โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเลบานอน

ดัชนี ประเทศเลบานอน

ลบานอน (Lebanon; لُبْنَان) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเลบานอน (Republic of Lebanon, Lebanese Republic; جمهورية لبنان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และถือเป็นหนึ่งใน 15 ดินแดนที่ประกอบเป็น "แหล่งกำเนิดแห่งมนุษยชาติ" (Cradle of Humanity) เลบานอนมีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียและประเทศอิสราเอล พรมแดนที่ติดกับประเทศอิสราเอลได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติแล้ว แต่พื้นที่บางส่วน เรียกว่า "ชีบาฟาร์ม" (Shebaa farms) ตั้งอยู่ในที่ราบสูงโกลันยังคงครอบครองโดยอิสราเอล ซึ่งอ้างว่าเป็นพื้นที่ของซีเรีย กองทัพต่อต้านอ้างว่า "ชีบาฟาร์ม" เป็นพื้นที่ของเลบานอน และในบางโอกาสก็โจมตีที่มั่นของอิสราเอลภายในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ ซีเรียบำรุงรักษากองทัพที่มีทหารประมาณ 14,000 นายในเลบานอน ชาวเลบานอนที่สนับสนุนเลบานอนอ้างว่าเป็นการอยู่อย่างถูกต้องเนืองจากรัฐบาลเลบานอนได้ขอไว้ ตอนเริ่มสงครามกลางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ผู้ที่ไม่เห็นด้วยอ้างว่า การอยู่ของซีเรียเป็นประหนึ่งการยึดครองโดยอำนาจต่างชาต.

314 ความสัมพันธ์: บัชชาร อัลอะซัดชากีราชาวแคนาดาชาวเคิร์ดฟรังซัวส์ ซากัตฟร็องซัว มีแตร็องฟัฎลุลลอหฺฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010ฟุตบอลทีมชาติอิรักฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถานฟุตบอลทีมชาติซาอุดีอาระเบียฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโกฟุตบอลทีมชาติเลบานอนฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010พ.ศ. 2484พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2528พ.ศ. 2543พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พรรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์พฤกษาพักตร์พฤศจิกายนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548พฤษภาคม พ.ศ. 2548พอล แองคาพิสตาชีโอกรกฎาคม พ.ศ. 2549กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือกวางน้อย...แบมบี้กองบัญชาการใหญ่แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์กองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์กองทัพแดงญี่ปุ่นกองทัพเบลเยียมกองทัพเลบานอนการล้อมไซดอนการสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอดการประกวดเพลงยูโรวิชันการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนการแผลงเป็นอาหรับการโจมตีเคมีที่ดูมากาแฟขาวญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนญิฮาดอิสลามอียิปต์ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาฟินิเชียภาษาฝรั่งเศส...ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดียภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตกภาษาอาหรับภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ภาษาอาหรับมาโรไนต์ภาษาอาหรับเลบานอนภาษาอาหรับเลอวานต์ภาษาฮีบรูภาษาตูโรโยภาษาซาไฟติกภาษาซีรีแอกภาษาแอราเมอิกภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรียภาษาเคิร์ดภาษาเคิร์ดเหนือมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009มานามามาเฮอร์ เซนมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเวิลด์ 2015มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนลมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2012มิสเตอร์โกลบอล 2015มิสเตอร์เวิลด์ 2016มิถุนายน พ.ศ. 2548มิคามิโคยัน มิก-29มีนาคม พ.ศ. 2548ยุทธการที่มาร์จอัยยันราชอาณาจักรเยรูซาเลมรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อหอดูดาวรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อธงชาติในทวีปเอเชียรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศเลบานอนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเลบานอนรายการภาพธงชาติรายนามผู้ครองตำแหน่งมิสยูเอสเอรูลา ฆานีลากวีลาลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลิแวนต์วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนเอเชียวอลเลย์บอลชายทีมชาติเลบานอนวันชาติวันครูวันแม่วันแรงงานวิทยาศาสตรบัณฑิตวีตอเรียศิลปศาสตรบัณฑิตสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์สหพันธ์เอเชียนเกมส์สิงหาคม พ.ศ. 2549สถาปัตยกรรมบาโรกสงครามกลางเมืองซีเรียสงครามกลางเมืองเลบานอนสงครามกลางเมืองเซาท์ซูดานสงครามเลบานอน พ.ศ. 2549สตาร์บัคส์สนธิสัญญาจันทราสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดหยาดหิมะอักษรซีรีแอกอัลกุรนะฮ์อัสเซาดาอ์อัสบัต อัลอันซาร์อาหรับอาหรับวินเทอร์อาหรับสปริงอุมัร อัชชะรีฟอนุสัญญาแรมซาร์ฮันนิบาลฮิซบุลลอฮ์ฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม)ฮิซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ดจักรวรรดิอะคีเมนิดจักรวรรดินิยมจักรวรรดิโรมันจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ธงชาติเลบานอนทวีปเอเชียทะเลเมดิเตอร์เรเนียนท่อส่งแก๊สอาหรับขบวนการอมัลขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่านข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติดามัสกัสดูไบครักเดเชอวาลีเยคริสต์สหัสวรรษที่ 3คริสปีครีมคาทอลิกตะวันออกคานาอันคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคูเวตซิตีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอนงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90ตราแผ่นดินของเลบานอนตราแผ่นดินในทวีปเอเชียตริโปลีตริโปลี (เลบานอน)ตะวันออกกลางตะวันออกใกล้ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลาซาอัด ฮาริรีซีเอช-53 ซีสตัลเลียนปฏิบัติการเสาค้ำเมฆาประชาธิปไตยประเทศอิสราเอลประเทศตรินิแดดและโตเบโกประเทศซีเรียประเทศไทยใน พ.ศ. 2525ประเทศเยอรมนีประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1948ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1952ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1960ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1964ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1968ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1972ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1976ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1978ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1980ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1982ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1984ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1986ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1990ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1994ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1998ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2000ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2002ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2004ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2006ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2008ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2010ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2012ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2014ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2016ประเทศเลบานอนในเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 2017ปีเอตะป็อนติอุส ปีลาตุสนัศรุลลอหฺนากใหญ่ธรรมดานางงามจักรวาล 1955นางงามจักรวาล 1960นางงามจักรวาล 1963นางงามจักรวาล 1966นางงามจักรวาล 1967นางงามจักรวาล 1968นางงามจักรวาล 1969นางงามจักรวาล 1970นางงามจักรวาล 1971นางงามจักรวาล 1972นางงามจักรวาล 1973นางงามจักรวาล 1976นางงามจักรวาล 1977นางงามจักรวาล 1979นางงามจักรวาล 1983นางงามจักรวาล 1989นางงามจักรวาล 1991นางงามจักรวาล 1994นางงามจักรวาล 1996นางงามจักรวาล 2002นางงามจักรวาล 2004นางงามจักรวาล 2008นางงามจักรวาล 2009นางงามจักรวาล 2016นางงามจักรวาล 2017นิติภาวะนิโคเซียแบล็กเดทแพนอาหรับเกมส์แพนอาหรับเกมส์ 1957แม่น้ำออรอนตีสแคนทอนแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์โบโกตาโมเช ดายันโฮเซ ซูไลมังโครงการอาหารโลกโซชีโปเกมอน โกไบตฺ อัล-มัลไมเคิล บูเบลไลแคน ไฮเปอร์สปอร์ตไอเอ็มไอ กาลิลไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไทยเชื้อสายเปอร์เซียไทร์ (ประเทศเลบานอน)ไซดอนไปรษณีย์ถล่มเบรุตเชอร์รีเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซเพลงชาติเลบานอนเพื่อนแท้ในป่าใหญ่เกรตริฟต์แวลลีย์เกียรติศักดิ์ เสนาเมืองเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1959เยเรวานเวลายุโรปตะวันออกเวลาออมแสงยุโรปตะวันออกเวลาในประเทศเลบานอนเอฟ-15 อีเกิลเอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอนเอกราชอัสซีเรียเอลบิมโบเอเชียตะวันตกเฉียงใต้เอเชียนบีชเกมส์ 2012เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์เอเชียนอินดอร์เกมส์เอเชียนคัพเอเอช-1 ซูเปอร์คอบราเอเอช-64 อาพาชีเอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพเอเอฟซีคัพ 2554เอเอฟซีคัพ 2555เอเอฟซีคัพ 2561 รอบแบ่งกลุ่มเอเอฟซีคัพ รอบน็อกเอาท์ 2012เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาลเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์เทวสถานบาคคัสเทวสถานโรมันเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเทิดศักดิ์ ใจมั่นเทียนดำเขตเวลาเคอานู รีฟส์เคาน์ตีตริโปลีเซาเปาลูMENAUTC+03:00.lb1 สิงหาคม1 E+10 m²12 กรกฎาคม14 มิถุนายน15 พฤษภาคม17 พฤษภาคม18 เมษายน22 พฤศจิกายน23 ตุลาคม24 พฤษภาคม6 มิถุนายน8 มิถุนายน ขยายดัชนี (264 มากกว่า) »

บัชชาร อัลอะซัด

ัชชาร ฮาฟิซ อัลอะซัด (بشار حافظ الأسد; เกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2508) เป็นประธานาธิบดีซีเรีย ผู้บัญชาการทหารกองทัพซีเรีย เลขาธิการพรรคบะอัษซึ่งเป็นพรรครัฐบาล และเลขาธิการภูมิภาคของสาขาพรรคในประเทศซีเรีย ในปี 2543 เขาสืบทอดตำแหน่งจากฮาฟิซ อัลอะซัด บิดา ผู้ปกครองประเทศซีเรียเป็นเวลา 30 ปีจนถึงแก่อสัญกรรม เขาได้รับความเห็นชอบจากเขตเลือกตั้งซีเรียสองครั้งในปี 2543 และ 2550 ในการลงประชามติโดยไร้คู่แข่ง เดิมประชาคมนานาชาติมองเขาว่าเป็นนักปฏิรูปมีศักยะ แต่สหรัฐ สหภาพยุโรปและส่วนใหญ่ของสันนิบาตอาหรับเรียกร้องให้เขาลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีหลังข้อกล่าวหาเขาสั่งปราบปรามและการล้อมทางทหารต่อผู้ชุมนุมอาหรับสปริง จนนำสู่สงครามกลางเมืองซีเรีย During the Syrian Civil War, an inquiry by the United Nations reported finding evidence which implicated Assad in war crimes.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและบัชชาร อัลอะซัด · ดูเพิ่มเติม »

ชากีรา

กีรา อีซาเบล เมบารัก รีโปล (Shakira Isabel Mebarak Ripoll, 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 —) หรือเป็นที่รู้จักว่า ชากีรา เป็นนักร้องชาวโคลอมเบี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและชากีรา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแคนาดา

วแคนาดา (Canadians) เป็นการบ่งบอกถึงบุคคลจากประเทศแคนาดา โดยความหมายนี้อาจสื่อถึงทางพันธุกรรม, ที่อยู่อาศัย, กฎหมาย, ประวัติศาสตร์, วัฒนธรรม หรือชาติพันธุ์ สำหรับชาวแคนาดาส่วนใหญ่ บ่อยครั้งมักจะสื่อถึงการดำรงอยู่และแหล่งที่มาของพวกเขาเพื่อการพิจารณาว่าเป็น ชาวแคนาดา นอกเหนือจากชาวอะบอริจินอล ที่ปรากฏตามสำรวจสำมะโนประชากรใน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและชาวแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเคิร์ด

วเคิร์ด (کورد Kurd คูร์ด, Kurdish people) เป็นชนในกลุ่มชนอิหร่านที่เป็นกลุ่มภาษาชาติพันธุ์ (ethnolinguistic) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่เป็นเคอร์ดิสถาน ที่รวมทั้งบางส่วนบริเวณที่ใกล้เคียงกันที่รวมทั้งอิหร่าน อิรัก, ซีเรีย และ ตุรกี นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มชนเคิร์ดขนาดใหญ่พอสมควรทางตะวันตกของตุรกี และในเลบานอน, อาร์มีเนีย, อาเซอร์ไบจาน และเมื่อไม่นานมานี้ในประเทศในยุโรป และ สหรัฐอเมริกา (ดูชาวเคิร์ดพลัดถิ่น) ชาวเคิร์ดพูดภาษาเคิร์ดซึ่งเป็นภาษาในภาษากลุ่มอิหร่าน เมือง Piranshahr เป็นเมืองหลวงของอำเภอ Mukerian.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและชาวเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฟรังซัวส์ ซากัต

ฟรังซัวส์ ซากัต (François Sagat) เป็นนายแบบชาวฝรั่งเศสและเป็นนักแสดงหนังโป๊ ทั้งในหนังโป๊เกย์และไบเซ็กชัวล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟรังซัวส์ ซากัต · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2538 โดยชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในฐานะตัวแทนพรรคสังคมนิยม (PS) เขาชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2524 กลายเป็นประธานาธิบดีสังคมนิยมคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5และเป็นประมุขแห่งรัฐที่มาจากฝ่ายซ้ายคนแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 และในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2531นั้น เขาก็ชนะอีกครั้งหนึ่งและดำรงตำแหน่งจนถึงปี พ.ศ. 2538 ก่อนที่จะต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในปีเดียวกัน ในการดำรงตำแหน่งทั้งสองวาระนั้น เขาได้ยุบสภาเพื่อที่จะได้เสียงข้างมากในสภา แต่ทว่าพรรคสังคมนิยมก็ได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองครั้ง และทำให้เกิด "การบริหารร่วมกัน" ในสองปีสุดท้ายของทั้งสองวาระ โดยมีฌัก ชีรักเป็นแกนนำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2531 และเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดด้วยระยะเวลา 14 ปี ทั้งยังเป็นประธานาธิบดีที่อาวุโสที่สุดอีกด้วย (สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งเมื่ออายุ 78 ปี) ฟร็องซัว มีแตร็องถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟร็องซัว มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฟัฎลุลลอหฺ

ฟัฎลุลลอหฺ อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ (محمد حسين فضل الله‎; 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553) ในเมืองนะญัฟ ประเทศอิรัก ตระกูลของท่านสืบเชื้อสายมาจากนบีมุฮัมมัด บิดาของท่านได้อพยพไปอาศัยอยู่ในเมืองนี้ เพื่อศึกษาหาความรู้ศาสนา ในสถาบันการศึกษาต่างๆ จนได้กลายเป็นผู้รู้ท่านหนึ่ง อันเป็นที่ยอมรับกันในสมัยนั้น อายะตุลลอหฺ ฟัฎลุลลอหฺ จึงได้รับการเลี้ยงดูจากบิดาอย่างดีและเติบโตในครอบครัวที่มีเกียรติ มีนิสัยใจคอเป็นที่รักมักใคร่ของคนข้างเคียง ตั้งแต่ยังเยาว์วัย มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ ได้ศึกษาหาความรู้ ความอัจฉริยะของท่านได้ปรากฏขึ้นตั้งแต่ท่านได้เริ่มอ่านตำราไวยากรณ์ อัลอัจญ์รูมียะห์ และตำราไวยากรณ์กอฏรุ อันนะดา ตั้งแต่ยังอายุเก้าขวบ ถึงแม้ท่านจะมุ่งหน้าศึกษาทางวิชาการศาสนาในสำนักการศึกษาแบบเฮาซะห์ แต่หนังสือที่ท่านชอบอ่านก็คือหนังสือวารสารทั่วไป โดยเฉพาะที่พิมพ์ในอิยิปต์ และชอบติดตามข่าวและเหตุการณ์โลก แต่สิ่งที่ท่านทำเป็นประจำตั้งแต่อายุสิบขวบก็คือการแต่งบทกวี อาจารย์ท่านแรกของท่านก็คือบิดาที่รักของท่านเอง คือท่านซัยยิด อับดุลร่ออูฟ ฟัฎลุลลอหฺ ท่านได้ศึกษาวิทยาการศาสนาตั้งแต่ต้น จนถึงอุดมศึกษาที่เรียกว่า สุฏูฮฺ ต่อมาก็ศึกษาวิชาไวยากรณ์ภาษาอาหรับ ภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์ รากฐานนิติศาสตร์ และนิติศาสตร์อิสลาม ต่อมาได้ไปศึกษากับอาจารย์ชาวอิหร่านชื่อ เชค มุจญ์ตะบา อัลนักรอนี หลังจากนั้นจึงศึกษาศาสนาระดับอุดมศึกษาชั้นสูง ซึ่งเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่เรียกว่า บะฮัษ อัลคอริจญ์ ซึ่งมีเหล่าอายะตุลลอหฺ และบรรดามุจตะฮิจ เป็นอาจารย์ หนึ่งในอาจารย์ของท่านก็คือ อายะตุลลอหฺ อัลคูอีย์ ผู้ลือนาม อายะตุลลอหฺ มุฮฺซิน อัลฮะกีม อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด อัชชะหัรวัรดีย์ อายะตุลลอหฺฮุเซน อัลฮิลลีย์ นอกจากนี้ ท่านยังได้ศึกษาวิชาปรัชญา จากตำรา อัลอัซฟาร อัลอัรบะอะหฺ ของท่านมุลลา ศอดรอ อัชชีรอซีย์ โดยมีท่านศอดรอ อัลบาดิกูบีย์ เป็นอาจารย์ ในช่วงที่ท่านยังศึกษาอยู่นั้น ท่านได้มีส่วนร่วมในการจัดการตีพิมพ์วารสาร อัลอัฎวาอ์ ที่ตีพิมพ์ในนะญัฟ หลังจากที่ท่านจบการศึกษาในปี พ.ศ. 2495 ท่านได้กลับไปเยี่ยมประเทศเลบานอน หนังสือพิมพ์เลบานอนได้เริ่มรู้จักท่าน เมื่อท่านได้กล่าวบทกวีไว้อาลัยที่แหวกแนวในพิธีอัรบะอีน รำลึกสี่สิบวันหลังการเสียชีวิตของอายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด มุฮฺซิน อัลอะมีน ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ท่านได้รับเชิญให้เดินทางกลับไปอาศัยอยู่ในเลบานอน เพื่อเป็นอาจารย์สอนประชาชนในเบรูตตะวันออก ตั้งแต่นั้นมา ท่านก็ได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำทางจิตใจของชาวเลบานอน และประชาชนประเทศใกล้เคียง ท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อฟื้นฟูสังคม โดยเน้นเรื่องการศึกษาเป็นหลัก ตั้งแต่นั้นมา ท่านก็ได้เปิดโรงเรียนและสถาบันการศึกษา 22 ที่ ในท้องถิ่นต่างๆ และยังมีสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่ศาสนาอีกด้วย นอกจากนี้ ท่านยังได้ใช้เวลาที่เหลือประพันธ์หนังสือรวมแล้วประมาณ 50 เล่ม หนึ่งในจำนวนนั้นเป็นหนังสืออรรถาธิบายอัลกุรอานซึ่งมีความหนาถึง 24 เล่ม ท่านเป็นหนึ่งในผู้นำไม่กี่คนที่เน้นการศึกษาแบบทันสมัย สนับสนุนความสามัคคีระหว่างมุสลิมทุกมัซฮับ จึงไม่น่าแปลกใจ หากเราได้เห็นผู้ที่เข้ามาศึกษากับท่านนั้น ไม่ได้นับถือมัซฮับของท่าน ท่านเป็นผู้ก่อตั้งขบวนการอิสลามในอิรัก พร้อมกับอายะตุลลอหฺ บากิร อัศศอดัร ในช่วงต้นของคริสต์ทศวรรษ 1970 ท่านได้ร่วมในการปฏิวัติอิหร่าน ท่านได้เป็นหนึ่งในผู้นำการขบวนการอิสลามในเลบานอน เพื่อต่อต้านการรุกรานของอิสราเอล ผลที่ตามมาก็คือ ขบวนการซีไอเอได้พยายามลอบสังหาร (ยอมรับโดยวิลเลี่ยม เคซีย์ ประธาน ซีไอเอ) โดยการบรรจุระเบิดในรถ แล้วนำมาจอดใกล้บ้านท่าน ทำให้มีผู้คนเสียชีวิต 80 คน และบาดเจ็บสาหัสอีกประมาณ 200 คน แต่ท่านรอดพ้นจากระเบิดนี้อย่างหวุดหวิด เพราะท่านกลับมาถึงบ้านช้าเพียงไม่กี่นาที นอกจากนี้ท่านยังถูกหน่วยจารกรรมของประเทศอาหรับลอบทำร้ายอีก 3 ครั้ง แต่ท่านก็รอดพ้นไปทุกครั้ง ครั้งที่สามนั้นเป็นขีปนาวุธที่ตกลงมาในห้องนอนของท่านก่อนละหมาดซุบฮิ ส่วนหน่วยจารกรรมอิสราเอลก็ได้เข้าทำร้ายท่านในมัสยิดบิรุลอับดิ แต่ท่านก็รอดไปได้อย่างเหลือเชื่อ และอีกหลายครั้งที่อิสราเอลส่งขีปนาวุธลงมาบนบ้านของท่าน จนกระทั่งบุตรของท่านคนหนึ่งในบ้านถูกขีปนาวุธนี้ อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ ผู้อาจหาญเสี่ยงภัย เดินทางไปมาระหว่างซีเรียและเลบานอน ทุก ๆ สัปดาห์ ท่านได้เดินทางไปประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส อินเดีย อิหร่าน อัลจีเรีย และอื่น ๆ เพื่อพบปะและเผยแผ่ศาสนาอิสลาม ท่านมีประสบการณ์กว้างขวาง ทุกคำพูดและทุกวาจาของท่านมีค่า ใครที่ได้เข้าไปพบเห็นท่านจะรู้สึกรักและชอบท่านทันที นั้นก็เพราะความสุภาพอ่อนโยนของท่าน ผู้คนที่เข้ามาเรียนกับท่าน มาพบปะท่าน มาถามปัญหาศาสนา ต่าง ๆ นานา วันละ 14 - 15 ชั่วโมง ทำให้ท่านไม่ค่อยมีเวลาสำหรับส่วนตัวเลย ผู้คนต่างสงสัยว่าท่านยังมีเวลาที่ไหนไปอ่านหนังสือพิมพ์จนทันกับเหตุการณ์โลก ดวงตาที่อ่อนเพลียทำให้เรารู้ได้ว่า บุคคลคนนี้นอนน้อย แต่ท่านก็เป็นอย่างนี้มานานแล้ว อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ เป็นมัรญิอฺที่มีชื่อท่านหนึ่ง รองจาก ท่านอายะตุลลอหฺ ซีซตานีย์ อายะตุลลอหฺ อัชชีรอซีย์ และ อายะตุลลอหฺ คอเมเนอี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟัฎลุลลอหฺ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010

ฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010 ได้จัดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม ถึง 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก (منتخب العراق لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐอิรัก อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสมาคมฟุตบอลอิรัก (IFA) ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1948 และได้เข้าร่วมเป็นชาติสมาชิกของฟีฟ่า ในปี 1950 จากนั้นได้เข้าเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ในปี 1970 และเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) ในปี 2000 ทีมชาติอิรักถือว่าเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จอย่างมากชาติหนึ่งในกลุ่มประเทศแถบอาหรับ เคยเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก 4 ครั้ง (1980,1984,1988,2004) โดยผลงานดีที่สุดของทีมชาติอิรักในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกคือการคว้าอันดับ 4 ในโอลิมปิก 2004 ที่ประเทศกรีซ และเคยผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย 1 ครั้ง ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1986 ที่ประเทศเม็กซิโก สำหรับผลงานในระดับทวีปเอเชียนั้นทีมชาติอิรักเคยได้เหรียญทองในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1982 ที่กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย และสามารถสร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์เอเชียนคัพ ซึ่งเป็นรายการใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียได้ 1 สมัย ในปี 2007 ส่วนในการแข่งขันในระดับภูมิภาค ทีมชาติอิรักเคยชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก ในปี 2002 รวมถึงคว้าแชมป์ฟุตบอลรายการ อาหรับ เนชันส์คัพ ได้ถึง 4 สมัย (ปี 1964,1966,1984,1988) นอกจากนี้ทีมชาติอิรักยังเคยได้รับเลือกจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ให้เป็นทีมชาติยอดเยี่ยมประจำทวีปเอเชียถึง 2 ครั้ง (ปี 2003 และ 2007) โดยเป็นชาติเดียวในเอเชียตะวันตกที่เคยได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟุตบอลทีมชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน

ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน (อุซเบก: Oʻzbekiston milliy futbol terma jamoasi / Ўзбекистон миллий футбол терма жамоаси; รัสเซีย: Национальная сборная Узбекистана по футболу) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอุซเบกิสถาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอุซเบกิสถาน สนามเหย้าของทีมชาติคือสนามกีฬาบุนยอดกอร์ในทาชเคนต์ หัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบัน Timur Kapadze ซึ่งอยู่ในช่วงรักษาการ อุซเบกิสถานไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลก แต่ผ่านรอบคัดเลือกของเอเชียนคัพทุกครั้งนับตั้งแต่ก่อตั้งทีมชาติ ผลงานที่สำคัญ ได้แก่ อันดับที่สี่ในเอเชียนคัพ 2011 และชนะเลิศเอเชียนเกมส์ 1994 และยังได้เข้าชิงแอโฟร-เอเชียนคัพออฟเนชันส์ใน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติซาอุดีอาระเบีย

ฟุตบอลทีมชาติซาอุดีอาระเบีย (منتخب السعودية لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลประจำชาติซาอุดีอาระเบีย เป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากทีมหนึ่งในทวีปเอเชีย โดยชนะเลิศ เอเชียนคัพ 3 ครั้ง และเข้าร่วมเล่นในฟุตบอลโลก 4 ครั้ง มีฉายาที่แฟนบอลในประเทศเรียกคือ อัลศอกรฺ (Al-Saqour) หรือภาษาอังกฤษคือ The Falcons และ อัลอัคฎอร (Al-Akhdar) หรือภาษาอังกฤษคือ The Green.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟุตบอลทีมชาติซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก

ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก (منتخب المغرب لكرة القدم) ฉายา "ราชสีห์แห่งแอตลัส" (أسود الأطلس / Irzem n Atlasi) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศโมร็อกโก ปัจจุบันมี Hervé Renard เป็นผู้จัดการทีม โมร็อกโกเคยชนะเลิศแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ในปี 1976 และยังเป็นทีมแรกจากแอฟริกาที่เป็นแชมป์กลุ่มในฟุตบอลโลก ซึ่งเกิดขึ้นในปี 1986 โดยพวกเขาอยู่กลุ่มเดียวกับโปรตุเกส, โปแลนด์ และอังกฤษ และยังเป็นทีมแรกของแอฟริกาที่ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก โดยพวกเขาตกรอบด้วยการแพ้เยอรมนีตะวันตก (รองแชมป์หลังจบการแข่งขัน) 1–0 ในปีเดียวกัน ต่อมาในปี1998 ชัยชนะของนอร์เวย์เหนือบราซิล ทำให้โมร็อกโกตกรอบแบ่งกลุ่ม ล่าสุด โมร็อกโกผ่านรอบคัดเลือกได้ไปแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบสุดท้าย เป็นครั้งแรกในรอบ 20 ปี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเลบานอน

ฟุตบอลทีมชาติเลบานอน (อาหรับ: المنتخب اللبناني لكرة القدم; ฝรั่งเศส: Équipe du Liban de football) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเลบานอน มีฉายาคือ "ต้นซีดาร์" อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลเลบานอน (LFA) ซึ่งเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) อันดับโลกฟีฟ่าที่สูงที่สุดคืออันดับที่ 85 ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟุตบอลทีมชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010

ฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010 ได้มีการจัดขึ้นที่เมืองกว่างโจว ประเทศจีน ตั้งแต่วันที่ 7 ถึง 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์

รรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์ (Palestinian National Initiative;ภาษาอาหรับ: المبادرة الوطنية الفلسطنية al-Mubadara al-Wataniyya al-Filistiniyya) เป็นพรรคการเมืองในปาเลสไตน์ นำโดย ดร.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพรรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์

แผนที่แสดงเขตพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์เป็นสีแดง เขต พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) ที่รู้จักกันโดยเป็นอู่อารยธรรม เป็นบริเวณรูปจันทร์เสี้ยวที่รวมแผ่นดินที่ชื้นและอุดมสมบูรณ์โดยเทียบกับบริเวณข้างเคียงในเอเชียตะวันตกที่เป็นเขตกึ่งแห้งแล้ง และรวมบริเวณรอบ ๆ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำและลุ่มแม่น้ำไนล์ เป็นบริเวณอยู่ติดกับเขตเอเชียน้อยหรือที่เรียกว่าอานาโตเลีย คำนี้เริ่มใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์โบราณ แล้วต่อมาจึงกลายมาเป็นคำที่นิยมใช้ในโลกตะวันตกแม้ในสาขาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขตเมโสโปเตเมีย คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีส และรวมเขตลิแวนต์ คือฝั่งทิศตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันที่มีดินแดนร่วมอยู่ในเขตนี้รวมทั้งประเทศอิรัก คูเวต ซีเรีย เลบานอน จอร์แดน อิสราเอล และปาเลสไตน์ โดยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศตุรกีและทางทิศตะวันตกของอิหร่าน เขตนี้บ่อยครั้งเรียกว่าอู่อารยธรรม (cradle of civilization) เพราะเป็นเขตที่เกิดพัฒนาการเป็นอารยธรรมมนุษย์แรก ๆ สุด ซึ่งเจริญรุ่งเรืองโดยอาศัยทรัพยากรน้ำและเกษตรกรรมที่มีอยู่ในเขต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในเขตนี้รวมทั้งการพัฒนาภาษาเขียน การทำแก้ว ล้อ และระบบชลประทาน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษาพักตร์

ันทวยพฤกษพักตร์ในรูปของลายใบอาแคนธัสรองรับประติมากรรมนายอาชาแห่งแบมเบิร์กภายในมหาวิหารแบมเบิร์กที่แกะสลักเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 พฤกษาพักตร์ หรือ รุกขามนุษย์ (Green Man) คือประติมากรรม, จิตรกรรม หรือรูปสัญลักษณ์อื่นๆ ของใบหน้าที่ล้อมรอบไปด้วยใบไม้ กิ่งไม้ หรือเถาไม้เลื้อย ที่งอกออกมาจากจมูก ปาก หรือส่วนอื่นๆ ของใบหน้า ไม้ที่งอกออกมาอาจจะมีดอกมีผลด้วยก็ได้ การตกแต่งด้วยพฤกษพักตร์มักจะใช้สำหรับเป็นสิ่งตกแต่งของสถาปัตยกรรม พฤกษาพักตร์มักจะพบในรูปของประติมากรรมทั้งภายนอกและภายในคริสต์ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ของคฤหัสน์ นอกจากนั้น “The Green Man” ยังเป็นชื่อที่นิยมใช้กันสำหรับสิ่งก่อสร้างสารธาณะ และปรากฏในหลายรูปหลายลักษณะเช่นบนป้ายโรงแรมเล็กๆ ที่บางครั้งอาจจะเป็นรูปเต็มตัวที่ไม่แต่จะเป็นเพียงเป็นใบหน้าเท่านั้น ลักษณะพฤกษาพักตร์มีด้วยกันหลายแบบหลายลักษณะ และพบในวัฒนธรรมต่างๆ ทั่วโลก พฤกษาพักตร์มักจะเป็นเทพารักษ์ที่เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่มีมาในวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วก็มักจะตีความหมายกันว่าพฤกษาพักตร์เป็นนัยยะของการเกิดใหม่ที่เป็นสัญลักษณ์ของวัฏจักรของการเจริญเติบโตเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิของแต่ละปีที่มาถึง บ้างก็สันนิษฐานว่าพฤกษาพักตร์เป็นตำนานที่พัฒนาขึ้นมาต่างหากจากความเชื่ออื่นๆ ในสมัยโบราณ และวิวัฒนาการต่อมาจนแตกแยกกันออกไปในวัฒนธรรมต่างๆ ที่เห็นได้จากตัวอย่างในของพฤกษาพักตร์ในสมัยต่างๆ ของประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพฤกษาพักตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน

กายน เป็นเดือนที่ 11 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤศจิกายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพิจิก และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีธนู แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวตาชั่ง ผ่านกลุ่มดาวแมงป่องระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน โดยประมาณ และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงูในปลายเดือน เดือนพฤศจิกายนในภาษาอังกฤษ November มาจากภาษาละติน novem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 9 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพฤษภาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พอล แองคา

อล อัลเบิร์ต แองคา (Paul Albert Anka), OC เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 ในออตทาวา รัฐออนแทริโอ เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดงชาวแคนาดา ที่มีเชื้อสายเลบานอน เขาเป็นพลเมืองอเมริกันในปี 1990 แองคา โด่งดังในฐานะทีนไอดอลในช่วงปลายทศวรรษ 1950 และทศวรรษ 1960 เขามีเพลงดังอย่าง "Diana", "Lonely Boy", และ "Put Your Head on My Shoulder" เขายังเขียนเพลงดังที่เป็นที่รู้จักอย่างเพลงธีม The Tonight Show Starring Johnny Carson และเพลงดังของทอม โจนส์ ที่ชื่อ She's A Lady และแต่งเนื้อให้กับเพลงประจำตัวของแฟรงก์ ซินาตรา ที่ชื่อ "My Way".

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพอล แองคา · ดูเพิ่มเติม »

พิสตาชีโอ

ตาชีโอ (pistachio) เป็นถั่วชนิดหนึ่ง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับมะม่วงและมะม่วงหิมพานต์) มีต้นกำเนิดในอิหร่าน พบได้ในซีเรีย เลบานอน ตุรกี กรีซ คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน อินเดีย ปากีสถาน อียิปต์ เกาะซิซิลี และอาจจะมีในอัฟกานิสถาน (โดยเฉพาะในจังหวัดซะมันกานและบาดฆีส) เมล็ดมีเปลือกแข็ง รับประทานได้ มีวิตามินเอ เมล็ดสีเขียวมีคุณภาพดีกว่าเมล็ดสีอื่น ๆ มีเมล็ดของพืชในสกุลนี้ที่เรียกว่าพิสตาชีโอเช่นเดียวกับ P. vera แต่มีความแตกต่างกันที่บริเวณของการกระจายพันธุ์ในป่าและเมล็ดซึ่งเล็กกว่า มีกลิ่นและเปลือกนุ่มกว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและพิสตาชีโอ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกรกฎาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 8 ล้านคนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ ภาษายูการิติก (ตายแล้ว) ภาษาคานาอันไนต์ (รวมภาษาฮีบรู) และภาษาอราเมอิก บางครั้งรวมกลุ่มภาษานี้เข้ากับภาษาอาหรับแล้วจัดเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง ภาษายูการิติกที่ตายแล้วเป็นหลักฐานรุ่นแรกสุดของกลุ่มภาษานี้ ภาษายูการิติกไม่มีเสียง /dˤ/ (ḍ) แต่แทนที่ด้วยเสียง /sˤ/ (ṣ) (ลักษณะเดียวกับที่ปรากฏในภาษาอัคคาเดีย) เสียงนี้กลายเป็นเสียง /ʕ/ ในภาษาอราเมอิก (ในภาษาอราเมอิกโบราณ เสียงนี้เขียนด้วยอักษรกอฟ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษายูการิติกไม่ได้เป็นภาษาต้นแบบของกลุ่มนี้ ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียงนี้พบได้ในคำว่า “โลก”: ภาษายูการิติก /ʔarsˤ/ (’arṣ), ภาษาฮีบรู /ʔɛrɛsˤ/ (’ereṣ) และภาษาอราเมอิก /ʔarʕaː/ (’ar‘ā’) ภาษายูการิติกต่างจากภาษาในกลุ่มเดียวกันตรงที่ว่ายังคงมีคำที่ขึ้นต้นด้วย /w/ ในขณะที่ภาษาที่เหลือแทนที่ด้วย /y/ แหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของภาษานี้ได้แก่บริเวณที่ในปัจจุบันเป็นประเทศอิสราเอล ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและคาบสมุทรไซนาย การเลื่อนเสียงสระจาก /aː/ เป็น /oː/ เป็นการแยกภาษาคานาอันไนต์ออกจากภาษายูการิติก ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียง ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กวางน้อย...แบมบี้

กวางน้อ...แบมบี้ (อังกฤษ:Bambi) คือภายนตร์การ์ตูนของวอลท์ดิสนีย์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกวางน้อย...แบมบี้ · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการใหญ่แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

กองบัญชาการใหญ่แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Popular Front for the Liberation of Palestine-General Command) เป็นกลุ่มที่แยกตัวออกมาจากแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกองบัญชาการใหญ่แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์

กองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Palestinian Liberation Army) เป็นกองกำลังทางทหารขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแดงญี่ปุ่น

กองทัพแดงญี่ปุ่น (Japanese Red Army, JRA; 日本赤軍, โรมะจิ: Nihon Sekigun) เป็นกลุ่มปฏิบัติการข้ามชาติที่ก่อตั้งตั้งแต่พ.ศ. 2513 โดยแยกตัวออกมาจากสันนิบาตคอมมิวนิสต์มีจุดมุ่งหมายเพื่อโค่นล้มราชวงศ์ญี่ปุ่น เครือข่ายของกลุ่มได้แพร่หลายอยู่ในหลายประเทศในเอเชีย เชื่อกันว่าฐานที่มั่นอยู่ในประเทศเลบานอนตั้งแต่พ.ศ. 2520 และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่มติดอาวุธในปาเลสไตน์ ปฏิบัติการโจมตีที่สำคัญของกลุ่มได้แก่ การสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอด ประเทศอิสราเอลเมื่อพ.ศ. 2515 การจี้เครื่องบินของสายการบินญี่ปุ่น ความพยายามยึดสถานทูตสหรัฐในประเทศมาเลเซีย สมาชิกของกองทัพแดงญี่ปุ่นถูกจับในสหรัฐเมื่อพ.ศ. 2521 ระหว่างการวางแผนโจมตีนิวเจอร์ซีย์เทิร์นไพค์ และยังถูกจับเป็นจำนวนมากในประเทศเลบานอนเมื่อพ.ศ. 2540 ปัจจุบันความเคลื่อนไหวของกลุ่มนี้ลดลง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกองทัพแดงญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเบลเยียม

กองทัพเบลเยียม (Armée belge, Belgisch leger) คือกองกำลังทหารของราชอาณาจักรเบลเยียม กองทัพเบลเยียมได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการประกาศอิสรภาพในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกองทัพเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเลบานอน

กองทัพเลบานอน (LAF) (القوات المسلحة اللبنانية Al-Quwwāt al-Musallaḥa al-Lubnāniyya) หรือ (Forces Armées Libanaises) (FAL) เป็นกองทัพของสาธารณรัฐเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกองทัพเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมไซดอน

การล้อมไซดอน (Siege of Sidon) เป็นการสู้รบที่เมืองไซดอน (ปัจจุบันอยู่ในประเทศเลบานอน) ระหว่างฝ่ายนักรบครูเสดกับฝ่ายมุสลิมแห่งราชวงศ์ฟาติมียะห์ ระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม–5 ธันวาคม ค.ศ. 1110 ยุทธการครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และเป็นส่วนหนึ่งของสงครามครูเสดนอร์เวย์ ช่วงฤดูร้อนของปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและการล้อมไซดอน · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอด

การสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอด เป็นการก่อการร้ายที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและการสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอด · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน (Köppen climate classification) เป็นหนึ่งในระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศที่ใช้กันกว้างขวางที่สุด วลาดิเมียร์ เคิปเปนเป็นผู้เผยแพร่ระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้เป็นคนแรกในปี พ.ศ. 2427 และการแก้ไขเล็กน้อยโดยเคิปเปนเองตามมาในปี พ.ศ. 2461 และ พ.ศ. 2479 ภายหลังนักกาลวิทยาชาวเยอรมนีนามว่ารูดอล์ฟ ไกเกอร์ ร่วมมือกับเคิปเปนเปลี่ยนแปลงระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้ บางครั้งจึงสามารถเรียกได้ว่าการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนและไกเกอร์ (Köppen–Geiger climate classification system).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน · ดูเพิ่มเติม »

การแผลงเป็นอาหรับ

การแผลงเป็นอาหรับ (Arabization, تعريب ทาอะรีบ) คือการทำให้ประชากรที่เดิมทีไม่ใช่ชาวอาหรับ กลายเป็นประชากรที่พูดภาษาอาหรับ และมีวัฒนธรรมแบบชาวอาหรับ โดยในอดีต การแผลงเป็นอาหรับมักเกิดขึ้นหลักจากการที่ชาวอาหรับ ซึ่งอดีตอาศัยในอยู่บริเวณอาระเบีย (บริเวณประเทศซาอุดีอาระเบียและเยเมนปัจจุบัน) ได้พิชิตดินแดนต่าง ๆ ในช่วงการเผยแพร่ของศาสนาอิสลามในศตวรรษที่ 7 ดินแดนเหล่านี้ได้แก่ แอฟริกาเหนือ (เช่น อียิปต์ มอร็อกโค อัลจีเรีย ตูนิเซีย) อิรัก จอร์แดน ซีเรีย เลบานอน เป็นต้น โดยประชากรในดินแดนเหล่านี้ ไม่ได้พูดภาษาอาหรับหรือถือวัฒนธรรมอาหรับมาก่อน อาทิ ก่อนการพิชิตดินแดนโดยชาวอาหรับ ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่พูดภาษาคอปต์ ส่วนประชากรซีเรียส่วนใหญ่พูดภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและการแผลงเป็นอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

การโจมตีเคมีที่ดูมา

วันที่ 7 เมษายน 2561 เกิดการโจมตีเคมีตามรายงานในนครดูมา (Douma) ประเทศซีเรีย โดยมีผู้เสียชีวิตตามกล่าวหาประมาณ 42–70 คน รัฐบาลซีเรียและพันธมิตรคัดค้านรายงานนี้ซึ่งปฏิเสธว่าไม่มีการโจมตีเคมีใด ๆ เกิดขึ้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและการโจมตีเคมีที่ดูมา · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟขาว

กาแฟขาว (white coffee) เป็นชาสมุนไพรชนิดหนึ่ง ค้นพบที่เมืองเบรุต นิยมดื่มกันมากในประเทศเลบานอนและซีเรีย และนิยมทานคู่กับ ขนมหวาน ในประเทศทางยุโรปบางประเทศ จะกล่าวถึง ไวต์คอฟฟี (white coffee) ในลักษณะของกาแฟใส่นม ในขณะเดียวกันไวต์คอฟฟีในสหรัฐอเมริกาจะหมายถึง กาแฟที่กลั่นไว้นานจนมีสีคล้ายกับสีเหลือง หมวดหมู่:กาแฟ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและกาแฟขาว · ดูเพิ่มเติม »

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน (جبران خليل جبران) หรือ คาห์ลีล จิบราน (Kahlil Gibran,; 6 มกราคม พ.ศ. 2426 – 10 เมษายน พ.ศ. 2474) เป็นกวี, นักเขียน และศิลปินชาวเลบานอน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ปรัชญาชีวิต (The Prophet) ซึ่งเป็นตัวอย่างของงานเขียนแนวสร้างแรงบันดาลใจ (inspirational fiction) เขาเป็นกวีที่มีผลงานขายดีตลอดกาลเป็นอันดับ 3 รองจากเชกสเปียร์และเล่าจื๊อ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาดอิสลามอียิปต์

ญิฮาดอิสลามอียิปต์ (Egyptian Islamic Jihad; الجهاد الإسلامي المصري) หรือ อัลญิฮาด เป็นกลุ่มที่ออกปฏิบัติการร่วมกับกลุ่มอัลกออิดะฮ์ของอุซามะฮ์ บิน ลาดิน มีเป้าหมายเพื่อโค่นล้มรัฐบาลอียิปต์และตั้งรัฐอิสลามรวมทั้งโจมตีผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาและอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและญิฮาดอิสลามอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์

ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ (Islamic Jihad Movement in Palestine หรือ Palestinian Islamic Jihad Movement;ภาษาอาหรับ حركة الجهاد الإسلامي في فلسطين, - Harakat al-Jihād al-Islāmi fi Filastīn) เป็นกองกำลังทางทหารของชาวปาเลสไตน์ที่ถูกจัดให้เป็นกลุ่มก่อการร้ายโดยสหรัฐ สหภาพยุโรป อังกฤษ ญี่ปุ่น แคนาดา ออสเตรเลียและอิสราเอลพัฒนามาจากนักรบปาเลสไตน์ในฉนวนกาซา ผู้นำกลุ่มคือ ราห์มาดาน ชาลลอห์ จุดมุ่งหมายต้องการสร้างรัฐปาเลสไตน์ที่เป็นรัฐอิสลามและทำลายล้างอิสราเอลด้วยญิฮาด ต่อต้านรัฐบาลอาหรับทุกประเทศที่ให้ความร่วมมือกับตะวันตก แต่แนวคิดของกลุ่มนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มประเทศอาหรับสายกลาง กองพลอัล-กุดส์ของญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์อ้างความรับผิดชอบต่อการโจมตีทางทหารหลายครั้งรวมทั้งระเบิดพลีชีพ ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์มีขนาดเล็กกว่ากลุ่มฮามาสและไม่มีเครือข่ายทางสังคมดังที่กลุ่มฮามาสมี กลุ่มนี้ก่อตั้งในฉนวนกาซาเมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินิเชีย

ษาฟินิเชีย เป็นภาษาที่มีจุดกำเนิดในชายฝั่งที่เรียก "Pūt" ในภาษาอียิปต์โบราณ "คานาอัน" ในภาษาฟินิเชีย ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก และเรียก "ฟินิเชีย"ในภาษากรีกและภาษาละติน เป็นภาษากลุ่มเซมิติกสาขาคานาอัน ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก บริเวณดังกล่าวปัจจุบันอยู่ในเลบานอนและซีเรีย และอิสราเอลทางตอนเหนือ เป็นที่รู้จักจากจารึกต่างๆในไบบลอสและหนังสือที่เขียนด้วยภาษาต่างๆ จารึกภาษาฟินิเชียเก่าสุดพบในไบบลอส อายุราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งพบทั้งใน เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล ไซปรัส เกาะซิซิลี ตูนีเซีย โมร็อกโก แอลจีเรีย มอลตา และที่อื่นๆในคาบสมุทรไอบีเรีย การถอดความภาษาฟินิเชียใช้ความรู้ภาษาฮีบรูเป็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย

ษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย เป็นภาษาอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีเรียค ยุคใหม่ต่างจากภาษาคัลเดียที่เป็นภาษาอราเมอิกยุคเก่าที่ใช้พูดใสมัยราชวงศ์คัลเดียแห่งบาบิโลน เริ่มแรกใช้พูดในที่ราบโมซุลทางตอนเหนือของอิรัก ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก

ษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ที่ใช้พูดในซีเรียตะวันตก เป็นสำเนียงของภาษาอราเมอิกตะวันตกสำเนียงเดียวที่เหลืออยู่ ส่วนภาษาอราเมอิกใหม่ที่เหลืออื่นๆอยู่ในกลุ่มตะวันออก คาดว่าภาษานี้อาจเป็นส่วนที่เหลืออยู่ของสำเนียงยุคกลางตะวันตกที่เคยใช้พูดในหุบเขาดอโรนเตสในพุทธศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันใช้พูดในหมู่บ้านมาอัลโออูลา (ภาษาอาหรับ: معلولة‎) บาคอา (ภาษาอาหรับ: بخعة‎) และ จุบบาดิน (ภาษาอาหรับ: جبّعدين‎) ที่อยู่ทางเหนือของดามัสกัสไป 60 กม.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่

การแพร่กระจายของภาษาอาหรับในโลกอาหรับ. ภาษาราชการภาษาเดียว (เขียว); ภาษาราชการร่วม (ฟ้า) ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية الفصحى‎ al-luġatu l-ʿarabiyyatu l-fuṣḥā) หรือภาษาอาหรับมาตรฐานหรือภาษาเขียนของภาษาอาหรับ เป็นรูปแบบมาตรฐานของภาษาอาหรับที่ใช้สำหรับการเขียนและการพูดที่เป็นทางการ นักวิชาการตะวันตกได้แบ่งมาตรฐานภาษาอาหรับไว้เป็นสองแบบคือภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية التراثية) ซึ่งใช้ในอัลกุรอ่าน จักเป็นรูปแบบคลาสสิกของภาษาและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية المعيارية الحديثة) ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน ชาวอาหรับส่วนใหญ่จะถือว่าทั้งสองภาษานี้เป็นภาษาเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาโรไนต์

ษาอาหรับมาโรไนต์ในไซปรัส (Cypriot Maronite Arabic) หรือภาษาอาหรับไซปรัส ภาษามาโรไนต์ ภาษาซันนา ใช้พูดในมาโรไนต์ในไซปรัส ผู้พุโส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 30 ปี ผู้พูดภาษานี้อพยพมาจากเลบานอนเมื่อ 700 ปีที่ผ่านมา ได้รับอิทธิพลจากภาษากรีกทั้งทางด้านสัทวิทยาและคำศัพท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาอาหรับมาโรไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลบานอน

ษาอาหรับเลบานอน (Lebanese Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเลบานอนและเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ชาวมาโรไนต์ในบริเวณนั้นถือว่าภาษาอาหรับเลบานอนเป็นภาษาเอกเท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาอาหรับเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลอวานต์

ษาอาหรับเลอวานต์ (Levantine Arabic; ภาษาอาหรับ: شامي Shami) หรือภาษาอาหรับตะวันออก เป็นกลุ่มของภาษาอาหรับที่มีการพูดแพร่กระจายในฉนวนชายฝั่งยาว 100 กิโลเมตร ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ซึ่งบริเวณนี้เรียกว่าเลอวานต์ ครอบคลุมบริเวณในซีเรีย อิสราเอล ปาเลสไตน์ จอร์แดนตะวันตกและเลบานอน ซึ่งเป็นฝั่งตะวันตกของดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดม ภาษาอาหรับเลอวานต์แบ่งได้เป็น 6 สำเนียงย่อยคือ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาอาหรับเลอวานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตูโรโย

ษาตูโรโย เป็นภาษาซีเรียคใหม่หรือภาษาอราเมอิกใหม่ ใช้พูดในตุรกีตะวันออกและซีเรียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายซีเรียคออร์ธอดอกซ์ คำว่าตูโร (ṭuro), หมายถึงภูเขา ตูโรโย (Ṭuroyo) จึงหมายถึงสำเนียงภูเขาทงตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ชื่อเก่าของภาษานี้คือซูรายต์ (Ṣurayt) ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับคำว่าซีเรียค ผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาซีเรียคคลาสสิกเป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดี และมีความพยายามที่จะนำกลับมาใช้เป็นภาษาพูด ไม่มีการใช้ภาษาตูโรโยเป็นภาษาเขียนแต่เขียนด้วยภาษาซีเรียคคลาสสิกแทน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาตูโรโย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาไฟติก

ษาซาไฟติก (Safaitic language; ภาษาอาหรับ: صفوية หรือ صفائية) เป็นชื่อของภาษาอาระเบียเหนือโบราณที่เขียนด้วยอักษรเซมิติกใต้ ซึ่งจารึกเหล่านี้เขียนโดยชาวเบดูอินและชาวเซมิ-นอมาดิกที่อยูในทะเลทรายซีโร-อาระเบีย อายุของจารึกเหล่านี้ยังไม่แน่ชัดแต่น่าจะอยู่ประมาณ..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาซาไฟติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซีรีแอก

อกสารภาษาซีรีแอกอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ภาษาซีรีแอก (Syriac language; ซีรีแอก: ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā) เป็นสำเนียงตะวันออกของภาษาแอราเมอิก ใช้พูดใกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่างจักรวรรดิโรมันและเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูดภาษาแอราเมอิกใหม่ในซีเรีย และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ในรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย เป็นภาษาทางศาสนาในตะวันออกกลางในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาแอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีรีแอกที่นับถือศาสนาคริสต์ และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึงจีนเคยใช้เป็นภาษากลางระหว่างชาวอาหรับกับชาวเปอร์เซียก่อนจะถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับเมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย

ษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย เป็นรูปแบบใหม่ของภาษาแอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีรีแอก แต่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษาอัคคาเดียที่ใช้พูดในจักรวรรดิอัสซีเรีย หรือภาษาแอราเมอิกที่เป็นภาษากลางในจักรวรรดิอัสซีเรีย ในช่วง 257 ปีก่อนพุทธศักราช เริ่มแรกภาษานี้ ใช้พูดนบริเวณทะเลสาบอูร์เมีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอิหร่านและซิอิต ตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ปัจจุบันมีผู้พูดกระจายไปทั่วโลก ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอัสซีเรียแห่งตะวันออก มีผู้พูดราว 200,000 คน ในอิรัก ซีเรีย อิหร่าน อาร์มีเนีย จอร์เจีย และตุรกี เขียนด้วย อักษรซีรีแอก อักษรละติน และอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ด

ษาเคิร์ด (کوردی‎ คูร์ดี) มีผู้พูดราว 31 ล้านคน ในอิรัก (รวมทั้งในเขตปกครองตนเองของชาวเคิร์ด) อิหร่าน ตุรกี ซีเรีย เลบานอน จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ตระกูลอินโด-ยุโรป ภาษาที่ใกล้เคียงคือ ภาษาบาโลชิ ภาษาคิเลกิ และภาษาตาเลียส ภาษาเปอร์เซียที่อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้จัดเป็นภาษาใกล้เคียงด้วยแต่มีความแตกต่างมากกว่า 3 ภาษาข้างต้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดเหนือ

ษาเคิร์ดเหนือ หรือ ภาษากุรมันชี (Kurmanji, ภาษากุรมันชี: Bahdînî) เป็นสำเนียงของภาษาเคิร์ดที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกีและซีเรีย รวมทั้งประเทศในอดีตสหภาพโซเวียตและเลบานอน มีในอิรักและอิหร่านเป็นส่วนน้อ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและภาษาเคิร์ดเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขัน เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

มานามา

มานามา (المنامة; Manama) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศบาห์เรน มีประชากรราว 155,000 คน มานามาได้รวมเป็นเมืองหลวงของบาห์เรนหลังจากที่การปกครองของชาวโปรตุเกสและชาวเปอร์เซียก่อนหน้านี้ ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงที่ทันสมัย มีธุรกิจสำคัญเกี่ยวกับการซื้อขายน้ำมันดิบของเศรษฐก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมานามา · ดูเพิ่มเติม »

มาเฮอร์ เซน

มาเฮอร์ เซน (ماهر زين‎; เกิดเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1981) เป็นนักร้องชาวสวีเดนแนวอาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง และนักดนตรีที่มาจากเลบานอน เขาได้มีอัลบั้มชื่อว่า แทงกิ้วอัลลอฮ์ จากค่ายอเวคเคนนิงเรคอร์ดสในปี 2009 และ ฟอร์กีฟมี เมื่อเมษายน ปี 2012 จากสังกัดเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมาเฮอร์ เซน · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสเวิลด์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล (Mister International) เป็นการประกวดความงามชายก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2012

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2012 (Mister International 2012) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 7 จัดเมื่อวัน 24 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2012 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์โกลบอล 2015

มิสเตอร์โกลบอล 2015 (Mister Global 2015) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์โกลบอลครั้งที่ 2 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสเตอร์โกลบอล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์เวิลด์ 2016

มิสเตอร์เวิลด์ 2016 (Mister World 2016) เป็นครั้งที่ 9 ของการประกวดมิสเตอร์เวิลด์ ซึ่งจัดขึ้นที่ลอรัลฮอลล์ของศูนย์การประชุมเซาท์พอร์ต ใน เซาท์พอร์ต เดวอน สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิสเตอร์เวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิถุนายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

มิคา

มเคิล ฮอลบรูค เพ็นนิแมน.อาร. (Michael Holbrook Penniman J.R.) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ มิคา เพ็นนิแมน (Mica Penniman) เกิดวันที่ ที่ 18 สิงหาคม 2526 เลบานอน เติบโตในลอนดอน และปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นนักร้องสังกัด Casablanca Records และยูนิเวอร์ซัลมิวสิคกรุ๊ป เริ่มโด่งดังในฐานะนักร้องนักแต่งเพลงตั้งแต่ปลาย ค.ศ. 2006 หลังจากบันทึกอีพีแรกที่ชื่อ Dodgy Holiday มิคาได้ประกาศวางจำหน่ายสตูดิโออัลบั้ม Life in Cartoon Motion ภายใต้สังกัดไอส์แลนด์เรเคิดส์ ในปี 2007 อัลบั้ม Life in Cartoon Motion ทำยอดขายได้มากกว่า 5.6 ล้านก๊อปปี้ทั่วโลกและทำให้มิคาได้เสนอชื่อเข้าชิงรางวัลบริทอวอร์ดและรางวัลแกรมมี่ 2 ปีต่อมา มิกาวางจำหน่ายอีพีชุดที่สอง Songs for Sorrow รุ่นจำกัดจำนวนที่ขายหมดทั่วโลก และไม่กี่เดือนถัดมาสตูดิโออัลบั้มชุดต่อมา The Boy Who Knew Too Much ก็ถูกวางจำหน่ายต่อจากอีพี ขณะนี้มิคาเพื่งเสร็จจากการทัวร์คอนเสิร์ตรอบโลก และเตรียมงานสำหรับสตูดิโออัลบั้มชุดใหม่ ที่เขาพูดถึงว่า เป็นเพลงป็อบที่เนื้อหาเข้าใจง่าย, ไม่ซับซ้อนเหมือนกับอัลบั้มที่แล้ว มิคาจะเริ่มบันทึกเสียงในดือนมีนาคม 2554 นี้.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิคา · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-29

มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมิโคยัน มิก-29 · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและมีนาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่มาร์จอัยยัน

ทธการที่มาร์จอัยยัน (Battle of Marj Ayyun, Battle of Marj Ayyoun) เป็นการสู้รบในสงครามครูเสดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและยุทธการที่มาร์จอัยยัน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม หรือ ราชอาณาจักรละตินแห่งเยรูซาเลม (Kingdom of Jerusalem หรือ Latin Kingdom of Jerusalem) เป็นอาณาจักรคริสเตียนที่ก่อตั้งในบริเวณลว้าน (Levant) ในปี ค.ศ. 1099 หลังสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และยืนยงต่อมาร่วมสองร้อยปีจนถึงปี ค.ศ. 1291 เมื่อเอเคอร์ดินแดนสุดท้ายที่เป็นของอาณาจักรถูกทำลายโดยมามลุค (Mamluk) ในระยะแรกราชอาณาจักรเป็นเพียงกลุ่มเมืองใหญ่และเล็กที่รวมตัวกันอย่างหลวมๆ ระหว่างสงครามครูเสด ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดอาณาบริเวณที่ปัจจุบันคืออิสราเอล และอาณาดินแดนปาเลสไตน์ (Palestinian territory) ที่ครอบคลุมตั้งแต่บริเวณเลบานอนปัจจุบันไปจนถึงทางเหนือของทะเลทรายไซนายทางด้านไต้ ไปยังจอร์แดน และซีเรียทางด้านตะวันออก ระหว่างนั้นก็มีการพยายามที่จะขยายดินแดนไปยังฟาติมิยะห์ (Fatimid) อียิปต์ นอกจากนั้นพระมหากษัตริย์ของราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็ยังมีอำนาจบางอย่างเหนืออาณาจักรครูเสดอื่นๆ, ตริโปลี, อันติโอค, และเอเดสสา ประเพณีและระบบต่างที่ใช้ในอาณาจักรนำมาจากยุโรปตะวันตกกับนักการสงครามครูเสด ระบบการปกครองและความเกี่ยวดองกับยุโรปเป็นไปตลอดอายุของอาณาจักร แต่เมื่อเทียบกับอาณาจักรในยุโรปแล้วราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็เป็นเพียงอาณาจักรที่ค่อนข้างเล็กและมักจะขาดการหนุนหลังทางด้านการเงินและทางการทหารจากยุโรป ราชอาณาจักรเยรูซาเลมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราชอาณาจักรข้างเคียงมากกว่าเช่นราชอาณาจักรอาร์มิเนียแห่งซิลิเซีย (Armenian Kingdom of Cilicia) และจักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่ได้รับอิทธิพลตะวันออกมา นอกจากนั้นก็ยังได้รับอิทธิพลจากระบบมุสลิม แต่ทางด้านสังคมแล้วผู้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรจากยุโรปตะวันตกแทบไม่มีการติดต่อกับมุสลิมหรือชนคริสเตียนท้องถิ่นที่ปกครองเลย ในระยะแรกฝ่ายมุสลิมไม่มีความสนใจกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมเท่าใดนักจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่ออาณาจักรของมุสลิมเริ่มแข็งตัวขึ้นและเริ่มยึดดินแดนที่เสียไปคืนอย่างเป็นจริงเป็นจัง เยรูซาเลมเสียแก่ซาลาดินในปี ค.ศ. 1187 และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ดินแดนของราชอาณาจักรก็เหลือเพียงแถบตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนพร้อมกับเมืองสำคัญๆ สองสามเมือง ในช่วงนี้ราชอาณาจักรที่บางครั้งก็เรียกว่า “ราชอาณาจักรเอเคอร์” ก็ปกครองโดยราชวงศ์ลูซิยัน (Lusignan) ของนักครูเสดจากราชอาณาจักรไซปรัส และมีความสัมพันธ์ดีกับทริโปลี, อันติออคและอาร์มีเนีย และได้รับอิทธิพลจากสาธารณรัฐเวนิส และสาธารณรัฐเจนัว และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ขณะเดียวกันอาณาจักรมุสลิมรอบข้างก็รวมตัวกันภายใต้ราชวงศ์อัยยูบิด (Ayyubid) และต่อมาราชวงศ์มามลุคของอียิปต์ ราชอาณาจักรเยรูซาเลมจึงกลายเป็นเบี้ยประกันของการสงครามและการเมืองในบริเวณนั้น ที่ตามมาโดยการโจมตีโดย คแวเรซเมียน (Khwarezmians) และจักรวรรดิโมกุลราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในที่สุดก็ถูกมามลุคสุลต่านไบบาร์ส (Baibars) และอัล-อัชราฟ คาลิล (al-Ashraf Khalil) ยึดดินแดนที่เหลืออยู่ทั้งหมดได้ รวมทั้งการทำลายเอเคอร์ในปี ค.ศ. 1291.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและราชอาณาจักรเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์

รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ไม่ได้รับการรับรองจากรัฐสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งประเทศ การขาดการรับรองทางการทูตเป็นอุปสรรคต่อหน่วย (entity) ทางภูมิรัฐศาสตร์ร่วมสมัยซึ่งปรารถนาจะได้รับการรับรองเป็นรัฐเอกราชโดยนิตินัย ในอดีต เคยมีหน่วยที่คล้ายกัน และปัจจุบันมีหน่วยที่ประกาศอิสรภาพ ซึ่งมีการควบคุมดินแดนของตนโดยพฤตินัย โดยมีการรับรองแปรผันตั้งแต่ได้รับการรับรองจากรัฐที่ได้รับการรับรองอื่นแทบทั้งหมดไปจนถึงแทบไม่มีรัฐใดรับรองเลย มีสองลัทธิแต่เดิมที่มให้การตีความว่าเมื่อใดรัฐเอกราชโดยนิตินัยควรได้รับการรับรองเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศ ทฤษฎี "ประกาศ" (declarative) นิยามรัฐเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากเป็นไปตามเกณฑ์ต่อไปนี้: 1) มีดินแดนแน่นอน 2) มีประชากรถาวร 3) มีรัฐบาล และ 4) มีความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับรัฐอื่น ตามทฤษฎีประกาศ สภาพเป็นรัฐของหน่วยไม่ขึ้นอยู่กับการรับรองของรัฐอื่น ทว่า ทฤษฎี "ก่อตั้ง" นิยามรัฐว่าเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากได้รับการรับรองจากรัฐอื่นซึ่งเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศอยู่แล้ว หลายหน่วยอ้างลัทธิข้างต้นหนึ่งหรือทั้งสองลัทธิเพื่ออ้างความชอบของการอ้างสิทธิ์สภาพเป็นรัฐของหน่วย ตัวอย่างเช่น มีหน่วยที่เป็นไปตามเกณฑ์ทฤษฎีประกาศ (คือ มีการควบคุมเหนือดินแดนที่อ้างสิทธิ์อย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนโดยพฤตินัย มีรัฐบาลและประชากรถาวร) แต่สภาพเป็นรัฐของหน่วยเหล่านั้นไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอย่างน้อยหนึ่งรัฐ การไม่รับรองมักเป็นผลแห่งข้อขัดแย้งกับประเทศอื่นซึ่งอ้างว่าหน่วยเหล่านั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน ในกรณีอื่น หน่วยที่ได้รับการรับรองบางส่วนสองหน่วยหรือกว่านั้นอาจอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่เดียวกัน ซึ่งแต่ละหน่วยมีการควบคุมบางส่วนของพื้นที่นั้นโดยพฤตินัย (เช่นในกรณีสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐจีน และเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้) หน่วยซึ่งได้รับการรับรองจากรัฐส่วนน้อยของโลกปกติอ้างอิงลัทธิประกาศเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การอ้างสิทธิ์ของตน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย

นี่คือรายชื่อธงชาติประเทศและดินแดนของทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศแผนที่แสดงจำนวนผลผลิตมะเขือเทศของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศเลบานอน

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อปีในประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเลบานอน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเลบานอนทั้งสิ้น 5 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ครองตำแหน่งมิสยูเอสเอ

้านล่างนี้คือรายนามผู้ครองตำแหน่งมิสยูเอสเอ ผู้ที่ได้รับรางวัลมิสยูเอสเอ 8 คนได้รับเลือกให้เป็นนางงามจักรวาล โดยแสดงเป็นตัวหนา ตั้งแต่ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรายนามผู้ครองตำแหน่งมิสยูเอสเอ · ดูเพิ่มเติม »

รูลา ฆานี

รูลา ซาอ์เด ฆานี (رولا سعاده غنی; เกิด: ค.ศ. 1948) มีชื่อเดิมว่า รูลา เอฟ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและรูลา ฆานี · ดูเพิ่มเติม »

ลากวีลา

ลากวีลา (L'Aquila มีความหมายว่า "นกอินทรี") เป็นเมืองทางภาคกลางของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักทั้งของแคว้นอาบรุซโซและจังหวัดลากวีลา มีจำนวนประชากร 72,913 คน แต่ในช่วงกลางวันจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 100,000 คนเนื่องจากมีผู้เข้ามาเรียน ค้าขาย ทำงาน และท่องเที่ยว เมืองนี้ตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลางบนเนินเขาลูกหนึ่งในหุบเขาอันกว้างขวางของแม่น้ำอาแตร์โน-เปสการา ล้อมรอบด้วยเทือกเขาแอเพนไนน์ โดยมียอดเขากรันซัสโซดีตาเลียซึ่งเป็นภูเขาสูงและมีหิมะปกคลุมตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมือง ลากวีลาเป็นเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลาง ถนนแคบ ๆ ในตัวเมืองตัดกันจนเหมือนเป็นเขาวงกต มีโบสถ์อาคารสมัยบารอกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตั้งอยู่เรียงราย จนกระทั่งมุ่งไปสู่จัตุรัสที่สง่างาม เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยลากวีลา เมืองนี้จึงเป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่มีชีวิตชีวาแห่งหนึ่งและมีสถาบันทางวัฒนธรรมมากมาย ได้แก่ โรงละคร วงดุริยางค์ซิมโฟนี สถาบันวิจิตรศิลป์ เรือนเพาะชำของรัฐ และสถาบันภาพยนตร.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและลากวีลา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ลงนามในกฤษฎีกาให้เช่า-ยืม ภายหลังจากได้รับการลงคะแนนเสียงจากรัฐสภาแล้ว ทหารเยอรมันขณะทำการรบในกรีซ - เมษายน 1941 พลร่มเยอรมันถูกส่งไปยังเกาะครีต - พฤษภาคม 1941 รถถังแพนเซอร์ของเยอรมนีรุดหน้าผ่านทะเลทรายเปิด เส้นทางการรุกรานของกองทัพฝ่ายอักษะในปฏิบัติการบาร์บารอสซา - มิถุนายน 1941 เชลยศึกทหารโซเวียตถูกจับกุมหลังจากยุทธการแห่งมินสก์ ทหารเกณฑ์โซเวียตในมณฑลทหารบกเลนินกราด ประธานาธิบดีโรสเวลต์และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์พบกันบนดาดฟ้าของเรือรบหลวง ''พรินซ์ออฟเวลส์'' ระหว่างการประชุมเพื่อลงนามกฎบัตรแอตแลนติก - 10-12 สิงหาคม 1941 สตรีชาวโซเวียตขุดสนามเพลาะรอบกรุงมอสโกเพื่อเตรียมรับการโจมตีของกองทัพเยอรมนี กองทัพเยอรมันรุกไปตามท้องถนนของเมืองคาร์คอฟ - ตุลาคม 1941 การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์: เรือประจัญบาน ''แอริโซนา'' ถูกเพลิงไหม้หลังจากถูกโจมตีโดยเครื่องบินรบญี่ปุ่น - 7 ธันวาคม 1941.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941) · ดูเพิ่มเติม »

ลิแวนต์

ริเวณที่เรียกว่าลิแวนต์ บริเวณที่เรียกว่าลิแวนต์ปัจจุบันที่ประกอบด้วยจอร์แดน เลบานอน อิสราเอล ดินแดนปาเลสไตน์ และซีเรีย ลิแวนต์ (Levant; بلاد الشام, Bilad ash-Shām) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า อัชชาม (الشام, ash-Shām) ตามความหมายดั้งเดิมหมายถึงบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก แต่ในความหมายทางภูมิศาสตร์หมายถึงบริเวณอันกว้างใหญ่ในเอเชียตะวันตกทางฝั่งตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยมีเทือกเขาทอรัสเป็นเขตแดนทางตอนเหนือ ทะเลทรายอาหรับทางใต้ และทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันตก ขณะที่ทางตะวันออกเป็นเทือกเขาแซกรอส ลิแวนต์เดิมมีความหมายอย่างหลวม ๆ หมายถึง "ดินแดนเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออกของอิตาลี" มาจากภาษาฝรั่งเศสกลางที่แปลว่า "ตะวันออก" ในประวัติศาสตร์ การค้าขายระหว่างยุโรปตะวันตกกับจักรวรรดิออตโตมันเป็นเศรษฐกิจอันสำคัญของบริเวณนี้ คำว่าลิแวนต์โดยทั่วไปมีความหมายทางวัฒนธรรมมากกว่าที่จะเป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่ใดที่หนึ่งที่เฉพาะเจาะจง และความหมายของคำก็เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และทัศนคติในการอ้างอิง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและลิแวนต์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือกโซนเอเชีย จะมีสมาชิก 4 ประเทศผ่านเข้ารอบสุดท้ายที่จัดขึ้นในประเทศโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติเลบานอน

วอลเลย์บอลชายทีมชาติเลบานอน (منتخب لبنان لكرة الطائرة) เป็นทีมวอลเลย์บอลชายของประเทศเลบานอน ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเลบานอน และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาต.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวอลเลย์บอลชายทีมชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วันแรงงาน

หรดวันแรงงานในโทรอนโตในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1900 วันแรงงาน (Labour Day) เป็นวันหยุดประจำปีที่เฉลิมฉลองไปทั่วโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน เพื่อที่จะฉลองผลงานทางการเศรษฐกิจและสังคมของผู้ใช้แรงงาน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวันแรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วีตอเรีย

วีตอเรีย (Vitória) เป็นเมืองหลวงของรัฐเอสปีรีตูซานตู ประเทศบราซิล ตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ในอ่าวที่แม่น้ำบรรจบกับทะเล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและวีตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและศิลปศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย

อลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชียในปัจจุบัน สืบต่อจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อวันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) โดยมี เชค อะห์หมัด อัล-ฟาฮัด อัล-อะห์เหม็ด อัล-ซาบะห์ (Sheikh Ahmad Al-Fahad Al-Ahmed Al-Sabah) เป็นประธาน และสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงคูเวตซิตีของรัฐคูเวต.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์

มเด็จพระราชินีฟารีดา (الملكة فريده; พระราชสมภพ: 5 กันยายน พ.ศ. 2464 – สวรรคต: 16 ตุลาคม พ.ศ. 2531) หรือพระนามเดิม ซาฟินาซ ษูลฟิการ (صافيناز ذوالفقار Sāfināz Dhū l-Fiqār) เป็นอดีตพระราชินีในพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์เอเชียนเกมส์

หพันธ์กีฬาเอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; ชื่อย่อ: AGF) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชีย ระหว่างวันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ถึงวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งแทนที่ด้วยสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย โดยทั้งก่อตั้งขึ้นและปิดตัวลงในกรุงนิวเดลีของอินเดียเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสหพันธ์เอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสิงหาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสถาปัตยกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองซีเรีย

งครามกลางเมืองซีเรีย เป็นการขัดกันด้วยอาวุธหลายฝ่ายที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศซีเรีย โดยมีต่างชาติเข้าแทรกแซง ความไม่สงบเริ่มในต้นฤดูใบไม้ผลิปี 2554 ในบริบทการประท้วงอาหรับสปริง โดยมีการประท้วงทั่วประเทศต่อรัฐบาลประธานาธิบดีบัชชาร อัลอะซัด ซึ่งกำลังของเขาสนองโดยการปราบปรามอย่างรุนแรง ความขัดแย้งค่อย ๆ กลายจากการประท้วงของประชาชนเป็นการกบฏมีอาวุธหลังการล้อมทางทหารหลายเดือน รายงานสหประชาชาติฉบับหนึ่งในปลายปี 2555 อธิบายความขัดแย้งว่า "มีสภาพนิยมนิกาย (sectarian) อย่างเปิดเผย" ระหว่างกำลังรัฐบาล ทหารอาสาสมัครซึ่งส่วนใหญ่เป็นอะละวี (Alawite) และกลุ่มชีอะฮ์อื่น ต่อสู้กับกลุ่มกบฏซึ่งมีซุนนีครอบงำเป็นส่วนใหญ่ แม้ทั้งฝ่ายค้านและกำลังรัฐบาลต่างปฏิเสธ ทีแรกรัฐบาลซีเรียอาศัยกองทัพเป็นหลัก แต่ตั้งแต่ปี 2557 หน่วยป้องกันท้องถิ่นซึ่งประกอบจากอาสาสมัครที่เรียก กำลังป้องกันชาติ (National Defence Force) ได้มีบทบาทมากขึ้น ค่อย ๆ กลายเป็นกำลังทหารหลักของรัฐซีเรีย รัฐบาลซีเรียได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิค การเงิน การทหารและการเมืองจากประเทศรัสเซีย อิหร่านและอิรักมาตั้งแต่ต้น ในปี 2556 ฮิซบุลลอฮ์ที่อิหร่านสนับสนุนเข้าร่วมสงครามโดยสนับสนุนกองทัพซีเรีย รัสเซียเข้าร่วมปฏิบัติการทางอากาศตั้งแต่เดือนกัยายน 2558 เนื่องจากการเกี่ยวพันของต่างชาติ ความขัดแย้งนี้จึงถูกเรียกว่าเป็น สงครามตัวแทน ระหว่างชาติซุนนีและชีอะฮ์ภูมิภาค ที่สำคัญที่สุดคือความขัดแย้งตัวแทนระหว่างซาอุดีอาระเบียและอิหร่าน ในเดือนกันยายน 2558 รัสเซีย อิรัก อิหร่านและซีเรียตั้งห้องปฏิบัติการร่วม (ศูนย์สารสนเทศ) ในกรุงแบกแดดเพื่อประสานงานกิจกรรมของพวกตนในประเทศซีเรีย วันที่ 30 กันยายน 2558 ประเทศรัสเซียเริ่มการทัพทางอากาศของตนโดยเข้ากับฝ่ายและด้วยคำขอของรัฐบาลซีเรีย จึงเกิดสงครามตัวแทนระหว่างสหรัฐและรัสเซีย ซึ่งนักวิจารณ์บางส่วนบรรยายสถานการณ์ว่าเป็น "ก่อนสงครามโลกโดยมีประเทศเกือบโหลพัวพันในสองความขัดแย้งที่ทับซ้อนกัน" ฝ่ายค้านมีอาวุธประกอบด้วยหลายกลุ่มซึ่งก่อตั้งในห้วงความขัดแย้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กองทัพซีเรียเสรี (FSA) ซึ่งเป็นผู้แรกที่หยิบอาวุธในปี 2554 และแนวร่วมอิสลามซึ่งก่อตั้งในปี 2556 ฝ่ายทางตะวันออก รัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์ (ISIL) กลุ่มนักรบญิฮัดซึ่งกำเนิดในประเทศอิรัก ได้ชัยชนะทางทหารอย่างรวดเร็วทั้งในประเทศซีเรียและอิรัก จนลงเอยด้วยพิพาทกับกบฏอื่น ฝ่ายแนวร่วมนานาชาติที่มีสหรัฐเป็นผู้นำมีการสถาปนาขึ้นในปี 2557 โดยมีวัตถุประสงค์ที่ประกาศไว้ว่าเพื่อตอบโต้ ISIL และได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศต่อ ISIL ในซีเรีย ตลอดจนเป้าหมายบะอัธซีเรียและให้การสนับสนุนต่อสหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ สหรัฐเลิกให้การสนับสนุนด้านอาวุธโดยตรงต่อ FSA ในปี 2560; ปลายปี 2560 อิทธิพลและดินแดนควบคุมของ ISIL เสื่อมลง จนซีเรียประกาศว่าประเทศได้รับการปลดปล่อยจาก ISIL แล้ว ด้านตุรกีมีความเกี่ยวข้องในสงครามตั้งแต่ปี 2559 และสนับสนุนฝ่ายค้านซีเรียอย่างแข็งขันและยึดพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้างทางภาคเหนือของประเทศซีเรีย องค์การระหว่างประเทศกล่าวหารัฐบาลซีเรีย ISIL และกำลังฝ่ายค้านอื่นว่าละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง โดยเกิดการสังหารหมู่หลายครั้ง ความขัดแย้งนี้ทำให้เกิดการย้ายประชากรอย่างสำคัญ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 สหประชาชาติประกาศเริ่มการเจรจาสันติภาพซีเรียเจนีวาที่สหประชาชาติเป็นสื่อกลางอย่างเป็นทางการ โดยการสู้รบยังดำเนินไปโดยไม่มีทีท่าลดลง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสงครามกลางเมืองซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองเลบานอน

สงครามกลางเมืองเลบานอน เป็นสงครามกลางเมืองหลายด้านในประเทศเลบานอน กินเวลาตั้งแต่ปี 1975 ถึง 1990 และส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 120,000 คน ปัจจุบัน มีประมาณ 76,000 คนยังพลัดถิ่นอยู่ในประเทศ นอกจากนี้ ยังมีการอพยพครั้งใหญ่ประชาชนเกือบหนึ่งล้านคนจากประเทศอันเนื่องจากสงคราม หมวดหมู่:สงครามกลางเมือง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เลบานอน หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับเลบานอน หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับซีเรีย หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสงครามกลางเมืองเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองเซาท์ซูดาน

งครามกลางเมืองเซาท์ซูดาน เป็นความขัดแย้งในเซาท์ซูดานระหว่างกองกำลังของรัฐบาลและฝ่ายต่อต้าน ในเดือนธันวาคม 2556 เกิดการแก่งแย่งอำนาจทางการเมืองระหว่างประธานาธิบดีกีร์และอดีตผู้ช่วยของเขา รีค มาชาร์ (Riek Machar) เมื่อประธานาธิบดีกล่าวหามาชาร์และผู้อื่นอีกสิบคนว่าพยายามรัฐประหาร แม้ทั้งสองมีผู้สนับสนุนจากชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทั่วเซาท์ซูดาน แต่การสู้รบต่อมาเป็นชุมชน โดยกบฏมุ่งเป้าสมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ดิงกาของกีร์และทหารรัฐบาลโจมตีนูเออร์ ทหารยูกันดายังสู้รบร่วมกับกำลังรัฐบาลเซาท์ซูดานต่อกบฏ มีประมาณว่ามีผู้เสียชีวิตถึง 100,000 คนในความขัดแย้งระหว่างชาติพันธุ์ดิงกา-นูเออร์ ข้าราชการห้าคน รวมมาชาร์ ถูกพิจารณาฐานกบฏ ซึ่งทั้งหมดปฏิเสธข้อกล่าวหาโดยสิ้นเชิง ซึ่งผู้สังเกตการณ์เกรงว่าจะคุกคามการหยุดยิงล่าสุด มีผู้พลัดถิ่นกว่า 1,000,000 คนในเซาท์ซูดาน และกว่า 400,000 คนหลบหนีไปประเทศเพื่อนบ้าน"".

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสงครามกลางเมืองเซาท์ซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเลบานอน พ.ศ. 2549

แผนที่แสดงบริเวณขัดแย้ง (area of conflict) ความขัดแย้งอิสราเอล-เลบานอน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสงครามเลบานอน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์บัคส์

ตาร์บัคส์ (Starbucks) เป็นร้านกาแฟจากอเมริกาในเมืองซีแอตเทิลในรัฐวอชิงตัน ในปี ค.ศ. 1971 โดย กอร์ดอน โบเคอร์, เจอรี่ บัลด์วิน และซิฟ ซีเกิ้ล โดยตอนแรกใช้โลโก้เป็นรูปไซเรน 2 หาง ก่อตั้งในฐานะร้านขายเมล็ดกาแฟคั่ว ต่อมาปี 1982 สตาร์บัคส์มีสาขา 5 สาขา และโฮเวิร์ด ชูลทส์ได้เข้ามาร่วมงานด้วย โดยดูแลด้านการตลาดและค้าปลีก ซึ่งเขาเป็นผู้แนะนำให้สตาร์บัคส์เปิดเป็นบาร์กาแฟ แต่หลายคนก็ไม่เชื่อในวิสัยทัศน์ของเขา ต่อมาชูลทส์ได้ลาออกจากบริษัท ไปเปิดบาร์กาแฟของตนเองชื่อ อิล จิออร์เนล และจำหน่ายกาแฟของสตาร์บัคส์ ในปี 1987 สตาร์บัคส์ประสบปัญหายุ่งยากจากการไม่สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้ ปี 1988 อิล จิออร์เนลจึงซื้อกิจการด้านค้าปลีกไว้พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สตาร์บัคส์ คอร์ปอเรชั่น และจ้างนักบริหารมืออาชีพเข้ามาดูแล ปี 1992 สตาร์บัคส์ได้เข้าตลาดหลักทรัพย์ และในปี 1996 สตาร์บัคส์ได้เปิดสาขาแรกนอกอเมริกาเหนือที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมากกว่า 1 ใน 3 ของร้านสตาร์บัคส์ทั้งหมดอยู่ในต่างประเทศ โดยเฉลี่ยแล้วสตาร์บัคส์เปิดสาขาใหม่เพิ่มวันละ 2 สาขาระหว่างปี 1987 และ 2007 บริษัทได้เริ่ม Caffe Starbucks เป็นระบบบริการออนไลน์โดยอาศัยเครือข่ายของ เอโอแอล สัญลักษณ์ของสตาร์บัคส์ครั้งแรกนั้นเป็นรูปนางเงือก ซึ่งเป็น นางเงือกไซเรนสองหาง (Norse Siren) ในเทพนิยายปรัมปรา เพื่อให้นึกถึงการผจญภัยในทะเล และปรับเปลี่ยนหลายครั้งและล่าสุดคือ..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสตาร์บัคส์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาจันทรา

วามตกลงว่าด้วยกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์และเทห์ฟากฟ้าอื่น (Agreement Governing the Activities of States on the Moon and Other Celestial Bodies) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สนธิสัญญาจันทรา" (Moon Treaty) หรือ "ความตกลงจันทรา" (Moon Agreement) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดให้บรรดาเทห์ฟากฟ้าและวัตถุที่โคจรรอบเทห์ฟากฟ้า เป็นพื้นที่ในเขตอำนาจของประชาคมโลก ส่งผลให้กิจกรรมทั้งปวงในพื้นที่ดังกล่าวต้องเป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ น่าเสียดายที่ความตกลงนี้ไม่ประสบผลสำเร็จดังคาดหมายกัน เนื่องเพราะไม่ได้รับความร่วมมือจากรัฐชาติที่ดำเนินหรือจะดำเนินการสำรวจอวกาศโดยมนุษย์ด้วยตนเองแม้แต่รัฐเดียว รัฐเหล่านี้ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น อินเดีย และ อิหร่าน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสนธิสัญญาจันทรา · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ. 2494) เป็นสนธิสัญญาที่นำไปสู่การยุติสงครามระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศร่วมลงนามในสัญญาอีก 49 ประเทศ ประเทศต่างๆ เหล่านี้ได้แก่ประเทศที่ได้ประกาศสงครามกับญี่ปุ่น ยกเว้นรัสเซีย จีนไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่และประเทศอื่นเคยอยู่ในการยึดครองของญี่ปุ่นระหว่างสงคราม ที่ประกาศตั้งเป็นรัฐใหม่หลังการประกาศยอมแพ้ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2488 สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก เป็นสัญญาที่นำไปสู่การยุติการยึดครองประเทศญี่ปุ่นของประเทศต่าง ๆ หลังการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข และเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการรับญี่ปุ่นเข้าร่วมกับประชาคมโลกในฐานะเท่าเทียมกันอีกครั้งหนึ่ง มีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

หยาดหิมะ

กาแลนธัส (Galanthus หรือ Snowdrop) เป็นพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 สปีชีส์ ที่รู้จักกันในชื่อง่ายๆ ว่า หยาดหิมะ เป็นดอกไม้หนึ่งในดอกไม้ชนิดแรกที่บานในฤดูใบไม้ผลิ แต่ก็มีบางสายพันธุ์ที่บานตอนปลายฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว “หยาดหิมะ” บางครั้งก็สับสนกับ “เกล็ดหิมะ” (Spring Snowflake) ที่อยู่ในสปีชีส์ “Galanthus nivalis” ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่แพร่หลายที่สุดในสกุลนี้ ถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรป ตั้งแต่เทือกเขาพิเรนีสทางตะวันตกไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี โปแลนด์ อิตาลี ตอนเหนือของกรีซ และตุรกีในยุโรป กาแลนธัสถูกนำไปปลูกในบริเวณอื่นและขึ้นงามดี แม้ว่ามักจะคิดกันว่าเป็นดอกไม้ป่าท้องถิ่นของอังกฤษแต่อันที่จริงแล้วเป็นสายพันธุ์ที่อาจจะนำเข้ามาในอังกฤษโดยโรมัน หรืออาจจะราวประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 สปีชีส์ส่วนใหญ่มาจากทางตะวันออกของเมดิเตอเรเนียน แต่ก็มีบ้างที่มาจากทางใต้ของรัสเซีย จอร์เจีย และ อาเซอร์ไบจาน ส่วน “Galanthus fosteri” มาจาก จอร์แดน เลบานอน ซีเรีย ตุรกี และอาจจะจากอิสราเอล หยาดหิมะทุกสายพันธุ์เป็นพืชยืนต้นที่ปลูกจากหัว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและหยาดหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีรีแอก

หนังสือเขียนด้วยอักษรซีรีแอก อักษรซีรีแอก (Syriac script) เป็นอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราว..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอักษรซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

อัลกุรนะฮ์อัสเซาดาอ์

อัลกุรนะฮ์อัสเซาดาอ์ อัลกุรนะฮ์อัสเซาดาอ์ (القرنة السوداء; Qurnat as Sawdā’) เป็นภูเขาในประเทศเลบานอนในทิวเขาเลบานอน เป็นจุดสูงที่สุดของประเทศ มีความสูง 3,088 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง ที่ความสูง 1,800 ม. ปกคลุมด้วยหิมะตลอด 4 เดือนต่อปี และที่ความสูงมากกว่า 2,500 ม. ปกคลุมด้วยหิมะ 6 เดือนต่อปี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอัลกุรนะฮ์อัสเซาดาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัสบัต อัลอันซาร์

อัสบัต อัลอันซาร์ (Asbat an-Ansarr หรือ Osbat al-Ansar) เป็นกลุ่มของมุสลิมปาเลสไตน์นิกายซุนนีหัวรุนแรง ฐานที่มั่นอยู่ในเลบานอน มีความร่วมมือกับกลุ่มอัลกออิดะฮ์ จุดหมายขององค์กรคือล้มล้างรัฐบาลเลบานอนและทำลายแนวคิดที่ต่อต้านอิสลาม กลุ่มนี้เริ่มเปิดการโจมตีในเลบานอนตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอัสบัต อัลอันซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับวินเทอร์

อาหรับวินเทอร์ (Arab Winter) เป็นคำที่ใช้อธิบายสถานการณ์ความรุนแรงและความผันผวนทางการเมืองในโลกอาหรับ ซึ่งเกิดขึ้นหลัง "อาหรับสปริง" อันได้แก่ สงครามกลางเมืองซีเรีย, เหตุจลาจลในอิรัก, วิกฤตการณ์ในอียิปต์ และวิกฤตการณ์ในเยเมน รวมไปถึงความขัดแย้งอื่นๆ ในเลบานอน, ลิเบีย, ตูนิเซียและบาห์เรน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอาหรับวินเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับสปริง

อาหรับสปริง (Arab Spring, الثورات العربية‎ al-Thawrāt al-ʻArabiyyah) เป็นคลื่นปฏิวัติการเดินขบวน การประท้วงและสงครามซึ่งเกิดขึ้นในโลกอาหรับตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2553 ตราบจนปัจจุบัน ผู้ปกครองถูกโค่นจากอำนาจในตูนิเซีย อียิปต์ ลิเบีย และเยเมน การก่อการกำเริบพลเมืองอุบัติขึ้นในบาห์เรน และซีเรีย การประท้วงใหญ่เกิดขึ้นในอัลจีเรีย อิรัก จอร์แดน คูเวต โมร็อกโก และซูดาน และการประท้วงเล็กเกิดในเลบานอน มอริเตเนีย โอมาน ซาอุดิอาระเบีย จิบูตี และเวสเทิร์นสะฮารา การประท้วงมีเทคนิคการดื้อแพ่งร่วมกันในการรณรงค์ต่อเนื่องซึ่งเกี่ยวข้องกับการนัดหยุดงาน การเดินขบวน การเดินแถว และการชุมนม เช่นเดียวกับการใช้โซเชียลมีเดียในการจัดระเบียบ สื่อสารและสร้างความตระหนักเมื่อเผชิญกับความพยายามของรัฐในการปราบปรามและตรวจพิจารณาอินเทอร์เน็ต การเดินขบวนอาหรับสปริงหลายประเทศเผชิญกับการตอบสนองรุนแรงจากทางการ เช่นเดียวกับทหารอาสาสมัครนิยมรัฐบาลและการเดินขบวนโต้ตอบ การโจมตีเหล่านี้ได้รับการสนองจากผู้ประท้วงด้วยความรุนแรงในบางกรณี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอาหรับสปริง · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร อัชชะรีฟ

อุมัร อัชชะรีฟ (عمر الشريف; Omar al-Sharif; 10 เมษายน ค.ศ. 1932 – 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักแสดงชาวอียิปต์ที่เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ และเคยได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ มีชื่อเสียงจากบทบาทในภาพยนตร์เรื่อง ลอว์เรนซ์ออฟอาระเบีย (Lawrence of Arabia - 1962) คู่กับปีเตอร์ โอ ทูล, ดอกเตอร์ชิวาโก (Doctor Zhivago, 1965) คู่กับจูลี คริสตี และบุษบาหน้าเป็น (Funny Girl, 1968) คู่กับบาร์บารา สไตรแซนด์ อุมัร อัชชะรีฟ เกิดที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ในครอบครัวที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เชื้อสายเลบานอน เดิมชื่อว่า ไมเคิล ดิมีตรี ชัลฮูบ (Michael Demitri Shalhoub) จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยไคโร เข้าสู่วงการแสดงตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอุมัร อัชชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันนิบาล

ันนิบาล บาร์กา (Hannibal Barca) (248 ปีก่อนคริสตกาล ถึง 184 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นรัฐบุรษคาร์เทจ และแม่ทัพผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในยุคโบราณ เพราะเขาบุกโจมตีโรมและทำศึกโดยไร้พ่ายนานกว่า 15 ปี โดยใช้กลยุทธ์และยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ในการรบ บิดาของฮันนิบาลเป็นแม่ทัพใหญ่แห่งคาร์เทจ ชื่อ ฮามิลการ์ บาร์กา (Hamilcar Barca) เสียชีวิตในการรบเพื่อกำราบชนพื้นเมืองในคาบสมุทรไอบีเรีย ฮัสดรูบาล (Hasdrubal the Fair) บุตรเขยจึงรับหน้าที่เป็นแม่ทัพต่อจากเขา ฮัสดรูบาลสามารถสร้างกองทัพคาร์เทจใหม่ได้สำเร็จ แต่ไม่นานเขาก็สิ้นชีวิตลงเนื่องจากถูกชนพื้นเมืองชาวเคลต์ลอบสังหาร และก่อนที่คำสั่งแต่งตั้งแม่ทัพคนใหม่จากคาร์เทจจะมาถึง เหล่าทหารก็ยกให้ฮันนิบาลขึ้นเป็นแม่ทัพใหญ่แห่งคาร์ธาจีนา (ศูนย์กลางของชาวคาร์เทจในไอบีเรีย) หลังจากรับตำแหน่ง ฮันนิบาลยังไม่วางแผนโจมตีโรมในทันที เนื่องจากต้องการสร้างพันธมิตรที่เข้มแข็งกับบรรดาเมืองและชนเผ่าต่าง ๆ ในคาบสมุทรไอบีเรียเสียก่อน ทว่าในบรรดาเมืองเหล่านั้น นครซากุนโต (Sagunto) ซึ่งมีเหมืองเงินที่อุดมสมบูรณ์ได้ขอเป็นพันธมิตรกับโรมและปฏิเสธข้อเสนอของฮันนิบาล นอกจากนี้ ซากุนโตยังวางแผนที่จะดึงพันธมิตรต่าง ๆ ในไอบีเรียไปจากคาร์เทจอีกด้วย ฮันนิบาลจึงตัดสินใจเข้าโจมตีซากุนโตในปี พ.ศ. 324 แม้จะรู้ว่านั่นหมายถึงสงครามกับโรมก็ตาม หลังจากล้อมอยู่ไม่นาน ทัพคาร์เทจก็พิชิตซากุนโตได้สำเร็จ ทางโรมทราบเรื่องด้วยความไม่พอใจมาก แต่เนื่องจากยังไม่ต้องการทำสงคราม ดังนั้น ทางสภาโรมจึงสั่งให้คาร์เทจส่งตัวฮันนิบาลไปยังโรม ฮันนิบาลปฏิเสธและระดมกองทัพทันที และในปี พ.ศ. 325 สงครามพิวนิกครั้งที่สอง ก็เริ่มขึ้น ฮันนิบาลแม่ทัพหนุ่มวัย 29 ปี ยกกองทัพอันประกอบด้วยทหารราบคาร์เทจและสเปน 70,000 นาย ทหารม้านูมิเดียน 12,000 นาย และช้างศึกหุ้มเกราะ 40 เชือก ออกจากการ์ตาโกโนวา ทางโรมเชื่อว่าฮันนิบาลจะเข้าตีโรมโดยทางเรือ จึงเตรียมการป้องกันตลอดแนวชายฝั่ง ทว่าฮันนิบาลทำสิ่งที่ไม่มีใครคาดคิด คือการรุกข้ามเทือกเขาพิเรนีสและเทือกเขาแอลป์เข้าไปทางตอนเหนือของคาบสมุทรอิตาลี รวมทั้งสามารถเอาชนะกองทัพโรมันได้ในการรบอีกหลายครั้ง แผนที่เส้นทางเดินทัพทางบกของฮันนิบาล ด้วยความเอื้อเฟื้อจากภาควิชาประวัติศาสตร์ วิทยาลัยการทหารสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม การรุกรานแอฟริกาเหนือของโรมันก็ทำให้ฮันนิบาลต้องถอนทหารกลับไปป้องกันเมืองคาร์เทจในยุทธการที่ซามา ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ครั้งสุดท้ายของสงครามพิวนิกครั้งที่สอง เขาได้พ่ายแพ้ให้กับกองทัพโรมันที่นำโดยสกีปีโอ อาฟรีกานุส (Scipio Africanus) โดยเมืองคาร์เทจต้องยอมจำนนต่อกรุงโรมหลังจากที่สูญเสียทหารไปกว่า 30,000 คน และต้องเสียคาบสมุทรไอบีเรียให้กับโรมันไปอีกด้วย ต่อมาอีก 14 ปี โรมันก็ได้เรียกร้องให้ฮันนิบาลยอมมอบตัว เขาจึงเนรเทศตัวเองไปอยู่ที่เมืองไทร์ (ปัจจุบันอยู่ในเลบานอน) ซึ่งเป็นเมืองแม่ของคาร์เทจ (ชาวฟินิเชียนจากเมืองไทร์เป็นผู้ก่อตั้งเมืองนี้) และจากนั้นจึงเดินทางไปที่เมืองเอเฟซุส (ปัจจุบันอยู่ในตุรกี) ขณะอยู่ที่เอเฟซุส ฮันนิบาลพยายามสนับสนุนพระเจ้าอันตีโอกุสที่ 3 (Antiochus III) กษัตริย์แห่งเมืองนั้นให้ทรงทำสงครามกับโรมัน และเขาก็ได้บัญชาการทัพเรือของพระองค์ในปี พ.ศ. 348 แต่ก็พ่ายแพ้ในยุทธการใกล้แม่น้ำยูริเมดอน เขาจึงหนีจากเอเฟซุส (ซึ่งมีทีท่าว่าจะส่งตัวเขาให้กับโรมันด้วย) ไปอยู่เกาะครีต แต่จากนั้นไม่นานก็กลับมาที่เอเชียไมเนอร์อีกครั้ง โดยขอลี้ภัยกับพระเจ้าปรูซีอัสที่ 1 (Prusias I) แห่งบิทิเนีย ฮันนิบาลได้ช่วยพระองค์รบกับกองทัพจากเมืองเปอร์กามอนซึ่งเป็นพันธมิตรของโรมัน อย่างไรก็ตาม ฝ่ายโรมันก็ยังยืนกรานที่จะให้เขามอบตัว ซึ่งพระเจ้าปรูซีอัสที่ 1 ก็ทรงยินยอมที่จะส่งตัวฮันนิบาลให้ ในที่สุดเมื่อสิ้นหนทางหนี เขาจึงตัดสินใจที่จะไม่ตกไปอยู่ในเงื้อมมือของศัตรูโดยจบชีวิตของตนลงด้วยการดื่มยาพิษในปี พ.ศ. 360 ที่เมืองลิบิสซา ริมชายฝั่งตะวันออกของทะเลมาร์มะรา แม้ว่าจะไม่อาจเอาชนะโรมได้อีก แต่ฮันนิบาลก็ได้ชื่อว่าเป็นยอดแห่งแม่ทัพของโลกคนหนึ่ง ด้วยว่าตลอดเวลา 15 ปีที่เขาทำศึกในดินแดนโรมันนั้น ฮันนิบาลไม่เคยพ่ายแพ้แม้แต่ครั้งเดียว ทั้ง ๆ ที่เขาไม่ได้รับกำลังสนับสนุนจากใครเล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฮันนิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซบุลลอฮ์

วามหมายอื่นของ ฮิซบุลลอฮ์ ดูที่ ฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม) ฮิซบุลลอฮ์ (Hezbollah; حزب الله "พรรคแห่งอัลลอฮ์") สื่อเมืองไทยสะกด ฮิซบอลเลาะห์ หรือ ฮิซบอลลาห์ เป็นองค์กรและพรรคการเมืองของชาวมุสลิมชีอะฮ์ในเลบานอน ซึ่งมีกองทัพของตนเอง ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1982 อันเป็นปีที่อิสราเอลบุกรุกเลบานอน โดยมีจุดประสงค์เพื่อขับไล่กองทัพอิสราเอลที่ยึดครองเลบานอน จนสามารถต่อสู้และขับไล่ทัพอิสราเอลออกจากเลบานอนได้ในปี ค.ศ. 2000 เลขาธิการใหญ่ของพรรคฮิซบุลลอฮ์คือ ซัยยิด ฮะซัน นัศรุลลอห.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฮิซบุลลอฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม)

ซบุลลอฮ์ (ภาษาอาหรับ หมายถึงพรรคของพระเจ้า) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ด

ซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ด (Kurdish Hezbollah; เคิร์ด: Hizbullahî Kurdî) หรือ ฮิซบุลลอฮ์ชาวเติร์ก เป็นกองกำลังทหารอิสลามนิกายซุนนีของชาวเคิร์ดในตุรกี ก่อตั้งเมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและฮิซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอะคีเมนิด

ักรวรรดิอะคีเมนียะห์ หรือ จักรวรรดิเปอร์เชียอะคีเมนียะห์ (Achaemenid Empire หรือ Achaemenid Persian Empire, هخامنشیان) (550–330 ก.ค.ศ.) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิแรกของจักรวรรดิเปอร์เชียที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของเกรตเตอร์อิหร่านที่ตามมาจากจักรวรรดิมีเดีย ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดจักรวรรดิอะคีเมนียะห์มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7.5 ล้านตารางกิโลเมตร ที่ทำให้เป็นจักรวรรดิที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และเป็นจักรวรรดิที่วางรากฐานของระบบการปกครองจากศูนย์กลางSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty) จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปที่รวมทั้งดินแดนในอัฟกานิสถาน และ ปากีสถาน, บางส่วนของเอเชียกลาง, อานาโตเลีย, เธรซ, บริเวณริมฝั่งทะเลดำส่วนใหญ่, อิรัก, ตอนเหนือของซาอุดีอาระเบีย, จอร์แดน, ปาเลสไตน์, เลบานอน, ซีเรีย และอียิปต์ไปจนถึงลิเบีย จักรวรรดิอะคีเมนียะห์เป็นศัตรูของนครรัฐกรีกในสงครามกรีซ-เปอร์เชีย เพราะไปปล่อยชาวยิวจากบาบิโลเนีย และในการก่อตั้งให้ภาษาอราเมอิกเป็นภาษาราชการ และพ่ายแพ้ต่ออเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 330 ก่อนคริสต์ศักราช ความสำคัญทางประวัติศาสตร์โลกของจักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชก็คือกาวางรากฐานที่ได้รับความสำเร็จของระบบการบริหารการปกครองจากศูนย์กลาง และของรัฐบาลที่มีปรัชญาในการสร้างประโยชน์ให้แก่มวลชนSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและจักรวรรดิอะคีเมนิด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและจักรวรรดินิยม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์

รายชื่อนี้เป็นจุดหมายปลายทางการเดินทางที่สายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์เปิดให้บริการ ตามข้อมูลในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและจุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเลบานอน

งชาติเลบานอน (علم لبنان) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงภายในแบ่งเป็น 3 ส่วนตามแนวนอน เป็นสีแดง-ขาว-แดง ตามลำดับ โดยแถบสีขาวมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีแดง (สัดส่วนริ้วธง 1:2:1) ที่กลางธงในแถบสีขาวมีรูปต้นซีดาร์สีเขียว มีความกว้างเป็นหนึ่งในสามส่วนของด้านยาวของธง และความสูงของต้นซีดาร์นั้นจรดแถบสีแดงทั้งสองด้านพอดี ธงนี้ได้ออกแบบขึ้นที่บ้านของซาเอ็บ ซาลาม (Saeb Salam) สมาชิกรัฐสภาเลบานอน ที่เมืองมูไซเบฮ์ (Mousaitbeh) และได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแห่งเลบานอนให้ใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2486 โดยทั่วไปแล้วมักเกิดความเข้าใจผิดว่า สีของลำต้นต้นซีดาร์ในธงนี้ควรเป็นสีดำหรือสีน้ำตาล แต่ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเลบานอน หมวด 1 มาตรา 5 ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า รูปต้นซีดาร์ต้องเป็นสีเขียวทั้งหมดเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและธงชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ท่อส่งแก๊สอาหรับ

ท่อส่งแก๊สอาหรับ (Arab Gas Pipeline) เป็นท่อที่ส่งออกแก๊สธรรมชาติของอียิปต์ไปยังตะวันออกกลางและอาจไปถึงทวีปยุโรปด้วยการสร้างส่วนขยายในอนาคต เมื่อก่อสร้างเสร็จ ท่อส่งแก๊สดังกล่าวจะมีความยาวรวมกว่า 1,200 กิโลเมตร มีมูลค่าก่อสร้าง 1.2 พันล้านดอลล่าร์สหรั.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและท่อส่งแก๊สอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอมัล

งขบวนการอมัล ขบวนการอมัล (Amal movement; ภาษาอาหรับ: ตัวย่อของ أفواج المقاومة اللبنانية Afwâj al-Muqâwmat al-Lubnâniyya, หรือ حركة أمل; Harakat Amal) เป็นชื่อย่อของแนวป้องกันเลบานอน อมัลกลายเป็นกองทัพมุสลิมชีอะห์ที่สำคัญในสงครามกลางเมืองเลบานอน การเติบโตของอมัลเกิดจากความใกล้ชิดกับระบบสังคมอิสลามของอิหร่าน และผู้อพยพนิกายชีอะห์ 300,000 คนจากเลบานอนภาคใต้ ซึ่งอพยพมาเนื่องจากการถูกอิสราเอลโจมตีใน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและขบวนการอมัล · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน

thumb ขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน หรือ กองกำลังเพื่อการปลดปล่อยแห่งชาติอิหร่าน (People ’s Mujahidin of Iran;PMOI, หรือ MEK, MKO; سازمان مجاهدين خلق ايران sāzmān-e mojāhedin-e khalq-e īrān) เป็นองค์กรสังคมนิยมอิสลามที่ต่อต้านรัฐบาลปัจจุบันของอิหร่าน นิยมลัทธิมาร์กและอิสลาม ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973

้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973 เกี่ยวกับสถานการณ์ในลิเบีย ได้มีการตกลงรับเมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973 · ดูเพิ่มเติม »

ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ

้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees, คำย่อ UNHCR) เป็นองค์การที่รับภารกิจหน้าที่จาก UNRRA: United Nations Relief and Rehabilitation Administration ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2486 โดยแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ ประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา ทำหน้าที่ช่วยเหลือการกลับถิ่นฐานเดิมของผู้ลี้ภัยจำนวนกว่า 8 ล้านคน ซึ่งเกิดจากการสู้รบในสงครามโลกครั้งที่ 2 สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2493 โดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ภารกิจหลัก คือ การปกป้องและสนับสนุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยทั่วโลก ตามข้อเรียกร้องของรัฐบาลในแต่ละประเทศหรือข้อเรียกร้องของสหประชาชาติ นอกจากนี้ สำนักงานฯ ยังมีหน้าที่สำคัญในการส่งผู้ลี้ภัยกลับประเทศต้นทาง หรือ ประเทศที่สามเพื่อตั้งถิ่นฐานใหม่ สำนักงานฯ มีภารกิจหลักคือ เป็นผู้นำและประสานงานในการรวบรวมความช่วยเหลือจากนานาประเทศ เพื่อปกป้องและแก้ปัญหาของผู้ลี้ภัยทั่วโลก และการปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ลี้ภัย โดยเฉพาะสิทธิที่จะอาศัยอยู่อย่างปลอดภัยในรัฐอื่น เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับทางออกที่ยั่งยืน ซึ่งได้แก่การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิมโดยสมัครใจ (voluntary repatriation) การตั้งถิ่นฐานในรัฐผู้รับ (local integration) หรือการไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม (third country resettlement) และภารกิจที่ตามมาคือ การปกป้องและให้ความช่วยเหลือตามหลักมนุษยธรรมแก่บุคคลในความห่วงใย (person of concern, POC) กลุ่มอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ผู้แสวงหาที่พักพิง (asylum seeker) ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced person) บุคคลไร้รัฐ (stateless person) และผู้ที่เดินทางกลับประเทศต้นทาง (returnee) ภารกิจของสำนักงานฯ ในขณะนี้ มักจะอยู่ในประเทศที่ยังคงมีสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่ปกติและประเทศใกล้เคียง เช่น เลบานอน ซูดาน ชาด อิรัก อัฟกานิสถาน เคนยา อย่างไรก็ตาม สำนักงานฯ ยังมีภารกิจครอบคลุมไปถึงผู้ที่หนีภัยจากการประหัตประหาร และผู้ที่พลัดถิ่นอันเนื่องมาจากภัยพิบัติอีกด้วย ทั้งนี้ สำนักงานฯ มีสำนักงานระดับภูมิภาคในประเทศไทยที่อาคารสำนักงานสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอก สำนักงานฯ ได้รับรางวัลโนเบลสันติภาพในปี พ.ศ. 2497 และ พ.ศ. 2524 ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ นายฟีลิปโป กรันดี (Filippo Grandi) นักการทูตชาวอิตาลี และประธานคณะกรรมการบริหารสำนักงานฯ คนปัจจุบันได้แก่ นาย Carsten Staur เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเดนมาร์กประจำสำนักงานสหประชาชาติ ณ นครเจนีว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ดามัสกัส

มัสกัส (Damascus) เป็นเมืองหลวงของประเทศซีเรีย เป็นเมืองเก่าแก่ซึ่งมีผู้อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ตั้งแต่ 2,457 ปีก่อนพุทธศักราช มีมัสยิดเก่าที่สร้างตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและดามัสกัส · ดูเพิ่มเติม »

ดูไบ

ูไบ (دبيّ, Dubayy; Dubai) เป็นนครใหญ่สุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีพื้นที่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 2 ล้านคน เมืองดูไบถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งบนโลก และมีอัตราการเจริญเติบโตของเมืองสูงมาก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ครักเดเชอวาลีเย

รักเดเชอวาลีเย (Krak des Chevaliers, Crac des Chevaliers) หรือ ก็อลอะฮ์อัลฮิศน์ (قلعة الحصن) เป็นปราสาทครูเสดที่ตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ครักเดเชอวาลีเยเป็นปราสาทที่มีความสำคัญในการเป็นปราสาททางการทหารจากยุคกลางที่อยู่ในสภาพที่ดีที่สุดในโลก คำว่า "Krak" ในชื่อมาจากภาษาซีรีแอก "karak" ที่แปลว่าป้อมปราการ ปราสาทอยู่ห่างจากเมืองฮอมส์ไปทางตะวันตกราว 65 ใกล้กับพรมแดนเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและครักเดเชอวาลีเย · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริสปีครีม

ริสปีครีม (Krispy Kreme) เป็นชื่อร้านโดนัทที่มีชื่อเสียงจากสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งในปี..1937 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมือง วินสตัน-แซเลม รัฐนอร์ทแคโรไลนา คริสปีครีมก่อตั้งโดย เวอร์นอน รูดอล์ฟ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคริสปีครีม · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิกตะวันออก

ระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก หรือ ศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออก (Eastern Catholic Churches) เป็นคริสตศาสนจักรตะวันออก 23 ศาสนจักรที่ร่วมเอกภาพสมบูรณ์กับพระสันตะปาปาแห่งโรมโดยยอมรับพระองค์เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรแต่มีอำนาจปกครองตนเอง มีจารีตธรรมประเพณีเป็นของตนเองและเป็นส่วนหนึ่งของนิกายคาทอลิกทั่วโลก สถานะพิเศษของศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออกได้รับการรับรองโดยกฤษฎีกาจากสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ใน Orientalium ecclesiarum (กฤษฎีกาว่าด้วยพระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก) จากข้อมูลหนังสือ Annuario Pontificio ฉบับปี 2016 ได้ให้ข้อมูลว่ามีคริสตศาสนิกชนนิกายคาทอลิกที่เป็นคาทอลิกตะวันออกเกือบ 18 ล้านคน (จำนวนทั้งสิ้น 17,881,222 คน) คิดเป็นประมาณ 1.4-1.5% ของจำนวนคริสตศาสนิกชนคาทอลิกทั้งหมดและกระจายออกไปทั่วโลก ตราอาร์มของพระอัครสังฆราชใหญ่สวีอาโตสลาฟ เชฟชุคแห่งศาสนจักรยูเครนกรีกคาทอลิก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคาทอลิกตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

คานาอัน

แผนที่ประเทศอิสราเอลปัจจุบัน ตามคัมภีร์ฮีบรู คานาอันคือบริเวณที่ล้อมรอบด้วยเส้นสีแดง คานาอัน (ฟินิเชีย: 𐤊‏𐤍‏𐤏‏𐤍‏, Kana'n; כְּנָעַן‎ kna-an; كنعان Kanaʿān) คือ ดินแดนของชนเผ่าที่พูดภาษาเซมิติกราวปลายสหัสวรรตที่ 2 ก่อนคริสต์กาล ปัจจุบันครอบคลุมพื้นที่ลิแวนต์ใต้ในตะวันออกกลาง ตรงกับบริเวณที่ตั้งประเทศอิสราเอล เลบานอน ดินแดนปาเลสไตน์ และบางส่วนของประเทศซีเรียและประเทศอียิปต์ มีชายฝั่งทางทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คำว่า คานาอัน ปรากฏอยู่บ่อยครั้งในคัมภีร์ไบเบิ้ล หรือพันธสัญญาเดิม โดยบรรยายว่าเป็นดินแดนที่พระยาห์เวห์สัญญามอบให้แก่วงศ์วานอิสราเอล หมวดหมู่:ตะวันออกกลาง หมวดหมู่:อาณาจักรโบราณ.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคานาอัน · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คูเวตซิตี

ูเวตซิตี (Kuwait City) หรือ มะดีนะฮ์อัลกุวัยต์ (مدينة الكويت) เป็นเมืองหลวงของคูเวต ตั้งอยู่ในเขตอัลอาสิมะห์ มีประชากร 32,403 คน (จากการสำรวจเมื่อพ.ศ. 2548) เป็นที่รู้จักภายในประเทศในชื่อ อัล เดียรา (Al-Diera - ألديره) แปลว่า เมือง เป็นที่ตั้งของรัฐสภาของคูเวต (มัจลิสัล อุมมา) สำนักงานส่วนใหญ่ของรัฐบาล และหอคูเวต (Kuwait Towers) มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ 29°22'11" เหนือ 47°58'42" ตะวันออก (29.369722, 47.978333) ความต้องการทางการค้าและการขนส่งของคูเวตซิตีสนองด้วยท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต ท่าชูไวค์ (Shuwaik Port) และท่าอาห์มาดิ บนชายฝั่งอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคูเวตซิตี · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเลบานอน รายชื่อสถานทูตและสถานกงสุลเลบานอนในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 เป็นงานประกาศมอบรางวัลที่จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์สำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเลบานอน

ตราแผ่นดินของเลบานอน (شعار لبنان) มีลักษณะเป็นรูปโล่อาร์มลายธงชาติเลบานอนพาดตามแนวทแยงจากขวาลงมาซ้าย (bend sinister) กลางแถบสีขาวมีรูปต้นซีดาร์สีเขียวอย่างที่ปรากฏในธงชาติ นิยามของตราอย่างเป็นทางการตามหลักวิชามุทราศาสตร์ (Heraldry) มีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและตราแผ่นดินของเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศและดินแดนต่างๆในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ตริโปลี

ตริโปลีในแผนที่ พีรี่ รีส ตริโปลี (طرابلس, ภาษาอาหรับลิเบีย:, ภาษาเบอร์เบอร์: Ṭrables, มาจาก Τρίπολις "สามเมือง") เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและ เมืองหลวงของลิเบีย บางครั้งจะเรียกว่าตริโปลีตะวันตก (طرابلس الغرب) เพื่อให้ต่างจากตริโปลีในเลบานอน ตริโปลีมีประชากร 1,065,405 (พ.ศ. 2549)ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ อยู่ที่ขอบของทะเลทราย เป็นส่วนของแผ่นดินที่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตรงบริเวณที่เป็นอ่าว ชาวฟินิเซียก่อตั้งเมืองตริโปลีขึ้นเมื่อ 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยตั้งชื่อว่า "เอีย" ตริโปลีเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุด มีท่าเรือ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแห่งลิเบีย เนื่องจากเป็นเมืองที่มีประวัติยาวนาน จึงมีแหล่งโบราณคดีในเมืองมากมาย มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน คือ อากาศร้อน ฤดูร้อนแล้ง ฤดูหนาวฝนตก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

ตริโปลี (เลบานอน)

ทิวทัศน์ของตริโปลี ตริโปลี (ภาษาอาหรับมาตรฐาน: طرابلس, และ طَرَابُلُس, Τρίπολις Tripolis)เป็นเมืองในเลบานอน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของบัตรูนและแหลมลิโทโพรโซปอน ตริโปลีเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าเลบานอนเหนือและเขตตริโปลี (ในเลบานอน เขตผู้ว่าเป็นหน่วยการปกครองที่ใหญ่กว่าประกอบด้วยเขตเป็นหน่วยย่อย) เมืองตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเบรุต 85 กม.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและตริโปลี (เลบานอน) · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกใกล้

ตะวันออกใกล้ในบริบททางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ตะวันออกใกล้ (Near East) เป็นคำที่มีความหมายกำกวมที่ครอบคลุมกลุ่มประเทศที่ต่างกันระหว่างนักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ฝ่ายหนึ่ง และนักรัฐศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ และผู้สื่อข่าวอีกฝ่ายหนึ่ง เดิมคำว่า "ตะวันออกใกล้" หมายถึงรัฐในคาบสมุทรบอลข่านทางตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป แต่ในปัจจุบันมักจะหมายถึงประเทศในบริเวณเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ระหว่างเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงอิหร่านโดยเฉพาะในบริบททางประวัติศาสตร์ คำว่า “ตะวันออกใกล้” ที่ใช้โดยนักโบราณคดี นักภูมิศาสตร์ และ นักประวัติศาสตร์ยุโรปหมายถึงบริเวณที่รวมทั้งอานาโตเลีย (บริเวณตุรกีที่อยู่ในเอเชีย), บริเวณเลแวนต์ (ซีเรีย, เลบานอน, จอร์แดน, ไซปรัส, อิสราเอล และดินแดนในปาเลสไตน์ (Palestinian territories)), เมโสโปเตเมีย (อิรัก) และคอเคซัสใต้ (จอร์เจีย, อาร์มีเนีย และอาเซอร์ไบจาน) แต่ในบริบททางการเมืองและการสื่อข่าว "ตะวันออกใกล้" หมายถึงจะรวมบริเวณที่กว้างกว่าของตะวันออกกลาง ขณะที่คำนี้หรือคำว่าเอเชียตะวันตกเฉียงใต้เป็นคำที่นิยมมากกว่าในบริบทของการศึกษาทางโบราณคดี ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษย์วิทยา และพันธุศาสตร์ของประชากร.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและตะวันออกใกล้ · ดูเพิ่มเติม »

ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา

ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา (เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2495) เป็นประมุขแห่งรัฐอุมม์อัลไกไวน์ และยังเป็นสมาชิกสภาสูงสุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ พระองค์เป็นพระราชโอรสของรอชิด บิน อะห์มัด อัลมุอัลลาที่ 3 พระองค์ได้ทรงเป็นผู้ครองรัฐอุมม์อัลไกไวน์ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา · ดูเพิ่มเติม »

ซาอัด ฮาริรี

ซาอัดไดน์ ราฟิค ฮาริรี หรือ ซาอัด ฮาริรี (เกิดในปี พ.ศ. 2513) เป็นบุตรชายคนเล็กของ ราฟิค ฮาริรี, อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศเลบานอนที่ถูกลอบสังหาร.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและซาอัด ฮาริรี · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอช-53 ซีสตัลเลียน

ซีเอช-53 ซีสตัลเลียน (CH-53 Sea Stallion) เป็นชื่อทั่วไปที่มักใช้เรียกเอส-65 ซึ่งตระกูลหนึ่งในเฮลิคอปเตอร์บรรทุกขนาดหนักของซิคอร์สกี้ แอร์คราฟท์ เดิมที่มันถูกพัฒนาขึ้นให้กับนาวิกโยธินสหรัฐ มันยังเข้าประการในเยอรมนี อิหร่าน อิสราเอล และเม็กซิโกอีกด้วย กองทัพอากาศสหรัฐใช้เอชเอช-53 ซูเปอร์จอลลี่กรีนไจแอนท์ในช่วงปลายและหลังสงครามเวียดนาม โดยได้ทำการพัฒนาพวกมันส่วนใหญ่ให้กลายเป็นเอ็มเอช-53 เพฟโลว์ มันมีความคล้ายคลึงกับซีเอช-53อี ซูเปอร์สตัลเลียนที่มีขนาดใหญ่กว่าและเป็นรุ่นที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอส-80อีโดยซิคอร์สกี้ เครื่องยนต์ที่สามของมันทำให้มันทรงพลังยิ่งกว่าซีสตัลเลียน ซึ่งได้เข้ามาทำหน้าที่แทนในการบรรทุกขนาดหนัก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและซีเอช-53 ซีสตัลเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา

ปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา (עַמּוּד עָנָן) เป็นปฏิบัติการของกองกำลังป้องกันอิสราเอลในฉนวนกาซาระหว่างวันที่ 14 ถึง 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก

ตรินิแดดและโตเบโก (Trinidad and Tobago) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก (Republic of Trinidad and Tobago) เป็นชาติที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ตอนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งเวเนซุเอลา 11 กม. เป็นรัฐที่เป็นหมู่เกาะ ประกอบด้วย 2 เกาะเป็นหลักคือ เกาะตรินิแดด เกาะโตเบโก และเกาะเล็กอื่น ๆ อีก 21 เกาะ โดยตรินิแดดเป็นเกาะที่ใหญ่กว่าและมีประชากรมากกว่า ในขณะที่โตเบโกมีขนาดเล็กกว่า (303 ตารางกิโลเมตร ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นที่ประเทศทั้งหมด) และมีประชากรน้อยกว่า (50,000 คน ร้อยละ 4 ของจำนวนประชากรทั้งหมด) ในภาษาอังกฤษ พลเมืองมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า Trinidadians (ชาวตรินิแดด) หรือ Tobagonians (ชาวโตเบโก) หรือ Citizens of Trinidad and Tobago (ชาวตรินิแดดและโตเบโก) แต่ก็มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า Trinis หรือ Trinbagonians ตรินิแดดและโตเบโกมีลักษณะต่างจากประเทศแคริบเบียนที่ใช้ภาษาอังกฤษประเทศอื่น ๆ คือมีการประกอบอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยมีพื้นฐานเศรษฐกิจอยู่บนปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียและชาวแอฟริกามีจำนวนรวมกันถึงเกือบร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร ส่วนที่เหลือเป็นเชื้อชาติผสม ชาวยุโรป จีน และชาวซีเรีย-เลบานอน ตรินิแดดและโตเบโกมีชื่อเสียงในเรื่องงานคาร์นิวัลที่จัดก่อนฤดูถือบวชของคริสต์ (Lenten) และเป็นถิ่นกำเนิดของดนตรีสตีลแพน (steelpan) และการเต้นลิมโบ เมืองหลวง (กรุงพอร์ต-ออฟ-สเปน) เป็นผู้เสนอตัวเป็นที่ตั้งสำนักงานเลขาธิการถาวรเขตการค้าเสรีอเมริกา (Free Trade Area of the Americas: FTAA-ALCA).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีเรีย

ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2525

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2525 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศไทยใน พ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1948

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1978

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1978 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1980

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1982

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1982 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1982 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1986

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1986 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1986 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1990

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1990 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1994 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1998 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2002 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 ในประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนในเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 2017

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว ครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและประเทศเลบานอนในเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ

ปีเอตะ" โดย มีเกลันเจโล ปีเอตะโดยลุยส์ จิเมเนซ ปีเอตะ (Pietà; pietas) มาจากภาษาอิตาลี ที่แปลว่า ความสงสาร คือหัวเรื่องของศิลปะในศาสนาคริสต์ที่เป็นรูปพระแม่มารีย์ประคองร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากกางเขน ส่วนใหญ่จะพบในงานประติมากรรม Pietà เป็นหัวเรื่องหนึ่งในชุด “แม่พระระทมทุกข์” (Our Lady of Sorrows) และเป็นฉากหนึ่งใน “พระทรมานของพระเยซู” ซึ่งเป็นฉากที่มีพระแม่มารีย์ นางมารีย์ชาวมักดาลา และบุคคลอื่นล้อมพระศพพระเยซู (หลังจากที่อัญเชิญลงจากกางเขน) ด้วยความความโศกเศร้า ฉากนี้ตามความเป็นจริงแล้วควรจะเรียกว่า “Lamentation” แต่บางที่ก็จะใช้คำว่า “Pietà” แทน คำว่า “pietas” สืบมาจากประเพณีของชาวโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการตึอกชกหัวและ "แสดงอารมณ...ความรักอันใหญ่หลวงและความกลัวอำนาจของเทพเจ้าโรมัน" ปีเอตะเริ่มขึ้นที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปีเอตะแบบเยอรมันและโปแลนด์จะเน้นรอยแผลของพระเยซู.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและปีเอตะ · ดูเพิ่มเติม »

ป็อนติอุส ปีลาตุส

ภาพความวุ่นวายของฝูงชนชาวยิวที่มาเรียกร้องให้ประหารพระเยซู ต่อหน้าปีลาตุส โดยศิลปินนิรนาม นี่คือตัวอย่างของผู้ที่มารับบทปีลาตุสในภาพยนตร์ แสดงโดยไมเคิล พาลิน ป็อนติอุส ปีลาตุส (Pontivs Pilatvs) เป็นข้าหลวงชาวโรมันผู้ว่าการมณฑลจูดีอา (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลถึงเลบานอน) ในสมัยจักรพรรดิติแบริอุส และเป็นผู้สั่งประหารพระเยซูเพราะถูกเสียงกดดันจากฝูงชนชาวยิวที่ไม่เชื่อว่าพระเยซูเป็นบุตรของพระเจ้าที่มาเรียกร้องในที่ว่าการอำเภอให้ออกหมายสั่งประหารพระเยซู คริสต์ศาสนานิกายเอธิโอเปียและนิกายโบสถ์ตะวันออกนับถือปีลาตุสเป็นนักบุญ หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 1 หมวดหมู่:โรมัน หมวดหมู่:ศาสนาคริสต์.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและป็อนติอุส ปีลาตุส · ดูเพิ่มเติม »

นัศรุลลอหฺ

Sayyed Hassan Nasrallah ซัยยิด ฮะซัน นัศรุลลอห หรือ นัซรุลเลาะห์, นัซรัลเลาะห์, นัซรอลเลาะห์ เลขาธิการใหญ่พรรคฮิซบุลลอหฺ เกิดที่กรุงเบรุต เลบานอน วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2503 ขึ้นครองตำแหน่งเลขาธิการใหญ่หลังจากที่ซัยยิด อับบาส อัลมูสะวีย์ ถูกอิสราเอลลอบสังหารในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนัศรุลลอหฺ · ดูเพิ่มเติม »

นากใหญ่ธรรมดา

นากใหญ่ธรรมดา หรือ นากยุโรป (Common otter, European otter) เป็นนากชนิดที่สามารถพบได้กว้างขวางมาก มีลำตัวยาว ขนหนาและหยาบเพื่อป้องกันมิให้น้ำซึมเข้ามา ทำให้ว่ายน้ำได้คล่องแคล่ว และป้องกันอากาศเย็นได้เป็นอย่างดี สีขนตามลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อน ในบางครั้งอาจเปลี่ยนหรือเห็นเป็นสีเทา บริเวณท้องมีสีขนที่อ่อนกว่า หัวแบนและกว้าง หูกลม หางเรียวยาว ขนสั้น นิ้วเท้ามีพังผืดยึดติดกัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนากใหญ่ธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1955

นางงามจักรวาล 1955 (Miss Universe 1955) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 4 จัดในวันที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1955 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1960

นางงามจักรวาล 1960 (Miss Universe 1960) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 9 จัดเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1960 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1963

นางงามจักรวาล 1963 (Miss Universe 1963) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 12 จัดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1963 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1966

นางงามจักรวาล 1966 (Miss Universe 1966) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 15 จัดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1966 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1967

นางงามจักรวาล 1967 (Miss Universe 1967) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 16 จัดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1967 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1968

นางงามจักรวาล 1968 (Miss Universe 1968) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 17 จัดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1968 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1969

นางงามจักรวาล 1969 (Miss Universe 1969) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 18 จัดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1969 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1970

นางงามจักรวาล 1970 (Miss Universe 1970) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 19 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1970 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1971

นางงามจักรวาล 1971 (Miss Universe 1971) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 20 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1971 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1972

นางงามจักรวาล 1972 (Miss Universe 1972) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 21 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1972 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1973

นางงามจักรวาล 1973 (Miss Universe 1973) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 22 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1973 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1976

นางงามจักรวาล 1976 (Miss Universe 1976) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 25 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1976 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1977

นางงามจักรวาล 1977 (Miss Universe 1977) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 26 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1977 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1979

นางงามจักรวาล 1979 (Miss Universe 1979) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 28 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1979 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1983

นางงามจักรวาล 1983 (Miss Universe 1983) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 32 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1983 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1989

นางงามจักรวาล 1989 (Miss Universe 1989) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 38 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1989 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1991

นางงามจักรวาล 1991 (Miss Universe 1991) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 40 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1991 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1994

นางงามจักรวาล 1994 (Miss Universe 1994) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 43 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1994 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1996

นางงามจักรวาล 1996 (Miss Universe 1996) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 45 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 (ตามเวลาของประเทศไทย) ณ. ลาสเวกัส รัฐเนวาดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปีนี้มีตัวแทนสาวงามเข้าร่วมประกวดทั้งหมด 79 ประเทศ โดยมี เชลซี สมิธ นางงามจักรวาล 1995 ได้มอบมงกุฏให้กับ อลิเซีย มาชาโด สาวงามจากประเทศเวเนซุเอลา ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 1996 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2002

นางงามจักรวาล 2002 (Miss Universe 2002) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 51 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 2002 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2004

นางงามจักรวาล 2004 (Miss Universe 2004) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 53 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 2004 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2008

นางงามจักรวาล 2008 (Miss Universe 2008) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 57 จัดในวันที่ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 2008 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2009

นที่จัดการประกวด เกาะแอตแลนติส พาราไดซ์, บาฮามาส. นางงามจักรวาล 2009 (Miss Universe 2009) เป็นการจัดการประกวดครั้งที่ 58 จัดในวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 2009 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2016

นางงามจักรวาล 2016 (Miss Universe 2016) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 65 จัดเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2017 ณ มอลล์ออฟเอเชียอารีนา ภายในศูนย์การค้าเอสเอ็มมอลล์ออฟเอเชีย เขตเมโทรมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นการจัดประกวดครั้งที่สามของฟิลิปปินส์ต่อจากการประกวดในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2017

นที่จัดประกวดนางงามจักรวาล 2017 นางงามจักรวาล 2017 (Miss Universe 2017) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 66 กำหนดจัดในวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017 ณ ดิแอซิส ภายในพื้นที่แพลเน็ตฮอลลีวูดรีสอร์ทแอนด์คาสิโน ลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรัฐ โดยอีริส มีเตอนาร์ นางงามจักรวาล 2016 ชาวฝรั่งเศส ได้สวมมงกุฎแก่เดมี-ลีห์ เนล-ปีเตอร์ จากแอฟริกาใต้ เป็นผู้ครองตำแหน่งคนใหม.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนางงามจักรวาล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นิโคเซีย

นิโคเซีย (Nicosia; Λευκωσία; Lefkoşa) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของไซปรัส ตั้งอยู่ใจกลางเกาะไซปรัสริมฝั่งแม่น้ำเพเดียออส นิโคเซียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเช่นเดียวกับเกาะไซปรัส โดยทางใต้เป็นของไซปรัส ซึ่งเป็นดินแดนของชาวไซปรัสเชื้อสายกรีก ส่วนทางเหนือเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลไซปรัสเหนือ ซึ่งเป็นดินแดนของชาวไซปรัสเชื้อสายตุรกี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและนิโคเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กเดท

การฝังศพผู้เสียชีวิตจากแบล็กเดทในเมืองตูร์แน ภาพประกอบจากบันทึกของฌีล ลี มุยซี (Gilles Li Muisis) อธิการอารามนักบุญมาร์แต็งแห่งตูร์แน แบล็กเดท (Black Death) หรือ กาฬมรณะ เป็นโรคระบาดทั่วครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 100 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–50 การวิเคราะห์ดีเอ็นเอของผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรปตอนเหนือและใต้บ่งชี้ว่า จุลชีพก่อโรคอันเป็นสาเหตุของโรค คือ แบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งอาจก่อกาฬโรคได้หลายแบบ คาดว่าแบล็กเดทเริ่มต้นในจีนหรือเอเชียกลาง จากนั้นแพร่มาตามเส้นทางสายไหมและถึงไครเมียในปี 1346 และหมัดหนูตะวันออก (Xenopsylla cheopis) ซึ่งอาศัยอยู่ในหนูดำอันอยู่บนเรือพาณิชย์ทั่วไป น่าจะเป็นตัวนำโรคจากไครเมีย กาฬโรคได้แพร่ไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียนและทวีปยุโรป ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น 30–60% ของประชากรทั้งทวีปยุโรป กาฬโรคลดประชากรโลกจากที่ประเมินไว้ 450 ล้านคน ลงเหลือ 350–375 ล้านคนในคริสต์ศตวรรษที่ 14 กาฬโรคมีผลต่อเส้นทางประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อให้เกิดทั้งกลียุคทางศาสนา สังคมและเศรษฐกิจ ประชากรยุโรปกว่าจะกลับคืนจำนวนก็ใช้เวลา 150 ปี กาฬโรคอุบัติซ้ำเป็นครั้งคราวในทวีปยุโรปกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและแบล็กเดท · ดูเพิ่มเติม »

แพนอาหรับเกมส์

กีฬาแพนอาหรับเกมส์ (Pan Arab Games เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในโลกอาหรับ ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันตั้งแต่ การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่แพนอาหรับเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งสหภาพอาหรับ (Union of Arab National Olympic Committees; UANOC).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและแพนอาหรับเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอาหรับเกมส์ 1957

แพนอาหรับเกมส์ 1957 การแข่งขันกีฬาแพนอาหรับเกมส์ครั้งที่ 2 จัดขึ้นที่เบรุต ประเทศเลบานอน ระหว่างวันที่ 12 ตุลาคม - 27 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและแพนอาหรับเกมส์ 1957 · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำออรอนตีส

แม่น้ำออรอนตีส (Orontes River) หรือ อาซี (العاصي, ตุรกี: Asi) เป็นแม่น้ำในประเทศเลบานอน ซีเรีย และตุรกี มีต้นน้ำอยู่ในหุบเขาเบกาในประเทศเลบานอน ไหลไปทางเหนือ ลงสู่บริเวณตะวันตกของเทือกเขาแอนติ-เลบานอน ผ่านเมืองฮอมส์และฮะมะ โค้งไปทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านทางตอนใต้ของประเทศตุรกีที่เมืองฮาไต ผ่านเมืองอันตาเกีย ลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่เมืองซามันดัก หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศเลบานอน หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศซีเรีย หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศตุรกี หมวดหมู่:แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและแม่น้ำออรอนตีส · ดูเพิ่มเติม »

แคนทอน

แคนทอน (canton) เป็นหน่วยการปกครองของประเทศหนึ่ง ๆ โดยทั่วไปแล้ว แคนทอนจะค่อนข้างเล็กทั้งโดยขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรเมื่อเทียบกับหน่วยการปกครองอื่น ๆ เช่น เทศมณฑล/เคาน์ตี เขต (department) และจังหวัด และโดยสากลแล้ว แคนทอนที่รู้จักดีที่สุด ที่สำคัญทางการเมืองมากที่สุด ก็คือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพราะแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐสวิสทั้งโดยทฤษฎีและโดยประวัติ แต่แคนทอนในสวิตเซอร์แลนด์ก็ยังจัดได้ว่าเป็นรัฐกึ่งเอกราช (semi-sovereign) คำว่าแคนทอนมาจากคำภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง/ภาษาอิตาลี/ภาษาละติน ว่า canton / cantone / canto / canthus ซึ่งแปลว่า "เมือง" "เขต" หรือ "มุม".

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและแคนทอน · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Popular Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ الجبهة الشعبية لتحرير فلسطين, al-Jabhah al-Sha`biyyah li-Tahrīr Filastīn) เป็นกลุ่มติดอาวุธและพรรคการเมืองนิยมลัทธิมากซ์ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โบโกตา

กตา (Bogotá) ชื่อทางการคือ โบโกตาดิสตรีโตกาปีตัล (Bogotá Distrito Capital) (หมายถึง "เขตเมืองหลวงโบโกตา") และยังมีชื่อเรียกว่า ซานตาเฟเดโบโกตา (Santa Fe de Bogotá) เป็นเมืองหลวงของประเทศโคลอมเบีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดของประเทศ คือ 7,321,831 คน (จากการสำรวจปี พ.ศ. 2548) ส่วนเขตนครหลวง (metropolitan area) ซึ่งรวมเขตเทศบาลโซอาชา (Soacha) ไว้ด้วยนั้นมีประชากรประมาณ 7,881,156 คน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและโบโกตา · ดูเพิ่มเติม »

โมเช ดายัน

มเช ดายัน (משה דיין, Moshe Dayan; 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2524) คือผู้บัญชาการเหล่าทัพและนักการเมืองชาวอิสราเอล รู้จักกันดีในฐานะบุรุษตาเดียว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและโมเช ดายัน · ดูเพิ่มเติม »

โฮเซ ซูไลมัง

ซ่ สุไลมาน โฮเซ่ สุไลมาน (José Sulaimán) อดีตประธานสภามวยโลก (WBC) ชาวเม็กซิกัน สุไลมานเกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองซิวดัดวิกโตเรีย รัฐตาเมาลีปัส ประเทศเม็กซิโก มีชื่อเต็มว่า โฮเซ่ สุไลมาน ชาง่อน (José Sulaimán Chagnón) มีเชื้อสายเลบานอน เนื่องจากบิดาเป็นชาวเลบานอนที่อพยพมาอยู่ที่เม็กซิโก ในปี ค.ศ. 1920 ในวัยเด็ก สุไลมานชื่นชอบการชกมวยสากลมาก รวมทั้งเป็นนักมวยเองด้วยในวัยรุ่น และได้คลุกคลีอยู่กับวงการมวยมาโดยตลอด จนกระทั่งได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสภามวยโลก และได้รับเลือกจากเสียงข้างมากให้เป็นประธานสภามวยโลกมาตั้งแต่วันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1975 และได้รับเลือกอีกหลายสมัยต่อเนื่องมายาวนานกว่า 30 ปี โฮเซ่ สุไลมาน ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ทำให้สถาบันสภามวยโลกได้รับการยอมรับและประสบความสำเร็จในแวดวงมวยสากลระดับโลก โดยติดต่อกับโปรโมเตอร์ที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ อาทิ ดอน คิง, บ๊อบ อารัม นำนักมวยในสังกัดขึ้นชกในสังกัดสถาบันจนได้เป็นแชมป์โลกหลายคน อาทิ มูฮัมหมัด อาลี, ไมค์ ไทสัน, ซัลวาดอร์ ซันเชซ, อาเลกซิส อาร์กูเอโย, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ริคาร์โด โลเปซ เป็นต้น ซึ่งนักเหล่านี้เป็นนักมวยระดับชั้นแนวหน้าของแต่ละพิกัดและนับได้ว่าเป็นซูเปอร์สตาร์ของวงการมวยระดับโลก นอกจากนี้แล้ว สุไลมานยังเป็นบุคคลที่ริเริ่มแนวคิดใหม่ ๆ ให้แก่วงการมวยระดับโลก เช่น การให้มีการชิงแชมป์เฉพาะกาล ในกรณีที่แชมป์โลกตัวจริงไม่อาจชกเคลื่อนไหวได้, การให้มีสถาบันมวยสำหรับนักมวยหญิง, การชิงแชมป์เข็มขัดเงิน, การสนับสนุนมวยไทยในสถาบัน WBC และการให้เปิดเผยคะแนนเมื่อครบ 4 ยก เพื่อความโปร่งใสในการแข่งขัน เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว นอกจากในแวดวงมวยสากลแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน ยังมีธุรกิจเกี่ยวกับยารักษาโรคที่ประเทศเม็กซิโกอีกด้วย เป็นบุคคลที่สามารถใช้ภาษาสเปน, อังกฤษ, อาหรับ, ฝรั่งเศส, อิตาเลียน และโปรตุเกส ได้เป็นอย่างดี และได้รับการบรรจุชื่อลงในหอเกียรติยศของ WBC ในกลางปี ค.ศ. 2010 สำหรับประเทศไทยแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน มีความสัมพันธ์เป็นอย่างดี โดยได้เคยเดินมายังประเทศไทยหลายครั้ง รวมทั้งได้เคยเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพื่อทูลเกล้าฯถวายเหรียญรางวัลเกียรติยศของสถาบัน ในฐานะที่ทรงสนับสนุนวงการมวยมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเคยได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในฐานะบุคคลที่ประสบความสำเร็จในวงการกีฬา ซึ่งสุไลมานมีแนวความคิดที่จะผลิตหลักสูตรมวยไทยลงในหลักสูตรทางการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นศาสตร์การต่อสู้ป้องกันตัวในสถาบันอุดมศึกษาทั้งของไทยและในประเทศเม็กซิโก อีกด้วย โฮเซ่ สุไลมาน เสียชีวิตด้วยวัย 82 ปี ที่ศูนย์การแพทย์โรนัลด์ เรแกน ยูซีแอลเอ ในลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ด้วยโรคหัวใจที่ป่วยมานาน เมื่อวันที่ 16 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและโฮเซ ซูไลมัง · ดูเพิ่มเติม »

โครงการอาหารโลก

ัญลักษณ์โครงการอาหารโลก WFP โครงการอาหารโลก (World Food Programme;WFP) เป็นฝ่ายให้ความช่วยเหลือด้านอาหารขององค์การสหประชาชาติ และเป็นองค์การด้านมนุษยธรรมใหญ่ที่สุดของโลกซึ่งจัดการปัญหาความหิวโหยทั่วโลก โครงการอาหารโลกจัดหาอาหารให้แก่ประชากรโลกเฉลี่ย 90 ล้านคนต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้ 58 ล้านคนเป็นเด็ก โครงการดังกล่าวมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี และมีสำนักงานสาขาในอีกมากกว่า 80 ประเทศทั่วโลก มีหน้าที่ทำงานช่วยเหลือผู้ไม่สามารถผลิตหรือได้อาหารเพียงพอแก่ตนเองและครอบครัว โครงการดังกล่าวเป็นสมาชิกของกลุ่มพัฒนาแห่งสหประชาชาติและเป็นส่วนหนึ่งของคณะผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มฯ ใน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและโครงการอาหารโลก · ดูเพิ่มเติม »

โซชี

ซชี (Сочи; Sochi) เป็นนครในดินแดนครัสโนดาร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศรัสเซีย มีประชากร 328,809 คน ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลดำ ใกล้กับพรมแดนระหว่างจอร์เจีย/อับฮาเซียและรัสเซีย โซชีมีพื้นที่ 176.77 ตารางกิโลเมตร ตามสำมะโนปี 2553 นครมีประชากรถาวร 343,334 คน เพิ่มขึ้นจาก 328,809 คนซึ่งบันทึกไว้ในสำมะโนปี 2545 นับเป็นนครรีสอร์ตใหญ่ที่สุดของประเทศรัสเซีย โซชีเป็นหนึ่งในไม่กี่สถานที่ในรัสเซียซึ่งมีลักษณะอากาศแบบกึ่งเขตร้อน โดยมีฤดูร้อนอบอุ่นถึงร้อน และฤดูหนาวไม่ค่อยหนาว โซชีได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 และพาราลิมปิกฤดูหนาว 2014.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและโซชี · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไบตฺ อัล-มัล

ไบตฺ อัล-มัล (Bayt al-Mal) เป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยฮิซบุลลอหฺ เน้นการให้บริการทางการเงิน ชื่อของขบวนการนี้ในภาษาอาหรับหมายถึงบ้านของเงิน กลุ่มนี้จัดตั้งขึ้นภายใต้การสนับสนุนของเลขาธิการทั่วไปของฮิซบุลลอหฺ ฮาซัน นารอลลอหฺ ทำหน้าที่เป็นธนาคาร ผู้ให้เครดิต และหน่วยสำหรับการลงทุนสำหรับฮิซบุลลอหฺ หัวหน้ากลุ่มคือฮุสไซน์ อัลชามี ขบวนการนี้มีสาขาในฮารัต ฮูไรก์เบรุตและที่อื่นๆในเลบานอน จัดตั้งบริษัทเพื่อการเงินและการลงทุนของยัสเซอร์เพื่อรักษาความลับในการถ่ายโอนเงินและการทำธุรกิจของฮิซบุลลอหฺ สหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้ไบตฺ อัล-มัลเป็นสถาบันการเงินที่ผิดกฎหมาย ทำธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการก่อการร้าย สำนักงานใหญ่ของไบตฺ อัล-มัลอยู่ในทางใต้ของเบรุตซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของฮิซบุลลอหฺ หมวดหมู่:ขบวนการทางการเมืองในประเทศเลบานอน หมวดหมู่:ขบวนการก่อการร้าย.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไบตฺ อัล-มัล · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล บูเบล

มเคิล สตีเวน บูเบล (Michael Steven Bublé นามสกุลอ่าน boo-BLAY) เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไมเคิล บูเบล · ดูเพิ่มเติม »

ไลแคน ไฮเปอร์สปอร์ต

ับเบิลยู มอเตอร์ส ไลแคน ไฮเปอร์สปอร์ต (W Motor Lykan Hypersport) เป็นรถยนต์นั่งสมรรถนะสูง เครื่องยนต์กลางลำหลัง ขับเคลื่อนสองล้อท้าย (RMR) 2 ประตู 2 ที่นั่ง ผลิตโดยบริษัทรถยนต์สัญชาติเลบานอน ดับเบิลยู มอเตอร์ส ไลแคน ถือเป็นรถรุ่นแรกและรุ่นเดียวของบริษัท ผลิตมาเพียง 7 คันบนโลกเท่านั้น โดยคันแรกเปิดตัวครั้งแรกที่งานกาตาร์มอเตอร์โชว์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไลแคน ไฮเปอร์สปอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ไอเอ็มไอ กาลิล

กาลิล (Galil) เป็นตระกูลอาวุธปืนขนาดเล็กของอิสราเอลที่ถูกออกแบบโดยยิสราเอล กาลิลิและยาอาคอฟ ไลออร์ในปลายทศวรรษที่ 1960 และผลิตโดยอุตสาหกรรมกองทัพอิสราเอลของรามัท ฮาชารอน ระบบอาวุธประกอบด้วยกระบอกขนาด 5.56 ม.ม.สำหรับกระสุนขนาด 5.56x45 ม.ม.แบบนาโต้พร้อมกระสุนแบบเอ็ม193 หรือเอสเอส109 และมีแบบสำหรับกระสุนไรเฟิลขนาด 7.62x51 ม.ม.แบบนาโต้ การออกแบบของกาลิลนั้นมีเพื่อใช้ในสภาพที่แห้งแล้งและมีพื้นฐานมาจากอาร์เค 62 ของฟินแลนด์คาคาลิส, ปีเตอร์, การทดสอบและวัฒนาการของอาวุธ: ทหารที่ดีที่สุดต่อโชคชะตา, พาลาดิน เพรสส์,..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไอเอ็มไอ กาลิล · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายเปอร์เซีย

วไทยเชื้อสายเปอร์เซีย หรือบางครั้งอาจถูกเรียกว่า แขกมะหง่น, แขกมะหง่อน, แขกมห่น, แขกมะห่น หรือแขกเจ้าเซ็น หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในประเทศไทย ในปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซียแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม โดยกลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลามชีอะฮ์ตั้งถิ่นฐานแถบฝั่งธนบุรี, เขตยานนาวา, เขตบึงกุ่ม, เขตสะพานสูง, เขตมีนบุรี และบางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทราเท่านั้น"นักเดินทาง...เพื่อความเข้าใจในแผ่นดิน" ธนบุรี, หน้า 153 ส่วนกลุ่มที่หันไปนับถือศาสนาพุทธ คือ สกุลบุนนาค เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไทยเชื้อสายเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ไทร์ (ประเทศเลบานอน)

ทร์ (Tyre) หรือ ศูร (صور; ฟินิเชีย: צור,; צוֹר, Tzor; ฮีบรูไทบีเรียส,; แอกแคด: 𒋗𒊒,; กรีก:, Týros; Sur; Tyrus) เป็นเมืองในเขตผู้ว่าการใต้ ทางตอนใต้ของประเทศเลบานอน มีประชากรราว 117,000 คน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไทร์ (ประเทศเลบานอน) · ดูเพิ่มเติม »

ไซดอน

ซดอน (Sidon) หรือ ศ็อยดา (صيدا; ฟินิเชีย: צדן, Ṣydwn; Σιδών; Sidon; צידון, Ṣīḏōn, Sayda) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเลบานอน ในเขตผู้ว่าเลบานอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ห่างจากเมืองไทร์ไปทางเหนือราว 40 กิโลเมตร และห่างจากเมืองเบรุต เมืองหลวงของประเทศทางทิศใต้ราว 40 กิโลเมตร เป็นเมืองท่าทางทะเล ท่าเรือประมง ศูนย์กลางการค้าในเขตเกษตรกรรม และเป็นสถานีปลายทางของท่อขนส่งน้ำมันจากบ่อน้ำมันในประเทศซาอุดีอาระเบีย เมืองมีประชากรราว 200,000 คน เมืองนี้เป็นเมืองโบราณที่ตั้งขึ้นราว 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ตกอยู่ใต้การปกครองของกลุ่มชนต่าง ๆ ที่มีอำนาจในสมัยโบราณ ได้แก่ ชาวอัสซีเรีย ชาวบาบิโลเนีย และชาวเปอร์เซีย ต่อมาราว 330 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช ได้เข้ายึดครองเมือง ตกอยู่ใต้การปกครองของชาวโรมันเมื่อราว 100 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงสงครามครูเสดเปลี่ยนผู้ยึดครองหลายครั้ง จนชาวมุสลิมเข้ายึดครองประมาณ..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไซดอน · ดูเพิ่มเติม »

ไปรษณีย์ถล่ม

thumb ไปรษณีย์ถล่ม (mail-bomb, mailbomb, mail bomb, parcel bomb, letter bomb หรือ post bomb) คือ วัตถุระเบิดที่ส่งผ่านไปรษณียภัณฑ์ด้วยจุดประสงค์เพื่อสร้างความเสียหายหรือสังหารผู้เปิดไปรษณียภัณฑ์นั้น ไปรษณีย์ระเบิดนี้ถูกใช้มากในการก่อการร้าย บางประเทศมีหน่วยงานคอยตรวจสอบและป้องกันไปรษณีย์ถล่มโดยเฉพาะ เช่น สหรัฐอเมริกามีหน่วยพินิจไปรษณียภัณฑ์แห่งสหรัฐอเมริกา (United States Postal Inspection Service หรือ USPIS) ทั้งนี้ ใช่ว่าไปรษณีย์ถล่มจะเพิ่งถูกใช้ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศของเรานี้ แต่ตามประวัติศาสตร์แล้วพบว่ามีการใช้มานานพอ ๆ กับที่มีบริการไปรษณีย์ทีเดียว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและไปรษณีย์ถล่ม · ดูเพิ่มเติม »

เบรุต

รุต (بيروت; Beirut) คือเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเลบานอน ตั้งอยู่บนปลายแหลมเล็กที่ยื่นออกไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเบรุต · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์รี

อร์รี เป็นผลไม้ชนิดหนึ่ง มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว ต้นเชอร์รีเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Prunus สกุลย่อย Cerasus เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ชอบอากาศหนาวเย็น ใบเขียวเข้ม ดอกสีขาวอมชมพู ผลกลม ขนาดเล็ก เปลือกมีทั้งสีแดงเข้ม สีส้มและสีเหลือง โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือเชอร์รีหวานกับเชอร์รีหวานอมเปรี้ยว แหล่งที่ปลูกเชอร์รีมากคือทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป และญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเชอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

้าหญิงเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (พระนามเต็ม: เฟรเดอริกา หลุยส์ ไธรา วิกตอเรีย โอลกา ซิซิลี อิสซาเบล คริสตินา; กรีก: Φρειδερίκη,18 เมษายน พ.ศ. 2460 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีพอลที่ 1 แห่งกรีซ พระนางจึงมีพระยศเป็นสมเด็จพระราชินีเฟรเดอริกาแห่งกรีซ (กรีก: Βασίλισσα Φρειδερίκη των Ελλήνων).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติเลบานอน

ลงชาติเลบานอน (النشيد الوطني اللبناني‎) เป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องของราชิค นาเกลอ (Rashid Nakhle) ส่วนทำนองประพันธ์โดย วาดิฮ์ ซาบรา (Wadih Sabra) เมื่อ พ.ศ. 2468 เพลงนี้เริ่มใช้เป็นเพลงชาติของรัฐเลบานอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ขณะที่ดินแดนแห่งนี้ยังคงเป็นดินแดนในอาณัติของฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเพลงชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนแท้ในป่าใหญ่

ื่อนแท้ในป่าใหญ่ (The Fox and the Hound) ออกฉายวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 กำกับโดย Ted Berman และ Richard Rich เป็นภาพยนตร์การ์ตูนคลาสสิกลำดับที่ 24 ของดิสนีย์ ภาพยนตร์เรื่องนี้มีโครงเรื่องมาจากหนังสือที่มีชื่อเดียวกัน ซึ่งผลงานการประพันธ์ของ Daniel P. Mannix นักเขียนชาวอเมริกัน แต่งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเพื่อนแท้ในป่าใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เกรตริฟต์แวลลีย์

แนวหุบเขาทรุดถ่ายจากดาวเทียม เกรตริฟต์แวลลีย์ (Great Rift Valley) คือหุบเขารอยเลื่อนขนาดใหญ่ เป็นรอยแยกยาวต่อเนื่องขนาดยาวที่สุดในโลก ขนาดความกว้างประมาณ 30-100 กิโลเมตร เป็นหน้าผาดิ่งจากที่ราบสูงรอบ ๆ ลึกกว่า 450-800 เมตร พาดผ่าน 19 ประเทศ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เรียงกันได้ดังนี้ เริ่มต้นจากประเทศซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน เวสต์แบงก์ (ปาเลสไตน์) ผ่านเข้าสู่ทะเลแดง เลียบชายฝั่งอียิปต์และซูดาน ก่อนจะเข้าสู่เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา ยูกันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) รวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย แซมเบีย มาลาวี และสิ้นสุดในโมซัมบิก รวมความยาวที่พาดผ่านตั้งแต่เหนือจรดใต้ ประมาณ 6,750 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ 1 ใน 4 เท่าของเส้นรอบวงโลก (เส้นศูนย์สูตร) โดยที่ขอบด้านข้างของหุบเขาทรุดสูงมากกว่า 2,000 เมตร หุบเขาทรุดเกิดจากการที่แผนเปลือกโลก 2 แผ่นแยกออกจากกัน คือ แผ่นเปลือกโลกที่รองรับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกาตะวันออก กับแผ่นเปลือกโลกที่รอบรับทวีปแอฟริกาทั้งทวีป ซึ่งค่อย ๆ แยกตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอทำให้เกิดแนวทรุดตัวเป็นแนวยาว เกิดที่ที่ราบทรุดตัวแม่น้ำ ร่องธารลึก และภายในยุคหน้าน้ำทะเลจะท่วมเข้ามาจนกระทั่งตัดทวีปแอฟริกาขาดออกจากกัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเกรตริฟต์แวลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง

ร้อยตำรวจโท เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย ในตำแหน่งกองหน้า อดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอลทีมชาติไทย มีชื่อเล่นที่สื่อมวลชนสายกีฬาตั้งให้ว่า ซิโก้ ตามชื่อของนักฟุตบอลชาวบราซิลที่มีชื่อเสียง อันมีที่มาจากชื่อเล่นของเขาเอง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเกียรติศักดิ์ เสนาเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ

มืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ อยู่ภายใต้การจัดการขององค์การยูเนสโก ในโครงการเมืองหลวงทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมอาหรับและสร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1959

กีฬาเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1959 (ألعاب البحر الأبيض المتوسط 1959‎) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่เบรุต ประเทศเลบานอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1959 · ดูเพิ่มเติม »

เยเรวาน

รวาน (Yerevan; Երևան) บางครั้งเรียกว่า เอเรวาน (Erevan) ชื่อเดิมคือ เอเรบูนี (Erebuni) และ เอรีวาน (Erivan) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอาร์มีเนีย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำฮรัซดัน (Hrazdan River) กรุงเยเรวานเป็นศูนย์กลางการบริหาร วัฒนธรรม และอุตสาหกรรมของประเทศ ปัจจุบันมีประชากร 1,088,000 คน (ค.ศ. 2004) มีนายตารอน มาร์กาเรียน (Taron Margaryan) เป็นนายกเทศมนตรี ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของเมืองนี้ย้อนไปถึงในช่วงศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช โดยมีการตั้งป้อมอูราร์เตียนแห่งเมืองเอเรบูนีเมื่อ 782 ปีก่อนคริสต์ศักราช กรุงเยเรวานเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเยเรวานสเตต (1919) บัณฑิตยสถานอาร์มีเนีย รวมทั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ โรงอุปรากร ห้องแสดงดนตรี สถาบันเทคโนโลยี ห้องสมุดสาธารณะขนาดใหญ่ สวนพฤกษศาสตร์ และสวนสัตว์อีกหลายแห่ง สถาบันมาเตนาดารัน (Matenadaran) ได้สะสมเอกสารต้นฉบับของอาร์มีเนียโบราณ กรีก ซีเรีย ฮีบรู โรมัน และเปอร์เซียที่มีค่าเอาไว้มากมาย เยเรวานยังเป็นหัวใจของเครือข่ายทางรถไฟและเป็นศูนย์กลางการค้าหลักของสินค้าเกษตรกรรมของประเทศ นอกจากนี้ โรงงานอุตสาหกรรมในเมืองนี้ยังผลิตโลหะ เครื่องมือจักรกล อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ และผลิตภัณฑ์อาหารอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเยเรวาน · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปตะวันออก

วลายุโรปตะวันออก (Eastern European Time - EET) เป็นชื่อเขตเวลา UTC+2 อันหนึ่ง ใช้ในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ประเทศส่วนใหญ่จะใช้เวลาฤดูร้อนยุโรปตะวันออก เป็นเวลาออมแสงด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเวลายุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก

วลาออมแสงยุโรปตะวันออก (Eastern European Summer Time - EEST) เป็นชื่อเขตเวลาออมแสงของเขตเวลา UTC+3 เป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนหน้าเวลาสากลเชิงพิกัด เป็นเวลาที่กำหนดใช้ระหว่างช่วงฤดูร้อนในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ในระหว่างฤดูหนาวประเทศเหล่านี้จะกลับไปใช้เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาในประเทศเลบานอน

วลาในประเทศเลบานอน ใช้เขตเวลายุโรปตะวันออก (EET) (UTC+02:00) หรือเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก (EEST) (UTC+03:00) ในช่วงฤดูร้อน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเวลาในประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-15 อีเกิล

อฟ-15 อีเกิล (F-15 Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ทางยุทธวิธีทุกสภาพอากาศที่ถูกออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่ครองความได้เปรียบทางอากาศ มันถูกพัฒนาให้กับกองทัพอากาศสหรัฐและได้ทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอฟ-15 อีเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน

อฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน (F-16 Fighting Falcon) เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่เดิมที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัทGeneral Dynamicsเพื่อกองทัพอากาศสหรัฐ มันถูกออกแบบให้เป็นเครื่องบินขับไล่ตอนกลางวันน้ำหนักเบา มันได้กลายมาเป็นเครื่องบินขับไล่ที่ประสบความสำเร็จ ความสามารถรอบตัวของมันเป็นเหตุผลหนักที่มันทำการตลาดได้เยี่ยมโดยมันถูกเลือกโดยกองทัพอากาศของ 25 ประเทศLockheed Martin press release (8 June 2008).

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน · ดูเพิ่มเติม »

เอกราชอัสซีเรีย

อกราชอัสซีเรีย (Assyrian independence) เป็นขบวนการทางการเมืองและลัทธิที่สนับสนุนการสร้างดินแดนอัสซีเรียสำหรับชาวคริสต์อัสซีเรียที่พูดภาษาแอราเมอิกในภาคเหนือของอิรัก การต่อสู้ของขบวนการเอกราชอัสซีเรียเริ่มตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงปัจจุบัน บริเวณที่ชาวอัสซีเรียอาศัยอยู่คือบริเวณนินนาวา-โมซูล ซึ่งเป็นที่ตั้งของนินเนเวห์ เมืองหลวงของอัสซีเรียในคัมภีร์ไบเบิล บริเวณนี้เป็นที่รู้จักในชื่อสามเหลี่ยมอัสซีเรี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอกราชอัสซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เอลบิมโบ

อลบิมโบ (El Bimbo) เป็นเพลงดิสโกในจังหวะแทงโกของวงดนตรีฝรั่งเศส บิมโบเจ็ต วางจำหน่ายในฝรั่งเศสเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอลบิมโบ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันตกเฉียงใต้

ริเวณที่อาจนับได้ว่าเป็นบอลข่านและแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest Asia) หรืออาจเรียกว่า เอเชียตะวันตก หรือ ตะวันออกใกล้ และตะวันออกกลาง ล้อมรอบด้วยทะเล 5 แห่งคือทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำ ทะเลแคสเปียน ทะเลอาหรับ ทะเลแดง และดินแดนในภูมิภาคนี้มีความเจริญทางอารยธรรมอย่างมากเช่น อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีส ภูมิภาคนี้มีพื้นที่ประมาณ 6,835,500 ตารางกิโลเมตร มีศาสนาที่สำคัญคือศาสนาอิสลาม ศาสนายูดายห์ของอิสราเอล และมีนับถือศาสนาคริสต์ในไซปรัส ปัจจุบันภูมิภาคนี้ยังคงมีความแตกแยกกันในเรื่องเชื้อชาติและศาสนา บางประเทศอาจถูกจัดให้อยู่ในทวีปยุโรปแทน เนื่องจากมีลักษณะทางวัฒนธรรมจากทวีปยุโรปมากกว่า ได้แก่ ไซปรัส อาร์มีเนีย จอร์เจีย และอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์ 2012

อเชียนบีชเกมส์ 2012 (2012 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขัน เอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่ ไห่หยาง ประเทศจีน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเชียนบีชเกมส์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันศิลปะการป้องกันตัว ในระดับทวีปเอเชีย โดยครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1-9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนอินดอร์เกมส์

การแข่งขันกีฬาในร่มแห่งเอเชีย หรือ เอเชียนอินดอร์เกมส์ เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดในระดับทวีปเอเชีย จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี โดยมีการจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเชียนอินดอร์เกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ

อเชียนคัพ (AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับตำแหน่งแชมป์เปียนของเอเชียนคัพ การจัดการแข่งขันจัดขึ้นทุก 4 ปี โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และจัดต่อเนื่องทุก 4 ปี จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเชียนคัพ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอช-1 ซูเปอร์คอบรา

ลล์ เอเอช-1 ซูเปอร์คอบรา (Bell AH-1 SuperCobra) เป็นเฮลิคอปเตอร์จู่โจมแบบสองเครื่องยนต์ที่มีพื้นฐานมาจากเอเอช-1 คอบราของกองทัพบกสหรัฐ ในตระกูลคอบรายังมีเอเอช-1เจ ซีคอบรา เอเอช-1ที อิมพรูฟคอบรา และเอเอช-1ดับบลิว ซูเปอร์คอบรา เอเอช-1 ดับบลิวเป็นเฮลิคอปเตอร์หลักของกองนาวิกโยธินสหรัฐแต่จะถูกแทนที่ด้วยเอเอช-1ซี ไวเปอร์ใรทศวรรษถัดไป.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอช-1 ซูเปอร์คอบรา · ดูเพิ่มเติม »

เอเอช-64 อาพาชี

อเอช-64 อาปาเช่ (AH-64 Apache) (ออกเสียงในภาษาอังกฤษ สำเนียงอเมริกันว่า อ่า-พ้า-ชี่ แต่ชื่อเรียกในภาษาไทยที่รับรู้กันโดยทั่วไปคือ อาปาเช่) เป็นเฮลิคอปเตอร์โจมตีสองเครื่องยนต์ สี่ใบพัด พร้อมล้อสามล้อ และห้องนักบินแบบเรียงเดียวสำหรับสองที่นั่ง อาปาเช่ถูกพัฒนาในชื่อ โมเดล 77 โดยฮิวจ์ส เฮลิคอปเตอร์สให้กับโครงการของกองทัพบกสหรัฐเพื่อแทนที่เอเอช-1 คอบรา มันได้ทำการบินครั้งแรกในวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอช-64 อาพาชี · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ

อเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ เป็นการแข่งขันฟุตซอลของทีมสโมสรอาชีพจากประเทศที่เป็นสมาชิกของเอเอฟซี โดยทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจะมาจากทีมสโมสรที่ชนะเลิศ โดยในการแข่งขันแชมเปียนส์ลีกนี้จะมี 16 สโมสร จาก 10 ลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปเอเชียเข้าร่วมแข่งขัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีคัพ 2554

อเอฟซีคัพ 2554 เป็นการแข่งขันเอเอฟซีคัพครั้งที่ 8 ทีมที่เข้าร่วมการขันขันเป็นทีมระดับสองในสังกัดของเอเอฟซี รวมไปถึงทีมที่ตกจากรอบคัดเลือกรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอฟซีคัพ 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีคัพ 2555

อเอฟซีคัพ 2012 เป็นการแข่งขันถ้วยฟุตบอลในถ้วยระดับรองจาก เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ของสโมสรในเอเชีย โดยมี สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) เป็นผู้ควบคุมการแข่งขัน โดยเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยในครั้งนี้ตัวแทนสโมสรฟุตบอลจาก ประเทศไทย คือ สโมสรฟุตบอลชลบุรี เป็นตัวแทนในการแข่งขันฟุตบอลถ้วยรายการนี้.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอฟซีคัพ 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีคัพ 2561 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ของการแข่งขันเอเอฟซีคัพ 2561 จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ ถึง 16 พฤษภาคม 2561.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอฟซีคัพ 2561 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีคัพ รอบน็อกเอาท์ 2012

'เอเอฟซีคัพ รอบน็อกเอาท์ 2012 เป็นการบอกรายละเอียดการแข่งขัน เอเอฟซีคัพ ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยของสมาพันธ์ เอเอฟซี ในปี พ.ศ. 2555 ซึ่งนับตั้งแต่รอบ 16 ทีมสุดท้ายไปจนถึงรอบก่อนรองชนะเล.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอฟซีคัพ รอบน็อกเอาท์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 13 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 34 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย โดยสโมสรที่ชนะเลิศจะได้รับสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 13 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 35 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เป็นทีมแชมป์เก่าที่จะมาป้องกันแชมป์ในปีนี้.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล

้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เป็นบุตรของนาย แฮรี ซาเลม กับ นางราจิรา อารีบา ประสูติ ณ ประเทศเลบานอน ต่อมาได้เสกสมรสกับ เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด พระโอรสใน เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เจ้าหญิงแห่งฮัชไมต์จอร์แดน มีพระบุตร 3 พระอง.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فوزية Fawziya, ประสูติ 7 เมษายน ค.ศ. 1940 - สิ้นพระชนม์ 27 มกราคม ค.ศ. 2005) พระราชธิดาพระองค์กลางของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวสถานบาคคัส

ทวสถานบาคคัส (Temple of Bacchus) เป็นเทวสถานโรมันที่ตั้งอยู่ในบาลเบ็คในประเทศเลบานอน ที่สร้างขึ้นเมื่อค.ศ. 150 ในรัชสมัยของจักรพรรดิอันโตนินัส ไพอัส “เทวสถานบาคคัส” เป็นหนึ่งในสามเทวสถานหลักในกลุ่มเทวสถานที่บาลเบ็ค ที่อุทิศให้แก่บาคคัส หรือ ไดโอไนซัส ผู้เป็นเทพเจ้าแห่งไวน์ แต่เป็นเทวสถานที่ผู้มาเยี่ยมเยือนในสมัยฟื้นฟูคลาสสิกว่า “เทวสถานสุริยา” และเป็นเทวสถานที่อยู่ในสภาพที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของสถาปัตยกรรมโรมัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเทวสถานบาคคัส · ดูเพิ่มเติม »

เทวสถานโรมัน

รงละครมาร์เชลโลในกรุงโรม (เทวสถานโรมันแบบกรีก) เทวสถานโรมัน (Roman temple หรือ Fanum) ในความเชื่อเดิมในเรื่องที่เกี่ยวกับลัทธิเพกันโรมันผู้ถือปฏิบัติมักจะทำการสักการะที่เทวสถาน การสังเวยมักจะทำกันบนแท่นบูชาภายนอกเทวสถานที่ทำให้ง่ายต่อการทำความสะอาด และสามารถรับผู้เข้าร่วมพิธีได้มากกว่า เทวสถานโรมันจะมีขนาดไม่ใหญ่นักและจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใช้เป็นที่ตั้งของรูปสลักของเทพประจำลัทธินิยมในห้องหลักที่เรียกว่า “cella” (เซลลา) เซลลาเองก็อาจจะมีแท่นบูชาขนาดเล็กสำหรับจุดธูป หลังเซลลาก็จะเป็นห้องเดียวหรือหลายห้องที่ใช้โดยผู้เข้าร่วมพิธีสำหรับเก็บเครื่องไม้เครื่องมือหรือสิ่งที่จะถวายเท.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเทวสถานโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เทิดศักดิ์ ใจมั่น

ทิดศักดิ์ ใจมั่น เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2516 เป็นนักฟุตบอลชาวไทยเล่นในตำแหน่งกองกลางตัวรุก ปัจจุบันได้เลิกเล่นฟุตบอลอาชีพแล้วโดยสโมสรสุดท้ายที่เขาค้าแข้งด้วยคือ สโมสรฟุตบอลชลบุรี เทิดศักดิ์เป็นนักเตะที่ยิงฟรีคิกและยิงลูกโทษได้ดี และสามารถใช้เท้าได้ทั้ง 2 ข้าง และเป็นหนึ่งในนักฟุตบอลชาวไทยที่ได้เข้าชิงชนะเลิศในศึก เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ในปี พ.ศ. 2546 ระหว่าง สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน กับ สโมสรฟุตบอลอัลไอน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเทิดศักดิ์ ใจมั่น · ดูเพิ่มเติม »

เทียนดำ

ทียนดำ หรือ black-cumin อยู่ในวงศ์ Ranunculaceae เป็นพืชพื้นเมืองของซีเรียและเลบานอน เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ลำต้นตั้งตรง มีขน ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว ออกที่ปลายยอดหรือซอกใบ ดอกขนาดใหญ่ สีขาวหรือสีฟ้าอมม่วง ผลเป็นผลแห้งแตกได้ มีเมล็ดหลายเมล็.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเทียนดำ · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เคอานู รีฟส์

อานู ชาลส์ รีฟส์ (Keanu Charles Reeves); เกิดเมื่อวันพุธที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1964 ใน กรุงเบรุต, ประเทศเลบานอน แม่ของเขาเป็นชาวอังกฤษ พ่อของเขาเป็นชาวอเมริกันที่มีเชื้อสายฮาวาย จีน โปรตุเกส และอังกฤษ ปัจจุบันรีฟส์ทำงานในสหรัฐอเมริกา แต่ถือสัญชาติแคนาดา ทั้งที่สามารถเลือกสัญชาติได้สามแบบคือ อเมริกันตามพ่อ หรืออังกฤษตามแม่ หรือแคนาดาตามถิ่นที่อยู่ แต่รีฟส์เลือกแคนาดาเพราะเป็นประเทศที่เขาเติบโตและเริ่มอาชีพนักแสดง นอกจากนั้นเขายังเล่นกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งได้คล่องแคล่ว และเป็นผู้เล่น MVP ของทีมสมัยเมื่ออยู่ที่โรงเรียนมัธยม ชื่อ เคอานู หมายถึง ลมเย็นที่พัดเหนือภูเขาในภาษาฮาวาเอียน และมีความหมายลึกซึ้งคือ ผู้ที่ซาบซึ้งในพระเจ้า เขามีน้องสาวชื่อ คิม (Kim) อาศัยอยู่ในเมือง Capri ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเคอานู รีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีตริโปลี

อาณาจักรเคานต์แห่งตริโปลี (County of Tripoli) คือนครรัฐครูเสด (crusader states) แห่งสุดท้ายที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณเลแวนต์ (Levant) ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ปัจจุบันคือทางตอนเหนือของเลบานอนที่ในปัจจุบันคือเมืองตริโปลี นักรบครูเสดยึดตริโปลีและสร้างอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเคาน์ตีตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

เซาเปาลู

นตัวเมืองเซาเปาลู right right right เซาเปาลู (São Paulo) เป็นเมืองหลวงของรัฐเซาเปาลู ประเทศบราซิล เมืองนี้เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลกตามจำนวนประชากร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของบราซิล นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่มีความมั่งคั่งที่สุดในประเทศ ชื่อเซาเปาลูเป็นภาษาโปรตุเกส มีความหมายว่า "นักบุญพอล" เซาเปาลูมีเนื้อที่ 1,523 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 10,886,518 คน ซึ่งทำให้เมืองนี้เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศบราซิล ทวีปอเมริกาใต้ และซีกโลกใต้ (เขตมหานคร: ประมาณ 19 ล้านคน) เซาเปาลูเดิมเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1554 โดยคณะมิชชันนารีนิกายเยซูอิตชาวโปรตุเกส ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โปรตุเกสก็เริ่มเข้ามาขยายอำนาจในอเมริกาใต้ (ภายในเขตที่กำหนดไว้ในสนธิสัญญาตอร์เดซียัส) โดยส่งคณะนักสำรวจเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้และค้นหาทองคำ เพชร และทรัพยากรอื่น ๆ ซึ่งมีส่วนทำให้เซาเปาลูขยายตัวมากขึ้น จนในที่สุดก็ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1711 ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คลื่นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี โปรตุเกส สเปน เยอรมนี และประเทศอื่น ๆ ก็เริ่มเข้ามาในเซาเปาลูเพื่อทำงานในไร่กาแฟภายในรัฐ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 การค้ากาแฟตกต่ำลง ผู้ประกอบการจึงเริ่มหันไปลงทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรมในเมือง โดยในครึ่งแรกของศตวรรษ นอกจากชาวยุโรปแล้ว ชาวญี่ปุ่นและชาวอาหรับก็อพยพเข้ามาด้วย และตลอดศตวรรษเดียวกันนี้ เศรษฐกิจที่เฟื่องฟูของเซาเปาลูก็เป็นตัวดึงดูดให้ประชากรจากรัฐอื่น ๆ ที่ยากจนในบราซิลเข้ามาทำงานในเมืองนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและเซาเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

MENA

ีน้ำเงินเข้มหมายถึงการจำกัดความมาตรฐาน ส่วนสีฟ้าหมายถึงประเทศที่ถูกรวมในการจำกัดความในความหมายกว้าง คำว่า MENA ย่อมาจาก "ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ" เป็นอักษรย่อซึ่งมักถูกใช้ในการงานเชิงวิชาการและธุรกิจ คำดังกล่าวครอบคลุมอาณาบริเวณกว้างขวาง นับตั้งแต่โมร็อกโกไปจนถึงอิหร่าน รวมไปถึงประเทศตะวันออกกลางและมาเกร็บส่วนใหญ่ คำดังกล่าวเกือบจะมีความหมายเหมือนกันกับคำว่า "มหาตะวันออกกลาง" (แต่บางครั้งคำดังกล่าวถูกใช้โดยรวมปากีสถาน อัฟกานิสถาน หรือทั้งสองประเทศเข้าไปด้วย) ประชากรของภูมิภาค MENA หากในความหมายที่กินอาณาบริเวณน้อยที่สุด จะมีประมาณ 381 ล้านคน ราว 6% ของประชากรโลกทั้งหมด และในความหมายที่กินอาณาบริเวณมากที่สุด ประชากรจะอยู่ที่ราว 531 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและMENA · ดูเพิ่มเติม »

UTC+03:00

UTC+03:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 3 ชั่วโมง ใช้ใน .

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและUTC+03:00 · ดูเพิ่มเติม »

.lb

.lb เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศเลบานอน เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ.lb · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+10 m²

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 20,494 ตารางกิโลเมตร ประเทศปานามา มีพื้นที่ 78,200 ตารางกิโลเมตร ประเทศโปรตุเกส มีพื้นที่ 92,391 ตารางกิโลเมตร 1 E+10 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000 ถึง 100,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ1 E+10 m² · ดูเพิ่มเติม »

12 กรกฎาคม

วันที่ 12 กรกฎาคม เป็นวันที่ 193 ของปี (วันที่ 194 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 172 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ12 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ18 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเลบานอนและ8 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Lebanonสาธารณรัฐเลบานอนเลบานอน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »