โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1223

ดัชนี พ.ศ. 1223

ทธศักราช 1223 ใกล้เคียงกั.

15 ความสัมพันธ์: กัรบะลาอ์มุอาวิยะห์รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์รายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรียรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรียรายพระนามคู่สมรสแห่งบูร์กอญวันอาชูรออ์สภาสังคายนาสากลอัรบะอีนอาสนวิหารวุร์สเตอร์อาณาจักรอิศานปุระฮุซัยน์ อิบน์ อะลีต้นสมัยกลางนาลันทา10 ตุลาคม

กัรบะลาอ์

กัรบะลาอ์ (كَرْبَلَاءกัร ในที่นี้ไม่อ่าน กัน แต่อ่านออกเสียงเป็น การ์ แต่ตัดให้เสียงสระอะสั้นลง, کربلاء) บ้างก็อ่าน คาร์บาลา หรือ เคอร์บาลา เป็นเมืองหรืออำเภอเอกของจังหวัดกัรบะลาอ์ ตั้งทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอิรัก ด้านตะวันออกของทะเลสาบมิลห์ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำเค็มขนาดใหญ่ ห่างจากกรุงบัฆดาดประมาณ เมืองนี้รู้จักกันดีในฐานะสถานที่ยุทธการที่กัรบะลาอ์ หรือฆัซวัตกัรบะลาอ์อักษร ฮาห์ ة นั้นลงท้ายคำใด จะกลายเป็น /ต/ เมื่อมีคำต่อจากนั้น ถ้าไม่มีคำต่อจากนั้นก็คงเป็นสระอะตามปกติ (غَـزوَة كَـربَـلَاء) เมื่อ พ.ศ. 1223 ที่ตั้งของมัสยิดอิหม่ามฮุซัยน์บุตรอะลีและมัสยิดอับบาสShimoni & Levine, 1974, p. 160.

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และกัรบะลาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

มุอาวิยะห์

มุอาวิยะห์ (معاوية بن أبي سفيان, Muawiyah I) (ค.ศ. 602 – 6 พฤษภาคม ค.ศ. 680) เป็นคอลีฟะหรือกาหลิบองค์แรกของ ราชวงศ์อุมัยยะฮ์ แห่ง ดามัสกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และมุอาวิยะห์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

รัฐอุมัยยะห์ (بنو أمية‎) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งแรกที่ถูกสถาปนาโดยมุอาวียะห์ อิบนุ อบี สุฟยาน (Muahwiya Ibn Abi Sufyan I, ค.ศ. 661 - ค.ศ. 680) หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของอะลีย์ บุตรเขยของมุฮัมหมัด ราชวงศ์นี้แผ่ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางในช่วงต้น อีกทั้งราชวงศ์ยังรักษาธรรมเนียมปฏิบัติของศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด แต่พอถึงปลายยุคเคาะลีฟะฮ์กลับเสวยแต่น้ำจัณฑ์ ล่าสัตว์ ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยไม่ปฏิบัติตามหลักศาสนา จึงถูกลูกหลานของน้าของศาสนทูตมุฮัมหมัดโค่นล้มราชวงศ์ลงในสมัยมัรวานที่ 2 ในปี ค.ศ. 750 (พ.ศ. 1293) อุมัยยะห์เป็นหนึ่งในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ของอิสลามที่ก่อตั้งหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมหมัด ศาสนทูตของศาสนาอิสลามที่ปกครองโดยราชวงศ์อุมัยยะห์ ที่ได้รับชื่อจาก Umayya ibn Abd Shams ผู้เป็นทวดของคอลีฟะฮ์อุมัยยะห์คนแรก แม้ว่าตระกูลอุมัยยะห์เดิมจะมาจากมักกะฮ์ แต่ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐ หลังจากอุมัยยะห์ถูกโค่นโดยรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะห์ก็ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใหม่ที่อัล-อันดะลุส (Al-Andalus) และก่อตั้งเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา ภายหลังจากที่ท่านอะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ เคาะลีฟะฮ์รอชิดีนคนที่ 4 เสียชีวิต ท่านหะสัน อิบนุ อะลี บุตรของท่านอาลีได้รับเลือกตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์คนต่อไป แต่ดำรงตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ได้ไม่กี่เดือนก็ยอมสละตำแหน่งให้แก่ท่านมุอาวียะฮ์ อิบนุ อบี สุฟยาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพในรัฐอิสลาม พร้อมกับหลีกเลี่ยงความแตกแยกและการสูญเสียเลือดระหว่างชาวมุสลิมด้วยกันมากกว่านี้ มุอาวิยะฮ์เป็นเคาะลีฟะฮ์ท่านแรกในราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านสืบเชื้อสายจากตระกูลอุมัยยะห์ บุตรของอับดุซซัม ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า "ราชวงศ์อุมัยยะฮ์" ในสมัยการปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านมุอาวียะฮ์ได้เปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากสาธารณรัฐเป็นราชอาณาจักร ท่านทำให้ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์กลายเป็นตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ ท่านได้ทรงแต่งตั้งยะซิด โอรสของท่านให้เป็นกษัตริย์ ต่อมาการแต่งตั้งแบบนี้ได้กลายเป็นตัวอย่างการแต่งตั้งเคาะลีฟะฮ์มาตลอดราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ทั้งรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์และอื่น ๆ อีกด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าท่านเป็นผู้สร้างตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ขึ้นในประวัติศาสตร์ของศาสนาอิสลาม การปกครองแบบประชาธิปไตยระหว่างเผ่าของเคาะลีฟะฮ์ท่านก่อน ๆ ก็หมดสิ้นไป กลายเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรีย

ว่างกษัตร..

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และรายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย

ตราอาร์มของบาวาเรีย รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย (List of rulers of Bavaria) บาวาเรียปกครองโดยประมุขทั้งที่มีตำแหน่งเป็นดยุกและเป็นพระมหากษัตริย์ ราชอาณาจักรได้รับการรวมหรือการถูกแบ่งตลอดมาในประวัติศาสตร์ของหลายราชวงศ์ที่ปกครอง แต่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่สมรสแห่งบูร์กอญ

ทความนี้แสดงลิสต์ราชินี เคานท์เตส และดัชเชสซึ่งเป็นคู่สมรสในผู้ปกครอง ราชอาณาจักรบูร์กอญ เคาน์ตีบูร์กอญ และดัชชีบูร์กอญ โดยเริ่มตั้งแต่สมัยตำนานจนถึงปีค.ศ. 1795.

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และรายพระนามคู่สมรสแห่งบูร์กอญ · ดูเพิ่มเติม »

วันอาชูรออ์

อาชูรออฺ แปลว่า วันที่ 10 ในที่นี้คือวันที่ 10 เดือนมุฮัรรอม(เดือนแรกของอิสลาม).

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และวันอาชูรออ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาสังคายนาสากล

ในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาสากล (Ecumenical council หรือ oecumenical council หรือ general council) คือการประชุมบรรดามุขนายกและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์จากคริสตจักรทั่วโลก เพื่อสังคายนาหรือหาข้อตกลงร่วมกันในเรื่องหลักความเชื่อและการปฏิบัติที่ขัดแย้งกันอยู่ในขณะนั้น คำว่า “Οικουμένη” เป็นภาษากรีกแปลว่า “โลกที่อยู่อาศัย” หรือในความหมายแคบคือจักรวรรดิโรมันนั่นเอง เพราะการประชุมในสมัยแรก ๆ ริเริ่มโดยจักรพรรดิโรมัน แต่ต่อมาคำนี้ก็นำมาใช้กันโดยทั่วไปในความหมายที่หมายถึง “คริสตจักร” หรือประชาคมคริสต์ศาสนิกชน “ทั่วโลก” หรือในแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาครั้งสุดท้ายที่เป็นที่ยอมรับจากทั้งฝ่ายโรมันคาทอลิกและออร์ทออดกซ์คือสังคายนาไนเซียครั้งที่สองปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และสภาสังคายนาสากล · ดูเพิ่มเติม »

อัรบะอีน

รรดามุสลิมหลายล้านคนชุมนุมกันรอบ ๆ มัสยิดฮุซัยน์ในเมืองกัรบะลาอ์ อัลอัรบะอีน (الأربعين) หรือ ชะฮ์ลัม (چهلم, چہلم) แปลตรงตัวว่าสี่สิบ เป็นศาสนพิธีของชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ ซึ่งจัดขึ้นหลังจากวันอาชูรออ์เป็นเวลา 40 วัน หรือวันที่ 20 เศาะฟัร เพื่อรำลึกถึงการวายชนม์ของฮุซัยน์บุตรอะลี ซึ่งแข็งข้อไม่ยอมขึ้นต่อราชวงศ์อุมัยยะฮ์จนต้องถูกตัดศีรษะในยุทธการกัรบะลาอ์ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 1223 (10 มุฮัรรอม ฮ.ศ. 61) พิธีนี้จัดขึ้นที่เมืองกัรบะลาอ์ ประเทศอิรัก และมีผู้ร่วมพิธีมากกว่าพิธีฮัจญ์ที่เมืองมักกะห์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย พิธีอัรบะอีนจัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และอัรบะอีน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวุร์สเตอร์

อาสนวิหารวุร์สเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: Worcester cathedral) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองวูสเตอร์ บนฝั่งแม่น้ำเซเวิร์น (Severn) ใน สหราชอาณาจักร ชื่อทางการของอาสนวิหารวูสเตอร์ คือ “The Cathedral Church of Christ and the Blessed Virgin Mary” อาสนวิหารวุร์สเตอร์เดิมก่อตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และอาสนวิหารวุร์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอิศานปุระ

อาณาจักรอิศานปุระ หรือ อาณาจักรเจนละ เป็นอาณาจักรโบราณ เจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ปัจจุบันคือภาคอีสานตอนล่างของประเทศไทย ตอนบนของประเทศกัมพูชา และตอนล่างของประเทศลาว สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอิศานวรมัน ผู้สืบเชื้อสายมาจากกษัตริย์เจนละ คือพระเจ้ามเหนทระวรมัน หรือพระเจ้าจิตรเสน ผู้ครองแคว้นเจนละ ที่ทรงครอบครองดินแดนในพื้นที่อีสานตอนใต้และลาวทางตอนใต้แถบวัดภู หลังจากที่ได้รับการสิบทอดอำนาจจากพระเจ้าจิตรเสน พระเจ้าอิศานวรมันเสด็จขึ้นครองราชย์ราว พ.ศ. 1153 - พ.ศ. 1198 ได้ทำสงครามกับอาณาจักรฟูนัน ที่ยึดของพื้นที่ทางตอนใต้ ในที่สุดก็ได้ควบรวมเป็นอาณาจักรเดียวกัน เป็นการสูญสิ้นอาณาจักรฟูนัน และได้สถาปนาศูนย์กลางการปกครองขึ้นใหม่ ชื่อว่า อิศานปุระ เมืองอิศานปุระ ที่พระเจ้าอิศานวรมันสถาปนาขึ้น นักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อว่า ตั้งอยู่บริเวณกลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (สมโบไพรกุก) ในเขตจังหวัดกัมปงธม ในประเทศกัมพูชา ซึ่งปรากฏหลักฐานปราสาทอิฐ ศาสนสถานในศาสนาฮินดูจำนวนมาก หลังจากรัชสมัยพระเจ้าอิศานวรมัน มีกษัตริย์ปกครองอีก 2 พระองค์ คือพระเจ้าภววรมันที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 หลังจากนั้นบ้านเมืองเกิดความแตกแยก อาณาจักรถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน กลายเป็น เจนละบก และ เจนละน้ำ ทำให้เมืองอีศานปุระถูกลดความสำคัญลง และต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เชื้อสายของพระเจ้าอิศานวรมัน ได้รวบรวมทั้งสอง และสถาปนาอาณาจักรขึ้นใหม่ ชื่อว่า ยโศธรปุระ หรือเมืองพระนคร บริเวณจังหวัดเสียมราฐ ประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน กลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (อิศานปุระ) เป็นกลุ่มปราสาทโบราณมีอายุมากกว่า 1390 ปี มีปราสาทที่ปรากฏให้เห็นเป็นหลักฐานในปัจจุบันมากกว่า 170 ที่ โดยมีปราสาทสำคัญอยู่ 3 กลุ่มหลักในบริเวณราชธานีอิศานปุระ ซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะให้นักท่องเที่ยวสามารถเยี่ยมชมได้ และเนื่องจากมีปราสาทมากมายนับร้อยแห่ง จึงทำให้นักโบราณคดีชาวตะวันตกที่เข้ามาทำการสำรวจในพื้นที่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้จัดทำระบบบัญชีชื่อปราสาทต่างๆขึ้นและยังคงใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน ทำให้ปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์มี ชื่อเป็นทางการ เป็นตัวอักษรและตัวเลข แทนชื่อที่ชาวบ้านเรียก โดยปราสาทต่าง ๆ ในกลุ่มเหนือ จะมีชื่อขึ้นต้นว่า N (North) ปราสาทกลุ่มกลางมีชื่อขึ้นต้นว่า C (Central) และปราสาทกลุ่มใต้ มีชื่อขึ้นต้นว่า S (South) แล้วตามด้วยตัวเลขที่แสดงถึงความสำคัญ หรือตามลำดับการเรียงตัวที่ตั้งของปราสาท เช่น N1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มเหนือ S1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มใต้ คือปราสาทเนียกปวน และ C1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มกลาง คือปราสาทตาว เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และอาณาจักรอิศานปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุซัยน์ อิบน์ อะลี

ซัยน์ อิบน์ อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ (حسين بن علي بن أﺑﻲ طالب‎; Hussein ibn ‘Alī ibn Abī Ṭālib) เกิดปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และฮุซัยน์ อิบน์ อะลี · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

นาลันทา

250px โบราณสถานในนาลันทา ด้านหน้า โบราณสถานในนาลันทา ด้านหลัง นาลันทา เป็นชื่อเมือง ๆ หนึ่งในแคว้นมคธ อยู่ห่างจากพระนครราชคฤห์ประมาณ 1 โยชน์ (ประมาณ 16 กิโลเมตร) ณ เมืองนี้มีสวนมะม่วง ชื่อ ปาวาริกัมพวัน (สวนมะม่วงของปาวาริกเศรษฐี) ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับแรมหลายครั้งคัมภีร์ฝ่ายมหายานกล่าวว่า พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นอัครสาวก เกิดที่เมืองนาลันทา แต่คัมภีร์ฝ่ายบาลีเรียกถิ่นเกิดของ พระสารีบุตรว่า หมู่บ้านนาลกะหรือนาลันทคาม "นาลันทามหาวิชชาลัยของพุทธศาสนานิกายมหายาน".

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และนาลันทา · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1223และ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 680

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »