โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2025

ดัชนี พ.ศ. 2025

ทธศักราช 2025 ใกล้เคียงกั.

22 ความสัมพันธ์: พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนกลุ่มสิบเจ็ดมณฑลการประหารทารกผู้วิมลกำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี)มหาชาติคำหลวงมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษยุคมุโระมะชิรายชื่อเมืองหลวงของพม่ารายพระนามสมเด็จพระราชินีและจักรพรรดินีแห่งเกาหลีรายพระนามคู่สมรสแห่งบูร์กอญรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี)ลูคา เดลลา รอบเบียศาสนาพุทธในประเทศไทยสังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชูอะชิกะงะ โยะชิมะซะฮือโค ฟัน เดอร์คุสจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทิเชียนแมรีแห่งเบอร์กันดีโบนาเวนตูรา25 สิงหาคม

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล (Siebzehn Provinzen, Seventeen Provinces) เป็นการรวมตัวเป็นสหอาณาจักรของรัฐในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ที่ครอบคลุมบริเวณที่ในปัจจุบันคือเนเธอร์แลนด์, เบลเยียม, บริเวณพอสมควรในลักเซมเบิร์ก (อาร์ตัว, นอร์ด) และส่วนเล็กๆ ในเยอรมนี กลุ่มสิบเจ็ดมณฑลเดิมอยู่ภายใต้การปกครองของดยุคแห่งเบอร์กันดีแห่ง ราชวงศ์วาลัวส์และต่อมาโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์ก เริ่มด้วยสายสเปนและตามด้วยสายออสเตรีย ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และกลุ่มสิบเจ็ดมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

การประหารทารกผู้วิมล

ตรกรรม “ทารกผู้วิมล” (the Holy Innocents) โดยแมตเทโอ ดี จีโอวานนี (Matteo di Giovanni) ค.ศ. 1482 (พ.ศ. 2024) การประหารทารกผู้วิมล (Massacre of the Innocents) เป็นมหาทารกฆาตอันกษัตริย์เฮโรด พระเจ้ากรุงเยรูซาเลม รับสั่งให้ประหารทารกเพศชายผู้ไร้มลทินทั้งนครเบธเลเฮม ในวาระที่พระเยซูประสูติ เพื่อกันมิให้พระองค์ต้องทรงเสียพระราชบัลลังก์ไปให้แก่พระเยซูผู้ทรงได้ชื่อว่าเป็น “กษัตริย์ของชาวยิว” เหตุการณ์นี้มีบันทึกในพระวรสารนักบุญมัทธิว (Gospel of Matthew) บทที่ 2 ข้อ 13-16 ซึ่งเชื่อว่าเป็นผลงานการประพันธ์ของนักบุญมัทธิว ผู้ประกาศข่าวประเสริฐ (Matthew the Evangelist) และพระวรสารนักบุญเจมส์เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 2Protoevangelium of James: Online.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และการประหารทารกผู้วิมล · ดูเพิ่มเติม »

กำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี)

กำเนิดวีนัส (The Birth of Venus) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “กำเนิดวีนัส” ระหว่างปี ค.ศ. 1484 ถึงปี ค.ศ. 1486 ที่เป็นภาพของวีนัสลอยมาเกยฝั่งอย่างผู้หญิงเต็มตัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และกำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

มหาชาติคำหลวง

มหาชาติคำหลวง ก็คือเรื่องเวสสันดรชาดก สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตแปลแต่งที่เมืองพิษณุโลก เมื่อพ.ศ. 2025 ดังปรากฏหลักฐานใน พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ว่า " ศักราช 844 ขานศก ท่านให้เล่นการมหรสพ 15 วัน ฉลองพระศรีรัตนมหาธาตุ แล้วจึงพระราชนิพนธ์พระมหาชาติคำหลวงจบบริบูรณ์ " แต่ละกัณฑ์ กวีจะแต่งด้วยฉันทลักษณ์ที่ต่างกัน เช่น ร่ายโบราณ ฉันท์ โคลง เป็นต้น และการแต่งเรียกว่าแปลยกศัพท์ กล่าวคือขึ้นต้นวรรคด้วยภาษาบาลีแล้วแปลเป็นภาษาไทยสลับกันไปทุกวรรค เมื่อแต่งเสร็จแล้วก็โปรดให้นำมา อ่านตรวจทานแก้ไขและคิด มหาชาติคำหลวงนี้ไม่ใช่สำหรับพระเทศน์แต่ให้เจ้าหน้าที่ กรมธรรมการ คือ ขุนทินบรรณาการและขุนธารกำนัล พร้อมกับผู้ช่วยอีก 2 คนใช้สวดถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงฟังทุกวันพระในระหว่างเข้าพรรษาในวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ ทำนองสวดของแต่ละกัณฑ์ มีเม็ดพรายในการสวดก็แตกต่างกันไปทั้งหลบเสียง เอื้อนเสียง หลังจากเสียกรุงฯ เมื่อพ.ศ. 2310 ต้นฉบับ มหาชาติคำหลวงหายไป 6 กัณฑ์ คือ หิมพานต์ ทานกัณฑ์ จุลพน มัทรี สักกบรรพ และฉกษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมกวีร่วมกัน แต่งซ่อมกัณฑ์ที่ยังขาดให้ครบทั้ง 13 กัณฑ์ ธรรมเนียมการสวดมหาชาติคำหลวงยังคงสืบมาจนถึงปัจจุบันทุกวันพระในระหว่างเข้าพรรษาแต่เหลือสวด เพียงกัณฑ์มหาพนเท่านั้น ข้าราชการกรมการศาสนาจะแต่งชุดขาวตั้งเตียงสวดต่อท้ายอาสน์สงฆ์ในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีกระบะบูชาปักธูปเทียน สมุดที่ใช้บันทึกมหาชาติคำหลวงเป็นสมุดไทยดำเขียนตัวหนังสือ ด้วยหรดาลและมีเครื่องหมายบอกทำนองสวดกำกับไปทุกวรรค อานิสงส์ ๑๓ กัณฑ์ ผู้ไดบูชากัณฑ์ทศพร (กัณฑ์ที่ ๑)อานิสงส์ท่านบอกว่าในชาติหน้าที่ไปบังเกิดจะประกอบด้วยรูปสมบัติมีสิริโฉมและรูปร่างที่งดงามอันงดงามกว่าชนทั้งหลาย จะเจรจาปราศัยก็มีน้ำเสียงไพเราะเสนาะโสต มีกลิ่นกายหอมฟุ้งไปไกล แม้จะได้สามีภรรยาบุตรธิดา ก็ล้วนแต่มีรูปทรงงดงาม ผู้บูชากัณฑ์หิมพานต์ (กัณฑ์ที่๒) อานิสงส์ท่านบอกว่าประกอบด้วยความสุขกายสบายใจทุกอิริยาบถ ครั้นตายแล้วจะได้ไปบังเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ครั้นตายแล้วจะได้ไปเกิดในฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพอัปสรแวดล้อมมากมาย เสวยสุขอยูในปราสาทแล้วด้วยแก้ว ๗ ประการ เสวยทิพย์สมบัติอันมโหฬาร มีบริวารแวดล้อมบำรุงบำเรออยู่เป็นนิตย์ ผู้บูชากัณฑ์ทานกัณฑ์ (กัณฑ์ ที่๓) อานิสงส์ท่านบอกว่า จะได้ทรัพย์สมบัติดังปรารถนาบริบูรณ์ด้วยแก้วแหวนเงินทอง อันบริบูรณ์ด้วยทรัพย์สินเงินทองนานัปประการ ผู้บุชากัณฑ์วนประเวสน์ (กัณฑ์ ที่ ๔)อานิสงส์ท่านบอกว่าแม้จะบังเกิดในปรภพใดๆ จะเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยสมบัติ มีที่ดิน บ้านเรือนใหญ่โตมากมาย มีสวนไร่นามากมาย จะมีอุทยานอันดาดาษด้วยต้นไม้ดอกไม้ของหอม และจะมีสระโบกขรณีกว้างใหญ่ มีน้ำใสสะอาดบริบูรณ์ อันเต็มไปด้วยปทุมชาติ ผู้บูชากัณฑ์ชูชก (กัณฑ์ ที่๕) อานิสงส์ท่านบอกว่าเกิดในชาติหน้าจะมีอายุยืนจะไปในที่ใดๆ ก็จะมีแต่ความสุขทุกแห่งหน ปราศจากโรคาพาธทั้งหลาย ไม่เจ็บป่วยเป็นโรคภัยใดๆ และรอดพ้นจากภยันตรายทั้งปวง เป็นผู้มีพละกำลังมาก จะมีพลังต้านทานโรคหลายอย่าง และสิ่งใดที่หายไปก็จะได้กลับคืนดังเก่า ผู้บูชากัณฑ์จุลพน (กัณฑ์ที่ ๖)) อานิสงส์ท่านบอกว่าจะได้รับการคุ้มครองจากผู้หลักผู้ใหญ่เกิดชาติไหนๆ ก็จะได้เป็นใหญ่เป็นโต เป็นหัวหน้าคนเป็นนายคน เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยเดชศักดานุภาพ เฟื่องฟุ้งไปทั่ว ผู้บูชากัณฑ์มหาพน (กัณฑ์ ที่ ๗) อานิสงส์ท่านบอกว่าจะสมบูรณ์ด้วยสติปัญญา เป็นผู้ทรงปรีชา เฉลียวฉลาด จะเป็นผู้ที่ไม่โง่เขลา เป็นคนมีปัญญา สามารถปราบอริศัตรูให้ย่อยยับไปได้ ผู้บูชากัณฑ์กุมาร (กัณฑ์ที่๘)อานิสงส์ท่านบอกว่าจะได้บรรลุเป็นพระอริยะบุคคล พร้อมด้วยคุณวิเศษทั้งปวง ด้วยบุญราศีที่ได้อบรมไว้ ตลอดจนนิพพานสมบัติ อันตัดเสียซึ่งทุกข์ทั้งปวง หลุดพ้นจากกองกิเลสและวัฏฏสงสาร ผู้บูชากัณฑ์มัทรี (กัณฑ์ ที่ ๙) อานิสงส์ท่านบอกว่า ผู้นั้นจะได้คู่ครองที่ใจปรารถนาและครอบครัวที่เป็นไปตามต้องการ ถ้าเป็นสตรี จะได้สามีเป็นที่ชอบเนื้อเจริญใจ ถ้าเป็นบุรุษจะได้ภริยาเป็นที่ต้องประสงค์ จะได้บุตรหญิงชายที่ประเสริฐ เป็นคนว่าง่ายสอนง่าย มีความประพฤติกิริยาเรียบร้อยดีทุกประการ ผู้บูชากัณฑ์มหาราช (กัณฑ์ที่๑๐) อานิสงส์ท่านบอกว่าเกิดชาติหน้าจะเกิดในตระกูลสูงศักดิ์เช่นตระกูลขัตติยมหาศาลในสมัยที่กษัตริย์สูงศักดิ์ หรือตระกูลพราหมณ์มหาศาล ในยุคที่ตระกูลพราหมณ์สูงส่งยิ่งนัก เป็นที่นับหน้าถือตาแห่งคนทั้งปวง ผู้บูชากัณฑ์สกบรรพ (กัณฑ์ที่ ๑๑)อานิสงส์ท่านบอกว่า มีบริวารมากมายทั้ง ทาส ทาสี และสัตว์ สองเท้า สี่เท้า เช่น โค กระบือ ช้างม้า รถ ยานพาหนะนับประมาณมิได้ ผู้บูชากัณฑ์ ฉกษัตริย์ (กัณฑ์ ที่๑๒)อานิสงส์ท่านบอกว่า จะบริบูรณ์ด้วยวงศาคณาญาติบุตร ธิดา สามี หรือภรรยา บิดา มารดา เป็นต้น อยู่พร้อมหน้ากันโดยความผาสุก จะได้อยู่พร้อมหน้ากันอย่างมีความสุข จะทำกิจกรรมการงานใดก็ประสบความสำเร็จ จะทำการใดๆ ก็พร้อมเพรียงกันยังการงานนั้นๆให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้บูชากัณฑ์นครกัณฑ์ (กัณฑ์ ที่๑๓) อานิสงส์ท่านบอกว่า จะเกิดเป็นมนุษย์ทันยุคศาสนาพระศรีอาริยเมตตรัยจะได้ถือปฏิสนธิในสมัยที่พระศรีอริยเมตตรัยมาอุบัติและจะได้พบกับพระองค์ ตลอดจนได้สดับตรับฟังพระธรรมเทศนาของพระองค์ ตัวอย่างมหาชาติคำหลวง กัณฑ์มัทรี ตอนพระนางมัทรีครวญถึงพระกุมารทั้งสอง หํสาว ดุจหงษโปฎก กระเหว่าเหล่านก พลัดแม่สูญหาย อุปริปลฺลเล ตกต่ำติดตม อดนมปางตาย ดุจแก้วแม่หาย ไม่คอยมารดา แหล่งศึกษาเพิ่มเติม โดยเจ้าหน้าที่กรมการศาสนา หมวดหมู่:มหาเวสสันดรชาดก หมวดหมู่:วรรณกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และมหาชาติคำหลวง · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มาร์กาเร็ตแห่งอองชู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (อังกฤษ: Margaret of Anjou) (23 มีนาคม ค.ศ. 1430 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1482) มาร์กาเร็ตแห่งอองชูประสูติเมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1430 ที่ปองต์-อา-มูซองในแคว้นลอร์แรนในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของ เรอเนแห่งอองชู และ อิสซาเบลลาดัชเชสแห่งลอร์แรน (Isabella, Duchess of Lorraine) มาร์กาเร็ตแห่งอองชูทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ และทรงได้รับการราชาภิเษกเป็นพระราชินีเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1445 ทรงดำรงพระราชอิศริยยศเป็นพระราชินีระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1445 ถึงวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1461 และอีกครั้งหนึ่งระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1470 ถึงวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1471 มาร์กาเร็ตแห่งอองชูสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1482 ที่อองชูในประเทศฝรั่งเศส มาร์กาเร็ตทรงเป็นผู้นำกองทัพของแลงคาสเตอร์ในสงครามดอกกุหลาบหลายครั้ง; และเพราะการที่พระสวามีมีพระอาการเหมือนคนเสียสติเป็นพัก ๆ มาร์กาเร็ตจึงแทบจะกลายเป็นผู้ปกครองราชอาณาจักรในนามของพระสวามี ในเดือนพฤษภารมปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมุโระมะชิ

มุโระมะชิ ตรงกับค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1568 ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 14 อะชิคะงะ โยะชิมิสึ ได้ปราบปรามชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบ และตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นอีกครั้งที่ เคียวโตะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนนี้ได้ปกครองญี่ปุ่นต่อมาเป็นเวลานานถึงสองศตวรรษเศษอันเป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบก็ได้กลืนวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนของตระกูลอะชิคะงะ เกิดจากการรวมตัวของขุนศึกสำคัญ ๆ ตามหัวเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นธรรมดาที่การรวบอำนาจให้รัฐบาลมีเสถียรภาพนั้นเป็นไปได้อย่างลำบาก ดังนั้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ขุนศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงเริ่มทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน จนทั้งประเทศญี่ปุ่นตกเข้าสู่ยุคสงคราม ภายในยุคนี้เป็นยุคที่ชนชั้นนักรบมีอำนาจเหนือเกษตรกรและมีกรรมสิทธิเหนือที่ดินจึงเป็นการปกครองระบบศักดินาโดยสมบูรณ์ ด้านเศรษฐกิจก็เจริญรุ่งเรืองมาก เนื่องจากทำการค้ากับจีนสมัยหมิงด้านวัฒนธรรม ลัทธิเซนเป็นส่วนเพิ่มเติมให้กับวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองและชนชั้นนักรบ ซึ่งเห็นรูปแบบได้จากตำหนักทอง (Kinkaku) ในปลายศตวรรษที่ 14 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมคิตะยะมะ (Kitayama) และตำหนักเงิน (Ginkaku) ในปลายศตวรรษที่ 15 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ (Higashiyama) การละคร อย่างเช่น โน เคียวเง็น และการต่อเพลง ก็เริ่มแพร่หลายสู่ประชาชนภายนอก ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น อย่างเช่น พิธีชงชา การจัดดอกไม้ ก็เริ่มมีรากฐานมาจากยุคนี้ และในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 พวกฝรั่ง เช่น ชาติโปรตุเกส และสเปนก็ได้นำอาวุธปืนยาวและศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และยุคมุโระมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองหลวงของพม่า

รายชื่อเมืองหลวงในประวัติศาสตร์พม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และรายชื่อเมืองหลวงของพม่า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสมเด็จพระราชินีและจักรพรรดินีแห่งเกาหลี

มเด็จพระจักรพรรดินีแห่งเกาหลี หรือ สมเด็จพระราชินีแห่งเกาหลี คือตำแหน่งของคู่สมรสของสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งเกาหลี ตั้งแต่สมัยที่เริ่มก่อตั้งอาณาจักรโชซ็อนและจักรวรรดิเกาหลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และรายพระนามสมเด็จพระราชินีและจักรพรรดินีแห่งเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่สมรสแห่งบูร์กอญ

ทความนี้แสดงลิสต์ราชินี เคานท์เตส และดัชเชสซึ่งเป็นคู่สมรสในผู้ปกครอง ราชอาณาจักรบูร์กอญ เคาน์ตีบูร์กอญ และดัชชีบูร์กอญ โดยเริ่มตั้งแต่สมัยตำนานจนถึงปีค.ศ. 1795.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และรายพระนามคู่สมรสแห่งบูร์กอญ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี)

ูใบไม้ผลิ (Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

ลูคา เดลลา รอบเบีย

ลูคา เดลลา รอบเบีย (Luca della Robbia) (ค.ศ. 1400 - ค.ศ. 1482) เป็นประติมากรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางสร้างงานเซรามิคเคลือบ (Ceramic glaze) ลูคาสร้างงานเซรามิคเคลือบที่มีความทนแดดทนฝนที่เหมาะแก่การตกแต่งภายนอกตัวอาคาร งานของลูคามีชื่อว่าเป็นงานที่มีเสน่ห์ที่ไม่ใช่งานที่พยายามแสดงนาฏกรรมเช่นงานของศิลปินอื่นร่วมสมัย งานชิ้นสำคัญสองชิ้นที่สร้างคือ “การประสูติของพระเยซู” ที่สร้างราวปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และลูคา เดลลา รอบเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู

ระนิชิเนียว โชนิง สังฆนายกรูปปัจจุบันแห่งนิชิเรนโชชู ในนิกายนิชิเร็งโชชู สังฆนายก เป็นตำแหน่งของผู้นำและประมุขสุงสุดของนิกาย ซึ่งมีสานุศิษย์อยู่ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย มีผู้นับถือส่วนมากในประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน กานา มาเลเซีย บราซิล ศรีลังกา และประเทศไทย สังฆนายกรูปปัจจุบันคือ พระนิชิเนียว โชนิง สังฆนายกรูปที่ 68.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และสังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิมะซะ

อะชิกะงะ โยะชิมะซะ โชกุนคนที่ 8 แห่ง ตระกูลอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1449 ถึง ค.ศ. 1473 ในสมัยของโชกุนโยะชิมะซะได้ชื่อว่าเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความเสื่อมถอยของรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะจากเหตุการณ์สงครามโอนิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และอะชิกะงะ โยะชิมะซะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮือโค ฟัน เดอร์คุส

ือโค ฟัน เดอร์คุส (Hugo van der Goes; ราว ค.ศ. 1440 - ราว ค.ศ. 1482) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (เรอแนซ็องส์) ของตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและบานพับภาพ ฮือโค ฟัน เดอร์คุสเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1440 ที่เมืองเกนต์ เสียชีวิตที่ใกล้เมืองบรัสเซลส์เมื่อราว ค.ศ. 1482 ฮือโคเป็นสมาชิกของสมาคมช่างเขียนแห่งเกนต์ในฐานะมาสเตอร์ในปี ค.ศ. 1467 ในปี ค.ศ. 1468 ฮือโคก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตกแต่งเมืองบรูชเพื่อเตรียมการฉลองการเสกสมรสระหว่างชาร์ลพระเศียรล้าน ดุ๊กแห่งเบอร์กันดี (Charles the Bold) กับมาร์กาเรตแห่งยอร์ก (Margaret of York) และเป็นผู้ตกแต่งตราประจำพระองค์สำหรับขบวนการเสด็จเข้าเมืองเกนต์ของพระเจ้าชาร์ลในปี ค.ศ. 1469 และต่อมาในปี ค.ศ. 1472 ฮือโคก็ได้รับเลือกให้เป็นอธิการของสมาคมในปี ค.ศ. 1473 หรือปี ค.ศ. 1474 ในปี ค.ศ. 1475 หรือหลายปีต่อมา ฮือโคก็บวชเป็นพระที่สำนักสงฆ์โรดโกลสเตอร์ (Rood Klooster) ไม่ไกลจากบรัสเซลส์ที่เป็นของนิกายวินเดิสไฮม์ (Windesheim Congregation) และยังคงทำงานจิตรกรรมต่อจนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1482 หรือในปี ค.ศ. 1483 ในปี ค.ศ. 1480 ฮือโคถูกเรียกตัวไปเมืองเลอเฟินเพื่อไปเขียน "Justice Scenes" ที่ดีร์ก เบาตส์ เขียนค้างไว้ก่อนที่จะเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1475 หลังจากนั้นไม่นานขณะที่ฮือโคเดินทางกลับจากโคโลญกับพระในสำนักก็เกิดความรู้สึกอยากจะฆ่าตัวตายและประกาศตัวเองว่าเป็นผู้ที่ถูกแช่ง แต่เมื่อกลับมาถึงโรดโกลสเตอร์ ฮือโคก็หายและเสียชีวิตที่นั่น ระยะเวลาที่พำนักที่สำนักสงฆ์ถูกบันทึกโดยคัสปาร์ โอฟเฮยส์ (Gaspar Ofhuys) นักบวชอีกองค์หนึ่ง รายงานโดยแพทย์ชาวเยอรมันฮีเยโรนือมุส มึนเซอร์ (Hieronymus Münzer) ในปี ค.ศ. 1495 ทีกล่าวถึงจิตรกรชาวเกนต์ตกอยู่ในอารมณ์เศร้าเพราะความกดดันที่จะเขียนภาพให้ดีเท่าฉากแท่นบูชาเกนต์ อาจจะหมายถึงฮือโค งานเขียนชิ้นที่สำคัญที่สุดที่ยังเหลืออยู่คือฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี (หอศิลป์อุฟฟีซี เมืองฟลอเรนซ์) ที่เป็นงานที่จ้างสำหรับวัดซานเอจีดีโอในโรงพยาบาลของวัดซานตามารีอานูโอวาในฟลอเรนซ์ โดยตอมมาโซ ปอร์ตีนารี (Tommaso Portinari) ผู้จัดการสาขาบรูชของธนาคารเมดีชี ฉากแท่นบูชามาถึงฟลอเรนซ์ในปี ค.ศ. 1483 หลายปีหลังจากที่ฮือโคเขียนเสร็จ เป็นงานที่ชื่นชมกันในฟลอเรนซ์ จอร์โจ วาซารีในหนังสือ "ชีวิตศิลปิน" ของปี ค.ศ. 1550 เรียกฮือโคว่า "Ugo d'Anversa" (ฮือโคแห่งแอนต์เวิร์ป) ซึ่งเป็นหลักฐานเดียวที่ยืนยันว่าฮือโคเป็นผู้เขียนภาพ งานชิ้นอื่นใช้การวิจัยลักษณะการเขียนโดยการเปรียบเทียบกับฉากแท่นบูชานี้ในการบ่งว่าฮือโคเป็นผู้วาด ดูเหมือนว่าฮือโคจะทิ้งงานร่างไว้เป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจจะใช้โดยผู้นิยมในการสร้างงานเขียนที่ฮือโคไม่ได้วาดด้วยตนเอง ร่างภาพ "เจค็อบและเรเชล" อยู่ที่ไครสต์เชิร์ช เชื่อเป็นงานที่ลงชื่อในจำนวนไม่กี่ชิ้นที่เหลืออยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และฮือโค ฟัน เดอร์คุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิมักซีมีเลียน(หรือมักซิมิเลียน) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Maximilian I, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (เกิด 22 มีนาคม ค.ศ. 1459 - ตาย12 มกราคม ค.ศ. 1519) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1508 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1519 มักซีมีเลียนทรงปกครองร่วมกับพระราชบิดาระหว่างช่วงสิบปีสุดท้ายของรัชสมัยตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 1483 พระองค์ทรงขยายอิทธิพลของราชวงศ์ฮับส์บูร์กทั้งในด้านการเสกสมรสและการสงครามWorld Book Encyclopedia, Field Enterprises Educational Corporation, 1976.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

แมรีแห่งเบอร์กันดี

แมรีแห่งเบอร์กันดี หรือ แมรีผู้มั่งคั่ง (Mary of Burgundy หรือ Mary the Rich) (13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1457 - 27 มีนาคม ค.ศ. 1482) แมรีแห่งเบอร์กันดีเป็นบุตรีของชาร์ลส์เดอะโบลด์ ดยุกแห่งเบอร์กันดีและอิซาเบลลาแห่งบูร์บอง และมีบรรดาศักดิ์เป็นดัชเชสแห่งแห่งเบอร์กันดี ระหว่างปี ค.ศ. 1477 จนกระทั่งเสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1482 แมรีเป็นธิดาคนเดียวของชาร์ลส์เดอะโบลด์ซึ่งทำให้มีสิทธิเป็นทายาทของดินแดนเบอร์กันดีอันใหญ่โตในฝรั่งเศสและในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำเมื่อบิดาเสียชีวิตในยุทธการนองซี (Battle of Nancy) เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1477 แม่ของแมรีเสียชีวิตก่อนหน้านั้นในปี ค.ศ. 1465 แต่แมรีมีความสัมพันธ์อันดีกับแม่เลี้ยงมาร์กาเร็ตแห่งยอร์คผู้ที่ชาร์ลส์เดอะโบลด์สมรสด้วยในปี ค.ศ. 1468.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และแมรีแห่งเบอร์กันดี · ดูเพิ่มเติม »

โบนาเวนตูรา

นักบุญโบนาเวนตูรา (San Bonaventura) (ค.ศ. 1221 – 15 กรกฎาคมค.ศ. 1274) เป็นไฟรอาร์ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ดำรงตำแหน่งอัคราธิการคนที่ 7 ของคณะภราดาน้อย (Order of Friars Minor) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าคณะฟรันซิสกัน ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระคาร์ดินัลบิชอปแห่งอัลบาโน นอกจากนี้ยังเป็นนักปรัชญาและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์ที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในสมัยกลาง จนได้รับการยกย่องให้เป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร มีสมญานามว่า “นักปราชญ์ชั้นเสราฟิม”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และโบนาเวนตูรา · ดูเพิ่มเติม »

25 สิงหาคม

วันที่ 25 สิงหาคม เป็นวันที่ 237 ของปี (วันที่ 238 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 128 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2025และ25 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1482

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »