โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2171

ดัชนี พ.ศ. 2171

ทธศักราช 2171 ใกล้เคียงกั.

21 ความสัมพันธ์: ชาร์ล แปโรฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัมพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้ามีนเยเดะบะพระเจ้าอะเนาะเพะลูนภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสราชวงศ์สุโขทัยราชวงศ์ตองอูสมัยการปกครองส่วนพระองค์สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมออแตลเดอวีลอาณาจักรอยุธยาอำเภอสิงหนครผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์จอร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮมจอร์จ วิลเลียร์ส ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮมจักรพรรดิชาห์ชะฮันจักรวรรดินิยมในเอเชียทัชมาฮาลเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ29 กุมภาพันธ์

ชาร์ล แปโร

ร์ล แปโร (Charles Perrault; 12 มกราคม ค.ศ. 1628-16 พฤษภาคม ค.ศ. 1703) เป็นนักเขียนชาวฝรั่งเศสผู้วางรากฐานวรรณกรรมในยุคใหม่และวรรณกรรมประเภทเทพนิยาย มีชื่อเสียงมากจากผลงานเรื่อง Le Petit Chaperon rouge (หนูน้อยหมวกแดง) La Belle au bois dormant (เจ้าหญิงนิทรา) Le Maître chat ou le Chat botté (แมวน้อยในรองเท้าบูต) Cendrillon ou la petite pantoufle de verre (ซินเดอเรลล่า) และเทพนิยายอื่นๆ อีกมากมาย ผลงานของแปร์โรลด์ยังมีการตีพิมพ์เพิ่มอยู่จนถึงทุกวันนี้ และได้รับการดัดแปลงไปเป็นอุปรากรโอเปร่า บัลเล่ต์ ละครเวที ละครเพลง ภาพยนตร์ และภาพยนตร์การ์ตูนมากม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และชาร์ล แปโร · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม

ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม (Francis Willoughby, 5th Baron Willoughby of Parham; ราว ค.ศ. 1605 - 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1666) เป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการที่เกนส์บะระในสงครามกลางเมืองอังกฤษ วิลละบีสนับสนุนฝ่ายรัฐสภาในระยะแรกของสงครามแต่ต่อมาเปลี่ยนข้างไปเป็นฝ่ายกษัตริย์นิยม และต่อมาก็เข้ารับราชการเป็นข้าหลวงของอาณานิคมอังกฤษสองครั้งในแคริบเบียน ฟรานซิส วิลละบีเกิดที่แพรัมในเทศมณฑลซัฟฟอล์ก ราว ค.ศ. 1605 เป็นบุตรของวิลเลียม วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 3 แห่งแพรัม และฟรานซ์ แมนเนอส์ บุตรสาวของจอห์น แมนเนอส์ เอิร์ลที่ 4 แห่งรัตแลนด์แห่งนอตติงแฮม บิดาของฟรานซิสเสียชืวิตเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามีนเยเดะบะ

ระเจ้ามินแยไดกปา (မင်းရဲဒိဗ္ဗ) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 ของราชวงศ์ตองอูแห่งพม่า พระองค์ครองราชบัลลังก์ในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และพระเจ้ามีนเยเดะบะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอะเนาะเพะลูน

ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และพระเจ้าอะเนาะเพะลูน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดาBelkin, pp.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุโขทัย

ราชวงศ์สุโขทัย เป็นราชวงศ์ที่ 3 ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา โดยสืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย ราชวงศ์สุโขทัยถูกสถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ซึ่งเป็นพระราชโอรสในตำแหน่ง ขุนพิเรนทรเทพ ที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากพ่อขุน หรือกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยแต่ดั้งเดิม เป็นราชวงศ์ที่ถูกผลัดเปลี่ยนขึ้นมาแทนที่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือราชวงศ์สุวรรณภูมิ ที่สูญสิ้นไปหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า โดยที่ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าให้สถาปนาขุนพิเรนทรเทพ ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระองค์ในการทำสงครามกับกรุงศรีอยุธยา ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงศรีอยุธยา ภายใต้การเป็นเมืองขึ้นของพม่าต่อไป ราชวงศ์สุโขทัยมีอายุ 60 ปี รายพระนามของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ประกอบด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และราชวงศ์สุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

สมัยการปกครองส่วนพระองค์

มเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ สมัยการปกครองส่วนพระองค์ หรือ สมัยสิบเอ็ดปีแห่งความกดขี่ (ภาษาอังกฤษ: Personal Rule หรือ Eleven Years' Tyranny) เป็นช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1629 จนถึงปี ค.ศ. 1640 เมื่อสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษทรงปกครองอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์โดยไม่มีรัฐสภา การกระทำของพระองค์แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ทรงมีสิทธิที่จะทำได้ตามพระราชอภิสิทธิ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยกฎหมายจารีตประเพณี แต่การกระทำของพระองค์เป็นสิ่งที่ก่อความไม่พึงพอใจแก่ชนชั้นปกครอง ก่อนหน้านั้นพระเจ้าชาร์ลส์ก็ทรงยุบสภาไปแล้วสามครั้งในปี ค.ศ. 1628 หลังจากการฆาตกรรมของจอร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 1ผู้มีความรับผิดชอบในนโยบายการต่างประเทศแล้ว รัฐสภาก็เริ่มติเตียนพระเจ้าชาร์ลส์หนักยิ่งขึ้น พระองค์ทราบว่าตราบใดที่ทรงเลี่ยงการทำสงครามได้พระองค์ก็สามารถปกครองบ้านเมืองได้โดยไม่ต้องพึ่งรัฐสภา นักประวัติศาสตร์พรรควิกบางทีก็เรียกยุคนี้ว่า “สมัยสิบเอ็ดปีแห่งความกดขี่” ซึ่งเป็นการชี้ให้เห็นถึงประเภทการปกครองที่ใช้ในช่วงระยะเวลานั้น ซึ่งต่อมาเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ แต่เมื่อไม่นานมานี้กลุ่มนักประวัติศาสตร์สังคายะนากล่าวถึงยุคนี้ว่าเป็นช่วงของการ “การปฏิรูปสร้างสรรค์” (Creative Reform) ซึ่งเป็นการกล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชาร์ลส์ในการวางโครงสร้างทางการเมืองของอังกฤษในช่วงระยะเวลานั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และสมัยการปกครองส่วนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม

มเด็จพระเจ้าทรงธรรม หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 1 หรือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม หรือ สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงธรรมอันมหาประเสริฐ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 21 แห่งกรุงศรีอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัย หลังจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สำเร็จโทษพระมหากษัตริย์องค์ก่อนแล้ว พระศรีศิลป์หรือพระพิมลธรรม หรือพระเจ้าทรงธรรมก็เสด็จปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ออแตลเดอวีล

ออแตลเดอวีล (Hôtel de Ville) เป็นสถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในเขตที่ 4 โดยเป็นศาลาว่าการกรุงปารีส มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1357 และยังใช้เป็นจวนผู้ว่าราชการกรุงปารีส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 เป็นต้นมา รวมถึงห้องจัดงานต่าง ๆ ด้วย ราวปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และออแตลเดอวีล · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสิงหนคร

งหนคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และอำเภอสิงหนคร · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์

ผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์ (Governor of Massachusetts) เป็นผู้ที่บริหารงานในรัฐแมสซาชูเซตส์ ผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์คนปัจจุบัน คือ ชาร์ลี เบเคอร์ จากพรรคริพับลิกัน ชนะการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งผู้ว่าการรัฐคนใหม่ เนื่องจากเดวาล แพทริค ประกาศว่าจะไม่ลงเลือกตั้งในครั้งนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม

อร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม (George Villiers, 1st Duke of Buckingham) (28 สิงหาคม ค.ศ. 1592 - (23 สิงหาคม ค.ศ. 1628) เป็นข้าราชสำนักคนโปรดและบางหลักฐานก็อ้างว่าเป็นคนรักของพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และจอร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วิลเลียร์ส ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม

อร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 (ภาษาอังกฤษ: George Villiers, 2nd Duke of Buckingham) (30 มกราคม ค.ศ. 1628 - (16 เมษายน ค.ศ. 1687) จอร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษและเป็นบุตรของจอร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 1 ผู้เป็นข้าราชสำนักคนโปรดของพระเจ้าเจมส์ที่ 1และพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 และ แคทเธอริน วิลเลียรส์ (Katherine Villiers, Duchess of Buckingham) เมื่อบิดาเสียชีวิตดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 มีอายุเพียง 4 เดือน ดยุคและฟรานซิสน้องชายจึงได้รับการเลี้ยงดูโดยพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 พร้อมกับพระราชโอรสธิดาของพระองค์เอง และได้รับการศึกษาจาก วิทยาลัยทรินิตี, มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และได้รับปริญญาโททางศิลปะในปี ค.ศ. 1642.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และจอร์จ วิลเลียร์ส ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชาห์ชะฮัน

ีน มุฮัมมัด คุรรัม ชาห์ชะฮันที่ 1 (شاه ‌جہاں, Persian: شاه جهان, शाहजहां ศาหชหำ, ราชสมภพ 5 มกราคม ค.ศ. 1592 - สวรรคต 22 มกราคม ค.ศ. 1666) พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ กับพระนางโชธพาอี (เจ้าหญิงมนมาตีแห่งโชธปุระ) ทรงครองบัลลังก์ต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 1627 โดยการสังหารพี่น้องจำนวนมากดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และจักรพรรดิชาห์ชะฮัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทัชมาฮาล

ทัชมาฮาล (ภาษาฮินดี: ताजमहल, ตาช มฮัล รากศัพท์เดิมมาจากภาษาอาหรับ ตาจญ์ (มงกุฎ) และ มะฮัล (สถาน) (ภาษาอาหรับ: تاج محل) เป็นอนุสรณ์สถาน ตั้งอยู่ในเมืองอัครา ประเทศอินเดีย นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และทัชมาฮาล · ดูเพิ่มเติม »

เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส (Henrietta Maria of France) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 - 10 กันยายน ค.ศ. 1669) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 ที่พระราชวังลูฟร์ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี เดอ เมดีซิส สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ต่อมาเป็นพระราชินีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1625 ถึงวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียสิ้นพระชนม์เมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1669 ที่วังแห่งโคลอมบ์ ฝรั่งเศส พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียเป็นพระราชินีแห่ง ราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ โดยการเสกสมรสกับพระเจ้าชาลส์ และเป็นพระราชมารดาในพระมหากษัตริย์สองพระองค์ คือ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และเป็นพระอัยกีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3และพระราชินีนาถแมรี และพระราชินีนาถแอนน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

29 กุมภาพันธ์

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ เรียกวันนี้ว่าเป็นวัน อธิกวาร (leap day) ในเกรกอเรียน ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2171และ29 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1628

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »