนิด และปลาบางชนิด นอกจากนี้นากทะเลยังเป็นสัตว์ที่สามารถวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้อีกด้วย ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าพฤติกรรมการกินอาหารของนากทะเลที่ใช้หินทุบเปลือกหอยบนหน้าอกตัวเองนั้นเป็นพฤติกรรมที่มีมานานเป็นระยะเวลานับหลายล้านปี ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นพฤติกรรมการกินอาหารที่พัฒนาขึ้นมาจากการกินหรือหาอาหารทั่วไปของสัตว์โลก และเป็นสัตว์ทะเลชนิดแรกที่มีพัฒนาการเช่นนี้ โดยการสังเกตพฤติกรรมแม้แต่ลูกนากทะเลกำพร้าในสถานที่เลี้ยงก็ยังพบว่ามีพฤติกรรมเช่นนี้ ในอดีตจำนวนากทะเลอยูที่ประมาณ 1,000–2,000 ตัวเท่านั้นเพราะถูกล่าอย่างหนักในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนากทะเล · ดูเพิ่มเติม »

นากใหญ่ธรรมดา

นากใหญ่ธรรมดา หรือ นากยุโรป (Common otter, European otter) เป็นนากชนิดที่สามารถพบได้กว้างขวางมาก มีลำตัวยาว ขนหนาและหยาบเพื่อป้องกันมิให้น้ำซึมเข้ามา ทำให้ว่ายน้ำได้คล่องแคล่ว และป้องกันอากาศเย็นได้เป็นอย่างดี สีขนตามลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อน ในบางครั้งอาจเปลี่ยนหรือเห็นเป็นสีเทา บริเวณท้องมีสีขนที่อ่อนกว่า หัวแบนและกว้าง หูกลม หางเรียวยาว ขนสั้น นิ้วเท้ามีพังผืดยึดติดกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และนากใหญ่ธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กบัก

thumb thumb แบล็กบัก หรือ แอนทิโลปอินเดีย (Blackbuck, Indian antelope) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคู่จำพวกแอนทิโลปชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Antilope จึงจัดเป็นแอนทิโลปแท้ แบล็กบัก มีลักษณะคล้ายกับแอนทิโลปหรือกาเซลล์ที่พบในทวีปแอฟริกา แต่แบล็กบักเป็นสัตว์ที่พบได้ในทวีปเอเชีย แบล็กบักตัวผู้มีเขาคู่หนึ่งที่ยาว 35–75 เซนติเมตร เขามีความสวยงามตรงที่บิดเป็นเกลียวและปลายแหลม ดูน่าเกรงขาม ด้วยความยาวของเขานั้นแม้จะนอนหรือซ่อนอยู่ในพงหญ้าบางครั้งก็ยังเห็นโผล่มาชัดเจน มีความสูงประมาณ 74–84 เซนติเมตร ตัวผู้มีน้ำหนักระหว่าง 20–57 กิโลกรัม ตัวเมียมีน้ำหนักเฉลี่ย 27 กิโลกรัม เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมาก สามารถวิ่งได้เร็วถึง 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง ชอบกินหญ้าโดยเฉพาะหญ้าสั้นเป็นอาหาร แต่บางครั้งก็อาจกินใบไม้ได้ด้วย มักอาศัยในป่าละเมาะที่ใกล้กับแหล่งน้ำ เพราะต้องใช้น้ำในการดื่มกิน ตัวผู้จะป้องกันอาณาเขตของฝูงตัวเองและแย่งชิงตัวเมีย คือ การใช้เขาทั้งสองข้างนั้นขวิดสู้กัน ซึ่งพฤติกรรมนี้พบได้ตลอดทั้งปี ด้วยความสวยงามของเขา จึงทำให้ถูกล่าเพื่อเอาเขา รวมถึงแหล่งที่อยู่อาศัยถูกคุกคามด้วยจากการรุกรานเพื่อต้องการพื้นที่ทำการเกษตรและปศุสัตว์ ทำให้แบล็กบักที่เคยมีอยู่ทั่วไปในอินเดียสมัยก่อน และพบได้จนถึงอิสราเอลในตะวันออกกลาง ปัจจุบันเหลือเพียงแค่ในป่าอนุรักษ์หรืออุทยานแห่งชาติของอินเดีย เช่น อุทยานแห่งชาติเวลาวาดาร์ ในรัฐคุชราต ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย ซึ่งมีสภาพพื้นที่เป็นทุ่งสะวันนากว้างโล่งเหมือนทวีปแอฟริกา เป็นต้น และได้สูญพันธุ์ไปแล้วที่บังกลาเทศ แบล็กบักตัวผู้ในภาพย้อนแสง เห็นเขาคู่อย่างชัดเจน แบล็กบัก ได้ถูกจัดให้มี 2 ชนิดย่อย คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแบล็กบัก · ดูเพิ่มเติม »

แบดเจอร์ยุโรป

แบดเจอร์ยุโรป หรือ แบดเจอร์ยูเรเชีย (European badger, Eurasian badger, Badger) เป็นแบดเจอร์ชนิดหนึ่ง นับเป็นแบดเจอร์ขนาดใหญ่และเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี มีส่วนหัวที่เล็ก มีคอที่สั้นและหนา และมีหางที่สั้นและดวงตาขนาดเล็ก มีจุดเด่น คือ สีที่มีลักษณะเฉพาะเป็นแถบสีดำและขาวบริเวณส่วนหัว และมีขนสีขาวที่ปลายสุดของหู ความยาวตั้งแต่หัวจรดหางมีขนาดยาวได้ถึง 750 มิลลิเมตร โดยมีความยาวของหางอยู่ที่ 150 มิลลิเมตร มีน้ำหนักตัวเฉลี่ยอยู่ที่ระหว่าง 8-10 กิโลกรัม โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีฟันที่แหลมคมในปาก ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า ลายแถบสีดำของแบดเจอร์มีทฤษฎีมากมายที่อธิบายถึงการมีอยู่ บ้างก็เชื่อว่า เพราะแบดเจอร์เป็นสัตว์ที่สายตาไม่ดี อีกทั้งหากินในเวลากลางคืน จึงช่วยในการติดต่อสื่อสารกันเพราะเป็นจุดเด่น หรือบ้างก็ว่า ช่วยในการป้องกันดวงตาเวลาต่อสู้กัน เป็นสัตว์ที่หาอาหารกินได้หลากหลายทั้งพืชและเนื้อสัตว์ โดยกินไส้เดือนดินเป็นอาหารหลัก และยังกินแมลงปีกแข็ง, ทาก, หนอนและดักแด้, หนูบ้าน, ผลไม้ และหัวของพืชหลาย ๆ ประเภท เป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะเริ่มออกหากินตั้งแต่ช่วงโพล้เพล้ แบดเจอร์อาศัยอยู่ในโพรงดินที่ขุดจากกรงเล็บตีนที่แหลมคม โดยมีตัวผู้และตัวเมียที่โตเต็มวัยหลายตัวพร้อมกับลูกเล็ก ๆ ครอกหนึ่งหรือสองครอก โดยโพรงนี้ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของแบดเจอร์หลายรุ่น ในโพรงมีทางเข้า-ออกหลายทาง แบ่งออกได้เป็นหลายห้อง โดยอาจมีได้ถึง 130 ทาง มีห้องถึง 50 ห้อง และมีอุโมงค์ทางเดินที่ทอดยาวได้ถึง 800 เมตร มีการสื่อสารระหว่างกันด้วยกลิ่น ซึ่งผลิตมาจากต่อมกลิ่นใกล้ก้น ถือเป็นเอกลักษณะประจำฝูงและประจำตัว นอกจากนี้แล้วแบดเจอร์ยังมีเสียงร้องที่แตกต่างกันได้ถึง 16 แบบ ครั้งหนึ่งมีความเชื่อกันว่าเสียงร้องของแบดเจอร์เป็นลางบอกเหตุว่า มีคนกำลังจะตาย แบดเจอร์เป็นสัตว์ที่มีกิจวัตรประจำวันที่ทำซ้ำตรงเวลาในทุก ๆ วัน และเมื่อหาคู่ จะตามหาคู่ด้วยกลิ่น ซึ่งบางครั้งอาจใช้เวลานานหลายสัปดาห์ แบดเจอร์เริ่มจับคู่ผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปีแต่ไข่ที่ได้รับการผสมพันธุ์แล้วจะถูกระงับการพัฒนาการไว้ชั่วคราวอยู่ในมดลูกจนกระทั่งถึงช่วงฤดูหนาวซึ่งเป็นช่วงที่ไข่ที่ได้รับการผสมพันธุ์จะได้รับการฝังไว้ในมดลูกและจะเจริญเติบโตต่อไปตามปกติ ทำให้ลูกแบดเจอร์ที่เกิดจากไข่ที่ได้รับการผสมพันธุ์ไม่ว่าช่วงไหนของปี จะคลอดมาพร้อม ๆ กัน หลังจากที่ไข่ซึ่งได้รับผสมพันธุ์ถูกฝังไว้ในมดลูกแล้ว ระยะเวลาการตั้งท้องจะอยู่ที่ 6-7 สัปดาห์ มีลูกได้ครอกละ 1-5 ตัว แต่ตามปกติแล้วจะอยู่ที่ 2-3 ตัว ลูกแบดเจอร์จะได้รับการเลี้ยงดูอยู่ใต้ดินเป็นเวลาถึง 8 สัปดาห์และจะเริ่มออกมาในช่วงฤดูใบไม้ผลิเท่านั้น ลูกแบดเจอร์จะหย่านมที่ช่วงเวลาประมาณ 12 สัปดาห์ แบดเจอร์ตัวเมียจะโตเต็มวัยเจริญพันธุ์หลังจาก 12–15 เดือน แต่ตัวผู้นั้นจะไม่โตเต็มวัยเจริญพันธุ์จนกระทั่งเข้าถึงช่วงอายุปีที่ 2 ในช่วงฤดูหนาวแบดเจอร์จะไม่จำศีลแต่จะมีการเคลื่อนไหวน้อยลง มีการแพร่กระจายพันธุ์ที่กว้างไกลในหลายส่วนของทวีปยุโรปจนถึงบางส่วนในเอเชีย เช่น ยูเรเชีย, ตะวันออกกลาง แบ่งออกได้เป็น 8 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) แบดเจอร์ ในอดีตมีการล่าเพื่อนำหนังและขนมาใช้ประโยชน์ต่าง ๆ รวมถึงการรับประทานเนื้อด้วย อีกทั้งแบดเจอร์ยังเป็นสัตว์รังควานต่อมนุษย์อีกด้วย และยังเป็นพาหะนำโรคบางอย่างสู่แก่ปศุสัตว์เช่น วัว ด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแบดเจอร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดีนันด์ อัลเบร็คท์ที่ 2 ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล

แฟร์ดีนันด์ อัลเบร็คท์ที่ 2 (Ferdinand Albrecht II) เป็นทหารในกองทัพแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และเจ้าชายแห่งโวลเฟนบึทเทิลในปีค.ศ. 1735 พระองค์ได้รับราชการทหารในราชสำนักออสเตรีย ได้ทรงร่วมรบในสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนและได้ร่วมต่อสู้ขับไล่ชาวเติร์กภายในการนำของเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแฟร์ดีนันด์ อัลเบร็คท์ที่ 2 ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล · ดูเพิ่มเติม »

แมลง

แมลง (Insect) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา จำแนกออกเป็นไฟลัมต่าง ๆ ได้ 13 กลุ่ม มีลักษณะสำคัญคือมีลำตัวเป็นปล้องคล้อง ซึ่งอาจแบ่งเป็น 2 หรือ 3 ส่วน สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ลำตัวทั้งสองด้านซ้ายขวามีความเหมือนและมีขนาดเท่ากัน มีเปลือกห่อหุ้มลำตัวด้วยสารไคติน (Chitinous Exoskeleton) ไม่มีขน หายใจแบบใช้เหงือกหรือใช้รูหายใจ มีวัฎจักรวงจรชีวิตในการเจริญเติบโตแบบไข่ มีการลอกคราบเป็นบางครั้งแล้วสร้างผนังหรือเปลือกห่อหุ้มลำตัวใหม่ มีรยางค์เป็นคู่และเป็นปล้อง ส่วนใหญ่นักกีฏวิทยามักใช้รยางค์ในการแบ่งเพศผู้เพศเมียของแมลง มีอวัยวะภายในที่มีท่อทางเดินอาหารเป็นท่อยาวตลอดจากปากไปถึงทวารหนัก ระบบเลือดเป็นแบบเปิดและมีท่อเลือดอยู่ทางด้านสันหลังเหนือระบบทางเดินอาหาร มีระบบประสาทที่ประกอบไปด้วยสมองอยู่เหนือท่ออาหาร มีเส้นประสาทขนาดใหญ่หนึ่งคู่เชื่อมต่อจากสมอง มีการรวมตัวเป็นระยะก่อเกิดเป็นปมประสาท เส้นประสาทขนาดใหญ่ของแมลง จะอยู่ทางด้านล่างของลำตัวใต้ท่ออาหาร มีกล้ามเนื้อแบบเรียบอยู่ตามลำตัวบทปฏิบัติการกีฎวิทยาเบื้องต้น, ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ร. ดร.สาวิตรี มาไลยพันธุ์, สำนักพิมพ์รั้วเขียว,..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแมลง · ดูเพิ่มเติม »

แมว

แมว เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในตระกูล Felidae ต้นตระกูลมาจากเสือไซบีเรีย (Felis tigris altaica) ซึ่งมีช่วงลำตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลำตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัดอยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อ มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้เช่นเดียวกับเสือ สืบสายเลือดมาจากแมวป่าที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งลักษณะบางอย่างของแมวยังคงพบเห็นได้ในแมวบ้านปัจจุบัน แมวเริ่มเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่เมื่อประมาณ 9,500 ปีก่อน ซึ่งจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของแมวคือการทำมัมมี่แมวที่พบในสมัยอียิปต์โบราณ หรือในพิพิธภัณฑ์อังกฤษในลอนดอน มีการแสดงสมบัติที่นำออกมาจากพีระมิดโบราณแห่งอียิปต์ ซึ่งรวมถึงมัมมี่แมวหลายตัว ซึ่งเมื่อนำเอาผ้าพันมัมมี่ออกก็พบว่า แมวในสมัยโบราณทุกตัวมีลักษณะใกล้เคียงกัน คือเป็นแมวที่มีรูปร่างเล็ก ขนสั้นมีแต้มสีน้ำตาล มีความคล้ายคลึงกับพันธุ์ในปัจจุบัน ที่เรียกว่าแมวอะบิสซิเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแมว · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส หรือ แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส (Portuguese man-of-war, Portuguese Man o' War, Blue bubble, Floating terror) เป็นไซโฟโนฟอร์ชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมไนดาเรีย ในชั้นไฮโดรซัว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Physalia physalis แม้จะถูกเรียกว่าเป็นแมงกะพรุน แต่เป็นสัตว์คนละชั้นกับแมงกะพรุนแท้ทั่วไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

แมงอีนูน

แมงอีนูน หรือ แมงกีนูน (Cockchafer) หรือ แมงนูน หรือ กุดกีนูน (อีสาน) หรือ แมงนูนหลวง เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Melolontha melolontha อยู่ในวงศ์ Scarabaeidae มีรูปร่างอ้วนป้อมเป็นรูปไข่ หัวมันเรียบ มีหนวดแบบใบไม้ 1 คู่ที่ปาก ปากเป็นแบบปากกัด ตามีขนาดใหญ่มองเห็นได้ชัด ที่อกปล้องแรกเห็นชัดกว่าปล้องอื่น ๆ ปีกมี 2 คู่ คู่หน้ามีลักษณะแข็งเรียบเป็นมันมีหน้าที่เป็นเปลือกหุ้มตัว ส่วนปีกคู่ที่สองนั้นบางใส ใช้สำหรับบิน ส่วนท้องอยู่ด้านล่างมีปีกที่แข็งคลุม หัว อกและขามีสีน้ำตาลไปจนถึงสีดำ ปีกที่แข็งมีสีน้ำตาลอ่อน ขนาดลำตัวยาวประมาณ 30 มิลลิเมตร แมงอีนูน จัดเป็นแมลงศัตรูพืช เพราะกัดแทะใบของพืชที่เป็นพืชเศรษฐกิจ อาทิ มะขามเทศ, มะขาม, อ้อย, มันสำปะหลัง, พุทรา แมงอีนูนมีวงจรชีวิตเป็นหนอนอยู่ใต้ดินนานนับปี ก่อนจะเข้าสู่ระยะดักแด้และเป็นตัวเต็มวัยในช่วงต้นฤดูฝนของทุกปี ซึ่งจะพบแมงอีนูนเป็นจำนวนมากในเวลานี้ แมงอีนูนจัดเป็นอาหารรับประทานในวิถีชีวิตของชาวเหนือและชาวอีสาน อีกทั้งยังเป็นการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยการจับแมงอีนูนจะกระทำในช่วงหัวค่ำ ใช้แสงไฟจากนีออนเป็นตัวล่อ หรือเขย่าจากต้นไม้ที่มีแมงอีนูนจำนวนอาศัยอยู่ก็จะหล่นลงมาให้จับได้ง่าย ๆ ซึ่งการปรุงแมงอีนูนทำได้ทั้งวิธีการต้มและทอด ในบางพื้นที่ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร มีการค้าขายกันเป็นล่ำเป็นสันด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแมงอีนูน · ดูเพิ่มเติม »

แมงดาแอตแลนติก

แมงดาแอตแลนติก (Atlantic horseshoe crab) เป็นแมงดาชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Limulus polyphemus จัดอยู่ในสกุล Limulus ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้ และเป็นแมงดาเพียงชนิดเดียวด้วยที่พบในมหาสมุทรแอตแลนติก แมงดาแอตแลนติกมีลักษณะหางด้านบนนูนเป็นสามเหลี่ยมคล้ายแมงดาจาน แต่จะแตกต่างกันตรงที่ตัวผู้มีขาจับที่พองออกเป็นกระเปาะเพียงคู่เดียว แต่ในแมงดาจานจะมีสองคู่ ส่วนตัวเมียมีหนามบริเวณขอบด้านข้างของส่วนท้องขนาดยาวใกล้เคียงกันทั้ง 6 คู่เหมือนตัวผู้ ในขณะที่แมงดาจานมีหนามบริเวณขอบของส่วนท้องยาว 3 คู่แรก ส่วน 3 คู่หลังสั้น (ยกเว้นในระยะที่ยังเจริญไม่เต็มที่จะมีหนามยาวเท่า ๆ กันเช่นเดียวกับตัวผู้) ขนาดใหญ่สุดมีความยาวตลอดตัวมากกว่า 60 เซนติเมตร แมงดาชนิดนี้พบในมหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งแต่รัฐเมน, อ่าวเดลาแวร์ ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแมงดาแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

แรดอินเดีย

แรดอินเดีย จัดเป็นแรด 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่พบได้ในทวีปเอเชีย และเป็นสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดที่พบในทวีปแห่งนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแรดอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

แรดดำ

แรดดำ เป็นแรดที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจากแรดขาว (Ceratotherium simum) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Diceros bicornis มีรูปร่างทั่วไปคล้ายแรดขาว เพียงแต่สีผิวที่คล้ำกว่า จึงเป็นมาของชื่อ "แรดดำ" ปากของแรดดำจะเป็นติ่งแหลมยื่นออกมาบริเวณริมฝีปากบน เนื่องจากชอบตวัดกินใบไม้มากกว่า และคอของแรดดำจะสั้นกว่าแรดขาว ผิวหนังมีรอยย่นและตุ่มนูนและหนากว่า หูกลมกว่าแรดขาว ขนาดของแรดดำจะมีขนาดเล็กกว่าแรดขาวพอสมควร คือ ความยาวเต็มที่ประมาณ 140-170 เซนติเมตร ความสูงของไหล่ 3.3-3.6 เมตร น้ำหนักเต็มที่โดยประมาณ 800-1,300 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาใต้ ในประเทศเคนยา, แทนซาเนีย, แอฟริกาใต้, แคเมอรูน, นามิเบียและซิมบับเว มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย คือ D. b. michaeli, D. b. longipes, D. b. bicornis, D. b. minor ซึ่งบางครั้งเขตหากินของแรดดำอาจจะเข้าไปอยู่ในถิ่นของแรดขาว แต่สัตว์ทั้งสองชนิดนี้ไม่เคยที่จะต่อสู้แก่งแย่งกัน แรดดำเป็นสัตว์ที่มีนิสัยดุร้าย ฉุนเฉียวง่ายกว่าแรดขาว สามารถวิ่งได้เร็ว 29 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่บางครั้งเมื่อตกใจหรือป้องกันตัวอาจวิ่งได้เร็วถึง 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สถานภาพในธรรมชาติของแรดดำปัจจุบันอยู่ในสภาวะ CR (Critically Endangered) คือ มีความเสี่ยงสูงที่จะสูญพันธุ์จากพื้นที่ธรรมชาติในขณะนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแรดดำ · ดูเพิ่มเติม »

แร็กคูน

แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแร็กคูน · ดูเพิ่มเติม »

แร้งเครา

แร้งเครา (Bearded vulture, Lammergeier, Ossifrage) นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่จำพวกแร้งชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทแร้งโลกเก่า โดยเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Gypaetus แร้งเครา เป็นแร้งขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับแร้งชนิดอื่น ๆ จะมีขนาดใหญ่กว่า และมีลักษณะที่แตกออกไปจากแร้งทั่วไปอย่างเห็นได้ชัด คือ ส่วนหัวจะมีขนปุกปุยต่างจากแร้งทั่วไปที่หัวและลำคอจะล้านเลี่ยน สีของขนตามลำตัวเป็นสีเหลือง ส่วนหัวสีขาวเป็นสัญลักษณะบ่งบอกว่า แร้งตัวนั้นโตเต็มวัยแล้ว และมีกระจุกขนสีดำบริเวณจะงอยปากล่างแลดูคล้ายเครา อันเป็นที่มาของชื่อ แร้งเครา มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 95–125 เซนติเมตร น้ำหนักตั้งแต่ 4.5–9.9 กิโลกรัม ความยาวปีกเมื่อกางเต็มที่เกือบ 10 ฟุต มีเอกลักษณะในการบินเฉพาะตัว มีสายตารวมถึงประสาทในการดมกลิ่นอย่างดีเยี่ยม กระจายพันธุ์ตามเทือกเขาสูงในทวีปยุโรปตอนใต้, แอฟริกา จนถึงอินเดีย และทิเบต เช่น เทือกเขาแอลป์ ทำรังและวางไข่บนหน้าผาสูงสำหรับใช้หลบหลีกจากสัตว์นักล่าชนิดต่าง ๆ ที่มารังควาญได้ นอกจากจะกินเนื้อและซากสัตว์ต่าง ๆ เหมือนแร้งชนิดอื่นแล้ว แร้งเครายังมีพฤติกรรมและชื่นชอบอย่างมากในการกินกระดูกด้วย สันนิษฐานว่าคงเป็นเพราะอาหารขาดแคลนด้วยปัจจัยของถิ่นที่อยู่อาศัยที่ทำให้หาอาหารได้ยากและสภาพอากาศที่หนาวเย็น เคยมีผู้พบแร้งเคราคาบกระดูกสัตว์ชิ้นใหญ่ เชื่อว่าเป็นกระดูกของแกะบินขึ้นไปในอากาศที่จุดสูงสุด และทิ้งลงไปให้แตกเป็นชิ้นละเอียดกับพื้น ก่อนจะบินลงมากินทั้งหมดลงไปในกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และแร้งเครา · ดูเพิ่มเติม »

โจชัว เรย์โนลส์

ซอร์โจชัว เรย์โนลส์ (ภาษาอังกฤษ: Joshua Reynolds, RA FRS FRSA) (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และภาพเหมือน โจชัว เรย์โนลส์เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองพลิมตันในเดวอนในอังกฤษ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ เรย์โนลด์เป็นผู้สนับสนุนการเขียนที่เรียกว่า “Grand Style” ที่เป็นการเขียนที่สร้างภาพอุดมคติจากสิ่งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ เรย์โนลด์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการของราชสถาบันศิลปะ เรย์โนลด์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์จากพระเจ้าจอร์จที่ 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และโจชัว เรย์โนลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โดโด

(dodo) เป็นนกท้องถิ่นที่พบได้เฉพาะบนหมู่เกาะมอริเชียสในมหาสมุทรอินเดีย เป็นนกที่บินไม่ได้อยู่ในตระกูลเดียวกับนกพิราบ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Raphus cucullatus ในปี พ.ศ. 2048 ชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปพวกแรกที่พบ และเพียงประมาณปี พ.ศ. 2224 มันก็สูญพันธุ์อย่างรวดเร็วโดยมนุษย์ รวมถึงสุนัขล่าเนื้อ หมู หนู ลิง ที่ถูกนำเข้าโดยชาวยุโรป โดโดไม่ใช่นกเพียงชนิดเดียวในมอริเชียสที่สูญพันธุ์ในศตวรรษนี้ จากนกกว่า 45 ชนิดที่พบบนเกาะ มีเพียง 21 ชนิดเท่านั้นที่เหลือรอด นกสองชนิดซึ่งเป็นญาติใกล้ชิดกับโดโดก็สูญพันธุ์ไปเช่นกัน คือ Reunion solitaire (Raphus solitarius) ประมาณปี พ.ศ. 2289 และ Rodrigues solitaire (Pezophaps solitaria) ประมาณปี พ.ศ. 2333 เมื่อทศวรรษ พ.ศ. 2533 วิลเลียม จ. กิบบอนส์ นำคณะสำรวจขึ้นค้นหาบนเขาบนเกาะมอริเชียส แต่ก็ไม่มีใครค้นพบ จึงประกาศการสูญพันธุ์อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และโดโด · ดูเพิ่มเติม »

โซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์

ซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ พระราชินีแห่งปรัสเซีย หรือ โซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ (Sophia Dorothea of Hanover; 16 มีนาคม ค.ศ. 1687 - 28 มิถุนายน ค.ศ. 1757) เป็นพระราชินีแห่งปรัสเซียประสูติเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1687 ที่ฮาโนเวอร์ เยอรมนี เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และโซเฟีย โดโรเธียแห่งเซลล์ เป็นพระราชินีในพระเจ้าฟรีดริช วิลเลียมที่ 1 แห่งปรัสเซีย ระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1713 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740 และสิ้นพระชนม์เมื่อ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1757 ที่พระราชวังมอนบิจู เบอร์ลิน เยอรมนี โซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์เมื่อทรงพระราชสมภพมีพระนามว่า “ดัชเชสโซเฟีย โดโรเธียแห่งบรันสวิค-ลืนเนอเบิร์ก” เมื่อพระเจ้าฟรีดริช วิลเลียมที่ 1 แห่งปรัสเซียพระสวามีเสด็จสวรรคตพระราชโอรสองค์โตเจ้าชายฟรีดริชก็ขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย โซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ก็มีพระราชอิสริยศเป็นพระชนนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และโซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โนวาร์ติส

นวาร์ติส อินเตอร์เนชั่นแนล เอจี (Novartis International AG) เป็นบริษัทข้ามชาติในอุตสาหกรรมยา มีฐานการผลิตอยู่ที่บาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และโนวาร์ติส · ดูเพิ่มเติม »

โนอาห์ เว็บสเตอร์

นอาห์ เว็บสเตอร์ (Noah Webster – 16 ต.ค. 2301-28 พ.ค. 2386) นักพจนานุกรม (lexicographer) เกิดที่เมืองฮาร์ตฟอร์ด ในรัฐคอนเนตทิคัต ได้รับการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเยล จบแล้วทำงานด้านกฎหมายแต่กลับชอบสอนหนังสือ เว็บสเตอร์เริ่มมีชื่อเสียงจากผลงานส่วนแรกที่ต่อมาเป็นที่รู้จักกันคือ “หนังสือหลักการสะกดคำของเว็บสเตอร์” ของ “สถาบันไวยากรณ์อังกฤษ” (พ.ศ. 2326) ก่อนปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และโนอาห์ เว็บสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ฟ้าสีทอง

ก่ฟ้าสีทอง (Golden pheasant, Red golden pheasant, Chinese pheasant; 红腹锦鸡) เป็นสัตว์ป่าประเภทไก่ฟ้าที่นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ได้รับความนิยมอย่างมาก มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมบนภูเขาสูง พบมากทางภาคกลางและภาคตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน รวมถึงบางส่วนในปากีสถาน, อินเดีย, ศรีลังกา มีความสวยงามและทนทานต่ออากาศหนาวได้เป็นอย่างดี ไก่ฟ้าสีทอง ตัวผู้จะมีหลายสี (5 สี) แต่ถ้าเป็นสีทองส่วนของอกจะมีสีแดง ส่วนหลังมีสีเหลืองและปีกมีสีน้ำเงิน นัยน์ตาจะเป็นวงแหวนนสีน้ำเงิน สำหรับตัวเมียจะมีสีน้ำตาลพื้นธรรมดา นัยน์ตาไม่มีวงแหวน เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะมีน้ำหนักตัวประมาณ 500-700 กรัม มีรูปร่างป้อม และไม่มีหงอน ไก่ฟ้าสีทอง สามารถแยกแยะเพศออกได้เมื่อมีอายุ 3 เดือน ดูความแตกต่างที่วงแหวนของดวงตา ส่วนสีขนจะค่อย ๆ ขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งตัวเต็มวัย เฉลี่ยประมาณ 1.5-2 ปี จึงจะมีสีเหมือนกับไก่ตัวเต็มวัย โตเต็มวัยเมื่อมีอายุได้ 2 ปี ออกลูกในช่วงฤดูร้อนเพียงปีละครั้ง ช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ออกไข่ครั้งละ 5-6 ฟอง ใช้เวลาฟักประมาณ 21-23 วัน ปัจจุบัน ในประเทศไทย มีการเพาะเลี้ยงกันเป็นฟาร์มอย่างเป็นล่ำเป็นสัน ซึ่งสามารถเพาะเลี้ยงได้อย่างเสรี เนื่องจากไม่จัดว่าเป็นสัตว์ที่จะจัดอยู่ในสถานะคุ้มครองตามกฎหมายแต่ประการใด โดยการเลี้ยงในแบบฟาร์ม สามารถทำให้ไก่ออกไข่ได้ตลอดทั้งปี เฉลี่ยแล้วปีละถึง 20-30 ฟอง มีอายุขัยในที่เลี้ยงประมาณ 15 ปี โดยมีราคาขายในฐานะสัตว์เลี้ยงสวยงามถึงราคาคู่ละ 6,000-7,000 บาท (อายุ 1.5 ปีขึ้นไป) ทั้งนี้ราคาจะถูกหรือแพงขึ้นอยู่กับอายุของไก่ที่ขายและสายพันธุ์ โดยราคาสูงอาจไปถึงคู่ละ 400,000-500,000 บาท ในอดีตราว 20 ปีก่อน (นับจาก พ.ศ. 2555) ไก่ฟ้าสีทองมีราคาขายเพียงคู่ละไม่เกิน 1,000 บาท เท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และไก่ฟ้าสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ต๊อกหมวกเหล็ก

ก่ต๊อกหมวกเหล็ก (helmeted guineafowl) เป็นนกขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ต๊อก (Numididae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Numida ไก่ต๊อกหมวกเหล็ก มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับไก่ต๊อกชนิดอื่น ๆ แต่บนหัวมีหงอนที่เป็นโหนกแข็งที่มีลักษณะที่เหมือนกับสวมหมวกเหล็กหรือหมวกกันน็อกอยู่ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 61 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงตั้งแต่ 10-100 ตัว หากินตามพื้นดินหรือตามทุ่งหญ้าโปร่งเท่านั้น เมื่อตกใจจะบินได้ระยะทางสั้น ๆ เพื่อขึ้นต้นไม้หรือขึ้นที่สูง โดยกินอาหารที่เป็นพืชแทบทุกชนิด ตลอดจนสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หอยทาก แมลงชนิดต่าง ๆ ไก่ต๊อกหมวกเหล็กเป็นไก่ต๊อกที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา และเป็นไก่ต๊อกชนิดที่พบเห็นได้ง่ายและแพร่กระจายพันธุ์มากที่สุด ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงไก่ต๊อกหมวกเหล็กเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม เพื่อความเพลิดเพลินใจ และยังมีการเพาะเลี้ยงเพื่อการบริโภคเนื้อและไข่เป็นสัตว์เศรษฐกิจอีกด้วย โดยเมื่อวางไข่ไก่ต๊อกหมวกเหล็กจะแยกตัวจากฝูงไปวางไข่เพียงตามลำพังในพงหญ้า ครั้งละ 40-50 ฟอง แม่ไก่จะดูแลลูกประมาณ 2-3 เดือน เมื่อพ้นจากนี้แล้วลูกไก่จะแข็งแรงพอที่จะเข้าฝูงหากินเองได้ ไก่ต๊อกหมวกเหล็กเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 5-7 เดือน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และไก่ต๊อกหมวกเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ป่า

''Gallus gallus'' ไก่ป่า หรือ ไก่เถื่อน อยู่ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) จัดเป็นนกมีขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ขนาดลำตัว 46-73 เซนติเมตร พบการกระจายอยู่ในเขตศูนย์สูตรโดยมีการกระจายตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงเวียดนาม และประเทศจีนตอนใต้ จนไปถึงเกาะต่าง ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย จัดเป็นไก่สายพันธุ์ดั้งเดิมและเป็นต้นตระกูลของไก่บ้านที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ สามารถแบ่งออกได้แบ่งชนิดย่อยได้ 6 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และไก่ป่า · ดูเพิ่มเติม »

เฟร์ริต

ฟอเรท (ferret) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำพวกวีเซล นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง เฟอเรทเป็นชนิดย่อยของโพลแคตยุโรป (M. putorius) ที่เป็นวีเซลหรือเพียงพอนที่พบได้ในทวีปยุโรป จากการตรวจสอบทางดีเอ็นเอพบว่าเฟอเรทนั้นถูกมนุษย์เลี้ยงกันมาถึง 2,500 ปีแล้ว โดยในประวัติศาสตร์ จะมีเฟอเรทปรากฏตามที่ต่าง ๆ อาทิ ปรากฏในภาพวาดของลีโอนาร์โด ดา วินชี หรือเป็นสัตว์เลี้ยงของสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แห่งจักรวรรดิอังกฤษ และยังเป็นสัตว์ที่ใช้ในการวางสายเคเบิลในการถ่ายทอดพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าชายชาลส์ กับเลดี้ไดอานา ในปี ค.ศ. 1981 ด้วยPets 101: Pet Guide, สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: พฤหัสบดีที่ 3 มกราคม 2556 เฟอเรทมีความยาวประมาณ 20 นิ้ว (51 เซนติเมตร) และความยาวหาง 5 นิ้ว (13 เซนติเมตร) น้ำหนักประมาณ 1.5–4 ปอนด์ (0.7–2 กิโลกรัม) อายุขัยโดยเฉลี่ย 7-10 ปี ตัวผู้นั้นจะมีความยาวมากกว่าตัวเมีย อาหารที่เฟอเรทกินนั้นคือเนื้อสัตว์เท่านั้น ไม่ใช่ผลไม้ หากเฟอเรทกินผลไม้อาจจะทำให้เฟอเรทเสียชีวิตจากการที่อาหารไม่ย่อย หรือกระทั่งเป็นเบาหวานได้ ในสหรัฐอเมริกา เฟอเรทถูกนำเข้ามาในฐานะของสัตว์ที่ฝึกไว้สำหรับล่ากระต่าย ซึ่งเป็นพฤติกรรมตามธรรมชาติของเฟอเรทหรือวีเซลอยู่แล้ว ที่ล่าสัตว์ขนาดเล็กตามโพรงดิน เช่น หนู, กระต่าย เป็นอาหาร โดยการมุดเข้าไปลากออกมาถึงในโพรง เฟอร์เร็ตนับเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีจำนวนชิ้นกระดูกสันหลังมากที่สุดในโลก โดยมีกระดูกที่ต้นคอถึง 7 ชิ้น และสะโพก 6 ชิ้น นั่นจึงทำให้เฟอร์เร็ตสามารถที่จะมุดหรือลอดไปตามโพรงหรือรูเรี้ยวต่าง ๆ ได้อย่างยืดหยุ่น คล่องแคล่ว เฟอเรทเป็นสัตว์ที่สามารถเลี้ยงไว้ในบ้านได้เป็นอย่างดี แต่มีข้อเสียคือ กลิ่นตัวที่เหม็น โดยเฉพาะเมื่อตกใจจะปล่อยกลิ่นออกมาตามสัญชาตญาณธรรมชาติ หลังจากผสมผ่านไป 2 สัปดาห์ ท้องตัวเมียจะใหญ่ขึ้น เห็นราวนมชัดขึ้น มีระยะเวลาตั้งท้องนาน 42วัน มีลูกปีละ 1-2 ครั้ง โดยสามารถคลอดลูกได้ถึง 2-12ตัวต่อครั้ง ใช้เวลาเลี้ยงลูกให้นมลูกนานราว 6สัปดาห์ จากนั้นลูกเฟอร์เร็ตจะเริ่มกินอาหาร กินเนื้อได้เอง ซึ่งในประเทศไทย ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์เฟอเรทได้แล้ว แทนการนำเข้ามาจากต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเฟร์ริต · ดูเพิ่มเติม »

เพียงพอน

ระวังสับสนกับ: พังพอน เพียงพอน (weasel, mink, ferret, ermine, polecat) คือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในสกุล Mustela ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวงศ์ Mustelidae มีถิ่นกำเนิดกว้างขว้างทั้งในทวีปเอเชีย, แอฟริกาเหนือ, ยุโรป, อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ เพียงพอนมีรูปร่างโดยรวมเป็นสัตว์ขนาดเล็ก มีความยาวตั้งแต่ 15–55 เซนติเมตร น้ำหนักตั้งแต่ 30–40 กรัม ไปจนถึง 1.4–3.2 กิโลกรัม เป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร มีรูปร่างเพรียวยาว ส่วนขาทั้งสี่ข้างสั้น มีนิ้วเท้า 5 นิ้ว เล็บมีความแหลมคม แต่พับเก็บเล็บไม่ได้ ปากแหลม ภายในปากมีฟันแหลมคมจำนวน 34 ซี่ ทุกชนิดจะมีต่อมกลิ่นที่ก้น ซึ่งจะผลิตสารเคมีสีเหลืองคล้ายน้ำมันที่มีกลิ่นเหม็นรุนแรง ใช้ในประกาศอาณาเขต เป็นสัตว์มีความปราดเปรียวว่องไว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน โดยจะล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, หนูผี, ตุ่น, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเป็นอาหาร รวมทั้งอาจล่ากระต่ายได้ด้วย รวมทั้งล่าเป็ด, ไก่, นกกระทา ในพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ได้ด้วย ซึ่งจะใช้ลำตัวที่เพียวยาวนั้นมุดเข้าไปล่าถึงในโพรงดิน นอกจากนี้แล้ว เพียงพอนเป็นสัตว์ที่เมื่อผสมพันธุ์กันแล้ว ตัวผู้จะผสมกับตัวเมียหลายตัว แต่จะอยู่กับตัวเมียเพียงตัวเดียว ในบางชนิด ไข่เมื่อได้รับการปฏิสนธิแล้ว จะยังไม่ฝังตัวในผนังมดลูก แต่จะลอยอยู่อย่างนั้น ซึ่งอาจกินเวลานับ 10 เดือน จะฝังตัวเฉพาะเมื่อถึงฤดูกาลที่อาหารอุดมสมบูรณ์เท่านั้น มีระยะเวลาการตั้งท้องนานประมาณ 35–45 วัน ออกลูกครั้งละ 4–10 ตัว และอาจมากได้ถึง 13 ตัว ซึ่งจะออกลูกในโพรงของสัตว์ที่ล่าได้ ลูกที่เกิดใหม่ตาจะยังไม่ลืม จะมีขนบาง ๆ ปกคลุมลำตัวเท่านั้น จะลืมตาเมื่ออายุได้ 3–4 สัปดาห์ หรืออาจจะ 5–6 สัปดาห์ มีระยะเวลาการกินนมแม่ 5–10 สัปดาห์ และจะอาศัยอยู่กับแม่จนอายุได้ 1 ปี ในอดีต เพียงพอนมักถูกมนุษย์ล่า เพื่อนำขนและหนังไปทำเป็นเสื้อขนสัตว์ที่เรียกว่า "เสื้อขนมิงก์" ในปัจจุบัน ในบางชนิดนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง แบ่งออกได้เป็น 18 ชนิด (ดูในตาราง) ในประเทศไทยมักพบในพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลนับพันเมตร พบประมาณ 3 ชนิด ได้แก่ เพียงพอนไซบีเรีย (M. sibirica), เพียงพอนเหลือง (M. nudipes) และเพียงพอนเส้นหลังขาว (M. strigidorsa).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเพียงพอน · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินแอฟริกัน

นกวินแอฟริกัน หรือ เพนกวินตีนดำ (African penguin, Black-footed penguin) เป็นเพนกวินชนิดหนึ่ง เพนกวินแอฟริกัน เป็นเพนกวินขนาดเล็ก มีลำตัวยาวประมาณ 68–70 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2–5 กิโลกรัม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีจะงอยปากที่แหลมกว่าเพนกวินฮัมโบลด์ ซึ่งเป็นเพนกวินที่อยู่ร่วมสกุลเดียวกัน เดิมได้ชื่อว่า "เพนกวินลา" (Jackass penguin) เนื่องจากมีเสียงร้องเหมือนลา ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเพนกวินแอฟริกัน เพราะเป็นเพนกวินเพียงชนิดเดียวที่พบได้ในทวีปแอฟริกา โดยจะพบได้ตามชายฝั่งแถบแหลมกูดโฮป ในแอฟริกาใต้ และพบได้มากที่สุด ที่ชายหาดโบลส์เดอร์ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศแอฟริกาใต้ นิคมใหญ่ของเพนกวินแอฟริกัน ที่ชายหาดโบลส์เดอร์ เพนกวินแอฟริกัน เป็นนกที่จับคู่อยู่เพียงคู่เดียวตลอดชีวิต มีพฤติกรรมการอยู่รวมกันเป็นนิคมใหญ่ เมื่ออากาศร้อนจะขุดหลุมฝังตัวในพื้นทรายและอ้าปากรับลมเพื่อระบายความร้อนออกจากตัว จัดเป็นเพนกวินอีกชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเพนกวินแอฟริกัน · ดูเพิ่มเติม »

เม่นต้นไม้

ม่นต้นไม้ หรือ เม่นบราซิล (Brazilian porcupine) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coendou prehensilis เป็นสัตว์ฟันแทะจำพวกเดียวกับเม่น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในป่าดิบชื้นในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศโบลิเวีย, บราซิล, ตรินิแดดและโตเบโก, ตอนเหนือของอาร์เจนตินา, เวเนซุเอลา, กายอานา และมีรายงานพบในเอกวาดอร์ด้วย มีลักษณะจมูกและปากเล็กแหลม ฟันแหลมคม สำหรับขบเคี้ยวอาหารและใช้เป็นอาวุธสำหรับต่อสู้ป้องกันตัวในบางครั้ง ดวงตากลมโตสีดำ ใบหูขนาดเล็ก รับฟังเสียงรอบข้างได้ดี ทั่วทั้งร่างกายปกคลุมด้วยหนามสั้นหนา ปลายหนามด้านบนสีขาวหรือสีเหลืองเข้มผสม ส่วนโคนหนามซึ่งติดกับผิวหนังเป็นสีเทา ขาคู่หน้า ยาวกว่าคู่หลังเล็กน้อย แต่ละข้างมี 4 นิ้ว และเล็บที่แหลมคมสำหรับแกะเปลือกไม้และขุดรากพืชบางชนิด กิ่งไม้ขนาดเล็กรวมทั้งผลไม้สดเป็นอาหาร ส่วนหางยาวและค่อนข้างแข็งแรงจะใช้จับกิ่งก้านขณะเคลื่อนไหว ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ มีนิสัยขี้อาย ชอบใช้ชีวิตอยู่ตามลำพังตัวเดียว ออกหากินในเวลากลางคืน กลางวันจะพักผ่อนหลับนอนอยู่ตามโพรงไม้ บางครั้งอาจพบอยู่ตามโพรงดินที่ขุดลึกไป 6-10 เมตร ขนาดโตเต็มที่ขนาดลำตัวมีความยาว 300-600 มิลลิเมตร และหางจะมีความยาวเกือบเท่าขนาดลำตัวหรือยาวเพิ่มอีก 330-485 มิลลิเมตร น้ำหนักตัวเฉลี่ย 2-5 กิโลกรัม ตกลูกครั้งละตัวเดียว เม่นต้นไม้แรกเกิดถูกปกคลุมด้วยเส้นขนสีแดงและหนามเล็ก ๆ ที่จะแข็งตัวเร็วหลังจากเกิด มักส่งเสียงร้องเมื่อพบอันตรายใกล้ตัวคล้ายเสียงร้องไห้ เมื่อพบกับศัตรูจะขดตัวกลมคล้ายลูกบอลคล้ายตัวลิ่น ในประเทศไทย เม่นต้นไม้ถูกนำเข้ามาแสดงครั้งแรกในวันปลาสวยงามแห่งชาติ ที่ห้างเดอะมอลล์ งามวงศ์วาน ระหว่างวันที่ 2 ตุลาคม จนถึง 10 ตุลาคม พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเม่นต้นไม้ · ดูเพิ่มเติม »

เม่นใหญ่แผงคอยาว

ม่นใหญ่แผงคอยาว (Malayan porcupine, Himalayan porcupine, Large porcupine) เป็นเม่นขนาดใหญ่ หูและหางสั้น ขนตามลำตัวสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีขนแข็งแหลมและยาวมากบนหลังและสะโพก ซึ่งขนดังกล่าวจะชี้ตรงไปทางด้านหลัง ก้านขนมีสีขาว บางเส้นอาจมีวงสีดำสลับอยู่ ขนแผงคอยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร มีสีน้ำตาลเข้ม มีฟันหน้าที่ใหญ่ยาวและแข็งแรงมาก มีความยาวลำตัวและหัว 63.5-72.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.4-11.4 เซนติเมตร น้ำหนัก 20-27 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในเนปาล, อินเดีย, ภูฏาน, จีน, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ทั้งป่าสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรมที่ผ่านการทำลายมาแล้ว หลับนอนในโพรงที่ขุดขึ้นมาเอง บริเวณปากโพรงจะปกคลุมด้วยพืชรกชัฏเพื่ออำพราง ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารจำพวกรากพืช หน่อไม้ เปลือกไม้ ผลไม้สุกที่ร่วงจากต้น กระดูกสัตว์รวมทั้งเขาสัตว์ด้วย เช่น เขาของเก้งหรือกวางที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่มแคลเซี่ยมให้กับร่างกาย อีกทั้งเป็นการขัดฟันไม่ให้ยาวเกินไปในตัวด้วย นอนหลับในเวลากลางวันในโพรง โดยจะลากเอาเขาหรือกระดูกสัตว์เข้ามาแทะถึงในโพรง เมื่อพบศัตรูจะกระทืบเท้าเสียงดัง หากไม่สำเร็จจะค่อย ๆ เดินหนี หากศัตรูยังตามมา จะวิ่งหนีรวดเร็วและหยุดอย่างกะทันหัน เพื่อให้ศัตรูหยุดไม่ทันและถูกหนามแหลมทิ่ม โดยปกติจะสั่นขนของตัวเองอยู่เสมอ ทำให้มักได้ยินเสียงการกระทบกันของเส้นขนอยู่บ่อย ๆ ซึ่งเป็นการอวดศักยภาพของตัวเอง หรือแม้แต่เดินธรรมดา ๆ ก็จะได้ยินเสียงเส้นขนลากกับพื้น เม่นใหญ่แผงคอยาวออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว มีอายุสูงสุดในที่เลี้ยง 27 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเม่นใหญ่แผงคอยาว · ดูเพิ่มเติม »

เสือจากัวร์

ือจากัวร์ จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ วงศ์เสือและแมว (Felidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera onca เป็นเสือขนาดใหญ่รองลงมาจากเสือโคร่ง (P. tigris) และสิงโต (P. leo).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเสือจากัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือดาว

ำหรับเสือดำ มีบทความขยายที่: เสือดำ เสือดาว หรือ เสือดำ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) เป็นเสือขนาดใหญ่รองจากเสือโคร่ง (P. tigris) thumb.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเสือดาว · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งเบงกอล

ือโคร่งเบงกอล (เบงกาลี:বাঘ, ฮินดี: बाघ; Bengal tiger, Royal bengal tiger) เป็นเสือโคร่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด รองจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) ที่พบในแถบไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย เสือโคร่งเบงกอลตัวผู้เมื่อมีขนาดใหญ่เต็มที่อาจยาวได้ถึง 360 เซนติเมตร หนัก 180-270 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า และมีน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 140–180 กิโลกรัม การกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียใต้ ในประเทศอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ และกระจายเข้าไปในแถบประเทศพม่าด้วย สถานะในธรรมชาติ จัดเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกล่าเพื่อทำหนังเป็นเครื่องประดับ และกระดูก, อวัยวะ เป็นยาสมุนไพรตามความเชื่อ อย่างไรก็ตาม เสือโคร่งเบงกอลนั้นนับได้ว่าเป็นเสือโคร่งชนิดที่ยังมีเหลืออยู่มากที่สุดในธรรมชาติ คาดว่ามีอยู่ประมาณ 2,000 ตัวในธรรมชาติ ในเขตป่าอนุรักษ์และอินเดียและเนปาล และเป็นเสือที่มนุษย์นำมาเลี้ยงและขยายพันธุ์ได้มากและแพร่หลายที่สุด ในสถานที่เลี้ยง พบว่า เสือโคร่งเบงกอลเป็นเสือโคร่งที่มีความเชื่องและดุร้ายน้อยที่สุด จนสามารถฝึกหัดให้เล่นละครสัตว์ได้ เสือโคร่งเบงกอลขึ้นชื่อว่าเป็นเสือโคร่งที่กินมนุษย์มาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะในอินเดีย การล่าเสือเป็นเกมกีฬาของราชวงศ์ชั้นสูง แม้แต่ในยุคที่อังกฤษเข้ามาปกครองอินเดีย โดยการขี่หลังช้างออกล่าในตามทุ่งหญ้าทั้งหญ้าสูงและหญ้าต่ำ ในคริสต์ทศวรรษที่ 20 มีเสือโคร่งเบงกอลคร่าชีวิตมนุษย์ไปกว่า 1,600 รายต่อปี แม้แต่ในปัจจุบันที่การล่าเสือเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และผู้คนเข้าใจถึงการอนุรักษ์สัตว์ป่ามากขึ้น แต่ทว่าก็ยังคงมีการโจมตีมนุษย์อยู่เป็นระยะ ๆ ของเสือ โดยเฉพาะในสุนทรพนะซึ่งเป็นพื้นที่ป่าชายเลน เสือโคร่งเบงกอลที่นี่มีความดุร้ายและไม่เกรงกลัวมนุษย์ มักจะโจมตีมนุษย์เสมอ ๆ โดยเฉพาะการจู่โจมจากด้านหลัง ชาวพื้นเมืองที่นี่จึงต้องสวมหน้ากากไว้ด้านหลังเพื่อป้องกัน ด้วยการทำให้เสือเข้าใจผิดว่ากำลังถูกจ้องดูอยู่ เสือที่โจมตีมนุษย์ส่วนมากเป็นตัวเมียในช่วงฤดูเก็บน้ำผึ้ง ซึ่งตรงกับฤดูที่เสือโคร่งเบงกอลจะมีลูกพอดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเสือโคร่งเบงกอล · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เออร์มิน

ออร์มิน หรือ สโทธ หรือ เพียงพอนหางสั้น (Ermine, Stoat, Short-tailed weasel) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกินเนื้อขนาดเล็กจำพวกวีเซล หรือเพียงพอน เออร์มิน เป็นสัตว์ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ที่ทวีปยุโรป, ยูเรเชีย และอเมริกาเหนือ เป็นสัตว์นักล่าที่หากินสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ ไม่เลือก เป็นอาหาร เป็นสัตว์ที่ถูกล่าเพื่อนำหนังและขนทำเป็นเสื้อขนสัตว์ สีขนของเออร์มินจะเปลี่ยนไปเป็นสีขาวล้วนในช่วงฤดูหนาว สีขนโดยปกติจะเป็นสีน้ำตาลที่ส่วนหลัง บริเวณท้องซีดจางกว่า หางเป็นพุ่มพวงปลายหางแหลมเป็นสีดำ สามารถแบ่งออกได้เป็นชนิดย่อยทั้งสิ้น 37 ชนิด ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก พฤติกรรมในธรรมชาติ ตัวเมียจะผสมพันธุ์ระหว่างเดือนกันยายนและพฤศจิกายนและมีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 8-11 เดือน ออกลูกเพียงปีละครั้ง ครั้งหนึ่งประมาณ 6-13 ตัว มีพฤติกรรมอาศัยอยู่อย่างกระจัดกระจาย สามารถพบเห็นได้ตามหาดทรายจนถึงบนชนบทที่อยู่สูง โดยสามารถพบได้ในทุกความสูงจากระดับน้ำทะเล เออร์มินชอบที่จะอยู่ในป่าที่เป็นถิ่นกำเนิดดั้งเดิม, ป่าละเมาะ, เนินทราย และพุ่มหญ้า จัดเป็นสัตว์ที่มีความว่องไวมากและจากการที่เป็นสัตว์ที่กินอาหารไม่เลือก จึงสร้างความเสียหายใหญ่หลวงให้แก่นก และสัตว์อื่น ๆ เพราะสามารถล่านกตลอดจนไข่กินเป็นอาหารได้ และจัดเป็นสัตว์รังควานอีกชนิดหนึ่ง เออร์มินได้ถูกนำเข้าไปในนิวซีแลนด์ ซึ่งดั้งเดิมไม่เคยมีสัตว์กินเนื้อมาก่อน ปัจจุบันเออร์มินได้กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นไปแล้ว ที่คุกคามสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นที่มีเฉพาะในนิวซีแลนด์หลายชนิด เช่น นกกีวี หรือนกแก้วคาคาโป โดยเออร์มินจะเข้าไปกินไข่หรือล่าตัวอ่อนนกเหล่านี้ ซึ่งเป็นนกบินไม่ได้เป็นอาหาร อันเป็นสาเหตุหนึ่งของการใกล้สูญพัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเออร์มิน · ดูเพิ่มเติม »

เฮดจ์ฮอกยุโรป

อกยุโรป หรือ เม่นแคระยุโรป (European hedgehog, Common hedgehog) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) เป็นเฮดจ์ฮอกที่มีขนาดใหญ่ มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 18-30 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 1.7-5 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 600-800 กรัม มีขนแข็งปกติและยาวมีขนปกคลุมหนามากกว่า 3 เซนติเมตร ขนที่ใต้ท้องเป็นขนอ่อนสีเทา ส่วนที่เป็นขนแข็งสีดำหรือสีน้ำตาลอ่อน พบพระจายพันธุ์ในยุโรปตะวันออก, ตะวันตก, ยุโรปใต้ และบางส่วนในรัสเซีย กินอาหารได้หลากหลายทั้งแมลง, ไส้เดือนดิน, ไข่นก, แมลงปีกแข็ง รวมทั้งหนูหรือกบด้วย ออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยและทำรังในโพรงดินที่ขุดเอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเฮดจ์ฮอกยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ มอนโร

มส์ มอนโร (James Monroe; 28 เมษายน พ.ศ. 2301 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2374) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 5 (พ.ศ. 2360 - พ.ศ. 2368) การบริหารงานของเขาโดดเด่นจากการได้รัฐฟลอริดา (พ.ศ. 2362) ข้อตกลงมิสซูรี (พ.ศ. 2363) ซึ่งรัฐมิสซูรีประกาศตนเป็นรัฐทาส, การเข้าร่วมสหพันธ์ของรัฐเมน ในปี พ.ศ. 2363 ฐานะรัฐอิสระ และการประกาศวาทะมอนโรในปี พ.ศ. 2366 ประกาศให้สหรัฐไม่เข้ายุ่งเกี่ยวกับกิจการของยุโรป รวมทั้งการทำลายข้อผูกพันกับฝรั่งเศสซึ่งคงอยู่มาตั้งแต่สงครามปี พ.ศ. 2355.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเจมส์ มอนโร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว

้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว (140px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำปางพระองค์ที่ 2 ทรงครองนครลำปางในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยามหาเสนา (เสน)

้าพระยามหาเสนา (เสน) เป็นบุตรชายของเจ้าพระยาเพ็ชร์พิไชย (ใจ) สมุหนายกในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศซึ่งสืบเชื้อสายจากเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)ขุนนางคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเจ้าพระยามหาเสนา (เสน) · ดูเพิ่มเติม »

เต่า

ต่า คือ สัตว์จำพวกหนึ่งในอันดับ Testudines จัดอยู่ในจำพวกสัตว์เลือดเย็น ในชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการมาแล้วกว่า 200 ล้านปี ซึ่งเต่านั้นถือเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยเต่าจะมีกระดูกที่แข็งคลุมบริเวณหลังที่เรียกว่า "กระดอง" ซึ่งประกอบด้วยแคลเซียมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะสามารถหดหัว ขา และหางเข้าในกระดองเพื่อป้องกันตัวได้ แต่เต่าบางชนิดก็ไม่อาจจะทำได้ เต่าเป็นสัตว์ที่ไม่มีฟัน แต่มีริมฝีปากที่แข็งแรงและคม ใช้ขบกัดอาหารแทนฟัน โดยมากแล้ว เต่า เป็นสัตว์ที่เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ช้า อาศัยและใช้ช่วงชีวิตหนึ่งอยู่ในน้ำ ซึ่งมีอาศัยทั้งน้ำจืด และทะเล แต่เต่าบางจำพวกก็ไม่ต้องอาศัยน้ำเลย เรียกว่า "เต่าบก" (Testudinidae) ซึ่งเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เต่ายักษ์กาลาปากอส (Geochelone nigra) ที่อาศัยอยู่ตามเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะกาลาปากอส ในเอกวาดอร์ (มีทั้งหมด 15 ชนิดย่อย) ในขณะที่เต่าน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เต่าอัลลิเกเตอร์ (Macrochelys temminckii) อาศัยอยู่ตามหนองน้ำในทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเต่า · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหัวค้อน

ต่าหัวค้อน หรือ เต่าล็อกเกอร์เฮด หรือ เต่าจะละเม็ด (Loggerhead) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caretta caretta จัดเป็นเพียงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Caretta ลักษณะทั่ว ๆ ไปคล้ายเต่าหญ้า (Lepidochelys olivacea) และเต่าตนุ (Chelonia mydas) มาก ต่างกันที่เกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้ามี จำนวน 2 คู่ เท่ากับเต่าหญ้า แต่เกล็ดบนกระดองหลังแถวข้างมีจำนวน 5 แผ่นซึ่งต่างจากเต่าทะเลชนิดอื่น ๆ และรูปทรงของกระดองจะเรียวเล็กลงมาทางส่วนท้ายและเป็นสันแข็งเห็นชัดเจน กระดองมีสีน้ำตาลแดง น้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลส้ม ขอบชายโครงมีสันแข็ง ขณะที่ยังเป็นลูกเต่ากระดองจะยกสูง ที่สำคัญเป็นจุดเด่น คือ มีหัวขนาดใหญ่โตอย่างเห็นได้ชัด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ขาซึ่งเป็นใบพายทั้งคู่หน้าและคู่หลังมีเล็บหนึ่งเล็บในแต่ละข้าง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดกระดองหลังยาวประมาณ 85 เซนติเมตร กระดองท้อง 60 เซนติเมตร มีน้ำหนักตัวประมาณ 70 กิโลกรัม กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำมีเปลือกและหอย เป็นอาหารหลัก พบน้อยมากที่มหาสมุทรแปซิฟิก แต่พบมากที่มหาสมุทรแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบน้อยมาก และไม่พบรายงานว่ามีการขึ้นมาวางไข่เป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว แต่ยังพบได้บ้างที่เขตอบอุ่นทางตอนเหนือของออสเตรเลียและทะเลญี่ปุ่น หรืออินโดนีเซีย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเต่าหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

เต่าตนุ

ต่าตนุ (Green turtle) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelonia mydas อยู่ในวงศ์ Cheloniidae และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Chelonia เป็นเต่าทะเลที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่และมีน้ำหนักมากเมื่อโตเต็มที่ โดยมีความยาวตั้งแต่หัวจรดหางประมาณ 1 เมตร น้ำหนักราว 130 กิโลกรัม หัวป้อมสั้น ปากสั้น เกล็ดเรียงต่อกันโดยไม่ซ้อนกัน กระดองหลังโค้งนูนเล็กน้อย บริเวณกลางหลังเป็นแนวนูนเกือบเป็นสัน ท้องแบนราบขาทั้ง 4 แบน เป็นใบพาย ขาคู่หลังมีขนาดเล็กกว่าขาคู่หน้ามาก ขาคู่หน้ามีเล็บแหลมเพียงข้างละชิ้น สีของกระดองดูเผิน ๆ มีเพียงสีน้ำตาลแดงเท่านั้น แต่ถ้าหากพิจารณาให้ละเอียด จะพบว่าเกล็ดแต่ละเกล็ดของกระดองหลังมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลอมเขียว ขอบเกล็ดมีสีอ่อน ๆ เป็นรอยด่างและมีลายเป็นเส้นกระจายออกจากจุดสีแดงปนน้ำตาล คล้ายกับแสงของพระอาทิตย์ที่ลอดออกจากเมฆ จึงมีชื่อเรียกเต่าชนิดนี้ว่าอีกชื่อหนึ่งว่า "เต่าแสงอาทิตย์" ขณะที่ชาวตะวันตกเรียกว่า "เต่าเขียว" อันเนื่องจากมีกระดองเหลือบสีเขียวนั่นเอง พบกระจายพันธุ์ทั้งในมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นับเป็นเต่าทะเลชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดในน่านน้ำไทย โดยมักพบในเขตที่มีอุณหภูมิน้ำที่ค่อนข้างอุ่น คือ สูงกว่า 20 องศาเซลเซียสขึ้นไป เต่าตนุเป็นเต่าที่กินทั้งพืชและสัตว์ แต่จะกินพืชเป็นหลัก โดยกินอาหารจำพวก หญ้าทะเลหรือสาหร่ายทะเล โดยมีสัตว์น้ำขนาดเล็กทั่วไป เช่น ปลาหรือแมงกะพรุน เป็นอาหารรองลงไป โตเต็มที่เมื่ออายุได้ 4-7 ปี เชื่อว่าอายุยืนถึง 80 ปี ฤดูวางไข่ตกอยู่ในราวเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนกันยายนในบริเวณอ่าวไทยและอยู่ในราวเดือนกันยายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ในทะเลอันดามัน จำนวนไข่ต่อครั้งมีตั้งแต่ 70-150 ฟอง เต่าขนาดโตเต็มที่แล้วจะว่ายน้ำหากินไปเรื่อย ๆ แต่จะกลับมาวางไข่บนชายหาดที่ถือกำเนิด เป็นเต่าที่มักพบในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งหรือตามเกาะต่าง ๆ สำหรับในน่านน้ำไทย พบเต่าชนิดนี้ขึ้นวางไข่มากที่เกาะครามและเกาะกระในอ่าวไทย และทางฝั่งทะเลอันดามันพบวางไข่มากที่อุทยานแห่งชาติตะรุเตา บนชายหาดและเกาะหลายแห่งในจังหวัดภูเก็ตและพังง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเต่าตนุ · ดูเพิ่มเติม »

เซเบิล

ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเซเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดหางแหลม

ป็ดหางแหลม หรือ เป็ดหอม (Pintail duck, Northern pintail) เป็นนกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Anatidae มีคอยาวกว่าเป็ดชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน ลำตัวป้อมกลม มีปลายหางแหลมจนเห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ ปากและขามีสีเทา ตัวผู้หัวมีสีน้ำตาลเข้ม คอด้านหน้าและอกสีขาว ลำตัวสีเทา สีข้างมีแถบสีเหลือง ขณะที่ตัวเมียมีขนปกคลุมลำตัวสีน้ำตาล และมีขนาดลำตัวเล็กกว่าตัวผู้พอสมควร มีขนาดความยาวประมาณ 56 เซนติเมตร มีพฤติกรรมตอนกลางวันมักลอยตัวรวมกับเป็ดน้ำชนิดอื่น ๆ ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ หากินโดยใช้ปากไช้ตามผิวน้ำ และมุดน้ำโผล่หางแหลมชี้ขึ้นมาให้สังเกตได้ชัดเจน เป็นเป็ดที่วิ่งได้ไกลมาก และสามารถบินขึ้นจากน้ำได้เร็วและคล่องแคล่ว มีการกระจายพันธุ์กว้างไกล ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ จนถึงอเมริกากลาง, บางส่วนในแอฟริกา, ทวีปยุโรป, เอเชียเหนือ และเอเชียกลาง, ตะวันออกกลาง, อนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย์ สำหรับในประเทศไทย ถือเป็นนกอพยพในช่วงฤดูหนาว และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเป็ดหางแหลม · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดแมลลาร์ด

ป็ดแมลลาร์ด หรือ เป็ดหัวเขียว (mallard, wild duck) เป็นสัตว์ปีกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) เป็ดแมลลาร์ดมีลักษณะเหมือนเป็ดทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ ตัวผู้บริเวณหัวและคอสีเขียวเข้ม มีแถบสีขาวรอบคอ อกสีน้ำตาลแกมน้ำตาลแดงเข้ม ลำตัวด้านบนสีเทาแกมน้ำตาลอ่อน ตะโพกและขนคลุมโคนขนหางด้านบนเป็นสีดำ ขนหางสีออกขาว ท้องมีสีจางกว่าลำตัวด้านบน ปากสีเหลืองแกมเขียว ขาสีส้ม ขาของตัวเมียเป็นลายสีน้ำตาล มีแถบคาดตาสีดำ ปีกมีแววขนปีกสีน้ำเงิน ปากสีออกน้ำตาลมักมีขอบสีเหลืองหรือสีส้ม ขนหางสีจางกว่าขนคลุมโคนขนหางด้านบน กินทั้งได้พืชและสัตว์ มีความยาวเมื่อโตเต็มที่จากปลายปากถึงปลายหางประมาณ 50-60 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, ยุโรป, ตอนเหนือของทวีปแอฟริกา และทวีปเอเชีย ส่วนในนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย มีผู้นำเข้าไปเผยแพร่จากประเทศอังกฤษ ส่วนในประเทศไทยถือเป็นนกอพยพ แต่ไม่พบรายงานการวางไข่ของเป็ดชนิดนี้ มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง มีจำนวนสมาชิกประมาณ 50-60 ตัว ตามแหล่งน้ำทั่วไป และอาจจะรวมฝูงเข้ากับนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หากินในเวลากลางคืน ส่วนในเวลากลางวันจะว่ายน้ำพักผ่อนในแหล่งน้ำตื้น อาจกินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เข้าไปด้วย มีนิสัยตื่นตกใจง่าย มีความตื่นตัวระแวดระวังภัยสูง สามารถบินขึ้นจากน้ำได้อย่างรวดเร็ว เป็ดแมลลาร์ด ถือเป็นต้นสายพันธุ์ของเป็ดที่เลี้ยงกันในเชิงพาณิชย์อย่างในปัจจุบันนี้ และมีบางส่วนเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเป็ดแมลลาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดแมนดาริน

ป็ดแมนดาริน (Mandarin duck; 鸳鸯; พินอิน: Yuānyāng; オシドリ; 원앙) เป็นนกชนิดหนึ่ง จำพวกเป็ด อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) เป็ดแมนดาริน มีสีสวยมาก โดยเฉพาะในตัวผู้ จนได้ชื่อว่าเป็นนกชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามที่สุดในโลก เป็นนกที่จัดอยู่ในประเภทขนาดกลาง มีความยาวลำตัวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 48 เซนติเมตร ในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะมีสีฉูดฉาดหลายสี ซึ่งแต่ละสีตัดกันเห็นเด่นชัดสวยงามมาก โดยหน้าผากและหัวเป็นสีทองแดง, สีม่วง และเขียวเหลือบเป็นมันเงา และมีขนปีกสีส้มขนาดใหญ่ดูคล้ายเป็นแผงข้างละเส้นงามสะดุดตา และจะสวยงามในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดตัวย่อมลงมาและสีสันไม่ฉูดฉาดเท่า มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ตามหนองบึง และลำห้วยที่มีต้นไม้ขึ้นปกคลุม เพื่ออาศัยเป็นที่หลบซ่อนตัว และจะชอบเกาะอยู่ตามกิ่งไม้ โดยอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ตามแหล่งน้ำ โดยกินพืชน้ำชนิดต่าง ๆ รวมถึงสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร พอสิ้นฤดูหนาวเมื่อพ้นฤดูผสมพันธุ์แล้ว ตัวผู้จะผลัดขนจนดูคล้ายตัวเมีย ซึ่งจะมีลายขีดสีขาวบริเวณท้องและลายขีดสีดำที่โคนปาก เป็ดแมนดาริน วางไข่ครั้งละ 9-12 ฟอง ไข่มีสีเนื้อเป็นมัน ระยะเวลาฟักไข่นาน 28-30 วัน โดยที่ตัวเมียจะเป็นผู้ฟัก กระจายพันธุ์อยู่ในภาคตะวันออกของประเทศจีนแถบลุ่มแม่น้ำอุสซูรี ไปจนถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออก ได้แก่ ไต้หวัน, ญี่ปุ่น และเกาหลี รวมถึงบางส่วนในทวีปยุโรปด้วย เป็ดแมนดาริน เป็นนกที่จับคู่เพียงตัวเดียวตลอดชีวิต ดังนั้นจึงเป็นสัญลักษณ์ของความรักแท้ จนปรากฏเป็นนิทานพื้นบ้านเรื่องต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และยังเป็นสัตว์แห่งความเป็นสิริมงคลตามความเชื่อของชาวจีนอีกด้วย โดยปกติแล้ว เป็ดแมนดาริน ไม่ใช่นกประจำถิ่นของประเทศไทย ในประเทศไทยจะพบก็เพียงเป็นนกอพยพหนีหนาว แต่ก็พบได้น้อยมาก ในแถบภาคเหนือและภาคกลางบางพื้นที่ ด้วยความสวยงาม เป็ดแมนดาริน จึงมักถูกจับเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งในกฎหมายไทย เป็ดแมนดารินเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และเป็ดแมนดาริน · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2301และ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1758

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »