โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1917

ดัชนี พ.ศ. 1917

ทธศักราช 1917 ใกล้เคียงกั.

11 ความสัมพันธ์: ชอยยังพระราชวังวินด์เซอร์พระเจ้าอูแห่งโครยอพระเจ้าคงมินรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กวัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)อาณาจักรอยุธยาจักรพรรดิโกะ-โคงงโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 4 แห่งมาร์ชเปตราก19 กรกฎาคม

ชอยยัง

ชเวยอง (Choe Yeong,1316-1388) เป็นขุนศึกคนสำคัญในช่วงปลายสมัย ราชวงศ์โครยอ โดย ชเวยอง ถือได้ว่าเป็นศัตรู ทางการเมืองคนสำคัญของ ลีซองกเย หรือ พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์โชซอน เนื่องจากชอยยังผู้นี้เป็นขุนนางที่สนับสนุน ราชวงศ์หยวน ขณะที่ลีซองกเยนั้นเป็นขุนนางที่ สนับสนุน ราชวงศ์หมิง ชเวยอง เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1316 เริ่มมีบทบาทสำคัญในราชสำนักหลังจากพระภิกษุ ชินดน ซึ่งมีอำนาจในราชสำนักขณะนั้นได้ มรณภาพลงในปี ค.ศ. 1374 โดยในปีสุดท้ายของชีวิตชอยยังได้ร่วมมือกับ ลีซองกเย กำจัดอำนาจและอิทธิพลของ ลีอินอิม หรือ คยองเพียงกุน มหาเสนาบดีและพระบิดา บุญธรรมของ พระเจ้าอู ชเวยองถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1388 ในวัย 72 ปีหลังจากลีซองกเยทำรัฐประหาร หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1859 หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โครยอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และชอยยัง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และพระราชวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอูแห่งโครยอ

ระเจ้าอูแห่งโครยอ (ค.ศ. 1365 - ค.ศ. 1389) เป็นพระราชาองค์ที่ 32 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1374 - 1388) พระเจ้าอู พระนามว่า วัง อู (왕우, 王禑) เป็นพระโอรสของพระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) และนางทาสพันยา (반야, 般若) อย่างไรก็ตามนางทาสพันยานั้นเดิมเป็นอนุภรรยาของพระภิกษุชินตน (신돈, 辛旽) พระภิกษุซึ่งได้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าคงมินในช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และพระเจ้าอูแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคงมิน

ระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (ค.ศ. 1330 - ค.ศ. 1374) เป็นพระราชาองค์ที่ 31 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1351 - 1374) เป็นผู้ปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของมองโกลราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินเป็นพระโอรสของพระเจ้าชุงซุก (충숙왕, 忠肅王) และพระมเหสีคงวอนตระกูลฮง พระนามว่า วัง คี (왕기, 王祺) องค์ชายวังคีมีพระเชษฐาเป็นองค์ชายรัชทายาทอยู่แล้ว ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าชุงฮเย (충혜왕, 忠惠王) องค์ชายวังคีเสด็จไปเมืองปักกิ่งและอภิเษกกับองค์หญิงมองโกล (ภายหลังคือ องค์หญิงโนกุก (노국대장공주, 魯國大長公主) ในค.ศ. 1344 เมื่อพระเจ้าชุงฮเยสวรรคต พระโอรสทั้งสองของพระเจ้าชุงฮเยก็ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ ได้แก่พระเจ้าชุงมก (충목왕, 忠穆王) และพระเจ้าชุงจอง (충정왕, 忠定王) ในค.ศ. 1344 องค์ชายวังคีได้รับการแต่งตั้งเป็น องค์ชายคังนึง (강릉부원대군, 江陵府院大君) ต่อมากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ก็สวรรคตโดยไร้ซึ่งรัชทายาท องค์ชายคังนึงจึงได้ขึ้นครองราชสมบัติในค.ศ. 1351 ราชสำนักเกาหลีในขณะนั้นถูกครอบงำโดยคีชอล (기철, 奇轍) พระเชษฐาของพระจักรพรรดินีฉี (奇皇后) พระจักรพรรดินีของพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (元惠宗) โตคุนเตมูร์ข่าน (Toghun Temür Khan) พระจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์หยวน คีชอลนั้นถือตนมีอำนาจเหนือพระเจ้าคงมิน พระเจ้าคงมินจึงสั่งประหารชีวิตคีชอลในค.ศ. 1356 และกวาดล้างขุนนางที่สนับสนุนมองโกลทั้งหลาย พระจักรพรรดินีฉี ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนในประเทศจีนขณะนั้นจึงพิโรธพระเจ้าคงมินอย่างมากและส่งทัพมาสังหารพระเจ้าคงมินแก้แค้น พระเจ้าคงมินตัดสินพระทัยที่จะต่อต้านมองโกลอย่างเปิดเผลและสามารถขับทัพมองโกลที่พระจักรพรรดิหยวนส่งมาได้ เป็นการปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของราชวงศ์หยวนมากว่าแปดสิบปี ในค.ศ. 1359 ทางมองโกลได้นำทัพเข้าปราบกบฏโพกผ้าแดง (紅巾之亂, Red Turban Rebellion) ที่เมืองเหลียวตง พวกกบฏพากันหลบหนีข้ามแม่น้ำยาลูเข้ามาในโครยอและเข้าปล้นสะดมบ้านเมืองจนพระเจ้าคงมินต้องทรงส่งทัพเข้าขับไล่ออกไป ในค.ศ. 1361 กบฏโพกผ้าแดงได้ส่งทัพเข้ามาบุกโครยอยึดได้เมืองแคซองเป็นการแก้แค้น พระเจ้าคงมินและราชสำนักเสด็จหนีไปยังเมืองอันดง แต่เมืองแคซองก็ถูกกู้กลับคืนมาได้ด้วยฝีมือของขุนพลชเวยอง (최영, 崔瑩) และลีซองกเย พระเจาคงมินยังส่งขุนพลไปยึดดินแดนสองมณฑลที่ราชวงศ์หยวนยึดไปกลับคืนมา โดยในค.ศ. 1356 ส่งลีซองกเยไปยึดมณฑลซังซอง (쌍성부, 雙城府) และในค.ศ. 1370 ยึดมณฑลทงยอง (동녕부, 東寧府) นโยบายต่อต้านมองโกลของพระเจ้าคงมินทำให้พระองค์ไม่เป็นที่พอใจของบรรดาขุนนางเก่าซึ่งล้วนได้รับการสนับสนุนจากราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินต้องต่อสู้เพื่อลดอำนาจของขุนนางเหล่านี้ ในค.ศ. 1365 องค์หญิงโนกุกสิ้นพระชนม์ขณะกำลังพระครรภ์ ทำให้พระเจ้าคงมินหมดอาลัยตายอยากกับพระชนม์ชีพ ทิ้งกิจการบ้านเมืองทั้งหมดไว้แก่พระภิกษุชื่อว่าชินตน (신돈, 辛旽) ซึ่งชินตนก็ได้ต่อสู้กับขุนนางที่เข้าข้างมองโกลแทนพระเจ้าคงมินจนกระทั่งถูกขับออกจากราชสำนักในค.ศ. 1371 ในค.ศ. 1368 จูหยวนจาง (朱元璋) ล้มราชวงศ์หยวนได้และตั้งราชวงศ์หมิง จูหยวนจางหรือพระจักรพรรดิหงหวู่ (洪武帝) ได้ส่งทูตมาเรียกบรรณาการ ซึ่งพระเจ้าคงมินก็ยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี จนในที่สุด พระเจ้าคงมินก็ถูกฮงยุน (홍윤, 洪倫) และชเวมันแซง (최만생, 崔萬生) ลองปลงพระชนม์ในห้องบรรทม และยกพระโอรสวัง อู (왕우, 王禑) ซึ่งเกิดจากนางทาสพันยา (반야, 般若 ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพระภิกษุชินตนด้วย) ขึ้นเป็นพระราชาองค์ต่อไป เป็นผลให้ราชสำนักโครยอมีนโยบายหันเข้าหามองโกลอีกครั้ง ในเวลาต่อมาพระจักรพรรดิหงหวู่ได้พระราชทานพระนามแก่พระเจ้าคงมินว่า พระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) ไฟล์:Cheonsandaeryeopdo.jpg.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และพระเจ้าคงมิน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)

วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นหนึ่งในวัดในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา วัดมหาธาตุเป็นวัดที่มีความสำคัญยิ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะเป็นวัดที่ประดิษฐานพระบรมธาตุใจกลางพระนคร และเป็นที่พำนักของสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคามวาสีอีกด้วย วัดแห่งนี้จึงได้รับการก่อสร้างและดูแลตลอดเวลาจวบจนถูกทำลายลงหลังเสียกรุงครั้งที่ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และวัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โคงง

ักรพรรดิโกะ-โคงง (Emperor Go-Kōgon) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิพระองค์ที่ 4 จาก ราชสำนักเหนือ แห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-โคงงทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1352 - ค.ศ. 1371 พระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิโคงง จักรพรรดิแห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14 พระราชบิดาของจักรพรรดิโกะ-โคงงเมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์มีความหมายว่า จักรพรรดิโคงงยุคหลัง หรือ จักรพรรดิโคงงที่ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และจักรพรรดิโกะ-โคงง · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 4 แห่งมาร์ช

รเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 4 (Roger Mortimer, 4th Earl of March) (11 เมษายน ค.ศ. 1374 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1398) โรเจอร์ มอร์ติเมอร์เป็น “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” ในพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 4 แห่งมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

เปตราก

วาดเปตรากในจินตนาการ ฟรานเชสโก เปตรากา (Francesco Petrarca; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1304 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1374) หรือที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า เปตราก เป็นกวีและนักวิชาการชาวอิตาลี หนึ่งในบรรดานักวิชาการในช่วงแรกๆ ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เขาเป็นที่รู้จักยกย่องในฐานะ "บิดาแห่งมนุษยนิยม" จากงานของเปตรากและส่วนประกอบอื่นๆ Pietro Bembo ได้สร้างรูปแบบของภาษาอิตาลีในปัจจุบันขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 เปตรากได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดประดิษฐ์ซอนเน็ต งานกวีนิพนธ์ซอนเน็ตของเขาได้รับยกย่องและเป็นที่รู้จักทั่วไปในยุโรปตลอดยุคเรอเนซองส์ ซึ่งได้กลายเป็นแบบมาตรฐานสำหรับงานกวีนิพนธ์ในยุคต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และเปตราก · ดูเพิ่มเติม »

19 กรกฎาคม

วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1917และ19 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1374

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »