โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเบลารุส

ดัชนี ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

240 ความสัมพันธ์: บลูเรย์บอนน์บารีซอฟชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศบีเอ็ม-21 แกรดฟุตบอลทีมชาติยิบรอลตาร์ฟุตบอลทีมชาติเบลารุสฟุตซอลทีมชาติเบลารุสพ.ศ. 2484พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2558พรมแดนของประเทศรัสเซียกรอดโนกรึงกีกวางมูสกองทัพเบลารุสกอเมลกังฟูแพนด้า 3กาฐมาณฑุการบุกครองโปแลนด์การขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซียการขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์การปฏิวัติ ค.ศ. 1989การประกวดเพลงยูโรวิชันการ์ตูนเน็ตเวิร์คการไม่มีศาสนาภัยพิบัติเชียร์โนบีลภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษายิดดิชภาษารัสเซียภาษาลิทัวเนียภาษาโปแลนด์ภาษาเบลารุสภูมิศาสตร์ยุโรปมาร์ก ชากาลมาซีร์มิสอินเตอร์คอนติเนนตัลมิสซูปราเนชันแนลมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสเวิลด์ 2015มิสเวิลด์ 2016มิสเวิลด์ 2017มิสเวิลด์ 2018มิสเอิร์ธ 2017มินสค์มืย เบลารูซืยมีลิตซียามีแยนด์ซือแชตส์ปอดลัสกี...ยาคุบ โคลัสยาโรสลาฟล์ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่มยูรี เบสเมอร์ทนีรอเฌ วาดีมรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่รัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุสรัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605รามาซาน รามาซานอฟรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออกรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลกรายชื่อธงในประเทศเบลารุสรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัวรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศเบลารุสรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวารายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโปแลนด์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุสรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนียรายการภาพธงชาติรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายนามผู้ครองตำแหน่งมิสซูปราเนชันแนลรางรัสเซียรูเบิลรถไฟใต้ดินมินสค์ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1944)ลิฟวิงทิงส์วรพจน์ เพชรขุ้มวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรปวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเบลารุสวอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรปวันชาติวันพิทักษ์ปิตุภูมิวันครูวันแม่วารันเจียนวิทยาศาสตรบัณฑิตวิคตอเรีย อซาเรนกาวิตาลี เกอร์คอฟวีเต็บสค์สลูตสค์สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชียสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัคสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียสาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2014สิงห์มณี แก้วสัมฤทธิ์สุดสาคร ส.กลิ่นมีสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโปแลนด์–โซเวียตสตีเวน เจอร์ราร์ดสนธิสัญญาราพาลโล (ค.ศ. 1922)สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์สแตตินสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลบาเตบอรีซอฟหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอังการาอังเดร คูเลบินอันนา ยาบลอนสกายาอาเลกเซย์ ฟอน ยัฟเลนสกีอินทรีหางขาวอดอล์ฟ ฮิตเลอร์องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้อนุสัญญาแรมซาร์อเล็กซานเดอร์ รืยบัคอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโคอเล็กซานเดอร์ เฮล็บฮอโลคอสต์จอร์เก้น ครุธจักรวรรดิเคียฟรุสจังหวัดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาธัญญชล สถิรบุตรธงชาติรัสเซียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียธงชาติเบลารุสทวีปยุโรปทางหลวงสายเอเชียทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ประเทศโปแลนด์)ทางหลวงเอเชียสาย 6ข้าวโอ๊ตดัชชีวอร์ซอดีทรอยต์คริสต์สหัสวรรษที่ 3ความสำคัญของศาสนาตามประเทศคอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีกคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะกรรมการการบินระหว่างรัฐตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียตตราแผ่นดินของเบลารุสตราแผ่นดินในทวีปยุโรปตูลา (รัสเซีย)ซาซ่า ศ.อารีย์ซีบีเรียคปฏิบัติการบากราติออนปฏิบัติการบาร์บารอสซาปภัสรินทร์ ศรีปริยวัฒน์ประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์เบลารุสประเทศยูเครนประเทศรัสเซียประเทศลัตเวียประเทศลิทัวเนียประเทศคาซัคสถานประเทศโปแลนด์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2011ปอลตาวานางงามนานาชาติ 2013นางงามนานาชาติ 2014นิติภาวะนีโอนาซีนครโฮจิมินห์นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาวแกนแห่งความชั่วร้ายแม่น้ำซอชแม่น้ำปรีเปียตแม่น้ำนีเปอร์แม่น้ำเนริสแตแรสปอลโมกีลอฟโลมา ลูกบุญมีโอลกา คูรีเลนโกโทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 1956โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2003โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2005โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2013โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2015โปเลเซียไฟป่าในรัสเซีย พ.ศ. 2553ไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ไอโฟน เอสอีไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กเบรสต์ (เบลารุส)เบลารุส 24เบียวิสตอคเบเกิลเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียเมนาเฮม เบกินเยเรวานเวลามอสโกเวลายุโรปตะวันออกเวลาสากลเชิงพิกัดเวลาออมแสงยุโรปตะวันออกเศรษฐกิจยุโรปเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945"เหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554เหตุเครื่องบินโลโคโมทิฟ ยาโรสลาฟตก พ.ศ. 2554เออร์วิง เบอร์ลินเอแคเทอรีนา แวนดารีวาเจเนรัลพลันโอสท์เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเขตเวลาเครือรัฐเอกราชเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียISO 3166-2:2000-06-21MAZ-543Wiki Loves Monuments.by1 มกราคม25 สิงหาคม27 กรกฎาคม3 กรกฎาคม8 ธันวาคม ขยายดัชนี (190 มากกว่า) »

บลูเรย์

นบลูเรย์ (Blu-ray Disc) หรือ บีดี (BD) คือรูปแบบของจานแสงสำหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของจานบลูเรย์มาจากช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้า" ซึ่งทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดีที่มีขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 nm โดยในอดีตมีคู่แข่งอย่าง HD DVD หรือ high definition optical disc format war ผลิตโดย Toshiba และเลิกผลิตเครื่องเล่น HD DVD ไปในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและบลูเรย์ · ดูเพิ่มเติม »

บอนน์

อนน์ (Bonn) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างออกไปประมาณ 25 กิโลเมตร ทางใต้ของโคโลญ บนแม่น้ำไรน์ในรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย บอนน์เคยเป็นเมืองหลวงของอดีตประเทศเยอรมนีตะวันตก ในช่วง ค.ศ. 1949 ถึง ค.ศ. 1990 และเป็นที่ตั้งอย่างเป็นทางการของรัฐบาลจนถึง ค.ศ. 1990 เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1998 องค์กรรัฐบาลแห่งชาติหลายแห่งได้ย้ายจากบอนน์ไปเบอร์ลิน สภาทั้งสองแห่งของรัฐสภาแห่งชาติเยอรมัน คือ บุนเดสทาก (Bundestag - สภาล่าง) และ บุนเดสราท (Bundesrat - สภาสูง) ได้ย้ายไป พร้อมกับสำนักนายกรัฐมนตรี (Chancellery) และบ้านพักประธานาธิบดี อย่างไรก็ตาม บอนน์ยังคงเป็นศูนย์กลางการเมืองและการปกครองแห่งหนึ่งอยู่ ประมาณครึ่งหนึ่งของตำแหน่งงานในรัฐบาลไม่ได้ย้ายไปไหน เนื่องจากหน่วยงานรัฐบาลหลายแห่งยังคงอยู่ที่บอนน์และหน่วยงานระดับเล็กกว่ากระทรวงจำนวนมากได้ย้ายมาจากเบอร์ลินและส่วนอื่น ๆ ของเยอรมนีเพื่อเป็นการแสดงความสำคัญ เมืองหลวงเก่าแห่งนี้จึงได้ชื่อว่า นครสหพันธ์ ("Bundesstadt").

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและบอนน์ · ดูเพิ่มเติม »

บารีซอฟ

รีซอฟ (Бары́саў; Бори́сов, Borisov; Borysów; Borisovas) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำเบเรซีนา ในมินสก์โวบลาสต์ เป็นเมืองอุตสาหกรรม มีเจ้าหน้าที่ทำงานในอุตสาหกรรม 31,019 คน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและบารีซอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Biology Olympiad: IBO) เป็นการแข่งขันชีววิทยาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่เมืองโอโลโมอุตส์ ประเทศเชกโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

บีเอ็ม-21 แกรด

รื่องยิงจรวดบีเอ็ม-21 (БМ-21 "Град"; BM-21 "Grad" launch vehicle; BM ย่อมาจาก boyevaya mashina หรือ ‘combat vehicle’) เป็นเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องแบบติดตั้งท้ายรถบรรทุกของสหภาพโซเวียต ใช้กับจรวด M-21OF ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 122 ม.ม. ระบบจรวดแบบนี้ได้รับการพัฒนาในช่วงต้นทศวรรษ 1960 เพื่อแทนที่เครื่องยิงจรวดบีเอ็ม-14 ขนาด 140 ม.ม. รุ่นก่อนหน้า โดยพัฒนามาจากเครื่องยิงจรวดคัทยูชา (บีเอ็ม-13) ที่ใช้งานมาตั้งแต่ยุคสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มประจำการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและบีเอ็ม-21 แกรด · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติยิบรอลตาร์

ฟุตบอลทีมชาติยิบรอลตาร์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของดินแดนยิบรอลตาร์ ซึ่งเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ควบคุมและบริหารงานโดยสมาคมฟุตบอลยิบรอลตาร์ ทีมชาติยิบรอลตาร์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของยูฟ่า หลังจากผ่านความเห็นชอบจากการโหวตของชาติสมาชิกยูฟ่าในเดือนพฤษภาคม ปี 2013 และได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 รอบคัดเลือก โดยนับเป็นการเข้าร่วมแข่งขันในทัวร์นาเมนต์ของยูฟ่าเป็นครั้งแรก ต่อมาได้ยิบรอลตาร์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของฟีฟ่าในเดือนพฤษภาคม 2016 โดยเป็นสมาชิกลำดับที่ 211 ของฟีฟ่า ด้วยประชากรเพียง 32,000 คน ทำให้ดินแดนยิบรอลตาร์ กลายเป็นชาติสมาชิกที่มีขนาดเล็กที่สุดของยูฟ่าเมื่อวัดจากจำนวนประชากร แม้ว่ายิบรอลตาร์จะไม่ใช่หมู่เกาะ แต่ก็เคยส่งทีมฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขันในกีฬาไอส์แลนด์ เกม ในปี 1993 และชนะเลิศในกีฬาไอส์แลนด์ เกม 2007 ที่เกาะโร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและฟุตบอลทีมชาติยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส

ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส (Нацыянальная зборная Беларусі па футболе, Natsyyanalnaya zbornaya Bielarusi pa futbolie) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเบลารุส อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเบลารุส ใช้บอรีซอฟอารีนาในเมืองบารีซอฟ เป็นสนามเหย้า เบลารุสไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ปัจจุบันมีผู้จัดการทีมคือ Igor Kriushenko ซึ่งคุมทีมมาตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและฟุตบอลทีมชาติเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติเบลารุส

ฟุตซอลแห่งชาติเบลารุส (Belarus national futsal team) เป็นตัวแทนของประเทศเบลารุสในการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและฟุตซอลทีมชาติเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พรมแดนของประเทศรัสเซีย

หลักพรมแดน ของ รัสเซีย ประเทศรัสเซีย มี พรมแดนระหว่างประเทศ ถึง 16 ประเทศ รวมถึงพรมแดนทางน้ำอีกสองประเทศ (สหรัฐ, ญี่ปุ่น) นอกจากนี่ยังติดกับ ประเทศที่ไม่ได้รับการรับรอง อย่าง เซาท์ออสซีเชีย และ อับคาเซีย โดยพรมแดนภาคพื้นดินมีความยาวโดยรวมถึง รัสเซียเป็นประเทศที่มีพรมแดนติดกับทุกประเทศรองจากจีน;รายชื่อประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย;If Abkhazia and South Ossetia are counted as sovereign states:Georgia and the majority of the world does not recognize the independence of Abkhazia and South Ossetia, considering the Russian border with these countries as part of the Russian–Georgian border.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและพรมแดนของประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กรอดโน

กรอดโน, ครอดนา หรือ ครอดโน (Гродна; Гродно; Grodna, Grodnae; Gardinas; Grodno) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเนแมน อยู่ใกล้กับชายแดนประเทศโปแลนด์และลิทัวเนีย (ราว 20 กม. และ 30 กม. ตามลำดับ) มีประชากร 327,540 คน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและกรอดโน · ดูเพิ่มเติม »

กรึงกี

กรึงกี (Krynki) เป็นเมืองทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโปแลนด์ ห่างจากเมืองเบียวิสตอคประมาณ 45 กิโลเมตร อยู่ในเขตจังหวัดปอดลาแช มีพรมแดนใกล้กับประเทศเบลารุส มีเนื้อที่ 3.85 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและกรึงกี · ดูเพิ่มเติม »

กวางมูส

กวางมูส (moose) คือกวางขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตหนาวและอบอุ่นซีกโลกเหนือ สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือสายพันธุ์อะแลสกา สามารถพบได้ในบริเวณป่าไทกา ในทวีปอเมริกาเหนือจะเรียกว่า มูส ในยูเรเชียจะเรียกว่า เอลก์ พบมากในบริเวณประเทศแคนาดา, ประเทศลัตเวีย, ประเทศเอสโตเนีย และประเทศรัสเซีย พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่รวมกันเป็นฝูงและมีขนาดใหญ่แถมยังมีเขาที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้มันเคลื่อนที่ได้ค่อยข้างช้าทำให้พวกมันตกเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างหมาป่าและมนุษย์ โดยปกติพวกมันจะเคลือนไหวช้าแต่ถ้าพวกมันโกรธหรือตกใจพวกมันก็สามารถวิ่งได้เร็วเช่นกัน พวกมันจะผสมพันธุ์กันในช่วงฤดูใบไม้ร่วงซึ่งช่วงนั้นมันจะมีการต่อสู้อย่างดุเดือดของตัวผู้เพื่อแย่งตัวเมี.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและกวางมูส · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเบลารุส

กองทัพแห่งสาธารณรัฐเบลารุส แบ่งเป็นกำลังทางบกและกำลังทางอากาศและป้องกันทางอากาศ ทั้งหมดอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของกระทรวงกลาโหมเบลารุส เบลารุสไม่มีกองทัพเรือ เพราะเป็นประเทศไม่มีทางออกทะเล.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและกองทัพเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

กอเมล

กอเมล (Gomel) เป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดกอเมล และเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศเบลารุส มีประชากร 482,652 คน (การสำรวจประชากรในปี ค.ศ. 2009) เมืองมีพื้นที่ 121 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและกอเมล · ดูเพิ่มเติม »

กังฟูแพนด้า 3

กังฟูแพนด้า 3 (อังกฤษ: Kung Fu Panda 3) สร้างโดยบริษัท ดรีมเวิร์กสแอนิเมชัน และ Oriental DreamWorks จัดฉายโดย ทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ เป็นภาพยนตร์ภาคต่อของ กังฟูแพนด้า 2 โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับการสร้างต้นฉบับเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีนกลาง ภาพยนตร์เรื่องนี้เริ่มฉายในวันที่ 23 มกราคม ในประเทศจีน,28 มกราคมในประเทศเกาหลีใต้, รัสเซีย, อาเซอร์ไบจาน, เบลารุสและยูเครน,29 มกราคม ในประเทศสหรัฐอเมริกา, ปากีสถานและแคนาดา ส่วนประเทศอื่นนั้นกำหนดฉายในเดือนมีนาคมและเมษายน โดยในประเทศไทยกำหนดฉายในวันที่ 10 มีนาคม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและกังฟูแพนด้า 3 · ดูเพิ่มเติม »

กาฐมาณฑุ

right กาฐมาณฑุ (काठमाडौं, Kathmandu) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนปาล และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดด้วย เป็นพื้นที่เมืองและชานเมืองที่มีประชากรประมาณ 3.2 ล้านคนในพื้นที่ 3 เมืองในหุบเขากาฐมาณฑุในเนปาลกลาง บนแม่น้ำพาคมตี (Bagmati) อีก 2 เมืองคือปาฏัน (Patan) และภักตปุระ (Bhaktapur) กาฐมาณฑุตั้งที่ 27°43' เหนือ 85°22' ตะวันออก (27.71667, 85.36667) เมืองนี้ยังได้รับการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้เป็นครั้งแรกอีกด้วย และเมืองนี้เป็นเมืองหลวงเมืองเดียวในโลกที่มีตำรวจจราจรเป็นตำรวจหญิง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและกาฐมาณฑุ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย

รถไฟสำคัญในรัสเซีย การขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย เคยถูกเรียกว่าเป็น "ความเศรษฐกิจอันอัศจรรย์ในรัสเซีย" ระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-21 ถ้านับตามระยะทางแล้ว รัสเซียถือว่ามีทางรถไฟยาวอันดับที่ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา ถ้านับในด้านการขนส่งสินค้า จะมีระยะทางเป็นอันดับที่ 3 รองจากสหรัฐอเมริกาและจีน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและการขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์

การขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์ มีระยะทาง รับกระแสไฟฟ้าตรง 3 โวลต์ จ่ายไฟฟ้าเหนือหัว โครงข่ายส่วนใหญ่ติดตั้งการจ่ายไฟฟ้า ทางรถไฟก่อสร้างก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง โดยบริษัทต่างชาติ เช่น เยอรมนี และรัสเซีย ประเทศโปแลนด์ไม่มีรถไฟความเร็วสูง เส้นทางรถไฟที่มีชื่อเสียงได้แก่ สายเซ็นทรัลเรล ทำความเร็วได้ 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและการขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การปฏิวัต..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและการ์ตูนเน็ตเวิร์ค · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติเชียร์โนบีล

รงไฟฟ้าเชียร์โนบีลในปัจจุบัน แผนที่แสดงที่ตั้งของโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีล เมือง Pripyat ที่ถูกทิ้งร้าง จะเห็นโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีลอยู่ไกล ๆ ภัยพิบัติเชียร์โนบีล (Чорнобильська катастрофа, Čornobyľśka katastrofa; Chernobyl disaster) เป็นอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ขั้นร้ายแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1986 ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล ตั้งอยู่ที่นิคมเชียร์โนบีล ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ ใกล้เมืองพริเพียต แคว้นเคียฟ ทางตอนเหนือของยูเครน ใกล้ชายแดนเบลารุส (ในขณะนั้นยูเครนและเบลารุสยังเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต) อุบัติเหตุที่เชียร์โนบีลนี้เป็นอุบัติเหตุที่เกิดกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ในแง่ของค่าใช้จ่ายและชีวิต อุบัติเหตุเกิดขึ้นเมื่อวิศวกรได้ทำการทดสอบการทำงานของระบบหล่อเย็น และระบบทำความเย็นฉุกเฉินของแกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แต่การทดสอบระบบได้ล่าช้ากว่ากำหนดจนต้องทำการทดสอบโดยวิศวกรกะกลางคืน ได้เกิดแรงดันไอน้ำสูงขึ้นอย่างฉับพลัน แต่ระบบตัดการทำงานอัตโนมัติไม่ทำงาน ส่งผลให้เกิดความร้อนสูงขึ้นจนทำให้แกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์หมายเลข 4 หลอมละลาย และเกิดระเบิดขึ้น ผลจากการระเบิดทำให้เกิดขี้เถ้าปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีพวยพุ่งขึ้นสู่บรรยากาศ ปกคลุมทางตะวันตกของสหภาพโซเวียต ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันตก ยุโรปเหนือ ทางการยูเครน เบลารุส และรัสเซีย ต้องอพยพประชากรมากกว่า 336,431 คน ออกจากพื้นที่อย่างฉุกเฉิน อุบัติเหตุครั้งนี้เป็นหนึ่งในสองครั้งที่ได้รับการจัดความรุนแรงไว้ที่ระดับ 7 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดตามมาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ อีกครั้งหนึ่งเป็นของภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิในปี 2011 สงครามเพื่อต่อสู้กับการปนเปื้อนและป้องกันไม่ให้เกิดการสูญเสียมากไปกว่านี้เกี่ยวข้องกับคนงานทั้งทหารและพลเรือนกว่า 500,000 คนและค่าใช้จ่ายประมาณ 18 พันล้านรูเบิ้ลGorbachev, Mikhail (1996), interview in Johnson, Thomas,,, Discovery Channel, retrieved 19 February 2014.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภัยพิบัติเชียร์โนบีล · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภาษายิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิทัวเนีย

ษาลิทัวเนีย (lietuvių kalba) เป็นภาษาทางการของประเทศลิทัวเนีย และเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภาษาลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปแลนด์

ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภาษาโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบลารุส

ภาษาเบลารุส (беларуская мова) เป็นภาษาราชการของประเทศเบลารุส และยังพูดในบางส่วนของรัสเซีย ยูเครน และโปแลนด์ จัดอยู่ในภาษากลุ่มสลาวิกซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมาก และภาษาเบลารุสยังคงเป็นภาษาที่คล้ายกับรัสเซียมากถึงแม้ว่าจะคล้ายมาก แต่ชาวเบลารุสยังรักษาภาษาของตนให้ดำรงไว้สืบทอดต่อคนรุ่นหลาน เบลารุส หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโปแลนด์ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศยูเครน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภาษาเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและภูมิศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ชากาล

“มาร์ก ชากาล” (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1941) โดย คาร์ล ฟาน เวคเทิน (Carl Van Vechten) มาร์ก ชากาล (Marc Chagall; מאַרק שאַגאַל; Марк Захарович Шага́л, Mark Zakharovich Shagal; Мойша Захаравіч Шагалаў, Mojša Zaharavič Šagałaŭ; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Moishe Shagal; 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1985) เป็นจิตรกรชาวเบลารุส-ฝรั่งเศส (เดิมเป็นชาวยิว-เบลารุส) คนสำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชากาลเกิดที่เบลารุสซึ่งขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย เขาเป็นศิลปินผู้มีส่วนในขบวนการศิลปะสมัยใหม่หลังภายหลังสมัยศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ แต่งานของชากาลจะจัดเข้ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ยาก เป็นงานที่เต็มไปด้วยการใช้สัญลักษณ์ นอกจากงานจิตรกรรมแล้วชากาลยังมีงานกระจกสีและงานโมเสก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมาร์ก ชากาล · ดูเพิ่มเติม »

มาซีร์

มาซีร์ (Мазы́р,; Mazyr) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำปรีเปียต เมืองมีประชากร 111,770 คน (ค.ศ. 2004) เป็นศูนย์กลางการกลั่นน้ำมัน การผลิตเครื่องจักร การทำอาหาร ของเบลารุส หมวดหมู่:เมืองในประเทศเบลารุส.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมาซีร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล

มิสอินเตอร์คอนทิเนนทัล (อังกฤษ: Miss Intercontinental) เป็นการประกวดนางงามเวทีการประกวดนางงามที่จัดการประกวดมานานเวทีหนึ่ง โดยเริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี 1971 ที่ ประเทศอารูบา ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบันคือ เวโรนิกา ซาลาส จากประเทศเม็กซิโก ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 24 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล · ดูเพิ่มเติม »

มิสซูปราเนชันแนล

มิสซูปราเนชันแนล (Miss Supranational) เป็นการประกวดนางงามเวทีการประกวดนางงาม 1 ใน 6 ของเวทีการประกวดระดับแกรนด์สแลม โดยเริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสซูปราเนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสเวิลด์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2017

มิสเวิลด์ 2017 ครั้งที่ 67 ของการประกวดมิสเวิลด์ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสเวิลด์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2018

มิสเวิลด์ 2018 ครั้งที่ 68 ของการประกวดมิสเวิลด์ซึ่งจะจัดขึ้นที่ ซานย่า, ประเทศจีน เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสเวิลด์ 2018 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอิร์ธ 2017

มิสเอิร์ธ 2017, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 17 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมิสเอิร์ธ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มินสค์

ริเวณจัตุรัสแห่งชัยชนะในกรุงมินสค์ มินสค์ (Minsk; Мінск; Минск) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวิสลาช (Svislach) และแม่น้ำเนียมีฮา (Niamiha) ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 280.4 เมตร กรุงมินสค์เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเครือรัฐเอกราช (CIS) ในที่เป็นฐานะเมืองหลวงของประเทศ ยังมีสถานะการบริหารพิเศษและยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของจังหวัดมินสค์และเขตมินสค์อีกด้วย ในปี ค.ศ. 2006 กรุงมินสค์มีประชากรประมาณ 1,780,000 คน และมีนายมีคาอิล ปัฟลอฟ (Mikhail Pavlov) เป็นนายกเทศมนตรี หลักฐานยุคแรกเริ่มสุดที่กล่าวถึงมินสค์นั้นย้อนไปถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 (ค.ศ. 1067) ในปี ค.ศ. 1242 มินสค์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของราชรัฐลิทัวเนีย (Grand Duchy of Lithuania) และได้รับอภิสิทธิ์เมืองในปี ค.ศ. 1499 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1569 เมืองนี้ได้เป็นเมืองหลวงของมินสค์วอยวอดชิป (Minsk Voivodship) ในเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ต่อมาถูกผนวกเข้ากับรัสเซียในปี ค.ศ. 1793 ซึ่งเป็นผลจากการแบ่งแยกโปแลนด์ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1919-1991 มินสค์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (Byelorussian SSR) ก่อนสหภาพโซเวียตล่มสล.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมินสค์ · ดูเพิ่มเติม »

มืย เบลารูซืย

มืย เบลารูซืย (Мы, беларусы; Мы, белорусы, "เรา, ชาวเบลารุส") เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของเพลงชาติเบลารุส และและเป็นวรรคแรกที่ปรากฏอยู่ในเพลงนี้ ชื่ออย่างเป็นทางการคือ เพลงชาติสาธารณรัฐเบลารุส (Дзяржаўны гімн Рэспублікі Беларусь; Государственный гимн Республики Беларусь) เดิมเพลงนี้ประพันธ์ขึ้นและเริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ในฐานะเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตไบโลรัสเซีย ทำนองโดยเนียสต์เซียร์ ซาคาโลว์สกี (Niescier Sakałoŭski) เนื้อร้องโดยมีคัส คลิมโควิช (Mikhas Klimkovich) หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทำนองของเพลงเดิมที่ซาคาโลว์สกีแต่งไว้นั้นยังคงใช้อยู่ แต่เนื้อร้องเดิมถูกยกเลิกไป และมีการใช้เนื้อร้องใหม่ ซึ่งประพันธ์โดยมีคัส คลิมโควิช และอูลัดซีมีร์ คารึซนืย (Uladzimir Karyzny) ตามคำสั่งของประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเบลารุส ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งเนื้อร้องดังกล่าวนี้ มีเนื้อหาถึงความเป็นมิตรของชาวเบลารุส การยกย่องถึงการสู้รบเพื่อชาติในอดีต และความมุ่งหวังต่ออนาคตในวันหน้า ส่วนทำนองนั้นยังคงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์ของเบลารุสไว้.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมืย เบลารูซืย · ดูเพิ่มเติม »

มีลิตซียา

ตราติดหมวก "มีลิตซียา" โซเวียต (ชั้นนายพล) มีลิตซียา (mʲɪˈlʲitsɨjə, міліцыя, miilits, միլիցիա, милиция, milicija, milicja, miliția, Serbo-Croatian: милиција / milicija, milica, милитсия, міліція, militsiya or милиция) เป็นคำเรียกของตำรวจมักใช้กับกลุ่มของอดีตสหภาพโซเวียตและกลุ่มตะวันออก ในปัจจุบันมีลิตซียาของประเทศต่าง ๆ ได้เปลี่ยนรูปแบบเป็นรูปแบบตำรวจตะวันตกอย่างบัลแกเรีย โปแลนด์ โรมาเนีย เอสโตเนีย ลิทัวเนีย มอลโดวา ลัตเวีย มองโกเลีย มาซิโดเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ยูโกสลาเวีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา คาซัคสถาน อาร์มีเนีย เติร์กเมนิสถาน รัสเซีย และยูเครน แต่ในบางประเทศได้การเรียกตำรวจว่ามีลิตซียาเช่น เบลารุส ทาจิกิสถาน อุซเบกิสถาน คีร์กีซสถาน และประเทศที่ไม่ได้รับการรับรองอย่างอับคาเซีย เซาท์ออสซีเซีย และทรานส์นิสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมีลิตซียา · ดูเพิ่มเติม »

มีแยนด์ซือแชตส์ปอดลัสกี

ในเมือง มีแยนด์ซือแชตส์ปอดลัสกี (Międzyrzec Podlaski) เป็นเมืองในจังหวัดลูบลิน ประเทศโปแลนด์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำกชนา ไม่ไกลจากพรมแดนประเทศเบลารุส มีเนื้อที่ 20.03 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 17,839 คน เมืองก่อตั้งขึ้นในศตวรรษที่ 12 และในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและมีแยนด์ซือแชตส์ปอดลัสกี · ดูเพิ่มเติม »

ยาคุบ โคลัส

ลัส (Яку́б Ко́лас; Yakub Kolas; 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1882 — 13 สิงหาคม ค.ศ. 1956) มีชื่อจริงคือ มิซเควิช คันสตันซิน มีไฮลาวิช (Міцке́віч Канстанці́н Міха́йлавіч) เป็นทั้งนักเขียน และกวีของประชาชนชาวเบลารุส แห่งเบลารุสสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (ค.ศ. 1926) และเป็นสมาชิก (ค.ศ. 1928) และรองประธาน (ตั้งแต่ ค.ศ. 1929) ของวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งเบลารุส ในผลงานของเขา ยาคุบ โคลัส เป็นที่รู้จักในด้านความเห็นอกเห็นใจต่อชาวชนบทเบลารุสสามัญชน นี่เป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดจากนามปากกาของเขาที่ใช้ชื่อ "โคลัส" ซึ่งหมายถึง "กรรณแห่งเมล็ดพืช" ในภาษาเบลารุส เขาได้เขียนบทกวีสะสมชุด เพลงแห่งการถูกจองจำ (ค.ศ. 1908) และ เพลงแห่งความเศร้าโศก (Песьні-жальбы; ค.ศ. 1910), บทกวี แผ่นดินใหม่ (Новая зямля; ค.ศ. 1923) และ นักดนตรีไซมอน (Сымон-музыка; ค.ศ. 1925) ตลอดจนเรื่องแต่ง และบทละครต่างๆ บทกวีของเขาชุด กระท่อมของชาวประมง (Рыбакова хата; ค.ศ. 1947) เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการต่อสู้หลังจากการรวมกันของเบลารุสกับรัฐโซเวียต ผลงานไตรภาคของเขาชุด ที่ทางแยก (ค.ศ. 1954) เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตก่อนการปฏิวัติของชาวชนบทเบลารุสกับปัญญาชนประชาธิปไตย เขาได้รับรางวัลรัฐสหภาพโซเวียต ใน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและยาคุบ โคลัส · ดูเพิ่มเติม »

ยาโรสลาฟล์

รสลาฟล์ (Yaroslavl Ярославль) เป็นเมืองเอกศูนย์กลางการปกครองของเขตปกครองย่อย ยาโรสลาฟโอบลาสต์ (Yaroslavl Oblast Яросла́вская о́бласть) ในประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือห่างจากกรุงมอสโกไปราว 258 กิโลเมตร โดยมีแม่น้ำวอลกาไหลผ่านกลางเมือง มีประชากรราวๆเกือบหกแสนคนและนับเป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรเยอะที่สุดในกลุ่มเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวอลกาตอนบนก่อนจะถึงเมืองนิซนีนอฟโกรอด มีชื่อเสียงในด้านการเป็นเมืองวัฒนธรรม เมืองท่องเที่ยว และเคยเป็นเมืองท่าค้าขายทางน้ำรวมถึงเป็นฐานอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศรัสเซียในอดีต ยาโรสลาฟล์นั้นถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของรัสเซีย ได้รับการบันทึกการก่อตั้งตั้งแต่ในสมัยของเคียฟรุส ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและยาโรสลาฟล์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 จะเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยูรี เบสเมอร์ทนี

ูรี เบสเมอร์ทนี (Юрий Бессмертный; Yury Bessmertny) เจ้าของฉายา ปรินซ์ เกิดวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 1987 ที่กรุงมินสก์ เป็นนักมวยไทยชาวเบลารุส ซึ่งเขาเป็นมวยถนัดขวา และเป็นผู้ที่เคยชนะสุดสาคร ส.กลิ่นมี ซึ่งเป็นนักมวยไทยชาวไทย ในรายการ ไฟท์โค้ด-ดราก้อนซีรีส์ รอบชิงชนะเลิศ มาแล้วครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและยูรี เบสเมอร์ทนี · ดูเพิ่มเติม »

รอเฌ วาดีม

รอเฌ วาดีม (Roger Vadim) เป็นผู้กำกับ ผู้อำนวยการสร้าง นักเขียนบทภาพยนตร์ และนักแสดงชาวฝรั่งเศส เชื้อสายเบลารุส เป็นผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง Et Dieu… créa la femme (And God Created Woman) ภาพยนตร์ที่สร้างชื่อให้กับบรีฌิต บาร์โด ในปี 1956 Le vice et la vertu (Vice and Virtue) ภาพยนตร์เรื่องแรกของกาทรีน เดอเนิฟว์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรอเฌ วาดีม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่

ต้นฉบับรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ที่ลงนามโดยคณะผู้แทนฝ่ายต่าง ๆ รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ หรือ รัฐบัญญัติ 11 มีนาคม (Aktas dėl Lietuvos nepriklausomos valstybės atstatymo; Act of the Re-Establishment of the State of Lithuania; Act of March 11) เป็นรัฐบัญญัติของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย ร่างขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุส

หภาพรัฐแห่งรัสเซียและเบลารุส (Союзное государство России и Беларуси;Саюзная дзяржава Расіі і Беларусі),หรือเรียกสั่นๆว่า สหภาพรัฐ (Союзное государство; Саюзная дзяржава) คือสหภาพการเมือง-สหภาพเศรษฐกิจร่วมกันระหว่างสหพันธรัฐรัสเซียและสาธารณรัฐเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605

รัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605 (หรือ รัสไลน์ เที่ยวบินที่ 243) เป็นเที่ยวบินตามกำหนดการของสายการบินรัสแอร์ ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของบริการรัสไลน์ ระหว่างท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว และท่าอากาศยานเปโตรซาวอดสก์ อากาศยานที่ใช้เป็นแบบตูโปเลฟ ตู 134-เอ3 เลขทะเบียน RA-65691 ซึ่งประสบอุบัติเหตุตกขณะกำลังเดินทางเข้าสู่เปโตรซาวอดสก์ไม่นานหลังจาก 23.40 น. ตามเวลาท้องถิ่น (19:40 UTC) ของวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605 · ดูเพิ่มเติม »

รามาซาน รามาซานอฟ

รามาซาน รามาซานอฟ (Рамазан Рамазанов; Ramazan Ramazanov) เจ้าของฉายา เดอะพันนิชเชอร์ เกิดวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรามาซาน รามาซานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี้คือรางวัลทางการศึกษานานาชาติของ ดร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเบลารุส

ื้องล่างต่อไปนี้ เป็นข้อมูลอย่างสังเขป เกี่ยวกับธงชาติ และธงอื่นๆ ที่ใช้ใน สาธารณรัฐเบลารุส สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อธงในประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศแผนที่แสดงจำนวนผลผลิตมะเขือเทศของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศเบลารุส

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อปีในประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก

รปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ

รปเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฟินแลนด์ทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมอลโดวาทั้งสิ้น 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศยูเครนทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศรัสเซียทั้งสิ้น 28 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 17 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 11 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลัตเวียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลิทัวเนียทั้งสิ้น 4 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสวีเดนทั้งสิ้น 15 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 13 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 1 แหล่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศนอร์เวย์ทั้งสิ้น 8 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโปแลนด์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศโปแลนด์ทั้งสิ้น 15 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 14 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเบลารุสทั้งสิ้น 4 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเอสโตเนียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ครองตำแหน่งมิสซูปราเนชันแนล

รายนามผู้ที่ครองตำแหน่งมิสซูปราเนชันแนลอย่างเป็นทางการ โดยเรียงลำดับตามปีการจัดประกวดดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรายนามผู้ครองตำแหน่งมิสซูปราเนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

รางรัสเซีย

รถไฟสายมอสโก-เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ใช้รางรัสเซีย รางรัสเซีย มีขนาดความกว้างของราง ระหว่าง 1,520 มิลลิเมตร -, retrieved 2008-07-20.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรางรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รูเบิล

เงินรูเบิล (рубль, รูบิ) เป็นสกุลเงินของประเทศ รัสเซีย, เบลารุส, อับฮาเซีย, โอเซตเตียใต้, ทรานนิสเตรียใต้ สกุลเงินนี้เคยใช้ในหลายประเทศที่อยู่ใต้อิทธิพลของรัสเซียและสหภาพโซเวียตหนึ่งรูเบิลสามารถแลกเป็นเงินได้ 100 โคเปกส์ (ภาษารัสเซีย: копейка, คาเปียก้า) และหนึ่งร้อย ฮีฟย์เยียยูเครน หมวดหมู่:สกุลเงิน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรูเบิล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินมินสค์

รถไฟใต้ดินมินสค์ (Мінскае метро, Минский метрополитен) เป็นระบบขนส่งมวลชนที่ให้บริการในกรุงมินสค์ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศเบลารุส เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1984 ประกอบด้วยเส้นทางจำนวน 2 สาย และสถานีรถไฟฟ้า 28 สถานี ระยะทางทั้งสิ้น.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและรถไฟใต้ดินมินสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1944)

รียงลำดับเหตุการณ์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1944.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1944) · ดูเพิ่มเติม »

ลิฟวิงทิงส์

ลิฟวิงทิงส์ (Living Things) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 5 ของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555 โดยวอร์เนอร์บราเธอร์ส เรคคอร์ดส และ แมชชีนช็อปเรคคอร์ดดิง โปรดิวซ์โดย ไมค์ ชิโนดะ และ ริก รูบิน ซึ่งได้ร่วมผลิตกันมา 2 สตูดิโออัลบั้มด้วยกัน ได้แก่ มินิตส์ทูมิดไนต์ (Minutes to Midnight) ในปี พ.ศ. 2550 และ อะเทาซันด์ซันส์ (A Thousand Suns) ในปี พ.ศ. 2553 ลิงคินพาร์กกล่าวว่า ลิฟวิงทิงส์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลายอย่างจากอัลบั้มที่ผ่านมาทั้งหมดในการสร้างเสียงรูปแบบใหม่ๆ โดยวงได้คุ้นเคยในการทำอัลบั้มแบบนี้มาแล้ว หลังจากการทดลองใน 2 อัลบั้มที่ผ่านมาอย่าง มินิตส์ทูมิดไนต์ และ อะเทาซันด์ซันส์ เป็นเวลาหลายปี คำว่า ลิฟวิงทิงส์ (ที่หมายถึง สิ่งมีชีวิต) ได้ถูกตั้งขึ้นเป็นชื่ออัลบั้ม เนื่องจากเนื้อหาในเพลงเป็นเรื่องราวของประเด็นต่างๆ ในสังคม และเรื่องราวของบุคคลทั่วไป เพลงที่ปล่อยออกมาเป็นซิงเกิล ในอัลบั้มนี้ มีทั้งหมด 3 เพลง ได้แก่ "เบิร์นอิตดาวน์" (Burn It Down) ในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2555, "ลอสต์อินดิเอคโค" (Lost in the Echo) ในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2555 และ "คาสเซิลออฟกลาส" (Castle of Glass)ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและลิฟวิงทิงส์ · ดูเพิ่มเติม »

วรพจน์ เพชรขุ้ม

อก วรพจน์ เพชรขุ้ม เกิดวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 ที่อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นนักกีฬามวยสากลสมัครเล่นชาวไทย เจ้าของเหรียญเงินในกีฬาโอลิมปิก เมื่อปี พ.ศ. 2547 ที่ประเทศกรีซ และได้รับเกียรติให้เป็นผู้เชิญธงชาติไทยนำขบวนนักกีฬาทีมชาติไทย ในพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 และในการแข่งขันมวยสากลในเอเชียนเกมส์ 2010 วรพจน์ชนะนักมวยจากประเทศจีน ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และวรพจน์ได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันในครั้งนี้ด้วยเช่นกัน นับเป็นเหรียญทองแรกของวรพจน์ในเอเชียนเกมส์ เหรียญทองเดียวของมวยสากลสมัครเล่นไทยในการแข่งขันครั้งนี้ และเหรียญทองสุดท้ายของทีมชาติไทยในการแข่งขันครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวรพจน์ เพชรขุ้ม · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008

วอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008 (2008 Men's European Volleyball League) เป็นครั้งที่ 5 ของการแข่งขัน การแข่งขันจะจัดเป็นประจำทุกปี รอบคัดเลือกระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2015.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก CEV หาสมาชิกทั้ง9ประเทศ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน ที่อิตาลี ทั้งสองทีมที่ดีที่สุดการจัดอันดับจากปี 2013 วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรปบวกเจ็ดทีมจากการแข่งขันรอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเบลารุส

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเบลารุส (Беларусь жаночая зборная па валейболе) เป็นตัวแทนของประเทศเบลารุสในการแข่งขันวอลเลย์บอลนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทีมได้เข้าแข่งขันเป็นครั้งแรกในระดับสูงสุดภายใต้ธงชาติของตนเองในวอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป 1993 โดยจบอันดับที่ 8.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป (Men's Junior European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุต่ำกว่า 21 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ สองปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันพิทักษ์ปิตุภูมิ

วันพิทักษ์ปิตุภูมิ (День защитника Отечества (Den' zashchitnika Otechestva); Отан қорғаушы күні; Рӯзи артиши миллӣ; Мекенди коргоочулардын күнү; Дзень абаронцы Айчыны) เป็นวันหยุดราชการในประเทศรัสเซีย, เบลารุส, คีร์กีซสถาน, คาซัคสถาน, และ ทาจิกิสถาน โดยมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ยกเว้นประเทศคาซัคสถานที่จะฉลองในวันที่ 7 พฤษภาคม วันพิทักษ์ปิตุภูมิฉลองกันครั้งแรกในปี 1919 วันหยุดถูกกำหนดในปี 1918 ในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซีย ตามเอกสารฉบับร่างหมู่ของกองทัพแดง ที่ควบคุมนครเปโตรกราด และ มอสโก (ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์) ในเดือน มกราคม 1919 ก็ได้มีประกาศวันหยุดอย่างเป็นทางการเพื่อระลึกถึงการสถาปนากองทัพแดง (ก่อตั้งวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 1918) โดยในปี 1919 ได้ใช้วันจันทร์ 17 กุมภาพันธ์ ก่อนจะเปลี่ยนเป็นวันอาทิตย์ที่ 23 กุมภาพันธ์ นับแต่นั้นมา โดยที่ชื่อเดิมที่รู้จักคือ "วันกองทัพแดง" (День Красной Армии), Ukrayinska Pravda (23 February 2013) และในปี 1923 จึงใช้ชื่ออย่างเป็นทางการคือ วันกองทัพแดงและกองทัพเรือ ในปี 1949 ชื่อวันถูกเปลี่ยนชื่อวันกองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ (День Советской Армии и Военно-Морского флота (Dyen' Sovyetskoy Armii i Voyenno-Morskogo flota)) จนเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลาย ในปี 1991 ชื่อวันที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเรื่มใช้ในปี 2002 โดย ประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดีมีร์ ปูติน โดยประกาศให้เป็นวันหยุดราชการ (ในรัสเซีย).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวันพิทักษ์ปิตุภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วารันเจียน

ผู้พิทักษ์ชาววารันเจียนในภาพจากบันทึกพงศาวดารจากคริสต์ศตวรรษที่ 11 วารันเจียน (Væringjar, ภาษากรีกยุคกลาง: Βάραγγοι, Βαριάγοι, Варяги, Varangians หรือ Varyags) คือชนไวกิง และ ชาวนอร์ส ที่เดินทางไปทางตะวันออกและทางใต้ไปยังบริเวณที่ในปัจจุบันคือรัสเซีย, เบลารุส และ ยูเครน ส่วนใหญ่ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 10 แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนกล่าวว่าคำว่า “วารังเจียน” หมายถึงชนชาติพันธุ์ก็ได้ที่เป็นนักเดินทะเล พ่อค้า หรือโจรสลัด คำนี้ใช้ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับไวกิงและกองทหารสลาฟที่เดินทางระหว่างเมืองสำคัญทางการค้าและมักจะเข้าทำสงครามเมื่อมีโอกาส คำที่คล้ายคลึงกันในภาษารัสเซีย “เนเม็ต” (немец) ใช้สำหรับชาวต่างประเทศจากประเทศในยุโรปแต่ส่วนใหญ่หมายถึงเยอรมัน ในภาษารัสเซียสมัยใหม่คำนี้หมายถึงคนเยอรมัน ตามหลักฐานบันทึกพงศาวดารของเคียฟรุสที่รวบรวมราว..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวารันเจียน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วิคตอเรีย อซาเรนกา

วิคตอเรีย ฟิโอดาเรานา อซาเรนกา (Вікторыя Фёдараўна Азаранка) เป็นนักเทนนิสหญิงชาวเบลารุส เธอขึ้นถึงตำแหน่งมือวางอันดับหนึ่งของโลก จากการจัดอันดับเมื่อวันที่ 30 มกราคม..2012 ปัจจุบันเป็นมือวางอันดับสองของโลก อซาเรนกาเกิดวันที่ 31 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวิคตอเรีย อซาเรนกา · ดูเพิ่มเติม »

วิตาลี เกอร์คอฟ

วิตาลี เกอร์คอฟ (Вiталiй Рыгоравiч Гурков; Vitaly Gurkov; 27 มีนาคม ค.ศ. 1985 —) บางครั้งสะกดเป็น วิตาลี เฮอร์คู เป็นนักมวยไทยชาวเบลารุสรุ่นเวลเตอร์เวท ผู้มาจากค่ายมวยแพทริออต ณ กรุงมินสก์ เขาเป็นแชมป์โลกมวยไทยสมัครเล่นเจ็ดสมัย และเป็นแชมป์ยุโรปตะวันออกในรายการเค-วัน เวิลด์แมกซ์ 2010 ซึ่งปัจจุบัน เขาเข้าแข่งขันรายการเค-วัน แมกซ.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวิตาลี เกอร์คอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วีเต็บสค์

วีเต็บสค์ (Vitebsk) หรือ วีตเซียบสค์ (Ві́цебск; Ви́тебск; Viciebsk หรือ Vitsyebsk) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนประเทศรัสเซีย เป็นเมืองหลวงของวีเต็บสค์โอบลาสต์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและวีเต็บสค์ · ดูเพิ่มเติม »

สลูตสค์

ลูตสค์ (Slutsk หรือ Sluck, Слуцк; Слуцк; Słuck) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำสลูช ห่างจากเมืองมินสก์ไปทางทิศใต้ 105 กม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสลูตสค์ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย

ตสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย (Eurasian Economic Union; มักย่อเป็น: EAEU หรือ EEU หรือ สหภาพยูเรเชีย (Eurasian Union; Евразийский Союз) เป็นสหภาพเศรษฐกิจ จัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2557 และมีผลในวันที่ 1 มกราคม 2558 โดยในปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 5 ประเทศ ได้แก่ เบลารุส คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน อาร์มีเนีย และรัสเซีย ซึ่งสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชียนี้ได้สร้างตลาดเศรษฐกิจเดียวที่มีขนาดประชากรกว่า 180 ล้านคน และผลิตภัณฑ์มวลรวม 2.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถานยังแสดงความสนใจเข้าร่วมองค์การด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (คาซัคҚазақ Кеңестік Социалистік Республикасы, Qazaq Keñestik Socïalïstik Respwblïkası;รัสเซีย (Казахская Советская Социалистическая Республика - КССР, Kazakhskaya Sovetskaya Sotsialisticheskaya Respublika - KSSR) เป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของ สหภาพโซเวียต ก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1920 เริ่มแรกถูกเรียกว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองคีร์กีซ (Kirghiz ASSR) และเป็นส่วนหนึ่งของ สหภาพโซเวียต ต่อมาวันที่ 15-19 เมษายน ปีค.ศ. 1925 ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองโซเวียตคาซัค และในวันที่ 5 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1936 ถูกยกระดับให้กลายเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (Kazakh SSR) ในช่วงระหว่าง ปี ค.ศ. 1950 – 1960 พลเมืองโซเวียตถูกกระตุ้นให้ตั้งถิ่นฐานยังโครงการดินแดนบริสุทธิ์ฮรุชชอฟของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค การไหลหลั่งเข้ามาของผู้อพยพย้ายถิ่นเช่น รัสเซีย (อพยพเข้ามาเป็นส่วนใหญ่) ยูเครน เยอรมัน ยิว เบลารุส เกาหลี ทำให้เกิดการผสมผสานในหลายเชื้อชาติจนมีจำนวนของชาวต่างชาติมากกว่าชาวพื้นเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้มีการใช้ภาษาคาซัคน้อยลงแต่ก็ถูกนำกลับมาใช้อีกตั้งแต่ถูกแยกตัวออกมาเป็นอิสระ วันที่ 10 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1991 Kazakh SSR ถูกเรียกใหม่ว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Republic of Kazakhstan) และแยกตัวเป็นอิสระจาก สหภาพโซเวียต ในวันที่ 16 ธันวาคม ปีเดียวกัน ซึ่งคาซัคสถานเป็นสาธารณรัฐสุดท้ายที่แยกตัวออกมาก่อนที่จะเกิดการล่มสลายของ สหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (Byelorussian Soviet Socialist Republic; Белару́ская Саве́цкая Сацыялісты́чная Рэспу́бліка; Белору́сская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต หลังการประกาศเอกราชของสาธารณรัฐประชาชนเบลารุสเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1918 กลุ่มบอลเชวิคจากสหภาพโซเวียตได้เข้ายึดครองดินแดนเบลารุสและประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐโซเวียตสังคมนิยมเบียโลรัสเซีย (Socialist Soviet Republic of Byelorussia) ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1919 ต่อมาสาธารณรัฐแห่งนี้ถูกยุบและแยกพื้นที่ไปรวมกับสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย-เบลารุส แต่ก็ได้รับการจัดตั้งขึ้นใหม่อีกครั้งในวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1920 โดยใช้ชื่อว่า "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย" สาธารณรัฐสังคมนิยมเบียโลรัสเซียเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพโซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1922 ร่วมกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน, สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคเชีย และสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย เบียโลรัสเซียเป็นหนึ่งในสาธารณรัฐหลายแห่งในสหภาพโซเวียตที่ถูกเยอรมนีนาซียึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาติในปี ค.ศ. 1945 ร่วมกับชาติอื่น ๆ รวมทั้งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและสหภาพโซเวียตอีกด้วย จุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียมาถึงในปี ค.ศ. 1991 เมื่อสาธารณรัฐแห่งนี้กลายเป็นรัฐเอกราชและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐเบลารุส เบียโลรัสเซีย หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป หมวดหมู่:อดีตรัฐสมาชิกสหประชาชาติ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2462 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2014

ประเทศเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 ได้เข้าร่วมทำการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 ที่เมืองโซชี, ประเทศรัสเซีย ระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ถึง 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 โดยการแข่งขันครั้งนี้ มีนักกีฬาเข้าแข่งขัน 26 คน ใน 5 ชนิดกีฬา โดยทำผลงานได้ไป 5 เหรียญทอง 1 เหรียญทองแดง อยู่ในอันดับที่ 8 ของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว 2014.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 · ดูเพิ่มเติม »

สิงห์มณี แก้วสัมฤทธิ์

งห์มณี แก้วสัมฤทธิ์ เกิดวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2526 เป็นนักมวยไทยชาวไทย ซึ่งเคยได้รับการมองว่าเป็นเพียงนักมวยนอกสายตาของการแข่งขันรายการมวยรอบอีซูซุ ครั้งที่ 22 แต่แล้ว เขาก็สามารถเป็นฝ่ายชนะซุปเปอร์บอน ลูกเจ้าแม่สายวารี และครองแชมป์รายการดังกล่าวได้เป็นผลสำเร็จอย่างเหนือความคาดหมาย ทำให้เขาได้มีโอกาสเข้าแข่งขันชิงชัยกับสุดสาคร ส.กลิ่นมี ในรายการอีซูซุคัพ ซูเปอร์ไฟต์ ที่จัดขึ้นในวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสิงห์มณี แก้วสัมฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุดสาคร ส.กลิ่นมี

ร.กลิ่นมี เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักมวยไทยชาวไทย และเป็นผู้ครองแชมป์โลกรายการเวิลด์คิกบ็อกซิ่งเน็ตเวิร์กมวยไทยรุ่นเวลเตอร์เวท วันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสุดสาคร ส.กลิ่นมี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสงครามกลางเมืองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโปแลนด์–โซเวียต

งครามโปแลนด์-โซเวียต (เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919 – เดือนมีนาคม ค.ศ. 1921) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างtitle.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสงครามโปแลนด์–โซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน เจอร์ราร์ด

ตีเวน จอร์จ เจอร์ราร์ด เอ็มบีอี (Steven George Gerrard; เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1980) เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมเรนเจอส์ สโมสรฟุตบอลในสกอตติชพรีเมียร์ชิป เจอร์ราร์ดอยู่กับสโมสรลิเวอร์พูล 17 ฤดูกาล ประเดิมสนามนัดแรกให้กับลิเวอร์พูลในปี 1998 และได้โอกาสเล่นทีมชุดใหญ่ของลิเวอร์พูลอย่างเต็มตัวในปี 2000 ก่อนจะได้รับแต่งตั้งให้เป็นกัปตันทีมสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลแทน ซามี ฮูเปีย แต่งตั้งโดย เฌราร์ อูลีเย ผู้จัดการทีมชาวฝรั่งเศส ในปี 2003 เจอร์ราร์ดใส่เสื้อหมายเลข 8 เจอร์ราร์ดได้รับการอวยยศเป็นสมาชิกแห่งจักรวรรดิบริเตน โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2007.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสตีเวน เจอร์ราร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาราพาลโล (ค.ศ. 1922)

นธิสัญญาราพาลโล (Treaty of Rapallo) เป็นข้อตกลงที่ลงนามเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสนธิสัญญาราพาลโล (ค.ศ. 1922) · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ · ดูเพิ่มเติม »

สแตติน

pmid.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2015–16

มสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2015–16 ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 116 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 85 ที่ได้อยู่บนลีกสูงสุดของสเปน บาร์เซโลนาจะมีส่วนร่วมในการแข่งขันหกรายการหลังจากเสร็จสิ้นการคว้าทริปเปิลแชมป์ในช่วงฤดูกาลที่ผ่านม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาเตบอรีซอฟ

มสรฟุตบอลบาเตบอรีซอฟ (ФК БАТЭ Барысаў,; ФК БАТЭ Борисов, FK BATE Borisov) เป็นสโมสรฟุตบอลจากเมืองบารีซอฟ ประเทศเบลารุส โดยกำลังแข่งขันในเบลารุเซียนพรีเมียร์ลีก และเป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของประเทศด้วยการคว้าแชมป์ลีก 14 สมัย โดยเป็นการคว้าแชมป์ติดต่อกันถึง 12 สมัย นอกจากนนี้ยังคว้าแชมป์เบลารุเซียน 3 สมัย และเบลารุเซียนซูเปอร์คัพอีก 4 สมัย บาเตเป็นเพียงสโมสรเดียวของเบลารุสที่ได้เข้าร่วมแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่มของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (ในฤดูกาล 2008–09, 2011–12, 2012–13, 2014–15 และ 2015–16) และเป็น 1 ใน 2 สโมสรของประเทศที่ได้เข้าร่วมแข่งขันรอบแบ่งกลุ่มของยูฟ่ายูโรปาลีก (ฤดูกาล 2009–10, 2010–11 และ 2017–18) อีกสโมสรคือดีนาโมมินสค์ สนามเหย้าของสโมสรคือ บอรีซอฟอารีนา ซึ่งเปิดใช้งานในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและสโมสรฟุตบอลบาเตบอรีซอฟ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อังการา

อังการา (Ankara) เป็นเมืองหลวงของประเทศตุรกีและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดอังการา อังการาเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากอิสตันบูล ตั้งอยู่ในจังหวัดอังการาอยู่ที่ระดับความสูงเฉลี่ย 938 เมตร มีประชากรประมาณ 3.9 ล้านคน อังการาตั้งอยู่บริเวณกลางคาบสมุทรอานาโตเลีย จึงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทั้งทางธุรกิจและอุตสาหกรรม เป็นศูนย์กลางของรัฐบาลตุรกี และเป็นที่ตั้งของสถานทูตประเทศต่าง ๆ อังการายังเป็นศูนย์กลางของทางหลวงและเส้นทางรถไฟทำให้เป็นศูนย์กลางของการค้าขาย สินค้าที่มีชื่อเสียงของเมืองคือผลิตภัณฑ์จากขนโมแฮร์ที่ได้จากแพะอังโกรา ขนอังโกราที่ได้จากกระต่ายอังโกรา แมวอังโกรา ลูกแพร์ น้ำผึ้ง และองุ่นท้องถิ่น ตัวเมืองประกอบด้วยส่วนที่เรียกว่า อูลุส ซึ่งเป็นเมืองเก่าที่ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่ก่อนยุคจักรวรรดิออตโตมัน และ เยนีเชฮีร์ ซึ่งเป็นเมืองใหม่ที่ถูกสร้างขึ้นตามแผนการสร้างเมืองของรัฐบาลสาธารณรัฐตุรกี แต่การพัฒนาเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่สองทำให้มีผู้คนจำนวนมากหลั่งไหลเข้ามาปักหลักบริเวณพื้นที่รอบนอกเมืองและเกิดบ้านเรือนที่ถูกสร้างขึ้นอย่างไม่มีระเบียบเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอังการา · ดูเพิ่มเติม »

อังเดร คูเลบิน

อังเดร คูเลบิน (Andrei Kulebin) เจ้าของฉายา หัวกระสุน เกิดวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1984 ในนอยสทรีสท์ ประเทศเยอรมนี เป็นนักมวยไทยชาวเบลารุส รุ่นเฟเธอร์เวท จากค่ายมวย "คิกไฟท์เตอร์" ซึ่งตั้งอยู่ในกรุงมินสก์ เขาเป็นแชมป์โลกมวยไทย 18 สมัย ที่ชนะรายการระดับนานาชาติ ทั้งในระดับสมัครเล่นและอาชีพ จากรุ่น 51 กก. ไปจนถึง 67 กก. ซึ่งถือเป็นหนึ่งในรุ่นปอนด์ต่อปอนด์สำหรับนักมวยไทยที่สูงที่สุดในโลก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอังเดร คูเลบิน · ดูเพิ่มเติม »

อันนา ยาบลอนสกายา

อันนา ยาบลอนสกายา (А́нна Ябло́нская; 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 — 24 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นนักเขียนบทละครและกวีชาวยูเครน เป็นหนึ่งในผู้เสียชีวิตจากเหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอันนา ยาบลอนสกายา · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกเซย์ ฟอน ยัฟเลนสกี

อาเลกเซย์ ฟอน ยัฟเลนสกี (Alexej von Jawlensky) หรือ อะเลคเซย์ เกออร์กีวิช ยัฟเลนสกี (Алексе́й Гео́ргиевич Явле́нский) เป็นจิตรกรลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ชาวรัสเซียที่มีผลงานในประเทศเยอรมนี เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอาเลกเซย์ ฟอน ยัฟเลนสกี · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีหางขาว

อินทรีหางขาว หรือ อินทรีทะเลหางขาว (White-tailed eagle, White-tailed sea-eagle) นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกอินทรีทะเล ในวงศ์เหยี่ยวและอินทรี (Accipitridae) อินทรีหางขาว จัดเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งในทวีปยุโรป เมื่อโตเต็มที่อาจมีความสูงได้ถึง 1 เมตร มีดวงตาสีทอง มีถิ่นแพร่กระจายพันธุ์ในยุโรปตะวันออกเช่น เบลารุส, รัสเซีย หรือไครเมีย มีการผสมพันธุ์วางไข่ครั้งละ 2 ฟองในช่วงฤดูร้อน โดยรังจะมีขนาดใหญ่และลึก อาจมีน้ำหนักได้มากถึง 1 ตัน แขวนอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ดังนั้นจึงอาจสุ่มเสี่ยงต่อการพังทะลายลงมา บางครั้งจะทำรังใกล้กับนกล่าเหยื่ออื่น ๆ เช่น เหยี่ยวออสเปร แต่จะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกัน และบางครั้งอาจมีการรบกวนซึ่งกันและกัน พ่อและแม่นกช่วยกันเลี้ยงลูก เมื่อถึงช่วงฤดูหนาว อินทรีหางขาวบางตัวจะอพยพบินไปยังสถานที่ ๆ อบอุ่นกว่า และจะกลับมาในช่วงฤดูร้อนเพื่อจะผสมพันธุ์วางไข่ ในขณะที่บางตัวเลือกที่จะอยู่ที่เดิม ซึ่งปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบชัดเจนว่าเพราะอะไร รังที่วางเปล่าบนต้นไม้ที่เนเธอร์แลนด์ อาหารหลักได้แก่ ปลา อินทรีหางขาวขนาดโตเต็มที่มีความต้องการอาหารมากถึงวันละ 2 กิโลกรัม รวมถึงอาจกินซากสัตว์ตายได้ด้วย รวมถึงการล่านกด้วยกันชนิดอื่นกินเป็นอาหาร และมีพฤติกรรมการแย่งอาหารกันเองหรือแย่งชิงอาหารจากนกชนิดอื่นบนอากาศ ในช่วงฤดูหนาวที่อุณหภูมิติดลบ น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติต่าง ๆ แข็งเป็นน้ำแข็ง นกน้ำหลายชนิดตายลงเนื่องจากทนความหนาวเย็นไม่ได้ เช่น หงส์ แต่ด้วยร่างกายที่ใหญ่โตของอินทรีหางขาวจึงทำให้เก็บความร้อนไว้ในตัวได้มาก จึงสามารถทนกับความหนาวเย็นและผ่านพ้นช่วงเวลาดังกล่าวนี้ได้ พ่อแม่นก จะแยกจากลูกนกขณะที่ลูกนกยังไม่โตเต็มที่ แต่ก็โตพอที่จะช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ โดยจะผละจากรังไป เมื่อลูกนกหิวจึงจะเริ่มขยับบินและออกไปใช้ชีวิตตามลำพังด้วยตัวเอง นอกจากนี้แล้ว อินทรีหางขาวยังสามารถที่จะว่ายน้ำได้ด้วย แม้จะไม่คล่องแคล่วก็ตาม เพื่อกำจัดปรสิตที่เกาะติดตามขน อินทรีหางขาว อาจพบได้ในประเทศไทย โดยถือว่าเป็นนกพลัดหลงที่หาได้ยาก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอินทรีหางขาว · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้

องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organisation, ย่อ: SCO) เป็นองค์การการเมือง เศรษฐกิจและการทหารในทวีปยูเรเชีย ก่อตั้งในปี 2544 ในเซี่ยงไฮ้ โดยผู้นำจีน คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน รัสเซีย ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เดิมห้าประเทศ ยกเว้นอุซเบกิสถาน เป็นผู้ก่อตั้ง "เซี่ยงไฮ้ไฟฟ์" (Shanghai Five) ในปี 2539 แต่ต่อมาอุซเบกิสถานเข้าร่วมในปี 2544 จึงได้เปลี่ยนชื่อองค์การมาเป็นดังในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ รืยบัค

อเล็กซานเดอร์ อีการาวิช รืยบัค (Аляксандр І́гаравіч Рыбак Alyaxandr Igaravich Rybak) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 เมืองมินสค์ ในเบลารุส แต่เติบโตในเนซอดเดน ซึ่งอยู่นอกกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง นักไวโอลิน นักเปียโน นักเขียนและนักแสดง ชาวนอร์เวย์ เขาชนะรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดแสดงความสามารถของนอร์เวย์ จากเพลงที่เขาแต่ง โดยในปี 2009 เขาเป็นตัวแทนของประเทศนอร์เวย์ในการแข่งขันการประกวดเพลงยูโรวิชัน‎ ในมอสโคว์ ประเทศรัสเซีย โดยเขาชนะเลิศการแข่งขันด้วยคะแนน 387 คะแนน ถือเป็นสถิติคะแนนที่สูงที่สุดในการแข่งขัน กับเพลง "Fairytale" ที่เขาทั้งเขียนทั้งเนื้อร้องและทำนอง.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอเล็กซานเดอร์ รืยบัค · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค

อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค (Алякса́ндр Рыго́равіч Лукашэ́нка Алекса́ндр Григо́рьевич Лукаше́нко, เกิด 30 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นประธานาธิบดีคนปัจจุบันของเบลารุส ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ เฮล็บ

อะเลียคซันดาร์ เปาลาวิช เฮล็บ (Аляксандр Паўлавіч Глеб, Aliaksandr Paulavich Hleb; Александр Павлович Глеб, Aliaksandr Paulavich Hleb) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ อเล็กซานเดอร์ เคล็บ (Alexander Hleb) เป็นนักฟุตบอลชาวเบลารุส เล่นในตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลน่าและทีมชาติเบลารุส เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1981 ที่เมืองมินสก์ เคล็บมีน้องชายชื่อVyacheslav Hlebซึ่งก็เป็นนักฟุตบอลทีมชาติเบลารุสเหมือนกันโดยน้องชายของเขาเล่นในตำแหน่งกองหน้า ตำแหน่งโดยธรรมชาติคือกองกลางตัวรุก แต่มักจะเห็นเฮล็บเล่นในตำแหน่งริมเส้นด้านขวาให้กับอาร์เซนอลมากกว่า หรือบางครั้งจะเล่นในตำแหน่งริมเส้นด้านซ้าย ต่อมาเขาได้ย้ายไปเล่นให้กับบาร์เซโลน่าในปี2008ด้วยสัญญา4ปี แต่ก็ไม่สามารถเป็นตัวจริงได้ ในปี2009ทีมสตุ๊การ์ทก็ได้ยืมเขาไปเล่นให้กับทีมเก่า1ฤดูกาล จากนั้นในปี2010 เคล็บก็ได้ย้ายไปเล่นในพรีเมียร์ลีกอีกครั้งกับทีมเบอร์มิ่งแฮม ซิตี้ในสัญญายืมตัว1ปี ในโดยเขาลงเล่นไปทั้งหมด19นัดทำได้1ประตู ในปี2011เคล็บก็กลับไปเล่นในบุนเดสลีกาอีกครั้งโดยเล่นกับทีมโวล์ฟบวร์กในสัญญายืมตัวจนถึงสิ้นปี2011 ต่อมาปี2012ทางทีมบาร์เซโลน่าก็ได้ทำการยกเลิกสัญญาของเคล็บทำให้เคล็บกลายเป็นนักเตะว่างงาน เคล็บได้รับตำแหน่งนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของเบลารุส6สมัยด้วยกันคือปี 2002 2003 2005 2006 2007 2008 ซึ่งถือว่ามากที่สุดด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและอเล็กซานเดอร์ เฮล็บ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์เก้น ครุธ

อร์เก้น ครุธ (Jörgen Kruth) หรือฉายา เดอะลาสต์ไวกิ้ง เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและจอร์เก้น ครุธ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเคียฟรุส

ักรวรรดิเคียฟรุส (Кіеўская Русь, Ки́евская Русь, Ки́ївська Русь) เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ทศวรรษ 880 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่ก่อตั้งขึ้นโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย (วารังเจียน) ที่เรียกว่า “ชนรุส” โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ (ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของยูเครน) รัฐรุสถือว่าเป็นต้นตอของชาติพันธุ์สลาฟตะวันออกในปัจจุบันสามชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวเบลารุส, รัสเซีย, และ ยูเครน รัชสมัยของวลาดิเมียร์มหาราช (ค.ศ. 980–ค.ศ. 1015) และ พระราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019–ค.ศ. 1054) ถือกันว่าเป็นยุคทองของเคียฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิเคียฟรุสยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า “ประมวลกฎหมายรุสสคายา” (Russkaya Pravda) ผู้นำสมัยแรกของจักรวรรดิเคียฟรุสสันนิษฐานกันว่าสืบเชื้อสายมาจากชนชั้นผู้นำสแกนดิเนเวียที่ปกครองข้าแผ่นดินที่เป็นชนสลาฟ และมีอำนาจต่อมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและจักรวรรดิเคียฟรุส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ธัญญชล สถิรบุตร

ัญญชล สถิรบุตร หรือมีชื่อเดิมว่า (รฐกร สถิรบุตร, ภคมน สถิรบุตร ตามลำดับ) เป็นนักแสดงชาวไทย ได้รับตำแหน่งรองธิดาโดมแอลเอ ปี 2003 และตำแหน่ง รองมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส อันดับ 2 จากประกวดมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส ปี 2009 เป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวด มิสอินเตอร์คอนติเนนตัลปี 2009 ที่เบลารุส มีบิดาชื่อนายสหรัฐ สถิรบุตร มารดาชื่อ นางกรรณิการ์ อมตวณิชย์ ศึกษา ด้านการออกแบบแฟชั่น จากสถาบัน Fashion Institute of Design and Merchandising (U.S.A.).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและธัญญชล สถิรบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติรัสเซีย

งชาติสหพันธรัฐรัสเซีย มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบ ความกว้างเท่ากัน เรียงเป็นสีขาว-น้ำเงิน-แดง จากบนลงล่างตามลำดับ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเป็นธงสำหรับเรือค้าขายและเรือรบ (ธงนาวี) และได้ประกาศใช้เป็นธงอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2439 มีชื่อว่า "Триколор" หรือ "Trikolor" แปลว่า ธงสามสี กล่าวกันว่า แบบของธงที่ใช้อยู่ในทุกวันนี้มีต้นแบบมาจากธงชาติเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นต้นเค้าของธงสามสีแบบต่างๆ ในโลก ธงนี้ได้ใช้เป็นธงของรัฐบาลรัสเซียเฉพาะกาล หลังการล้มล้างราชบัลลังก์พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 ในเหตุการณ์การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 (พ.ศ. 2460) จนถึงเหตุการณ์การปฏิวัติเดือนตุลาคมโดยพรรคบอลเชวิคในปีเดียวกัน ซึ่งนำไปสู่การปกครองรัสเซียโดยพรรคบอลเชวิค และการสถาปนาสหภาพโซเวียต รัฐคอมมิวนิสต์แห่งแรกของโลก ในช่วงเวลาดังกล่าวธงชาติรัสเซียแบบสามสีได้ถูกแทนที่ด้วยธงชาติแบบคอมมิวนิสต์ จนกระทั่งก่อนหน้าการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) เพียงเล็กน้อย ธงสามสีจึงได้ถูกนำมาใช้เป็นธงชาติรัสเซียอีกครั้ง เพื่อเป็นธงชาติของสหพันธรัฐรัสเซียที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ แบบของธงชาติรัสเซียที่ใช้อยู่ในธงวันนี้มีลักษณะแตกต่างจากธงที่เริ่มใช้ใน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและธงชาติรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย เป็นธงที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) จนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) มีลักษณะดังความที่บรรยายในประกาศแบบธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย ลงวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบลารุส

งชาติเบลารุส แบบที่ใช้อยู่ปัจจุบันนั้น เริ่มบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2538 หลังจากการลงประชามติเพื่อเลือกแบบธงชาติเบลารุสในเดือนประชาชนในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน ธงที่ใช้อยู่นี้ใช้แทนธงชาติเดิมในปี พ.ศ. 2461 สมัยที่ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐประชาชนเบลารุส ก่อนที่ประเทศเบลารุสจะมีฐานะเป็นสาธารณรัฐโซเวียต ขึ้นตรงต่อสหภาพโซเวียต ต่อมาเมื่อประเทศได้รับเอกราชก็ได้ใช้ธงในยุคดังกล่าวอีกครั้ง ธงแบบปัจจุบันนี้เป็นการดัดแปลงจากธงชาติสมัยสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียเพียงเล็กน้อย โดยยกเอารูปค้อนเคียวและดาวแดงออก ซึ่งธงขององค์กรและหน่วยงานราชการต่างๆ ในเบลารุสหลายแห่งล้วนดัดแปลงจากรูปแบบของธงชาติด้วย อย่างในก็ตาม ยังมีคนบางกลุ่มที่ใช้ธงสีพื้นขาวและแดงเป็นเครื่องหมายในการต่อต้านรัฐบาลของประธานาธิบดีอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค แม้ว่าธงดังกล่าวนี้ถือเป็นธงต้องห้ามในประเทศเบลารุสก็ตาม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและธงชาติเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสายเอเชีย

แผนที่ทางหลวงสายเอเชีย ป้ายทางหลวงเอเชียสาย 2 ที่จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย ป้ายทางหลวงสายเอเชีย ป้ายนี้ใช้ในทางหลวงเอเชียสาย 18 ทางหลวงสายเอเชีย หรือย่อเป็น AH เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชียและยุโรป และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (เอสแคป) สหประชาชาติ เพื่อปรับปรุงระบบทางหลวงในเอเชีย เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของโครงการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกของทวีปเอเชีย อนุมัติโดยคณะกรรมการเอสแคป ในการประชุมครั้งที่ 48 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและทางหลวงสายเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ประเทศโปแลนด์)

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (Droga krajowa nr 2) เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายทางหลวงแผ่นดินโปแลนด์ ทางหลวงเส้นนี้เชื่อมจากภาคตะวันตกไปยังภาคตะวันออกของประเทศโปแลนด์ โดยผ่านช่วงชฟีแยต์สกอที่มีพรมแดนประเทศเยอรมนีถึงแตแรสปอลที่มีพรมแดนประเทศเบลารุส และตัดผ่านจังหวัดลูบุช, จังหวัดวีแยลกอปอลสกา, จังหวัดวูช, จังหวัดมาซอฟแช และจังหวัดลูบลิน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงยุโรปอี 30.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ประเทศโปแลนด์) · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 6

ทางหลวงเอเชียสาย 6 (AH6) เป็นถนนในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย เริ่มต้นจากทางหลวงเอเชียสาย 1 ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ ไปจนถึงพรมแดนระหว่างประเทศรัสเซียกับประเทศเบลารุส มีระยะทางตลอดทั้งสาย 10,533 กิโลเมตร โดยผ่านประเทศรัสเซียเป็นระยะทางยาวที่สุด ใช้เส้นทางร่วมกับทางหลวงทรานส์ไซบีเรีย ผ่านไปยังทางหลวงฝั่งทิศตะวันตกของเทือกเขายูรัลของรัสเซี.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและทางหลวงเอเชียสาย 6 · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวโอ๊ต

้าวโอ๊ต เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ใช้เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและข้าวโอ๊ต · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีวอร์ซอ

ัชชีวอร์ซอ (Księstwo Warszawskie; Duché de Varsovie; Herzogtum Warschau) เป็นรัฐโปแลนด์ที่สถานปนาโดยนโปเลียน โบนาปาร์ตเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและดัชชีวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

ดีทรอยต์

ีทรอยต์ (Detroit) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองท่าชั้นนำบริเวณแม่น้ำดีทรอยต์ ในภูมิภาคตะวันออกกลางของประเทศ และเป็นเมืองขนาดใหญ่เมืองเดียวของอเมริกาที่อยู่ทิศเหนือกว่าเมืองแคนาดา คือเมืองวินด์เซอร์ (รัฐออนแทริโอ) ดีทรอยต์ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและดีทรอยต์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ความสำคัญของศาสนาตามประเทศ

้านล่างนี้เป็นชาร์ตแสดงรายชื่อประเทศเรียงตามความสำคัญของศาสน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและความสำคัญของศาสนาตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก

อนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก (Kontinental Hockey League - KHL, Континентальная Хоккейная Лига, Kontinental'naya Khokkeynaya Liga) เป็นลีกฮอกกี้น้ำแข็งอาชีพระหว่างประเทศในยูเรเซีย ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและคอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการการบินระหว่างรัฐ

IAC/MAK head office คณะกรรมการการบินระหว่างรัฐ (IAC) (Межгосударственный авиационный комитет; MAK) เป็นองค์การบริหารซึ่งควบคุมการใช้และการบริหารการบินพลเรือนในเครือจักรภพรัฐเอกราช คณะกรรมการดังกล่าวได้รับการก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและคณะกรรมการการบินระหว่างรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต

ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต (Государственный герб Советского Союза, Gosudarstvenny gerb Sovetskogo Soyuza) เป็นตราแผ่นดินที่มาในปี 1923 ถึง 1991.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเบลารุส

ตราแผ่นดินของเบลารุส เริ่มใช้วันที่7 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและตราแผ่นดินของเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและตราแผ่นดินในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ตูลา (รัสเซีย)

ตูลา (p) เป็นเมืองอุตสาหกรรม และเป็นเมืองสำคัญของ แคว้นตูลา, ประเทศรัสเซีย, อยู่ห่างจากทางใต้ของกรุงมอสโกไป, และอยู่บนแม่น้ำ Upa ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตูลา เป็นหนึ่งในเมืองที่กองทัพโซเวียตโต้กลับในยุทธการที่มอสโกเมืองได้รับเกียรติเป็น นครวีรชนในปี 1976.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและตูลา (รัสเซีย) · ดูเพิ่มเติม »

ซาซ่า ศ.อารีย์

ซาซ.อารีย์ เกิดวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2537 เป็นนักมวยไทยหญิงชาวจังหวัดสระบุรี ซึ่งมีผลงานเป็นที่ยอมรับในประเทศญี่ปุ่น เช่นเดียวกับกระแต โฟร์ทีน โดยซาซ่าสามารถชนะ เกรซิเออร์ อากิ ซึ่งเป็นแชมป์เจ-เกิร์ล ชาวญี่ปุ่น ด้วยการชนะคะแนนอย่างเป็นเอกฉันท์ ในรายการ เอ็ม-วัน แฟร์เท็กซ์เบียร์สิงห์มวยไทยชาเลนจ์ 2009 - ยอดนักสู้ vol.4 ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและซาซ่า ศ.อารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีบีเรียค

้นทางเดินรถของซีบีเรียค เบอร์ลิน - โนโวซีบีสค์ ซีบีเรียค (Сибиряк, แปลว่า ที่เกี่ยวกับไซบีเรีย) เป็นขบวนรถโดยสารระหว่างประเทศ เชื่อมต่อระหว่างกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี กับเมืองต่าง ๆ ในประเทศรัสเซีย โดยผ่านประเทศเยอรมนี โปแลนด์ เบลารุส รัสเซีย และคาซัคสถาน บางช่วงเดินรถร่วมกับรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ระยะทางทำการ 5,130 กิโลเมตร จากเบอร์ลินไปโนโวซีบีสค์ นับว่าเป็นรถไฟที่วิ่งยาวที่สุดในยุโรปในขณะนั้น ซีบีเรียคถูกยกเลิกการเดินรถวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและซีบีเรียค · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบากราติออน

ปฏิบัติการบากราติออน (Oперация Багратион, Operaion Bagration) เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบลาร..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและปฏิบัติการบากราติออน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ปภัสรินทร์ ศรีปริยวัฒน์

ัญพร ศรีเสน หรือ กุ้ง มิสซูปราเนชั่นแนลไทยแลนด์ ประจำปี 2013.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและปภัสรินทร์ ศรีปริยวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เบลารุส

ประวัติศาสตร์เบลารุสเริ่มจากการตั้งถิ่นฐานของชาวสลาฟ เกิดเป็นราชอาณาจักร ภายหลังสวามิภักดิ์ต่อราชอาณาจักรเคียฟ ต่อมาถูกลิธัวเนียยึดครอง เมื่อประกาศเอกราชได้ไม่นานก็ถูกสหภาพโซเวียตเข้ายึดครองอีก ได้เป็นเอกราชอีกครั้งเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายไป.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประวัติศาสตร์เบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลัตเวีย

ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2011

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2011 ในประเทศเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ปอลตาวา

ปอลตาวา (ยูเครน, รัสเซีย: Полта́ва) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนแม่น้ำ Vorskla River ในทางตอนกลางของ ประเทศยูเครนเมืองนี้ยังเป็นเมืองหลวง ของ แคว้นปอลตาวา ในปี 2015 ปอลตาวามีประชากรอยู่ 294,962 คน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและปอลตาวา · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2013

นางงามนานาชาติ 2013 การประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 53 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและนางงามนานาชาติ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและนางงามนานาชาติ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นีโอนาซี

นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและนีโอนาซี · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว

Lao visa ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศลาวจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตลาว เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แกนแห่งความชั่วร้าย

"แกนแห่งความชั่วร้าย" ของบุชประกอบไปด้วยอิหร่าน อิรัก และเกาหลีเหนือ (สีแดง) "แกนแห่งความชั่วร้ายถัดไป" ประกอบไปด้วยคิวบา ลิเบีย และซีเรีย (สีส้ม) สหรัฐอเมริกาสีน้ำเงิน แกนแห่งความชั่วร้าย (Axis of evil) มีที่มาจากประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ในการกล่าวสุนทรพจน์ประจำปีของประธานาธิบดีสหรัฐ ในวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและแกนแห่งความชั่วร้าย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำซอช

แม่น้ำซอช (Сож,; Сож, Soż; Sozh) เป็นแม่น้ำในทวีปยุโรป ไหลผ่านประเทศเบลารุส รัสเซียและยูเครน เป็นแควทางตะวันออกของแม่น้ำนีเปอร์ ต้นน้ำอยู่ใกล้เมืองสโมเลนสค์ ทางตะวันตกของประเทศรัสเซีย ไหลไปทางใต้ในสโมเลนสค์โอบลาสต์ เข้าสู่ประเทศเบลารุส ไปรวมกับแม่น้ำนีเปอร์ ทางตอนล่างของเมืองโฮมเยล แม่น้ำมีความยาว 648 เมตร หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศเบลารุส หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศยูเครน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและแม่น้ำซอช · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำปรีเปียต

แม่น้ำปรีเปียต หรือ แม่น้ำปรีเปต (Прип’ять; Прыпяць, Prypiać; Prypeć; Припять) เป็นแม่น้ำในยุโรปตะวันออก มีความยาวราว 710 กิโลเมตร (440 ไมล์) ไหลไปทางตะวันออกผ่านประเทศยูเครน เบลารุส และกลับมายูเครนอีกครั้ง ไหลลงสู่แม่น้ำนีเปอร์ หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศยูเครน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและแม่น้ำปรีเปียต · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำนีเปอร์

แม่น้ำนีเปอร์ (Dnieper River ออกเสียง /ˈniːpər/) เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของยุโรปที่ยาวเป็นที่สี่ แม่น้ำนีเปอร์มีต้นสายจากธารน้ำแข็งที่เนินวัลไดในรัสเซีย ไหลผ่านประเทศรัสเซีย ประเทศเบลารุส และ ประเทศยูเครนไปยังสามเหลี่ยมปากแม่น้ำนีเปอร์ในทะเลดำ โดยมีความยาวทั้งสิ้น 2,290 กิโลเมตร -- 485 กิโลเมตรในรัสเซีย, 595 กิโลเมตรในเบลารุส และอีก 1,095 กิโลเมตรในยูเครน ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งหมด 504000 ตารางกิโลเมตรที่ 289000 ตารางกิโลเมตรอยู่ในยูเครน.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและแม่น้ำนีเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเนริส

แม่น้ำเนริส (Neris) เป็นแม่น้ำระหว่างประเทศโปแลนด์กับประเทศลิทัวเนีย มีความยาว 510 กม.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและแม่น้ำเนริส · ดูเพิ่มเติม »

แตแรสปอล

แตแรสปอล (Terespol) เป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศโปแลนด์ อยู่ในเขตจังหวัดลูบลิน มีพรมแดนติดกับประเทศเบลารุส ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและแตแรสปอล · ดูเพิ่มเติม »

โมกีลอฟ

มกีลอฟ (Магілёў, Łacinka: Mahiloŭ,; Могилёв,, Mohylew, Mohlev,מאָהלעוו) เป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศเบลารุส จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโมกีลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

โลมา ลูกบุญมี

ลมา ลูกบุญมี เป็นทั้งแชมป์โลกมวยไทยหญิง 9 สมัย รวมถึงเป็นนักต่อสู้แบบผสมหญิงชาวไทยคนแรกที่ชนะการแข่งในสหรั.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโลมา ลูกบุญมี · ดูเพิ่มเติม »

โอลกา คูรีเลนโก

อลกา คูรีเลนโก (Ольга Костянтинівна Куриленко, Ol’ha Kostyantynivna Kurylenko,; ˈolʲgə kənstɐnˈtʲinəvna kʊrʲɪˈlʲenkə; Olga Kostyantynivna Kurylenko) เป็นนางแบบ และนักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศสเชื้อสายยูเครน มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์ที่ดัดแปลงมาจากวิดีโอเกมสองเรื่อง คือเรื่อง Hitman (ปี 2007) และ Max Payne (ปี 2008) จากนั้นได้รับบทนำเป็นสาวบอนด์ในภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ตอน Quantum of Solace (2008) คู่กับแดเนียล เครก และบทนำใน Oblivion (2013) คู่กับทอม ครูซ โอลกา คูรีเลนโกเกิดที่เมืองเบียร์เดียนสค์ ในจังหวัดซาโปโรเจีย สหภาพโซเวียต (ปัจจุบันอยู่ในประเทศยูเครน) เธอมีเชื้อสายยูเครน รัสเซีย และเบลารุส เริ่มอาชีพนางแบบตั้งแต่อายุ 13 ปี โดยย้ายไปเป็นนางแบบอาชีพในปารีส ประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยได้รับคัดเลือกให้ถ่ายภาพปกนิตยสารโวกและนิตยสารเอลล์ ตั้งแต่อายุ 18 ปี โดยเริ่มจากภาพยนตร์ฝรั่งเศสเรื่อง L'Annulaire และภาพยนตร์สั้นตอนหนึ่งในเรื่อง มหานครแห่งรัก "Quartier de la Madeleine" คู่กับเอไลจาห์ วู.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโอลกา คูรีเลนโก · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 1956

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1956 ในโทรทัศน์ประเทศเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2003

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2003 ในโทรทัศน์ประเทศเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2005

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2005 ในโทรทัศน์ประเทศเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2005 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2013

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2013 ในโทรทัศน์ประเทศเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2015

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 ในโทรทัศน์ประเทศเบลาร.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโทรทัศน์ประเทศเบลารุสใน ค.ศ. 2015 · ดูเพิ่มเติม »

โปเลเซีย

ที่ลุ่มชื้นแฉะโปเลเซีย (สีเหลือง) บนแผนที่ของประเทศยูเครน โปเลเซีย (Пале́ссе Palyes'sye, Polesie, Поле́сье Poles'ye, Полі́сся Polissya) เป็นที่ลุ่มชื้นแฉะขนาดใหญ่ มีพรรณไม้ขึ้นหนาแน่น พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มีประชากรอยู่อาศัย อยู่ทางตอนใต้ของประเทศเบลารุสและทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศยูเครน บน 2 ฝั่งแม่น้ำปรีเปียต มีความยาวจากทางเหนือไปใต้ราว 225 กิโลเมตรและจากตะวันตกไปตะวันออกประมาณ 485 กิโลเมตร รู้จักในอีกชื่อว่า ปรีเปตมาร์เชส หรือ ปรีเปียตมาร์เชส (Pripyat Marshes) ตามชื่อแม่น้ำ หรือ ปินสค์มาร์เชส (Pinsk Marshes) ตามชื่อเมือง ปินสค์ โครงการสูบน้ำออกจากที่ลุ่มตั้งแต่ทศวรรษ 1870 ทำให้มีพื้นที่เพื่อการเกษตรเพิ่มขึ้น เคยเป็นเส้นเขตแดนธรรมชาติระหว่างโปแลนด์และสหภาพโซเวียต ซึ่งมีผลต่อการวางยุทธศาสตร์ในการเดินทัพและการอพยพประชากรนานหลายศตวรรษ หมวดหมู่:ภูมิภาคในประเทศโปแลนด์ หมวดหมู่:ภูมิภาคในประเทศยูเครน หมวดหมู่:ภูมิภาคในประเทศเบลารุส.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและโปเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ไฟป่าในรัสเซีย พ.ศ. 2553

ฟป่าในรัสเซี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและไฟป่าในรัสเซีย พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์

รชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ (Reichskommissariat Ostland, RKO) เป็นหน่วยการปกครองของนาซีเยอรมนีในรัฐบอลติก บางส่วนของเบลารุสและโปแลนด์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ดินแดนนี้ยังมีอีกชื่อว่า Reichskommissariat Baltenland ("ไรชส์คอมมิสซาเรียทแห่งรัฐบอลติก").

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอโฟน เอสอี

อโฟน เอสอี (iPhone SE) เป็นสมาร์ตโฟนที่ออกแบบและผลิตโดยบริษัท แอปเปิล ไอโฟนรุ่นนี้เปิดตัว เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2559 ที่สำนักงานใหญ่บริษัทแอปเปิล และวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 31 มีนาคม 2559 สำหรับประเทศไทยวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2559 ไอโฟน เอสอี นี้พัฒนาต่อยอดจาก ไอโฟน 5เอส โดยยังคงขนาดหน้าจอ 4 นิ้ว และมีรูปลักษณ์เหมือนกับ ไอโฟน 5เอส เกือบทั้งหมด แต่เลือกใช้ชิ้นส่วนฮาร์ดแวร์ภายในรุ่นใหม่จาก ไอโฟน 6เอส นั้นรวมไปถึงโปรเซสเซอร์, กล้องหลัง และอื่นๆ รองรับฟีเจอร์ใน ไอโอเอส 10 เช่น แอปเปิลเพย์ และไลฟ์โฟโต้ อีกทั้งรุ่นนี้ยังมีสีใหม่คือ สีโรสโกลด์ นอกเหนือจากสีมาตรฐานคือ สีสเปซเกรย์, สีเงิน และสีทอง ไอโฟนรุ่นนี้มีการวางจำหน่ายอีกครั้ง มีตัวเลือกความจุใหม่เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2560.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและไอโฟน เอสอี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เบรสต์ (เบลารุส)

รสต์ (Брэст Brest or traditionally Берасце, Bierascie; Брест Brest; Brestas, earlier name Lietuvos Brasta (literally, 'Lithuanian Ford'); Brześć; Брест Brest, traditionally Берестя Berestia; בריסק Brisk), เดิมชื่อ Brest-on-the-Bug ("Brześć nad Bugiem" ในภาษาโปแลนด์) และ เบรสท์-ลีตอฟสก์ ("Brześć Litewski" ในภาษาโปแลนด์) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส มีประชากร 310,800 คน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเบรสต์ (เบลารุส) · ดูเพิ่มเติม »

เบลารุส 24

ลารุส 24 (Беларусь-24) เป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติเบลารุส แพร่ภาพครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 กุมพาพันธ์ ค.ศ. 2005 แพร่ภาพด้วยภาษารัสเซีย และภาษาเบลารุส จะเป็นช่องรายการที่เต็มไปด้วยข่าวสารและความบันเทิง ตลอด 24 ชมในประเทศไทยสามารถรับชมช่องเบลารุส 24 ได้ที่ Galaxy-Sat.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเบลารุส 24 · ดูเพิ่มเติม »

เบียวิสตอค

ียวิสตอค (Białystok) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโปแลนด์ เป็นเมืองหลวงของจังหวัดปอดลาแช ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเบียวา เป็นเมืองที่มีความแน่นของประชากรเป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 และมีพื้นที่เป็นอันดับ 13 ของประเทศ เมืองนี้มีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศวรรษที่ 14 ผนวกเข้ากับปรัสเซีย ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเบียวิสตอค · ดูเพิ่มเติม »

เบเกิล

กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเบเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (гімн Беларуская Савецкая Сацыялістычная Рэспубліка, гимн Белорусской Советской Социалистической Республики) เป็นชื่อเพลงชาติของประเทศเบลารุสสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต (ในชื่อ "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย") ประพันธ์เนื้อร้องโดยมิคาเอล คลีโมวิช (Michael Klimovich) ทำนองโดยเนสตาร์ ซาคาโลวสกี (Nestar Sakalowski) เมื่อปี พ.ศ. 2487 แต่ได้ใช้เป็นเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียจริงในปี พ.ศ. 2498 จนถึงปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เมนาเฮม เบกิน

''(1978)'' เมนาเฮม เบกิน เมนาเฮม วูล์โฟวิช เบกิน (Menachem Wolfovich Begin - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2535) หัวหน้าองค์กรลับใต้ดิน "อิรกูน" ของลัทธิไซออนชาวโปแลนด์เชื้อสายยิว ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ นายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอลที่สังกัดพรรคลิคุด (พ.ศ. 2520-2526).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเมนาเฮม เบกิน · ดูเพิ่มเติม »

เยเรวาน

รวาน (Yerevan; Երևան) บางครั้งเรียกว่า เอเรวาน (Erevan) ชื่อเดิมคือ เอเรบูนี (Erebuni) และ เอรีวาน (Erivan) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอาร์มีเนีย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำฮรัซดัน (Hrazdan River) กรุงเยเรวานเป็นศูนย์กลางการบริหาร วัฒนธรรม และอุตสาหกรรมของประเทศ ปัจจุบันมีประชากร 1,088,000 คน (ค.ศ. 2004) มีนายตารอน มาร์กาเรียน (Taron Margaryan) เป็นนายกเทศมนตรี ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของเมืองนี้ย้อนไปถึงในช่วงศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช โดยมีการตั้งป้อมอูราร์เตียนแห่งเมืองเอเรบูนีเมื่อ 782 ปีก่อนคริสต์ศักราช กรุงเยเรวานเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเยเรวานสเตต (1919) บัณฑิตยสถานอาร์มีเนีย รวมทั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ โรงอุปรากร ห้องแสดงดนตรี สถาบันเทคโนโลยี ห้องสมุดสาธารณะขนาดใหญ่ สวนพฤกษศาสตร์ และสวนสัตว์อีกหลายแห่ง สถาบันมาเตนาดารัน (Matenadaran) ได้สะสมเอกสารต้นฉบับของอาร์มีเนียโบราณ กรีก ซีเรีย ฮีบรู โรมัน และเปอร์เซียที่มีค่าเอาไว้มากมาย เยเรวานยังเป็นหัวใจของเครือข่ายทางรถไฟและเป็นศูนย์กลางการค้าหลักของสินค้าเกษตรกรรมของประเทศ นอกจากนี้ โรงงานอุตสาหกรรมในเมืองนี้ยังผลิตโลหะ เครื่องมือจักรกล อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ และผลิตภัณฑ์อาหารอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเยเรวาน · ดูเพิ่มเติม »

เวลามอสโก

ตเวลากรุงมอสโก (Моско́вское вре́мя) เป็นเขตเวลาสำหรับกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย, ประเทศเบลารุส, ประเทศตุรกี และฝั่งตะวันตกของประเทศ รวมถึงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กด้วย เขตเวลากรุงมอสโกเป็นเขตเวลาเท่ากับเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 3 ชั่วโมง (GMT+3) เขตเวลากรุงมอสโก ถือเป็นเขตเวลากลางในสหพันธรัฐรัสเซียทั่วทั้งสหพันธรัฐ ซึ่งใช้ในการกำหนดตารางเวลาเครื่องบิน ตารางเวลารถไฟ และตารางเวลาการขนส่งอื่นๆ อีกทั้ง ยังนำมาใช้เป็นเวลากลางในการส่งโทรเลขด้วย ในรัสเซีย จะมีสถานีวิทยุที่จะกระจายเสียงบอกเวลาของเขตเวลากรุงมอสโกอย่างสม่ำเสมอ.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเวลามอสโก · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปตะวันออก

วลายุโรปตะวันออก (Eastern European Time - EET) เป็นชื่อเขตเวลา UTC+2 อันหนึ่ง ใช้ในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ประเทศส่วนใหญ่จะใช้เวลาฤดูร้อนยุโรปตะวันออก เป็นเวลาออมแสงด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเวลายุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก

วลาออมแสงยุโรปตะวันออก (Eastern European Summer Time - EEST) เป็นชื่อเขตเวลาออมแสงของเขตเวลา UTC+3 เป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนหน้าเวลาสากลเชิงพิกัด เป็นเวลาที่กำหนดใช้ระหว่างช่วงฤดูร้อนในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ในระหว่างฤดูหนาวประเทศเหล่านี้จะกลับไปใช้เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจยุโรป

รษฐกิจยุโรป ประกอบด้วยผู้คนกว่า 731 ล้านคนในประเทศต่าง ๆ 48 ประเทศ เช่นเดียวกับทวีปอื่น ๆ ความร่ำรวยของรัฐในทวีปยุโรปมีความแตกต่างกันออกไป แม้ว่าคนยากจนที่สุดของทวีปนี้จะดีกว่าคนยากจนที่สุดของทวีปอื่น ๆ ในแง่ของจีดีพีและมาตรฐานการครองชีพก็ตาม การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองทำให้ประเทศในยุโรปใกล้ชิดกันมากขึ้น ปิดท้ายในการก่อตัวสหภาพยุโรป (อียู) และในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเศรษฐกิจยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945"

หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาต..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945" · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554

หตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมิน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเครื่องบินโลโคโมทิฟ ยาโรสลาฟตก พ.ศ. 2554

หตุเครื่องบินโลโคโมทีฟ ยาโรสลาฟตก เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเหตุเครื่องบินโลโคโมทิฟ ยาโรสลาฟตก พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เออร์วิง เบอร์ลิน

''Alexander's Ragtime Band'', Edison Amberol cylinder, 1911 เออร์วิง เบอร์ลิน (Irving Berlin) เป็นนักแต่งเพลงและเขียนคำร้องชาวอเมริกันเชื้อสายยิวเบลารุส เป็นผู้หนึ่งที่ได้รับการยกย่องเป็นนักแต่งเพลงที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์การดนตรีอเมริกัน มีผลงานแต่งเพลงมากกว่า 1,500 เพลง ดนตรีประกอบละครบรอดเวย์ จำนวน 19 เรื่อง ดนตรีประกอบภาพยนตร์ 18 เรื่อง เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 8 ครั้ง ผลงานแต่งเพลงของเขาเคยขึ้นถึงอันดับหนึ่งชาร์ตซิงเกิลถึง 25 ครั้ง ขับร้องโดยศิลปินชื่อดังเช่น เฟรด แอสแตร์ แฟรงก์ ซินาตรา จูดี การ์แลนด์ บาร์บรา สไตรแซนด์ ลินดา รอนสตัดต์ แชร์ ไดอานา รอสส์ บิง ครอสบี แนท คิง โคล บิลลี ฮอลิเดย์ ดอริส เดย์ เอลลา ฟิตซ์เจอรัล.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเออร์วิง เบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เอแคเทอรีนา แวนดารีวา

อแคเทอรีนา แวนดารีวา (Екатерина Вандарьева; Ekaterina Vandarieva) เกิดวันที่ 20 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเอแคเทอรีนา แวนดารีวา · ดูเพิ่มเติม »

เจเนรัลพลันโอสท์

นรัลพลันโอสท์ (Master Plan for the East), ย่อคำว่า GPO, เป็นแผนการของรัฐบาลนาซีเยอรมนีในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และขจัดชาติพันธุ์ในพื้นที่กว้างใหญ่,และเขตอาณานิคมของทวีปยุโรปกลางและตะวันออกโดยเยอรมัน มันได้ถูกรับรองในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แผนการนี้ได้เป็นที่รับรู้เพียงบางส่วนในช่วงสงคราม,ได้ส่งผลทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากมายมหาศาลทั้งทางตรงและทางอ้อม,แต่การลงมือแผนการทั้งหมดกลับไม่ได้ปฏิบัติตามในช่วงปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญ, และถูกขัดขวางจากความพ่ายแพ้ของเยอรมนี แผนการนี้ได้ก่อให้เกิดการกดขี่ข่มเหง, ขับไล่เนรเทศ,และสังหารหมู่ต่อชนชาวสลาฟจำนวนมากในทวีปยุโรปรวมถึงการวางแผนการทำลายประเทศชาติของพวกเขา,แบบที่"เผ่าอารยัน"ของนาซีนั้นได้ดูราวกับเชื้อชาติด้อยกว่าตน โครงการแนวทางการปฏิบัตินี้ได้ขึ้นอยู่กับนโยบายเลเบนสเราม์ ซึ่งได้ออกแบบโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีในการปฏิบัติตามอุดมการณ์ของลัทธิ Drang nach Osten (การขับไล่ไปทางตะวันออก) จากการขยายตัวของเยอรมัน ซึ่งเช่นนี้แล้ว,ได้มุ่งมั่นหมายที่จะเป็นส่วนหนึ่งของระเบียบใหม่ในทวีปยุโรป แผนการนำได้ดำเนินไป,มีเพียงสี่รุ่นที่เป็นที่รู้จักกัน,มันได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อเวลาได้ผ่านพ้นไป,ภายหลังจากการบุกยึดครองโปแลนด์,ภาพออกแบบพิมพ์เขียวสำหรับแผนการเจเนรัลพลันโอสท์(GPO)ได้ถูกกล่าวถึงโดยสำนักผู้ตรวจการไรช์เพื่อความเป็นเอกภาพแห่งชนชาติเยอรมัน-RKFDV ในช่วงกลางของปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเจเนรัลพลันโอสท์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เครือรัฐเอกราช

รือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States หรือ CIS Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเครือรัฐเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย

รือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย (Rzeczpospolita Obojga Narodów; Polish-Lithuanian Commonwealth) มีชื่อเป็นทางการว่า “Rzeczpospolita Korony Polskiej i Wielkiego Księstwa Litewskiego” หรือที่รู้จักกันในนาม “สาธารณรัฐโปแลนด์ที่หนึ่ง” (First Polish Republic) หรือ “สาธารณรัฐแห่งสองชาติ” (Republic of the Two Nations) (Pierwsza Rzeczpospolita หรือ Rzeczpospolita Obojga Narodów; Abiejų tautų respublika) เป็นเครือจักรภพที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุด, accessed on 19 March 2006: At its apogee, the Polish-Lithuanian Commonwealth comprised some 400000 sqare mile and a multi-ethnic population of 11 million. For population comparisons, see also those maps:,. แห่งหนี่งในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โครงสร้างทางการเมืองเป็นกึ่งสหพันธรัฐ กึ่งราชาธิปไตย เครือจักรภพก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:2000-06-21

ISO 3166-2:2000-06-21 คือจดหมายข่าวของ ISO ฉบับที่ 1 ประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของ ISO 3166-2 โดยมีผลต่อโค้ดดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและISO 3166-2:2000-06-21 · ดูเพิ่มเติม »

MAZ-543

MAZ-543 / MAZ-7310 "อูราแกน" (МАЗ-543/МАЗ-7310 "Ураган"/Hurricane) เป็นรถยิงขีปนาวุธของสหภาพโซเวียต เป็นรถบรรทุกขับเคลื่อน 8 ล้อ ที่ออกแบบและผลิตโดยบริษัท MAZ (Minsk Automobile Plant) ในเบลารุส มีสายการผลิตตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 โดยเปิดเผยสู่สาธารณะตั้งแต่วันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965 ในพิธีสวนสนามของโซเวียตที่จัตุรัสแดง โดยเป็นส่วนหนึ่งของระบบขีปนาวุธ SS-1c สกั๊ด (9K72 Elbrus) มีรหัสการผลิต 9P117 ในปี ค.ศ. 1974 โซเวียตได้เปิดเผยรถต้นแบบ MAZ-543 รุ่นใหม่ ใช้รหัสว่า MAZ-7310 เริ่มสายการผลิตตั้งแต่ ค.ศ. 1976 และพัฒนาเป็น MAZ-7313 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและMAZ-543 · ดูเพิ่มเติม »

Wiki Loves Monuments

Wiki Loves Monuments (WLM) เป็นการแข่งขันประกวดภาพถ่ายในระดับนานาชาติประจำปี ในเดือนกันยายน โดยสมาชิกประชาคมวิกิพีเดีย ผู้เข้าร่วมจะถ่ายถ่ายภาพโบราณสถานและมรดกโลกในพื้นที่ของตน และอัปโหลดเข้าสู่วิกิมีเดียคอมมอนส์ วัตถุประสงค์ของการแข่งขันนี้คือเพื่อเน้นสถานที่สำคัญของประเทศที่เข้าร่วม การแข่งขัน Wiki Loves Monuments ครั้งแรกจัดเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและWiki Loves Monuments · ดูเพิ่มเติม »

.by

.by เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศเบลารุส เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและ.by · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 สิงหาคม

วันที่ 25 สิงหาคม เป็นวันที่ 237 ของปี (วันที่ 238 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 128 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและ25 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและ27 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและ3 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเบลารุสและ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Belarusสาธารณรัฐเบลารุสเบลารุสเบลารุสเซียเบียลารุส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »