โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปริญญาเอก

ดัชนี ปริญญาเอก

ปริญญาเอก (doctorate) เป็นปริญญาวิชาการหรือวิชาชีพซึ่งในประเทศส่วนใหญ่ให้ผู้ถือมีคุณสมบัติสอนในระดับมหาวิทยาลัยในสาขาเฉพาะของปริญญานั้น หรือทำงานในวิชาชีพเฉพาะ ในบางประเทศ ปริญญาสูงสุดในสาขาหนึ่ง ๆ เรียก ปริญญาสูงสุด (terminal degree) คำว่า "doctorate" มาจากภาษาละติน docere หมายถึง "สอน".

178 ความสัมพันธ์: บรรจบ บรรณรุจิบรูซ เฮส (นักภาษาศาสตร์)ชวลิต วิทยานนท์บัญชา แสงหิรัญชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์บัณฑิต เอื้ออาภรณ์บัณฑิตวิทยาลัยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมชาญวิทย์ เกษตรศิริบารมี นวนพรัตน์สกุลบุญรอด บิณฑสันต์บุญเสริม วิทยชำนาญกุลบุรินทร์ กำจัดภัยพระราชวิเทศปัญญาคุณ (เหลา ปญฺญาสิริ)พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย)พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดีพลังพล คงเสรีพิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะพิไล พูลสวัสดิ์พจมาน ณ ป้อมเพชรกระแส ชนะวงศ์กษมา วรวรรณ ณ อยุธยากัลยา โสภณพนิชการรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญาการศึกษาในประเทศไทยการสอบขุนนางการุญ จันทรางศุกุสุมา รักษมณีภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลภิญโญ พานิชพันธ์ภูวดล ทรงประเสริฐมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิกมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์มหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยคาเปลลามหาวิทยาลัยซีหนานมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มักซ์ เวเบอร์มารี กูว์รีมานะ มหาสุวีระชัย...มนตรี จุฬาวัฒนฑลยงค์วิมล เลณบุรีรัชดา ธนาดิเรกรัฐศาสตร์ กรสูตรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)ฤทธิ์ ลือชาวลาดีมีร์ คลิทช์โกวัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ดวิรัช วรรณรัตน์วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันวิลเลียม ชอกลีย์วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนวิศวกรรมเครื่องกลวิษณุ เครืองามวิสุทธิ์ ใบไม้วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาวิทยาศาสตร์การประมงวิตาลี คลิทช์โกศักรินทร์ ภูมิรัตนสภาปฏิรูปแห่งชาติสมบัติ ธำรงธัญวงศ์สมชาย หาญหิรัญสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลสมาน งามสนิทสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สมเกียรติ อ่อนวิมลสวัสดิ์ ตันตระรัตน์สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์สุชาดา กีระนันทน์สุชาติ ธาดาธำรงเวชสุชนา ชวนิชย์สุรินทร์ พิศสุวรรณสุรเกียรติ์ เสถียรไทยสุวินัย ภรณวลัยสุทัศน์ ยกส้านสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซียสถิตย์ สิริสิงหสนธิ บุญยรัตกลินสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุลอมเรศ ภูมิรัตนอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรีอำพน กิตติอำพนอุดมศึกษาอีริค เปเวอร์นากีอทิตยา ศิริภิญญานนท์อดิศัย โพธารามิกอดุล วิเชียรเจริญอนันต์ เหล่าเลิศวรกุลผุสดี ตามไทผู้ช่วยศาสตราจารย์จรัส สุวรรณมาลาจักรภพ เพ็ญแขจิมมี เวลส์จิรันดร ยูวะนิยมธีระ สูตะบุตรถวัลย์ ดัชนีถาวร วัชราภัยทวีชัย อมรศักดิ์ชัยทักษิณ ชินวัตรทนง พิทยะณัฏฐา โกมลวาทินณัฏฐ์ เดชะปัญญาณัฐฐาวีรนุช ทองมีดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)ดา-เวน ซันดิเรก ลาวัณย์ศิริดุสิต เครืองามคริส เบเคอร์คูร์ท เกอเดิลคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประชา คุณะเกษมประชานศาสตร์ประพนธ์ วิไลรัตน์ประวัติศาสตร์ประสาร ไตรรัตน์วรกุลประเสริฐ โศภนปรัชญาดุษฎีบัณฑิตปริญญา (แก้ความกำกวม)ปริญญากิตติมศักดิ์ปัจจัยกระทบปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ปีแยร์ กอลแมซปนัดดา วงศ์ผู้ดีป๋วย อึ๊งภากรณ์นักฟิสิกส์นักวิจัยหลังปริญญาเอกนาวิน เยาวพลกุลนำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์นิเวศน์ เหมวชิรวรากรนทีทิพย์ กฤษณามระโยสท์ กิพเพิร์ทโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรเบิร์ต ฟลอยด์โจรกรรมทางวรรณกรรมไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมไสยวิชญ์ วรวินิตไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์เบคิไลต์เกษม ศิริสัมพันธ์เกษม จันทร์แก้วเลินนาร์ด คอมเพจโนเสกสรรค์ ประเสริฐกุลเสริมลาภ วสุวัตเจิมศักดิ์ ปิ่นทองเทคโนโลยีการศึกษาเขมรแดงเดวิด รูฟโฟโลเฉลิม อยู่บำรุงเป็ด เชิญยิ้มNational Qualifications Framework1 ขยายดัชนี (128 มากกว่า) »

บรรจบ บรรณรุจิ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบรรจบ บรรณรุจิ · ดูเพิ่มเติม »

บรูซ เฮส (นักภาษาศาสตร์)

รูซ เฮส (Bruce Hayes) เป็นนักภาษาศาสตร์ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส ใน..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบรูซ เฮส (นักภาษาศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต วิทยานนท์

ร.ชวลิต วิทยานนท์ ชวลิต วิทยานนท์ (ชื่อเล่น: แฟรงก์) เกิดที่กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2502 จบการศึกษาในระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและโททางวิทยาศาสตร์ทางทะเล จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและเทคโนโลยี โตเกียว กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ดร.ชวลิต วิทยานนท์ ทำการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพของปลามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 และค้นพบปลาชนิดใหม่จากประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงรวมกันแล้วถึงวันนี้ไม่ต่ำกว่า 20 ชนิด และร่วมการค้นพบฟอสซิลเอปโคราช Khoratpithecus piriyai Chaimanee, Suteethorn, Jintasakul, Vidthayanon, Marandat & Jaeger, 2004 โดยมีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะปลาในอันดับปลาหนัง มีผลงานการเขียนบทความตามวารสารต่าง ๆ เช่น สารคดี, Cichlid World เป็นต้น มีผลงานทางหนังสือ ได้แก่ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในป่า, ปลาน้ำจืดไทย (พ.ศ. 2544), คู่มือปลาน้ำจืด (พ.ศ. 2547), คู่มือปลาทะเล (พ.ศ. 2551), ปลาไทย ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา (พ.ศ. 2553) และมีผลงานทางด้านสื่อต่าง ๆ เช่น ซีดีฐานข้อมูลปลาในลุ่มแม่น้ำโขงและสนับสนุนข้อมูลด้านอนุกรมวิธานปลาในการจัดนิทรรศการในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำต่าง ๆ และจัดทำเอกสารเผยแพร่ของหน่วยราชการหลายแห่ง รวมถึงองค์กรชุมชนต่าง ๆ ให้เป็นองค์ความรู้ในการเคลื่อนไหวเพื่ออนุรักษ์ถิ่นอาศัยของสัตว์น้ำในท้องถิ่น เช่น บ้านกรูด บ่อนอก ลุ่มแม่น้ำสงคราม ปากมูล และเชียงของ เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์และอาจารย์พิเศษในสาขามีนวิทยาและสัตววิทยาในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อีกทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายอนุรักษ์ทางทะเลและแหล่งน้ำจืด ของกองทุนสัตว์ป่าโลก (Worldwide Fund for Nature - WWF-Greater Mekong สำนักงานประเทศไทย) รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีฯ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และปัจจุบันเป็นผู้เชี่ยวชาญอาวุโส ประจำโครงงานสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมาธิการลุมแม่น้ำโขง (Environment Programme Mekong River Commission) สำนักงานใหญ่กรุงเวียงจันทน์ สปป.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและชวลิต วิทยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

บัญชา แสงหิรัญ

ราดา บัญชา แสงหิรัญ หรือ ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรัญ เกิดวันที่ 7 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัญชา แสงหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์

ัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ เกิด 19 กันยายน..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์

ตราจารย์ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนปัจจุบัน อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้บริหารและอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัณฑิตเป็นอธิการบดีคนที่ 2 ในวาระการดำรงตำแหน่งนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัย

ัณฑิตวิทยาลัย หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาที่มีระดับการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโทหรือปริญญาเอก) โดยทั่วไปบัณฑิตวิทยาลัย จะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย แต่สำหรับสถาบันอุดมศึกษาที่ไม่มีระดับปริญญาตรี จะเรียกสถาบันนั้นว่า "บัณฑิตวิทยาลัย" แทน การเรียนในระดับบัณฑิตวิทยาลัย จะมีลักษณะที่แตกต่างจากระดับในมหาวิทยาลัยทั่วไป เพราะว่ารับผู้สำเร็จการศึกษามาแล้ว ในกรณีที่เน้นการวิจัย ก่อนการสำเร็จการศึกษาต้องเขียน "วิทยานิพนธ์" (thesis) ในกรณีของปริญญาโท ส่วนในระดับปริญญาเอก จะเรียกว่า "ดุษฎีนิพนธ์" (dissertation) สำหรับกรณีที่เป็นวุฒิทางวิชาชีพ ก็จะเน้นให้ทำปัญหาพิเศษในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ในสหรัฐจะเรียกบัณฑิตวิทยาลัยว่า "Graduate School" หรือ "Grad School" ในขณะที่ สหราชอาณาจักรและประเทศในเครือจักรภพ จะเรียกว่า "Postgraduate School" คำว่า "บัณฑิตวิทยาลัย" ไม่นิยมใช้เรียกสถาบันอุดมศึกษาด้านแพทยศาสตร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัณฑิตวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2528 จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ ทั้งในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (อังกฤษ:graduate School, Suansunandha Rajabhat University) เป็นส่วนราชการไทยเทียบเท่าระดับคณะวิชา ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันเปิดหลักสูตรในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (อังกฤษ:The Faculty of Graduate Studies, Udon Thani Rajabhat University) เป็นส่วนราชการไทยเทียบเท่าระดับคณะวิชา ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันเปิดหลักสูตรในระดับที่สูงกว่าปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีฐานะเป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยู่ภายใต้การบริหารงานของคณบดี โดยมีคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยเป็นที่ปรึกษ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

ัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Joint Graduate School of Energy and Environment - JGSEE) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) โดยความร่วมมือของกลุ่มสถาบันการศึกษาไทย 5 แห่ง เป็นบัณฑิตวิทยาลัยที่บริหารงานเป็นเอกเทศ มีเป้าหมายเป็นศูนย์วิจัย และให้การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ในด้านเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม เปิดสอนระดับปริญญาโท และปริญญาเอก การเรียนการสอนทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ นักศึกษาสามารถเลือกที่จะทำวิทยานิพนธ์ กับอาจารย์ที่ปรึกษาในสถานศึกษาในโครงการมหาวิทยาลัยใดก็ได้ วิทยาลัยดำเนินงานโดยความความร่วมมือของ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม · ดูเพิ่มเติม »

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและชาญวิทย์ เกษตรศิริ · ดูเพิ่มเติม »

บารมี นวนพรัตน์สกุล

รมี นวนพรัตน์สกุล หรือ ยอด ผู้ประกาศข่าว รายการโลกยามเช้า เรื่องเด่นเย็นนี้ ช่วงเกษตรฮอตนิวส์ วันจันทร์-วันศุกร์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบารมี นวนพรัตน์สกุล · ดูเพิ่มเติม »

บุญรอด บิณฑสันต์

ตราจารย์ ร้อยเอก บุญรอด บิณฑสันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐคนแรกของประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ อดีตเลขาธิการสำนักงานพลังงานแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานมูลนิธินิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบุญรอด บิณฑสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเสริม วิทยชำนาญกุล

ตราจารย์ ดร. บุญเสริม วิทยชำนาญกุล ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บุญเสริม วิทยชำนาญกุล เกิดวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2493 ที่กรุงเทพมหานคร นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย สาขากายวิภาคศาสตร์ และ ชีววิทยาระบบสืบพันธุ์ เป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในประเทศไทย โดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาวิธีตรวจเชื้อและศึกษาหาวิธีป้องกันโรคไวรัสในกุ้งกุลาดำ จนได้รับรางวัล "กุ้งทองคำเกียรติยศ" จากชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี เป็นนักวิจัยในกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมผลิตกุ้งกุลาดำ ที่ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2546 และรางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบุญเสริม วิทยชำนาญกุล · ดูเพิ่มเติม »

บุรินทร์ กำจัดภัย

รองศาสตราจารย์ บุรินทร์ กำจัดภัย (28 ตุลาคม 2516 -) เจ้าของ รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและบุรินทร์ กำจัดภัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวิเทศปัญญาคุณ (เหลา ปญฺญาสิริ)

ระราชวิเทศปัญญาคุณ (นามเดิม: ดร.พระมหาเหลา ประชาราษฎร์) น.ธ.เอก, ป..4, พม., พธ.บ., M.A. (London), Ph.D.(Birmingham) (7 สิงหาคม พ.ศ. 2503 - ปัจจุบัน) พระธรรมทูตไทยรูปแรกที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกในประเทศอังกฤษ รองประธานองค์กรพระธรรมฑูตไทยในสหราชอาณาจักร, เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ สหราชอาณาจักร รูปปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพระราชวิเทศปัญญาคุณ (เหลา ปญฺญาสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย)

ร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)

ระธรรมโกศาจารย์ นามเดิม องอาจ ชุมแสง ฉายา ตธมฺโม เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดขันเงินและที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 16 เป็นศิษย์พระราชญาณกวี (บุญชวน เขมาภิรโต) สหายร่วมอุทรธรรมของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร).

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

ระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ใน พระราชพิธีโสกันต์ มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่จบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ นับเป็นเจ้านายไทยพระองค์แรกและเป็นคนไทยคนที่ 2 ที่จบการศึกษาในวิชาระดับปริญญาเอก พระนาม "ดิลกนพรัฐ" หมายถึง "ศรีเมืองเชียงใหม่".

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี · ดูเพิ่มเติม »

พลังพล คงเสรี

รศ.ดร. พลังพล คงเสรี รองศาสตราจารย์ พลังพล คงเสรี (4 พฤษภาคม 2513 -) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเคมีอินทรีย์ ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพลังพล คงเสรี · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ (สกุลเดิม: ศกุนตาภัย; เกิด: 5 สิงหาคม พ.ศ. 2507) อาจารย์ประจำภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภรรยาอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย และหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

พิไล พูลสวัสดิ์

ตราจารย์เกียรติคุณ พิไล พูลสวัสดิ์ (เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489) เป็นนักวิทยาศาสตร์และนักอนุรักษ์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเยี่ยมด้านปักษีวิทยา (Ornithology) นิเวศวิทยาสัตว์ป่า (Wildlife Ecology) และปรสิตวิทยา (Parasitology: Avian diseases) เป็นผู้ที่มุ่งมั่นทำวิจัยระยะยาว เพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าและทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ทำกิจกรรมเผยเพื่อเผยแพร่ความรู้ในการอนุรักษ์นกเงือกและทรัพยากรธรรมชาติอย่างเข้มแข็ง จนได้รับการขนานนามว่า "ก่อให้เกิดการขับเคลื่อนทางสังคมเพื่อการคุ้มครอง-อนุรักษ์นกเงือกและธรรมชาติ จนได้เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้ทรงเกียรติด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติระดับโลก พร้อมกันถึง 2 รางวัล เมื่อปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพิไล พูลสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พจมาน ณ ป้อมเพชร

ณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร (สกุลเดิม: ดามาพงศ์; เกิด: 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499) เป็นอดีตภริยาของ ดร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและพจมาน ณ ป้อมเพชร · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา

ณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา กรรมการกฤษฎีกาอดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมสามัญศึกษาคนสุดท้าย เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษา (กปช.) ที่ปรึกษาโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และตำแหน่งอื่นๆ อีกหลายตำแหน่งในกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กัลยา โสภณพนิช

ณหญิงกัลยา โสภณพนิช (21 กันยายน 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคอีสาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและกัลยา โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา

การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา (Acceptance and commitment therapy ตัวย่อ ACT) เป็นรูปแบบจิตบำบัดแบบหนึ่งของ การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavior therapy) หรือ clinical behavior analysis (CBA) เป็นการแทรกแซงทางจิตวิทยาที่มีหลักฐานเชิงประสบการณ์ ด้วยวิธีให้ยอมรับ (acceptance) และมีสติ โดยผสมกันต่างจากวิธีอื่น ๆ บวกกับการให้คำมั่นสัญญาและกลยุทธ์การเปลี่ยนพฤติกรรมอื่น ๆ เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นทางใจได้ วิธีนี้ในเบื้องต้นเคยเรียกว่า "comprehensive distancing" เริ่มในปี 1982 (โดย ศ. ดร. สตีเวน ซี. เฮย์ส) ตรวจสอบในปี 1985 (โดย Robert Zettle) แล้วจึงพัฒนาเป็นรูปแบบปัจจุบันในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 มีโพรโทคอลหลายอย่างสำหรับ ACT ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมหรือสถานการณ์ที่ต้องการเปลี่ยน ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่องสุขภาพทางพฤติกรรม จะมีรูปแบบสั้น ๆ ที่เรียกว่า focused acceptance and commitment therapy (FACT) จุดมุ่งหมายของ ACT ไม่ใช่เพื่อกำจัดความรู้สึกที่ไม่ดี แต่ว่า ให้อยู่ได้กับสิ่งที่ตนประสบ และ "ดำเนินไปในพฤติกรรมที่มีค่า" ACT ให้คนเปิดใจต่อความรู้สึกที่ไม่ดี แล้วศึกษาเพื่อที่จะไม่มีปฏิกิริยาต่อพวกมันเกินควร และไม่หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่พวกมันเกิดขึ้น ผลการรักษาเป็นแบบเวียนก้นหอยเชิงบวก ที่ความรู้สึกที่ดีขึ้นนำไปสู่การเข้าใจความจริงที่ดีขึ้น.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและการรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา · ดูเพิ่มเติม »

การศึกษาในประเทศไทย

การศึกษาในประเทศไทย เป็นการศึกษาที่จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทย โดยภาครัฐจะเข้ามาดูแลโดยตรงและเปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา สำหรับการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยนั้นได้กำหนดให้พลเมืองไทยต้องจบการศึกษาอย่างน้อยที่สุดในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และต้องเข้ารับการศึกษาอย่างช้าสุดเมื่ออายุ 7 ปี ซึ่งการศึกษาภาคบังคับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งแบ่งออกเป็นระดับชั้นประถมศึกษา 6 ปีและมัธยมศึกษา 6 ปี นอกจากนี้แล้วการศึกษาขั้นพื้นฐานยังรวมถึงการศึกษาปฐมวัยอีกด้วย ทั้งนี้รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายตามความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส่วนการบริหารและการควบคุมการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งเป็นแผนกหนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ในปัจจุบันการศึกษาในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาของประเทศไทยนั้นถูกมองว่าล้าหลังและล้มเหลวเสมอมา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยเมื่อเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและการศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การสอบขุนนาง

การสอบขุนนาง (imperial examination) เป็นระบบการสอบคัดเลือกข้าราชการพลเรือนในประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อสอบบรรจุข้าราชการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับระบบราชการของรัฐ ในการสอบใช้ข้อสอบแบบวัตถุวิสัย (objective) เพื่อประเมินการได้รับความรู้และคุณธรรมของผู้เข้าสอบ ผู้สอบได้จะได้รับวุฒิ จิ้นชื่อ แปลว่า "บัณฑิตชั้นสูง" (advanced scholar) (ซึ่งอาจเทียบได้กับปริญญา ดุษฎีบัณฑิต หรือปริญญาเอกในระบบการศึกษาสมัยใหม่ ซึ่งถือเป็นชั้นสูงสุด) รวมถึงปริญญาชั้นอื่น ๆ แล้วจะได้รับการประเมินเพื่อบรรจุเข้าดำรงตำแหน่งต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วผู้ที่ได้รับวุฒิจิ้นซี่อในการสอบขุนนางนั้นจะได้รับการแต่งตั้งเป็นข้าราชการระดับสูงแห่งราชสำนัก ตำแหน่งที่ได้รับจะเรียงตามลำดับผลคะแนนที่สอบได้ ผู้ที่สอบได้คะแนนสูงกว่าจะได้รับตำแหน่งที่ดีกว่า นอกจากนั้นองค์จักรพรรดิหรือจักรพรรดินีจะทรงให้ความสนใจเป็นพิเศษกับผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนสูงสุด ด้วยพื้นฐานจากปรัชญาลัทธิขงจื้อ การสอบขุนนางนี้โดยทฤษฎีแล้วมุ่งทดสอบและคัดเลือกบุคคลด้วยคุณธรรม จึงมีอิทธิพลต่อประเทศจีนทั้งในด้านสังคมและวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ทั้งยังมีส่วนให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในการคานอำนาจในช่วงราชวงศ์ถัง ราชวงศ์โจวของพระนางบูเช็กเทียน (Wu Zetian) และราชวงศ์ซ่ง ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังส่งผลเป็นการหลอมรวมโครงสร้างทางสังคมไว้เป็นเวลานาน อนึ่ง มีหลายครั้งที่การสอบทำให้อภิชนบางกลุ่มถูกแทนที่ด้วยบุคคลจากชั้นรากหญ้า หลายดินแดนในทวีปเอเชีย เช่น ประเทศเวียดนาม ประเทศเกาหลี ประเทศญี่ปุ่น และรีวกีว (Ryūkyū) รับระบบการสอบนี้มาใช้เพื่อคัดเลือกบุคคลระดับหัวกะทิ เพื่อรักษาเป้าหมายทางอุดมคติและทรัพยากร กับทั้งเพื่อส่งเสริมวรรณกรรมและการเล่าเรียน เนื่องจากการจัดการสอบเป็นส่วนหนึ่งของระบบทะเบียนหลวง วันที่ได้รับการประสาทวุฒิจิ้นชื่อ จึงมักเป็นข้อมูลที่ชัดเจนส่วนหนึ่งที่ระบุไว้ในชีวประวัติบุคคลสำคัญสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ต่อ ๆ มา ในประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและการสอบขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

การุญ จันทรางศุ

รองศาสตราจารย์ การุญ จันทรางศุ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย (เลื่อนขึ้นมาแทนคนที่เป็นรัฐมนตรี ร.อ.สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2544อุปนายกสภาวิศวกร คนที่ 1, กรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร, กรรมการจัดการบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอส), รองประธานคณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม คนที่ 5 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและการุญ จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

กุสุมา รักษมณี

ตราจารย์เกียรติคุณ กุสุมา รักษมณี เป็นนักภาษาและวรรณคดี ที่มีความเชี่ยวชาญทั้งภาษาและวรรณคดีสันสกฤต และภาษาและวรรณคดีไทย เคยสอนอยู่ที่ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ อาจารย์กุสุมามีบทบาทอย่างมากในการนำทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตมาอธิบายวรรณคดีไทย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ กุสุมา รักษมณี หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.กุสุมา รักษมณี เกิดเมื่อวันที่ ปัจจุบันเป็นข้าราชการบำนาญ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและกุสุมา รักษมณี · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานระดับภาควิชา สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ภิญโญ พานิชพันธ์

ร. ภิญโญ พานิชพันธ์ รองศาสตราจารย์ ภิญโญ พานิชพันธ์ (19 สิงหาคม 2485 -) ผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการคนแรกของสถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นและเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษทางด้านชีวเคมี วิทยาศาสตร์ศึกษา (Science Education) การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเก็บรักษาและการขนส่งสารเคมีและวัตถุอันตรายอย่างปลอดภัย เป็นเจ้าของผลงานประดิษฐ์คิดค้นชุดตรวจสอบสารไอโอดีน จนได้รับรางวัลจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและภิญโญ พานิชพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูวดล ทรงประเสริฐ

การชุมนุมเมื่อปี พ.ศ. 2551 ศาสตราจารย์ ภูวดล ทรงประเสริฐ (เกิด พ.ศ. 2493 - ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช) ศาสตราจารย์ระดับ 10 ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบัน เกษียณอายุราชการแล้ว ศาสตราจารย์ ภูวดล ทรงประเสริฐ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ เกิดที่ตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ปริญญาตรีและโทด้าน ประวัติศาสตร์ จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก ด้านประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมอนาช ประเทศออสเตรเลี.ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ เป็นผู้ที่เคลื่อนไหวทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ขณะเรียนอยู่ปี 2 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นนักวิชาการที่เชี่ยวชาญโดยเฉพาะทางด้านประวัติศาสตร์จีนและประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยเขียนหนังสือเกี่ยวกับชาวจีนโพ้นทะเลหลายเล่ม เช่น ชาวจีนโพ้นทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2546 เป็นต้น และเป็นบุคคลแรกในประเทศไทยที่สอนวิชาประวัติศาสตร์เกาหลี เป็นหนึ่งในนักวิชาการที่เข้าร่วมชุมนุมขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และเป็นขาประจำบนเวทีพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการชุมนุมเมื่อปี พ.ศ. 2551 โดยเป็นที่ชื่นชอบอย่างมากของผู้ชุมนุม เพราะมีลีลาการปราศรัยที่เผ็ดร้อนและมีข้อมูลเชิงลึก แต่หลายครั้งก็เต็มไปด้วยอารมณ์และคำหยาบ จนกระทั่งหลังการปราศรัยเสร็จในคืนวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พล.ต.จำลอง ศรีเมือง หนึ่งในแกนนำของกลุ่มพันธมิตรฯได้ขึ้นเวทีไปตำหนิ และหลังจากนั้น.ดร.ภูวดลก็มิได้ขึ้นเวทีของทางกลุ่มพันธมิตรฯอีกเลย แม้จะมีเสียงเรียกร้องจากผู้ชุมนุมก็ตาม งานวิจัยที่สำคัญของอาจารย์ช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจบทบาทของจีนโพ้นทะเลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย ทุนจีนต่อการพัฒนาเศรษฐกิจดีบุกและยางพาราในภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและภูวดล ทรงประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก

ลานมหาวิทยาลัย Cattolica '''มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก''' หรือ มหาวิทยาลัยคาทอลิกแห่งมิลาน (Università Cattolica del Sacro Cuore หรือ Università Cattolica di Milano; Catholic University of the Sacred Heart หรือ Catholic University of Milan; ชื่อย่อ: Cattolica หรือ UNICATT หรือ UCSC) โดยทั่วไปถูกเรียกสั้นๆว่า Cattolica (การออกเสียง อังกฤษ: katˈtɔlika; ไทย: กัตโตลีกา) วิทยาเขตหลักตั้งอยู่ในเมืองมิลาน แคว้นลอมบาร์เดีย ประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี (Bangkokthonburi University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร เปิดสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก จัดตั้งขึ้นเป็นสถาบันอุดมศึกษาประเภทวิทยาลัย เมื่อวันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Suratthani Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปิดการเรียนการสอนในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฎอันดับต้นๆ ของประเทศ เป็นหนึ่งใน 4 มหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ของภาคใต้ และมีโครงการก่อสร้างอาคารใหม่รวมถึงเปิดคณะเพิ่มขึ้น.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (Surindra Rajabhat University) เป็นสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดสุรินทร์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ปัจจุบัน เปิดสอนระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท และระดับปริญญาเอก โดยเป็นการจัดการศึกษาและบริการวิชาการแก่ชุมชน ในเขตจังหวัดสุรินทร์ ยโสธร อำนาจเจริญ (บางส่วน)บุรีรัมย์ (บางส่วน) ศรีสะเกษ (บางส่วน) และบุคลากรในจังหวัด ประเทศกัมพูชาและใกล้เคียง.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (Nakhon Sawan Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ ตำบลนครสวรรค์ตก อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เปิดทำการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตร ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยคาเปลลา

ทางเข้าสู่มหาวิทยาลัยที่คาเปลลาทาวเวอร์ (เดิมคือ 225 เซาธ์ซิกธ์) ในมินนีแอโพลิส มหาวิทยาลัยคาเปลลา (Capella University) เป็นมหาวิทยาลัยแสวงผลกำไรซึ่งตั้งอยู่ที่มินนีแอโพลิส รัฐมินนิโซตา ที่ให้การศึกษาออนไลน์เป็นส่วนมาก โรงเรียนแห่งนี้มีเจ้าของเป็นบริษัทคาเปลลาเอดูเคชันคอมพานีที่มีการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ มหาวิทยาลัยคาเปลลามีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี, ปริญญาโท (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) และปริญญาเอก (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, ดุษฎีบัณฑิตจิตวิทยา และบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต) ด้านธุรกิจ, เทคโนโลยีสารสนเทศ, การศึกษา, จิตวิทยา, สาธารณสุข, ความปลอดภัยสาธารณะ และบริการประชาชน ภายในขอบเขตเหล่านั้น มหาวิทยาลัยคาเปลลามีสาขาบัณฑิตและความชำนาญเฉพาะทาง 145 สาขา รวมถึงหลักสูตรประกาศนียบัตร 22 หลักสูตร กับกว่า 1,690 หลักสูตรออนไลน์ มีนักเรียนลงทะเบียนเรียนกว่า 36,000 คนจากทั้ง 50 รัฐ กับประเทศอื่นอีก 61 ประเทศ คิดเป็น 31 เปอร์เซ็นต์ที่เข้าเรียนในหลักสูตรระดับปริญญาเอก, 42 เปอร์เซ็นต์เข้าเรียนในระดับปริญญาโท และ 25 เปอร์เซ็นต์เข้าเรียนในระดับปริญญาตรี คณาจารย์ 1,523 ท่านมี 86 เปอร์เซ็นต์ที่มีคุณวุฒิในระดับปริญญาเอก โดยคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยอาศัยอยู่ใน 48 รัฐ กับอีก 8 ประเท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยคาเปลลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยซีหนาน

มหาวิทยาลัยซีหนาน (Southwest University:SWU) ตั้งอยู่ที่เขตเป่ยเป้ย มหานครฉงชิ่ง ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1906 ปัจจุบันมีนักศึกษากว่า 80,000 คน คณาจารย์ 2,650 คน เปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาต่างๆ หลายหลาก ครอบคลุม 336 หลักสูตร เฉพาะสาขาวิชาภาษาจีนนั้นมีการสอนถึงระดับปริญญาเอก จัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำอันดับต้นๆ ของประเทศ มีศักยภาพทางการวิชาการและวิจัยในระดับสูง และมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ นอกจากมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครันและตั้งอยู่ไม่ห่างจากใจกลางเมืองแล้ว มหาวิทยาลัยซีหนานยังมีสภาพแวดล้อมร่มรื่นงดงาม รายล้อมด้วยมีสิ่งปลูกสร้างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะและพรรณไม้นานาชนิด จนได้รับการขนานนามว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในฉงชิ่ง.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยซีหนาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร เปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2544 ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ได้เปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2553 โดยมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ กับมหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ไม่ได้เป็นสถาบันในเครือเดียวกันแต่อย่างใ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ เวเบอร์

ร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์ (Karl Emil Maximilian "Max" Weber) (21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกันว่าเวเบอร์เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยาสมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งานชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการปกครอง นอกจากนี้เขายังมีงานเขียนอีกหลายชิ้นในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ งานที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเวเบอร์คือ ความเรียงเรื่อง จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณแห่งทุนนิยม ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกของเขาในสาขาสังคมวิทยาศาสนา ในงานชิ้นดังกล่าว เวเบอร์เสนอว่าศาสนาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลัก ๆ ที่นำไปสู่เส้นทางการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่ต่างกันระหว่างโลกประจิม (the Occident) กับโลกบูรพา (the Orient) ในงานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นหนึ่งของเขาที่ชื่อการเมืองในฐานะวิชาชีพ (Politik als Beruf) เวเบอร์นิยามรัฐว่ารัฐคือหน่วยองค์ (entity) ซึ่งผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย ซึ่งนิยามนี้ได้กลายเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมักซ์ เวเบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มารี กูว์รี

มารี สกวอดอฟสกา-กูว์รี (Marie Skłodowska-Curie) มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา (Marya Salomea Skłodowska;; 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2410 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2477) เป็นนักเคมีผู้ค้นพบรังสีเรเดียม ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย ด้วยผลงานที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติเหล่านี้ ทำให้มารี กูว์รีได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งด้วยกัน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมารี กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

มานะ มหาสุวีระชัย

มานะ มหาสุวีระชัย อดีตหัวหน้าพรรคแทนคุณแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2498 ที่ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เป็นบุตรของนายประวิทย์ และนางสุชา มหาสุวีระชั.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมานะ มหาสุวีระชัย · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี จุฬาวัฒนฑล

ตราจารย์เกียรติคุณ มนตรี จุฬาวัฒนฑล (28 กรกฎาคม 2485 -) นักวิจัยที่มีผลงานทางด้านชีวเคมีของระบบสืบพันธุ์เพศชาย, ชีวเคมีจากพืช, เลคติน และมันสำปะหลัง เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายและการบริหารจัดการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และประธานสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและมนตรี จุฬาวัฒนฑล · ดูเพิ่มเติม »

ยงค์วิมล เลณบุรี

ตราจารย์ ยงค์วิมล เลณบุรี (23 สิงหาคม 2495 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาคณิตศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการยกย่องให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2541 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2550 สาขาคณิตศาสตร์ และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิต ประเภทวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและยงค์วิมล เลณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รัชดา ธนาดิเรก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชดา ธนาดิเรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 33 (บางพลัด บางกอกน้อย) พรรคประชาธิปัตย์ อดีตอาจารย์ประจำ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและรัชดา ธนาดิเรก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐศาสตร์ กรสูต

รัฐศาสตร์ กรสูต (ชื่อเล่น: เปปเปอร์) ปัจจุบันมีชื่อเสียงด้านวิชาการ และ การบริหารด้าน IT/ Digital จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เคยเป็นนักร้อง นักแสดง และนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และจากการเป็นนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Internet Technology เป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, และเป็นผู้อำนวยการเว็บไซต์ sanook.com ให้บริษัท Sanook Online Limited จำกัด และปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้จัดการประจำประเทศไทย (Country Manager) ของบริษัท LINE Corporation.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและรัฐศาสตร์ กรสูต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D. และร้อยละ 7.0 เป็น Ed.D. การศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาชีพ (professional doctorates) เช่น แพทยศาสตร์ (Doctor of Medicine - M.D.) และปริญญาเอกด้านกฎหมาย (Juris Doctor - J.D.) ไม่นับรวมในรายชื่อนี้.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

ฤทธิ์ ลือชา

ทธิ์ ลือชา ฤทธิ์ ลือชา ดารานักแสดงอาวุโส ผู้ที่เป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีกับบทดาวร้ายจากภาพยนตร์ไทยในอดีต เช่นเดียวกับ ดามพ์ ดัสกร และ เกชา เปลี่ยนวิถี ฤทธิ์ ลือชา มีชื่อจริงว่า ฤทธิ์ลือชา คุ้มแพรวพรรณ (ชื่อเดิม: ชรินทร์ คุ้มแพรวพรรณ, ชื่อเล่นคือ: บังเครื่องม้า) หรือ ดร.ฤทธิ์ลือชา คุ้มแพรวพรรณ เป็นชาวไทยมุสลิมเชื้อสายปาทาน เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2487 ที่อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี เมื่ออายุ 16 ได้เข้าเรียนที่โรงเรียนอินทรศึกษา เมื่อจบการศึกษาแล้ว จะสอบเอ็นทรานซ์ ในตอนอายุ 18 แต่ทว่าสอบไม่ติด จึงย้ายไปอยู่ที่จังหวัดสระบุรี ซึ่งเป็นชุมชนแขกปาทานที่มีชื่อเสียง เพื่อดูแลน้องสาวและช่วยดูแลกิจการครอบครัวน้องสาว ซึ่งเป็นฟาร์มปศุสัตว์เลี้ยงวัว ฤทธิ์มีหน้าที่ช่วยรีดนมวัวส่งขายตอนเช้า เนื่องจากมีเทคนิครีดนมได้ดี แม้ใช้มือทั้งสองข้างรีดไปมาพร้อมกันได้น้ำนมมากเป็นพิเศษแต่หัวนมวัวไม่ช้ำ หนังสือพิมพ์ได้เขียนแซวถึงงานดังกล่าวว่าอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เขาติดใจแม่ลูกอ่อน เข้าสู่วงการการแสดงด้วยการได้รับการติดต่อจากกองถ่ายภาพยนตร์ให้ช่วยจัดหาสถานที่และอุปกรณ์ในการถ่ายทำที่จังหวัดสระบุรีเนื่องจากเป็นหนุ่มผู้กว้างขวางในพื้นที่ จึงถูกชักชวนให้เข้าวงการจาก พร ไพโรจน์ เริ่มต้นด้วยการเป็นดาวร้ายจากภาพยนตร์เรื่อง ข้ามาคนเดียวในปี พ.ศ. 2521 โดยได้สมญานามว่าเป็นโอมาร์ ชารีฟเมืองไทย แม้ส่วนใหญ่จะจะรับบทเป็นดาวร้ายเพราะหน้าตาดูดุดัน แต่มีรูปร่างสูงใหญ่กำยำและมีเสน่ห์ที่หนวดเครา เป็นที่รู้กันในหมู่เพื่อนนักแสดงชายถึงขนาดของเครื่องเคราที่ประดุจเครื่องม้า ฤทธิ์เคยได้รับรางวัลเมขลามากถึง 8 รางวัลด้วยกัน จากละครโทรทัศน์เรื่องต่าง ๆ ภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงก็เช่นภาพยนตร์เบาสมองเรื่องกองพันทหารเกณฑ์(2527) ทหารเกณฑ์เจอผี(2527) และกองพันทหารใหม่(2528) ในบทบาทจ่าบังหัวชะโดครูฝึกทหารจอมอึด โดยในเรื่องหลังเขาได้ลงทุนโกนหนวดโชว์ใบหน้าที่เกลี้ยงเกลา ซึ่งก็ได้รับเสียงฮือฮาเป็นอย่างมากว่าหล่อเหลาเกินคาดและได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในหมู่ผู้ชมไม่น้อย ส่วนแก้วขนเหล็ก(2526)และจอมเมฆินทร์(2528)ฤทธิ์รับบทผีดูดเลือดพันปีผู้พิศมัยเลือดสดๆจากสาวๆ และรับบทมือปืนนักฆ่าจอมโหดในเรื่องมือปืนผีสิง(2529) และดวลปืน(2529) ตามลำดับ ฤทธิ์ลือชา คุ้มแพรวพรรณ หรือในนาม ดร.ฤทธิ์ลือชา คุ้มแพรวพรรณ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต และปริญญาเอก รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยเดียวกัน ด้านชีวิตครอบครัว สมรสตั้งแต่ก่อนเข้าวงการบันเทิง มีบุตรด้วยกันทั้งสิ้น 5 คน เป็นลูกสาว 4 คน โดยมีบุตรสาวคนหนึ่ง คือ ประดับดาว คุ้มแพรวพรรณ (ไจแอนท์) ซึ่งเคยติด 1 ใน 10 ผู้เข้าประกวดร้องเพลงจากรายการ The Singer ทางช่อง 3 เมื่อปี พ.ศ. 2550 ปัจจุบันนอกจากการเป็นนักแสดงแล้ว ยังมีกิจการร้านอาหาร ชื่อร้านบุญบันดาล ที่จังหวัดสระบุรีอีกด้วย ผลงานในระยะหลังได้แก่ กษัตริยา ทางช่อง 5 และเริ่มเปลี่ยนบทบาทไปรับบทที่อาวุโสและสุขุมขึ้น เช่น บทพ่อ ในซิทคอมชุด รักแปดพันเก้า ทางช่อง 9 เป็นต้น ในทางสังคมฤทธิ์ให้สัมภาษณ์ว่านอกเหนือจากรีดนมทุกประเภทแล้ว เขายังสนใจการเล่นไก่ชน ถึงขนาดได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกสมาพันธ์ไก่ชนไทย ส่งเสริมการเลี้ยงไก่ชน ในทางการเมืองเคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสมาชิก (ส.ว.) ของกรุงเทพมหานครด้วย เมื่อเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง และเป็นผู้ที่สนิทสนมกับ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง เคยมีโปรโมเตอร์บางคนเชิญไปร้องเพลงชาติไทยให้นักมวยสากลเวลามีการป้องกันแชมป์ ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 เขาได้สมัครรับเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เล่นละครสงครามเพลงตั้งแต่เคยเล่นในภาพยนตร์มาเป็นละครมาเป็นตัวร้ายรับเชิญทางช่อง 3 เอสดี.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและฤทธิ์ ลือชา · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ คลิทช์โก

วลาดีมีร์ คลิทช์โก (อังกฤษ: Wladimir Klitschko) นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวยูเครน มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ โวโลดีมีโลวิช คลิทช์โก (Volodymyr Volodymyrovych Klychko, ยูเครน: Володимир Володимирович Кличко) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1976 ที่เซมิปาลาตินส์ก, คาซัคสถาน สหภาพโซเวียต เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ วิตาลี คลิทช์โก วลาดิมียร์ผ่านการชกมวยสากลสมัครเล่นมาอย่างโชกโชนกว่าวิตาลี ผู้เป็นพี่ เคยคว้าแชมป์มวยระดับจูเนียร์ของทวีปยุโรป ในรุ่นเฮฟวี่เวท ในปี ค.ศ. 1993 และเคยประสบความสำเร็จสูงสุดด้วยการคว้าเหรียญทองในรุ่นซูเปอร์เฮฟวี่เวท ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ค.ศ. 1996 ที่แอตแลนตา สหรัฐอเมริกา หลังจากนั้นแล้ว วลาดิมียร์ก็หันมาชกมวยสากลอาชีพพร้อมกับ วิตาลี พี่ชาย ด้วยการเข้าอยู่ในสังกัด Universum Box-Promotion ที่ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ของ ฟริตซ์ สดูเนค ซึ่งทั้งคู่เมื่อหันมาชกมวยสากลอาชีพแล้วก็ได้สร้างความฮือฮาเป็นอย่างมากต่อวงการมวยโลก ด้วยเป็นคู่พี่น้องผิวขาวในรุ่นเฮฟวี่เวท ที่หมัดหนัก รูปร่างสูงใหญ่ทั้งคู่ ซึ่งวลาดิมียร์มีส่วนสูง 6 ฟุต 7 นิ้ว (199 เซนติเมตร) ซึ่งวลาดิมียร์ก็ถือว่าประสบความสำเร็จก่อนวิตาลีพี่ชายเสียด้วยซ้ำ เมื่อสามารถคว้าแชมป์อินเตอร์เนชั่นแนลของสภามวยโลก (WBC) มาครองได้ก่อน ในปี ค.ศ. 1998 แต่แล้ววลาดิเมียร์ก็ต้องมาพบกับความพ่ายแพ้ครั้งแรกเมื่อเป็นฝ่ายแพ้น็อกต่อ รอสส์ พูริตตี นักมวยโนเนมชาวอเมริกัน ในปลายปีเดียวกัน ในยกที่ 11 หลังจากนั้นวลาดิเมียร์ก็ยังชกเคลื่อนไหวอีกหลายครั้ง รวมทั้งคว้าแชมป์ยุโรปและแชมอินเตอร์คอนติเนนตัล ของ สมาคมมวยโลก (WBA) มาครองได้อีก วลาดิมียร์ มาคว้าแชมป์โลกได้เป็นครั้งแรก เมื่อเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนน คริส เบิร์ด นักมวยชาวอเมริกันใน ปี ค.ศ. 2000 ได้แชมป์โลกรุ่นเฮฟวี่เวทขององค์กรมวยโลก (WBO) วลาดิมียร์ป้องกันตำแหน่งไว้ได้ 5 ครั้ง ก่อนที่จะมาพ่ายแพ้อีกครั้งต่อ คอร์รี แซนเดอร์ส นักมวยชาวแอฟริกาใต้ ในปี ค.ศ. 2002 เมื่อเป็นฝ่ายแพ้น็อกเพียงแค่ยกที่ 2 จากนั้นก็ชกเคลื่อนไหวอีก 2 ครั้ง ก่อนที่จะพบกับความพ่ายแพ้ครั้งที่ 3 ต่อ ลามอน บริวสเตอร์ นักมวยชาวอเมริกัน ในยกที่ 5 เมื่อปี ค.ศ. 2003 ชิงแชมป์โลกกลับมาไม่สำเร็จ วลาดิมียร์ คลิทช์โก กลับมาเป็นแชมป์โลกได้อีกครั้งในปี ค.ศ. 2005 เมื่อเป็นฝ่ายชนะน็อก แซมมวล ปีเตอร์ นักมวยชาวไนจีเรีย ถึงรัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ทำให้ได้แชมป์หลายสถาบัน ทั้ง NABF, IBF และ WBO จนถึงปัจจุบันนี้ วลาดิมียร์ยังไม่ได้พ่ายแพ้แก่ใครอีก นอกจากจะเป็นแชมป์ของ NABF, IBF, WBO, IBO แล้วยังเป็นแชมป์ของสถาบันเดอะ ริง อีกด้วย ชีวิตส่วนตัว ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวลาดีมีร์ คลิทช์โก · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด

ตราจารย์ ดร. วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด ศาสตราจารย์ วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด (15 กุมภาพันธ์ 2496 -) เกิดที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และพันธุวิศวกรรม เจ้าของรางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ประชุมสภาประธานอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ (ปอมท.) ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช วรรณรัตน์

มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ รองศาสตราจารย์ วิรัช วรรณรัตน์ นักวิชาการชาวไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิรัช วรรณรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน (விளையனூர் இராமச்சந்திரன் วิลยนูรฺ สุพฺรหฺมณฺยมฺ รามจนฺทรน Vilayanur Subramanian Ramachandran; เกิด พ.ศ. 2494) เป็นนักประสาทวิทยาศาสตร์ ที่มีผลงานเป็นที่รู้จักกันในสาขาพฤติกรรมประสาทวิทยา (behavioral neurology) และ จิตฟิสิกส์ (psychophysics) ดร.รามจันทรันปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการของศูนย์สมองและการรับรู้ (Center for Brain and Cognition) และศาสตราจารย์ในคณะจิตวิทยา และคณะประสาทวิทยาศาสตร์ในระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิเอโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร.รามจันทรันมีชื่อเสียงในการทดลอง ที่ไม่ต้องอาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนเช่นการสร้างภาพประสาท (neuroimaging) แต่ถึงแม้ว่าจะใช้วิธีที่ง่าย ๆ ดร.รามจันทรันก็ได้สร้างความคิดใหม่ ๆ มากมายเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ริชาร์ด ดอว์กินส์ (ผู้เป็นนักชีววิทยาวิวัฒนาการที่มีชื่อเสียง) ได้เรียก ดร.รามจันทรันว่า "นายมาร์โก โปโล ของประสาทวิทยาศาสตร์" และเอริค แกนเดิล (ผู้เป็นแพทย์ประสาทจิตเวชผู้ได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 2000) ได้เรียกเขาว่า "นายพอล์ โบรคา ในยุคปัจจุบัน" นิตยสาร Newsweek (ข่าวสัปดาห์) ยก ดร.รามจันทรันให้เป็นสมาชิกสโมสรแห่งศตวรรษ (The Century Club) เป็นบุคคลเด่นที่สุดคนหนึ่งใน 100 คนที่ควรจะติดตามในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ชอกลีย์

thumb วิลเลียม ชอกลีย์ (William Bradford Shockley) (13 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2453 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2532) นักฟิสิกส์และนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษสัญชาติอเมริกันผู้ร่วมค้นคิดและประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ ชอกลีย์ ร่วมกับ จอห์น บเตน ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ได้เป็นผลสำเร็จ ทำให้นักประดิษฐ์ทั้งสามคนได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี พ.ศ. 2499 ความพยายามของชอกลีย์ในการผลิตทรานซิสเตอร์ทางการค้าระหว่างช่วง พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2512 ทำให้เกิด “ซิลิคอนแวลเลย์” ขึ้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียซึ่งกลายเป็น “ดง” แห่งนวัตกรรมทางอีเลกทรอนิกส์ดังที่เห็นในปัจจุบัน ในช่วงชีวิตหลังๆ ชอกลีย์หันกลับมาทางด้านการศึกษาและวิจัยโดยเข้าเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดและต่อมากลายเป็นผู้สนับสนุนด้านสุพันธุศาสตร์ (eugenics) หรือวิชาว่าด้วยการบำรุงพันธุ์มนุษย์อย่างแข็งขัน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิลเลียม ชอกลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน

วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Conrad Röntgen - 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 — 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ประจำมหาวิทยาลัยเวิร์ซแบร์ก ผู้ค้นพบและสร้าง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มี ช่วงคลื่น ขนาดที่รู้จักในปัจจุบันว่า รังสีเอกซ์ (x-rays) หรือ รังสีเรนต์เกน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438ความสำเร็จที่ทำให้เรินต์เกนได้รับรางวัลโนเบลรางวัลแรก เมื่อ..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกลออกแบบและสร้างเครื่องจักร งานวิศวกรรมเครื่องกลรวมไปถึงยานพาหนะในทุกขนาด ระบบปรับอากาศเองก็เป็นหนึ่งในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical engineering) เป็นวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และกฎทางฟิสิกส์เพื่อการประดิษฐ์ การผลิต และการดูแลรักษาระบบเชิงกล วิศวกรรมเครื่องกลเป็นหนึ่งในสาขาทางวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุดและมีขอบข่ายกว้างขวางที่สุด การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลนั้นจำเป็นต้องมีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของหลักกลศาสตร์ พลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหลและพลังงานเป็นอย่างดี วิศวกรเครื่องกลนั้นสามารถใช้หลักการณ์พื้นฐานได้ดีพอกับความรู้อื่น ๆ ในงานภาคสนามเพื่อการออกแบบและวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบทำความร้อนและความเย็น เรือ ระบบการผลิต จักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิศวกรรมเครื่องกล · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธิ์ ใบไม้

ตราจารย์ วิสุทธิ์ ใบไม้ เกิด 1 เม.ย. 2485 ที่ตำบลกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีววิทยา พันธุศาสตร์ และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย เป็นผู้ก่อตั้งโครงการ BRT (Biodeversity Research and Training Program) หรือมีชื่อภาษาไทยว่า "โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย" อันเป็นโครงการที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ศช.) ให้ทุนสนับสนุนมาตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิสุทธิ์ ใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นคณะวิชาในสาขาสื่อสารมวลชน ของมหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (อังกฤษ:College of Logistics and Supply Chain, Suansunandha Rajabhat University)  เป็นส่วนราชการไทยเทียบเท่าระดับคณะวิชา อยู่ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันจัดการศึกษาที่ วิทยาเขตศาลายา  โดยจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี  ปริญญาโท และปริญญาเอก ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนซึ่งถือว่าเป็นวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชนแห่งแรกของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งหม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์การประมง

วิทยาศาสตร์การประมง (Fisheries science) เป็นสาขาวิชาว่าด้วยการจัดการและความเข้าใจด้านการประมง ซึ่งประกอบด้วยหลายสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาด้านสมุทรศาสตร์ ชีววิทยาทางทะเล การอนุรักษ์ทางทะเล นิเวศวิทยา พลศาสตร์ประชากร เศรษฐศาสตร์ และการจัดการ หรือในสาขาใหม่ที่เกิดขึ้น อย่างเช่น เศรษฐศาสตร์เชิงชีววิทยา วิทยาศาสตร์การประมง เป็นสาขาวิชาที่สอนในมหาวิทยาลัย ที่อาจเจาะจงเฉพาะในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท หรือ ปริญญาเอก บางมหาวิทยาลัยมีภาควิชาวิทยาศาสตร์การประมงโดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์การประมง เริ่มมีมาราวปี ค.ศ. 1890 ในสาขาวิชาที่ผสมผสานระหว่างสาขาสัตววิทยากับสถิติ แต่ประยุกต์ในรูปแบบและการใช้งานใหม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิทยาศาสตร์การประมง · ดูเพิ่มเติม »

วิตาลี คลิทช์โก

วิตาลี คลิทช์โก (อังกฤษ: Vitali Klitschko) นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวยูเครน มีชื่อเต็มว่า วิตาลี โวโลดีมีโลวิช คลิทช์โก (Vitalii Volodymyrovych Klychko, ยูเครน: Віта́лій Володи́мирович Кличко́) เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1971 ที่สหภาพโซเวียต เป็นบุตรชายของ วลาดิเมียร์ โรดิโอโนวิช ซึ่งเป็นอดีตทหารระดับพันเอกของกองบินโซเวียต และ นาเดซดา อูลยานอฟนา ผู้เป็นแม่ วิตาลี ก่อนมาชกมวยสากลอาชีพเคยชกคิกบ็อกซิ่งมาก่อน เคยได้เหรียญเงินและเหรียญทองในการแข่งขันคิกบ็อกซิ่งนานาชาติในปี ค.ศ. 1995 และเคยได้เหรียญเงินมวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลกที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ในปีเดียวกัน ก่อนที่จะหันมาชกมวยสากลอาชีพในปี ค.ศ. 1996 ในสังกัดของ Universum Box-Promotion ที่ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ภายใต้การฝึกสอนของ ฟริตซ์ สดูเนค พร้อมกับน้องชาย คือ วลาดิเมียร์ คลิทช์โก ซึ่งทั้งวิตาลีและวลาดิเมียร์ น้องชายได้สร้างความฮือฮาเป็นอย่างมากต่อวงการมวยโลก เนื่องจากทำสถิติชนะรวดโดยไม่มีแพ้ ไม่มีเสมอมาตลอด พร้อมกับภาพลักษณ์ที่เป็นมวยผิวขาวที่หมัดหนัก รูปร่างสูงใหญ่ทั้งคู่ โดยเฉพาะผู้พี่ วิตาลี ที่มีส่วนสูงถึง 6 ฟุต 7 นิ้ว (201 เซนติเมตร) และทำสถิติชนะน็อกรวดมาตลอดถึง 24 ครั้งด้วยกัน ก่อนที่จะขึ้นแชม์โลกเป็นครั้งแรกในสถาบัน องค์กรมวยโลก (WBO) ด้วยการเอาชนะน็อก เฮอร์บี ไฮด์ นักมวยผิวดำชาวอังกฤษ ได้ถึงถิ่นของแชมป์โลก ถึงกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในยกที่ 2 เท่านั้นเอง ในปี ค.ศ. 1999 แต่แล้วหลังจากนั้นเพียงอีก 2 ครั้งต่อมา วิตาลีก็ได้พบกับความพ่ายแพ้เป็นครั้งแรก เมื่อเป็นฝ่ายแพ้ทางเทคนิค เนื่องด้วยอาการบาดเจ็บที่หัวไหล่ คริส เบิร์ด นักมวยผิวดำชาวอเมริกัน ที่ฝีไม้ลายมือดูเหมือนว่าจะห่างไกลจากวิตาลีมากในยกที่ 9 ที่กรุงเบอร์ลิน ถิ่นของตัวเอง ในปี ค.ศ. 2000 ลังจากนั้นวิตาลีก็ยังกลับมาชกเคลื่อนไหวอยู่อีก 4-5 ครั้ง และได้ครองแชมป์อินเตอร์คอนติเนนตัลของ สมาคมมวยโลก (WBA) ก่อนที่จะชิงแชมป์โลกอีกครั้งกับยอดนักมวยชาวอังกฤษ ผู้เป็นเจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกตัวจริงอย่าง เลนน็อก ลูอิส และในครั้งนี้วิตาลีก็เป็นฝ่ายแพ้แตก ลูอิสในยกที่ 6 ในการชกที่ลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 2003 จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและวิตาลี คลิทช์โก · ดูเพิ่มเติม »

ศักรินทร์ ภูมิรัตน

รองศาสตราจารย์ ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านไบโอแก๊ส, Transport Properties of Food Materials และ Algal Technology Research ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ร.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน เป็นบุตรของศาสตราจารย์ อมร ภูมิรัตน และคุณหญิง ระเบียบ ภูมิรัตน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและศักรินทร์ ภูมิรัตน · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสภาปฏิรูปแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ. 2518 ปัจจุบันเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย หาญหิรัญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์(พิเศษ) สมชาย หาญหิรัญ เกิดเมื่อ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสมชาย หาญหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

มศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวไทยที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัยโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา สมศักดิ์ยังเคยดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นระยะเวลาหลายปีก่อนถูกไล่ออกจากเหตุละทิ้งราชการในช่วงของการลี้ภัยแม้ว่าสมศักด์ได้ยื่นใบลาออกก่อนหน้าก็ตาม ปัจจุบันคำสั่งไล่ออกจากราชการได้ถูกศาลปกครองยกฟ้อง สมศักดิ์มีผลงานการศึกษาค้นคว้าและการตีความประวัติศาสตร์จำนวนมาก โดยเฉพาะการศึกษาบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ตั้งแต่การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475, กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8, เหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาน งามสนิท

รองศาสตราจารย์ สมาน งามสนิท หรือ ร.ดร.สมาน งามสนิท เป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาในระดับปริญญาเอกจากคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เป็นอาจารย์ที่สนใจและเชี่ยวชาญงานทางด้านการสื่อสาร เช่น ภาพยนตร์ ดนตรี สื่อการสื่อสารต่าง ๆ เป็นต้น โดยเคยร่วมแสดงละคร และภาพยนตร์หลายเรื่อง รวมทั้งเคยเป็นคณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (กบว.) มีผลงานแต่งเพลงร่วมกับนักแต่งเพลงมีชื่อหลายท่าน เช่น นคร ถนอมทรัพย์ เพลงที่มีชื่อเสียง เช่น "เพลง 60 ปี 60 ล้านความดี" เนื่องในวโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๙ เป็นต้น รวมทั้งยังเป็นผู้ที่สนใจในเรื่องพุทธศาสนาอีกด้วย โดยเป็นวิทยากรและผู้ดำเนินรายการให้ความรู้เกี่ยวกับพุทธศาสนาตามสื่อและโอกาสต่าง ๆ และเป็นอาจารย์บรรยายประจำ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทางวิชาการ เคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นกรรมการประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม งานทางด้านสังคม เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2518 สังกัดพรรคธรรมสังคม และเคยเป็นนายกสมาคมชาวอีสานด้ว.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสมาน งามสนิท · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2543 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตนักสร้างสรรค์รายการข่าวและผู้ประกาศข่าวของหลายสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสมเกียรติ อ่อนวิมล · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ ตันตระรัตน์

ตราจารย์ สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (4 ตุลาคม พ.ศ. 2492 -) เป็นนักวิชาการด้านโทรคมนาคมและการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล คนสำคัญคนหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา และผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสวัสดิ์ ตันตระรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นสถาบันการศึกษาทางด้านสาธารณสุขศาสตร์ อนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยและความปลอดภั.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นสถาบันการศึกษาทางการแพทย์ในกำกับของรัฐบาลแห่งที่ 2 ของประเทศไทย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้เริ่มจัดทำโครงการพัฒนาระบบสุขภาพ จังหวัดนครศรีธรรมราช เสนอต่อนายกรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2547 และเพื่อพัฒนาสุขภาพชุมชน ตามความเรียกร้องของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช และร่วมมือกับโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท กระทรวงสาธารณสุข โดยสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นสถาบันการศึกษาทางด้านเภสัชศาสตร์ โดยเป็นสถาบันการศึกษาทางเภสัชศาสตร์คุณภาพ มุ่งผลิตเภสัชกรที่มีคุณธรรม และมีความรู้เป็นเลิศ เป็นทีพึงของชุมชน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

ตราจารย์ สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2558 เคยดำรงตำแหน่ง คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และเคยเป็น นายก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นผู้ก่อตั้งและประธานคณะกรรมการยุววิศวกรแห่งประเทศไทย คนแรก และวันที่ 21 สิงหาคม 2559 ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) มีมติเลือก.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ เป็นประธาน ทปอ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ คุณหญิง สุชาดา กีระนันทน์ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกสภาฯ หญิงคนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมสถิติแห่งประเทศไทย, และอดีตอธิการบดีและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหญิงคนแรก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุชาดา กีระนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ ธาดาธำรงเวช

ตราจารย์ สุชาติ ธาดาธำรงเวช อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาธิการ อดีตอาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2495 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ รุ่นที่ 77 เลขประจำตัว 8293 จบการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ The London School of Economics and Political Science สหราชอาณาจักร ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ ประเทศแคนาดา ประกาศนียบัตรเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย(University of East Anglia) สหราชอาณาจักร ปริญญาบัตรหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 1 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช สมรสกับนางวัชรี ธาดาธำรงเวช (สกุลเดิม พิพัฒน์ประทานพร) นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ มีบุตร 2 คน คือ นายกรกฎ จัสติน ธาดาธำรงเวช และนางสาวอรณิชา ธาดาธำรงเว.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุชาติ ธาดาธำรงเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุชนา ชวนิชย์

รองศาสตราจารย์ สุชนา ชวนิชย์ เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงชาวไทย ผู้ซึ่งเป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ไปศึกษาวิจัยยังทวีปแอนตาร์กติก ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งยังเป็นหนึ่งในทีมของนักวิทยาศาสตร์ไทยที่ทำการเพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศสำเร็จเป็นครั้งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุชนา ชวนิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม ในอดีตเคยดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลชวน หลีกภัย สุรินทร์เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน วาร..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุรินทร์ พิศสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุรเกียรติ์ เสถียรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สุวินัย ภรณวลัย

รองศาสตราจารย์ สุวินัย ภรณวลัย อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2527 ได้รับปริญญาเอก รอมบุนฮาคาเซะ จากมหาวิทยาลัยโฮเช ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ที่สนใจศึกษาและชำนาญในศาสตร์ด้านพัฒนาและยกระดับจิตใจและร่างกายตามวิถีของชาวตะวันออก มีผลงานทางด้านนี้ออกมาเป็นหนังสือมากมาย อีกทั้งยังเป็นผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการต่อสู้ เช่น มวยไทเก็ก อีกด้วย ปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุวินัย ภรณวลัย · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ ยกส้าน

ตราจารย์ สุทัศน์ ยกส้าน (เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) นักวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ชาวไทย มีผลงานด้านฟิสิกส์ทฤษฎีอธิบายสมบัติพื้นฐานบางประการของสภาพนำยิ่งยวด ท่านได้รับรางวัลรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ปี พ.ศ. 2530 ในสาขาฟิสิกส์ทฤษฎี ปัจจุบันทำงานในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สสวทและตำแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสุทัศน์ ยกส้าน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (สพบ.) (National Institute of Development Administration) หรือ ที่นิยมเรียกกันว่า นิด้า (NIDA) เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของรัฐ เปิดสอนเฉพาะระดับมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) และดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) และถือเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดการสอนหลักสูตร MBA เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยคณะบริหารธุรกิจของนิด้าได้รับการจัดอยู่ในอันดับต้นของทวีปเอเชียอยู่สม่ำเสมอจากสื่อชั้นนำระดับนานาชาติ ประกอบกับเป็นสถาบันที่มีอัตราส่วนอาจารย์ระดับปริญญาเอกต่อจำนวนนักศึกษาที่สูงที่สุดในประเทศไทย และสัดส่วนอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงที่สุดในประเทศไทย รวมไปถึงยังได้รับคะแนนการประเมินการดำเนินงานจากหลากหลายองค์กรในระดับสูงที่สุดในประเทศไทย บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถาบันรวมถึงคณาจารย์และศิษย์เก่ามีหลากหลาย ซึ่งรวมถึงบุคคลสำคัญในด้านการเมืองการปกครองและภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรี, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ และข้าราชการระดับสูง รวมถึงเจ้าของธุรกิจขนาดใหญ่ ของประเทศไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

ันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Panyapiwat Institute of Management) เดิมชื่อสถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนทุนในการก่อตั้งจากบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) และได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อให้เปิดดำเนินการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. หรือ IPST) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่หลักในการพัฒนาขีดความสามารถในด้านการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ของครู และเยาวชนไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

ันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2502 โดยความร่วมมือจากกลุ่มประเทศสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีโต้ หรือ สปอ.) ในชื่อ โรงเรียนวิศวกรรม สปอ. (SEATO Graduate School of Engineering) ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นสถาบันอิสระในชื่อปัจจุบันเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เปิดสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาโท และปริญญาเอก) โดยเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ ในสาขาที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย มีศูนย์กลางการบริหารงานตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีศูนย์การศึกษาในประเทศเวียดนามด้วย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย เป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม โดยได้รับการยกย่องว่าเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติที่ดีที่สุดในโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สถิตย์ สิริสิงห

ตราจารย์เกียรติคุณ ทันตแพทย์ สถิตย์ สิริสิงห (9 มกราคม 2480 -) นักวิจัยผู้บุกเบิกสาขาอิมมิวโนวิทยาของประเทศไทยในยุคเริ่มแรก นับตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสถิตย์ สิริสิงห · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

วน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ หรือ สเวน โอ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 – 13 เมษายน พ.ศ. 2559) อดีตประธานศาลปกครองสูงสุด อดีตตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด อดีตรองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อดีตอาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ เคยเป็นกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ รวมทั้งเป็นกรรมการร่วมยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณาทางปกครอง.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล · ดูเพิ่มเติม »

อมเรศ ภูมิรัตน

ตราจารย์ อมเรศ ภูมิรัตน (24 กรกฎาคม 2491 - ปัจจุบัน) เกิดที่อำเภอพระโขนง กรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์และกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ เชี่ยวชาญด้านการสอน การวิจัย รวมทั้งการประยุกต์และถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรม มาตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอมเรศ ภูมิรัตน · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี

นักบุญอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี (Sant'Alfonso Maria de' Liguori) เป็นมุขนายกโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้ก่อตั้งคณะพระมหาไถ่ และมีผลงานเขียนสำคัญเกี่ยวกับเทววิทยาศีลธรรม หลังจากมรณกรรมได้รับการประกาศเป็นนักบุญและนักปราชญ์แห่งคริสตจักร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี · ดูเพิ่มเติม »

อำพน กิตติอำพน

อำพน กิตติอำพน (10 ตุลาคม 2498 -) ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารสำนักงานและผู้อำนวยการ สำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีตาม คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 183/2559 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ในคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการนอกจากนี้ยังดำรงตำแหน่งประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทยถึง 2 สมัย ประธานกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) สว.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอำพน กิตติอำพน · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

อีริค เปเวอร์นากี

อีกห้องว่างเปล่า Erik Pevernagie (80 x 100 ซม), น้ำมันบนผ้าใบ อีริค เปเวอร์นากี (Erik Pevernagie) (เกิดใน ปี ค.ศ 1939) เป็นจิตกรชาวเบลเยี่ยมที่ได้เคยจัดนิทรรศการในปารีส นิวยอร์ก เบอร์ลิน อัมสเตอร์ดัม ลอนดอน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอีริค เปเวอร์นากี · ดูเพิ่มเติม »

อทิตยา ศิริภิญญานนท์

ผศ.ดร. อทิตยา ศิริภิญญานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อทิตยา ศิริภิญญานนท์ เกิดวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2516 ที่กรุงเทพมหานคร เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอทิตยา ศิริภิญญานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อดิศัย โพธารามิก

อดิศัย โพธารามิก เกิดเมื่อ 23 เมษายน พ.ศ. 2483 มีพี่ชายคนเดียว ชื่อ นายแพทย์ยุทธ โพธารามิก สมรสกับ รองศาสตราจารย์ ดร.พิชนี โพธารามิก กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตร 1 คน ชื่อ พิชญ์ โพธารามิก เป็นเจ้าของบริษัทเครือ โมโน กรุ๊ป.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอดิศัย โพธารามิก · ดูเพิ่มเติม »

อดุล วิเชียรเจริญ

ตราจารย์ อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2469 เป็นชาวเพชรบุรี คณบดีคนแรกของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ้นจากตำแหน่งคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอดุล วิเชียรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล

ร.อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ปริญญาโท (ภาษาบาลี) และปริญญาเอก (ภาษาไทย) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล หรือ ดร.อนันต์ มีความรู้ ความสนใจพิเศษในภาษาตะวันออกหลายภาษา เช่น ภาษาบาลี, สันสกฤต, ภาษาจีน, ภาษาเขมร, ภาษามลายู โดยเฉพาะในส่วนที่สัมพันธ์กับภาษาไทย และมีความสนใจศึกษาถึงวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น ชาวอินเดีย, ชาวไท มีผลงานด้านวิชาการที่เป็นการอธิบายศัพท์และสำนวนภาษาต่าง ๆ ซึ่งได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นระดับชาติ ประจำปี พ.ศ. 2547 ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2551 ดร.อนันต์เป็นหนึ่งในคณาจารย์ที่คัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ก่อนการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ไม่นาน ดร.อนันต์เป็นผู้นำนักวิชาการหลายคนเข้าพบ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ที่บ้านสี่เสาเทเวศน์ เพื่อเยี่ยมคารวะให้กำลังใจและขอคำปรึกษาในการแก้ไขวิกฤตปัญหาบ้านเมือง ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ดร.อนันต์ขึ้นเวทีปราศรัยในฐานะเป็นวิทยากรรับเชิญของ "รายการรู้ทันประเทศไทย" ของ ร.ดร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ผุสดี ตามไท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผุสดี ตามไท กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และอดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน).

ใหม่!!: ปริญญาเอกและผุสดี ตามไท · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ลขาธิการสถาบันอภิวุฒิโยธิน_วิทยาลัยเทคโนโลยีรัชภาคย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (Assistant professor) ใช้อักษรย่อว่า ผ. เป็นตำแหน่งทางวิชาการที่ใช้ในหลายประเท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและผู้ช่วยศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณมาลา

ตราจารย์ จรัส สุวรรณมาลา (เกิดเมื่อ 21 กันยายน พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 เป็นศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตคณบดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและจรัส สุวรรณมาลา · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี เวลส์

มมี ดอนอล "จิมโบ" เวลส์ (Jimmy Donal "Jimbo" Wales) เกิดวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2509 เป็นผู้ประกอบการด้านอินเทอร์เน็ตชาวอเมริกัน และเป็นผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ซึ่งเป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีบนอินเทอร์เน็ตที่เปิดให้ทุกคนร่วมมือกันแก้ไขได้.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและจิมมี เวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

จิรันดร ยูวะนิยม

ร. จิรันดร ยูวะนิยม จิรันดร ยูวะนิยม (14 ธันวาคม 2511 -) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาชีวเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและจิรันดร ยูวะนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สูตะบุตร

ตราจารย์ ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นเจ้าของกิจการโรงเรียนพิชญศึกษา เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สมรสกับ นางสุนงนาท สูตะบุตร มีบุตรชื่อ ธีร์ภัทร สูตะบุตร โดยบุตรชายเสียชีวิตในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและธีระ สูตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ดัชนี

วัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2544 สาขาจิตรกรรม ดร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและถวัลย์ ดัชนี · ดูเพิ่มเติม »

ถาวร วัชราภัย

ตราจารย์ ถาวร วัชราภัย (2 เมษายน พ.ศ. 2477 -) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของประเทศไทยเมื่อ..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและถาวร วัชราภัย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย

รศ.ดร. ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย ร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย (6 พฤศจิกายน 2509-) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาฟิสิกส์พอลิเมอร์ ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและทวีชัย อมรศักดิ์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ทนง พิทยะ

ตราภิชาน ทนง พิทยะ (ชื่อเดิม ทนง ลำใย) (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นบุตรของนายเสงี่ยม กับ นางสายทอง ลำใย และเป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาลพล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ และ รัฐบาลพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในช่วงวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 และการลดค่าเงินบาทของประเทศไทยกรรมการมูลนิธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา สมรสกับ นาง มธุรส พิทยะ มีบุตร 3 คน ได้แก่ นางสาว วิชชุญา พิทยะ บุตรสาวคนโต นาย ธราธร พิทยะ บุตรชาย นางสาว ศรัญญา พิทยะ บุตรสาวคนเล็ก โดยบุตรสาวคนเล็กเป็นออทิสติก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและทนง พิทยะ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฏฐา โกมลวาทิน

ณัฏฐา โกมลวาทิน ชื่อเล่น ลูกเต๋า เป็นผู้ประกาศข่าวและบรรณาธิการข่าวอาเซียนของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย และผู้ดำเนินรายการที่นี่ไทยพีบีเอ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและณัฏฐา โกมลวาทิน · ดูเพิ่มเติม »

ณัฏฐ์ เดชะปัญญา

ณัฏฐ์ เดชะปัญญา เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2523 เป็นชาวกรุงเทพมหานคร เป็นลูกชายของพลตรี อนุสรณ์ เดชะปัญญา ก้าวสู่วงการบันเทิงจากการเป็นนายแบบ เดินแบบ ถ่ายแบบลงในนิตยสารแฟชั่นต่างๆเช่น ผู้หญิง เธอกับฉัน แสดงละครโทรทัศน์เรื่อง "น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์" จากนั้นมีผลงานเพลงกับค่ายอาร์เอสในชุด Nutt ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและณัฏฐ์ เดชะปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐฐาวีรนุช ทองมี

ณัฐฐาวีรนุช ทองมี ชื่อเล่น จ๋า (28 ตุลาคม พ.ศ. 2522) หรือเคยใช้ชื่อว่า วรัลชญาน์ จินดารักษ์วงศ์ เป็นนักแสดง วีเจทางแชนแนลวีไทยแลน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและณัฐฐาวีรนุช ทองมี · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

Aquatint of a Doctor of Divinity at the University of Oxford, in the scarlet and black academic robes corresponding to his position. From Rudolph Ackermann's ''History of Oxford'', 1814. ดอกเตอร์ หรือ ด็อกเตอร์ (doctor) เป็นคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษโดยคำศัพท์คำนี้มีรากศัพท์ในภาษาละติน doctor เป็นคำนานที่มาจากกริยาในภาษาละติน docēre แปลว่าสอน ดอกเตอร์ถูกใช้มานานในทวีปยุโรปตั้งแต่การก่อต้งสถาบันอุดมศึกษา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก ในภาษาอังกฤษ ดอกเตอร์เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รวมถึงแพทย์และทันตแพทย์ ในประเทศไทย คำนำหน้าชื่อนี้ใช้เฉพาะในความหมายของผู้สำเร็จปริญญาเอกเท่านั้น เพราะมีคำนำหน้าอื่นสำหรับแพทย์และทันตแพท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม) · ดูเพิ่มเติม »

ดา-เวน ซัน

'''''ดา-เวน ซัน'''''孫大文 孙大文 Da-Wen Sun ซัน ดาเวน (Da-Wen Sun) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปในนาม ดา-เวน ซัน (Da-Wen Sun) ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมอาหารและระบบชีวภาพ ณ มหาวิทยาลัยดับลิน (University College Dublin) มหาวิทยาลัยแห่งชาติไอร์แลน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและดา-เวน ซัน · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก ลาวัณย์ศิริ

ตราจารย์กิตติคุณ ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ดำรงตำแหน่งเป็น ประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กรรมการสาขาวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์) คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เป็นองค์กรหลักในการกำกับดูแลการประกอบกิจการพลังงาน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและดิเรก ลาวัณย์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต เครืองาม

ตราจารย์ ดุสิต เครืองาม (เกิด 5 กันยายน พ.ศ. 2501) เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตอาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ นักธุรกิจออกแบบและก่อสร้างโซลาร์ฟาร์ม โซลาร์รูฟ หลายสิบเมกะวัตต์ มีผลงานมากมายทั้งด้านวิชาการและด้านอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยโซลาร์ฟืวเจอร์ จำกัดนายกสมาคมอุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ไทย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็น สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและดุสิต เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

คริส เบเคอร์

ริส เบเคอร์ (Chris Baker) หรือชื่อเต็มว่า คริสโตเฟอร์ จอห์น เบเคอร์ (ภาษาอังกฤษ: Christopher John Baker) เป็นนักเขียน บรรณาธิการวารสารสยามสมาคม และนักวิจัยอิสระ เขาอาศัยอยู่ในประเทศไทยมาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สหราชอาณาจักร ผลงานที่เป็นที่รู้จักคือหนังสือ A History of Thailand, Thaksin: The Business of Politics in Thailand, Thailand's Boom and Bust and Thailand's Crisis ซึ่งหนังสือดังกล่าวทั้งหมดเขียนร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคริส เบเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คูร์ท เกอเดิล

ูร์ท ฟรีดริช เกอเดิล (Kurt Friedrich Gödel, 28 เมษายน ค.ศ. 1906 – 14 มกราคม ค.ศ. 1978) เป็นนักปรัชญา นักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาชาวออสเตรีย และต่อมาชาวอเมริกัน ถือว่าเป็นนักตรรกศาสตร์คนสำคัญที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ร่วมกับอาริสโตเติลและกอทท์ล็อบ ฟรีเกอ เกอเดิลสร้างผลกระทบใหญ่หลวงต่อการคิดวิทยาศาสตร์และปรัชญาในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งขณะนั้น เมื่อผู้อื่นอย่างเบอร์แทรนด์ รัสเซล, เอ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคูร์ท เกอเดิล · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 2 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2481 ภายในการนำของหลวงดำริอิสรานุวรรตน์ ในระยะเริ่มแรกได้ก่อตั้งเป็น “แผนกวิชาการบัญชี” โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2507 พร้อมกับการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ จัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยการปรับปรุงหน่วยงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยรวม วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม และ ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ เข้าเป็น คณะสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เริ่มดำเนินการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ปริญญาโท และปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ ได้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หลักสูตรทุกหลักสูตรทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของสังคม และเพื่อสนองตอบต่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน โดยจะเน้นหนักการผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่มีความรอบรู้ในกฎหมาย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ในยุคของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งแรกก่อตั้งใช้ชื่อว่า คณะเภสัชศาสตร์ พญาไท มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เนื่องจากในเวลานั้นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอนย้ายสังกัดคณะเภสัชศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาก่อนหน้าแล้ว (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทยอีกด้วยหนังสือ "กระถินณรงค์'44" เมื่อประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้ว โรงเรียนปรุงยามีฐานะเป็นแผนกแพทย์ผสมยา ในสังกัดคณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล) และได้รับการพัฒนาหลักสูตรขึ้น จัดตั้งเป็นแผนกเภสัชกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ประชา คุณะเกษม

ประชา คุณะเกษม 29 ธันวาคม พ.ศ. 2477—8 ตุลาคม พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและประชา คุณะเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ประชานศาสตร์

ประชานศาสตร์ หรือ วิทยาการการรู้ หรือ วิทยาการปัญญา หรือ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา (cognitive science) ความหมายโดยทั่วไปคือการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้งเรื่องของความคิดและความฉลาด แต่หากกล่าวอย่างเป็นรูปนัยจะเน้นว่าเป็นการศึกษาด้านสหวิทยาการประกอบด้วย ประชานจิตวิทยา (cognitive psychology) ประสาทจิตวิทยา (neuropsychology) ภาษาศาสตร์ ปรัชญา วิทยาการคอมพิวเตอร์ (เจาะจงเรื่องปัญญาประดิษฐ์) มานุษยวิทยา และ จิตชีววิทยา (psychobiology) หรือสาขาประยุกต์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อการศึกษาวิจัยภาวะของจิตและกระบวนการที่มนุษย์ควบคุมเปลี่ยนแปรยักย้ายข้อมูลข่าวสาร งานวิจัยในสาขาวิทยาการการรู้ได้ประยุกต์ใช้องค์ความรู้จากหลากหลายสาขาเพื่อศึกษาการทำงานของระหว่างสมองและจิตใจ (brain and mind) ศึกษาวิจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างการคิด อารมณ์ และการกระทำ การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (brain-based learning) พฤติกรรม ความผิดปกติทางการเรียน การรับรู้ ความสนใจ การจำ การแก้ปัญหา การคำนวณ การให้เหตุผล และการตัดสินใจ บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เช่น การแปลผลจากการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) การวิเคราะห์จากถ่ายภาพสมอง (brain imaging) เป็นต้น.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและประชานศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประพนธ์ วิไลรัตน์

ตราจารย์ ประพนธ์ วิไลรัตน์ เกิดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นแฝดผู้พี่ของรองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ วิไลรัตน์ และเป็นบุตรคนที่หนึ่ง ในจำนวน 4 คน ของนายนิพนธ์ และนางสดับพิณ วิไลรัตน์ ศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและประพนธ์ วิไลรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและประสาร ไตรรัตน์วรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ โศภน

ตราจารย์เกียรติคุณ ประเสริฐ โศภน (8 ธันวาคม 2486 -) เกิดที่จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของ นายสุนทร และนางสว่างจิต โศภน เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขากายวิภาคศาสตร์และเซลล์ชีววิทยา เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาเซลล์ชีววิทยา ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและประเสริฐ โศภน · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแมคกิลล์สวมชุดครุยระดับปริญญาเอก กลุ่มบัณฑิตที่ได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกับอาจารย์ของพวกเขา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Philosophiae doctor, Doctor of Philosophy, อักษรย่อ ปร.ด., PhD, Ph.D. หรือ DPhil) คือปริญญาทางวิชาการสูงสุดที่ได้รับจากมหาวิทยาลัยในหลายประเทศ การได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมาจากหลักสูตรที่มีความกว้างขวางของสาขาทางวิชาการ การได้มาซึ่งปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมักจะเป็นที่ต้องการสำหรับอาชีพอาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิจัย หรือนักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ บุคคลที่ได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตอาจใช้คำนำหน้าว่าดอกเตอร์ (Doctor) หรือนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "ดร." ("Dr") ในทางกฎหมายได้ หรือในประเทศที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษอาจใช้คำที่แตกต่างกันเช่น "Dr.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา (แก้ความกำกวม)

ปริญญา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและปริญญา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญากิตติมศักดิ์

ปริญญากิตติมศักดิ์ (honorary degree) เป็นปริญญาซึ่งมหาวิทยาลัย (หรือสถาบันมอบปริญญาอื่น) สละข้อกำหนดตามปกติ เช่น การสมัครเข้าเป็นนักศึกษา การพำนัก การศึกษาและการผ่านการสอบ ตรงแบบปริญญานี้เป็นปริญญาเอกหรือพบน้อยกว่าเป็นปริญญาโท และอาจให้แก่ผู้ที่ไม่เคยมีความเชื่อมโยงกับสถาบันวิชาการนั้นก่อนก็ได้ มักให้ปริญญากิตติมศักดิ์เพื่อเป็นการเชิดชูการเข้ามีส่วนร่วมในสาขาเฉพาะหรือต่อสังคมโดยรวมของแขกที่โดดเด่น มักให้ผู้กล่าวสุนทรพจน์สำเร็จการศึกษาที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยอาจได้รับประโยชน์โดยการสมาคมกับบุคคลที่กล่าวถึง นายจ้างไม่ยอมรับปริญญากิตติมศักดิ์ว่ามีเกียรติเท่ากับปริญญาเอกเดียวกันที่ได้รับม.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและปริญญากิตติมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัจจัยกระทบ

ปัจจัยกระทบ (impact factor) ปกติใช้คำย่อว่า IF หมายถึงการวัดการได้รับการอ้างอิงของวารสารวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อใช้เป็นตัวแทนที่บ่งชี้ความสำคัญและความน่าเชื่อถือของวารสารในสาขาวิชาการนั้น.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและปัจจัยกระทบ · ดูเพิ่มเติม »

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์

ตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรครักษ์สันติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา และเป็นประธานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) อดีตอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตร ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศรี เปี่ยมสมบูรณ์ มีบุตร-ธิดารวม 3 คน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ กอลแมซ

ปีแยร์ กอลแมซ (Pierre Colmez; ค.ศ. 1962 —) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผู้มีความโดดเด่นด้านการวิเคราะห์จำนวนพี-แอดิก กอลแมซเข้าเรียนที่เอกอลนอร์มาลซูเปรีเยอร์ และเขาได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเกรอนอบล์ เขาได้รับรางวัลแฟร์มา 2005 จากการอุทิศตนเพื่อการศึกษาเกี่ยวกับแอล-ฟังก์ชัน และจำนวนพี-แอดิก โดยการคำนวณแบบกาลัว นอกจากนี้ กอลแมซยังชนะการแข่งขันหมากล้อมชิงชนะเลิศแห่งประเทศฝรั่งเศสมาแล้วถึงสี่สมั.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและปีแยร์ กอลแมซ · ดูเพิ่มเติม »

ปนัดดา วงศ์ผู้ดี

ปนัดดา วงศ์ผู้ดี ชื่อเล่น บุ๋ม นางสาวไทย ปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและปนัดดา วงศ์ผู้ดี · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักฟิสิกส์

นักฟิสิกส์ คือนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาหรือปฏิบัติงานด้านฟิสิกส์ นักฟิสิกส์ศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพอย่างกว้างขวางในทุกขนาด ตั้งแต่อนุภาคระดับต่ำกว่าอะตอม (sub atomic particles) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสสาร (ฟิสิกส์ของอนุภาค) ไปจนถึงพฤติกรรมของวัตถุในเอกภพโดยรวม (จักรวาลวิทยา หรือ Cosmology) วิชาฟิสิกส์มีมากมายหลายสาขา แต่ละสาขามีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในสาขานั้น.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและนักฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

นักวิจัยหลังปริญญาเอก

นักวิจัยหลังปริญญาเอก หรือ โพสต์-ด็อก (post-doc ย่อมาจาก postdoctoral appointment) เป็นตำแหน่งงานทางด้านงานวิจัยให้กับทางมหาวิทยาลัยภายหลังจากบุคคลที่จบการศึกษาในระดับปริญญาเอก โดยทั่วไปช่วงระยะเวลาในการทำงานจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวงาน ตั้งแต่ 6 เดือนจนถึง 5 ปี โดยส่วนใหญ่ตำแหน่งโพสต์-ด็อก จะมีให้กับนักศึกษาในด้านวิทยาศาสาตร์ ถึงแม้ว่าในสาขาอื่นเช่น วิศวกรรม จะมีบ้างก็ตาม เงินเดือนของตำแหน่งโพสต์-ด๊อก เมื่อเปรียบเทียบกับตำแหน่งอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันจะน้อยกว่า แต่โอกาสของตำแหน่งนี้จะเปิดกว้างกว่าเมื่อเปรียบเทียบในเชิงวิชาการ ตำแหน่งนักวิจัยหลังปริญญาเอกมีความแตกต่างกับผู้ช่วยวิจัยหรือเจ้าหน้าที่วิจัย คือ โดยปกติแล้วจะต้องได้รับปริญญาเอกมาก่อน หรือมีประสบงานในสถาบันวิทยาศาสตร์หรือวงการอุตสาหกรรมที่เทียบเท่ากับปริญญาเอก ในบางกรณี นักวิจัยหลังปริญญาเอกอาจจะต้องจัดการเรียนการสอน ตำแหน่งของนักวิจัยหลังปริญญาจะมีความแตกต่างกันไปตามประเทศและสถานศึกษา ในบางครั้ง อาจมีโอกาสได้เลื่อนตำแหน่ง แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตำแหน่งชั่วคราว หมวดหมู่:การวิจัย หมวดหมู่:การศึกษา.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและนักวิจัยหลังปริญญาเอก · ดูเพิ่มเติม »

นาวิน เยาวพลกุล

นาวิน เยาวพลกุล หรือ นาวิน ต้าร์ อาจารย์ประจำภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในอดีตเป็นนักร้องในสังกัดเมกเกอร์เฮด บริษัทแกรมมี่ (พ.ศ. 2540 - 2544) นอกจากนี้ยังเป็นนักแสดงในค่าย เอ็กแซ็กท์ บริษัท แกรมมี่ (พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน) ถือเป็นนักแสดงชาวไทยคนแรกและคนเดียว จนถึงปัจจุบัน ที่ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและนาวิน เยาวพลกุล · ดูเพิ่มเติม »

นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (2 สมัย) อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ที่ดำรงตำแหน่งเป็นคนสุดท้ายก่อนได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและนำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิเวศน์ เหมวชิรวรากร

นิเวศน์ เหมวชิรวรากร หรือ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร ได้รับการยอมรับนับถือว่าเป็นผู้เผยแพร่แนวคิดการลงทุนแบบเน้นคุณค่าคนแรกในประเทศไทย จากการเขียนหนังสือ "ตีแตก" การแปลหนังสือ การเขียนบทความ และการบรรยายในวาระต่าง ๆ เพื่อให้นักลงทุนเลิกเก็งกำไรอย่างไร้หลักการในตลาดหุ้น หันมาลงทุนแบบเน้นคุณค่าและลงทุนอย่างปลอดภัยมากขึ้น ปัจจุบันแต่งงานแล้วคู่สมรสคือนางเพาพิลาส เหมวชิรวราการ ครูประจำโรงเรียนจินตการดนตรี.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและนิเวศน์ เหมวชิรวรากร · ดูเพิ่มเติม »

นทีทิพย์ กฤษณามระ

ตราจารย์ ดร. นทีทิพย์ กฤษณามระ ศาสตราจารย์ นทีทิพย์ กฤษณามระ เกิดวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นทางด้านสรีรวิทยา เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านระบบต่อมไร้ท่อโดยเฉพาะเกี่ยวกับฮอร์โมนโพรแลคติน ที่พบว่ามีหน้าที่ควบคุมเมตาบอลิสมของแคลเซียม มีประสบการณ์งานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้ การขนส่งแคลเซียมในเซลล์เต้านม และสรีรวิทยาของกระดูก ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ 11 หัวหน้าเครือข่ายวิจัยด้านแคลเซียมและกระดูก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สมรสกับศาสตราจารย์สมฤกษ์ กฤษณามระ มี บุตร 1 คน คือ นายศมกฤต.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและนทีทิพย์ กฤษณามระ · ดูเพิ่มเติม »

โยสท์ กิพเพิร์ท

ท์ กิพเพิร์ท โยสท์ กิพเพิร์ท (Jost Gippert) (เกิดวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1956 ที่ วินซ-นีเดอร์เวนิเกิร์น, ขณะนี้คือเมือง ฮัททิงเงน ประเทศเยอรมนี) เป็นนักภาษาศาสตร์ชาวเยอรมัน นักวิชาการภาษาคอเคซัส และศาสตราจารย์วิชาภาษาศาสตร์เปรียบเทียบของคณะภาษาศาสตร์เชิงประสบการณ์ (Empirical Linguistics) มหาวิทยาลัย เกอเธ่ แฟรงก์เฟิร์ต/ไมน์ (Goethe University of Frankfurt) นอกจากนั้นยังมีผลงานทางวิชาการเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและโยสท์ กิพเพิร์ท · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย จากเว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีหนังสืออนุสรณ์ 24 ปี สวนกุหลาบนนท์ 2521-2545 30 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซุ้มประตูทางเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ประดับประดาด้วยไฟสวยงาม เนื่องในงาน “ราตรีกุหลาบนนท์”) ด้านหลังซุ้มประตูคือ อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต ฟลอยด์

right โรเบิร์ต ดับเบิลยู ฟลอยด์ (Robert W Floyd) (8 มิ.ย. ค.ศ. 1936 (พ.ศ. 2479) - 25 ก.ค. ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544)) เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่โดดเด่น (ชื่อกลางของเขาคือ ดับเบิลยู) ฟลอยด์เกิดที่นิวยอร์ก เขาเรียนจบมัธยมเมื่ออายุ 14 ปี จากนั้นเขาได้เรียนจบระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยชิคาโกในสาขาศิลปศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและโรเบิร์ต ฟลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

โจรกรรมทางวรรณกรรม

รกรรมทางวรรณกรรม หรือ การลอกเลียนวรรณกรรม (plagiarism) หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง ในวงวิชาการ โจรกรรมทางวรรณกรรมโดยนิสิตนักศึกษา อาจารย์หรือนักวิจัยถือเป็น “ความไม่สุจริตทางวิชาการ” (en:academic dishonesty) หรือ “การฉ้อฉลทางวิชาการ” (en:academic fraud) และผู้กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (academic censure) โจรกรรมทางวรรณกรรมในงานสื่อสารมวลชนถือเป็นละเมิดจรรยาบรรณทางวารสารศาสตร์ (en:journalistic ethics) นักข่าวที่ถูกจับได้โดยทั่วไปจะถูกลงโทษทางวินัยตั้งแต่พักงานถึงการถูกให้ออกจากงาน สำหรับบุคคลทั่วไปที่ถูกจับได้ว่าทำโจรกรรมทางวรรณกรรมทางวิชาการหรือทางงานหนังสือพิมพ์มักอ้างว่าได้กระทำลงไปโดยไม่ได้ตั้งใจ โดยลืมใส่อ้างอิง หรือใส่คำประกาศกิตติคุณ (en:citation) ที่เหมาะสมไว้ ปัญหาโจรกรรมทางวรรณกรรมเป็นปัญหาที่เกิดมานานนับศตวรรษมาแล้วซึ่งเป็นแบบรูปเล่ม การพัฒนาทางอินเทอร์เน็ตที่บทความปรากฏในรูปของอีเล็กทรอนิกส์ ทำให้งานคัดลอกทำได้เพียง “ลอก” ข้อความในเว็บมา “ใส่” ไว้ในอีกเว็บหนึ่งอย่างง่ายดายที่เรียกว่า “การคัดลอก-แปะ” (en:copying and pasting) โจรกรรมทางวรรณกรรมต่างกับการละเมิดลิขสิทธิ์แม้ทั้งสองคำนี้ใช้กับพฤติกรรมที่คล้าย ๆ กัน เพียงแต่เน้นการละเมิดที่ต่างมุมกัน การละเมิดลิขสิทธิ์เป็นการละเมิดสิทธิ์ด้วยการไม่บอกกล่าวกับผู้ถือลิขสิทธิ์ แต่ขณะเดียวกัน ในอีกด้านหนึ่งโจรกรรมทางวรรณกรรมเกี่ยวข้องกับการสร้างชื่อเสียงให้ตนเองของผู้กระทำด้วยการแอบอ้างว่าตนเป็นผู้เขียน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและโจรกรรมทางวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม

en:Paiboon Damrongchaitam ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม (ชื่อเรียก: อากู๋) ประธานกรรมการบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ผู้ดำเนินกิจการธุรกิจสื่อบันเทิงขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และประธานมูลนิธิดำรงชัยธรรม เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (ชื่อเดิมของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับเรวัต พุทธินันทน.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ไสยวิชญ์ วรวินิต

รศ.ดร. ไสยวิชญ์ วรวินิต รองศาสตราจารย์ ไสยวิชญ์ วรวินิต (8 พฤศจิกายน 2490) อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เกิดที่จังหวัดระยอง เจ้าของรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและไสยวิชญ์ วรวินิต · ดูเพิ่มเติม »

ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์

ทสัน อาร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบคิไลต์

ทรศัพท์ที่ผลิตจากวัสดุเบคิไลต์โครงสร้างเคมีของฟินอลิกเรซิน ฟีนอล และฟอร์มาลดีไฮด์ เบคิไลต์ (Bakelite) เป็นชื่อทางการค้าของ Phenol formaldehyde resin หรือมักจะเรียกกันว่าฟินอลิก เป็นพลาสติกเทอร์โมเซตติง ฟินอลิกทนความร้อนในสภาวะปกติประมาณ 160-180 องศาฟาเรนไฮต์ หากผสมวัตถุทนความร้อนบางชนิดจะสามารถทนความร้อนได้ถึง 400 องศาฟาเรนไฮต์ ฟินอลิกเป็นตัวนำความร้อนที่เลว ติดไฟได้แต่ช้าและดับเองจึงมักนิยมใช้ทำมือจับสำหรับอุปกรณ์สำหรับเครื่องครัว อุปกรณ์ไฟฟ้า ฝาครอบจานจ่ายรถยนต์ ถาดบรรจุสารเคมี ตู้โทรทัศน์ ที่รองนั่งโถส้วม นอกจากนี้ฟินอลิกยังสามารถทำเป็นโฟมได้อีกด้วย ซึ่งโฟมที่ผลิตจากฟินอลิกนี้สามารถขยายตัวได้ถึง 300 เท่า โฟมฟินอลิกนิยมทำเป็นทุ่นลอยน้ำและใช้เสริมความแข็งแรงในเครื่องบิน ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเบคิไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม จันทร์แก้ว

ตราจารย์ เกษม จันทร์แก้ว (23 เมษายน พ.ศ. 2481 — ปัจจุบัน) นักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตหัวหน้าภาควิชา, คณบดี และอดีตรองอธิการบดีแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเกษม จันทร์แก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เลินนาร์ด คอมเพจโน

ลินนาร์ด โจเซฟ วิคเตอร์ คอมเพจโน หรือ เลินนาร์ด คอมเพจโน (Leonard Joseph Victor Compagno, Leonard Compagno) นักมีนวิทยาชาวอเมริกัน ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะเรื่องของปลาฉลาม ดร.คอมเพจโนจบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เมื่อปี ค.ศ. 1979 ด้วยทุนการศึกษาของสถาบัน รวมถึงได้รับการทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดด้วย เป็นอาจารย์พิเศษของมหาวิทยาลัยซานฟรานซิสโกสเตท ระหว่างปี ค.ศ. 1979 ถึงปี ค.ศ. 1985 ดร.คอมเพจโน ปัจจุบันเป็นหัวหน้าของศูนย์การวิจัยปลาฉลาม และภัณฑารักษ์ด้านปลา ของพิพิธภัณฑ์อิซิโกแอฟริกาใต้ ที่เคปทาวน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลเกี่ยวกับปลาฉลาม เป็นผู้เชี่ยวชาญในระดับแนวหน้าของโลกเกี่ยวกับระบบร่างกาย การเปลี่ยนรูปร่างวิวัฒนาการซากดึกดำบรรพ์, สัตวภูมิศาสตร์ และความหลากหลายทางประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการอนุรักษ์ปลาฉลาม เป็นรองประธานภูมิภาคกรรมการปลาฉลามของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) เป็นหนึ่งในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาด้านการวิจัยสำหรับกองประมงขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ของสหประชาชาติ มีผลงานตีพิมพ์ยอดนิยมกว่า 200 เอกสารบทความ, รายงาน, เว็บไซต์, หนังสือและบทความต่าง ๆ เกี่ยวกับปลาฉลามและปลากระดูกอ่อนต่าง ๆ ในด้านการอนุกรมวิธาน เป็นหนึ่งในผู้อนุกรมวิธานปลากระเบนขาว (Himantura signifer) ซึ่งเป็นปลากระเบนน้ำจืดที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้ว.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเลินนาร์ด คอมเพจโน · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ. 2518 - 2523 เสกสรรค์มีความเห็นขัดแย้งหลายประการกับกรรมการกลางของพรรคฯ และต่อมาได้แยกตัวออกจากพรรค ฯ และได้รับนิรโทษกรรมในเวลาต่อมาจากคำสั่งที่ 66/2523 ในขณะที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสริมลาภ วสุวัต

ริมลาภ วสุวัต หรือที่รู้จักในนาม ดร.เสริมลาภ วสุวัต ประธานชมรมผู้รักบัวแห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพันธุ์พืชในรัฐบาล เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ผู้เชี่ยวชาญพรรณไม้ประเภท บัว มีผลงานด้านวิชาการ คิดค้นผสมพันธุ์สายพันธุ์ใหม่ ๆ มากมาย ดูแลปลูกบัวพันธุ์ต่าง ๆ ให้กับวังสระปทุม เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2473 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พล..หลวงประเสริฐศัสตราวุธ (ลาภ วสุวัต) และ นางทองสุก วสุวัต ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ นางศศิธร (นามสกุลเดิม: มุตตามระ) วสุวัต มีบุตรชายหญิงอย่างละคน ดร.เสริมลาภ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขากสิกรรมและสัตวบาล, ปริญญาโท พืชไร่ พืชสวนมหาวิทยาลัยมิสซิสซิปปี และปริญญาเอกโรคพืช พันธุ์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มรับราชการเป็นผู้เชี่ยวชาญกรมวิชาการเกษตรเมื่อปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเสริมลาภ วสุวัต · ดูเพิ่มเติม »

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง

รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยีการศึกษา

ทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) หรือ เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา เป็นศาสตร์ที่ประยุกต์ วิชาการต่างๆ มาจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยการนำคำ “เทคโนโลยี” ซึ่งมีความหมายว่าเป็นศาสตร์แห่งวิธีการ ซึ่งไม่ได้มีความหมายว่าเป็นศาสตร์แห่งเครื่องมือเพียงอย่างเดียว แต่รวมถึงวัสดุและวิธีการ เมื่อนำมาใช้ กับ “การศึกษา” จึงเป็นคำใหม่ที่มีความหมายว่า การประยุกต์เครื่องมือ วัสดุและวิธีการไปส่งเสริม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมใหม่เพื่อการเรียนรู้ “สื่อสาร” เป็น กระบวนการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยอาศัยสื่อหรือช่องทางต่างๆ ให้เกิดความ เข้าใจและเป็นแบบปฏิสัมพันธ์ เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา เป็นศาสตร์เฉพาะ โดยมีองค์ประกอบของศาสตร์/ วิทยาการ คือ 1) ศัพท์เฉพาะศาสตร์ 2) เนื้อหาสาระ/องค์ความรู้ และ 3) การศึกษาวิจัย ซึ่งว่าด้วย การถ่ายทอดสาระระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ซึ่งหมายถึง การประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์ และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อแก้ปัญหาการศึกษา ทั้งในด้านนปริมาณและด้านนการปรับปรุง คุณภาพของการเรียนการสอน วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา/เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาในประเทศไทย มีการเรียน การสอน ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอก ซึ่งอาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันตามที่แต่ละสถาบัน กำหนด ซึ่งไม่ว่าชื่อจะแตกต่างกันอย่างไร เนื้อหาของวิชาการ ก็เป็นเนื้อหาเดียวกัน ตามขอบข่ายและ มาตรฐานวิชาชีพ โดยมีจุดเน้นต่างกันตามสภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของนโยบายเท่านั้น มาตรฐานปฏิบัติงานเทคโนโลยีการศึกษา/เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 1) ระดับปริญญา ตรีจะเน้นการเป็นนักเทคโนโลยีปฏิบัติการ ผู้ผลิตสื่อการศึกษาและให้บริการสื่อการศึกษา 2) ระดับ ปริญญาโทจะเน้นการออกแบบ การจัดโปรแกรม และ 3) ระดับปริญญาเอกเน้นการพัฒนา วสุภาณี เส็งศรี,", วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2554,.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเทคโนโลยีการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด รูฟโฟโล

ตราจารย์พิเศษ ดร.เดวิด จอห์น รูฟโฟโล (David John Ruffolo (12 มีนาคม ค.ศ. 1968)) นักวิทยาศาสตร์เชื้อชาติอเมริกัน ผู้เชี่ยวชาญด้านกัมมันตรังสีรอบโลก ผู้ก่อตั้งสถานีตรวจวัดนิวตรอนสิรินธร ผู้ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเดวิด รูฟโฟโล · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เป็ด เชิญยิ้ม

ัญญา โพธิ์วิจิตร หรือ เป็ด เชิญยิ้ม (เกิด 8 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง) เป็นนักแสดงตลก และเป็นผู้ก่อตั้งคณะ เชิญยิ้ม ร่วมกับโน๊ต เชิญยิ้ม - (บำเรอ ผ่องอินทรกุล), สรายุทธ สาวยิ้ม, สีหนุ่ม เชิญยิ้ม - (บุญธรรม ฮวดกระโทก)เมื่อ พ.ศ. 2523 อดีตนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย และเป็นรองกรรมการผู้จัดการ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เป็ด เชิญยิ้ม หรือ ดร.ธัญญา โพธิ์วิจิตร สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง จากวิทยาลัยครูจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ระดับปริญญาตรี จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม และปริญญาเอก ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: ปริญญาเอกและเป็ด เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

National Qualifications Framework

National Qualifications Framework (NQF) เป็นระบบการโอนหน่วยกิตในสหราชอาณาจักร (ยกเว้นสกอตแลนด์) ที่พัฒนาในอังกฤษ โดยเฟรมเวิร์กนี้มีทั้งหมด 8 ระดับชั้น ครอบคลุมถึงระดับการศึกษามัธยมศึกษา (ระดับ 1-4) จนถึงระดับอุดมศึกษา ในระดับปริญญาโท (ระดับ 7) และปริญญาเอก (ระดับ 8) ในประเทศสกอตแลนด์มีระบบการศึกษาของตนเองโดยมี 12 ระดับ และใช้ระบบ Scottish Credit and Qualifications Framework.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและNational Qualifications Framework · ดูเพิ่มเติม »

1

1 (หนึ่ง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพที่แทนจำนวนนั้น หนึ่งแทนสิ่งสิ่งเดียว หน่วยในการนับหรือการวัด ตัวอย่างเช่น ส่วนของเส้นตรงของ "ความยาวหนึ่งหน่วย" คือส่วนของเส้นตรงของความยาวเท่ากับ 1.

ใหม่!!: ปริญญาเอกและ1 · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »