เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พ.ศ. 1905

ดัชนี พ.ศ. 1905

ทธศักราช 1905 ตรงกั.

สารบัญ

  1. 13 ความสัมพันธ์: พระมหาธรรมราชาที่ 1พระราชวังจันทน์พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโลแห่งโปแลนด์ยุคมุโระมะชิราชวงศ์สหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดนสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5สงครามครูเสดอเล็กซานเดรียอาวีญงปาปาซีจักรวรรดิออตโตมันดยุกแห่งแลงแคสเตอร์ดยุกแห่งแคลเรนซ์

พระมหาธรรมราชาที่ 1

ระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญฦๅไทยราช, พระยาลือไทย หรือ พระยาลิไทย (ครองราชย์ พ.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และพระมหาธรรมราชาที่ 1

พระราชวังจันทน์

ระราชวังจันทน์ ตั้งอยู่ติดกับ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ 3 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ตั้งศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในอดีตยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ปัจจุบัน กรมศิลปากร ได้เข้ามาทำการบูรณะค้นหาแนวเขตพระราชวังจันทน์ ระยะที่ 1 เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว.

ดู พ.ศ. 1905และพระราชวังจันทน์

พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโลแห่งโปแลนด์

กลา หรือ พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโลแห่งโปแลนด์He is known under a number of names: Jogaila Algirdaitis; Władysław II Jagiełło; Jahajła (Ягайла) (Jogaila) (ราว ค.ศ. 1362 – 1 มิถุนายน ค.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และพระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโลแห่งโปแลนด์

ยุคมุโระมะชิ

มุโระมะชิ ตรงกับค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1568 ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 14 อะชิคะงะ โยะชิมิสึ ได้ปราบปรามชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบ และตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นอีกครั้งที่ เคียวโตะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนนี้ได้ปกครองญี่ปุ่นต่อมาเป็นเวลานานถึงสองศตวรรษเศษอันเป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบก็ได้กลืนวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนของตระกูลอะชิคะงะ เกิดจากการรวมตัวของขุนศึกสำคัญ ๆ ตามหัวเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นธรรมดาที่การรวบอำนาจให้รัฐบาลมีเสถียรภาพนั้นเป็นไปได้อย่างลำบาก ดังนั้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ขุนศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงเริ่มทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน จนทั้งประเทศญี่ปุ่นตกเข้าสู่ยุคสงคราม ภายในยุคนี้เป็นยุคที่ชนชั้นนักรบมีอำนาจเหนือเกษตรกรและมีกรรมสิทธิเหนือที่ดินจึงเป็นการปกครองระบบศักดินาโดยสมบูรณ์ ด้านเศรษฐกิจก็เจริญรุ่งเรืองมาก เนื่องจากทำการค้ากับจีนสมัยหมิงด้านวัฒนธรรม ลัทธิเซนเป็นส่วนเพิ่มเติมให้กับวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองและชนชั้นนักรบ ซึ่งเห็นรูปแบบได้จากตำหนักทอง (Kinkaku) ในปลายศตวรรษที่ 14 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมคิตะยะมะ (Kitayama) และตำหนักเงิน (Ginkaku) ในปลายศตวรรษที่ 15 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ (Higashiyama) การละคร อย่างเช่น โน เคียวเง็น และการต่อเพลง ก็เริ่มแพร่หลายสู่ประชาชนภายนอก ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น อย่างเช่น พิธีชงชา การจัดดอกไม้ ก็เริ่มมีรากฐานมาจากยุคนี้ และในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 พวกฝรั่ง เช่น ชาติโปรตุเกส และสเปนก็ได้นำอาวุธปืนยาวและศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น.

ดู พ.ศ. 1905และยุคมุโระมะชิ

ราชวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จออกสีหบัญชร ณ พระราชวังบักกิงแฮม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และราชวงศ์สหราชอาณาจักร

รายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน

ตราแห่งสวีเดน พระมหากษัตริย์สวีเดน (Monarki i Sverige) เป็นประมุขของราชอาณาจักรสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันประเทศสวีเดนมีการปกครองเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและองค์กษัตริย์เองมิได้มีพระราชอำนาจทางการเมือง กระนั้นก็ยังทรงเป็นสถาบันสูงสุดรวมถึงได้รับความเคารพจากสังคมของราชอาณาจักรสวีเดนมาโดยตลอด ในปี..

ดู พ.ศ. 1905และรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6 (Innocent VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1352 ถึง ค.ศ. 1362 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5 (Urban V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1362 ถึง ค.ศ. 1370 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5

สงครามครูเสดอเล็กซานเดรีย

งครามครูเสดอเล็กซานเดรีย (Alexandrian Crusade) (ค.ศ. 1365) เป็นสงครามครูเสดที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1365 ที่นำโดยปีเตอร์ที่ 1 แห่งไซปรัสในการอเล็กซานเดรียโดยแทบไม่มีสาเหตุทางศาสนา ซึ่งแตกต่างจากสงครามครูเสดครั้งอื่นๆ เพราะสงครามครั้งนี้เป็นสงครามที่มีสาเหตุมาจากเศรษฐก.

ดู พ.ศ. 1905และสงครามครูเสดอเล็กซานเดรีย

อาวีญงปาปาซี

พระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง อาวีญงปาปาซี (Avignon Papacy) หรือ สมณสมัยอาวีญง คือช่วงเวลาที่พระสันตะปาปา 7 พระองค์ประทับ ณ เมืองอาวีญง ราชอาณาจักรฝรั่งเศส แทนการประทับที่กรุงโรมตามปกติ สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างองค์พระสันตะปาปากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ภายหลังจากความขัดแย้งระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 กับพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 ผู้สืบทอดตำแหน่งสมเด็จพระสันตะปาปาต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 และดำรงสมณศักดิ์ได้เพียง 8 เดือน การประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาให้อาร์ชบิชอปแบร์ทร็อง ชาวฝรั่งเศส ขึ้นดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระสันตะปาปาพระองค์ใหม่ในปี..

ดู พ.ศ. 1905และอาวีญงปาปาซี

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และจักรวรรดิออตโตมัน

ดยุกแห่งแลงแคสเตอร์

นรี เจ้าชายแห่งเวลส์ บุคคลสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งนี้ก่อนที่จะรวมเข้ากับส่วนพระมหากษัตริย์ ภายหลังขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ ดยุกแห่งแลงคาสเตอร์ (Duke of Lancaster) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกที่ใช้ออกพระนามถึงสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระเจ้าแผ่นดินอังกฤษอย่างลำลอง และผู้ครอบครองดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ โดยถือเป็นดัชชีที่แยกออกมาจากสำนักทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Property) ซึ่งมีส่วนในการสร้างรายได้ให้กับพระมหากษัตริย์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้มีการสถาปนาบรรดาศักดิ์ดยุกแห่งแลงคาสเตอร์ถึง 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่แรกเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และดยุกแห่งแลงแคสเตอร์

ดยุกแห่งแคลเรนซ์

กแห่งแคลเรนซ์ (Duke of Clarence) เป็นหนึ่งในบรรดาศักดิ์ดยุกของอังกฤษ โดยพระราชทานให้แก่สมาชิกที่มีอาวุโสน้อยกว่าในพระราชวงศ์ โดยมีการสถาปนาขึ้นมา 5 ครั้ง ครั้งแรกในปี ค.ศ.

ดู พ.ศ. 1905และดยุกแห่งแคลเรนซ์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ค.ศ. 1362