โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเนปาล

ดัชนี ประเทศเนปาล

ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.

516 ความสัมพันธ์: ชมพูทวีปบริติชราชชะมดแปลงลายจุดชะมดเช็ดบักวีตชัมภละชาวทิเบตชาวเศรปาชาดาร์จีลิงชาเย็นบิมสเทคบิ๊กฟุตบุดด้าแอร์ช้างอินเดียช้างเอเชียฟาร์คราย 4ฟุตบอลทีมชาติภูฏานฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018 รอบคัดเลือกพ.ศ. 2519พ.ศ. 2535พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2558พญากระรอกดำพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา)พระมัญชุศรีโพธิสัตว์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตรพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอินทร์พระธยานิพุทธะพระนางตาราพระแม่ศีตลาเทวีพระแม่คงคาพระโคตมพุทธเจ้าพระไภรวะพระไวโรจนพุทธะพระเจ้ารณพหาทุร ศาหะพระเจ้าซรอนซันกัมโปพระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะพฤกษาพักตร์พังพอนกินปูพังพอนเล็กพื้นที่พาคมตีพูฒานีลกัณฐมนเทียรกบิลพัสดุ์กกสามเหลี่ยมใหญ่กรรณิการ์กระทิงกระดูกไก่...กรุงเทพมหานครกลุ่มภาษาหิมาลัยกลุ่มภาษาทิเบตกลุ่มภาษาตามังอิกกลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซากวางบึงกวางผากวางดาวกาฐมาณฑุการบินไทย เที่ยวบินที่ 311การพลัดถิ่นการรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาลการรถไฟเนปาลการสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาลการูด้า ไออาคอสการจาริกแสวงบุญการขนส่งระบบรางในประเทศเนปาลการค้าประเวณีเด็กการค้าเครื่องเทศการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็กการแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิการ์ตูนเน็ตเวิร์คกาจูกำลังเสือภูฏานกิ้งก่าสวนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548กุมารีกุหลาบพันปีกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1984กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1999กถาสริตสาครภักตปุระภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาชันเตียลภาษาบาฮิงภาษากูรุงภาษามาร์วารีภาษามาคัรภาษามุนดารีภาษาลิมบูภาษาวัมบูเลภาษาสันสกฤตภาษาสันถาลีภาษาสุนุวาร์ภาษาอวธีภาษาอังคิกาภาษาทิเบตภาษาทิเบตกลางภาษาทูลุงภาษาคามภาษาตามางภาษาปูมาภาษานัรพูภาษาโบโดภาษาโภชปุรีภาษาไมถิลีภาษาเบลฮาเรภาษาเลปชาภาษาเศรปาภาษาเนวารีภาษาเนปาลมกรมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554มหายานมหาวัสตุมะม่วงขี้ไต้มะตูมมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009มาตฤกามิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสเตอร์โกลบอล 2016มิสเตอร์เวิลด์ 2016มิตซูโอะ ชิบาฮาชิมินสค์มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ยอดเขาชิชาพังมะยอดเขากันเจนชุงคายอดเขาอันนะปุรณะยอดเขาอิมชาตเซยอดเขานันทาเทวียอดเขาเอเวอเรสต์ยิดัมยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 211ย่านพาโหมระบบรัฐสภาระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัฐพิหารรัฐกันชนรัฐสิกขิมรัฐอุตตราขัณฑ์รัฐอุตตรประเทศรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลรัฐเบงกอลตะวันตกรัตนชาติราชอาณาจักรเนปาลราชอาณาจักรเนปาลในเอเชียนเกมส์ 1954ราม พหาทุร พามชานรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่อสถานีรถไฟในประเทศเนปาลรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงชาติในทวีปเอเชียรายชื่อถนนในประเทศเนปาลรายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิงรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเนปาลรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายการภาพธงชาติรายนามพระโพธิสัตว์รายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งรายนามผู้ได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลรายนามประธานาธิบดีเนปาลริชาร์ด เกียร์รูปีเนปาลลัทธิคอมมิวนิสต์ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิงลาซาลาป่าทิเบตลิงวอกลิงอ้ายเงียะลิ่นจีนลุมพินีวันวัดไทยลุมพินีวันชาติวันวิสาขบูชาวันครูวันแม่วันเข้าพรรษาวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทิตนันท์ โรจนพานิชวิเทหะว่านหัวสืบศรีมาน คัมภีระ เนปาลีศาสนาพุทธศาสนาพุทธแบบทิเบตศาสนาพุทธแบบเนวารศาสนาพุทธในประเทศภูฏานสกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)สภามุสลิมพม่าสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียสมาคมมวยแห่งทวีปเอเชียสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาลสมเด็จพระราชินีรัตนาแห่งเนปาลสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาลสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)สวนลุมพินีสหพันธรัฐสหพันธ์เอเชียนเกมส์สะพานพระราม 8สังเวชนียสถานสาบนรสิงห์สาราลา ตามางสาละสิบการทัพใหญ่สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552สถานีลุมพินีสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรสเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามีหญ้ากุศะหมาหริ่งพม่าหมาจิ้งจอกอินเดียหมาจิ้งจอกทองหมาจิ้งจอกแดงหมาในหมูหริ่งหมีสีน้ำตาลหมีควายหมีเหม็นหม่อนอ่อนหน่อไม้ห่วยหงู่ฉิกอักษรรัญชนาอักษรลิมบูอักษรสันถาลีอักษรทิเบตอักษรเลปชาอาทิพุทธะอุทยานหลวงราชพฤกษ์อุทยานแห่งชาติสครมาถาอุทยานแห่งชาติจิตวันอีแกอีเห็นข้างลายอีเห็นเครือองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮมอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญาอนุสัญญาแรมซาร์อนุทวีปอินเดียอ่าวเบงกอลอ้นเล็กผู้ลี้ภัยผ้าพัชมีนาจอมเวทย์มหากาฬจอร์จ เอเวอเรสต์จักรวรรดินิยมในเอเชียจุกนารีจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ธรหราธงชาติเนปาลธงศาสนาพุทธถั่งเช่าทรูแฟนเทเชียทวีปเอเชียทองกวาวทาทา ยังทางหลวงตริภูวันทางหลวงเอเชียสาย 2ทางหลวงเอเชียสาย 42ทุพภิกขภัยทุกปาที่สุดในโลกท่าอากาศยานดอนเมืองท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวันข้าวฟ่างหางหมาดั่งดวงหฤทัยดีปลีแขกดนัย สมุทรโคจรคริสต์มาสคริสต์สหัสวรรษที่ 3คริสต์ทศวรรษ 2000ควายป่าคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคุลฟีคฒิมาอีมนเทียรคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาลค่างหนุมานค้างคาวหน้ายักษ์ทศกัณฐ์งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 72งูดินบ้านงูเห่าหม้อตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกตระกูลภาษาดราวิเดียนตราแผ่นดินของเนปาลตราแผ่นดินในทวีปเอเชียตะพาบม่านลายอินเดียตะกวดเหลืองตะโขงอินเดียประมุขแห่งรัฐประวัติการบินไทยประวัติศาสตร์ทิเบตประวัติศาสนาพุทธประหยัด ไพทีกุลประเทศกาตาร์ประเทศภูฏานประเทศอินเดียประเทศจีนประเทศเวียดนามในเอเชียนเกมส์ 1954ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1723ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1751ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1775ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1777ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1797ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1813ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1816ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1829ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1881ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1906ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1911ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1920ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1944ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1947ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1951ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1954ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1955ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1958ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1959ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1960ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1962ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1964ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1966ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1970ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1971ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1972ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1974ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1976ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1978ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1980ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1981ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1982ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1984ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1986ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1988ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1990ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1991ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1992ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1994ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1996ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1998ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1999ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2000ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2001ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2002ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2004ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2005ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2006ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2008ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2010ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2012ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2016ประเทศเนปาลในเอเชียนเกมส์ 2014ประเทศเนปาลในเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 2017ปรงเขาปลาช่อนสจวร์ตปลากระโห้อินเดียปลาหมูโยโย่ปลาซิวใบไผ่ใหญ่ปลาแค้ยักษ์ปลาแค้ติดหินสามแถบปศุปตินาถมนเทียรปัญจรักษาปัญจายตีราชปาฏันปาดบ้านปีเตอร์ สกิลลิงนพรัตน์นกกระจอกบ้านนกกระจิบหญ้าท้องเหลืองนกกระเรียนไทยนกกะปูดใหญ่นกกาเหว่านกกินปลีหางยาวเขียวนกศิวะหางสีตาลนกหัวขวานด่างแคระนกอีเสือหลังเทานกขุนทองนกต้อยตีวิดนกปรอดหัวโขนนกปากห่างนกแก๊กนกแซงแซวหางบ่วงเล็กนกเค้าแคระนากใหญ่ขนเรียบนากเล็กเล็บสั้นนาธาน โอร์มานนางพญาเสือโคร่งนางงามจักรวาล 2017นางงามนานาชาติ 2010นิติภาวะแพนด้าแดงแกงหัวปลาแมวลายหินอ่อนแมวดาวแมวป่าแมงป่องช้างแม่น้ำพาคมตีแม่น้ำฆาฆราแรดอินเดียแอร์เอเชีย เอกซ์แอนทิโลปสี่เขาแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559แผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พ.ศ. 2559แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พ.ศ. 2558แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พฤษภาคม พ.ศ. 2558โชกุน สันธนะพานิชโพโกฐก้านพร้าวโกฐน้ำเต้าแขกโมโม (อาหาร)โมโม (แก้ความกำกวม)โรฮีนจาโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมโหราน้ำเต้าโฮลีโจมาร์ ดามอสมอคโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1983โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2003โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2007โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2010โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2012โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2014โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2015โคราฆปุระโคตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ลโปขราโปแลนด์บอลโปเกมอน โกไก่ฟ้าสีเลือดไอโฟน เอสอีไผ่หกไผ่ตงไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไทรย้อยใบทู่ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์เชษฐ์ ติงสัญชลีเพื่อนแท้ในป่าใหญ่เพียงพอนเส้นหลังขาวเมษายน พ.ศ. 2549เม่นใหญ่แผงคอยาวเยติเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์เวลาสากลเชิงพิกัดเศรษฐกิจอินเดียเสือลายเมฆเสือดาวหิมะเสือปลาเสือโคร่งเบงกอลเสือไฟเสนียดเหตุเพลิงไหม้ซานติก้าผับเอบียูโรบอตคอนเทสต์ 2002เอื้องสายมรกตเอื้องสีตาลเอื้องเงินหลวงเอเชีย เน็กซ์ ท็อป โมเดลเอเชียนบีชเกมส์ 2012เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์เอเชียนเกมส์เอเชียนเกมส์ 1978เอเชียนเกมส์ 1994เอเชียใต้เอเวอร์เรสต์เวียดนามเอเอฟซีแชลเลนจ์คัพเอเอฟซีเพรซิเดนต์คัพเจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาลเจ้าหญิงหิมานี มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาลเจ้าหญิงปูรณิกาแห่งเนปาลเจ้าหญิงเปรรณาแห่งเนปาลเถรวาทเทวทหะเทศกาลกฤษณชันมาษฏมีเทศกาลคฒิมาอีเทือกเขาหิมาลัยเทนซิง นอร์เกเขตปกครองตนเองทิเบตเขตเวลาเดวิด วูดอาร์ดเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศเปียงยางเป็ดก่าเป็ดแดงเนื้อทรายเนปาลแอร์ไลน์HemiorchisNPO.T ผี OVERTIMERucervusTITV Everest 2007UTC+05:45.np1 E+11 m²22 กรกฎาคม28 พฤษภาคม31 กรกฎาคม7 ปี โลกไม่มีวันลืม ขยายดัชนี (466 มากกว่า) »

ชมพูทวีป

มพูทวีป มีความหมายได้ 2 ประการ ประการแรกหมายถึง ดินแดนที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังกลาเทศในปัจจุบัน มีชื่อเรียกทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า “เอเชียใต้”, “อนุทวีปอินเดีย”, หรือ “ภารตวรรษ” (Bharatavarsa) ประการที่สองหมายถึงทวีปใหญ่ทางทิศใต้ของเขาพระสุเนรุซึ่งเป็น 1 ใน 4 ทวีปของชาวภารตะ (อุตรกุรูทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชมพูทวีป · ดูเพิ่มเติม »

บริติชราช

ริติชราช (British Raj; ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและบริติชราช · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแปลงลายจุด

มดแปลงลายจุด หรือ อีเห็นลายเสือ (Spotted linsang) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง เป็นชะมดที่ไม่มีต่อมกลิ่นเช่นเดียวกับชะมดแปลงลายแถบ (P. linsang) และมีรูปร่างลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ส่วนหัวมีขนสีน้ำตาลอ่อน ลักษณะเด่นคือ มีจุดสีน้ำตาลเข้มหรือดำขึ้นอยู่ประปรายตามลำตัว หางยาวและมีแถบสีขาวสลับดำ หรือน้ำตาลเข้มเป็นปล้องประมาณ 7 ปล้อง มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 35-37 เซนติเมตร ความยาวส่วนหาง 31-34 เซนติเมตร มีน้ำหนักประมาณ 700 กรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่เนปาล, แคว้นสิกขิมและแคว้นอัสสัมของอินเดีย, ภาคใต้ของจีน, ภาคเหนือของพม่า, ไทย, ลาว และเวียดนาม มักอาศัยอยู่ตามลำพังเพียงตัวเดียว ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนอาจอยู่เป็นคู่หรือหลายตัว มักพบในพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,500-2,700 เมตร ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น กระรอก, หนู, นก และแมลงต่าง ๆ เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนใหญ่จะหากินเป็นหลักบนต้นไม้ นานครั้งจึงจะลงมาบนพื้นดิน มีฤดูผสมพันธุ์ในเดือนกุมภาพันธ์-สิงหาคม ออกลูกครั้งละ 2 ตัว ใช้โพรงไม้ในการเลี้ยงดูลูกอ่อน จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชะมดแปลงลายจุด · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดเช็ด

มดเช็ด หรือ ชะมดเชียง หรือ มูสัง (Indian small civet) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง จัดเป็นชะมดขนาดเล็ก ขาสั้น หูทั้งสองข้างอยู่ใกล้กัน เมื่อมองไกล ๆ อาจคล้ายแมว จนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง และมีจุดสีดำขนาดเล็กแทรกอยู่ทั่วไปตามลำตัว มีแถบสีดำและขาวบริเวณลำคอ หางมีวงสีดำ 6-9 ปล้องพาดขวางอยู่ ทำให้มีดูมีลักษณะเป็นปล้องสีดำ ไม่มีขนแผงสันหลัง ปลายหางมีสีขาว ขาหลังมีต่อมกลิ่นที่ใช้สื่อสารระหว่างพวกเดียวกัน และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล ViverriculaBlanford, W. T. (1888–91).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชะมดเช็ด · ดูเพิ่มเติม »

บักวีต

ักวีต ชื่อวิทยาศาสตร์ Fagopyrum esculentum เป็นพืชในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นเป็นเหลี่ยม กลวง ใบที่อยู่ด้านบนเกือบจะไม่มีก้านใบ ดอกออกเป็นช่อ ก้านดอกสั้นสีแดงกุหลาบจนถึงสีขาว ผลเป็นผลแห้งเมล็ดล่อนสีน้ำตาลดำไปจนเกือบดำ เมล็ดสีเขียวอ่อนแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแกมแดง การปลูกบักวีตเป็นอาหารพบที่เทือกเขาหิมาลัยตั้งแต่อินเดีย เนปาล ไปจนถึงพม่า จีนและมองโกเลีย รวมทั้งเกาหลีและญี่ปุ่น ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกทางภาคเหนือของเวียดนามและไทย บักวีตสามารถเติบโตได้ใรที่ที่มีดินค่อนข้างเร็ว ปลูกธัญพืชอื่น ๆ ไม่ได้ผล ถ้าดินมีไนโตรเจนหรือความชื้นสูง ทำให้เฝือใบ ดอกบักวีต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและบักวีต · ดูเพิ่มเติม »

ชัมภละ

วาดของ Tamonten, ผู้เป็นจตุโลกบาลทางทิศเหนือเมื่อพุทธศตวรรษที่ 18 ชัมภละ เป็นเทพเจ้าที่ชาวทิเบตให้ความเคารพนับถือมาก่อนจะนับถือพุทธศาสนา โดยเป็นเทพแห่งความมั่งคั่ง เมื่อหันมานับถือพุทธศาสนาแล้ว เทพชัมภละกลายเป็นยิดัมสังกัดรัตนโคตร รูปบูชาของท่านเป็นเพศชาย กายสีน้ำเงิน มี 6 แขน รูปร่างอ้วน ถือเพชรนิลจินดาหรือถุงเงิน บางแห่งกำหนดให้เป็นภาคสำแดงของกุเวระหรือมหากาฬ อิตถีภาวะของชัมภละคือวสุธาราถือว่าเป็นเทวีแห่งแผ่นดิน กายสีเหลือง มีแขน 2-6 ข้าง ตามแต่ความเชื่อ ถือรวงข้าวและอุ้มแจกันใส่เพชรพลอย ในเนปาลมีกายสีขาว ถือรวงข้าว ปีกนกยูงและลูกศร เชื่อกันว่าท่านเป็นเทพีแห่งโลกที่เป็นประจักษ์พยานในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าและบิดน้ำออกจากมวยผมเพื่อขับไล่พวกมาร เช่นเดียวกับพระธรณีตามความเชื่อของชาวพุทธในไท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชัมภละ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวทิเบต

วทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก ชาวทิเบตสืบเชื้อสายจากชนเผ่าตูรัน และตังกุตในเอเชียกลาง ต่อมาได้อพยพมาจากทางตอนบนในเขตหุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำยาร์ลุงซางโป และแต่งงานกับชนพื้นเมืองแถบนี้ แล้วออกลูกออกหลานเป็นชาวทิเบตในปัจจุบัน ชาวทิเบตเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ในอดีตเคยเป็นพวกชาวเขาที่ไม่แตกต่างกับชาวเขาทั่วไป แต่พอได้รับพระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจากพระปัทมสัมภวะ (คุรุรินโปเช่) ทำให้ทิเบตมีวัฒนธรรมที่โดดเด่น ชาวทิเบตส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธวัชรยาน นอกนั้นนับถือศาสนาอิสลามราว 2,000 คน และคริสตังทิเบตราว 600 คน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชาวทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเศรปา

วเศรปาลูกหาบของทีมพิชิตยอดเขาเอเวอร์เรสต์ เศรปา (Sherpa) เป็นชนเผ่าในประเทศเนปาล เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะลูกหาบของทีมพิชิตยอดเขาเอเวอร์เรสต์ เศรปาหมายถึงคนจากทิศตะวันออก ชาวเศรปากลุ่มแรก เริ่มต้นสร้างชุมชนที่หุบเขาคุมบู ทางทิศตะวันออกของเนปาล ซึ่งมีอาชีพเป็นพ่อค้าเร่ร่อน นำสินค้าพวกเมล็ดพืชและข้าวบาร์เลย์จากพื้นราบไปแลกกับเกลือในแถบทิเบต กระทั่ง..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชาวเศรปา · ดูเพิ่มเติม »

ชาดาร์จีลิง

ร์จีลิง ใบชาดาร์จีลิง ชาดาร์จีลิง (Darjeeling Tea) เป็นชาที่ถูกผลิตขึ้นในเมืองดาร์จีลิงอยู่ทางรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย ชาดาร์จีลิงถูกผลิตขึ้นในหลายรูปแบบเช่น ชาดำ ชาเขียว ชาขาว และชาอู่หลง เมื่อได้รับการชงจะได้ชาที่มีสีทองสว่าง ให้กลิ่นหอมดอกไม้ จึงทำให้ชาดาร์จีลิงได้ฉายาว่า แชมเปญแห่งชา (Champagne of teas) ชาดาร์จีลิงมักทำจากใบชาพันธุ์จีน (สายพันธุ์:Camellia sinensis var. sinensis)ซึ่งแตกต่างจากชาอินเดียอื่นๆทำจากใบชาสายพันธุ์อัสสัม (สายพันธุ์:Camellia sinensis var. assamica) ที่มีใบขนาดใหญ่กว่า เป็นชาที่นิยมผลิตออกมาใบรูปแบบของชาดำเสียส่วนใหญ่ ในปี 2003 ชาดาร์จีลิงได้กลายมาเป็นผลิตภัณฑ์อินเดียผลิตภัณฑ์แรกที่ได้รับการขึ้นทะเบียนสินค้าบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ผ่านทางสำนักงานสิทธิบัตรแห่งอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชาดาร์จีลิง · ดูเพิ่มเติม »

ชาเย็น

็นกับเลมอน ชาเย็น (Iced tea) เป็นชาที่มีความเย็น ซึ่งอาจจะมาจากการใส่น้ำแข็ง หรือนำชาไปแช่เย็น โดยอาจจะมีหรือไม่มีรสหวานก็ได้ ชาเย็นนั้นเป็นเครื่องดื่มแบบสำเร็จรูปที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ซึ่งสามารถผสมน้ำเชื่อมรสชาติต่าง ๆ เช่น เลมอน, แรสเบอร์รี, มะนาว, เสาวรส, ท้อ, ส้ม, สตรอว์เบอร์รี และ เชอร์รี ในขณะที่ชาเย็นส่วนใหญ่จะมีรสชาติของใบชา ส่วนชาจากสมุนไพร ก็สามารถนำมาทำเป็นชาเย็นได้เช่นกัน ในบางครั้งชาเย็นอาจทำมาจากน้ำชาที่อุณหภูมิต่ำ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและชาเย็น · ดูเพิ่มเติม »

บิมสเทค

ประเทศในโครงการบิมสเทค ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลสำหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและบิมสเทค · ดูเพิ่มเติม »

บิ๊กฟุต

กฟุตในภาพเคลื่อนไหวจากกล้องวิดีโอ ในปี ค.ศ. 1967 รู้จักกันดีในชื่อของภาพยนตร์ของแพตเตอร์สัน–กิมลิน (Patterson–Gimlin film) บิ๊กฟุต (Bigfoot) หรือ แซสแควตช์ (Sasquatch) หรือชื่อที่แปลตรงตัวว่า "ไอ้ตีนโต" เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่เชื่อว่ามีรูปร่างคล้ายมนุษย์หรือเอป แต่มีขนดก พบในสหรัฐอเมริกาและแคนาดาในทวีปอเมริกาเหนือ โดยชื่อที่เรียกมีที่จากรอยเท้าที่มีลักษณะคล้ายมนุษย์แต่ใหญ่โตกว่ามาก ส่วนใหญ่บรรยายว่ามีความสูงถึง 8 ฟุต หรือ 9 ฟุต น้ำหนักอาจถึง 800 ปอนด์ มีขนดกปกคลุมทั่วตัวสีเข้ม มีแขนยาว ไร้คอ และใบหน้าเหมือนมนุษย์ มีตาแหลมคม มีพละกำลังมหาศาลสามารถทุ่มก้อนหินขนาดเท่าลูกบาสเก็ตบอลไปไกลได้อย่างสบาย และมีสัตว์ลักษณะคล้ายเคียงกันที่พบในภูมิภาคอื่นของโลก เช่น ที่เทือกเขาหิมาลัยในเนปาล เรียกเป็นภาษาพื้นเมืองว่า "เยติ" (เนปาล: यती; Yeti) หรือ มนุษย์หิมะ ที่ออสเตรเลียเรียกว่า "ยาวี" (Yowie) เป็นต้น โดยบิ๊กฟุตยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ต่างกันไปตามแต่ละชนเผ่าของอินเดียนแดง ซึ่งเป็นกลุ่มปฐมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ เช่น "มายาเด็กเท็ก" ที่แปลได้ว่า "มนุษย์ขนดก" หรือ "มนุษย์กิ่งไม้", "หญิงตะกร้า" หรือ "ยายาริ" และคำว่า "แซสแควตช์" ตั้งขึ้นมาเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและบิ๊กฟุต · ดูเพิ่มเติม »

บุดด้าแอร์

้าแอร์ Beechcraft 1900 at ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน (2001) บุดด้าแอร์ (बुद्ध एयर) เป็นสายการบินสัญชาติเนปาล มีสำนักงานใหญ่ในเมือง Jawalakhel ในประเทศเนปาล ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและระหว่างประเทศ ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและบุดด้าแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างอินเดีย

้างอินเดีย (Indian elephant) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในวงศ์ Elephantidae หรือช้าง เป็นช้างที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไพลโอซีนหรือประมาณ 5 ล้านปีก่อนมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและช้างอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอเชีย

้างเอเชีย (Asian elephant) จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและช้างเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟาร์คราย 4

ฟาร์คราย 4 (Far Cry 4) เป็นวิดีโอเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง แอ็กชันผจญภัย พัฒนาโดยยูบิซอฟต์มอนทรีออล และจัดจำหน่ายโดยยูบิซอฟต์สำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 3 เพลย์สเตชัน 4 เอกซ์บอกซ์ 360 และเอกซ์บอกซ์ วัน และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เกมเป็นภาคต่อของเกมฟาร์คราย 3 (ค.ศ. 2012) และเป็นเกมลำดับที่สี่ของเกมชุดฟาร์คราย เกมออกจำหน่ายในอเมริกาเหนือ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และยุโรป ในวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและฟาร์คราย 4 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน

ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศภูฏาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลภูฏาน เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) และเข้าร่วมกับฟีฟ่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ทีมชาติภูฏานชนะประเทศอื่นครั้งแรกในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 โดยแข่งกับทีมชาติมอนต์เซอร์รัตในเมืองทิมพูเมืองหลวงของภูฏาน และเกมการแข่งขันนี้ถูกสร้างไปเป็นหนังภาพยนตร์เรื่อง "The Other Final" ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและฟุตบอลทีมชาติภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018 รอบคัดเลือก

รอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018 เป็นการตัดสินหาทีมที่เข้าร่วมของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018 รวมทั้งหมด 16 ทีมที่จะลงเล่นในการแข่งขันรอบสุดท้าย, จะเป็นเจ้าภาพโดยอัตโนมัติก็คือมาเลเซี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอกดำ

ญากระรอกดำ (Black giant squirrel, Malayan giant squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ย่อยพญากระรอก (Ratufinae) เป็นกระรอกชนิดหนึ่งที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นกระรอกชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย หางยาวเป็นพวง ขนตามลำตัวและหางสีดำสนิท บางตัวอาจมีสะโพก หรือโคนหางออกสีน้ำตาล ขนบริเวณแก้มและท้องสีเหลือง เท้าหน้ามี 4 นิ้ว เท้าหลังมี 5 นิ้ว เล็บยาวและโค้งช่วยในการยึดเกาะต้นไม้ และสะดวกในการเคลื่อนไหวไปมา ขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัวและหัว 33-37.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 42.5-46 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-1.6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในแคว้นอัสสัม ของอินเดีย, ภาคตะวันออกของเนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบาหลี มีทั้งหมด 10 ชนิดย่อย มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่ในป่าที่มีเรือนยอดไม้สูง เช่น ป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง มักพบเห็นอยู่ตามเรือนยอดไม้ที่รกทึบและใกล้ลำห้วย หากินในเวลากลางวันและหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน มีความปราดเปรียวว่องไว สามารถกระโดดไปมาบนยอดไม้ได้ไกลถึง 22 ฟุต ปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่อาจเห็นเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 2 ปี ตั้งท้องนาน 28 วัน ออกลูกครั้งละ 1-2 ตัว โดยที่ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 3 คู่ รังสร้างขึ้นโดยการนำกิ่งไม้สดมาขัดสานกันคล้ายรังนกขนาดใหญ่ และอาจจะมีรังได้มากกว่าหนึ่งรัง ปัจจุบันมีผู้สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ที่เลี้ยงได้แล้ว และนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง พญากระรอกดำ ยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "กระด่าง" ในภาษาใต้เรียก "พะแมว".

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพญากระรอกดำ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา)

ธงสัญลักษณ์ของพรรค พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) (एकीकृत नेपाल कम्युनिष्ट पार्टी (माओवादी) ถอดเป็นอักษรไทย: เนปาล กมฺยุนิษฺฏ ปารฺฏี (มาโอวาที), Communist Party of Nepal (Maoist)) เป็นพรรคการเมืองตามแนวลัทธิเหมาในประเทศเนปาล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 ในการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญในปี พ.ศ. 2551 พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ได้รับเลือกตั้งมากที่สุดคือ 220 ที่นั่ง จากทั้งหมด 601 ที่นั่ง หมวดหมู่:ประเทศเนปาล หมวดหมู่:ลัทธิเหมา หมวดหมู่:พรรคคอมมิวนิสต์.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) · ดูเพิ่มเติม »

พระมัญชุศรีโพธิสัตว์

ระมัญชุศรีโพธิสัตว์ (मञ्जुश्री Mañjuśrī; 文殊 Wénshū หรือ 文殊師利菩薩 Wénshūshili Púsà; もんじゅ Monju; འཇམ་དཔལ་དབྱངས། Jampelyang; मंजुश्री Manjushree) เป็นพระโพธิสัตว์ในกลุ่มตถาคตโคตรของพระไวโรจนพุทธะ ชื่อของท่านแปลว่า แสงอันอ่อนหวานหรืออ่อนโยน เป็นพระโพธิสัตว์ที่มีผู้นับถือในทิเบตรองลงมาจากพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ชื่อของท่านมีปรากฏในพระสูตรต่างๆมากมาย เช่น สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายปัญญาและมีหน้าที่คุ้มครองนักปราชญ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร

ตราจารย์พิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร (12 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2458 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทรงเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

ระอวโลกิเตศวร เป็นพระโพธิสัตว์องค์สำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็นบุคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้งปวง เรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปรัชญาปารมิตาสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร และการัณฑวยูหสูตฺร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทร์

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/literature/10000-5627.html | สถานบำบวงหลัก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธยานิพุทธะ

ระธยานิพุทธะ ศิลปะทิเบต พระธยานิพุทธะหรือพระฌานิพุทธะ (บางแห่งเรียกพระชินพุทธะ) เป็นพระพุทธเจ้าในคติความเชื่อของมหายาน เชื่อว่าอวตารมาจากพระอาทิพุทธะ สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าด้วยอำนาจฌานของอาทิพุทธะ ไม่ได้ลงมาสร้างบารมีเหมือนพระมานุสสพุทธะ (พระพุทธเจ้าที่เป็นมนุษย์) ดำรงในสภาวะสัมโภคกาย มีแต่พระโพธิสัตว์ที่เห็นพระองค์ได้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระธยานิพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางตารา

ระนางตาราเขียวหรือพระศยามตาราโพธิสัตว์ Kumbm, Gyantse, Tibet, 2536 พระนางตารา พระโพธิสัตว์ตารา หรือ พระแม่ตารา เป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายหญิงในพระพุทธศาสนา โดยมีสายการปฏิบัติสืบทอดอย่างต่อเนื่องในวัชรยาน คำว่าตารามาจากภาษาสันสกฤตหมายถึงข้าม การบูชาพระนางเริ่มเมื่อพุทธศตวรรษที่ 8 - 11 ในอินเดียเหนือและแพร่หลายที่สุดในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 - 17 โดยถือว่าเป็นชายาของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ปัจจุบันมีนับถือในอินเดีย เนปาล และ ทิเบต ส่วนชาวพุทธในจีนจะนับถือเจ้าแม่กวนอิมที่เป็นภาคหญิงของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์แทน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระนางตารา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ศีตลาเทวี

ระแม่ศีตลาเทวี(शीतला देवी; Shitala; ஷீதலா தேவி) เป็นเทวีในศาสนาฮินดู เป็นที่นิยมบูชาในอินเดียภาคเหนือ รัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศเนปาล ประเทศบังกลาเทศ และประเทศปากีสถาน ชาวฮินดูและคัมภีร์ในศาสนาฮินดูนั้นถือพระนางทรงเป็นภาคหนึ่งของพระแม่ปารวตี และทรงมีลักษณะคล้ายคลึงกับพระแม่มารีอัมมันในอินเดียใต้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระแม่ศีตลาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่คงคา

ตรกรรมถอดแบบจากจิตรกรรมโบราณของอินเดียภาคเหนือ ของพระแม่คงคาทรงเทววาหนะมกร พระแม่คงคา เป็นพระเทวีองค์หนึ่งในคติของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โดยเป็นพระเทวีแห่งแม่น้ำคงคาซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาหิมาลัยและได้รับการนับถือจากชาวฮินดูเพราะเชื่อกันว่าถ้าใครได้ลงอาบแม่น้ำคงคาถือว่าเป็นการชำระล้างบาปออกไปจากตัวอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระแม่คงคา · ดูเพิ่มเติม »

พระโคตมพุทธเจ้า

ระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมในภาษาบาลีว่า สิทธัตถะ โคตมะ หรือในภาษาสันสกฤตว่า สิทฺธารฺถ เคาตมะ (อ่านว่า /สิดทาด —/) (เทวนาครี: सिद्धार्थ गौतम) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน ผู้เป็นศาสดาของศาสนาพุทธ สาวกของพระองค์ไม่นิยมออกพระนามโดยตรง แต่เรียกตามพระสมัญญาว่า "ภควา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) คัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทึกตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาช้านาน ก่อนออกผนวชทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็นรัชทายาท เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ทรงได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี, พระพุทธโคดม, พระโคดมพุทธเจ้า ฯลฯ แต่ทรงเรียกพระองค์เองว่า ตถาคต แปลว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือ ทรงปฏิญาณว่า ทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวง สำเร็จแล้วซึ่งอรหัตผล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระโคตมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระไภรวะ

ระศิวะ ในร่างของพระไภรวะ, ราว ค.ศ. 1820 พระไภรวะ (भैरव; การถอดรูปเป็นอักษรไทยบางครั้งอาจเขียนเป็น "ไภรพ") หรือ พระอิศวรปางดุร้าย เป็นปางหนึ่งของพระศิวะ ซึ่งชาวไทยเรียกว่า "พระพิราพ" ซึ่งเป็นครูในนาฏกรรม มีในนิกายตันตระ สาเหตุที่ทำให้มีลักษณะที่น่ากลัว เนื่องจากจะทำให้ศาสนิกเกรงกลัวพลอำนาจของเทพเจ้า พระอิศวรไภรพนั้นมีอยู่มี 2 แบบ คือ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระไภรวะ · ดูเพิ่มเติม »

พระไวโรจนพุทธะ

ระไวโรจนพุทธะราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 219เป็นพระธยานิพุทธะ 1 ใน 5 องค์ ของนิกายวัชรยาน ทรงเป็นประธานของพระพุทธะทั้ง 5 หมายถึงปัญญาอันสูงสุด ตราประจำพระองค์เป็นธรรมจักร หมายถึง ความเป็นหนึ่ง พระกายเป็นแสงสว่าง มักแทนด้วยสีขาว ตำแหน่งในพุทธมณฑลจะอยู่ตรงกลางโดยมีพุทธะอีก 4 องค์ห้อมล้อม พระโพธิสัตว์ในกลุ่มของท่านที่สำคัญมี 2 องค์ คือ พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ และพระมัญชุศรีโพธิสัตว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระไวโรจนพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ารณพหาทุร ศาหะ

ระเจ้ารณพหาทุร ศาหะ (रणबहादुर शाह) (พ.ศ. 2318 - พ.ศ. 2348) เป็นพระมหากษัตริย์เนปาล เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะที่ประสูติแต่พระนางราเชนทราลักษมีศาหะ พระองค์ทรงครองราชย์ภายใต้การสำเร็จราชการของรานีราเชนทราลักษมีศาหะผู้เป็นพระมารดาและจากนั้นทรงอยู่ใต้การสำเร็จราชการของเจ้าชายบะหะดูร์ศาหะ ผู้เป็นพระปิตุลา ในรัชสมัยนี้ราชอาณาจักรเนปาลได้ขยายอาณาเขตรวมการ์หะวาลและคุมาอน ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระเจ้ารณพหาทุร ศาหะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซรอนซันกัมโป

ระเจ้าซรอนซัน กัมโป (กลาง), เจ้าหญิงเหวินเฉิง (ขวา) และเจ้าหญิงภริคุติ(ซ้าย) พระเจ้าซรอนซันกัมโป (ทิเบต: སྲོང་བཙན་སྒམ་པོ་, Songtsän Gampo) เป็นกษัตริย์ทิเบตระหว่าง พ.ศ. 1163 - 1193 เป็นกษัตริย์พระองค์แรกของทิเบตที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชัดเจน ทรงครองราชย์ในสมัยที่ทิเบตเรืองอำนาจทางทหาร ทรงสร้างสัมพันธไมตรีกับกษัตริย์แห่งจีนและเนปาล โดยอภิเษกกับเจ้าหญิงภริคุติ ราชธิดาของพระเจ้าอังศุวรมันแห่งเนปาล และเจ้าหญิงเวนเชิง ราชธิดาของพระเจ้าถังไท้ซุง กษัตริย์จีน พระชายาทั้งสององค์นี้นับถือพุทธศาสนา และได้นำศาสนาพุทธเข้ามาเผยแพร่ในทิเบต พระเจ้าซรอนซันกัมโป ได้ส่งเสนาบดีของพระองค์คือ ทอนมีสัมโภทาไปศึกษาศาสนาพุทธในอินเดีย เมื่อกลับมา สัมโภทาได้ประดิษฐ์อักษรทิเบตและเขียนไวยากรณ์ภาษาทิเบต ส่งผลให้มีการแปลคัมภีร์ทางพุทธศาสนาเป็นภาษาทิเบต นอกจากนี้ พระองค์ได้วางระเบียบปฏิบัติ 16 ข้อ ที่ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของทิเบต และย้ายเมืองหลวงจากยาลุงไปสร้างเมืองหลวงใหม่ที่นครลาซ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระเจ้าซรอนซันกัมโป · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะ

ระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะ (प्रतापसिंह शाह) (พ.ศ. 2294 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2320)เป็นพระมหากษัตริย์เนปาล เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะ กษัตริย์ผู้รวมชาติเนปาล พระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะะทรงราชย์อยู่ในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะ

ระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล (พ.ศ. 2266 - 11 มกราคม พ.ศ. 2318;เนปาลี:पृथ्वीनारायण शाह) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์ชาห์หรือศาห์ที่ปกครองเนปาล พระองค์ทรงเป็นที่นับถือจากการที่ทรงเริ่มต้นการรวมชาติเนปาล ที่ซึ่งถูกแบ่งแยกและอ่อนแอภายใต้การปกครองของสหพันธ์มัลละ พระองค์ทรงเป็นเชื้อสายรุ่นที่ 9 ของดราวะยะ ศาห์ (พ.ศ. 2102 - พ.ศ. 2113) ผู้ก่อตั้งราชวงศ์แห่งกุรข่า มเด็จพระราชาธิบดีปฤฐวีนารายณศาหะทรงครองราชบัลลังก์สืบต่อจากสมเด็จพระราชาธิบดีนาราภูปาลศาหะเป็นกษัตริย์แห่งกุรข่าในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะ · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษาพักตร์

ันทวยพฤกษพักตร์ในรูปของลายใบอาแคนธัสรองรับประติมากรรมนายอาชาแห่งแบมเบิร์กภายในมหาวิหารแบมเบิร์กที่แกะสลักเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 พฤกษาพักตร์ หรือ รุกขามนุษย์ (Green Man) คือประติมากรรม, จิตรกรรม หรือรูปสัญลักษณ์อื่นๆ ของใบหน้าที่ล้อมรอบไปด้วยใบไม้ กิ่งไม้ หรือเถาไม้เลื้อย ที่งอกออกมาจากจมูก ปาก หรือส่วนอื่นๆ ของใบหน้า ไม้ที่งอกออกมาอาจจะมีดอกมีผลด้วยก็ได้ การตกแต่งด้วยพฤกษพักตร์มักจะใช้สำหรับเป็นสิ่งตกแต่งของสถาปัตยกรรม พฤกษาพักตร์มักจะพบในรูปของประติมากรรมทั้งภายนอกและภายในคริสต์ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ของคฤหัสน์ นอกจากนั้น “The Green Man” ยังเป็นชื่อที่นิยมใช้กันสำหรับสิ่งก่อสร้างสารธาณะ และปรากฏในหลายรูปหลายลักษณะเช่นบนป้ายโรงแรมเล็กๆ ที่บางครั้งอาจจะเป็นรูปเต็มตัวที่ไม่แต่จะเป็นเพียงเป็นใบหน้าเท่านั้น ลักษณะพฤกษาพักตร์มีด้วยกันหลายแบบหลายลักษณะ และพบในวัฒนธรรมต่างๆ ทั่วโลก พฤกษาพักตร์มักจะเป็นเทพารักษ์ที่เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่มีมาในวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วก็มักจะตีความหมายกันว่าพฤกษาพักตร์เป็นนัยยะของการเกิดใหม่ที่เป็นสัญลักษณ์ของวัฏจักรของการเจริญเติบโตเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิของแต่ละปีที่มาถึง บ้างก็สันนิษฐานว่าพฤกษาพักตร์เป็นตำนานที่พัฒนาขึ้นมาต่างหากจากความเชื่ออื่นๆ ในสมัยโบราณ และวิวัฒนาการต่อมาจนแตกแยกกันออกไปในวัฒนธรรมต่างๆ ที่เห็นได้จากตัวอย่างในของพฤกษาพักตร์ในสมัยต่างๆ ของประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพฤกษาพักตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พังพอนกินปู

ังพอนกินปู หรือ พังพอนยักษ์ (Crab-eating mongoose) เป็นหนึ่งในสองชนิดของสัตว์จำพวกพังพอนที่พบในประเทศไทย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Herpestes urva เป็นพังพอนขนาดใหญ่ มีลักษณะเด่นคือ มีแถบสีขาวจากมุมปากลาดยาวไปตามข้างคอจนถึงหัวไหล่ หางยาวประมาณครึ่งหนึ่งของลำตัว ขนที่หางเป้นพวง สีขนบริเวณลำตัวเป็นสีน้ำตาลอมเทา คอมีสีดำ หน้าอกมีสีน้ำตาลแดง ท้องมีสีน้ำตาลอ่อน ขนมีสีน้ำตาลเข้มหรือดำ มีความยาวลำตัวและหาง 44-48 เซนติเมตร ความยาวหาง 26.5-31 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-4 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, เนปาล ภาคตะวันออกของพม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, ไต้หวัน, เวียดนามและมาเลเซีย ในประเทศไทยพบที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว มักอาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นช่วงฤดูผสมพันธุ์ มักอาศัยอยู่ตามป่าใกล้กับแหล่งน้ำ ป่าเต็งรัง, ป่าเบญจพรรณ หากินโดยจับสัตว์ที่มีขนาดเล็กกว่ากินเป็นอาหาร โดยเฉพาะสัตว์ที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ปู, ปลา, กุ้ง, หอย หรือแม้แต่แมลงน้ำหรือนกน้ำ และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดด้วย ออกหากินในเวลากลางคืน พังพอนกินปูสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพังพอนกินปู · ดูเพิ่มเติม »

พังพอนเล็ก

ังพอนเล็ก หรือ พังพอนธรรมดา (Small asian mongoose, Small indian mongoose) เป็นสัตว์กินเนื้อชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Herpestidae มีขนาดเล็ก ขนบนหัวมีสีน้ำตาลแดงจนถึงน้ำตาลเข้ม ขามีสีเดียวกับลำตัวหรือเข้มกว่าเล็กน้อย หางยาวประมาณ 2 ใน 3 ของลำตัว เมื่อตกใจจะพองขนทำให้ดูตัวใหญ่กว่าปกติ เพศเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 35-41 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 25-29 เซนติเมตร พังพอนเล็กมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมากตั้งแต่อิหร่าน, ปากีสถาน, อินเดีย, พม่า, เนปาล, รัฐสิกขิม, บังกลาเทศ, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซียและเกาะชวา จึงทำให้มีชนิดย่อยมากถึง 12 ชนิด (ดูในเนื้อหา) มีพฤติกรรมชอบอาศัยตามป่าโปร่งหรือทุ่งหญ้ามากกว่าป่าดิบทึบ ดังนั้นจึงมักเห็นพังพอนเล็กอาศัยอยู่แม้แต่ในเขตเมือง มักอาศัยอยู่ตามลำพังในโพรงดินที่ขุดไว้ หรือโพรงไม้ ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่อาจอยู่เป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ อาหารได้แก่ สัตว์ทั่วไปขนาดเล็ก หรือบางครั้งอาจล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าลำตัว เช่น ไก่ป่า กินได้ ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน พังพอนเล็กจัดเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก อีกทั้งมีนิสัยที่ไม่กลัวใคร จึงเป็นที่ทราบกันดีว่าชอบที่จะสู้กับงูพิษ โดยเฉพาะงูเห่าเมื่อเผลอจะโดดกัดคองูจนตาย มีฤดูผสมพันธุ์ที่ไม่แน่นอน มักจะผสมกันในโพงดิน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน 6 สัปดาห์ สมัยก่อนในบางบ้านจะเลี้ยงพังพอนไว้สำหรับจับหนูหรือสัตว์ที่ทำรังควานในบ้านชนิดอื่น ๆ แทนแมว ซึ่งได้ผลดีกว่าแมวเสียอีก พังพอนเล็กแม้เป็นสัตว์ดุ แต่หากเลี้ยงตั้งแต่เล็กก็จะเชื่องกับเจ้าของ ในสถานที่เลี้ยงพบว่ามีอายุยืนประมาณ 6 ปี ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพังพอนเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

พื้นที่พาคมตี

ื้นที่พาคมตี (बागमती) เป็นพื้นที่การปกครองของประเทศเนปาล ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของประเทศแถบหุบเขากาฐมาณฑุ มีประชากรตั้งถิ่นฐานกว่า 1.5 ล้านคน โดยชื่อพื้นที่ดังกล่าวตั้งตามชื่อแม่น้ำพาคมตีที่ไหลผ่าน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพื้นที่พาคมตี · ดูเพิ่มเติม »

พูฒานีลกัณฐมนเทียร

ทวรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ เทวรูปหลักประจำวัด พูฒานีลกัณฐมนเทียร (बूढानीलकण्ठ मन्दिर พูฒานีลกณฺฐ มนฺทิร) หรือ วัดพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ เป็นโบสถ์พราหมณ์ ที่ตั้งอยู่ในเขตกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและพูฒานีลกัณฐมนเทียร · ดูเพิ่มเติม »

กบิลพัสดุ์

ซากกรุงกบิลพัสด์ประเทศเนปาล กบิลพัสดุ์ (Kapilavatthu กปิลวัตถุ; Kapilavastu กปิลวัสตุ; Kapilavastu) เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้นสักกะ เป็นเมืองของพระเจ้าสุทโธทนะผู้เป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าทรงเจริญเติบโตและประทับอยู่จนกระทั่งพระชนมายุ 29 ปี ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนตอนเหนือประเทศอินเดีย ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญกัน กบิลพัสดุ์ แปลตามศัพท์ว่า "ที่อยู่ของกบิลดาบส"เพราะบริเวณที่ตั้งเมืองนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของดาบสชื่อ กบิล พวกเจ้าศากยะได้มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้ว่ากบิลพัสดุ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่กบิล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกบิลพัสดุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กกสามเหลี่ยมใหญ่

กกสามเหลี่ยมใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Actinoscirpus grossus, coarse bullrush, greater club rush) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก มีอายุยืนหลายฤดู ลำต้นมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยม เจริญเติบโตเป็นกอ มีลำต้นใต้ดินแตกไหลได้ พุ่มสูงตั้งแต่ 1-2 เมตร ใบของกกสามเหลี่ยมใหญ่ค่อนข้างแข็ง แผ่นใบแคบ มีลักษณะเรียวยาวเป็นรูปใบหอก ยาวประมาณ 50-100 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อชนิดโคริมบ์ ประกอบด้วยช่อดอกย่อยจำนวนมาก ดอกย่อยไม่มีก้านดอก เกิดลักษณะเวียนรอบก้านดอกอย่างหนาแน่น เมื่อยังเป็นดอกอ่อนจะมีสีเหลืองอ่อนอมเขียว แต่เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ดอกออกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม แต่อาจถึงเดือนตุลาคมได้ ขยายพันธุ์โดยใช้ไหลหรือเมล็ด จากเว็บไซด์โครงการอนุรักษ์พันธู์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่พบในบริเวณที่มีน้ำขัง อ่างเก็บน้ำ บ่อเลี้ยงปลา และตามคลองส่งน้ำ พบได้ตั้งแต่ประเทศตุรกี อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ปากีสถาน ศรีลังกา ภูฏาน จีน (มณฑลกวางตุ้งและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง) ญี่ปุ่น กกสามเหลี่ยมใหญ่เป็นพืชท้องถิ่นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ มาเลเซีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงออสเตรเลีย (นอร์เทิร์นเทร์ริทอรีและรัฐควีนส์แลนด์) รวมทั้งประเทศไทยซึ่งพบได้ทุกภาค จาก Weed Science Society of America (WSSA), สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่สามารถนำมาทอเสื่อ จักสานเป็นฝาบ้าน ฝ้าเพดานหรือหลังคาบ้าน นอกจากนี้ยังสามารถทำเป็นตะกร้าและกระเป๋าได้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกกสามเหลี่ยมใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

กรรณิการ์

กรรณิการ์ เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดกลาง มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้จากตอนเหนือของปากีสถานและเนปาลไปทางใต้ถึงตอนเหนือของอินเดียและตะวันออกเฉียงใต้ของไทยGermplasm Resources Information Network: Flora of Pakistan: AgroForestry Tree Database: หลอดกลีบดอกมีสีส้ม ใช้ย้อมผ้าไหมได้ โดยเก็บดอกที่ร่วงแล้ว เด็ดเฉพาะส่วนหลอด ตากให้แห้ง ต้มกับน้ำกรองเอากากทิ้ง ใช้ย้อมผ้าไหมให้สีส้ม เปลือกต้นชั้นในผสมกับปูนขาวได้สีแดง ใช้ย้อมผ้าได้เช่นกัน ดอกใช้แก้ไข้ แก้ลมวิงเวียน เปลือกต้นชั้นในต้มน้ำดื่มแก้ปวดศีรษะ ใบแก้ไข้ รากใช้บำรุงกำลังแก้ท้องผูก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกรรณิการ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทิง

กระทิง หรือ เมย เป็นวัวป่าชนิด Bos gaurus ในวงศ์ Bovidae.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกระทิง · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกไก่

กระดูกไก่ เป็นพืชในวงศ์ Chloranthaceae ในมาเลเซียเรียกเกอรัส ตูลัง ในฟิลิปปินส์เรียกบาเรา บาเรา เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นเกลี้ยง มีกลิ่นหอม ข้อโป่งพอง หูใบขนาดเล็กเป็นบางแคบ ขอบใบมีรอยจัก ใบสีเขียวสด ผิวใบด้านบนเป็นมัน ดอกช่อ มีริ้วประดับเป็นกาบหุ้ม ดอกย่อยขนาดเล็ก เกสรตัวผู้เป็นสามพู ติดกับครึ่งบนของรังไข่ ผลเดี่ยว เมล็ดเดียวแข็ง ฉ่ำน้ำ ส่วนใหญ่สีขาวครีม เมล็ดค่อนข้างกลม กระดูกไก่พบได้ทั่วไป ตั้งแต่เนปาล ยูนนาน หมู่เกาะอันดามัน ไปจนถึงเกาะนิวกินี ก่อนที่จะนำต้นชามาปลูก ชาวชวานำใบและเหง้าของกระดูกไก่ไปชงน้ำชาดื่ม เมื่อเนเธอร์แลนด์เข้ามาปกครองดัตช์อีสต์อินดีสได้ห้ามประชาชนปลูกกระดูกไก่เพราะจะให้ปลูกต้นชาแทน ในมาเลเซียและอินโดนีเซียใช้ทำชาสมุนไพร ใช้ขับเหงื่อเพื่อลดไข้ ในกาลิมันตันใช้กิ่งต้มน้ำดื่มเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ ชาวไทยภูเขาใช้ต้มเป็นยารักษามาลาเรีย ใช้ทำสีย้อมผ้าได้สีน้ำเงินเข้มจนเกือบดำ ทุกส่วนของลำต้นเมื่อขยี้ มีกลิ่นคล้ายการบูร รสค่อนข้างขม ใบมีน้ำมันหอมระเหยและกรดคูมาริก คล้ายกับที่พบในพืชวงศ์พริกไท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกระดูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาหิมาลัย

กลุ่มภาษาหิมาลัย (Himalayish) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาหลักของภาษาในกลุ่มนี้รวมทั้งภาษาทิเบตและภาษาเนวารี มีผู้พูดกลุ่มภาษานี้กระจายทั่วไปในแถบเทือกเขาหิมาลัยทั้งในเนปาล อินเดีย ภูฏาน ทิเบตและส่วนอื่น ๆ ของจีน หมวดหมู่:ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกลุ่มภาษาหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาทิเบต

กลุ่มภาษาทิเบต (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฏาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษาเศรปาและภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตคลาสสิกไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาบัลติไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกลุ่มภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาตามังอิก

กลุ่มภาษาตามังอิก (Tamangic languages) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าที่ใช้พูดในเขตเทือกเขาหิมาลัยของเนปาล ภาษาในกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาตามัง (มีสองสำเนียง ผู้พูดราวล้านคน) ภาษากูรุง (มีสามสำเนียง ที่เข้าใจกันได้น้อยมาก ภาษาทากาลี (รวมสำเนียงเซเกของชาวตามัง) และภาษาที่ใกล้เคียงอย่างภาษามานัง ภาษากยาซัมโด และภาษานัรพู ภาษาฆาเลที่พูดโดยชาวฆาเล ใกล้เคียงกับกลุ่มภาษานี้ แต่การจัดจำแนกยังไม่แน่นอน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกลุ่มภาษาตามังอิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซา

กลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซา คือแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในนครลาซา เขตปกครองตนเองทิเบต สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้รับคัดเลือกให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซา · ดูเพิ่มเติม »

กวางบึง

กวางบึง หรือ บาราซิงก้าGrubb, Peter (16 November 2005).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกวางบึง · ดูเพิ่มเติม »

กวางผา

กวางผา (Gorals) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่จำพวกแอนทีโลปสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae ใช้ชื่อสกุลว่า Naemorhedus.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกวางผา · ดูเพิ่มเติม »

กวางดาว

กวางดาว หรือ กวางทอง (Chital, Cheetal, Spotted deer, Axis deer)Grubb, Peter (16 November 2005).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกวางดาว · ดูเพิ่มเติม »

กาฐมาณฑุ

right กาฐมาณฑุ (काठमाडौं, Kathmandu) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนปาล และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดด้วย เป็นพื้นที่เมืองและชานเมืองที่มีประชากรประมาณ 3.2 ล้านคนในพื้นที่ 3 เมืองในหุบเขากาฐมาณฑุในเนปาลกลาง บนแม่น้ำพาคมตี (Bagmati) อีก 2 เมืองคือปาฏัน (Patan) และภักตปุระ (Bhaktapur) กาฐมาณฑุตั้งที่ 27°43' เหนือ 85°22' ตะวันออก (27.71667, 85.36667) เมืองนี้ยังได้รับการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้เป็นครั้งแรกอีกด้วย และเมืองนี้เป็นเมืองหลวงเมืองเดียวในโลกที่มีตำรวจจราจรเป็นตำรวจหญิง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกาฐมาณฑุ · ดูเพิ่มเติม »

การบินไทย เที่ยวบินที่ 311

การบินไทย เที่ยวบินที่ 311 เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศของไทยที่ประสบอุบัติเหตุชนภูเขาขณะกำลังลดระดับ เตรียมร่อนลงจอดที่ท่าอากาศยานนานาชาติตรีภูวัน กรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ผู้โดยสารจำนวน 99 คน และลูกเรือ 14 คน เสียชีวิตทั้งหม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการบินไทย เที่ยวบินที่ 311 · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล

รถไฟของรัฐบาลเนปาลในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 บัตรรถไฟรักเสาละ-สิมรา การรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล (ตัวย่อ: NGR) เป็นเส้นทางรถไฟสายแรกของประเทศเนปาล ดำเนินการระหว่างปี ค.ศ. 1927 จนถึง ค.ศ. 1965 เชื่อมต่อระหว่างเมืองรักเสาละกับอัมเลขคัญชะ เป็นทางรถไฟรางแคบ ขนาดความกว้าง ระยะทาง 47 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟเนปาล

| รถไฟที่สถานี Khajuri แผนที่ประเทศเนปาล การรถไฟเนปาล (NRC) (ตัวย่อ NR / ने. रे) ดำเนินการโดยรัฐบาลเนปาล ให้บริการเส้นทางรถไฟสองสายในประเทศเนปาล ได้แก่ สาย Raxual-Sirsiya ระยะทาง 6 กิโลเมตร และสาย Jaynagar–Janakpur–Bijalpura ระยะทาง 53 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการรถไฟเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล

มื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์แห่งเนปาลขึ้นภายในพระราชวังในกรุงกาฐมาณฑุ เป็นผลให้กษัตริย์พิเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ (Birendra Bir Bikram Shah Dev) และสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ (Aiswarya) เสด็จสวรรคต พร้อมด้วยสมาชิกพระราชวงศ์อีก 7 พระองค์ ซึ่งล้วนแต่เป็นสมาชิกองค์สำคัญในราชวงศ์เนปาลทั้งสิ้น เหตุการณ์นี้ทำให้ชาวโลกตื่นตะลึง และยังความเศร้าโศกโกลาหลให้แก่ชาวเนปาลอย่างมหันต์ สำนักพระราชวังได้ประกาศสาเหตุของโศกนาฏกรรมว่า เกิดจากอุบัติเหตุพระแสงปืนลั่นโดยมกุฎราชกุมารดิเพนทรา (Dipentra) เป็นผู้ทำพระแสงปืนลั่นในขณะที่สมาชิกพระราชวงศ์กำลังร่วมเสวยพระกระยาหารค่ำ ก่อนที่องค์มกุฎราชกุมารจะทำพระแสงปืนลั่นถูกพระองค์เอง ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสำนักพระราชวังและแหล่งข่าวหลายกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าโศกนาฏกรรมครั้งนี้เกิดจากการที่องค์มกุฏราชกุมาณทรงบันดาลโทสะในขณะทรงวิวาทกับพระราชมารดาเรื่องการที่องค์มกุฎราชกุมาร ทรงต้องการจะอภิเษกกับสตรีจากตระกูลรานา (Rana) และแหล่งข่าวอีกหลายกระแส ตั้งข้อสงสัยว่าองค์มกุฎราชกุมารทรงตกอยู่ในพระอาการมึนเมาจากน้ำจัณฑ์ (สุรา) และยาเสพติด หลังจากจัดงานพระบรมศพเรียบร้อย ในวันที่ 3 มิถุนายน ทางการเนปาลก็ได้อัญเชิญให้มกุฎราชกุมาร ดิเพนทรา ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา แต่ในวันเดียวกัน พระองค์ก็สวรรคตลงอีกพระองค์หนึ่ง ทำให้ทางการเนปาลต้องถวายการแต่งตั้งให้เจ้าชายชญาเนนทร (Gyanendra) พระอนุชาของกษัตริย์พิเรนทรา ซึ่งมิได้ประทับในกาฐมาณฑุขณะเกิดโศกนาฏกรรม การสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศของเนปาลเกิดความปั่นป่วนขึ้นเกือบจะในทันที ประชาชนจำนวนมากได้รวมตัวกันเป็นขบวนประท้วงไปตามถนนในกรุงกาฐมาณฑุ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสืบหาความจริงของโศกนาฏกรรมโดยด่วน ประชาชนที่กำลังโกรธแค้นได้ทำลายสาธารณสมบัติ และต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนมีผู้เสียชีวิตหลายราย ทำให้ทางการต้องประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศจนถึงวันที่ 8 มิถุนายน ในขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์ 3 ฉบับถูกสั่งปิดข้อหาลงข่าวที่ไม่เหมาะสม ขณะที่ผู้นำกลุ่มลัทธิเหมา (Maoist) นายประจันดา (Prachanda เป็นชื่อย่อจาก Pushpa Kamal Dahal) ได้ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ฝ่ายซ้าย (leftist) ฝ่ายชาตินิยม (nationalist) และฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ (republican) ร่วมกันตั้งรัฐบาลเฉพาะการณ์ขึ้นในระหว่างที่ประเทศกำลังระส่ำระสาย นอกจากนี้ นายมาดาว์ กุมาร เนปาล (Madhav Kumar Nepal) หัวหน้าพรรคแนวร่วมคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (Nepal Communist Party-United Marxist and Leninist: NCP-UML) ซึ่งเป็นฝ่ายค้านของเนปาลได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 14 มิถุนายน เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจต่อการสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล · ดูเพิ่มเติม »

การูด้า ไออาคอส

การูด้า ไออาคอส เป็นตัวละครในเรื่องเซนต์เซย่าในภาคเจ้านรกฮาเดส เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร์ และเป็น 1 ใน 3 ขุนพลผู้พิพากษาแห่งยมโลก คู่กับ ไวเวิร์น ราดาแมนทีส และ กริฟฟิน ไมนอ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการูด้า ไออาคอส · ดูเพิ่มเติม »

การจาริกแสวงบุญ

นักแสวงบุญมุสลิมที่มักกะหฺ การจาริกแสวงบุญ (Pilgrimage) ทางด้านศาสนาและจิตวิญญาณ “การจาริกแสวงบุญ” คือการเดินทางหรือการแสวงหาสิ่งที่มีความสำคัญทางจริยธรรมต่อจิตใจ บางครั้งก็จะเป็นการเดินทางไปยังศาสนสถานที่มีความสำคัญต่อความเชื่อหรือความศรัทธาของผู้นั้น สมาชิกของศาสนาหลักของโลกมักจะร่วมในการเดินทางไปแสวงบุญ ผู้ที่เดินทางไปทำการจาริกแสวงบุญเรียกว่านักแสวงบุญ พระพุทธศาสนามีสังเวชนียสถานที่สำคัญที่สุดที่มีความเกี่ยวข้องกับองค์สมเด็จพระพุทธเจ้าสำหรับนักแสวงบุญอยู่สี่แห่ง: ลุมพินีวันที่ตั้งอยู่ในแคว้นอูธในประเทศเนปาลที่เป็นสถานที่ประสูติ, พุทธคยาที่ตั้งอยู่ในรัฐพิหารในประเทศอินเดียที่เป็นสถานที่ตรัสรู้, สารนาถที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมืองพาราณสีในรัฐอุตตรประเทศในประเทศอินเดียซึ่งเป็นสถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และ กุสินาราที่ตั้งอยู่ตำบลมถากัวร์ อำเภอกุสินครในรัฐอุตตรประเทศในประเทศอินเดียเป็นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน ในศาสนาเอบราฮัมที่ประกอบด้วยศาสนายูดาย, ศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาบาไฮ ถือว่าดินแดนศักดิ์สิทธิ์ในอิสราเอลปัจจุบันเป็นศูนย์กลาง ในราชอาณาจักรอิสราเอล และ ราชอาณาจักรยูดาห์ การเดินทางไปยังศูนย์กลางของสิ่งที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อบางแห่งถูกยกเลิกไปในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อการสักการะพระเยโฮวาห์จำกัดอยู่แต่เพียงที่วัดแห่งเยรุซาเล็มเท่านั้น “การจาริกแสวงบุญ” บนแผ่นดินใหญ่ของกรีซก็จะเป็นการเดินทางไปยังเดลฟี หรือโหรซูสที่โดโดนา และทุกสี่ปีระหว่างสมัยกีฬาโอลิมปิค เทวสถานซูสก็จะเต็มไปด้วยผู้มาแสวงบุญจากดินแดนต่างๆ ทุกมุมเมืองของกรีซ เมื่ออเล็กซานเดอร์มหาราชไปถึงอียิปต์ พระองค์ก็ทรงหยุดยั้งทุกสิ่งทุกอย่างลงชั่วคราว และทรงนำผู้ติดตามไม่กี่คนลึกเข้าไปในทะเลทรายลิเบียเพื่อไปปรึกษาโหรที่อัมมุน ระหว่างสมัยการปกครองของราชวงศ์ทอเลมีต่อมา ศาสนสถานไอซิสที่ฟิเล (Philae) ก็มักจะได้รับเครื่องสักการะที่มีคำจารึกภาษากรีกจากผู้มีความเกี่ยวพันที่อยู่จากบ้านเมืองเดิมในกรีซ แม้ว่า “การจาริกแสวงบุญ” มักจะอยู่ในบริบทของศาสนา แต่การจาริกแสวงบุญก็แปรเปลี่ยนไปใช้ในกิจการที่ไม่เกี่ยวกับกับศาสนาได้เช่นการเดินทางไปแสดงความเคารพคนสำคัญของลัทธินิยมเช่นในกรณีที่ทำกันในประเทศคอมมิสนิสต์ ตัวอย่างเช่นการเดินทางไปเยี่ยมชมที่บรรจุศพเลนิน (Lenin's Mausoleum) ที่จัตุรัสแดงก่อนที่สหภาพโซเวียตจะแตกแยกออกจากกัน ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มีลักษณะเดียวกับที่เรียกว่า “การจาริกแสวงบุญ”.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการจาริกแสวงบุญ · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศเนปาล

รถไฟโดยสารที่ให้บริการในประเทศเนปาล ได้แก่ รถไฟรางแคบ ระยะทาง 59 กิโลเมตร ระหว่างเมืองจานักปุระ ในประเทศเนปาล กับเมืองไจนาการ์ ในประเทศอินเดีย ขนาดความกว้างราง 2 ฟุต 6 นิ้ว เส้นทางนี้มีต่อไปยังเมือง พิจาละปุระ แต่สะพานเสียหายจึงถูกปิดทาง ส่วนเมืองหลวงอย่างกาฐมาณฑุนั้น ไม่มีรถไฟผ่านเลย การรถไฟอินเดียให้บริการรถไฟข้ามชายแดนเข้ามาในเนปาลในระยะสั้น เป็นขบวนรถสินค้า วิ่งระหว่างเมือง รักเสาละ กับ ซีร์ซียา จนถึงปี ค.ศ. 2014 เส้นทางของรถไฟเนปาลแท้ ๆ มีวิ่งระหว่างเมืองจานักปุระ-ไจนาการ์ เท่านั้น มีหัวรถจักรดีเซลที่ใช้งานได้เพียง 1 คัน ยี่ห้อแซดดีเอ็ม 524 ซึ่งอินเดียให้มาเพื่อใช้แทนรถจักรไอน้ำ เส้นทางนี้ปิดให้บริการในปี ค.ศ. 2014 โดยมีแผนที่จะสร้างทางรถไฟขนาดกว้าง 1,676 มิลลิเมตร แทน โดยจะเปิดได้ในปี ค.ศ. 2017 นอกจากนี้ยังมีแผนจะสร้างทางรถไฟเชื่อมอินเดีย-เนปาล-จีน อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการขนส่งระบบรางในประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณีเด็ก

การค้าประเวณีเด็ก (Prostitution of children, child prostitution) เป็นการค้าประเวณีที่เกี่ยวกับเด็ก เป็นรูปแบบหนึ่งของการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก เด็กในที่นี้มักจะหมายถึงผู้เยาว์ หรือบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ในเขตกฎหมายโดยมาก การค้าประเวณีเด็กผิดกฎหมายโดยเป็นส่วนของกฎหมายห้ามการค้าประเวณีโดยทั่ว ๆ ไป การค้าประเวณีเด็กมักจะปรากฏในรูปแบบของการค้าเซ็กซ์ (sex trafficking) ที่เด็กถูกลักพาตัว หรือถูกหลอกให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการค้าเพศ หรือว่า เป็นเซ็กซ์เพื่อการอยู่รอด ที่เด็กจะร่วมกิจกรรมทางเพศแลกเปลี่ยนกับปัจจัยสี่ที่จำเป็นต่อชีวิตรวมทั้งอาหารและที่อยู่อาศัย การค้าประเวณีเด็กมักจะเกี่ยวข้องกับสื่อลามกอนาจารเด็ก และบางครั้งจะเกิดขึ้นคาบเกี่ยวกัน และมีคนที่เดินทางไปต่างประเทศเพื่อจะเที่ยวเซ็กซ์ทัวร์เด็ก งานวิจัยแสดงว่า อาจจะมีเด็กมากถึง 10 ล้านคนทั่วโลกที่ค้าประเวณี โดยมีปัญหาหนักที่สุดในทวีปอเมริกาใต้และเอเชีย แต่ก็เป็นปัญหาทั่วโลก ทั้งในประเทศกำลังพัฒนาและพัฒนาแล้ว สหประชาชาติได้กำหนดว่า การค้าประเวณีเด็กผิดกฎหมายสากล โดยมีการรณรงค์และองค์กรต่าง ๆ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านการปฏิบัติการเช่นนี้ เด็กโดยมากที่เกี่ยวข้องเป็นหญิง อาจจะอายุเพียงแค่ 4-5 ขวบ เรียนน้อยมากและถูกคนแปลกหน้าหลอกได้ง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการค้าประเวณีเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

การค้าเครื่องเทศ

วามสำคัญทางเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมและเส้นทางเครื่องเทศของเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกมาถูกปิดโดยจักรวรรดิออตโตมัน ราว ค.ศ. 1453 เมื่อจักรวรรดิไบแซนไทน์และคอนสแตนติโนเปิลล่ม ซึ่งเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการแข่งขันกันสำรวจหาเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกใหม่ที่เริ่มด้วยการพยายามหาเส้นทางรอบแอฟริกาที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจ ภาพแสดงเส้นทางการเดินทางของวัชกู ดา กามาไปยังอินเดีย (เส้นดำ) ผู้เดินทางรอบแอฟริกาคนแรก เส้นทางของเปรู ดา กูวิลยัง (สีส้ม) และอาฟงซู ดี ไปวา (สีน้ำเงิน) เส้นทางซ้อนกันเป็นสีเขียว การค้าเครื่องเทศ คือกิจการทางการพาณิชย์ที่มีต้นตอมาแต่ยุคโบราณที่เป็นการค้าขายสินค้าที่รวมทั้งเครื่องเทศ, สมุนไพร และฝิ่น การวิวัฒนาการของวัฒนธรรมของเอเชียบางส่วนก็มีอิทธิพลมาจากการค้าขายเครื่องเทศ จากนั้นก็ตามด้วยโลกกรีก-โรมันที่ใช้เส้นทางสายเครื่องหอม และเส้นทางสายโรมัน-อินเดียเป็นเส้นทางการค้ามายังตะวันออกFage 1975: 164 เส้นทางสายโรมัน-อินเดียวิวัฒนาการมาจากเทคนิคที่ใช้โดยมหาอำนาจทางการค้าของราชอาณาจักรอัคซูม (ราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช-จนถึง ค.ศ. 1000 กว่า ๆ) ที่เป็นการริเริ่มการใช้เส้นทางในทะเลแดงมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1 อัคซูมแบ่งปันความรู้ในการใช้ลมมรสุมในการเดินเรือกับชาวโรมัน (ราว 30-10 ปีก่อนคริสตกาล) และรักษาสัมพันธ์ภาพระหว่างกันอย่างปรองดองมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 เมื่ออิสลามเรืองอำนาจขึ้น ก็ปิดเส้นทางการค้าทางทะเล และหันมาใช้ขบวนคาราวานในการขนส่งทางบกไปยังอียิปต์และซุเอซ ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดความสัมพันธ์ทางการค้าโดยตรงระหว่างยุโรปไปยังอัคซูมและอินเดีย และในที่สุดพ่อค้าอาหรับก็ยึดการขนส่งสินค้าเข้ามาอยู่ในมือของตนเอง โดยการขนส่งสินค้าเข้าทางบริเวณเลแวนต์ไปให้แก่พ่อค้าเวนิสในยุโรปยุโรป การขนส่งด้วยวิธีนี้มายุติลงเมื่อออตโตมันเติร์กมาปิดเส้นทางอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการค้าเครื่องเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Commercial sexual exploitation of children ตัวย่อ CSEC) เป็นธุรกรรมทางการค้าที่อาศัยการฉวยประโยชน์ทางเพศ (sexual exploitation) จากเด็ก เช่นการค้าประเวณี และสื่อลามกอนาจาร อาจจะมีการบีบบังคับและการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก เท่ากับเป็นแรงงานบังคับและเป็นรูปแบบความเป็นทาสยุคปัจจุบัน รวมทั้งการให้บริการทางเพศของเด็กเพื่อผลประโยชน์แลกเปลี่ยน จะเป็นเงินทองหรืออะไรอย่างอื่นก็ดี ปฏิญญาของงานประชุมโลกใหญ่ต้านการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Declaration of the First World Congress against Commercial Sexual Exploitation of Children) ที่ประชุมในเมืองสตอกโฮล์มปี 2539 นิยาม CSEC ว่า CSEC ยังหมายถึงเซ็กซ์ทัวร์ และธุรกรรมทางเพศแบบอื่น ๆ ที่เด็กร่วมกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิต เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย หรือการศึกษา รวมทั้งรูปแบบที่สมาชิกในบ้านไม่ห้ามหรือแจ้งตำรวจเกี่ยวกับทารุณกรรมต่อเด็ก เนื่องจากได้ผลประโยชน์จากผู้กระทำผิด และอาจรวมการแต่งงานแบบคลุมถุงชนสำหรับเด็กที่ยังไม่ถึงอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ ที่เด็กไม่ได้ยินยอมและถูกทารุณทางเพศ ศูนย์เพื่อเด็กหายและถูกฉวยผลประโยชน์แห่งชาติ (National Center for Missing and Exploited Children) ซึ่งเป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน (แต่เบื้องต้นจัดตั้งโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา) กล่าวว่า เด็กหญิง 1 ใน 5 และเด็กชาย 1 ใน 10 จะถูกฉวยประโยชน์หรือทารุณกรรมทางเพศก่อนจะโตเป็นผู้หใญ่ ส่วนกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) กล่าวว่า การฉวยประโยชน์ทางเพศจากเด็กเป็น "การล่วงละเมิดสิทธิที่รุนแรงที่สุดที่เด็กคนหนึ่งอาจจะต้องอดทนอดกลั้น".

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

การแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 1 ในจุดหมายแสวงบุญที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ การแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ คือการเดินทางของพุทธศาสนิกชนผู้มีศรัทธาเพื่อไปสักการะสถานที่สำคัญในพระพุทธประวัติหรือสถูปเจดีย์ที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า ผู้เป็นพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา ในดินแดนที่เรียกว่าชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล (หรือที่คือดินแดนที่เป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียและเนปาลในปัจจุบัน) โดยสถานที่สำคัญที่ถือได้ว่าเป็นจุดหมายหลักของชาวพุทธคือสังเวชนียสถาน 4 ตำบล คือ ลุมพินีวัน สถานที่ประสูติ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ฯ สารนาถ สถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และกุสินารา สถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งนอกจากสังเวชนียสถานแล้ว ยังมีสถานที่สำคัญอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและประวัติศาสตร์พุทธศาสนา ทั้งที่เป็นมหาสังฆารามในอดีต หรือเมืองสำคัญในสมัยพุทธกาลที่มีความเกี่ยวข้องปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งบางแห่งได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกโลก เช่นที่ พุทธคยา ถ้ำอชันตา-เอลโลล่า เป็นต้น เดิมนั้นการเดินทางไปสักการะยังสถานที่ต่าง ๆ ในดินแดนพุทธภูมิเป็นไปด้วยความยากลำบาก ต้องมีความศรัทธาตั้งมั่นอย่างมากจึงจะสามารถไปนมัสการได้ครบทุกแห่ง ในปัจจุบันการเดินทางสะดวกสบายขึ้น และมีวัดพุทธนานาชาติอยู่ในจุดสำคัญ ๆ ของพุทธสถานโบราณต่าง ๆ ทำให้ชาวพุทธจากทั่วโลกนิยมไปนมัสการพุทธสถานในดินแดนพุทธภูมิเป็นจำนวนมากในแต่ละปี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและการ์ตูนเน็ตเวิร์ค · ดูเพิ่มเติม »

กาจู

นิกายกาจู หรือ กาจูปะ เป็นนิกายสำคํญนิกายหนึ่งของพุทธศาสนาในทิเบต มีที่มาจากอาจารย์มาร์ปะ โชคี โลโด และ อาจารย์ ทุงโป ญาลจอร์ ซึ่งเดินทางไปศึกษาพุทธศาสนานิกายตันตระในอินเดียและเนปาล ศิษย์ที่สืบทอดความรู้และนำมาเผยแพร่ในทิเบตคือมิลาเรปะ คำสอนของนิกายนี้มีทั้งสายสมาธิและสายการฝึกฝนทางปรัชญ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกาจู · ดูเพิ่มเติม »

กำลังเสือภูฏาน

กำลังเสือภูฏาน (Bhutan Tiger Force) เป็นปีกติดอาวุธของพรรคคอมมิวนิสต์ภูฏาน (มาร์กซ์-เลนิน-ลัทธิเหมา).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกำลังเสือภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าสวน

กิ้งก่าสวน หรือ กิ้งก่าบ้านหัวน้ำเงิน หรือ กิ้งก่าหัวสีฟ้า (Oriental garden lizard, Eastern garden lizard, Changeable lizard) เป็นกิ้งก่าที่อยู่ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) ชนิดหนึ่ง มีลักษณะลำตัวปกคลุมด้วยเกล็ดสันชี้มาด้านหลังในลักษณะเฉียงขึ้น มีหนามหลังตา 1 อัน หนามบริเวณเหนือเยื่อหู 2 อัน เยื่อหูปรากฏชัด ด้านหน้าของไหล่มีรอยพับของผิวหนังซึ่งภายในปกคลุมด้วยเกล็ดสีดำ ขนาดของเกล็ดลำตัวเท่ากัน ลำตัวสีเขียวถึงน้ำตาลเทา หัวด้านบนสีน้ำตาล มีแถบดำพาดตั้งแต่บริเวณจมูกมาถึงท้ายทอยเหนือเยื่อหู ริมฝีปากบนสีขาว คางและเหนียงสีเทาดำ หลังมีแถบสีน้ำตาล 6 แถบพาดขวางลำตัว หางมีแถบสีเทาสลับกับดำพาดขวาง พบกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่อัฟกานิสถาน, ปากีสถาน, เนปาล, อินเดีย, มัลดีฟส์, จีนตอนกลางและตอนล่าง, ฮ่องกง, ตลอดจนทั่วทุกภูมิภาคในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะ จัดเป็นกิ้งก่าชนิดที่พบได้บ่อยและง่ายที่สุด มีการขยายพันธุ์ที่ง่าย ลูกวัยอ่อนมักอาศัยเลี้ยงตัวเองในพุ่มไม้เตี้ย ตัวเต็มวัยมักอยู่ตามเรือนยอด หรือโคนต้น อาศัยเกาะหากินตามต้นไม้ที่ไม่ใหญ่มากนัก หรือมีลักษณะเป็นพุ่ม พบได้หลากหลายพื้นที่อาศัย เช่น ป่าทุ่งหญ้า, ทุ่งหญ้าน้ำขัง และสวนใกล้บ้าน หรือตามสวนสาธารณะ กินแมลงต่าง ๆ เป็นอาหาร และก็เป็นอาหารของคนในบางพื้นที่ ในต้นปี พ.ศ. 2551 มีข่าวปรากฏว่ามีการค้นพบกิ้งก่าชนิดใหม่ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน โดยมีส่วนคอสีม่วงออกแกมน้ำเงิน แท้จริงแล้วเมื่อได้รับการตรวจสอบ พบว่าเป็นกิ้งก่าชนิดนี้นั่นเอง จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมายในประเทศไท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกิ้งก่าสวน · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กุมารี

นี ศากยะ อดีตกุมารีของเมืองภัคตปุระ กุมารี (เนปาล: कुमारी; Kumari) คือเทพธิดาผู้มีชีวิตจริงของชาวเนปาล ที่เชื่อว่าเป็นปางหนึ่งของเทวีทาเลจู ซึ่งเป็นปางหนึ่งของเทวีทุรคา ศักติ (ชายา) ของพระศิวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในตรีมูรติ (เทพผู้ยิ่งใหญ่ 3 องค์) ที่ดุร้ายเหมือนเทวีกาลี มาจุติเกิด มาจากการสรรหาจากเด็กหญิงจากวรรณะล่าง และเป็นที่เคารพของผู้นับถือศาสนาฮินดู จนกระทั่งเทวีทุรคามาออกจากร่าง ซึ่งจะนับเมื่อเด็กหญิงผู้นั้นมีประจำเดือน หรือได้รับบาดแผลจนมีเลือดออกจากร่างกายเป็นจำนวนมาก โดยความเชื่อเรื่องกุมารี เป็นการผสมผสมานกันระหว่างความเชื่อในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาแบบธิเบตหรือวัชรยานในท้องถิ่น มีความเชื่อกระจายทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อัสสัม, ทมิฬนาฑู, เบงกอล, แคชเมียร์ แต่ที่ได้รับความนิยมและเชื่อถือมากที่สุด คือ เนปาลหน้า 44-57, เทพเจ้าผู้มีลมหายใจแห่งเนปาล โดย อิซาเบลลา ทรี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบพันปี

กุหลาบพันปี (Azalea) เป็นชื่อสกุลของไม้ดอกในสกุล Rhododendron ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) มีมากกว่า 1,000 ชน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกุหลาบพันปี · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ (South Asian Games; รู้จักกันในชื่อ SAF Games หรือ SAG) เป็นการแข่งขันกีฬาของประเทศในเอเชียใต้ จัดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2527 ที่กรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล และได้จัดการแข่งขันขึ้นทุก ๆ 2 ปี ยกเว้นเกิดเหตุการณ์ที่ไม่สามารถจัดการแข่งขันได้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1984

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1984 เป็นการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ซึ่งมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 7 ประเท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1984 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1999

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1999 เป็นการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ ครั้งที่ 8 จัดขึ้นที่เมืองกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ในการจัดการแข่งขันครั้งนี้ เป็นการจัดการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ครั้งที่ 2 ของประเทศเนปาล โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 7 ประเท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 1999 · ดูเพิ่มเติม »

กถาสริตสาคร

กถาสริตสาคร เป็นหนังสือรวบรวมนิทาน ตำนานต่างๆ ของอินเดีย แต่งโดยนักปราชญ์ชาวกัศมีร์ชื่อ โสมเทวะ เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 นับเป็นหนังสือที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเล่มหนึ่งของอินเดีย คำว่า "กถาสริตสาคร" เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง "มหาสมุทรแห่งสายน้ำของเรื่องเล่าต่างๆ" กถาสริตสาคร มีเนื้อหา 18 เล่ม 124 บท มีบทร้อยกรองมากกว่า 21,000 บท ที่แต่งเสริมเนื้อหาในส่วนร้อยแก้ว นิทานเรื่องหลักนั้นเป็นการเล่าเรื่องผจญภัยของเจ้าชายนรวหนทัตตะ โอรสของพระเจ้าอุทยนะในตำนาน มีการแต่งนิทานจำนวนมากประกอบกับเนื้อเรื่องหลัก ทำให้กลายเป็นแหล่งรวมนิทานอินเดียที่ยาวที่สุด ตำนานกล่าวว่า กถาสริตสาครนั้น ส่วนใหญ่อิงจากงานเขียนเรื่อง พฤหัตกถา ของคุณธฺย ในภาษาไปศาจี จากตอนใต้ของอินเดีย แต่พฤหัตกถาฉบับกัษมิร์ที่โสมเทวะใช้เป็นแหล่งเนื้อหานั้น อาจแตกต่างไปจากฉบับของไปศาจี เพราะมีพฤหัตกถาหลงเหลืออยู่สองฉบับ ในกัศมีร์ (นอกเหนือจากพฤหัตกถาโศลกสังเคราะห์ ของพุทธสวามิน จากเนปาล) ลักษณะการเล่านิทานในกถาสริตสาครนั้น (หรือในเนื้อหาหลักของพฤหัตกถา) คล้ายกับการเล่าเรื่องปัญจตันตระ นั่นคือ เป็นเรื่องที่ผูกโยงมาจากท้องถิ่นต่างๆ มากมายในโลกนี้ ประวัติการแปลในภาษาไทย เสฐียรโกเศศ และ นาคะประทีป เคยร่วมกันแปลถ่ายทอดนิทานชุดนี้ออกเป็นภาษาไทย เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและกถาสริตสาคร · ดูเพิ่มเติม »

ภักตปุระ

ักตปุระ (भक्तपुर bhaktapur) หรือ ภาทคเอา (भादगाउँ bhādgāũ)http://www.nepalandbeyond.com/bhaktapur-durbar-square.html หรือ ขวปะ (ख्वप Khvapa) เป็นหนึ่งในเมืองหลักของประเทศเนปาล ตั้งอยู่ทางตะวันออกของหุบเขากาฐมาณฑุ ถือเป็นเมืองที่มีประวัติความเป็นมายาวนานแห่งหนึ่ง ห่างจากกรุงกาฐมาณฑุ เมืองหลวงของประเทศ 13 กิโลเมตร ในอดีตภักตปุระเป็นหนึ่งในสามอาณาจักรของชาวเนวารแห่งหุบเขากาฐมาณฑุ ปัจจุบันเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สามของหุบเขารองจากกาฐมาณฑุ กับลลิตปุระ และเป็นเมืองหนึ่งที่มีชาวเนวารอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่ เมืองนี้เป็นที่ตั้งของจัตุรัสภักตปุระดูร์บาร์ (भक्तपुर दरवार क्षेत्र) ซึ่งจัตุรัสดังกล่าวเป็นฉากถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง Little Buddha นำแสดงโดยเคอานู รีฟ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภักตปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชันเตียล

ษาชันเตียล มีผู้พูด 2,000 คน จากชาวชันเตียลทั้งหมด 10,000 คน ชาวชันเตียลอาศัยใน ต. บักลุงและเมียกดีในเนปาล เป็นภาษาในกลุ่มตามันคิก เช่นเดียวกับภาษาคูรุง ภาษาทากาลี ภาษามานังบา ภาษานัรพูและภาษาตามัง ที่เป็นกลุ่มย่อยของในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีรากศัพท์และไวยากรณ์ใกล้คียงกับภาษาทากาลี หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาชันเตียล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาฮิง

ภาษาบาฮิง หรือภาษารุมคาลี มีผู้พูด 2,765 คน (2544) โดยชาวบาฮิงในตำบลโอขัลธุลกะ ประเทศเนปาล อยู่ในภาษากลุ่มกิรันตี ผู้ศึกษาภาษานี้คือ Brian Houghtun ซึ่งเขาได้บรรยายไว้ว่า ภาษานี้มีระบบกริยาที่ซับซ้อน ระบบสระยากสำหรับผู้พูดภาษาอื่น บาฮิง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาบาฮิง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากูรุง

ษากูรุง หรือ ภาษาตมุ กยี (Gurung หรือ Tamu Kyi,อักษรเทวนาครี:तमु क्यी ตมุ กยี) เป็นคำที่ใช้เรียก รวมภาษากูรุงตะวันตก (Western Gurung ISO 639-3: gvr) และภาษากูรุงตะวันออก (Eastern Gurung ISO 639-3: ggn) แม้ว่าการเข้าใจกันได้ของภาษาทั้งสองจะจำกัด ผู้พูดภาษากูรุงทั้งหมดในเนปาลมี 227,918 (พ.ศ. 2534) ภาษานี้อยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ชาวกูรุงเป็นชนกลุ่มน้อยที่ได้รับการยอมรับจากรัฐบาลเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษากูรุง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาร์วารี

ษามาร์วารี เป็นภาษาที่ใช้พูดในรัฐราชสถาน และรัฐใกล้เคียงเช่นรัฐคุชราต ในอินเดีย รวมทั้งในปากีสถาน ใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษามาร์วารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาคัร

ษามาคัร (Magar) เป็นภาษาที่ใช้พูดในเนปาลและสิกขิมโดยชาวมาคัร แบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตะวันตกและกลุ่มตะวันออก และแบ่งเป็นสำเนียงย่อยอีกมาก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษามาคัร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามุนดารี

ภาษามุนดารี เป็นภาษากลุ่มมุนดา ในตระกูลออสโตรเอเชียติก ใช้พูดในหมู่ชาวมุนดา ใกล้เคียงกับภาษาสันตาลี มีผู้พูดในอินเดียตะวันออก บังกลาเทศและเนปาล มุนดารี มุนดารี มุนดารี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษามุนดารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิมบู

ษาลิมบูเป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ใช้พูดในเนปาล สิกขิม และตำบลดาร์จีลิงในรัฐเบงกอลตะวันตก อินเดีย โดยชาวลิมบู ซึ่งส่วนใหญ่จะพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาที่สอง ชื่อภาษา “ลิมบู” เป็นคำจากภาษาอื่นและไม่รู้ที่มา ชาวลิมบูเรียกตนเองว่า “ยักทุมบา” และเรียกภาษาของตนว่า “ยักทุงปัน” มีสำเนียงสำคัญสี่สำเนียงคือ ปันแทร์ เพดาเป ชัตแทร์ และทัมบาร์ โคเล สำเนียงปันแทร์เป็นสำเนียงมาตรฐาน ในขณะที่สำเนียงเพดาเปเป็นสำเนียงที่เข้าใจได้ทั่วไป สิ่งตีพิมพ์ในภาษาลิมบูมักพิมพ์ควบคู่ไปกับภาษาเนปาล ภาษานี้เขียนด้วยอักษรเทวนาครีได้ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาลิมบู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวัมบูเล

ษาวัมบูเล เป็นภาษาของเผ่าวัมบูเล ไร เป็นหนึ่งในชนเผ่าที่พูดภาษากลุ่มกิรันตีในตำบลโอขันธุลกะ ทางภาคตะวันออกของเนปาล มีผู้พุดมากกว่า 5,000 คน อยู่รอบๆแม่น้ำสุนโกสีและกุธโกสีใกล้เทือกเขากุยภีร์ อยู่ทางใต้ของตำบลโอขันธุลกะ ทางตะวันตกของตำบลโขตัง ทางเหนือของตำบลอุทยปุระ และทางตะวันออกเฉียงเหนือของตำบลสินธุลี ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดคือภาษาโจโร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาวัมบูเล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันถาลี

ภาษาสันถาลี เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมุนดา ใกล้เคียงกับภาษาโฮและภาษามุนดารี มีผู้พูด 6 ล้านคนในอินเดีย บังกลาเทศ เนปาล และภูฏาน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอินเดีย กระจายอยู่ตามรัฐฌารขัณฑ์ อัสสัม พิหาร โอริศา ตรีปุระ และเบงกอลตะวันตก มีอักษรเป็นของตนเองเรียกอักษรสันถาลี อัตราการรู้หนังสือต่ำอยู่ระหว่าง 10 - 30% สันถาลี สันถาลี สันถาลี สันถาลี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาสันถาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสุนุวาร์

Sunuwar greeting ภาษาสุนุวาร์ (เป็นภาษาในกลุ่มภาษากีรันตี ใช้พูดในประเทศเนปาลโดยชาวสุนุวาร์ หรือ Kõits (कोँइच, Koinch และ Koincha มีการสะกดคำที่แตกต่างกัน) ภาษานี้ค้นพบครั้งแรกในโครงการหิมาลัย มีชื่อเรียกต่างกัน เช่น โกอีจโล, (Kõits-Lo, कोँइचलो) ซูนูวารี, (Sunuwari) กีรติ-โกอีจ, (किराँती-कोँइच),มุขียา (मुखिया, Mukhiya) ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครี ส่วนระบบการเขียนแบบเดิมที่เรียกเชนติฉา ใช้น้อยลงตั้งแต่ พ.ศ. 2473.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาสุนุวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอวธี

ษาอวธี (अवधी) เป็นภาษาถิ่นของภาษาฮินดี ใช้พูดในเขตอวัธ ของรัฐอุตตรประเทศ และพบในรัฐพิหาร มัธยประเทศ เดลฮี รวมทั้งในประเทศเนปาลด้วย มีผู้พูดราว 20 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาอวธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังคิกา

ษาอังคิกา เป็นภาษาของชาวอังหรืออังคาในรัฐพิหาร ฌารขัณฑ์ และเบงกอลตะวันตกในอินเดีย มีผู้พูดราว 30 ล้านคนในอินเดียและ 50 ล้านคนทั่วโลก มีผู้พูดภาษานีในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และส่วนอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังพบในอังกฤษและสหรัฐด้วย ภาษาอังคิกาใกล้เคียงกับภาษาเบงกาลี ภาษาโอริยาและภาษาอัสสัม จัดอยู่ในภาษาพิหารเช่นเดียวกับภาษาโภชปุรี ภาษามคธี ภาษาไมถิลีและภาษาวัชชิกะ ผู้พูดภาษาพิหารอื่นๆจะเข้าใจภาษาอังคิกาได้ง่าย สรหะ กวีคนแรกของภาษาฮินดีที่มีชีวิตเมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาอังคิกา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทิเบต

ษาทิเบตเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตมีภาษาถิ่นหลายกลุ่มคือ ภาษากลาง อยู่ในเขตปกครองตนเองทิเบต เช่นที่ ลาซา สำเนียงคาม อยู่ในเขตแคว้นคาม สำเนียงอัมโด อยู่ในแคว้นอัมโด ภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ภาษาของชนเชื้อสายทิเบตในเนปาล เช่นชาวเศรป.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทิเบตกลาง

ังหวัดในทิเบต ภาษากลุ่มทิเบตกลาง(Central Tibetan languages) เป็นสำเนียงของภาษาทิเบต โดยเป็นกลุ่มของสำเนียงที่มีวรรณยุกต์ของภาษากลุ่มทิเบต ที่ไม่ใช่สำเนียงคาม การแบ่งแยกของภาษากลุ่มนี้ตาม Bradley (1997)ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาทิเบตกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทูลุง

ภาษาทูลุง เป็นภาษากลุ่มกิรันตี ใช้พูดในเนปาลและสิกขิม มีผู้พูดราว 33,133 คน ชื่ออื่นๆคือ ภาษาทูลุนเก ไร ภาษาทูลู ลูวา ภาษาทูลูลัง ภาษาทูลุงลา ภาษาโทโลง โล ภาษาทูลุง เจมู และภาษาเตากู โลวา ทูลุง ทูลุง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาทูลุง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาม

ภาษาคาม หรือภาษาคามกูรา ภาษากามกูรา เป็นภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่าใช้พูดในเขตที่สูงของเนปาลตะวันตกโดยเผ่ามาคัร โดยชนที่อยู่ตามพื้นที่ราบในบริเวณนั้นเป็นผู้พูดภาษาเนปาลหรือพูดภาษาเนปาลและภาษาเนวารี ที่นับถือศาสนาฮินดู บริเวณที่ชนเผ่านี้อาศัยอยู่นั้นเป็นทางผ่านระหว่างทิเบตกับอินเดีย การได้รับอิทธิพลจากอินเดียและทิเบตน้อย ทำให้ภาษาคามยังคงอยู่ได้ คาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาคาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตามาง

ษาตามาง (Tamang; อักษรเทวนาครี:तामाङ) เป็นคำที่ใช้กล่าวถึงกลุ่มของสำเนียงที่ใช้พูดในเนปาลและสิกขิม ประกอบด้วย ตามางตะวันออก (ผู้พูด 759,257 คนในเนปาล) ตามางตะวันตกเฉียงเหนือ (ผู้พูด 55,000 คน) ตามางตะวันตกเฉียงใต้(ผู้พูด 109,051 คน) ตามางกุรข่าตะวันออก (ผู้พูด 3,977 คน) และตามางตะวันตก (ผู้พูด 322,598 คน) ความคล้ายคลึงระหว่างตามางตะวันออกกับตามางสำเนียงอื่นๆ อยู่ระหว่าง 81% ถึง 63% ภาษานี้เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่ากลุ่มใหญ่ที่สุดในเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาตามาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปูมา

ษาปูมา เป็นภาษากลุ่มกิรันตี มีผ้พูดราว 4,310 คน (2544) ในหมู่บ้านทิปลุง เมาวาโภขา เทวิสถาน ปัววเสระและจิสปานี ตำบลโบตัง และบางส่วนของตำบลอุทยปุระ ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาปูมา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานัรพู

ษานัรพู เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าใช้พูดในหมู่บ้านนัรและหมู่บ้านพูในหุบเขานัรโพลา ตำบลมานัง ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษานัรพู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโบโด

ษาโบโด(बोडो)จัดอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวโบโดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียและเนปาล เคยเขียนด้วยอักษรละติน ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาโบโด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโภชปุรี

ษาโภชปุรีเป็นภาษาที่พูดกันแพร่หลายทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย คือทางตะวันตกของรัฐพิหาร ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐฌารขัณฑ์ และบริเวณปุรวัณฉัลของอุตรประเทศรวมถึงทางใต้ของเนปาล ภาษาโภชปุรีมีผู้พูดในกายอานา ซูรินาม ฟิจิ ทรินิแดดฯ และมอริเชียสด้วย ภาษานี้ถือว่าไม่ใช่ภาษาถิ่นของภาษาฮินดี เตรียมจะรับรองสถานะเป็นภาษาประจำชาติอีกภาษาหนึ่ง ภาษาโภชปุรีมีคำศัพท์คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู และภาษาตระกูลอินโด-อารยันอื่นๆในภาคเหนือของอินเดีย ภาษาโภชปุรีและภาษาใกล้เคียงได้แก่ ภาษาไมถิลีและภาษามคธีเป็นที่รู้จักโดยรวมว่าภาษาพิหาร ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันออกเช่นเดียวกับภาษาเบงกาลีและภาษาโอริยา ภาษาถิ่นของภาษาโภชปุรีมีราว 3-4 ภาษาในภาคตะวันออกของรัฐอุตรประเท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาโภชปุรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไมถิลี

ษาไมถิลี จัดอยู่ในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน มีผู้พูดในรัฐพิหารของอินเดีย และเตรายตะวันตกในเนปาล คำว่าไมถิลีมาจากมิถิลาซึ่งเป็นรัฐอิสระในสมัยโบราณ มีกลุ่มผู้พูดภาษาไมถิลีเป็นจำนวนมาก ภาษานี้อยู่ในกลุ่มอินเดียตะวันออก ที่มีพัฒนาการเป็นอิสระจากภาษาฮินดี เขียนด้วยอักษรไมถิลีซึ่งคล้ายกับอักษรเบงกาลีหรือเขียนด้วยอักษรเทวนาครี เคยเขียนด้วยอักษรตีราหุตี แต่เปลี่ยนมาใช้อักษรเทวนาครีในพุทธศตวรรษที่ 25-26 อักษรตีราหุตีเป็นต้นแบบของอักษรไมถิลี อักษรเบงกาลีและอักษรโอร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาไมถิลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบลฮาเร

ภาษาเบลฮาเร เป็นภาษากลุ่มกิรันตี มีผู้พูดราว 2,000 คน ในเทือกเขาเบลฮาเร ซึ่งอยู่ทางใต้ของเทือกเขาหิมาลัย ในตำบลธันกุตา เนปาลตะวันออก ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาที่สอง ทำให้มีคำยืมจากภาษาเนปาลมาก แต่ไวยากรณ์ยังเป็นแบบของภาษากิรันตี บเลฮาเร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาเบลฮาเร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเลปชา

ษาเลปชา(อักษรเลปชา: ไฟล์:ᰛᰩᰵ་ᰛᰧᰶᰵ.SVG; Róng ríng)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ในรัฐสิกขิม อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของเนปาลและภูฏาน เขียนด้วยอักษรเลปชา ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับอักษรจีน จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาเลปชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเศรปา

ษาเศรปา หรือภาษาเศรปา ภาษาชาร์ปา ภาษาชาร์ปา โภเตีย ภาษาเซียเออร์บา ภาษาเซอร์วา เป็นภาษาที่ใช้พูดในบางส่วนของเนปาล โดยเฉพาะในชุมชนชาวเศรปา อยู่ในเนปาล 130,000 คน (2544) อยู่ในอินเดีย 20,000 คน (2540) และในทิเบต 800 คน (2537).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาเศรปา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนวารี

ษาเนวารี หรือเนปาล ภาษา (नेपाल भाषा, Nepal Bhasa, Newah Bhaye) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งของเนปาล อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า เป็นภาษาในตระกูลนี้เพียงภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรเทวนาครี พูดโดยชาวเนวาร์ ซึ่งอยู่ในหุบเขากาฏมาณฑุ มีความคล้ายคลึงกับภาษากลุ่มอินโด-อิหร่านด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาเนวารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนปาล

ษาเนปาล เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่พูดในประเทศเนปาล ประเทศอินเดีย ประเทศภูฏาน และบางส่วนของประเทศพม่า เป็นภาษาราชการของประเทศเนปาล ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของเนปาลพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ และชาวเนปาลอื่น ๆ หลายคนพูดเป็นภาษาที่สอง ชื่อของภาษาเนปาลในภาษาเนปาลคือ คาสกุรา (Khaskura) ชื่ออื่น ๆของภาษานี้มีมากมาย คนที่พูดภาษาอังกฤษเรียกว่า เนปาลี (Nepali) หรือ เนปาลีส (Nepalese) นอกจากนี้ คาสกุรา มีชื่ออื่น เช่น กอร์คาลี (Gorkhali) หรือ กูร์คาลี (Gurkhali) แปลว่าภาษาของชาวกุรข่า และพาร์ตาบิยา (Parbatiya) แปลว่าภาษาของภูเขาภาษาเนปาลมีวรรณกรรมขนาดเล็กในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งรวมถึง "อัธยาตมะ รามายณะ" (Adhyatma Ramayana) ประพันธ์โดย สุนทรานันทะ พร (Sundarananda Bara) (1833) ซึ่งเป็นการรวมนิทานพื้นเมืองที่ไม่ปรากฏผู้แต่ง และรามายณะ โดย ภานุภักตะ (Bhanubhakta) นอกจากนี้ยังมีผลงานแปลจากภาษาสันสกฤต รวมถึงไบเบิลด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและภาษาเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

มกร

ระแม่คงคาทรงมกรเป็นพาหนะ มกร (/มะ-กอน/ หรือ /มะ-กะ-ระ/) หรือ เบญจลักษณ์ เป็นสัตว์ตามความเชื่อของพม่า ล้านนา สยาม และเขมร เรียกอีกอย่างว่า ตัวสำรอก เนื่องจากในงานศิลปะ มกรมักจะคายหรือสำรอกเอาวัตถุใด ๆ ออกมาทุกครั้ง เช่น มกรคายนาค (พญานาค) ในเทววิทยาฮินดู มกร (मकर) จัดเป็นสัตว์ประหลาดในทะเลชนิดหนึ่ง ปกติมักแสดงอยู่ในรูปของสัตว์ผสม ครึ่งหน้าอาจเป็นสัตว์บกอย่างรูปช้าง, จระเข้ หรือกวาง ครึ่งหลังเป็นรูปสัตว์น้ำ (มักเป็นส่วนหาง) เช่น หางเป็นปลา หรือท่อนหลังเป็นแมวน้ำ บางครั้งอาจปรากฏส่วนหางเป็นรูปนกยูงก็มี มกรจัดเป็นเทพพาหนะสำหรับพระแม่คงคา เทพเจ้าแห่งแม่น้ำคงคา และพระวรุณ เทพแห่งทะเลและสายฝน ทางความเชื่อของล้านนาจะใช้มกรในพิธีขอฝน นอกจากนี้ยังเป็นสัญลักษณ์ที่ปรากฏในธงของพระกามเทพอันมีชื่อว่า "การกะธวัช" อีกด้วย อนึ่ง มกรถูกใช้เป็นสัญลักษณ์ของราศีมกร ซึ่งเป็น 1 ใน 12 ราศีทางโหราศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันเรียกเป็นมังกรด้วย ตามทางเข้าเทวสถานในศาสนาฮินดูและศาสนาสถานในพุทธศาสนามักทำรูปมกรไว้เป็นอารักษ์ประจำปากทางนั้น ๆ ในภาษาไทย มีการแผลงคำ "มกร" เป็น "มังกร" เพื่อใช้เรียกสัตว์สมมติอันตรงกับคำว่า "Dragon" ในภาษาอังกฤษ หรือ "หลง" (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: และแต้จิ๋ว: เล้ง) ในภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมกร · ดูเพิ่มเติม »

มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549

ตราสัญลักษณ์งาน มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 (International Horticulture Exposition for His Majesty the King; Royal Flora Ratchapruek 2006) หรือเรียกย่อๆว่า ราชพฤกษ์ 2549 เป็นงานมหกรรมจัดแสดงด้านพืชสวนกลางแจ้ง จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 – 28 กุมภาพันธ์ 2550 ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มหกรรมพืชสวนโลกจัดขึ้นโดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น 2,404 ล้านบาท จัดขึ้นในนามของรัฐบาลไทย โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร และสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของสมาพันธ์ดอกไม้โลก (WFC) และสมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (ISHS) และการรับรองมาตรฐานมหกรรมระดับโลก ระดับ A1 (มาตรฐานมหกรรมขั้นสูงสุด) การจัดงานจาก สมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (AIPH) และสำนักงานมหกรรมโลก (BIE)จดหมายข่าวมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 โดยประเทศไทยนับเป็นประเทศที่สามในทวีปเอเชีย ที่ได้รับรองการจัดงานมหกรรมระดับโลกจาก BIE ต่อจากจีน และญี่ปุ่น ตลอดช่วงการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลก ได้ก่อให้เกิดเม็ดเงินสะพัดสู่ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่คิดเป็นมูลค่าประมาณ 23,000 ล้านบาท โดยที่ร้อยละ 65 เป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวคนไทย และร้อยละ 35 เป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554

200px มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554 (The International Horticultural Exposition: Royal Flora Ratchaphruek 2011) หรือเรียกย่อๆว่า ราชพฤกษ์ 2554 เป็นงานมหกรรมจัดแสดงด้านพืชสวนกลางแจ้ง กำหนดเดิมจัดขึ้นระหว่างวันที่ 9 พฤศจิกายน 2554 – 15 มีนาคม 2555 แต่เนื่องจากสถานการณ์ความไม่พร้อมด้านการก่อสร้างประกอบกับปัญหาอุทกภัยครั้งใหญ่ในภาคกลาง รัฐบาลจึงเลื่อนวันจัดงาน ไปเป็นวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2554 - 14 เมษายน พ.ศ. 2555 แทน รวม 92 วัน โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2555 ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ บนเนื้อที่ 470 ไร่ ในนามของรัฐบาลไทย โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร และสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของสมาพันธ์ดอกไม้โลก (WFC) และสมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (ISHS) ละสมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (ISHS) และการรับรองมาตรฐานมหกรรมระดับโลก ระดับ A2/B1 การจัดงานจาก สมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (AIPH) แนวคิดหลัก (Theme) ประจำงานคือ Greenitude: Reducing Global Warming to Save Planet Earth and to Improve the Quality of Life ทัศนคติสีเขียว ร่วมสร้างสรรค์แนวคิดรักษ์โลก ตระหนักถึงการช่วยกันลดสภาวะโลกร้อน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของมนุษยชาต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554 · ดูเพิ่มเติม »

มหายาน

มหายาน เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่นับถือกันอยู่ประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย, เนปาล, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม, มองโกเลีย ไปจนถึงบางส่วนของรัสเซีย จุดเด่นของนิกายนี้อยู่ที่แนวคิดเรื่องการบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์สร้างบารมีเพื่อช่วยเหลือสรรพชีวิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกข์ ด้วยเหตุที่มีผู้นับถืออยู่มากในประเทศแถบเหนือจึงเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า อุตตรนิกาย ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ของโลกเป็นผู้นับถือนิกายมหายาน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมหายาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวัสตุ

มหาวัสตุอวทาน หรือ มหาวัสตุ (มหาวสฺตุ หมายถึง เหตุการณ์ครั้งสำคัญ หรือ เรื่องที่ยิ่งใหญ่) เป็นคัมภีร์ที่มีความสำคัญสูงสุดคัมภีร์หนึ่งในพุทธศาสนาภาษาสันสกฤต มีข้อความระบุในนิทานคาถาว่า มหาวัสตุเป็นพระวินัยปิฎกของนิกายโลโกตตรวาท (นิกายย่อยของสำนักมหาสังฆิกะ ซึ่งรุ่งเรืองในมัธยมประเทศของอินเดีย) แต่โดยสัดส่วนแล้ว มีเนื้อหาของคัมภีร์มีความเกี่ยวข้องกับพระวินัยที่เป็นเรื่องสิกขาบทของพระสงฆ์ไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะเป็นงานประพันธ์ประเภทชาดกและอวทาน และยังสอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับคติชนวิทยา ศีลธรรม และการเมืองการปกครอง เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมหาวัสตุ · ดูเพิ่มเติม »

มะม่วงขี้ไต้

มะม่วงขี้ไต้ ภาคเหนือเรียก มะม่วงช้างเหยียบ มะม่วงแป๊บ ภาคใต้เรียก ส้มม่วงกล้วย ชาวกะเหรี่ยง จังหวัดลำปางเรียก โค๊ะแมงซา เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่บังกลาเทศ กัมพูชา จีน อินเดีย พม่า เนปาล ไทย ชื่อสามัญอื่นๆได้แก่ มะม่วงหิมาลัย (Himalayan Mango) มะม่วงเนปาล (Nepal Mango) หรือ Pickling Mango.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมะม่วงขี้ไต้ · ดูเพิ่มเติม »

มะตูม

ผลมะตูมผ่าครึ่ง มะตูม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos ภาคเหนือเรียกว่า มะปิน ภาคใต้เรียกว่า กะทันตาเถร, ตูม และตุ่มตัง ภาคอีสานเรียกว่า หมากตูม ภาษาเขมรเรียกว่า พะโนงค์ ชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า มะปีส่า นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมะตูม · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขัน เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

มาตฤกา

วาดจากคัมภีร์โบราณของอินเดียของพระแม่สัปตริมาติกาและพระแม่กาลีขณะทรงรบกับอสูรรักชตะ มาตฤกา (मातृका; சப்தகன்னியர்) เป็นกลุ่มเทวีในศาสนาฮินดู มีทั้งหมดเจ็ดหรือแปดองค์ เป็นที่บูชาทั้งในประเทศอินเดีย ประเทศเนปาล ประเทศศรีลังกา และกลุ่มชาวฮินดูทั่วไป ในประเทศไทย มีการประดิษฐานเทวรูปคณะเทวีทั้งเจ็ดองค์นี้ในวัดพระศรีมหาอุมาเทวี และเรียกเป็นภาษาทมิฬว่า พระซับทระกรรณี ภาพสลักหินองค์ศิวนาฏราชและพระแม่สัปตมาตฤกาในผนังเอลโลล่า ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมาตฤกา · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014, ครั้งที่ 43 จัดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Mister International 2016) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 11 จัดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์โกลบอล 2016

มิสเตอร์โกลบอล 2016 (Mister Global 2016) เป็นการประกวดมิสเตอร์โกลบอลครั้งที่ 3 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิสเตอร์โกลบอล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์เวิลด์ 2016

มิสเตอร์เวิลด์ 2016 (Mister World 2016) เป็นครั้งที่ 9 ของการประกวดมิสเตอร์เวิลด์ ซึ่งจัดขึ้นที่ลอรัลฮอลล์ของศูนย์การประชุมเซาท์พอร์ต ใน เซาท์พอร์ต เดวอน สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิสเตอร์เวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ (มิสึโอะ ชิบะฮะชิ) หรือ อดีตพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็นอดีตพระภิกษุชาวญี่ปุ่น บวชในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ท่านเป็นศิษย์รุ่นแรกของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมิตซูโอะ ชิบาฮาชิ · ดูเพิ่มเติม »

มินสค์

ริเวณจัตุรัสแห่งชัยชนะในกรุงมินสค์ มินสค์ (Minsk; Мінск; Минск) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวิสลาช (Svislach) และแม่น้ำเนียมีฮา (Niamiha) ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 280.4 เมตร กรุงมินสค์เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเครือรัฐเอกราช (CIS) ในที่เป็นฐานะเมืองหลวงของประเทศ ยังมีสถานะการบริหารพิเศษและยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของจังหวัดมินสค์และเขตมินสค์อีกด้วย ในปี ค.ศ. 2006 กรุงมินสค์มีประชากรประมาณ 1,780,000 คน และมีนายมีคาอิล ปัฟลอฟ (Mikhail Pavlov) เป็นนายกเทศมนตรี หลักฐานยุคแรกเริ่มสุดที่กล่าวถึงมินสค์นั้นย้อนไปถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 (ค.ศ. 1067) ในปี ค.ศ. 1242 มินสค์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของราชรัฐลิทัวเนีย (Grand Duchy of Lithuania) และได้รับอภิสิทธิ์เมืองในปี ค.ศ. 1499 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1569 เมืองนี้ได้เป็นเมืองหลวงของมินสค์วอยวอดชิป (Minsk Voivodship) ในเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ต่อมาถูกผนวกเข้ากับรัสเซียในปี ค.ศ. 1793 ซึ่งเป็นผลจากการแบ่งแยกโปแลนด์ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1919-1991 มินสค์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (Byelorussian SSR) ก่อนสหภาพโซเวียตล่มสล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมินสค์ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ หรือ มูลนิธิเกตส์ (Bill & Melinda Gates Foundation, Gates Foundation ตัวย่อ BMGF) เป็นมูลนิธิเอกชนหรือส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดตั้งโดยบิล เกตส์ และเมลินดา เกตส์ ในปี 2543 และกล่าวกันว่าเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ดำเนินการอย่างโปร่งใสที่ใหญ่ที่สุดในโลก จุดมุ่งหมายหลักของมูลนิธิก็คือ เพื่อปรับปรุงการบริหารสุขภาพและลดความยากจนทั่วโลก และในสหรัฐอเมริกา เพื่อขยายโอกาสการศึกษาและการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลนิธิมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน และควบคุมโดยผู้จัดการดูแลทรัพย์สิน 3 ท่านคือ บิลกับเมลินดาเกตส์ และวอร์เรน บัฟเฟตต์ เจ้าหน้าที่หลักอื่น ๆ รวมทั้ง ประธานกรรมการร่วม วิลเลียม เอ็ช เกตส์ ซีเนียร์ (บิดาของนายเกตส์) และประธานบริหาร พญ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาชิชาพังมะ

อดเขาชิชาพังมะ ยอดเขาชิชาพังมะ (Shishapanma; จีน: Xīxiàbāngmǎ Fēng 希夏幫馬峰) ยอดเขาสูงที่สุดใน ประเทศจีน และสูงเป็นอันดับที่ 13 ของโลก มีความสูง 8,046 เมตร ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทิเบต ใกล้ชายแดนเนปาล นับเป็นยอดเขาสูงเกิน 8 พันเมตรเพียงแห่งเดียวที่อยู่ในประเทศจีน (ข้อมูลบางแห่งระบุความสูง 8,013 เมตร และบางแห่ง 8,027 เมตร ซึ่งทำให้ Shishapanma สูงเป็นอันดับ 14 ของโลก) ชื่อ "ชิชาพังมะ" เป็นภาษาทิเบต มีความหมายว่า "ยอดเขาเหนือทุ่งหญ้า" ยอดเขานี้มีชื่อในภาษาสันสกฤตว่า โกแสนธาน (Gosainthan) มีความหมายว่า "ดินแดนแห่งพระเจ้า" นอกจากนี้ ชิชาพังมะ ยังอาจแปลความหมายได้ว่า "หญิงชาวเชอร์ปา" เนื่องจากภูเขานี้อยู่ในเขตประเทศจีน ซึ่งค่อนข้างเข้มงวด ทำให้มีนักปีนเขาจำนวนไม่มากได้ปีนเขาลูกนี้ นักปีนเขากลุ่มแรกที่ขึ้นถึงยอดเขานี้เป็นชาวจีน เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 เป็นยอดเขาความสูงเกิน 8,000 เมตร ที่มีผู้ปีนถึงยอดเป็นลำดับหลังสุด ในจำนวน 14 ยอ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยอดเขาชิชาพังมะ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขากันเจนชุงคา

right กันเจนชุงคา (Kanchenjunga) หรือ กัญจนชังฆา (कञ्चनजङ्घा) เป็นยอดเขาที่สูงเป็นอันดับสามของโลก รองจากยอดเขาเอเวอเรสต์ และยอดเขาเคทู ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยบริเวณพรมแดนประเทศอินเดียกับเนปาล มีความสูงกว่า 8,586 เมตร หรือ 28,169 ฟุต ก ก ก หมวดหมู่:เทือกเขาหิมาลัย.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยอดเขากันเจนชุงคา · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาอันนะปุรณะ

อดเขาอันนาปุรณะใต้ (Annapurna South) และ ยอดเขาอันนาปุรณะ 1 (Annapurna I) เทือกเขาอันนะปุรณะ (Annapurna Massif) เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัยด้านตะวันตก ในประเทศเนปาล ซึ่งประกอบด้วยยอดเขาสูงเกินกว่า 7,200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 6 ยอด ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) ยอดเขาสูงอันดับ 10 ของโลก หนึ่งใน 14 ยอดเขาที่สูงเกิน 8 พันเมตร คือมีความสูงถึง 8,091 เมตร นอกจากนี้ในทิวเขาอันนะปุรณะ มียอดเขาซารังโกต (Sarangkot) สูง 1,592 เมตรจากระดับน้ำทะเล ซึ่งเป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้น ที่ได้รับการยกย่องว่าสวยที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ชื่อ "อันนะปูรณา" (अन्नपूर्णा, อนฺนปูรณา) เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง เทวีแห่งการเก็บเกี่ยว ซึ่งในคติทางฮินดู ถือเป็นปางที่ 8 ใน 9 ปางของ พระอุมาเทวี ชายาของพระศิวะ ที่ทรงเป็นผู้ประทาน ความอุดมสมบูรณ์ แก่พืชพันธุ์ธัญญาหาร เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าปาง "มหาเคารี" ซึ่งเป็นปางที่มีผู้สักการบูชามากที่สุด รองจากปาง "กาลราตรี" หรือ "เจ้าแม่กาลี" และเพื่อแสดงความเคารพ รัฐบาลเนปาล ได้ประกาศสงวน ยอดเขามัจฉาปูชเร (Machhapuchhre) หรือ ยอดเขาหางปลา (Mt. Fishtail) ใกล้เมืองโปครา (Pokhara) เป็นเขตปลอดนักไต่เขา เพื่อให้เป็นที่สถิตของ องค์เทวีอันนะปุรณะ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) เป็นยอดเขาสูงเกิน 8,000 เมตรแห่งแรก ที่มีมนุษย์ไต่ถึง โดย เมารีซ เออร์โซ (Maurice Herzog) และ ลูอิส แลชเนล (Louis Lachenal) นักไต่เขาชาวฝรั่งเศส นำทีมอีก 7 คน ขึ้นสู่ยอดเขาสำเร็จในปี พ.ศ. 2493 หรือ 3 ปีก่อนที่ เซอร์เอ็ดมันด์ ฮิลลารี จะพิชิต ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ และแม้ว่าเอเวอร์เรสต์ จะโด่งดังในฐานะยอดเขาสูงที่สุดในโลก แต่ในความเป็นจริง มีนักไต่เขามาเยือนอันนะปุรณะ ถึงกว่า 40,000 คนต่อปี ซึ่งมากกว่าเอเวอร์เรสต์ 2 เท่า เนื่องจากอันนะปุรณะ มีความหลากหลายทางสภาพภูมิศาสตร์ ทั้งทะเลสาบในหุบเขาโปคราที่มีอากาศร้อนชื้น ไปจนถึงภูเขาน้ำแข็ง ประกอบไปด้วยพรรณไม้ และสัตว์ป่า เช่น แพะภูเขา เสือดาวหิมะ รวมทั้งนกต่างๆ กว่า 400 สปีชี่ส์ โดยมีชนเผ่าที่แตกต่างกันถึง 7 ชนเผ่า ทำให้เส้นทางเดินเขารอบทิวเขาอันนะปุรณะหนึ่งสัปดาห์ ถือเป็นเส้นทางคลาสสิกแห่งหนึ่ง สำหรับนักไต่เขาทั่วโลก ยอดสูงสุดของอันนะปุรณะ ถือเป็นหนึ่งในยอดเขาอันตรายที่สุดในโลก มีอัตราการเสียชีวิตของนักไต่เขาสูงถึงร้อยละ 40 จากสถิติจนถึงปี พ.ศ. 2548 มีผู้พิชิตยอดเขาอันนะปุรณะสำเร็จ 103 คน และมีผู้เสียชีวิตถึง 56 คน ส่วนมากเนื่องจากหิมะถล่มที่เกิดขึ้นเป็นประจำ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยอดเขาอันนะปุรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาอิมชาตเซ

อแลนด์พีกหรืออิมชาตเซ ยอดเขาอิมชาตเซ (Imja Tse) รู้จักกันในชื่อ ยอดเขาไอแลนด์พีก (Island Peak) เป็นภูเขาอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยทางตะวันออกของเนปาล เป็นทิวเขาต่อเนื่องมาจากยอดเขาโลตเซ ภูเขาสูงอันดับ 4 ของโลก ถูกตั้งชื่อโดยริชาร์ด ชิปตัน นักปีนเขาชาวอังกฤษในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยอดเขาอิมชาตเซ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขานันทาเทวี

นันทาเทวี ยอดเขานันทาเทวี (Nanda Devi) ตั้งอยู่ในรัฐอุตตราขัณฑ์ ใกล้กับพรมแดนระหว่างอินเดียและเนปาล เป็นยอดเขาที่สูงเป็นอันดับสองของอินเดีย รองจากยอดเขากันเจนชุงคา มีความสูง 7,816 เมตร ตั้งอยู่บริเวณการ์วัล หิมาลัย เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลั.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยอดเขานันทาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเอเวอเรสต์

อดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ในทางภูมิรัฐศาสตร์ ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต โดยชาวเนปาลเรียกยอดเขาเอเวอเรสต์ว่า สครมาตา (ภาษาสันสกฤต: सगरमाथा หมายถึง มารดาแห่งท้องสมุทร) ส่วนชาวทิเบตขนานนามยอดเขาแห่งนี้ว่า โชโมลังมา (จากภาษาทิเบต: จูมู่หลั่งหม่า (珠穆朗玛) หมายถึง มารดาแห่งสวรรค์) ชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์นั้น ตั้งโดย เซอร์แอนดรูว์ วอ นักสำรวจประเทศอินเดียชาวอังกฤษ เพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์จอร์จ อีฟเรสต์ นักสำรวจประเทศอินเดียรุ่นก่อนหน้า (คำว่า Everest นี้ คนส่วนมากอ่านออกเสียงเป็น เอเวอเรสต์ ขณะที่เซอร์จอร์จอ่านออกเสียงชื่อสกุลของตัวเองว่า อีฟเรสต์) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักสำรวจเรียกยอดเขาแห่งนี้เพียงว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา (Sherpa) และนักปีนเขา (climber) บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยอดเขาเอเวอเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ยิดัม

ัม คือเทพผู้พิทักษ์ที่เห็นพระพุทธรูปอุ้มสตรีในทิเบต หรือในภูฏาน ยิดัมนี้อาจจะเป็นธยานิโพธิสัตว์อวตารมาเพื่อปราบปีศาจร้ายก็ได้ หรือเป็นปีศาจร้ายที่เลื่อมใสพระพุทธศาสนาแล้วเลื่อนมาเป็นยิดัม ลามะชั้นสูงบางรูปอาจจะมียิดัมคอยอารักษ์ ลามะอาจเชิญมาพิทักษ์เอง หรือยิดัมปรากฏให้เห็นขณะทำภาวนาอยู่ก็ได้ ส่วนฆราวาสที่อยากมียิดัมคอยพิทักษ์ ต้องให้ลามะเชิญเท่านั้น อีกนัยหนึ่ง ยิดัม คือพระโพธิสัตว์อุ้มตำรา หรือแม้แต่พระพุทธรูปอุ้มศักติ ในคัมภีร์มรณศาสตร์ของทิเบต ยิดัมทั้งสี่ จะปรากฏกายในวันที่หกของบาร์โด คือทิศตะวันออก มีเทพวิชัย ทิศใต้คือยมานตกะ ศัตรูของพระยม ทิศตะวันตกคือ หยครีวะ หรือ หยครีพ ทิศเหนือ คือ อมฤตากุณฑสินี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยิดัม · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 211

ูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 211 (BS211/UBG211) เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศของสายการบินยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ ที่ได้ออกจากท่าอากาศยานนานาชาติชาห์จาลาร์, ธากา, ประเทศบังกลาเทศ และมีจุดหมายปลายทางที่ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน, กาฐมาณฑุ, ประเทศเนปาล ในวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 211 · ดูเพิ่มเติม »

ย่านพาโหม

*P.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและย่านพาโหม · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรัฐสภา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง ระบบรัฐสภา เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีที่มาจากรัฐสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ และตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลมักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดในอังกฤษใน ศตวรรษที่17 โดยมีประเทศที่ใช้ระบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภาได้แก่ เยอรมนี อิตาลี อินเดีย ออสเตรีย ฮังการี ตุรกี อิรัก อิสราเอล ปากีสถาน สิงคโปร์ ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ กรีซ เซอร์เบีย เช็กเกีย บัลแกเรีย เนปาล บังกลาเทศ เอธิโอเปีย ซูรินาม เป็นต้น ส่วนประเทศที่ใช้ระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญได้แก่ สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ลักเซมเบิร์ก ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อันดอร์รา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและระบบรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพิหาร

หาร คือ รัฐที่อยู่ในประเทศอินเดีย มีพุทธคยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ภาษาที่ใช้ในรัฐพิหาร คือ ภาษาฮินดีถูกแบ่งเป็นสองส่วนด้วยแม่น้ำคงคาซึ่งไหลผ่านจากตะวันตกไปตะวันออก เดิมคือแคว้นมคธ มีสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาหลายแห่ง เช่น พุทธคยา นาลันทา มีความสำคัญด้านคมนาคมขนส่งเพราะเป็นประตูสู่เนปาลและรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ สินค้าเกษตรที่สำคัญคืออ้อย ปอ ชา มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมน้ำตาล สุราและเอทานอล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัฐพิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสิกขิม

รัฐสิกขิม (เทวนาครี: सिक्किम; ภาษาทิเบต: འབྲས་ལྗོངས་; Sikkim) คือรัฐหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ทางตะวันตกติดต่อกับประเทศเนปาล ทางทิศเหนือติดต่อกับเขตปกครองตนเองทิเบต และประเทศจีน ทางทิศตะวันออกติดต่อกับประเทศภูฏาน และทิศใต้ติดต่อกับรัฐเบงกอลตะวันตก รัฐหนึ่งของอินเดีย แต่เดิมสิกขิมเป็นรัฐเอกราช มีขนาดใหญ่กว่าเดลีเล็กน้อย ปกครองโดยราชวงศ์นัมเกล ด้วยความเป็นรัฐเอกราชเล็ก ๆ อาจถูกบั่นทอนจากจีนซึ่งยึดทิเบตได้ เมื่ออินเดียได้รับเอกราช สิกขิมจึงยอมอยู่ใต้เอกราชเดียวกับอินเดียเมื่อ 30 กว่าปีก่อน อดีตประชากรส่วนใหญ่ของที่นี้เป็นชาวเลปชาซึ่งมีเชื้อสายเป็นชาวทิเบต แต่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเนปาลี ประมาณร้อยละ 75 ของประชากร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัฐสิกขิม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอุตตราขัณฑ์

รัฐอุตตราขัณฑ์ เป็นรัฐหนึ่งประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศ มีเขตแดนทางทะเลติดต่อกับทิเบต ประเทศจีน ทางทิศเหนือ และประเทศเนปาลทางตะวันออก รัฐอุตตราขัณฑ์เป็นรัฐที่ 27 ของสาธารณรัฐอินเดีย เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543เดิมชื่อรัฐอุตรารัณจัล หรือ "อุตตราญจัล"เปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันเมื่อ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัฐอุตตราขัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอุตตรประเทศ

รัฐอุตตรประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่บริเวณส่วนบนของประเทศโดยมีเขตแดนติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญในศาสนาฮินดู เช่น เมืองพาราณสี อโยธยา (เมืองเกิดของพระราม) มธุรา (เมืองเกิดของพระกฤษณะ) และอัลลาลาบัดหรือเมืองโกสัมพีในสมัยพุทธกาล อุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐอุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2493 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2377.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัฐอุตตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งเนปาล

ณะนี้ ประเทศเนปาลยังไม่มีรัฐธรรมนูญฉบับถาวร หากใช้ฉบับชั่วคราวซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2550 ปกครองไปพลางก่อน ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งเนปาลฉบับชั่วคราวดังกล่าวร่างขึ้นโดยคณะกรรมการอันมีนายลักษมัน ปราสาท อารยัล (Laxman Prasad Aryal) อดีตข้าราชการตุลาการ เป็นประธานกรรมการ เพื่อใช้แทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรเนปาล..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเบงกอลตะวันตก

เบงกอลตะวันตก (পশ্চিমবঙ্গ, Poshchimbôŋgo) คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตรงกลางเยื้อไปทางตะวันออกของประเทศ มีเขตติดต่อรัฐสิกขิม รัฐอัสสัมและประเทศภูฏานทางทิศเหนือ ติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับรัฐโอริศาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศตะวันตก และอ่าวเบงกอล มหาสมุทรอินเดียทางใต้ บ หมวดหมู่:รัฐเบงกอลตะวันตก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2499 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัฐเบงกอลตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

รัตนชาติ

รัตนชาติหรือหินอัญมณี (gemstone) เป็นกลุ่มประเภทของแร่ประเภทหนึ่ง โดยหมายถึง แร่หรือหินบางชนิด หรืออินทรียวัตถุธรรมชาติที่นำมาเจียระไน ตกแต่ง หรือแกะสลัก เพื่อใช้เป็นเครื่องประดับ มีความงาม ทนทาน และหายาก โดยปกติแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ เพชร และพลอย ซึ่งหมายถึง อัญมณีทุกชนิดยกเว้นเพชร หากผ่านการตกแต่งหรือเจียระไนแล้ว เรียกว่า อัญมณี นอกจากนี้ สารประกอบที่ได้จากสิ่งมีชีวิตที่อาจจัดเป็นรัตนชาติได้แก่ ไข่มุก และปะการังและอำพัน รัตนชาติหรืออัญมณี เป็นผลึกที่มีมลทินอยู่ภายใน ทำให้มีสีต่าง ๆ กันไป มีความแข็ง สามารถเจียระไนให้เกิดมุม เพื่อให้เกิดการกระจายแสงเห็นความแวววาว มลทินในแร่ ทำให้แร่มีสีต่าง ๆ กัน แร่คอรันดัมบริสุทธิ์ เป็นสารพวกอะลูมิเนียมออกไซด์ มีสีขาว ถ้ามีมลทินจำพวกโครเมียมผสม ทำให้มีสีแดง เช่นทับทิม ส่วน เหล็ก ไทเทเนียม ทำให้มีสีน้ำเงิน (ทับทิมกับไพลิน เป็นแร่คอรันดัมเหมือนกัน แต่มีมลทินต่างชนิดกัน) เกณฑ์ที่ใช้ตัดสินอัญมณีได้แก่ ความแข็ง (ตามมาตราโมส), ความถ่วงจำเพาะ และค่าดัชนีหักเหของแสง ดัชนีหักเหของแสง เป็นค่าคงที่ของอัญมณีแต่ละชนิด จึงใช้ตัดสินว่าเป็นของปลอมหรือไม่ ความแข็งของแร่ก็มีผลต่อราคาของอัญมณีด้วย จึงนำมาทดสอบ โดยการขูดขีดกัน (อาจใช้ตะไบ มือ เหรียญทองแดง มีดพับ, กระจก ทดสอบ) แร่ที่มีรอยขูดขีดจะอ่อนกว่า ซึ่งทดสอบได้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรัตนชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาล

ราชอาณาจักรเนปาล (Kingdom of Nepal, नेपाल अधिराज्य) หรือราชอาณาจักรโครขา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและราชอาณาจักรเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาลในเอเชียนเกมส์ 1954

นปาล ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1954 ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ในระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) โดยหลังจากจบการแข่งขัน ทีมชาติเนปาล ไม่สามารถคว้าเหรียญมาได้เลย และอยู่ในอันดับที่ 13 ร่วม ของการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและราชอาณาจักรเนปาลในเอเชียนเกมส์ 1954 · ดูเพิ่มเติม »

ราม พหาทุร พามชาน

ราม พหาทุร พามชาน (राम बहादुर बामजान; 9 เมษายน ค.ศ. 1990 —) มีฉายาว่า ลามะปัลเดน ดอร์เจ (Palden Dorje) หรือปัจจุบันใช้ว่า ธรรมสังฆะ (Dharma Sangha) จากรัตนปุรี อำเภอพารา ประเทศเนปาล ซึ่งบางส่วนของผู้สนับสนุนของเขาได้อ้างว่าเขาเป็นพระพุทธเจ้าผู้กลับชาติมาเกิด แต่ลามะปัลเดน ดอร์เจได้ปฏิเสธต่อการกล่าวอ้างนี้ และผู้ปฏิบัติธรรมจำนวนมากต่างเห็นด้วยว่าพระโคตมพุทธเจ้าได้เข้าสู่พระนิพพานแล้ว และไม่สามารถจะเกิดใหม่ได้ เขาเป็นที่ดึงดูดต่อผู้เยี่ยมเยือนนับพันรวมถึงสื่อ โดยใช้เวลานานนับเดือนในการทำสมาธิ ฉายาพระพุทธเจ้าน้อย ของเขา เริ่มมาจากการทำสมาธิในวันที่ 16 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและราม พหาทุร พามชาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี้คือรางวัลทางการศึกษานานาชาติของ ดร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีรถไฟในประเทศเนปาล

ที่หยุดรถไฟในหมู่บ้านขชุรี บทความนี้แสดงรายชื่อ สถานีรถไฟในประเทศเนปาล ประเทศเนปาลมีทางรถไฟ 1 สาย ซึ่งเป็นสายย่อยแยกมาจากทางหลักในประเทศอินเดีย วิ่งระหว่างเมืองชัยนคร-ชนักปุระ มีส่วนต่อขยายไปยังเมือง Bardibas.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อสถานีรถไฟในประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย

นี่คือรายชื่อธงชาติประเทศและดินแดนของทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในประเทศเนปาล

500px รายชื่อทางหลวงในประเทศเนปาล แบ่งตามประเภท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อถนนในประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง

ตัวละครหลัก รายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง ซึ่งเป็นตัวละครการ์ตูนจากการ์ตูนไทยเรื่อง "ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง".

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่

ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามจำนวนพื้นที่ ซึ่งทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งสิ้น 44,579,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย

โบสถ์พระคริสตสมภพ ซึ่งถือกันว่าเป็นสถานที่ประสูติของพระเยซู เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ถูกกำหนดให้เป็นแหล่งมรดกโลก และเป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเนปาล

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเนปาลทั้งสิ้น 4 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจำนวน 25 ประเทศจากทั้งสิ้น 29 ประเทศทั่วโลกตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยที่จะมาร่วมราชพิธีอันเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายนปีดังกล่าว พระประมุขจาก 13 ประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง 12 ประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน ครั้งนี้นับเป็นการชุมนุมของพระประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามพระโพธิสัตว์

ระโพธิสัตว์ คือบุคคลที่บำเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พระโพธิสัตว์สำคัญตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายานมีดังนี้ พระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์ พระจันทรประภาโพธิสัตว์ และพระสุริยประภาโพธิสัตว์ พระจุนทีโพธิสัตว์ พระนางตารา พระนาคารชุนะ พระปัทมสัมภวะ พระนางปรัชญาปารมิตา พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ นางวสุธระ พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ พระศรีอริยเมตไตรย พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระอากาศครรภโพธิสัตว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายนามพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง

รายนามสตรีซึ่งได้รับการการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในแต่ละประเทศ โดยรายนามนี้ไม่รวมรายนามประมุขแห่งรัฐที่เป็นสตรีและไม่นับรวมหัวหน้าของระบบประธานาธิบดีที่อำนาจอยู่กับฝ่ายบริหาร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล

* ดูบทความหลักที่ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายนามผู้ได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีเนปาล

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรายนามประธานาธิบดีเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด เกียร์

ริชาร์ด ทิฟฟานี เกียร์ (Richard Tiffany Gere) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1949 มีผลงานเป็นที่รู้จักในช่วงทศวรรษที่ 1980 และ ต่อมาถึง 1990-2000 ผลงานดังเช่น Pretty Woman, Primal Fear, และ Chicagoซึ่งจากเรื่องนี้ทำให้ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากรางวัลลูกโลกทองคำ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและริชาร์ด เกียร์ · ดูเพิ่มเติม »

รูปีเนปาล

รูปีเนปาล (Nepali Rupee) (รหัสสากลตาม ISO 4217 NPR) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศเนปาล ธนบัตรที่ใช้แพร่หลายในปัจจุบันมี 10 แบบ คือ 1,000 รูปี 500 รูปี 100 รูปี (สีเขียว) 50 รูปี (สีน้ำเงิน) 25 รูปี 20 รูปี (สีส้ม) 10 รูปี (สีเขียวสลับเหลือง) 5 รูปี (สีชมพู) 2 รูปี และ 1 รูปี หมวดหมู่:สกุลเงินเอเชีย.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและรูปีเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง

ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง (LaFlora, the Princess Academy) เป็นหนังสือการ์ตูนที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ มี 9 ชุด คือ "ลา ฟลอร่า", "ลา ฟลอร่า ภาค ประเทศฉันสุดยอด", "ลา ฟลอร่า บอร์ดเกม","ลาฟลอร่า ฮันนี่แรลลี่","ลาฟลอร่า คลับเฟสต้า","ลาฟลอร่า แอนิเมชัน","นิยาย ลาฟลอร่า","คอมมิกชันนารี ลา ฟลอร่า โรซารี่ please" และ "ลาฟลอร่า ดรีมมี่ คาเฟ่" โดยในแต่ละเล่มจะมีเนื้อหาและตัวละครที่ต่างกัน จากความนิยมอย่างแพร่หลาย และความโดดเด่นของตัวละคร ส่งผลให้ทางผู้ผลิตได้จัดทำในรูปแบบของเกมกระดานในเวลาต่อมา ปัจจุบันได้มีการจัดแปลเป็นภาษาต่างประเทศ 4 ภาษา รวมถึงจัดทำเป็นแอนิเมชัน และวรรณกรรมเยาวชน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง · ดูเพิ่มเติม »

ลาซา

ลาซา เป็นเมืองหลวงของเขตปกครองตนเองทิเบตแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสองในที่ราบสูงทิเบต รองจากเมืองซีหนิง และอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลถึง 3,490 เมตร (11,450 ฟุต) ซึ่งนั่นเองทำให้ลาซากลายเป็นหนึ่งในเมืองที่อยู่สูงที่สุดของโลก ในเมืองประกอบไปด้วยหลายวัฒนธรรมที่สำคัญ โดยเฉพาะศาสนสถานของศาสนาพุทธ-ทิเบต เช่นพระราชวังโปตาลา หรือ วัดโจคัง หรือ พระราชวังโนร์บูกลิงกา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลาซา · ดูเพิ่มเติม »

ลาป่าทิเบต

ลาป่าทิเบต (kiang) เป็นลาป่าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีถิ่นกำเนิดในที่ราบสูงทิเบตซึ่งมีอาศัยแบบทุ่งหญ้าเทือกเขาสูง สูงจากระดับน้ำทะเล 4000-7000 ม. มีการกระจายพันธุ์ถึงลาดัคห์ในประเทศอินเดีย, ในราบของที่ราบสูงทิเบตและตอนเหนือของประเทศเนปาลต่อไปยังชายแดนเขตปกครองตนเองทิเบตด้วย ชื่อสามัญอื่นๆของลาป่าทิเบตก็มี: Tibetan wild ass, khyang, และ gorkhar.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลาป่าทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ลิงวอก

ลิงวอก (Rhesus macaque, Rhesus monkey) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) เป็นลิงที่มีร่างกายอ้วนสั้น บริเวณหลัง หัวไหล่ และตะโพกมีสีน้ำตาลปนเทา ส่วนบริเวณใต้ท้องและสีข้างมีสีอ่อนกว่า หางยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวลำตัว ขนหางค่อนข้างยาวและฟู มีการผลัดขนประมาณช่วงเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคมของทุกปี โดยจะเริ่มที่บริเวณปากก่อน หลังจากนั้นจึงจะเริ่มผลัดขนที่หลัง ตัวเมียอาจมีขนสีแดงในฤดูผสมพันธุ์ ขนที่หัวของลิงวอกจะชี้ตรงไปด้านหลัง ลิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีความยาวลำตัวและหัว 47 – 58.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 20.5 – 28 เซนติเมตร น้ำหนัก 3 – 6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ อัฟกานิสถาน, ภาคเหนือของอินเดีย, เนปาล, พม่า, ภาคใต้ของจีน, ลาว, เวียดนาม และภาคตะวันตกของไทย โดยในประเทศ ปัจจุบันเชื่อว่า เหลืออยู่เพียงฝูงสุดท้ายแล้วที่ วัดถ้ำผาหมากฮ่อ ในพื้นที่อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ตั้งแต่ 50 ตัวขึ้นไป สมาชิกส่วนใหญ่ในฝูงประกอบไปด้วยลิงตัวเมียและลูก ๆ ตัวเมียในฝูงจะมีบาทบาทสำคัญมากกว่าตัวผู้ แต่ลิงตัวผู้จะมีบทบาทในการปกป้องฝูง ลิงวอกเริ่มผสมพันธุ์ได้เมื่อมีอายุ 3 – 4 ปี ระยะตั้งท้องนาน 5 – 7 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ลิงตัวเมียจะอยู่กับฝูงไปจนตาย แต่ตัวผู้เมื่อโตขึ้น มักจะถูกขับไล่ให้ออกจากฝูง จากการศึกษาพบว่า ลิงวอกมีความสัมพันธ์กับชุมชนมนุษย์มาเป็นเวลานาน แต่การที่ลิงวอกมักเข้ามาอาศัยและใช้ประโยชน์ในพื้นที่เกษตรกรรม จึงทำให้ไม่กลัวคน ในบางครั้งจึงถูกจับฆ่าเพื่อนำมาทำเป็นอาหารและฆ่าเพื่อลดความรำคาญ ปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลิงวอก · ดูเพิ่มเติม »

ลิงอ้ายเงียะ

ลิงอ้ายเงียะ, ลิงอัสสัม หรือ ลิงภูเขา (Assam macaque) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งที่อยู่ในอันดับวานร (ไพรเมต) มีรูปร่างอ้วนเทอะทะ แขนและขาสั้น ขนตามลำตัวมีสีเหลืองปนเทา บางตัวอาจมีสีเข้มมากจนดูคล้ายสีน้ำตาลดำ ส่วนหัวไหล่ ศีรษะ และแขนจะมีสีอ่อนกว่าสีขนบริเวณอื่น ๆ ของร่างกาย ขนบริเวณหัวและหางมักมีสีเทา ขนที่ไหล่มีความยาวมากกว่า 8.5 เซนติเมตร ในบางฤดูกาลผิวหนังใต้ขนจะเปลี่ยนเป็นสีเทาอมฟ้า มีความยาวลำตัวและหางรวม 51-63.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 20-38 เซนติเมตร น้ำหนัก 5-10 กิโลกรัม มักอาศัยในป่าบนภูเขาสูงหรือตามที่ราบสูงซึ่งมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500-3,500 เมตร ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ซึ่งมีเรือนยอดไม้สูงจากพื้นดินประมาณ 10-15 เมตร จากการศึกษาพบว่ามักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิกประมาณ 40- 60 ตัว ในระหว่างการหากินจะมีสมาชิกบางตัวทำหน้าที่ระวังภัยให้ฝูง โดยจะนั่งสังเกตการณ์อยู่บนต้นไม้ซึ่งสูงที่สุด และหากมีอันตรายเข้ามาใกล้จะส่งเสียงร้องเตือนให้หลบหนี โดยจะร้องเสียงดัง "ปิ้ว" ลิงอ้ายเงียะจัดเป็นลิงนิสัยดุร้าย สามารถกระดิกหางได้เหมือนสุนัข เริ่มผสมพันธุ์ได้เมื่อมีอายุ 3-4 ปี ระยะตั้งท้องนาน 5-6 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน กินอาหารประกอบไปด้วย ผลไม้ ยอดไม้อ่อน แมลง และสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่า เป็นต้น มีการกระจายพันธุ์พบในเนปาล ภูฏาน สิกขิมและรัฐอัสสัมของอินเดีย ภาคใต้ของจีน ภาคเหนือของพม่า ภาคเหนือของเวียดนาม ภาคตะวันตกและภาคอีสานของไทย แบ่งเป็นชนิดย่อย 2 ชนิดได้แก่ ลิงอ้ายเงียะตะวันออก (M. a. assamensis) และลิงอ้ายเงียะตะวันตก (M. a. pelops) ซึ่งแบ่งตามสองฝั่งของแม่น้ำพรหมบุตร ลิงอ้ายเงียะในประเทศไทย ปัจจุบันนี้พบได้เพียง 9 แห่งเท่านั้น ได้แก่ วัดถ้ำปลา และวัดถ้ำผาแลนิภาราม.เชียงราย, บ้านป่าไม้.เชียงใหม่, เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพล.พิษณุโลก, อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองลาน.กำแพงเพชร, เขตรักษาพันธ์ป่าอุ้มผาง.ตาก, อุทยานแห่งชาติภูเขียว.ชัยภูมิ, เขื่อนเขาแหลม และ อุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณ.กาญจนบุรี ซึ่งถือว่าน้อยมาก ปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลิงอ้ายเงียะ · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่นจีน

ลิ่นจีน (อังกฤษ: Chinese pangolin; 中華穿山甲; ชื่อวิทยาศาสตร์: Manis pentadactyla) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำพวกลิ่น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลิ่นจีน · ดูเพิ่มเติม »

ลุมพินีวัน

ลุมพินีวัน (Lumbini Vana) เป็นพุทธสังเวชนียสถานที่สำคัญแห่งที่ 1 ใน 4 สังเวชนียสถานของชาวพุทธ เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ ผู้ซึ่งต่อมาตรัสรู้เป็นพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ที่อำเภอไภรวา แคว้นอูธ ประเทศเนปาล เป็นพุทธสังเวชนียสถาน 4 ตำบลเพียงแห่งเดียวที่อยู่นอกประเทศอินเดีย ลุมพินีวัน เดิมเป็นสวนป่าสาธารณะหรือวโนทยานที่ร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน ในสมัยพุทธกาลลุมพินีวันตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์กับเมืองเทวทหะ ในแคว้นสักกะ บนฝั่งแม่น้ำโรหิณี หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชได้โปรดให้สร้างเสาหินขนาดใหญ่มาปักไว้ตรงบริเวณที่ประสูติ เรียกว่า เสาอโศก ที่จารึกข้อความเป็นอักษรพราหมีว่าพระพุทธเจ้าประสูติที่ตรงนี้ ปัจจุบันลุมพินีวันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนประเทศอินเดียทางเหนือเมืองโคราฆปุระ ห่างจากเมืองติเลาราโกต (หรือ นครกบิลพัสดุ์) ทางทิศตะวันออก 11 กิโลเมตร และห่างจากสิทธารถนคร (หรือ นครเทวทหะ) ทางทิศตะวันตก 11 กิโลเมตร ซึ่งถูกต้องตามตำราพระพุทธศาสนาที่กล่าวว่าลุมพินีวันสถานที่ประสูติ ตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์และเมืองเทวทหะ ปัจจุบัน ลุมพินีวันมีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ทางการเรียกสถานที่นี้ว่า รุมมินเด มีสภาพเป็นชนบท มีผู้อาศัยอยู่ไม่มาก มีสิ่งปลูกสร้างเป็นพุทธสถานเพียงเล็กน้อย แต่มีวัดพุทธอยู่ในบริเวณนี้หลายวัด รวมทั้งวัดไทยลุมพินี ลุมพินีวันได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและลุมพินีวัน · ดูเพิ่มเติม »

วัดไทยลุมพินี

วัดไทยลุมพินี (Royal Thai Monastery Lumbini Nepal) เป็นวัดไทยแห่งแรกในประเทศเนปาล ที่ตั้งอยู่ภายในปริมณฑลสังเวชนียสถานเขตลุมพินีวัน บริเวณสถานที่ประสูติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทางเขตตะวันตกสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล ใกล้กับชายแดนประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวัดไทยลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วันเข้าพรรษา

ประกอบความดีในช่วงนี้อีกด้วย วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, Vassa, เขมร: វស្សា, พม่า: ဝါဆို) เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือภาษาปากว่า จำพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า "บวชเอาพรรษา" นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 รัฐบาลได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็น "วันงดดื่มสุราแห่งชาติ" โดยในปีถัดมา ยังได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็นวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้เพื่อรณรงค์ให้ชาวไทยตั้งสัจจะอธิษฐานงดการดื่มสุราในวันเข้าพรรษาและในช่วง 3 เดือนระหว่างฤดูเข้าพรรษา เพื่อส่งเสริมค่านิยมที่ดีให้แก่สังคมไท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวันเข้าพรรษา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วิทิตนันท์ โรจนพานิช

วิทิตนันท์ โรจนพานิช คนไทยคนแรกที่ปีนยอดเขาเอเวอร์เรสต์สำเร็จ มีอาชีพเป็นครีเอทีฟรายการโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ นายวิทิตนันท์สามารถปีนยอดเขาเอเวอร์เรสต์สำเร็จพร้อมกับนักปีนเขาชาวเวียดนาม 3 คนแรก เมื่อ ปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวิทิตนันท์ โรจนพานิช · ดูเพิ่มเติม »

วิเทหะ

วิเทหะ (विदेह) หรือ มิถิลา (मिथिला) เป็นราชอาณาจักรโบราณในประเทศอินเดียสมัยพระเวท ซึ่งรุ่งเรืองขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าชนก มีดินแดนซึ่งปัจจุบันได้แก่ภาคมิถิลากินอาณาบริเวณทางเหนือและตะวันออกของรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย กับตะวันออกของที่ราบตะราอี ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและวิเทหะ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านหัวสืบ

ว่านหัวสืบ D. Don เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Colchicaceae มีเหง้าใต้ดิน รากสด ลำต้นแตกกิ่ง ใบเรียงเวียน ปลายใบแหลมยาว ช่อดอกแบบช่อซี่ร่มออกตามกิ่งด้านข้างตรงข้ามใบ ก้านช่อสั้น ก้านดอกมีริ้วและปุ่มกระจาย ดอกรูปคล้ายระฆัง สีชมพูอมแดงหรือม่วง กลีบรวม 6 กลีบ แยกกัน โคนมีเดือยทรงกระบอก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบรวมก้านชูอับเรณูแบน ก้านแกสรเพศเมียเรียวยาวแยกเป็น 3 แฉก บานออก ผลสด ทรงกลม สุกสีดำ ส่วนมากมี 2 เมล็ด พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ไทย ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา หัวใต้ดินนำไปตากแห้ง แช่น้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและว่านหัวสืบ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีมาน คัมภีระ เนปาลี

รีมาน คัมภีระ เนปาลี (श्रीमान् गम्भीर नेपाली) หรือถูกอ้างถึงในชื่อสามัญว่า "ราษฺฏฺริย คาน" (राष्ट्रिय गान, แปลว่า "เพลงชาติ") เป็นชื่อของเพลงชาติเนปาลในสมัยราชอาณาจักรจนถึงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และถูกแทนที่ด้วยเพลง "สเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี" ซึ่งได้รับการรับรองจากสภาผู้แทนราษฎรของเนปาลเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เพลง "ศรีมาน คัมภีระ เนปาลี" นี้ ได้เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2505 เพื่อเป็นเพลงเกียรติยศสำหรับผู้ปกครองประเทศและเป็นเพลงชาติ ทำนองประพันธ์โดย Bakhat Bahadur Budhapirthi เมื่อ พ.ศ. 2442 บทร้องประพันธ์โดย Chakra Pani Chalise เมื่อ พ.ศ. 2467.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและศรีมาน คัมภีระ เนปาลี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธแบบทิเบต

ระพุทธศาสนาแบบทิเบตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 587-8 (Tibetan Buddhism) คือพุทธศาสนาแบบหนึ่งซึ่งถือปฏิบัติในทิเบต และปัจจุบันได้แพร่หลายไปในหลายประเทศ ดินแดนทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนามาก พุทธศาสนาแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะคือเป็นการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ได้รับอิทธิพลจากพุทธศานานิกายตันตระของอินเดีย จนเกิดเป็นนิกายวัชรยานขึ้น ประชาชนใฝ่ธรรมะ เมื่อมีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแม้จะไกลสักเพียงใด ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่วนครลาซา เหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่งในปัจจุบัน จนแทบไม่เหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและศาสนาพุทธแบบทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธแบบเนวาร

ูปในวัดสวยัมภูนาถ ศาสนสถานที่มีชื่อของพุทธศาสนิกชนเนวาร วัชราจารยะ ขณะประกอบพิธีทางศาสนา ศาสนาพุทธแบบเนวาร (Newar Buddhism) คือพุทธศาสนานิกายวัชรยานรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในหมู่ชาวเนวาร ชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณหุบเขากาฐมาณฑุในประเทศเนปาล ซึ่งพัฒนากลมกลืนเป็นส่วนหนึ่งในวิถีของชาวเนวาร มีเอกลักษณ์พิเศษคือไม่มีสังคมสงฆ์ มีการจัดชั้นวรรณะและมีลำดับการสืบสายบิดาตามแบบชาวเนวาร แม้ศาสนาพุทธแบบเนวารจะไม่มีพระสงฆ์แต่จะมีปุโรหิตที่เรียกว่าคุรุชุเป็นสื่อกลางในการประกอบพิธีกรรม บุคคลที่มาจากตระกูลวัชราจารยะหรือพัชราจารยะ (Vajracharya, Bajracharya) จะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาแก่ผู้อื่น และตระกูลศากยะ (Shakya) จะประกอบพิธีกรรมที่ส่วนใหญ่มักทำภายในครอบครัว โดยศาสนาจะได้รับการอุปถัมภ์จากคนวรรณะอุราย (Uray) และคนในวรรณะดังกล่าวยังอุปถัมภ์ศาสนาพุทธแบบทิเบต นิกายเถรวาท หรือแม้แต่นักบวชญี่ปุ่นด้วย ศาสนาพุทธแบบเนวารเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในช่วงศตวรรษที่ 15 อันเป็นช่วงเวลาที่ศาสนาพุทธในกัศมีร์และอินโดนีเซียเสื่อมโทรม แม้ปัจจุบันศาสนาพุทธแบบเนวารจัดเป็นศาสนาดั้งเดิมที่ถือปฏิบัติในหุบเขากาฐมาณฑุ มีศาสนิกชนเนวารคิดเป็นร้อยละ 15.31 จากจำนวนชาวเนวารทั้งหมด แต่ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทได้กลับมามีบทบาทในเนปาลอีกครั้งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและศาสนาพุทธแบบเนวาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน

การปกครองของคณะสงฆ์ภูฏาน แบ่งออกเป็น 5 ชั้นปกครอง คือ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)

กุลกุหลาบ (Aerides ตัวย่อทางการค้า Aer.) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นโดย Jado de Loureiro นักพฤกษศาสตร์ชาวโปรตุเกส เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสกุลกุหลาบ (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สภามุสลิมพม่า

มุสลิมพม่า (Burma Muslim Congress) ก่อตั้งในเวลาเดียวกับสันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ของอองซานและอูนุก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ในวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสภามุสลิมพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล (Nepalese Constituent Assembly) เป็นองค์กรทางการเมืองของประเทศเนปาล ประกอบด้วยสมาชิกจำนวนหกร้อยเอ็ดคนซึ่งมาจากการเลือกตั้งในวันที่ 10 เมษายน 2551 ทั้งนี้ในจำนวนหกร้อยเอ็ดคนดังกล่าว เป็นสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งทางตรงสองร้อยสี่สิบคน สมาชิกที่เป็นตัวแทนจากพรรคการเมืองตามระบบสัดส่วนสามร้อยสามสิบห้าคน และสมาชิกที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้นยี่สิบหกคน สมาชิกจากลัทธิเหมาเจ๋อตุงในเนปาลได้รับเลือกตั้งทางตรงกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนข้างต้น และอีกร้อยละสามสิบได้รับเลือกสรรจากระบบสัดส่วนของพรรคการเมือง สภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลมีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลฉบับใหม่ และทำหน้าที่คณะรัฐมนตรีไปพลางก่อนจนกว่าจะคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ที่มาจากการเลือกตั้งจะเข้ารับตำแหน่งซึ่งมีกำหนดว่าต้องไม่เกินกว่าสองปี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย

อลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชียในปัจจุบัน สืบต่อจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อวันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) โดยมี เชค อะห์หมัด อัล-ฟาฮัด อัล-อะห์เหม็ด อัล-ซาบะห์ (Sheikh Ahmad Al-Fahad Al-Ahmed Al-Sabah) เป็นประธาน และสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงคูเวตซิตีของรัฐคูเวต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมมวยแห่งทวีปเอเชีย

มาคมมวยแห่งทวีปเอเชีย หรือที่นิยมเรียกกันว่า พาบา (Pan Asian Boxing Association; ตัวย่อ: PABA) เป็นสถาบันมวยในเครือข่ายของสมาคมมวยโลก (WBA) ถือกำเนิดขึ้นจากการประชุมที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เมื่อ 27 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมาคมมวยแห่งทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล

มเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ (ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव; Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์ (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาลในราชวงศ์ศาห์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ ประสูติแต่เจ้าหญิงอินทระ มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีรัตนาแห่งเนปาล

มเด็จพระราชินีรัตนาราชยลักษมีเทวีศาหะ (ประสูติ: 19 สิงหาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระบรมราชินีในสมเด็จพระเจ้ามเหนทระแห่งเนปาล โดยพระองค์เป็นทั้งพระมาตุจฉาและพระวิมาดาในสมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระ และสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมเด็จพระราชินีรัตนาแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาล

มเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหแห่งเนปาล (कोमल राज्य लक्ष्मी देवी - Komala Rājya Lakṣmī Devī, ประสูติ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951 ณ เมืองพาคมตี ประเทศเนปาล —) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาล ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม จวน ศิริสม ฉายา อุฎฺฐายี สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2508 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 7 ปี สิ้นพระชนม์จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี) · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสวนลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสหพันธรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์เอเชียนเกมส์

หพันธ์กีฬาเอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; ชื่อย่อ: AGF) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชีย ระหว่างวันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ถึงวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งแทนที่ด้วยสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย โดยทั้งก่อตั้งขึ้นและปิดตัวลงในกรุงนิวเดลีของอินเดียเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสหพันธ์เอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 8

นพระราม 8 (Rama VIII Bridge) เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน (สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขตบางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสะพานพระราม 8 · ดูเพิ่มเติม »

สังเวชนียสถาน

ังเวชนียสถาน (อ่านว่า สัง-เว-ชะ-นี-ยะ-สะ-ถาน) แปลว่า สถานที่อันเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช เป็นคำที่ใช้เรียกสถานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะ สังเวชนียสถาน หมายถึงสถานที่ที่ทำให้เกิดความรู้สึกระลึกถึงพระพุทธเจ้า เกิดความแช่มชื่น เบิกบาน เกิดแรงบันดาลใจที่จะทำความดี เมื่อได้ไปพบเห็น สังเวชนียสถาน มี 4 แห่ง คือ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสังเวชนียสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สาบนรสิงห์

นรสิงห์ เป็นนวนิยายประพันธ์โดย จินตนา ปิ่นเฉลียว ในนามปากกา จินตวีร์ วิวัธน..จินตนิยายแห่งเทพ ที่เป็นหนึ่งในตำนาน ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางช่อง 5 (ปี 2539)กำกับโดย จารึก สงวนพงษ์ บทโทรทัศน์โดย อัครกิตต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสาบนรสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

สาราลา ตามาง

ราลา ตามาง หรือ สาราลา โครขาลี อดีตพระสนมในสมเด็จพระราชาธิบดีตริภุวนวีรพิกรมศาหเทวะ พระมหากษัตริย์แห่งเนปาล ซึ่งครองราชย์ในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสาราลา ตามาง · ดูเพิ่มเติม »

สาละ

ละ เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสาละ · ดูเพิ่มเติม »

สิบการทัพใหญ่

222px 222px 222px สิบการทัพใหญ่ (Ten Great Campaigns) เป็นชุดสงครามในรัชสมัยจักรพรรดิเฉียนหลง ซึ่งมีประกาศในหนังสือประจำปีทางการของราชวงศ์ชิง สิบการทัพใหญ่ได้แก่ สามการทัพเพื่อขยายอาณาเขตการควบคุมของจีนในเอเชียกลาง แบ่งเป็นสองครั้งต่อดซุงการ์ (1755–1757) และการปราบปรามซินเจียง (1758–1759) อีกเจ็ดการทัพที่เหลือนั้น มีลักษณะเป็นการรักษาความสงบเรียบร้อย (police action) ตรงแนวพรมแดนที่สถาปนาไว้ก่อนแล้ว แบ่งเป็น สองครั้งเพื่อปราบปรามกบฏจินฉวนในเสฉวน หนึ่งครั้งต่อกบฏในไต้หวัน (1787–1788) และการรบนอกประเทศอีกสี่ครั้ง ต่อพม่า (1765–1769) เวียดนาม (1788–1789) และชาวกุรข่าที่ชอบทำสงครามในเนปาลตรงชายแดนระหว่างทิเบตกับอินเดีย (1790–1792) ซึ่งนับเป็นสองการทั.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสิบการทัพใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ริยุปราคาเต็มดวง 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลุมพินี

นีลุมพินี (รหัส LUM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกวิทยุ เยื้องกับสวนลุมพินี ในอนาคต จะเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทา และรถไฟฟ้าสายสีฟ้า ที่สถานีลุมพินี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสถานีลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร

มสรฟุตบอลโปลิศ เทโร (Police Tero F.C.) สโมสร ฟุตบอล ใน ประเทศไทย โดยปัจจุบันลงทำการแข่งขันอยู่ใน ไทยลีก เกิดจากการรวมกันของ บีอีซี-เทโรศาสน และ เพื่อนตำรวจ ใน ฤดูกาล 2560 โดยเปลี่ยนเป็น โปลิศ เทโร ตั้งแต่ ฤดูกาล 2561 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร · ดูเพิ่มเติม »

สเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี

ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลมีชื่อว่า สเยาง์ ถุงฺคา ผูลกา หามี (เนปาล: सयौं थुँगा फूलका हामी, แปลว่า "เราคือบุปผานับร้อย") เป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องโดยประทีป กุมาร ราอิ (Pradeep Kumar Rai) กวีชาวเนปาล ซึ่งรู้จักกันทั่วไปในชื่อ พยากุล มาอิลา (Byakul Maila) ทำนองโดยอัมพาร์ คุรุง (Ambar Gurung) เพลงนี้ได้เริ่มใช้เป็นเพลงชาติเนปาลอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ในรัฐพิธีซึ่งจัดขึ้น ณ หอประชุมคณะกรรมการการวางแผนชาติ ภายในพระราชวังสิงหดรูบาร์ (Singha Durbar) อันเป็นที่ตั้งของรัฐสภาเนปาล โดยนายสุภาศ เนมวัง (Subhash Nemwang) ประธานรัฐสภาเนปาล เป็นผู้เปิดแผ่นซีดีบรรเลงเพลงชาติในพิธีดังกล่าวทั้งนี้ การเริ่มใช้เพลงชาติเนปาลใหม่อย่างเป็นทางการข้างต้น ได้มีขึ้นก่อนการผ่านกฎหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญมาสู่ระบอบสาธารณรัฐอย่างเป็นทางการประมาณ 4 เดือน อนึ่ง คำว่าเพลงชาติในภาษาเนปาลใช้คำว่า "ราษฺฏฺริย คาน" (อักษรเทวนาครี: राष्ट्रिय गान) แต่ในเอกสารภาษาต่างประเทศมักใช้อ้างอิงถึงเพลง "ศรีมาน คัมภีระ เนปาลี" (อักษรเทวนาครี: श्रीमान् गम्भीर नेपाली) ซึ่งเป็นเพลงชาติเนปาล ในสมัยราชาธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและสเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ากุศะ

หญ้ากุศะ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Desmostachya bipinnata) เป็นหญ้าในวงศ์ Gramineae (Poaceae) มีถิ่นกำเนิดที่ประเทศอินเดียและเนปาล ชอบขึ้นในที่แห้งแล้งริมฝั่งแม่น้ำ โดยจะขึ้นเป็นกอเหง้าใหญ่ ใบอวบรูปยาวเหมือนหอก ขอบใบคม ดอกเป็นช่อรูปพีระมิด หรือเป็นแท่งตั้งตรง แข็ง สีน้ำตาลอ่อน ออกดอกตลอดฤดูฝน ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด และแยกกอ หญ้ากุศะเป็นหญ้าชนิดหนึ่งซึ่งถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก เนื่องจากเป็นหญ้าที่ปรากฏในพุทธประวัติว่า ในวันก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้ เจ้าชายสิทธัตถะได้รับถวายหญ้าชนิดนี้จำนวน 8 กำมือจากพราหมณ์โสตถิยะ และเจ้าชายสิทธัตถะได้นำหญ้ากุศะไปปูรองนั่งเป็นพุทธบัลลังก์ในวันที่พระองค์ตรัสรู้ ทำให้ชาวพุทธถือว่าหญ้านี้มีความสำคัญมาก และจัดให้หญ้านี้เป็นต้นไม้สำคัญชนิดหนึ่งในพุทธประวัติ ชาวฮินดูนับถือว่าหญ้านี้มีความศักดิ์สิทธิ์เช่นกัน โดยนำหญ้านี้มาประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ในวันแรม 15 ค่ำ​เดือน 9 หรือที่เรียกว่า กุโศตปาฎนีอมาวสยา เพื่อเป็นการบูชาพระกฤษณะ เทพเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู หญ้ากุศะยังมีสรรพคุณทางยาสมุนไพร คือ ใช้ทั้งต้นเป็นยาฝาดสมาน​ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ รากมีรสหวาน เป็นยาเย็น แก้อาการกระหายน้ำได้อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหญ้ากุศะ · ดูเพิ่มเติม »

หมาหริ่งพม่า

หมาหริ่งพม่า (อังกฤษ: Ferret badger, Burmese ferret-badger, Large-toothed ferret-badger) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างหน้าตาคล้ายเพียงพอนผสมกับหมูหริ่ง คือ มีลำตัวยาวและมีขาสั้นเหมือนพวกเพียงพอน แต่หน้าแหลมยาวเหมือนหมูหริ่ง สีขนตามลำตัวมีสีเทาเข้มหรือน้ำตาล ขนหัวมีสีดำและมีแถบสีขาวพาดยาวมาถึงบริเวณใบหน้าและลำคอ มีเล็บแหลมคม และยาวใช้สำหรับการขุดดินสร้างรัง และใช้ในการจับเหยื่อ มีอุ้งเท้าที่เหมาะสมต่อการปีนต้นไม้ หางยาวเกือบครึ่งหนึ่งของลำตัว และบริเวณปลายหางมีสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 33-39 เซนติเมตร ความยาวหาง 14-20 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม การกระจายพันธุ์พบตั้งแต่ตะวันออกของเนปาล, อินเดีย, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม มีพฤติกรรมสามารถอาศัยอยู่ได้ในหลายสภาพแวดล้อม ทั้งนาข้าว, ทุ่งหญ้า ไปจนถึงป่าสมบูรณ์ กินอาหารได้หลายประเภท แต่ส่วนใหญ่มักจะเป็นสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หอย, กุ้ง, ปู, แมลง, ไส้เดือน, สัตว์เลื้อยคลาน หรือไข่นกที่ทำรังตามพื้นดิน เป็นต้น ออกหากินตามลำพังในเวลากลางคืน นอนหลับในโพรงไม้หรือโพรงดินในเวลากลางวัน ผสมพันธุ์ในเดือนมิถุนายน ออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว ปัจจุบัน เป็นสัตว์หายากมาก ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 จัดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมาหริ่งพม่า · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกอินเดีย

ำหรับหมาจิ้งจอกขนาดเล็กกว่าที่พบได้ในอินเดีย ดูที่: หมาจิ้งจอกเบงกอล หมาจิ้งจอกอินเดีย หรือ หมาจิ้งจอกหิมาลัย (Indian jackal, Himalayan jackal) เป็นชนิดย่อยของหมาจิ้งจอกทอง (C. aureus) หรือหมาจิ้งจอก หัวกะโหลกของหมาจิ้งจอกอินเดีย สีขนมี 2 สี คือ สีดำและสีขาวและสีน้ำตาลอมเหลืองบนหัวไหล่, หูและขา ในตัวที่อาศัยอยู่ในที่สูงจะมีสีลำตัวที่เข้มมากขึ้น มีขนสีดำตั้งแต่ช่วงกลางของด้านหลังและหาง หน้าท้องหน้าอกและด้านข้างของขาเป็นสีขาวครีมในขณะที่ส่วนใบหน้าและด้านล่างลำตัวจะมีลักษณะคล้ายผมหงอกด้วยขนสีเทา หมาจิ้งจอกอินเดียมีขนาดโตเต็มที่มีความยาว 100 เซนติเมตร (39 นิ้ว) มีความสูงจากหัวไหล่ถึงเท้า 35–45 เซนติเมตร (14–18 นิ้ว) และมีน้ำหนักประมาณ 8–11 กิโลกรัม (18–24 ปอนด์) พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ปากีสถาน, อินเดีย, ภูฏาน, พม่า และเนปาลLAPINI L., 2003 - Canis aureus (Linnaeus, 1758).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมาจิ้งจอกอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกทอง

หมาจิ้งจอกทอง หรือ หมาจิ้งจอกเอเชีย (pmc Reed wolf) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis aureus ในวงศ์สุนัข (Canidae) และถึงแม้ว่าจะได้ชื่อสามัญว่าในภาษาไทยว่า "หมาจิ้งจอก" แต่ก็มิได้เป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ เพราะมิได้อยู่ในสกุล Vulpini แต่จัดเป็นหมาป่าที่มีขนาดเล็ก (แจ็กคัล) กว่าหมาใน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมาจิ้งจอกทอง · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกแดง

หมาจิ้งจอกแดง (Red fox) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ ซึ่งอยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมาจิ้งจอกแดง · ดูเพิ่มเติม »

หมาใน

หมาใน, หมาป่าเอเชีย หรือ หมาแดง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cuon alpinus ในวงศ์สุนัข (Canidae) เป็นหมาป่าที่มีขนาดใหญ่กว่าหมาจิ้งจอก จมูกสั้น ใบหูกลมมีขนาดใหญ่ ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นมีสีน้ำตาลแดง สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่าบริเวณหลัง หางยาวเป็นพวง ปลายหางมีสีเทาเข้มหรือดำ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยูในสกุล Cuon มีความยาวลำตัวและหัว 80–90 เซนติเมตร ความยาวหาง 30.5–34.5 เซนติเมตร น้ำหนักในเพศผู้ 10–21 กิโลกรัม เพศเมีย 10–13 กิโลกรัม หมาในมีฟันที่แข็งแรงแต่มีฟันกรามล่างเพียงข้างละ 2 ซี่เท่านั้น ซึ่งต่างจากสัตว์ในวงศ์สุนัขชนิดอื่น ๆ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง ทำให้มีชนิดย่อย ถึง 11 ชนิด พบตั้งแต่ภาคใต้ของไซบีเรีย เรื่อยมาจนถึงคาบสมุทรเกาหลี, เนปาล, อินเดีย, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม และเกาะชวาในอินโดนีเซีย มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ โดยฝูงหนึ่ง ๆ มีสมาชิกตั้งแต่ 6–12 ตัว โดยสมาชิกแต่ละตัวจะมีหน้าที่ช่วยกันล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ เช่น กระทิง ควายป่า หรือ กวางป่า มีความเชื่อว่า ก่อนล่าเหยื่อจะปัสสาวะรดพื้นหรือใบไม้เมื่อเหยื่อดมถูกจะเกิดความหวาดกลัวจนยืนแข็งทำอะไรไม่ถูก จึงเชื่อว่า สามารถทำให้เหยื่อตาบอดได้ด้วยวิธีนี้ ฝูงหมาในมีความใกล้ชิดกันทางสายเลือด ภายในกลุ่มมีสมาชิกตั้งแต่ 2–3 ครอบครัว ออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน แต่ในบางครั้งอาจล่าในเวลากลางคืนหรือพลบค่ำหรือเช้าตรู่ได้ อาหารโดยปกติ ได้แก่ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่ เช่น กวางป่า, เก้ง และกระต่ายป่า แต่ในบางสถานการณ์ที่อาหารขาดแคลน อาจกินลูกตัวเองเป็นอาหารได้ หมาในระบบประสาทหู ตา และการดมกลิ่นที่ดีเยี่ยม สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 9 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 8–10 ตัว ตามโพรงดินหรือในถ้ำที่ปลอดภัย แม่หมาในมีเต้านม 8 คู่ ลูกที่เกิดใหม่จะมีสีขนสีน้ำตาลเทา มีอายุในที่เลี้ยงประมาณ 16 ปี ในธรรมชาติราว 10 ปี ฝูงหมาในล่ากวางป่า ที่อุทยานแห่งชาติบันดิเปอร์ ประเทศเนปาล สถานภาพในประเทศไทย เป็นหมาป่า 1 ใน 2 ชนิดที่สามารถพบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งชนิด คือ หมาจิ้งจอก) จากเดิมที่เคยพบในป่าทั่วประเทศ ปัจจุบันเชื่อว่าเหลือเพียงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เท่านั้น และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมาใน · ดูเพิ่มเติม »

หมูหริ่ง

หมูหริ่ง, หมูหรึ่ง หรือ หมูดิน (hog badger, Indian badger) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctonyx collaris อยู่ในวงศ์ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเพียงพอนหรือวีเซล โดยที่หมูหริ่งอยู่ในสกุล Arctonyx นับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมูหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หมีสีน้ำตาล

หมีสีน้ำตาล (Brown bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่มาก โดยตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย เมื่อยืน 4 เท้ามีความสูงถึง 5 ฟุต และเมื่อยืนด้วย 2 เท้า อาจสูงถึง 9 ฟุต แต่ยืนได้ในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักมากถึง 1,000 ปอนด์ ส่วนตัวเมียอาจมีน้ำหนักมากกว่า 450 ปอนด์ มีขนสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ปุ่มหรือเนินตรงหัวไหล่ มีขนและเล็บยาว มีจมูกที่ใหญ่ แต่มีใบหูขนาดเล็ก แต่จะมีขนสีเข้มหรืออ่อนไปตามสภาพแวดล้อมและภูมิประเทศที่อาศัย รวมถึงขนาดตัวด้วย ซึ่งถือเป็นชนิดย่อย (ดูในตาราง) โดยกระจายพันธุ์ไปในพื้นที่ ๆ กว้างไกลมาก ตั้งแต่อะแลสกา, แคนาดา, รัสเซีย, หลายพื้นที่ในยุโรป และตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย, เนปาล และจีน และตะวันออกกลาง หมีสีน้ำตาลกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้งพืชและสัตว์ โดยหากเป็นพืชมักจะเป็นผลไม้ประเภทเบอร์รี่ บางครั้งกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง หรือ หนู แต่บางครั้งก็กินสัตว์ใหญ่ เช่น ม้า, วัวป่า, กวาง รวมถึงซากสัตว์ ในช่วงฤดูกาลที่มีอาหารสมบูรณ์ อาหารที่หมีสีน้ำตาลชอบมาก คือ ปลาแซลมอน และปลาเทราท์ หมีสีน้ำตาลตัวเมียต้องมีอายุ 4 ถึง 10 ปี จึงจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และให้กำเนิดลูกโดยเฉลี่ย 2 ตัว ในระยะเวลา 4 ปี ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิถึงต้นฤดูร้อน แม่หมีจะให้กำเนิดลูกในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ปกติ 2-3 ตัว โดยลูกหมีที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และยังไม่มีขน ลูกหมีจะอาศัยอยู่ในถ้ำที่แม่หมีขุดขึ้นมาจนกระทั่งถึงเดือนเมษายน หรืออาจถึงเดือนมิถุนายน และเริ่มหย่านมเมื่ออายุประมาณ 5 เดือน และเริ่มเรียนรู้ว่า พืชหรือสัตว์ประเภทไหนที่ใช้เป็นอาหาร ลูกหมีจะอยู่กับแม่อย่างน้อยอีก 1 ปี หรือมากกว่านั้น จากนั้นจึงเริ่มแยกตัวออกไป ส่วนในฤดูหนาว หมีสีน้ำตาลจะจำศีลในถ้ำเป็นระยะเวลาราว 2 เดือน โดยใช้พลังงานจากไขมันที่สะสมไว้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

หมีควาย

หมีควาย หรือ หมีดำเอเชีย (Asian black bear, Asiatic black bear) จัดเป็นหมี 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งคือ หมีหมา (U. malayanus)).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมีควาย · ดูเพิ่มเติม »

หมีเหม็น

หมีเหม็น, หมี่ หรือ หมูทะลวง (จันทบุรี) (ภาษาชอง: กำปรนบาย; ภาษามลายูปัตตานี: มือเบาะ) เป็นพืชในวงศ์ Lauraceae พบในป่าดงดิบตั้งแต่ อินเดีย เนปาล ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกสีขาวอมเหลือง ออกตามง่ามใบ ผลอ่อนสีเขียวผลแก่สีแดง-ดำ รับประทานได้ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ทางยาสมุนไพรใช้ได้หลายส่วน เช่น ใช้รากแก้ปวดกล้ามเนื้อ เปลือกแก้ปวดมดลูก เมล็ดตำพอกฝี เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหมีเหม็น · ดูเพิ่มเติม »

หม่อนอ่อน

หม่อนอ่อน เป็นพืชพื้นเมืองในแถบหุบเขาของเนปาล และพื้นที่สูงของอินเดียโดยเฉพาะรัฐปัญจาบ พบในเอเชียใต้ คาบสมุทรอินโดจีน คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เป็นไม้พุ่ม ลำต้นสั้นและคดงอ เปลือกต้นสีน้ำตาล มีรอยแตกตามยาว เปลือกชั้นในสีแดงอมส้ม ใบอ่อนมีชนสีออกชมพู ใบแก่เหนียว สีเขียวเป็นมัน มีจุดน้ำยางเหนียวกระจายทั่วผิว ดอกขนาดเล็กมาก เป็นช่อแน่น ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ดอกตัวผู้สีแดง ดอกตัวเมียสีเขียว ผลสีแดงอมส้ม ผิวมีตุ่มเล็กๆ ขรุขระ ในจีนใช้เปลือกไม้เป็นแหล่งของแทนนินในการฟอกหนัง ผลรสหวานอมเปรี้ยวรับประทานได้หรือใช้ทำน้ำผลไม้ น้ำต้มเปลือกแก้ท้องเสีย หลอดลมอักเสบและลำไส้อักเสบเปลือกใช้เป็นยาสมาน ป้องกันแผลเน่า รักษาโรคบิด รูมาติก ท้องร่วง ทำยาเบื่อปลา ไม้ใช้ทำฟืน ไขที่หุ้มผลแยกออกได้โดยการต้ม ใช้ทำเทียนและสบู่ ในเปลือกมีสารสีเหลืองจำพวก myrisetin, myricitrin และ glycoside ใช้ทำสีย้อมผ้าโดยย้อมผ้าฝ้ายได้สีเหลืองอมน้ำตาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหม่อนอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

หน่อไม้

หน่อไม้ เป็นคำที่ใช้เรียกหน่ออ่อนของไผ่ที่รับประทานได้ที่แตกจากเหง้าใต้ดิน โดยมาจากสปีชีส์ Bambusa vulgaris และ Phyllostachys edulis นิยมรับประทานในทวีปเอเชียหลายประเทศ และมีวิธีการปรุงที่หลากหล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและหน่อไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ห่วยหงู่ฉิก

ห่วยหงู่ฉิก (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) หรือ หวยหนิวซี (ภาษาจีนกลาง) Blume เป็นพืชที่พบในอินเดีย เนปาล จีน และญี่ปุ่น รากด้านนอกเป็นสีเหลืองคล้ายดิน ด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน ตำรายาจีนใช้รากทำยาบำรุงตับและไต ลดบวม แก้ปวด ในเนปาลใช้น้ำคั้นจากรากแห้ปวดฟัน เมล็ดใช้เป็นอาหารในยามอดอยาก สำหรับสตรีวัยที่ยังมีประจำเดือน งู่ฉิกเป็นยาบำรุงสตรีช่วยขับเลือดลม ช่วยแก้อาการ ประจำเดือนมาไม่ปกติ ขาดๆหายๆ ขับประจำเดือน ทำให้ลดการมีเลือดคั่งในมดลูก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและห่วยหงู่ฉิก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรัญชนา

อักษรรัญชนา หรือกูติลา หรือลันต์ซา เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี เมื่อราว พ.ศ. 1600 และใช้มาจนถึงราว พ.ศ. 2500 ในอินเดียและเนปาล ชาวทิเบตเรียกอักษรนี้ว่าลันต์ซา ใช้เขียนภาษาสันสกฤตก่อนจะแปลเป็นภาษาทิเบต ชาวทิเบตเลิกใช้อักษรนี้เมื่อถูกจีนยึดครอง นอกจากนี้ มีการใช้อักษรนี้ในหมู่ชาวพุทธในจีน มองโกเลีย และญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอักษรรัญชนา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรลิมบู

อักษรลิมบู หรือ กิรัต หรือ ศรีชนคะ อาจเป็นต้นแบบของอักษรเลปชาโดยผ่านทางอักษรทิเบตอีกต่อหนึ่ง กษัตริย์ศรีชนคะประดิษฐ์อักษรกิรัต-ศรีชนคะ เมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอักษรลิมบู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสันถาลี

อักษรสันถาลี (Santali) หรือ โอล สีเมต โอล สิกิ ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2463 โดย พันดิก ราคุนาท มูร์มู ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมวัฒนธรรมสันถาลี เพื่อให้ภาษาสันถาลีมีอักษรเป็นของตนเองเช่นเดียวกับภาษาสำคัญอื่น ๆ ในอินเดีย ก่อนหน้านี้ภาษาสันถาลีเขียนด้วยอักษรเบงกาลี อักษรโอริยา อักษรเทวนาครี หรืออักษรละติน อักษรนี้ได้รับการออกแบบเพื่อใช้กับภาษาสันถาลีที่ใช้พูดทางภาคใต้ของรัฐโอร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอักษรสันถาลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทิเบต

ระอักษรทิเบต ในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอักษรทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเลปชา

319px อักษรเลปชา (Lepcha or Róng script) ประดิษฐ์โดยทิดูง เมน ซาลอง ในราว..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอักษรเลปชา · ดูเพิ่มเติม »

อาทิพุทธะ

ระวัชรธารพุทธะ พระอาทิพุทธะเป็นพระพุทธเจ้าที่พบในคติความเชื่อของพุทธศาสนามหายานบางกลุ่ม ไม่พบในฝ่ายเถรวาท โดยเชื่อว่าอาทิพุทธะเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์แรก กำเนิดขึ้นพร้อมกับโลก อยู่ในโลกชั่วนิรันดร์ เป็นพระผู้สร้างสรรพสิ่งในโลก และเป็นแหล่งกำเนิดของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ประทับบนพรหมโลกชั้นอกนิฏฐ์ มีสถานะเสมอปรมาตมันในศาสนาฮินดูราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 15-16.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอาทิพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานหลวงราชพฤกษ์

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นสวนพฤกษศาสตร์ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานที่ที่ใช้จัดงาน มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 และ มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอุทยานหลวงราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติสครมาถา

อุทยานแห่งชาติสครมาถา (Sagarmatha National Park) อุทยานแห่งนี้ตั้งอยู่ในประเทศเนปาลตรงบริเวณชายแดนติดต่อกับทิเบต มีชื่อเป็นภาษาเนปาลว่า สครมาถา ซึ่งแปลว่า "หน้าผากแห่งท้องฟ้า" (เอเวอเรสต์) อุทยานแห่งนี้มีพื้นที่ประมาณ 1240 ตารางกิโลเมตร ตั้งขึ้นมาเพื่อพิทักษ์พรรณไม้และพันธุ์สัตว์ในบริเวณแถบนี้ และนอกจากจะมีทั้งยอดเขาเอเวอเรสต์แล้วก็ยังมียอดเขาที่สูงเกินกว่า 7,000 เมตร อีกกว่า 7 ยอด และมีสัตว์ เช่น กระต่ายป่า หนูผี และนกอีกว่า 120 ชนิด สครมาถา สครมาถา หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอุทยานแห่งชาติสครมาถา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติจิตวัน

อุทยานแห่งชาติจิตวัน ตั้งอยู่เชิงเขาหิมาลัย เป็นบริเวณที่มีร่องรอยอารยธรรมของพื้นที่ที่ราบลุ่มต่ำเทไร (Terai) ที่ยังไม่ถูกรบกวน สมัยก่อนพื้นที่ทอดยาวไปตามเชิงเขาของอินเดียและเนปาล เป็นบริเวณที่เต็มไปด้วยพืชและสัตว์ประจำถิ่น ในอุทยานเป็นที่อยู่ของแรดนอเดียวพันธุ์เอเชีย และเป็นหนึ่งในที่อยู่อาศัยแห่งสุดท้ายของเสือเบงกอล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอุทยานแห่งชาติจิตวัน · ดูเพิ่มเติม »

อีแก

อีแก (House crow, Colombo crow) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกกา (Corvidae).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอีแก · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอีเห็นข้างลาย · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นเครือ

อีเห็นเครือ (Masked palm civet) สัตว์จำพวกชะมดและอีเห็นชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Paguma larvata จัดเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ในสัตว์จำพวกนี้ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีจุดหรือลวดลายใด ๆ บริเวณท้องมีสีอ่อนกว่าส่วนหลัง หลังหูและหลังคอมีสีเข้ม ม่านตามีสีน้ำตาลแดง มีหนวดเป็นเส้นยาวบริเวณจมูกและแก้ม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ตัวเมียมีเต้านม 2 คู่ ขนาดลำตัวและหัวยาว 50.8-76.2 เซนติเมตร ความยาวหาง 50.8-63.6 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ภาคเหนือของอินเดีย, ปากีสถาน, ตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ไต้หวัน, ตะวันออกของจีน, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว, ตะวันตกของพม่า, สิกขิม, ภูฐาน, เนปาล มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ป่าเบญจพรรณ, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ติดกับพื้นที่ทำการเกษตรกรรม สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และจะใช้เวลาส่วนใหญ่บนต้นไม้ โดยจะกินทั้งพืชและสัตว์ แต่ในบางครั้งอาจมาหากินบนพื้นดินด้วย จากการศึกษาในเนปาลพบว่า มีการผสมพันธุ์กันในฤดูร้อน โดยในช่วงปลายฤดูฝนอีเห็นเครือตัวเมียจะสร้างรังในโพรงไม้ เพื่อใช้เลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว อีเห็นเครือถูกสันนิษฐานว่าเป็นสัตว์ที่เป็นต้นตอแพร่เชื้อของโรคซาร์สที่ระบาดในฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ ในช่วงปี พ.ศ. 2546 เพราะชาวจีนนิยมกินเนื้ออีเห็นเครือและสัตว์ในตระกูลนี้มาก ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอีเห็นเครือ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้

องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organisation, ย่อ: SCO) เป็นองค์การการเมือง เศรษฐกิจและการทหารในทวีปยูเรเชีย ก่อตั้งในปี 2544 ในเซี่ยงไฮ้ โดยผู้นำจีน คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน รัสเซีย ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เดิมห้าประเทศ ยกเว้นอุซเบกิสถาน เป็นผู้ก่อตั้ง "เซี่ยงไฮ้ไฟฟ์" (Shanghai Five) ในปี 2539 แต่ต่อมาอุซเบกิสถานเข้าร่วมในปี 2544 จึงได้เปลี่ยนชื่อองค์การมาเป็นดังในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม

อนันดา เอเวอริงแฮม (เกิด 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) เป็นดาราลูกครึ่งออสเตรเลีย-ลาว เข้าวงการเมื่ออายุ 14 ปี โดยคำชักชวนของมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ กับภาพยนตร์เรื่องแรก อันดากับฟ้าใส และ 303 กลัว/กล้า/อาฆาต หลังจากไม่มีผลงานบันเทิงระยะหนึ่ง ได้กลับมาอีกครั้งกับละครเรื่องทะเลฤๅอิ่ม ของหม่อมน้อย หลังจากนั้นก็มีผลงานการแสดงเรื่อยมา จนใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา

อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา (Vienna Convention on the Law of Treaties) เป็นสนธิสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองในเรื่องสนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างรัฐกับรัฐ โดยเป็นการนำกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศมาประมวลไว้ให้เป็นลายลักษณ์อักษร อนุสัญญาฯ นี้เป็นที่ตกลงรับในวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุทวีปอินเดีย

วเทียมของอนุทวีปอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในเอเชียใต้ เป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, ปากีสถาน, ศรีลังกา รวมทั้งบางส่วนของประเทศเนปาล, ภูฏาน, พม่า, ไทย, และดินแดนบางส่วนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอนุทวีปอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวเบงกอล

แผนที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งอ่าวเบงกอล เรือประมงในอ่าวเบงกอล เกาะเซนต์มาร์ติน อ่าวเบงกอล ชายหาดมารีนา เจนไน อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) เป็นอ่าวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย มีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยมล้อมรอบด้วยประเทศอินเดียและศรีลังกาทางด้านตะวันตก บังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดียทางด้านเหนือ (ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ) และประเทศพม่า ภาคใต้ของประเทศไทย หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ทางด้านตะวันออก อาณาเขตด้านใต้แผ่ถึงเส้นเขตจินตนาการที่ลากจากดอนดราเฮดตอนใต้ของศรีลังกาไปถึงปลายด้านเหนือของเกาะสุมาตรา อ่าวเบงกอลมีเนื้อที่ 2,172,000 กม² มีแม่น้ำสำคัญหลายสายไหลมาลงทะเล เช่น แม่น้ำคงคา แม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำอิรวดี แม่น้ำโคทาวรี แม่น้ำมหานที แม่น้ำกฤษณา และแม่น้ำกาเวรี เมืองท่าสำคัญของอ่าวเบงกอล ได้แก่ กัททะลูร์ เจนไน กากีนาทะ มะจิลีปัตนัม วิศาขปัตนัม พาราทิพ โกลกาตา จิตตะกอง และย่างกุ้ง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอ่าวเบงกอล · ดูเพิ่มเติม »

อ้นเล็ก

อ้นเล็ก (Lesser bamboo rat) เป็นสัตว์ฟันแทะในอยู่ในวงศ์ย่อย Rhizomyinae ในวงศ์ Spalacidae จัดเป็นอ้นชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุด และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในสกุล Cannomys มีความแตกต่างไปจากอ้นที่อยู่ในสกุล Rhizomys คือ ฝ่าเท้าจะเรียบ และมีลายสีขาวบริเวณหน้าผากและหัวคล้ายหนูตะเภา ในขณะที่มีขนอ่อนนุ่มสีน้ำตาล โดยขนที่ท้องจะมีสีเข้มกว่าขนที่หลัง มีความยาวตั้งแต่ปลายจมูกจรดหางประมาณ 15-30 เซนติเมตร หางมีขนาดสั้นยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร น้ำหนักตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 0.5 กิโลกรัม มีจุดเด่นคือ ฟันแทะคู่หน้าที่ยาวอย่างเห็นได้ชัดเจน ใช้สำหรับขุดโพรงใต้ดินเพื่ออยู่อาศัยและใช้กัดแทะอาหาร ซึ่งได้แก่ ไม้ไผ่และหน่อไม้ รวมถึงผลไม้ประเภทต่าง ๆ ด้วยที่หล่นบนพื้นดิน บริเวณปากโพรงที่อ้นอยู่อาศัยจะมีกองดินปิดไว้ มักจะขุดโพรงในป่าบริเวณใกล้แหล่งน้ำหรือบริเวณที่เป็นป่าไผ่ ออกหากินในเวลากลางคืนและพลบค่ำ ออกลูกครั้งละ 3-5 ตัว พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดียตั้งแต่ เนปาล, บังกลาเทศ, รัฐอัสสัมในอินเดีย, ภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่เหนือบริเวณคอคอดกร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและอ้นเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ลี้ภัย

แผนที่แสดงต้นกำเนิดของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิงใน ค.ศ. 2007 แผนที่แสดงประเทศปลายทางของผู้ลี้ภัย ค.ศ. 2007 ผู้ลี้ภัย (refugee) หมายถึงบุคคลที่อยู่นอกประเทศต้นกำเนิดหรือประเทศที่มีถิ่นฐานประจำ เพราะเขาผู้นั้นประสบกับภัยอันเกิดแต่การตามล่า การกดขี่ด้วยเหตุทาง เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ ความเห็นทางการเมือง หรือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคมที่ถูกตามล่า บางครั้งอาจเรียกผู้ลี้ภัยว่า ผู้ขอที่ลี้ภัย (asylum seeker) จนกว่าจะได้รับการยอมรับสถานภาพของผู้ลี้ภัย เด็กและสตรีผู้ลี้ภัยเป็นผู้ลี้ภัยกลุ่มย่อยที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ระบบผู้ลี้ภัยจะทำงานได้ก็ต่อเมื่อประเทศเปิดพรมแดนให้ผู้คนหนีจากความความขัดแย้ง โดยเฉพาะประเทศพื้นบ้านใกล้กับต้นกำเนิดของความขัดแย้ง ระบบผู้ลี้ภัยนี้ได้ช่วยเหลือผู้คนมากมายแต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่ ในหลายกรณีการหนีไปอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยกระทำได้ยากยิ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและผู้ลี้ภัย · ดูเพิ่มเติม »

ผ้าพัชมีนา

ผ้าพัชมีนา ผ้าพัชมีนา (Pashmina) เป็นผ้าที่ทำจากขนแพะซึ่งมีชื่อว่า "พัชม์" (Pashm) หรือในภาษาลาตินเรียกว่า "คาปรา ไฮร์คัส" (Capra Hircus) แพะชนิดนี้อาศัยอยู่ในที่สูง เช่น เทือกเขาหิมาลัย และใต้เขตไซบีเรีย เช่น มองโกเลีย คาซัคสถาน ด้านในของประเทศอิหร่าน และอัฟกานิสถาน ด้ายที่ใช้ทอผ้าพัชมีนาเป็นด้ายที่ปั่นด้วยมือโดยใช้วิธีแบบดั้งเดิมที่ไม่ใช่วิธีที่ตามพัฒนามาจากวิธีแบบยุโรป ปัจจุบันนี้ผ้าพัชมีนาถูกใช้เป็นคำเรียกสำหรับผ้าคลุมไหล่ทั่วไปที่มีปมอยู่ที่ปลายผ้า หลายคนมักเข้าใจผิดว่าต้นกำเนิดของผ้าพัชมีนานั้นมาจากแคว้นแคชเมียร์หรือเนปาล ซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิด เพียงแต่ถิ่นนั้นมีวิธีการทอผ้าแบบดั้งเดิมที่เหมือนกัน ผ้าที่ได้จึงมีลักษณะคล้ายกันกับผ้าพัชมีนา ส่วนการนำขนของแพะมาทอเป็นผ้านั้นก็ถูกต้องตามกฎหมาย เพราะแพะดังกล่าวไม่ใช่สัตว์ใกล้สูญพันธุ์แต่อย่างใด ผ้าพัชมีนาที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดมีหลายรูปแบบ อาจมีการผสมเนื้อผ้าชนิดอื่นเข้าไปด้วย เช่นผ้าไหม หรือผ้าฝ้าย หรือ ผ้าชนิดอื่น ๆ ซึ่งถ้าต้องการซื้อควรเลือกซื้อจากร้านที่เชื่อถือได้ มิฉะนั้นอาจเป็นของปลอม หมวดหมู่:ศิลปะ หมวดหมู่:ผ้า อ่านเพิ่มเติม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและผ้าพัชมีนา · ดูเพิ่มเติม »

จอมเวทย์มหากาฬ

อมเวทย์มหากาฬ (Doctor Strange) เป็นภาพยนตร์แนวซูเปอร์ฮีโร อ้างอิงจากตัวละครดอกเตอร์สเตรนจ์ของมาร์เวลคอมิกส์ สร้างโดยมาร์เวลสตูดิโอส์ จัดจำหน่ายโดยวอลต์ดิสนีย์สตูดิโอส์โมชันพิกเจอส์ เป็นภาพยนตร์ที่สิบสี่ของมาร์เวล กำกับภาพยนตร์โดยสกอตต์ เดร์ริกสัน ร่วมเขียนบทโดยซี. รอเบิร์ต คาร์กิลล์ และร่วมเขียนเรื่องโดยจอน สเปตส์ มีนักแสดงนำประกอบไปด้วยเบเนดิกต์ คัมเบอร์แบตช์, ชูวิเทล เอจีโอฟอร์, ราเชล แม็กอดัมส์, ไมเคิล สตูห์ลบาร์ก, มัส มิกเกิลเซิน และทิลดา สวินตัน ในภาพยนตร์ จอมเวทย์มหากาฬ สตีเวน สเตรนจ์ ศัลยแพทย์แปรเปลี่ยนตัวเองโดยเรียนรู้กายภาพบำบัดจาก แองเชี่ยนวัน หลังประสบอุบัติเหตุรถชน ด็อกเตอร์ สเตรนจ์ เคยถูกนำมาเป็นภาพยนตร์ซึ่งอยู่ในพัฒนาในระหว่างกลางทศวรรษ 1980 จนกระทั่ง พาราเมาต์พิกเจอส์ มีสิทธิ์สร้างภาพยนตร์ในเมษายน 2005 โดยมีมาร์เวลเป็นผู้ดูแล จอมเวทย์มหากาฬ เข้าฉายในสหรัฐอเมริกา วันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและจอมเวทย์มหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เอเวอเรสต์

ซอร์จอร์จ เอเวอเรสต์ (George Everest หรือ Colonel Sir George Everest) (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1790 - (1 ธันวาคม ค.ศ. 1866) จอร์จ เอเวอเรสต์เป็นนักสำรวจภูมิศาสตร์คนสำคัญชาวเวลส์และมีตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการการสำรวจในอินเดียระหว่าง ค.ศ. 1830 จนถึง ค.ศ. 1843 เอเวอเรสต์เป็นผู้รับผิดชอบในโครงการสำรวจทริโกโนเมตริคอินเดีย (Great Trigonometric Survey) ซึ่งเป็นโครงการสำรวจอินเดีย ในส่วนตามแนวโค้งเมอริเดียนจากทางตอนใต้ของอินเดียไปจนถึงตอนเหนือในเนปาลที่มีระยะทางทั้งสิ้น 2400 กิโลเมตร การสำรวจเริ่มโดยวิลเลียม แลมบ์ตัน (William Lambton) ในปี ค.ศ. 1806 และดำเนินต่อมาเป็นเวลาหลายสิบปีจนเมื่อมาสำเร็จในสมัยของเอเวอเรสต์ ในปี ค.ศ. 1865 ก็ได้มีการตั้งชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์เพื่อเป็นเกียรติแก่เซอร์จอร์จ เอเวอเรสต์แม้ว่าเอเวอเรสต์จะประท้วงก็ตาม ยอดเขาเอเวอเรสต์ได้รับการสำรวจโดยผู้รับงานคนต่อมาแอนดรูว์ สก็อตต วอห์ (Andrew Scott Waugh) จอร์จ เอเวอเรสต์เสียชีวิตในกรุงลอนดอนในปี ค.ศ. 1866.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและจอร์จ เอเวอเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

จุกนารี

อดอก มองเห็นเกสรตัวผู้ โค้งเป็นรูปตัว s ชัดเจน (ภาพ: สะเมิง เชียงใหม่) จุกนารี หรือ เอ็นอ้าขน หรือ โคลงเคลงขนเป็นพืชมีดอกในวงศ์ Melastomataceae เป็นพืชท้องถิ่นในเขตภูเขาของจีน ภูฏาน พม่า กัมพูชา ลาว อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ เนปาล ไทยและเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและจุกนารี · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

หน้านี้คือรายชื่อจุดหมายปลายทางของเที่ยวบินต่าง ๆ ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรหรา

หอคอยธรหรา (धरहरा) หรือ หอคอยภีมเสน เป็นหอคอยสูง 61.88 ม. (203.0 ฟุต) เป็นจำนวน 9 ชั้น ตั้งอยู่ในจัตุรัสดูร์บาร์ ในกรุงกาฐมาณฑุ ได้ถูกสร้างขึ้นในปี 1832 โดยนายภีมเสน ถาปา นายกรัฐมนตรีสมัยนั้น อาคารได้รับการจำแนกจากองค์การยูเนสโกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมกาฐมาณฑุ สถาปัตยกรรมเฉพาะตัวของเมืองกาฐมาณฑุ ภายในหอคอยประกอบด้วย บันไดวนแบบสไปรอล จำนวน 213 ขั้น โดยในชั้นที่ 8 เป็นส่วนระเบียงสามารถมองทิวทัศน์ได้โดยรอบเมืองกาฐมาณฑุ และมีเสาสัมฤทธิ์ ซึ่งสูง 5.2 ม. (17 ฟุต) ประดับในส่วนยอดของหอคอย หอคอยได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมภายในตั้งแต่ปี 2005 จนถึงวันที่อาคารถล่มในปี 2015 โครงสร้างส่วนใหญ่ของอาคารได้พังถล่มลงมา จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวใหญ่ในเนปาล แต่ก็ยังมีส่วนฐานที่ยังหลงเหลืออยู.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและธรหรา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเนปาล

งชาติเนปาล เป็นธงชาติเดียวในโลกที่มิได้มีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ธงนี้เป็นการรวมธงสามเหลี่ยมสองผืนกันให้ง่าย สีแดงเลือดหมูเป็นสีของกุหลาบพันปี ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำชาติ สีแดงยังเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะในสงคราม ขอบน้ำเงินเป็นสีแห่งสันติภาพ กระทั่ง พ.ศ. 2505 ดวงอาทิตย์และจันทร์เสี้ยว มีหน้ามนุษย์ด้วย ใบหน้าถูกนำออกเพื่อทำให้ธงทันสมัย ใบหน้ายังเหลืออยู่บนดวงอาทิตย์และดวงจันทร์บนธงพระมหากษัตริย์กระทั่งมีการล้มล้างพระมหากษัตริย์ใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและธงชาติเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ธงศาสนาพุทธ

งศาสนาพุทธที่ใช้ทั่วไปเป็นสากลมีชื่อเรียกว่า ธงฉัพพรรณรังสี เริ่มปรากฏการใช้ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 (เทียบแบบสากลคือราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและธงศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ถั่งเช่า

อค้าในมณฑลชิงไห่ กำลังชั่งน้ำหนักถั่งเช่า ถั่งเช่า (蟲草; chóng cǎo) หรือ ตังถั่งเช่า (冬蟲草; dōng chóng cǎo) หรือ ตังถั่งแห่เช่า (冬蟲夏草; dōng chóng xià cǎo) เป็นสมุนไพรจีน มีความหมายว่า "หญ้าหนอน" หรือ "ฤดูหนาวเป็นหนอน ฤดูร้อนเป็นหญ้า" เกิดจากหนอนผีเสื้อแถบที่ราบสูงทิเบต ที่จำศีลอยู่ใต้ดินในฤดูหนาว ถูกสปอร์ของเห็ดราในสกุล Ophiocordyceps อาศัยเป็นปรสิตและเติบโตสร้างเส้นใยออกมาทางส่วนหัวของตัวหนอนในฤดูร้อน เห็ดนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ophiocordyceps sinensis เห็ดถั่งเช่าพบในทิเบต มณฑลชิงไห่ มณฑลเสฉวน มณฑลกานซู มณฑลยูนนาน และแถบเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย ภูฏาน และเนปาล มีสรรพคุณในการบรรเทาอาการหย่อนและเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ รวมถึงเชื่อว่ารักษาโรคมะเร็งได้อีกด้วย มีความต้องการในท้องตลาดสูง และมีราคาแพง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและถั่งเช่า · ดูเพิ่มเติม »

ทรูแฟนเทเชีย

ลโก้เดิม บริษัท "ยูบีซี แฟนเทเชีย" (ระหว่าง พ.ศ. 2548 - ต้นปี พ.ศ. 2550) บริษัท ทรู แฟนเทเชีย จำกัด (True Fantasia) เป็นบริษัทย่อยของบริษัททรูวิชั่นส์ มีหน้าที่ดูแลบริหารงานศิลปิน (Artist Management) จาก รายการ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย รองรับการสร้างผลงานในวงการบันเทิงทุกด้าน โดยผลงานส่วนใหญ่คือ มีหน้าที่เป็นค่ายเพลง ซึ่งผลิตงานทางด้านดนตรีของศิลปินอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทรูแฟนเทเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทองกวาว

ทองกวาว, ทอง หรือ ทองธรรมชาติ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ จากประเทศปากีสถาน, อินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย และทางตะวันตกของอินโดนีเซีย ทองกวาวมีชื่ออื่นอีกคือ กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อีสาน).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทองกวาว · ดูเพิ่มเติม »

ทาทา ยัง

อมิตา มารี ยัง (Amita Marie Young; เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2523) หรือทาทา ยัง หรือ อมิตา ทาทา ยัง หรืออมิตา ยัง สีณพงศ์ภิภิธ เป็นนักร้อง นักแสดง และนางแบบลูกครึ่งไทย-อเมริกัน ทาทาเข้าสู่วงการดนตรีภายหลังชนะเลิศการประกวดร้องเพลงระดับชาติเมื่ออายุ 11 ปี และได้เซ็นสัญญาเป็นนักร้องอาชีพเมื่ออายุ 14 ปี กับสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีผลงานอัลบั้มอัลบั้มแรกคือ อมิตาทาทายัง เมื่อปี พ.ศ. 2538 อมิตา ยัง เรียกข้อมูลวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทาทา ยัง · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงตริภูวัน

ทางสิบสองโค้ง โค้งแห่งหนึ่งบนทางหลวง ทางหลวงตริภูวัน เชื่อมต่อระหว่างชานกรุงกาฐมาณฑุ กับเมือง Birganj และ Raxaul บนพรมแดนเนปาล-อินเดีย โดยจะเชื่อมต่อกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 28 และ 28A ที่เมืองลัคเนา ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทางหลวงตริภูวัน · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 2

ทางหลวงเอเชียสาย 2 (AH2) เป็นเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทาง 8,230 ไมล์ (13,177 กม.) จากเดนพาซาร์, อินโดนีเซีย ถึง โคสราวี, อิหร่าน โดยช่วงที่ผ่านประเทศไทย เริ่มจากพรมแดนพม่าที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ลงมาจนจรดชายแดนบ้านจังโหลน จังหวัดสงขลา เป็นระยะทาง 2,254 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทางหลวงเอเชียสาย 2 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 42

ทางหลวงเอเชียสาย 42 (AH42) เป็นทางหลวงในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทางทั้งหมด เริ่มต้นทางทางหลวงเอเชียสาย 5 ที่เมืองหลานโจว ประเทศจีน ถึงทางหลวงเอเชียสาย 1 ที่ Barhi ประเทศอินเดีย ผ่านประเทศต่าง ๆ ได้แก่ จีน เนปาล และอินเดีย และจัดให้เป็นทางหลวงเอเชียที่มีเส้นทางใกล้ยอดเขาเอเวอเรสต์มากที่สุด ถนนเส้นนี้ยังมีส่วนที่ยังไม่ได้ก่อสร้าง คือ ช่วงจากเมืองลาซา ในทิเบต ถึงเมืองหลานโจว ในจีน ซึ่งมีระยะทางมากกว่าครึ่งของระยะทางรวมทั้งหม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทางหลวงเอเชียสาย 42 · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัย

ทุพภิกขภัย (famine) คือสภาวะของการขาดแคลนอาหารอย่างกว้างขวางซึ่งอาจใช้กับสภาวะที่เกิดในสัตว์ชนิดใดก็ได้ วิกฤติการณ์ดังกล่าวมักจะตามมาด้วยสภาวะทุพโภชนาการ, การอดอยาก, โรคระบาด และการเพิ่มจำนวนการเสียชีวิต องค์ประกอบสำคัญในการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยก็ได้แก่การแจกจ่ายสารอาหารรอง เช่นวิตามินและ แร่ธาตุจากซองอาหารบำบัดที่ประกอบด้วยสารเสริมอาหาร หรือให้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยตรงhttp://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1914655, 00.html Can one pill tame the illness no one wants to talk about? ประเภทการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยแบบหนึ่งการให้เงินหรือให้ตั๋วแก่ผู้ที่อดอยากเพื่อนำไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนเป็นอาหารจากเกษตรกรท้องถิ่น แทนที่จะนำทุนไปซื้ออาหารจากประเทศผู้บริจาค กฎหมายมักต้องระบุ เพราะเป็นการเสียเงินค่าขนส่ง การแก้ปัญหาความขาดแคลนระยะยาวก็ทำได้โดยการลงทุนในการเกษตรกรรมแบบใหม่ในภูมิภาคที่ยังไม่มีระบบดังกล่าว เช่นการใช้ปุ๋ย และสร้างระบบการชลประทานอันวิธีสำคัญที่ใช้ในการกำจัดความหิวโหยในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กฎของธนาคารโลกจำกัดการให้ทุนช่วยเหลือเกษตรกร และการใช้ปุ๋ยก็ได้รับการต่อต้านจากนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางกลุ่มเพราะมีผลตามมาอย่างคาดไม่ถึง คือ ปริมาณน้ำและถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ลดลงhttp://www.theatlantic.com/issues/97jan/borlaug/borlaug.htm Forgotten benefactor of humanity.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

ทุกปา

ทุกปา (ཐུག་པ) เป็นก๋วยเตี๋ยวน้ำแบบทิเบต ปกติใส่เนื้อสัตว์ เป็นที่นิยมในทิเบต ภูฏาน เนปาล สิกขิม ลาดัก อรุณาจัลประเทศและส่วนอื่นๆของอินเดีย ทุกปามีหลายแบบได้แก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและทุกปา · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในโลก

ติที่สุดในโลก ในเรื่องต่าง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและท่าอากาศยานดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน

ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน (त्रिभुवन अन्तर्राष्ट्रिय विमानस्थल) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติในเขตกรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ตั้งอยู่ในหุบเขากาฐมาณฑุ ห่างจากใจกลางนครประมาณ 6 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานนานาชาติเพียงแห่งเดียวในเนปาล เริ่มต้นใช้งานในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่างหางหมา

มล็ดข้าวฟ่างหางหมา ข้าวฟ่างหางหมาในญี่ปุ่น ข้าวฟ่างหางหมา (Foxtail millet) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นหญ้าปีเดียว ขึ้นเป็นกอมีสีเหลืองม่วง กาบใบรูปหลอด ด้านบนเปิดออก ผิวเกลี้ยงหรือมีขนปกคลุมเล็กน้อย ลิ้นใบสั้นเป็นชายครุย เห็นแกนใบชัดเจน ดอกช่อ เมล็ดรูปไข่ มีกาบบนและล่างหุ้มแน่น มีหลายสีตั้งแต่เหลืองอ่อน ส้ม แดง น้ำตาล ดำ มีความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์อยู่มาก โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อยที่สำคัญ 3 กลุ่ม คือ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและข้าวฟ่างหางหมา · ดูเพิ่มเติม »

ดั่งดวงหฤทัย

ั่งดวงหฤทัย เป็นนวนิยายรัก บทประพันธ์ของลักษณวดี (นามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ หรือ คุณหญิงวิมล เจียมเจริญ) ซึ่งทางผู้แต่งได้รับแรงบันดาลใจจากแต่งนิทานให้ลูกชายขณะเดินทางท่องเที่ยว ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม ได้รับลิขสิทธิ์ให้นำบทประพันธ์ดังกล่าวมาตีพิมพ์ใหม่อีกครั้ง มีการนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ถึง 3 ครั้งด้วยกัน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและดั่งดวงหฤทัย · ดูเพิ่มเติม »

ดีปลีแขก

ีปลีแขก (เป็นไม้เลื้อยหรือไม้พุ่มตั้งตรง ใบรูปไข่แกมขอบขนาน เป็นพืชพื้นเมืองในป่าเขตร้อนของเทือกเขาหิมาลัยตั้งแต่เนปาลถึงภูฏาน ขนาดเล็กกว่าดีปลีและไม่มีสารพิเพอรีน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและดีปลีแขก · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย สมุทรโคจร

นัย สมุทรโคจร (17 ม.ค. 2524 -) เป็นนักแสดงชาวไทยและสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2006 ในหมวดซูเปอร์ฮีโร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและดนัย สมุทรโคจร · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 2000

ริสต์ทศวรรษ 2000 (2000s) คือคริสต์ทศวรรษตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและคริสต์ทศวรรษ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ควายป่า

วายป่า เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bubalus arnee มีลักษณะคล้ายควายบ้าน (B. bubalis) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ควายป่าแต่มีลำตัวขนาดลำตัวใหญ่กว่า มีนิสัยว่องไวและดุร้ายกว่าควายบ้านมาก สีลำตัวโดยทั่วไปเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลดำ ขาทั้ง 4 สีขาวแก่หรือสีเทาคล้ายใส่ถุงเท้าสีขาว ด้านล่างของลำตัวเป็นลายสีขาวรูปตัววี (V) ควายป่ามีเขาทั้ง 2 เพศ เขามีขนาดใหญ่กว่าควายบ้านมาก วงเขากางออกกว้างโค้งไปทางด้านหลัง ด้านตัดขวางเป็นรูปสามเหลี่ยม ปลายเขาเรียวแหลม ตัวโตเต็มวัยมีความสูงที่ไหล่เกือบ 2 เมตร ความยาวหัวและลำตัว 2.40–2.80 เมตร ความยาวหาง 60–85 เซนติเมตร น้ำหนักมากกว่า 1,000 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์จากประเทศเนปาลและอินเดีย ไปสิ้นสุดทางด้านทิศตะวันออกที่ประเทศเวียดนาม ในประเทศไทยในอดีตเคยมีอยู่มากและกระจัดกระจายออกไป โดยพบมากที่บ้านลานควาย หรือบ้านลานกระบือ (ปัจจุบัน คือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร) แต่สถานะในปัจจุบันเหลืออยู่แค่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี เท่านั้น โดยจำนวนประชากรที่มีมากที่สุดในธรรมชาติในปัจจุบัน คือ ที่อุทยานแห่งชาติกาจิรังคา ในรัฐอัสสัม ของอินเดีย ประมาณ 1,700 ตัว หากินในเวลาเช้าและเวลาเย็น อาหารได้แก่ พวกใบไม้ หญ้า และหน่อไม้ หลังจากกินอาหารอิ่มแล้ว ควายป่าจะนอนเคี้ยวเอื้องตามพุ่มไม้ หรือนอนแช่ปลักโคลนตอนช่วงกลางวัน ควายป่าจะอยู่ร่วมกันเป็นฝูง ฤดูผสมพันธุ์อยู่ราว ๆ เดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 10 เดือน ควายป่ามีนิสัยดุร้ายโดยเฉพาะตัวผู้และตัวเมียที่มีลูกอ่อน เมื่อพบศัตรูจะตีวงเข้าป้องกันลูกอ่อนเอาไว้ มีอายุยืนประมาณ 20–25 ปี โดยควายป่ามักตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อ โดยเฉพาะเสือโคร่ง ในอินเดีย ควายป่ามักอาศัยอยู่ร่วมในพื้นที่เดียวกับแรดอินเดีย ซึ่งเป็นสัตว์ดุร้าย แม้จะเป็นสัตว์กินพืชเหมือนกัน แต่ก็มักถูกแรดอินเดียทำร้ายอยู่เสมอ ๆ จนเป็นบาดแผลปรากฏตามร่างกาย สถานภาพในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าสงวนตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและควายป่า · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คุลฟี

ลฟี คุลฟี (kulfi; क़ुल्फ़ी) เป็นขนมหวานอย่างหนึ่งของอาหารอินเดีย มีลักษณะคล้ายกับไอศกรีมหรือหวานเย็นของไทย คุลฟีได้รับความนิยมโดยทั่วไปในประเทศอินเดีย รวมถึงประเทศอื่นในภูมิภาคเดียวกัน เช่น เนปาล, ปากีสถาน, บังกลาเทศ จนถึงพม่าและตะวันออกกลาง จนถูกเรียกว่า "ไอศกรีมแบบดั้งเดิมของอนุทวีปอินเดีย" คุลฟีมีลักษณะคล้ายกับหวานเย็นของไทย โดยเป็นไอศกรีมเสียบไม้ หากแต่จะทำมาจากนมสดที่ผ่านการเคี่ยวจนข้นมัน และปรุงแต่งรสชาติด้วยการผสมน้ำตาล และเติมกลิ่นต่าง ๆ เข้าไปด้วย เช่น เครื่องเทศ, กุหลาบ, มะม่วง, พิสตาชีโอ เป็นต้น นอกจากจะมีการเสียบไม้แล้ว ยังมีคุลฟีแบบที่เสิร์ฟใส่จานเป็นของหวานสำหรับปิดท้ายมื้ออาหารค่ำอีกด้วย คุลฟีมีกำเนิดมาแล้วอย่างน้อยในยุคราชวงศ์โมกุล ในรัชสมัยจักรพรรดิอักบัร ราวศตวรรษที่ 16-18 โดยมีการนำน้ำแข็งจากเทือกเขาหิมาลัยผสมกับเกลือแล้วนำไปปั่นเป็นไอศกรีม ก็คือ คุลฟี นั่นเอง โดยในยุคนั้นคุลฟีถือเป็นอาหารสำหรับชนชั้นสูงหรือระดับพระราชวงศ์เท่านั้น ปัจจุบัน คุลฟีมีการจำหน่ายโดยทั่วไป ทั้งภัตตาคารร้านอาหารหรือข้างถนน โดยมีทั้งที่เสิร์ฟมาในจานของหวานและที่เสียบไม้ คนขายคุลฟีเรียกว่า "คุลฟีวาลัส" (Kulfiwalas) จะสะพายกระติกน้ำแข็งทรงยาว เดินไปตามถนน ตะโกนไปเรื่อย ๆ ว่า "คุลฟี ๆ".

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและคุลฟี · ดูเพิ่มเติม »

คฒิมาอีมนเทียร

เทวรูปพระแม่คฒิมาอี. คฒิมาอีมนเทียร (गढीमाई मन्दिर) เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่สร้างขึ้นเพื่ออุทิศพระแม่คฒิมาอี เทวีท้องถิ่นในเมืองปาริยะปุระซึ่งอยู่ภาคใต้ของประเทศเนปาล แม้ว่าตำนานของเจ้าแม่คฒิมาอีจะไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง แต่ชื่อของเจ้าแม่คฒิมาอีกลับเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกจากพิธีบูชายัญนองเลือดที่เรียกว่าเทศกาลคฒิมาอี (Gadhimai festival) ซึ่งจัดขึ้นทุกห้าปีในเทวสถานนี้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและคฒิมาอีมนเทียร · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศเนปาลในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ค่างหนุมาน

งหนุมาน (Hanuman langur, Gray langur; लंगूर) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร จำพวกค่างสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Semnopithecus อยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีหางยาวมากใช้สำหรับทรงตัวบนต้นไม้ มีขนตามลำตัวสีขาวหรือสีเทา ขณะที่มีใบหน้าและหูสีคล้ำ แขนและขาเรียวยาว กระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อินเดีย, เนปาล, ปากีสถาน จนถึงอัฟกานิสถาน ตัวผู้มีความสูงเต็มที่ประมาณ 75 เซนติเมตร น้ำหนักราว 11-18 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมากว่าเล็กน้อย ค่างหนุมาน หากินได้ทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ ในภูมิภาคแถบที่อาศัยอยู่ นับถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ โดยถือเป็นหนุมาน เทพเจ้าตามความเชื่อของศาสนาฮินดู จึงไม่มีภัยคุกคามจากมนุษย์ อีกทั้งเป็นค่างที่ปรับตัวได้ง่าย หากินง่าย จนทำให้ในบางชุมชนของมนุษย์ มีฝูงค่างหนุมานอยู่อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จนเกิดเป็นปัญหา ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีความคล่องแคล่วว่องไวมาก จึงไม่มีศัตรูตามธรรมชาติเท่าใดนัก อีกทั้งสามารถกระโดดจากพื้นได้สูงถึง 5 เมตร เพื่อหลบหลีกศัตรูได้อีกด้วยสุดหล้าฟ้าเขียว, รายการ: เสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2555 โดย ปองพล อดิเรกสาร ทางช่อง 3.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและค่างหนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวหน้ายักษ์ทศกัณฐ์

้างคาวหน้ายักษ์ทศกัณฐ์ (great roundleaf bat; ชื่อวิทยาศาสตร์: Hipposideros armiger) เป็นสายพันธุ์ค้างคาวในวงศ์ค้างคาวหน้ายักษ์ ซึ่งพบในประเทศจีน, อินเดีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, เนปาล, ไต้หวัน, ไทย และเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและค้างคาวหน้ายักษ์ทศกัณฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ

งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ หรือ พุทธชยันตี 2500 ปี (2500th Buddha Jayanti Celebration) เป็น เทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่จัดขึ้นในปี พ.ศ. 2500 เนื่องในโอกาสที่ครบรอบ 2500 ปีแห่งการปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังเรียกว่างานฉลองกึ่งพุทธกาล เนื่องจากความเชื่อโบราณว่าพระพุทธศาสนาจะดำรงอยู่ 5000 ปี แล้วจักเสื่อมสลายลง งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ในประเทศไทย ได้มีการเตรียมการล่วงหน้ากว่า 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2495 มีการสร้างอนุสรณ์สถานพุทธมณฑล และการจัดกิจกรรมมากมายเพื่อเฉลิมฉลองพร้อมกันกับประเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า เนปาล และประเทศที่มีประชากรนับถือพระพุทธศาสนาทั่วโลก โดยในประเทศอื่นใช้คำว่า "พุทธชยันตี 2500 ปี".

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 72

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 72 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 72 · ดูเพิ่มเติม »

งูดินบ้าน

งูดินบ้าน หรือ งูดินธรรมดา (Brahminy blind snake, Common blind snake) เป็นงูดินชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ Typhlopidae ลำตัวเรียวยาวและกลมสม่ำเสมอตลอดความยาวลำตัว ส่วนของหัวกว้างเท่ากับลำตัว ส่วนปลายของหัวมน หางสั้นมากและส่วนปลายของหางมีหนามแข็ง ตาเล็กมากแต่มองเห็นได้ชัดเจน ผิวหนังลำตัวมีเกล็ดขนาดเล็กปกคลุมและพื้นผิวเกล็ดเรียบเป็นมัน เกล็ดรอบลำตัวในแนวกึ่งกลางตัว จำนวน 20 เกล็ด at the.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและงูดินบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่าหม้อ

งูเห่าหม้อ หรือ งูเห่าไทย หรือ งูเห่าดง หรือ งูเห่าปลวก (Siamese cobra, Monocled cobra) เป็นงูพิษร้ายแรงชนิดหนึ่ง จำพวกงูเห่า อยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) หัวมีลักษณะกลมเรียว หางเรียวยาว มีสีสันลำตัวต่าง ๆ ทั้ง สีดำ, เขียว หรือน้ำตาลเหลืองหรือน้ำตาลเข้ม รวมทั้งเป็นสีขาวนวลปลอดตลอดทั้งตัวด้วย โดยที่มิใช่เป็นงูเผือกเรียกว่า "งูเห่านวล" (N. k. var. suphanensis Nutaphand, 1986) มีทั้งที่มีลายตามตัว และไม่มีลาย ไม่มีดอกจัน พบที่แถบจังหวัดสุพรรณบุรี ตัวผู้หัวจะทู่ใหญ่ พังพานจะแผ่กว้างเป็นวงกลม ส่วนตัวเมียหัวจะหลิมปลายจมูกเรียว พังพานแคบกว่าตัวผู้ โดยงูเห่าชนิดนี้สามารถแผ่พังพานได้กว้างกว่างูเห่าชนิดอื่น ๆ และใกล้เคียงกับงูเห่าอินเดีย (N. naja) ที่พบได้ในประเทศอินเดีย และเมื่อยกตัวชูคอแผ่พังพานได้สูงที่สุดประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวลำตัว เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ จัดเป็นงูเห่าที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่ง โดยความยาวเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 100–180 เซนติเมตร โดยขนาดยาวที่สุดที่วัดได้ของสถานเสาวภา โดยสภากาชาดไทย คือ 225 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างชุกชุมในประเทศไทย โดยพบได้ทุกภาค พบชุกชุมโดยเฉพาะภาคกลาง นอกจากนี้แล้วยังพบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อินเดีย, เนปาล, พม่า, จีน, เวียดนาม, กัมพูชา, ลาว ไปจนถึงแหลมมลายู ในประเทศไทยถือเป็นงูเห่าชนิดที่พบได้ชุกชุมมากที่สุด โดยมักในบริเวณที่ลุ่มค่อนข้างชื้น มักอาศัยอยู่ในจอมปลวก, ทุ่งนา หรือพบบนภูเขาที่ระดับความสูง 900 เมตรจากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลาพลบค่ำโดยหากินตามพื้นดิน ผสมพันธุ์ช่วงเดือนสิงหาคมถึงมกราคม วางไข่ครั้งละ 15–37 ฟอง ในช่วงเดือนตุลาคมถึงมีนาคม ระยะฟักไข่นาน 51–69 วัน (เฉลี่ย 60 วัน) เมื่อแรกเกิดมีน้ำหนัก 13.2–18.8 กรัม และความยาว 31.5–35.5 เซนติเมตร กินสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กเช่น หนู และ นก, กบ, เขียด และบางครั้งก็กินงูชนิดอื่นเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและงูเห่าหม้อ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาดราวิเดียน

การแพร่กระจายของตระกูลภาษาดราวิเดียน ตระกูลภาษาดราวิเดียนเป็นตระกูลของภาษาที่มีสมาชิก 73 ภาษา ส่วนใหญ่ใช้พูดทางภาคใต้ของอินเดียและทางตะวันออกเฉียงเหนือของศรีลังกา และบางบริเวณในปากีสถาน เนปาล บังกลาเทศ และภาคกลางและภาคตะวันออกของอินเดีย รวมทั้งบางส่วนของอัฟกานิสถานด้วย นอกจากนั้นยังมีผู้ที่อพยพไปยังมาเลเซียและสิงคโปร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตระกูลภาษาดราวิเดียน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเนปาล

ตราแผ่นดินของเนปาล เริ่มใช้วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2549 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตราแผ่นดินของเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศและดินแดนต่างๆในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบม่านลายอินเดีย

ตะพาบม่านลายอินเดีย (Indian narrow-headed softshell turtle, Small-headed softshell turtle; चित्रा इन्डिका) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ตะพาบ (Trionychidae) ตะพาบม่านลายอินเดีย มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับตะพาบม่านลายไทย (C. chitra) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน ที่พบในประเทศไทยและอินโดนีเซีย ซึ่งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดเดียวกัน จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1986 นาวาอากาศเอก (พิเศษ) วิโรจน์ นุตพันธุ์ นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวไทย ได้ศึกษาความแตกต่างระหว่างทั้ง 2 ชนิดนี้อย่างละเอียด และพบว่ามีความแตกต่างกันมากทั้งขนาดลำตัว, ลวดลาย และสีสัน โดยใช้การแยกแยะสัดส่วนของกะโหลก และสัดส่วนของกระดองหลัง โดยรวมแล้วตะพาบม่านลายอินเดียมีขนาดเล็กกว่าตะพาบม่านลายไทย และมีสีคล้ำอมเขียวกว่า ตะพาบม่านลายอินเดีย กระจายพันธุ์ในแม่น้ำสายหลักหลายประเทศในเอเชียใต้ เช่น อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล อาทิ แม่น้ำคงคา, แม่น้ำสินธุ, แม่น้ำมหานที เป็นต้น เป็นตะพาบอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง มีราคาซื้อขายที่สูง ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะเลี้ยงได้แล้วในที่เลี้ยง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตะพาบม่านลายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตะกวดเหลือง

ตะกวดเหลือง (Yellow monitor) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์เหี้ย (Varanidae) ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายสัตว์ในวงศ์นี้ทั่วไป แต่มีนิ้วเท้าที่สั้น และพื้นลำตัวสีเหลือง อีกทั้งมีพฤติกรรรมไม่ชอบอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำหรือที่ชื้นแฉะเหมือนเหี้ย (V. salvator) โดยจะอยู่เฉพาะที่แห้งแล้งหรือพื้นทราย มีขนาดประมาณ 70-100 เซนติเมตร วางไข่จำนวน 30 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 149-155 วัน มีรายงานเคยพบในประเทศไทยในภาคใต้และภาคตะวันตกเมื่อนานมาแล้ว สถานภาพปัจจุบันพบมากใน อินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ และปากีสถาน ยังมีชื่อเรียกอื่น อีก เช่น "แลนดอน" เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตะกวดเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ตะโขงอินเดีย

ตะโขงอินเดีย หรือ กาเรียล (Gharial, Indian gavial, Gavial; ฮินดี: घऱियाल; มราฐี: सुसर Susar) เป็นสมาชิกเพียงไม่กี่ชนิดที่เหลืออยู่ของวงศ์ตะโขง (Gavialidae) ซึ่งเป็นกลุ่มของจระเข้ที่มีปากแหลมเรียวยาว ตะโขงอินเดียได้รับการจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกคุกคามอยู่ในขั้นวิกฤตโดย IUCNChoudhury, B.C., Singh, L.A.K., Rao, R.J., Basu, D., Sharma, R.K., Hussain, S.A., Andrews, H.V., Whitaker, N., Whitaker, R., Lenin, J., Maskey, T., Cadi, A., Rashid, S.M.A., Choudhury, A.A., Dahal, B., Win Ko Ko, U., Thorbjarnarson, J & Ross, J.P. (2007) Gavialis gangeticus. In: IUCN 2010.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและตะโขงอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประมุขแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 จากนั้นในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 บริษัท การบินไทย จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสคืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามมติคณะรัฐมนตรี และในที่สุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทย ซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศ ก็รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประวัติการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ทิเบต

ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประวัติศาสตร์ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประหยัด ไพทีกุล

ประหยัด ไพทีกุล (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2455---24 ตุลาคม พ.ศ. 2530) เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา อดีตหัวหน้าแผนกอาณาบาลกรมชลประทาน เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประหยัด ไพทีกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามในเอเชียนเกมส์ 1954

ประเทศเวียดนาม ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1954 ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ในระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) โดยหลังจากจบการแข่งขัน ทีมชาติเวียดนาม ไม่สามารถคว้าเหรียญได้เลย และอยู่ในอันดับที่ 13 ของการแข่งขันในครั้งนี้ ร่วมกับอีก 5 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา ประเทศเนปาล ประเทศมาเลเซีย และ ประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเวียดนามในเอเชียนเกมส์ 1954 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1723

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1723 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1723 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1751

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1751 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1751 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1775

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1775 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1775 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1777

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1777 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1777 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1797

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1797 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1797 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1813

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1813 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1813 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1816

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1816 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1816 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1829

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1829 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1829 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1881

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1881 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1881 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1911

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1911 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1920

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1920 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1920 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1944

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1944 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1944 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1947

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1947 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1947 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1954

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1954 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1954 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1955

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1955 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1955 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1958

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1958 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1958 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1959

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1959 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1959 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1960 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1962

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1962 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1962 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1966

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1966 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1966 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1970

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1970 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1970 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1971

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1971 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1972 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1974

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1974 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1974 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1978

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1974 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1980

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1981

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1981 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1981 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1982

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1982 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1982 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1986

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1986 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1986 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1990

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1990 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1991

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1991 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1991 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1994 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1998 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1999

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1999 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2001

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2001 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2001 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2002 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2005

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2005 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2005 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลในเอเชียนเกมส์ 2014

ประเทศเนปาล เข้าร่วมแข่งขันกีฬากีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลในเอเชียนเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลในเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 2017

ประเทศเนปาล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว ครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและประเทศเนปาลในเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ปรงเขา

ปรงเขา หรือปรงอัสสัม (ชื่อสามัญ: Assam cycas; ภาษาอัสสัม:nagphal; ภาษามณีปุรี: yendang)เป็นพืชชนิดที่สี่ในสกุลปรงที่ได้รับการตั้งชื่อ ตั้งชื่อเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปรงเขา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนสจวร์ต

ปลาช่อนสจวร์ต (Stewart's snakehead, Assamese snakehead, golden snakehead) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) ปลาช่อนสจวร์ตเป็นปลาช่อนในกลุ่มปลาช่อนเล็กหรือปลาช่อนแคระอีกชนิดหนึ่ง โตได้เต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำพรหมบุตรในอินเดียและบังกลาเทศ, แถบตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยในอินเดียและเนปาล และลุ่มน้ำที่มาจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเนปาล ปลาช่อนสจวร์ตเป็นปลาช่อนอีกชนิดหนึ่งที่มีสีสันสวยงามมาก จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและถูกนำเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยหลายครั้ง เป็นปลาช่อนที่มีสีสันแตกต่างหลากหลายกันมากเนื่องจากมีถิ่นฐานการแพร่กระจายพันธุ์กว้างขวาง และยังมีอีกหลายแหล่งที่มีปลาที่มีความแตกต่างกันชัดเจน แต่ทว่ายังมิได้มีการบรรยายทางวิทยาศาสตร์ จึงมีการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์อย่างไม่เป็นทางการ แต่เป็นชื่อทางการค้าอย่างหลากหลาย แตกต่างกันออกไปตามลักษณะของปลา เช่น Channa cf.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปลาช่อนสจวร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโห้อินเดีย

ปลากระโห้อินเดีย หรือ ปลากระโห้เทศ หรือ ปลากระโห้สาละวิน (Calta, Indian carp; কাতল) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลากระโห้ (Catlocarpio siamensis) ที่พบได้เฉพาะในประเทศไทย เว้นแต่ปลากระโห้อินเดียมีหนวด 1 คู่ เหนือริมฝีปาก นัยน์ตาพองโตกว่าและมีฟันที่ลำคอสองแถว สีลำตัวก็อ่อนกว่าอย่างเห็นได้ชัด จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Gibelion ขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ 182 เซนติเมตร น้ำหนัก 38.6 กิโลกรัม ซึ่งเล็กกว่าปลากระโห้มาก พบได้ในภูมิภาคเอเชียใต้ตอนบน เช่น รัฐอัสสัมในอินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, บังกลาเทศ จนถึงพม่า ปลากระโห้อินเดียได้ถูกนำเข้าสู่ประเทศไทยเช่นเดียวกับ ปลานวลจันทร์เทศ (Cirrhinus cirrhosus) และปลายี่สกเทศ (Labeo rohita) เนื่องจากเป็นปลาที่พบในแหล่งเดียวกัน เพื่อพัฒนาให้เป็นปลาเศรษฐกิจต่อไปในอนาคต แต่ปรากฏว่าผลการเพาะเลี้ยงนั้น ปลากระโห้อินเดียกระทำได้ยากกว่าปลาอีก 2 ชนิดนั้น จึงเป็นที่นิยมและหายากได้ยากกว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปลากระโห้อินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูโยโย่

ปลาหมูโยโย่ หรือ ปลาหมูปากีสถาน (Pakistani loach, Reticulate loach) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) มีรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวแบนข้าง หัวรูปทรงกรวย จะงอยปากแหลม ครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัว ครีบหางเป็นแฉกลึก ลำตัวสีเหลืองอมส้มมีลายดำ ครีบหลังและครีบหางมีลายดำพาดขวาง ครีบอื่น ๆ ไม่มีสี มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 18 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศปากีสถาน, อินเดีย และเนปาล กินสัตว์น้ำขนาดเล็กและแมลงน้ำต่าง ๆ บริเวณพื้นน้ำเป็นอาหาร เป็นปลาหมูอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปลาหมูโยโย่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่ใหญ่

ปลาซิวใบไผ่ใหญ่ (Giant danio) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวแบนข้าง นัยน์ตากลมโต ปากเฉียงขึ้น ครีบหลังมีฐานยาวอยู่หน้าครีบก้น มีก้านครีบแขนง 14-15 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 15-17 ก้าน ครีบหางเว้าไม่ลึกมากนัก มีเส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ มีสีพื้นลำตัวสีเหลืองจาง ๆ มีแถบสีฟ้าพาดยาวตามลำตัวและลายสีเหลือง 2-3 ลายทับอยู่บนแถบสีฟ้า ก้านครีบหางบางส่วนมีแถบสีดำ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 12.5 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อินเดีย, เนปาล จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำตกหรือลำธารที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน, นครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปลาซิวใบไผ่ใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้ยักษ์

ปลาแค้ยักษ์ (Goonch) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปลาแค้ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้ติดหินสามแถบ

ปลาแค้ติดหินสามแถบ (Three line hill-stream catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) เป็นปลาแค้ติดหินชนิดหนึ่งที่มีลำตัวเพรียวยาว ครีบหางเว้าลึก ลำตัวสีน้ำตาลหรือคล้ำอมเหลือง มีแถบสีเหลืองสดพาดลำตัวตามแนวยาวตรงกลางหลังและด้านข้างไปถึงโคนครีบ ครีบสีเหลืองและมีแต้มสีคล้ำ มีขนาดประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 30 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่เฉพาะลำธารและน้ำตกในระบบแม่น้ำสาละวินเท่านั้น และมีรายงานพบที่จีน, อินเดียและเนปาลด้วย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นกลุ่ม โดยจะหันหน้าสู้กับกระแสน้ำ อาหารได้แก่ แมลงน้ำและลูกปลา ลูกกุ้งขนาดเล็ก เป็นปลาที่ไม่พบบ่อยมากนัก แต่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ที่บางครั้งพบมีขายในตลาดปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกว่า "ฉลามทอง" ปลาแค้ติดหินสามแถบ มีชื่อเรียกในภาษาเหนือว่า "ก๊องแก๊ง".

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปลาแค้ติดหินสามแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ปศุปตินาถมนเทียร

ปศุปตินาถมนเทียร ปศุปตินาถมนเทียร (पशुपतिनाथ मन्दिर) เป็นโบสถ์พราหมณ์ในประเทศเนปาล สร้างถวายพระปศุบดี ซึ่งเป็นเทพเจ้าประจำชาติเนปาล เทวสถานนี้ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำพาคมตีทางด้านตะวันออกของกรุงกาฐมาณฑุ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของหุบเขากาฐมาณฑุราว 5 กิโลเมตร ชาวฮินดูถือว่าเทวสถานแห่งนี้เป็นเทวสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดแห่งหนึ่ง ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี 1979 มีเทศกาลสำคัญคือมหาศิวราตรี ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกว่า 700,000 คน ในแต่ละปี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปศุปตินาถมนเทียร · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจรักษา

ปัญจรักษา เป็นเทพผู้พิทักษ์ 5 องค์ตามความเขื่อของชาวเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปัญจรักษา · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจายตีราช

ปัญจายตีราช (पंचायती राज; panchayati raj) เป็นระบบการเมืองเอเชียใต้ ซึ่งส่วนใหญ่พบในอินเดีย ปากีสถาน และเนปาล "ปัญจายตี" มีความหมายตามตัวอักษรว่า ที่ประชุม (อยต) ซึ่งประกอบด้วยผู้อาวุโสที่มีสติปัญญาและได้รับความเคารพนับถือจำนวนห้าคน (ปญฺจ) ที่เลือกและได้รับการยอมรับโดยชุมชนหมู่บ้าน แต่เดิมแล้ว ที่ประชุมนี้มีหน้าที่ตัดสินข้อพิพาทระหว่างบุคคลกับหมู่บ้าน รัฐบาลอินเดียสมัยใหม่มีกลไกบริหารแบบกระจายอำนาจจำนวนมากไปถึงระดับหมู่บ้าน โดยให้อำนาจปัญจายตีหมู่บ้านที่ได้รับเลือกเข้ามา ปัญจายตีราชเป็นระบบการปกครองโดยมีปัญจายตีหมู่บ้านเป็นหน่วยพื้นฐานของการบริหาร แบ่งออกได้เป็นสามระดับ ได้แก่ หมู่บ้าน เขต (block) และอำเภอ คำว่า "ปัญจายตี" เป็นคำที่ค่อนข้างใหม่ เพิ่งจะถือกำเนิดขึ้นระหว่างการปกครองของอังกฤษ "ราช" ตามตัวอักษรหมายถึงการปกครองหรือรัฐบาล มหาตมา คานธีสนับสนุนปัญจายตี อันเป็นรูปแบบกระจายอำนาจของรัฐบาลซึ่งหมู่บ้านแต่ละแห่งรับผิดชอบต่อกิจการของตนเอง ดังที่เป็นรากฐานของระบบการเมืองอินเดีย ปัญจายตีได้รับการยอมรับโดยรัฐบาลรัฐในช่วงคริสต์ศตวรรษ 1950 และ 1960 เมื่อมีการผ่านกฎหมายสถาปนาปัญจายตีในหลายรัฐ นอกจากนี้ยังพบการสนับสนุนในรัฐธรรมนูญอินเดีย ด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญครั้งที่ 73 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปัญจายตีราช · ดูเพิ่มเติม »

ปาฏัน

ปาฏัน (पाटन Pātan) หรือ ยละ (यल Yala) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กิ่งมหานครลลิตปุระ (ललितपुर उपमहानगरपालिका) เป็นหนึ่งในเมืองหลักของประเทศเนปาล ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของหุบเขากาฐมาณฑุ ปาฏันถือเป็นนครที่รุ่มรวยด้วยมรดกด้วยศิลปะและวัฒนธรรมเป็นที่สุด จากการสำรวจสำมะโนครัวประชากรเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปาฏัน · ดูเพิ่มเติม »

ปาดบ้าน

ปาดบ้าน เป็นปาดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปาดโลกเก่า (Rhacophoridae) มีความสามารถปรับเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยทั้งขาว, เหลือง, เทา, ชมพู, น้ำตาล จนถึงน้ำตาลเข้มออกดำ ปลายนิ้วทั้งหมดเป็นปุ่มกลม มีแผ่นยึดเป็นพังผืดระหว่างนิ้วเฉพาะขาหลังเท่านั้น ตีนเหนียวสามารถเกาะติดกับผนังได้ บริเวณด้านหลังระหว่างลูกตาผิวหนังจะแบนราบจนติดกับกะโหลก และมีลายเข้มคล้ายนาฬิกาทรายอยู่บนท้ายทอยพาดมาจนถึงหัวไหล่ พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย ตั้งแต่บังกลาเทศ, บรูไน, กัมพูชา, จีน, อินเดีย, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, เมียนมาร์, เนปาล, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, ไทย, เวียดนาม และเป็นไปได้ว่าอาจมีที่ภูฏานด้วย อีกทั้งมีการนำเข้าไปในญี่ปุ่น สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค ปาดบ้าน มีความสามารถปรับตัวได้ดีให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งที่เป็นสภาพในธรรมชาติ เช่น ป่าดิบทึบ, หนองน้ำ, ทุ่งหญ้า หรือแม้กระทั่งสภาพแวดล้อมแบบในเมือง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปาดบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ สกิลลิง

ร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและปีเตอร์ สกิลลิง · ดูเพิ่มเติม »

นพรัตน์

รินพรัตนมหาราชินี จัดประดับอย่างถูกหลักสุริยจักรวาล นพรัตน์ ความหมายตามภาษาสันสกฤตหมายถึง "9 รัตนแห่งสิริมงคล".

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง

นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง (Yellow-bellied Prinia) เป็นนกขนาดเล็กในวงศ์นกยอดข้าวและนกกระจิบหญ้า พบในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระจายพันธุ์ในประเทศบรูไน, กัมพูชา, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศอินเดีย, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, เนปาล, ปากีสถาน, สิงคโปร์, ไต้หวัน, ไทย, และเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกกระจิบหญ้าท้องเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียนไทย

thumb thumb นกกระเรียนไทย หรือ นกกระเรียน (sarus crane) เป็นนกขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่นกอพยพ พบในบางพื้นที่ของอนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศออสเตรเลีย เป็นนกบินได้ที่สูงที่สุดในโลก เมื่อยืนจะสูงถึง 1.8 เมตร สังเกตเห็นได้ง่าย ในพื้นที่ชุ่มน้ำเปิดโล่ง นกกระเรียนไทยแตกต่างจากนกกระเรียนอื่นในพื้นที่เพราะมีสีเทาทั้งตัวและมีสีแดงที่หัวและบริเวณคอด้านบน หากินในที่ลุ่มมีน้ำขังบริเวณน้ำตื้น กินราก หัว แมลง สัตว์น้ำ และสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร นกกระเรียนไทยเหมือนกับนกกระเรียนอื่นที่มักมีคู่ตัวเดียวตลอดชีวิต นกกระเรียนจะปกป้องอาณาเขตและเกี้ยวพาราสีโดยการกางปีก ส่งเสียงร้อง กระโดดซึ่งดูคล้ายกับการเต้นรำ ในประเทศอินเดียนกกระเรียนเป็นสัญลักษณ์ของความซื่อสัตย์ในชีวิตแต่งงาน เชื่อกันว่าเมื่อคู่ตาย นกอีกตัวจะเศร้าโศกจนตรอมใจตายตาม ฤดูผสมพันธุ์หลักอยู่ในฤดูฝน คู่นกจะสร้างรังเป็น "เกาะ" รูปวงกลมจากกก อ้อ และพงหญ้า มีเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบสองเมตรและสูงเพียงพอที่จะอยู่เหนือจากน้ำรอบรัง นกกระเรียนไทยกำลังลดลงอย่างรวดเร็วในคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา คาดกันว่าประชากรมีเพียง 10 หรือน้อยกว่า (ประมาณร้อยละ 2.5) ของจำนวนที่มีอยู่ในคริสต์ทศวรรษ 1850 ประเทศอินเดียคือแหล่งที่มั่นของนกชนิดนี้ ที่ซึ่งนกเป็นที่เคารพและอาศัยอยู่ในพื้นที่การเกษตรใกล้กับมนุษย์ นกกระเรียนนั้นสูญหายไปจากพื้นที่การกระจายพันธุ์ในหลาย ๆ พื้นที่ในอดีต.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกกระเรียนไทย · ดูเพิ่มเติม »

นกกะปูดใหญ่

นกกะปูดใหญ่ หรือ นกกดเพลิง birds of Thailand (Greater coucal, Crow pheasant) เป็นนกขนาดใหญ่ในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) แต่ไม่ใช่นกปรสิต เป็นนกประจำถิ่นที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในเอเชีย จากประเทศอินเดียไปทางตะวันออกถึงจีนและลงไปทางใต้ถึงอินโดนีเซีย แบ่งออกเป็นหลายชนิดย่อย นกกะปูดใหญ่มีขนาดใหญ่คล้ายอีกา มีหางยาว และมีปีกสีน้ำตาลทองแดง พบในแหล่งที่อยู่อาศัยหลากหลายจากป่าถึงพื้นเพาะปลูก และสวนในเมืองใหญ่ เป็นนกมักมีพฤติกรรมปีนป่ายตามพุ่มไม้หรือเดินอยู่ตามพื้นดินเพื่อหาแมลง ไข่ หรือลูกนกชนิดอื่นกินเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกกะปูดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นกกาเหว่า

นกกาเหว่า หรือ นกดุเหว่า (Asian koel) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) พบในเอเชียใต้ จีน เอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศไทย เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นนกปรสิตที่วางไข่ให้กาและนกอื่น ๆ เลี้ยง เป็นนกจำพวกคัคคูที่ไม่เหมือนพันธุ์อื่น ๆ เพราะโดยมากกินผลไม้ (frugivore) เมื่อเติบใหญ่ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ชื่อว่า "กาเหว่า" และชื่ออื่น ๆ อีกหลายภาษารวมทั้งชื่ออังกฤษว่า "koel" เป็นชื่อเลียนเสียงนก เป็นนกที่ใช้เป็นสัญลักษณ์อย่างมากมายในวรรณกรรมอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกกาเหว่า · ดูเพิ่มเติม »

นกกินปลีหางยาวเขียว

นกกินปลีหางยาวเขียว (Green-tailed sunbird) เป็นนกในวงศ์นกกินปลี (Nectariniidae) พบในประเทศบังกลาเทศ, ภูฏาน, จีน, อินเดีย, ลาว, พม่า, เนปาล, ไทย, และ เวียดนาม อาศัยในป่าเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนและป่าเมฆ นกเพศผู้ หัวและหางเป็นสีเขียวเหลือบ หลังแดง อกและท้องเป็นสีเหลือง มีแถบแดงที่อก หางยาว ชนิดย่อย australis ไม่มีแถบที่อก เพศเมียขนส่วนบนสีเขียว ส่วนล่างสีเหลือง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกกินปลีหางยาวเขียว · ดูเพิ่มเติม »

นกศิวะหางสีตาล

นกศิวะหางสีตาล หรือ นกศิวะหางตาล (Bar-throated minla, Chestnut-tailed minla) เป็นนกในวงศ์นกกะรางและนกหางรำ (Leiothrichidae) พบในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกศิวะหางสีตาล · ดูเพิ่มเติม »

นกหัวขวานด่างแคระ

นกหัวขวานด่างแคระ (Grey-capped pygmy woodpecker, Grey-capped woodpecker) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกหัวขวาน (Picidae) มีความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ด้านบนลำตัวสีดำมีแถบเป็นจุดสีขาว ด้านล่างลำตัวสีขาวลายดำ ด้านบนหัวสีเทา มีแถบสีดำคาดเหนือตา ตัวผู้มีแถบสีแดงเล็ก ๆ เหนือคิ้ว ซึ่งบางครั้งมองเห็นได้ยากมาก ไม่มีหงอน มีพฤติกรรมเวลาบินจะใช้กระพือบินสลับกับการร่อนกันไป ขณะบินจะส่งเสียงร้องดัง เวลาหากินจะใช้ปากเจาะเข้าไปในต้นไม้ทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่และตายแล้ว พร้อมกับใช้ลิ้นที่ยาวซึ่งมีน้ำลายเหนียวและหนามแหลมยื่นยาวออกไปแมลงและหนอน กินเป็นอาหาร วางไข่ครั้งละ 2-3 ฟอง มีพฤติกรรมหากินร่วมกับนกขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ เช่น นกไต่ไม้, นกเฉี่ยวดง เรียกว่า "เบิร์ดเวฟ" นกหัวขวานด่างแคระเป็นนกที่พบได้ในป่าทุกประเภท ตั้งแต่ที่ราบไปจนถึงระดับความสูงจากน้ำทะเล 1,830 เมตร โดยเฉพาะป่าโปร่ง พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ภูฐาน, บังกลาเทศ, อินเดีย, เนปาล, บรูไน, กัมพูชา, อินโดนีเซีย, จีน, เกาหลี, รัสเซีย, เกาะไต้หวัน และเวียดนาม สำหรับในประเทศไทยจัดเป็นนกประจำถิ่น พบทั่วทุกภาค ยกเว้นภาคกลาง จึงสามารถแบ่งออกเป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้มากถึง 15 ชนิด (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทย นกที่พบทางภาคใต้จัดเป็นชนิดย่อย D. c. auritus ซึ่งมีสีเข้มกว่าชนิดย่อยหลัก D. c. canicapillus ที่พบได้ทั่วไปเล็กน้อย และขนหางคู่กลางมีลายจุดจางกว่ามาก ส่วนทางภาคตะวันออกจะสามารถพบชนิดย่อย D. c. delacouri ซึ่งมีสีจางและลายขีดที่อกไม่ชัดเจนเท่าอีก 2 ชนิดย่อยนั้น และตามกฎหมายจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกหัวขวานด่างแคระ · ดูเพิ่มเติม »

นกอีเสือหลังเทา

นกอีเสือหลังเทา (Grey-backed shrike) เป็นนกในวงศ์นกอีเสือ (Laniidae) พบในประเทศบังกลาเทศ, ภูฏาน, กัมพูชา, จีน, อินเดีย, ลาว, พม่า, เนปาล, ปากีสถาน, รัสเซีย, ไทย, และเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกอีเสือหลังเทา · ดูเพิ่มเติม »

นกขุนทอง

แสดงให้เห็นถึงหัวของนกขุนทองชนิดย่อยต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันที่เหนียง นกขุนทอง หรือ นกเอี้ยงคำ (คำเมือง) เป็นนกในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วไปในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีความสามารถเลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกแก้ว จึงนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกันสูง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกขุนทอง · ดูเพิ่มเติม »

นกต้อยตีวิด

นกต้อยตีวิด หรือ นกกระต้อยตีวิด หรือ นกกระแตแต้แว้ด หรือ นกแต้แว้ด (red-wattled lapwing) เป็นนกที่สีสวยน่าดู พบได้ตามพื้นที่โล่งเกือบทุกสภาพทั่วประเทศ อยู่ในวงศ์นกหัวโต (Charadriidae) วงศ์ย่อย Vanellinae หรือ Charadriinae มีเสียงร้องเตือนภัยแหลมดังที่ไม่เหมือนใครว่า "แตแต้แวด" หรือตามคนพูดภาษาอังกฤษว่า did he do it หรือ pity to do it ทำให้มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามเสียงร้องทั้งภาษาไทยและภาษาอื่น ๆ เป็นนกที่มักจะเห็นเป็นคู่ ๆ หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ แต่อาจจะอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ในฤดูหนาวที่ไม่ใช่ฤดูผสมพันธุ์ ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซาก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกต้อยตีวิด · ดูเพิ่มเติม »

นกปรอดหัวโขน

นกปรอดหัวโขน หรือ นกปรอดหัวจุก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นกกรงหัวจุก (อังกฤษ: Red-whiskered bulbul; พายัพ: นกปิ๊ดจะลิว) เป็นนกที่อยู่ในวงศ์นกปรอด (Pycnonotidae) ซึ่งอยู่ด้วยกันทั้งหมด 109 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบได้ 36 ชนิด นกปรอดหัวโขนเป็นนกขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร ที่มีสีสันสวยงามและเสียงร้องไพเราะ ที่แก้มและคอจนถึงหน้าอกจะมีสีขาวและมีสีแดงเป็นเส้นอยู่ข้างหูลงมาถึงหน้าอกเหมือนเป็นเส้นแบ่งขนสีขาวกับสีดำที่มีอยู่ทั่วทั้งตัวขนส่วนหัวจะร่วมกัน เป็นเหมือนหน่อตั้งอยู่บนหัวสูงขึ้นไปเหมือนหัวโขน อันเป็นที่มาของชื่อ ใต้ท้องมีขนสีขาว พบกระจายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเอเชียตะวันออก พบได้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ตั้งแต่ยอดเขาสูง ป่าที่ราบต่ำ จนถึงทุ่งหญ้า ชายป่า และเขตที่ใกล้กับชุมนุมมนุษย์ มีชนิดย่อยทั้งหมด 9 ชนิด ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกปรอดหัวโขน · ดูเพิ่มเติม »

นกปากห่าง

thumb นกปากห่าง จัดอยู่ในวงศ์นกกระสา (Ciconiidae) จัดเป็นนกในวงศ์นี้ขนาดเล็ก แต่จุดเด่นที่ไม่เหมือนใครก็คือปากที่ยามหุบจะเหลือช่องตรงกลาง ทำให้มันคาบเปลือกหอยโข่งและหอยเชอรี่ที่ทั้งกลมทั้งลื่นได้อย่างช่ำชอง เมื่อจับหอยได้แล้วมันจะคาบไปหาทำเลเหมาะ ๆ เพื่อใช้จะงอยปากทำหน้าที่เหมือนแหนบจิกเนื้อหอยออกมากิน thumb thumb thumb.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกปากห่าง · ดูเพิ่มเติม »

นกแก๊ก

นกแก๊ก หรือ นกแกง (Oriental pied hornbill) เป็นนกในวงศ์นกเงือก พบใน ประเทศบังกลาเทศ, ประเทศภูฏาน, ประเทศบรูไน, ประเทศกัมพูชา, ประเทศจีน, ประเทศอินเดีย, ประเทศอินโดนีเซีย, ประเทศลาว, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศพม่า, ประเทศเนปาล, ประเทศสิงคโปร์, ประเทศไทย, และประเทศเวียดนาม มีถิ่นอาศัยในป่าดิบเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน ปกติกินผลไม้จำพวกเงาะเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกแก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก

นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก (Lesser Racket-tailed Drongo) เป็นนกที่พบได้ในป่าดงดิบ ที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 800 เมตร ขึ้นไป ของเขตเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศบังคลาเทศ ภูฏาน กัมพูชา อินเดีย ลาว มาเลเซีย เนปาล เวียดนาม พม่า ในประเทศไทยพบได้ในภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซากด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกแซงแซวหางบ่วงเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าแคระ

นกเค้าแคระ (Collared owlet, Collared pygmy owl) เป็นนกเค้าแมวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Strigidae สามารถพบได้ในอัฟกานิสถาน, บังกลาเทศ, ภูฏาน, บรูไน, กัมพูชา, จีน, อินเดีย, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, เนปาล, ปากีสถาน, ไต้หวัน, ไทย และเวียดนาม ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ คือ ป่าหนาว และจัดได้ว่าเป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดเล็กที่สุดที่พบในทวีปเอเชีย ที่ขนาด 15 เซนติเมตร (6 นิ้ว) น้ำหนัก 60 กรัม (2.1 ออนซ์) โดยจะพบบ่อยที่สุดในบริเวณป่าดิบชื้น ตั้งแต่พื้นราบไปจนถึงระดับความสูง 3,050 เมตร จากระดับน้ำทะเล ในประเทศไทยจะพบบ่อยขึ้นที่ระดับสูงเกิน 600 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป บริเวณภาคใต้และคาบสมุทรมลายู จะพบได้บ่อยมากในระดับสูง 395 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) นกเค้าแคระจัดเป็นนกเค้าแมวที่บินได้ไม่เงียบเหมือนนกเค้าแมวหรือนกแสกส่วนมาก และยังเป็นนกที่หากินในเวลากลางวัน มีรูปร่างอ้วนกลม มีขนหนานุ่มปกคลุมอย่างหนาแน่น มีสีและลวดลายที่กลมกลืนไปกับต้นไม้ บริเวณคอก็มีขนอยู่อย่างหนาแน่นทำให้ดูเหมือนหัวอยู่ติดกับตัวโดยไม่มีคอ และมีหัวที่กลมโต หน้าแบน ตากลมโตสีเหลืองอยู่ด้านหน้าของใบหน้า ปากสั้นและปากบนโค้งงุ้มแหลมลง มีขนเส้นเล็ก ๆ คล้ายหนวดแมวอยู่รอบ ๆ โคนปากทำหน้าที่เป็นเครื่องนำทาง มีปีกกว้างแต่ปลายปีกมน ขนหางยาวกว่านกเค้าแม้วชนิดอื่น ๆ มีขาสั้นแต่เข็งแรงสีเหลืองนิ้วเท้าค่อนข้างใหญ่และแข็งแรง มีนิ้วตีน 4 นิ้วเวลาเกาะกิ่งจะอยู่ด้านหน้า 2 ด้านหลัง 2 นิ้ว เล็บสีดำ ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน จับอาหารจำพวกสัตว์ต่าง ๆ ขนาดเล็ก เช่น กิ้งก่า, หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก, จักจั่น, ด้วง และตั๊กแตน รวมถึงนกด้วยกันชนิดอื่นที่มีขนาดเล็ก เมื่อจะล่านก นกเค้าแคระมักจะซ่อนตัวตามพุ่มไม้ ไม่เช่นนั้นแล้วจะถูกฝูงนกเล็ก ๆ เหล่านี้ไล่จิกตี แต่นกเค้าแคระก็สามารถจับเหยื่อที่มีขนาดตัวพอ ๆ กันหรือโตกว่าเล็กน้อยได้ด้วยกรงเล็บที่แข็งแรง หากจะหากินในเวลากลางคืน มักจะเป็นในคืนวันเพ็ญ ทำรังวางไข่ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม โดยใช้โพรงไม้ธรรมชาติ หรือรังของนกอื่นที่ทำรังในโพรงไม้เหมือนกัน โดยโพรงอาจเป็นรังเก่า หรืออาจมาจากการแย่งชิงมาก็ได้ ในบางครั้งอาจเป็นการฆ่ากินและปล้นชิงจากนกตัวอื่นเลยก็ได้ โพรงรังที่เลือกมักอยู่สูงจากพื้นราว 2-10 เมตร วางไข่ครั้งละ 3-5 ฟอง ลูกนกจะออกจากไข่ในช่วงต้นฤดูฝนที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์พอดีซึ่งจะเป็นผลดีต่อการรอดชีวิตของลูกนก เนื่องจากแม่นกจะกกไข่ตั้งแต่ออกไข่ฟองแรกทันที ในขณะเดียวกันก็จะออกไข่ใบอื่น ๆ ไปด้วย ดังนั้นในแต่ละรังลูกนกเค้าแคระจะมีอายุต่างกันพอสมควร ถ้าอาหารมีไม่พอเพียง ตัวที่ออกมาทีหลังตัวเล็กกว่าก็จะแย่งอาหารตัวอื่น ๆ ไม่ทันและตายไปในที่สุด จัดเป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนกเค้าแคระ · ดูเพิ่มเติม »

นากใหญ่ขนเรียบ

นากใหญ่ขนเรียบ (smooth-coated otter) เป็นนากชนิดหนึ่ง จัดเป็นนากชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก มีลักษณะแตกต่างไปจากนากใหญ่ธรรมดา (Lutra lutra) และ นากจมูกขน (L. sumatrana) คือ มีหัวกลม แนวขนบนจมูกเป็นรูปตัววีคว่ำ ขนสั้น หูมีขนาดเล็กและมีลิ้นปิดหูเวลาว่ายน้ำเพื่อมิให้น้ำเข้าหู ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลปนสีดำหรือสีน้ำตาลอ่อน บริเวณท้องมีสีอ่อนกว่าบริเวณหลัง หางแบน และมีความยาวประมาณร้อยละ 60 ของลำตัว อุ้งเท้าและนิ้วเท้ามีขนาดใหญ่ มีความยาวลำตัวและหัว 65–75 เซนติเมตร ความยาวหาง 40–45 เซนติเมตร น้ำหนักเต็มที่ 7–11 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่เนปาล, อินเดีย, ภาคตะวันตกของมณฑลยูนาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนามตอนใต้, มาเลเซีย และเกาะสุมาตรา มีพฤติกรรมอาศัยตามพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นที่ลุ่มต่ำ เช่น ริมทะเลสาบ ลำธาร คลอง ใช้หนวดเป็นประสาทสัมผัสในการรับรู้ เช่นเดียวกับนากชนิดอื่น ๆ โดยใช้หนวดทำหน้าที่รับแรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตใต้น้ำ กินอาหารได้หลากหลายประเภท ทั้ง สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ รวมทั้งนกหรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก เช่น หนู ด้วย ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน มักอยู่รวมกันเป็นครอบครัวเล็ก ๆ ยกเว้นในสถานที่ที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์อาจอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ มีเท้าและเล็บแข็งแรงจึงสามารถขุดรูริมตลิ่งได้ลึกถึง 3 เมตร เพื่อใช้การเลี้ยงดูลูกอ่อน ลูกนากที่เกิดใหม่จะลืมตาภายในเวลา 10 วัน และออกหากินได้เองเมื่ออายุได้ 3 เดือน สำหรับในประเทศไทย พบได้ทั่วทุกภาค โดยพบได้แม้กระทั่งในเมืองใหญ่ ๆ เช่น เมืองหลวงอย่าง กรุงเทพมหานคร ในแถบป่าชายเลน ในเขตบางขุนเทียน ฝั่งธนบุรี รวมถึงบริเวณพื้นที่พุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นเขตปริมณฑลกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้แล้วในประเทศสิงคโปร์ แถบหน้ามารีนาเบย์แซนส์ โรงแรมขนาดใหญ่ที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อนที่เป็นที่รู้จักดี ก็มีฝูงนากใหญ่ขนเรียบอาศัยอยู่ร่วมกับมนุษย์อย่างสง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนากใหญ่ขนเรียบ · ดูเพิ่มเติม »

นากเล็กเล็บสั้น

นากเล็กเล็บสั้น (oriental small-clawed otter, Asian small-clawed otter) เป็นนากขนาดเล็กที่สุดในโลก ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ขนตามลำตัวมีสีเทาเข้มหรือสีน้ำตาล แต่สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่า แต่สามารถเปลี่ยนสีขนได้ตามฤดูกาล ลักษณะเด่นคือ พังผืดบริเวณนิ้วตีนจะมีขนาดเล็กลง ช่วยให้นิ้วเคลื่อนไหวได้คล่องตัวมากขึ้น ใต้คอมีสีขาว มีจมูกที่สั้นมากกว่านากชนิดอื่น ๆ ตัวที่ยังไม่โตเต็มวัยจะมีจมูกยาว และโค้งกว่า เมื่ออายุได้ 5 สัปดาห์จมูกก็จะหดสั้นลง มีความยาวลำตัวและหางประมาณ 45-55 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-35 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางทั้งในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชีย ในทวีปเอเชียพบตั้งแต่ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวและเกาะชวา (แบ่งเป็น 3 ชนิดย่อย ดูในตาราง) นากเล็กเล็บสั้นมีความสามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ลำธารขนาดเล็ก, ป่าชายเลน, ริมทะเลสาบ, ห้วย, หนอง, คลอง, บึง หรือแม้แต่ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นเขตเกษตรกรรมของมนุษย์ เช่น ตามท้องร่องสวนต่าง ๆ อาหารหลักได้แก่ สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ แต่ชอบกินปูมากที่สุด มักอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ นากเล็กเล็บสั้นไม่ได้ใช้หนวดเป็นประสาทสัมผัสในการรับรู้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ เพราะมีประสาทสัมผัสอยู่ที่ขาหน้า ออกลูกตามโพรงไม้หรือโพรงหินที่มีอยู่แล้ว เพราะขาหน้าไม่แข็งแรงพอจะขุดโพรงริมตลิ่งได้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ ออกหากินในเวลากลางคืน บางครั้งอาจพบได้ตั้งแต่ช่วงพลบค่ำจนถึงรุ่งเช้า นากเล็กเล็บสั้นหากนำมาเลี้ยงตั้งแต่ยังเล็ก จะเชื่องและสามารถทำตามคำสั่งของมนุษย์ได้ จึงมีการนำมาแสดงโชว์ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เช่น ซาฟารีเวิลด์ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค แม้แต่กระทั่งพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยพบในพื้นที่แถบคลองบางมด เขตทุ่งครุ ฝั่งธนบุรี เป็นนากเล็กเล็บสั้นที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง มีพฤติกรรมขโมยกินปลาของเกษตรกรในพื้นที่ตามท้องร่องสวนในเวลากลางคืน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนากเล็กเล็บสั้น · ดูเพิ่มเติม »

นาธาน โอร์มาน

นาธาน โอร์มาน หรือในบางครั้งอาจเขียนว่า นาธาน โอมานเป็นชื่อที่ใช้ในหนังสืออัตชีวประวัติเรื่อง ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) (อักษรโรมัน: Nathan Oman) มีชื่อจริงว่า สุธัญ โอมานันท์ เคยใช้ชื่อจริงว่า นธัญ โอมานันท์ (ชื่อเกิด: ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล; เกิด: 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลงกับค่ายอาร์เอส 2 ชุดคือ Nathan และ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนาธาน โอร์มาน · ดูเพิ่มเติม »

นางพญาเสือโคร่ง

นางพญาเสือโคร่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus cerasoides กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,, สืบค้นวันที่ 21 ก.ย. 2552, Wild Himalayan Cherry) เป็นพืชดอกในสกุล Prunus ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พบทั่วไปบนภูเขาตั้งแต่ความสูง 1,200-2,400เมตรจากระดับน้ำทะเล เช่น ภูลมโล จังหวัดเลย, ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย, ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่, ขุนสถาน ดอยวาว ดอยภูคา มณีพฤกษ์ จังหวัดน่าน, ภูทับเบิก จังหวัดเพชรบูรณ์, ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ โดยเป็นดอกไม้ประจำอำเภอเวียงแหง นางพญาเสือโคร่ง เป็นพรรณไม้ที่มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ที่ตอนเหนือของประเทศไทย ในต่างประเทศ พบในประเทศพม่า รัฐฉานและรัฐคะฉิ่น, ประเทศอินเดียพบบนเทือกเขาหิมาลัย ในรัฐอรุณาจัลประเทศยาวไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย หรือที่เรียกว่าHimalayas, ประเทศภูฏาน, ประเทศเนปาล และประเทศจีนพบในมณฑลยูนนาน นางพญาเสือโคร่งถูกนิยมเรียกว่า"ซากุระเมืองไทย" เพราะมีลักษณะคล้ายซากุระในประเทศญี่ปุ่น แม้จะเป็นคนละชนิดกันก็ตาม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนางพญาเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2017

นที่จัดประกวดนางงามจักรวาล 2017 นางงามจักรวาล 2017 (Miss Universe 2017) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 66 กำหนดจัดในวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017 ณ ดิแอซิส ภายในพื้นที่แพลเน็ตฮอลลีวูดรีสอร์ทแอนด์คาสิโน ลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรัฐ โดยอีริส มีเตอนาร์ นางงามจักรวาล 2016 ชาวฝรั่งเศส ได้สวมมงกุฎแก่เดมี-ลีห์ เนล-ปีเตอร์ จากแอฟริกาใต้ เป็นผู้ครองตำแหน่งคนใหม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนางงามจักรวาล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2010

นางงามนานาชาติ 2010 (Miss International 2010) จะเป็นการประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 50 จัดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 (ตามเวลาในประเทศไทย) โดยจะจัดขึ้นที่เมืองเฉิงตู ประเทศจีน โดย อนากาเบลล่า เอสปิโนซ่า นางงามนานาชาติ 2009 มอบมงกุฎให้แก่ อลิซเบธ มอสเควร่า สาวงามจากเวเนซุเอลา วัย 19 ปี ครองตำแหน่งนางงามนานาชาติ 2010.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนางงามนานาชาติ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

แพนด้าแดง

แพนด้าแดง (Red panda, Shining cat; 小熊貓; พินอิน: Xiǎo xióngmāo) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ailurus fulgens อยู่ในวงศ์ Ailuridae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดสายพันธุ์อยู่ จึงจัดเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตอยู่ชนิดหนึ่ง และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Ailurus มีรูปร่างหน้าตาคล้ายแรคคูนและกระรอกรวมกัน หัวมีขนาดใหญ่ จมูกแหลม ขาสั้นคล้ายหมี ขนตามลำตัวมีหลากหลาย มีทั้งสีน้ำตาลเข้ม น้ำตาลเหลืองและน้ำตาลแดง ขนบริเวณลำคอยาวและนุ่มฟู หางเป็นพวงยาวคล้ายกับหางของกระรอก มีลายปล้องสีน้ำตาลแดงสลับขาว มีความยาวของลำตัวและหัว 51-64 เซนติเมตร หางยาว 50-63 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 3-4.5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์พบตามแนวเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ภาคเหนือของประเทศอินเดีย, ทิเบต, เนปาล, ภูฏาน, จีน, ภาคเหนือของพม่า และภาคเหนือของประเทศลาวบริเวณที่ติดกับจีน โดยอาศัยอยู่ในป่าที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 1,500-4,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีพฤติกรรมออกหากินตามลำพัง มักหากินบนต้นไม้ กินอาหารเพียงไม่กี่ประเภท โดยกินเฉพาะใบไม้อ่อนเท่านั้น บางครั้งอาจกินไข่นก สัตว์ขนาดเล็กและผลไม้บางชนิดด้วย ใช้เวลาตอนกลางวันในการนอนหลับพักผ่อน แพนด้าแดงตัวผู้จะหวงอาณาเขตมากและมักเคลื่อนย้ายไปเรื่อย ๆ แต่แพนด้าแดงตัวเมียจะอาศัยอยู่ในพื้นที่ครอบครองของตัวเอง บางครั้งตัวผู้อาจเข้ามาหากินภายในอาณาเขตของตัวเมียด้วย โดยทั่วไปอาณาเขตของแพนด้าแดงตัวผู้จะกว้างประมาณ 1.1-9.6 ตารางกิโลเมตร ส่วนอาณาเขตของตัวเมียจะกว้างประมาณ 1.0-1.5 ตารางกิโลเมตร ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยตัวเมียจะยอมให้ตัวผู้ผสมพันธุ์อยู่เพียง 1-3 วันเท่านั้น แม่แพนด้าแดงใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 90-145 วัน และจะออกลูกในโพรงไม้หรือถ้ำเล็ก ๆ ออกลูกครั้งละ 4 ตัว ลูกที่เกิดใหม่จะยังมองไม่เห็น มีสีขนตามลำตัวออกสีเหลืองอ่อน และจะกินนมแม่อยู่นาน 5 เดือน หลังจากนั้นจึงหย่านมและเปลี่ยนมากินใบไผ่แทน เมื่ออายุได้ 2 ปี ก็จะแยกออกไปหากินตามลำพัง มีข้อสังเกตว่า แพนด้าแดงที่อยู่บริเวณภาคเหนือของอินเดียจะมีขนาดเล็กกว่าตัวที่อยู่ค่อนมาทางเอเชียตะวันออก และมีสีที่ใบหน้าซีดจางกว่า ซึ่งเป็นชนิดย่อยที่แยกออกไป สำหรับในประเทศไทย สวนสัตว์พาต้าเคยนำเข้ามาเลี้ยงในสวนสัตว์ครั้งหนึ่ง โดยให้อยู่ในห้องปรับอากาศ ปัจจุบันมีแสดงที่สวนสัตว์ดุสิต และสวนสัตว์เปิดเขาเขียวเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแพนด้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

แกงหัวปลา

แกงหัวปลา (Fish head curry) เป็นอาหารประเภทแกงในมาเลเซียและสิงคโปร์ มีต้นกำเนิดจากอาหารจีนและอาหารอินเดีย และยังเป็นที่นิยมในเนปาลด้วย นำหัวปลากะพงแดงมาแกงในน้ำแกงแบบเกระละโดยใส่ผักเช่นกระเจี๊ยบเขียวและมะเขือม่วง กินกับข้าวหรือขนมปัง นิยมใช้มะขามปรุงรสเปรี้ยวของแกง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแกงหัวปลา · ดูเพิ่มเติม »

แมวลายหินอ่อน

แมวลายหินอ่อน (Marbled cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์เสือ (Felidae) ที่มีขนาดเท่ากับแมวบ้าน (Felis catus) แต่มีหางยาวกว่าและมีขนที่หางมากกว่า หัวมีขนาดเล็ก กลมมน สีขนมีลวดลายเป็นแถบหรือเป็นดวงคล้ายลวดลายของเสือลายเมฆ (Neofelis nebulosa) หรือลวดลายบนหินอ่อน ได้รับการอนุกรมวิธานโดยตัวอย่างต้นแบบเป็นตัวเมียที่ได้ตัวอย่างจากประเทศไทย ปัจจุบันนักวิชาการแบ่งแมวลายหินอ่อนออกเป็น 2 ชนิดย่อย ได้แก่ P. m. marmorata และ P. m. charltoni ถิ่นอาศัยของแมวลายหินอ่อนอยู่ในรัฐอัสสัมทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย เนปาล (P. m. chartoni) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา เมื่ออยู่ในป่าทึบตามธรรมชาติจะพบเห็นได้น้อย ปัจจุบันยังมีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมวชนิดนี้อยู่น้อย และยังไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ขณะเดียวกันป่าที่เป็นถิ่นอาศัยก็มีพื้นที่ลดลง ทำให้ปัจจุบันแมวชนิดนี้อยู่ในสถานะที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ พฤติกรรมของแมวลายหินอ่อน เมื่ออยู่ในที่เลี้ยงค่อนข้างดุร้ายกว่าเสือหรือแมวป่าชนิดอื่น ๆ มีอายุในสถานที่เลี้ยงยืนสุด 12 ปี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแมวลายหินอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

แมวดาว

แมวดาว (Leopard cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเท่า ๆ กับแมวบ้าน แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่ามาก ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดขนาดเล็กสีดำกระจายอยู่ทั่วไป ด้านข้างของหัวมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4—5 แถบ ขนบริเวณท้องมีสีขาวนวล แมวดาวตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย แมวดาวมีความยาวลำตัวและหัว 44.5—55 เซนติเมตร ความยาวหาง 23—29 เซนติเมตร น้ำหนัก 3—5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, รัสเซีย, อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, สิงคโปร์ แมวดาว สามารถปรับตัวให้อยู่ในพื้นที่หลากหลายสภาพได้ บางครั้งอาจพบในป่าที่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวัน สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย ปกติอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์ ที่อาจพบเห็นอยู่ด้วยกัน 2 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 65—72 วัน ออกลูกครั้งละ 2—4 ตัว จากการศึกษาในสถานที่เลี้ยงมีอายุยืนประมาณ 13 ปี นอกจากนี้แล้ว แมวดาวที่ผสมข้ามสายพันธุ์กับแมวบ้าน จะได้ลูกเป็นแมวพันทางสายพันธุ์ที่เรียกว่า แมวเบงกอล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแมวดาว · ดูเพิ่มเติม »

แมวป่า

แมวป่า, เสือกระต่าย หรือ เสือบอง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ Felidae มีรูปร่างคล้ายแมวบ้าน มีลักษณะเด่นคือ มีหูแหลมยาวเป็นรูปสามเหลี่ยม และมีกระจุกขนยื่นออกมาจากปลายใบหูแลดูคล้ายกระต่าย จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญว่า "เสือกระต่าย" มีขายาว หางสั้นมีลายสีเข้มสลับเป็นปล้อง ๆ ขนปลายหางมีสีดำตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง บริเวณหลังมีสีน้ำตาลเข้ม สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่าลำตัว แมวป่านับเป็นเสือในสกุล Felis ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความยาวลำตัวและหัว 50–56 เซนติเมตร ความยาวหาง 26–31 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 4–6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก ตั้งแต่ภาคเหนือของทวีปแอฟริกาจรดเอเชียตะวันออก พบในภาคตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย, คูเวต, อิรัก, อิหร่าน, จอร์แดน, ภาคตะวันออกของตุรกี, อิสราเอล, ปากีสถาน, อัฟกานิสถาน, เนปาล, ภูฏาน, บังกลาเทศ, ภาคใต้ของจีน, อินเดีย, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชาและเวียดนาม มักอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือป่าเต็งรังที่ไม่รกชัฏนัก จับสัตว์ขนาดเล็กที่อาศัยบนพื้นดินกินเป็นอาหาร เช่น กระต่ายป่า, กบ, หนู, กิ้งก่า หรือนกที่อาศัยอยู่บนพื้นดินกินเป็นอาหารหลัก ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน แต่มักพบบ่อยในช่วงเช้า และช่วงเย็น จากกายภาพที่มีขายาว แต่หางสั้นไม่สมดุลกันเช่นนี้ ทำให้แมวป่ามีการทรงตัวที่ไม่ดีเมื่ออยู่บนต้นไม้ ดังนั้นจึงไม่ค่อยปีนขึ้นไปบนต้นไม้นัก ในประเทศไทย นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล นักนิยมไพรและนักเขียนได้บันทึกไว้ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแมวป่า · ดูเพิ่มเติม »

แมงป่องช้าง

แมงป่องช้าง (Giant forest scorpions) เป็นแมงป่องที่อยู่ในสกุล Heterometrus ในวงศ์ Scorpionidae.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแมงป่องช้าง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำพาคมตี

แม่น้ำพาคมตี (बागमती नदी; बागमती खुसी) เป็นแม่น้ำสายหนึ่งของประเทศเนปาลไหลผ่านหุบเขากาฐมาณฑุ คั่นกรุงกาฐมาณฑุกับเมืองลลิตปุระจากกัน แม่น้ำพาคมตีเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูและพุทธ มีศาสนสถานของศาสนาฮินดูตั้งอยู่เรียงรายริมสายน้ำนี้ อาทิ วัดปศุปตินาถDavis, John A. (1977) "Water Quality Standards for the Bagmati River," Journal: Water Pollution Control Federation 49(2): pp.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแม่น้ำพาคมตี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำฆาฆรา

แม่น้ำฆาฆรา หรือ แม่น้ำกานาลี หรือ แม่น้ำเการีอาลา เป็นแม่น้ำในประเทศอินเดีย ประเทศเนปาลและประเทศจีน มีต้นน้ำอยู่บนที่ราบสูงทิเบต ใกล้ทะเลสาบมานาซาโรวาร์ (Lake Manasarovar) ไหลไปทางใต้ผ่านเทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาล เข้าสู่รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย แล้วไหลไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ลงสู่แม่น้ำคงคา ใกล้เมืองฉะปร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแม่น้ำฆาฆรา · ดูเพิ่มเติม »

แรดอินเดีย

แรดอินเดีย จัดเป็นแรด 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่พบได้ในทวีปเอเชีย และเป็นสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดที่พบในทวีปแห่งนี้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแรดอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เอเชีย เอกซ์

รื่องบินของสายการบินแอร์เอเชีย เอกซ์รุ่นแอร์บัส เอ 340-300 แอร์เอเชีย เอกซ์ เป็นสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งดำเนินการโดยบริษัท แอร์เอเชีย เอกซ์ จำกัด โดยเริ่มมีการให้บริการครั้งแรกในวันที่ 2 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแอร์เอเชีย เอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนทิโลปสี่เขา

แอนทิโลปสี่เขา หรือ ชูสิงห์ (Four-horned antelope, Chousingha; चौशिंगा) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Bovinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Tetracerus มีความสูงจากกีบเท้าจนถึงหัวไหล่ประมาณ 50 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 20 กิโลกรัม จัดเป็นแอนทิโลปที่มีขนาดเล็กที่สุดที่พบได้ในทวีปเอเชีย มีขนสีเหลืองน้ำตาลที่บริเวณด้านข้างละด้านล่างลำตัว ด้านในของขาเป็นสีขาว ขามีลักษณะเรียวเล็กและมีแถบสีดำเป็นทางยาวไปตามขา ในตัวผู้จะมีเขาขนาดเล็กสั้น ๆ 4 เขางอกขึ้นมาบนส่วนหัว 2 เขาแรกอยู่ระหว่างใบหูทั้ง 2 ข้างขวาหน้าผาก ซึ่งเขาคู่แรกนี้จะงอกหลังจากเกิดมาได้ไม่กี่เดือน และเขาคู่ที่ 2 จะยาวกว่าคู่แรก เป็นปัจจัยบ่งบอกถึงอายุ และสมบูรณ์แข็งแรงของแต่ละตัว อันเนื่องจากปัจจัยทางโภชนาการ จะไม่มีการสลัดเขาทิ้งเหมือนกวาง แต่เขาอาจจะแตกหักเสียหายได้จากการต่อสู้ แอนทิโลปสี่เขา มีการกระจายพันธุ์อยู่ ในอินเดียแถบรัฐทมิฬนาฑู และโอริศา และบางส่วนในเนปาล ซึ่งปัจจุบันพบได้เฉพาะในอุทยานแห่งชาติป่ากีร์เท่านั้น มีนิเวศวิทยาอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งหรือป่าผลัดใบ ปกติแล้วจะอาศัยและหากินเพียงลำพัง ยกเว้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์ จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ตัวผู้จะมีพฤติกรรมก้าวร้าว และต่อสู้กันเพื่อแย่งตัวเมีย ปกติแล้ว จะตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่ เช่น เสือ, สิงโต, หมาใน เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแอนทิโลปสี่เขา · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559

แผ่นดินไหวใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พ.ศ. 2559

แผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558

แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พ.ศ. 2558

แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พฤษภาคม พ.ศ. 2558

แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและแผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พฤษภาคม พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน สันธนะพานิช

กุน สันธนะพานิช หรือ โชกุน เป็นนักแสดง นายแบบชายไทย ในสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโชกุน สันธนะพานิช · ดูเพิ่มเติม »

โพ

(มักเขียนว่า โพธิ์) (คำว่า "โพ" มาจากภาษาสิงหล; Sacred fig) เป็นต้นไม้สปีชีส์หนึ่งของไทรหรือมะเดื่อ เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และ อินโดจีน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน สูงได้ถึง 30 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร รูปใบโดยทั่วไปของต้นโพ ใบมีรูปหัวใจปลายยาว ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้าง 8-12 เซนติเมตร ก้านใบยาว 6-10 เซนติเมตร ผลมีขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร สีเขียวเมื่อสุกมีสีม่วง โพเป็นต้นไม้ที่ถูกสักการะในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ด้วยเหตุนี้จึงมีชื่อว่า "Sacred fig" พระโคตมพุทธเจ้าก็ได้ตรัสรู้เมื่อนั่งอยู่ใต้ต้นโพเช่นกัน โดยต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าตรัสรู้นั้นชื่อ "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" ปัจจุบันยังคงมีชีวิตอยู่ที่ประเทศอินเดีย จึงเชื่อกันว่าโพเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข, ความสำเร็จ, อายุยืน และ ความโชคดี และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโพ · ดูเพิ่มเติม »

โกฐก้านพร้าว

กฐก้านพร้าว อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี เหง้าอวบ เกาะเลื้อย ใบออกเป็นกระจุกใกล้เหง้า ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยสีฟ้าอ่อนจำนวนมาก มีขนหยาบแข็ง ผลแห้งแบบแคบซูล มีเมล็ดจำนวนมาก กระจายพันธุ์ในเขตเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ปากีสถาน จนกระทั่งรัฐอุตตรประเทศและแคชเมียร์ของอินเดีย จนถึงสิกขิมและเนปาล เหง้าของพืชชนิดนี้ตากแดดให้แห้ง ใช้ทำยา ลักษณะเป็นเหง้ายาว ทรงกระบอก เปลือกหนา ผิวมีรอยย่น สีน้ำตาลอมเทา ใช้แก้ไข้เรื้อรัง เสมหะเป็นพิษ ในอินเดียและศรีลังกาใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในยาถ่ายหลายขนาน ในอินเดียบางแห่งใช้แก้พิษแมลงป่อง เป็นยาที่ใช้ในตำรับยาอายุรเวทของอินเดีย พืชชนิดนี้มีปลูกอยู่ทั่วไป แต่มีความต้องการให้อนุรักษ์ไว้ในป่าตามธรรมชาติด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโกฐก้านพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

โกฐน้ำเต้าแขก

กฐน้ำเต้าแขก หรือ รูบาร์บหิมาลัย เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปีอยู่ในวงศ์ผักไผ่ (Polygonaceae) รากอ้วนสั้น ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กสีม่วงเข้ม ผลรูปไข่ สีม่วง พบในเทือกเขาหิมาลัย ใช้มากในอินเดีย ปากีสถาน เนปาล ใช้เป็นยาระบาย แก้บิด เบื่ออาหาร แก้แผลเน่าเปื่อย มีฤทธิ์อ่อนกว่าโกฐน้ำเต้าที่มาจากจีน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโกฐน้ำเต้าแขก · ดูเพิ่มเติม »

โมโม (อาหาร)

มโม (མོག་མོག་; Wylie: mog mog) เป็นเกี๊ยวหรือขนมจีบที่มีต้นกำเนิดในทิเบต กลายเป็นอาหารประจำชาติของชาวเนวาร์ ชาวเชอร์ปา ชาวลิมบู Gurungs และ Magars ของเนปาลและชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ของประเทศเนปาล คล้ายกับ buuz ของมองโกเลียและ jiaozi ของจีน คำว่า "โมโม" ในภาษาทิเบตเป็นคำยืมจากภาษาจีน mómo (馍馍).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโมโม (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

โมโม (แก้ความกำกวม)

มโม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโมโม (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

โรฮีนจา

รฮีนจา (ရိုဟင်ဂျာ โรฮีนจา; โรฮีนจา: Ruáingga รูไอง์กา; রোহিঙ্গা, Rohingga) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มุสลิมที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ (อาระกัน) ทางตะวันตกของประเทศพม่า และพูดภาษาโรฮีนจา ชาวโรฮีนจาและนักวิชาการบางส่วนกล่าวว่า โรฮีนจาเป็นชนพื้นเมืองในพื้นที่รัฐยะไข่ ในขณะที่นักประวัติศาสตร์บางส่วนอ้างว่า พวกเขาอพยพเข้าพม่าจากเบงกอลในสมัยการปกครองของสหราชอาณาจักรเป็นหลัก และนักประวัติศาสตร์ส่วนน้อยกล่าวว่า พวกเขาอพยพมาหลังจากพม่าได้รับเอกราชในปี 2491 และหลังจากบังกลาเทศทำสงครามประกาศเอกราชในปี 2514 ชาวมุสลิมตั้งถิ่นฐานในรัฐยะไข่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ไม่สามารถประมาณจำนวนผู้ตั้งถิ่นฐานชาวมุสลิมก่อนการปกครองของสหราชอาณาจักรได้อย่างแม่นยำ หลังสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่งในปี 2369 สหราชอาณาจักรผนวกรัฐยะไข่และสนับสนุนให้มีการย้ายถิ่นจากเบงกอลเพื่อทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานในไร่นา ประชากรมุสลิมอาจมีจำนวนถึงร้อยละ 5 ของประชากรรัฐยะไข่แล้วเมื่อถึงปี 2412 แต่จากการประเมินของปีก่อนหน้าก็พบว่ามีจำนวนสูงกว่านี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ความรุนแรงระหว่างชุมชนก็ปะทุขึ้นระหว่างชาวยะไข่ซึ่งนับถือศาสนาพุทธกับหน่วยกำลังวี (V-Force) ชาวโรฮีนจาที่สหราชอาณาจักรติดอาวุธให้ และการแบ่งขั้วก็รุนแรงมากขึ้นในพื้นที่ ในปี 2525 รัฐบาลพลเอกเนวีนตรากฎหมายความเป็นพลเมืองซึ่งปฏิเสธความเป็นพลเมืองของชาวโรฮีนจา ในปี 2556 มีชาวโรฮีนจาประมาณ 735,000 คนอาศัยอยู่ในประเทศพม่า ส่วนใหญ่อยู่ในเมืองทางเหนือของรัฐยะไข่ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 80–98 ของประชากร สื่อระหว่างประเทศและองค์การสิทธิมนุษยชนกล่าวว่าชาวโรฮีนจาเป็นชนกลุ่มน้อยที่ถูกข่มเหงที่สุดกลุ่มหนึ่งในโลก ชาวโรฮีนจาจำนวนมากหนีไปอยู่ในย่านชนกลุ่มน้อยและค่ายผู้ลี้ภัยในประเทศเพื่อนบ้านอย่างบังกลาเทศ รวมทั้งพื้นที่ตามชายแดนไทย–พม่า ชาวโรฮีนจากว่า 100,000 คนยังอาศัยอยู่ในค่ายสำหรับผู้พลัดถิ่นในประเทศซึ่งทางการไม่อนุญาตให้ออกมา ชาวโรฮีนจาได้รับความสนใจจากนานาชาติในห้วงเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

รงเรียนเมืองพลพิทยาคม (Muangphonpittayakom School) อักษรย่อ (ม.พ.ค.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภท เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด ตั้งอยู่ เลขที่ 123 ถนนเมืองพล-แวงน้อย ตำบลลอมคอม อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โหราน้ำเต้า

หราน้ำเต้า อยู่ในวงศ์ Araceae เป็นพืชท้องถิ่นในเนปาล มีสารประกอบฟีโนลิกที่เรียกแพโอนอล หัวแห้งใช้เป็นยาแก้ลมชัก แก้อัมพาต สงบประสาท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโหราน้ำเต้า · ดูเพิ่มเติม »

โฮลี

ผู้เข้าร่วมเทศกาล ผงสี โฮลี (Holi) คำว่า "โฮลี" หมายถึง "การส่งท้ายปีเก่า" เป็นเทศกาลฉลองรื่นเริงที่มีพื้นเพมาจากความเชื่อในศาสนาฮินดูในช่วงฤดูใบไม้ผลิ โดยชาวฮินดูจะออกมาเล่นสาดสีใส่กัน โฮลีจัดขึ้น 2 วันในช่วงเดือนมีนาคม (แรม 1 ค่ำ เดือน 4) เทศกาลนี้เรียกอีกอย่างว่า "เทศกาลแห่งสีสัน" เนื่องจากผู้คนจะออกมาเฉลิมฉลองด้วยการสาดสีหรือป้ายสี ซึ่งเป็นฝุ่นผงใส่กัน ด้วยสีสันต่าง ๆ อย่างสนุกสนาน ซึ่งการสาดสีใส่กันนี้สันนิษฐานว่า เป็นพื้นเพที่ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รับมา และปรับเปลี่ยนเป็นการสาดน้ำใส่กันแทน คือ สงกรานต์ ฝุ่นผงสีที่ใช้สาดกันนั้นจะทำมาจากธรรมชาติ เช่น ดอกทองกวาว, บีทรูท, ขมิ้น อันเป็นนัยที่บ่งบอกถึงการสิ้นสุดของฤดูหนาวและเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ มีขนมที่ทำเพื่อรับประทานโดยเฉพาะในเทศกาลนี้ ที่ทำมาจากนมและนมเปรี้ยวเป็นหลัก เชื่อกันว่าหากได้รับประทานขนมด้วยจิตใจเบิกบานจะเป็นนิมิตรหมายที่ดีของการเริ่มต้นปีใหม่ การสาดสีใส่กันนั้น เชื่อว่า เป็นการปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย มีปกรณัมมากมายเกี่ยวกับที่มาของเทศกาลนี้ แต่ที่เชื่อกันมากที่สุด คือ การเฉลิมฉลองที่พระวิษณุ หนึ่งในตรีมูรติ เอาชนะนางมารโฮลิกะ ซึ่งเป็นน้องสาวของหิรัณยกศิปุ ที่ดูหมิ่นผู้ที่นับถือพระองค์ ทำให้นางมารถูกไฟแผดเผาจนมอดไหม้ วันก่อนการสาดสีจะมีการก่อกองไฟเพื่อชำระล้างสิ่งไม่ดีไปจากจิตใจ การสาดสีจะเล่นกันเฉพาะช่วงเช้าจนถึงเที่ยงวันเท่านั้น จากนั้น ผู้คนก็จะแยกย้ายไปพักผ่อน เมื่อตกเย็นจะออกมาพบปะสังสรรค์กัน แจกขนมหวานและสวมกอดกัน เทศกาลโฮลี่จึงถือเป็นเทศกาลแห่งมิตรภาพ มิตรสหายได้แสดงไมตรีเข้าสวมกอดกัน ผู้ที่เคยขัดแย้งกันก็จะได้ปรับความเข้าใจกัน โฮลีมักจัดในประเทศอินเดียและเนปาลเป็นหลัก แต่ยังมีการเฉลิมฉลองโดยชาวฮินดูกลุ่มน้อยในบังกลาเทศและปากีสถานด้วย เช่นเดียวกับประเทศที่มีประชากรเชื้อสายอินเดียพลัดถิ่นขนาดใหญ่ที่นับถือศาสนาฮินดู เช่น ซูรินาม มาเลเซีย กายอานา แอฟริกาใต้ ตรินิแดดและโตเบโก สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา มอริเชียส ฟิจิ และไทย The Wall Street Journal (2013) Visit Berlin, Germany (2012).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโฮลี · ดูเพิ่มเติม »

โจมาร์ ดามอสมอค

ร์ ดามอสมอก (Joebar Damosmog) นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2512 ที่ จังหวัดโกตาบาโตเหนือ สถิติการชก 58 ครั้ง ชนะ 20 (น็อค 14) เสมอ 6 แพ้ 32.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโจมาร์ ดามอสมอค · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1983

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1983 ในโทรทัศน์ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1983 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2003

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2003 ในโทรทัศน์ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2007

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2007 ในโทรทัศน์ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในโทรทัศน์ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2012 ในโทรทัศน์ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 ในโทรทัศน์ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2015

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 ในโทรทัศน์ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโทรทัศน์ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 2015 · ดูเพิ่มเติม »

โคราฆปุระ

ตำแหน่งที่ตั้งเมืองโคราฆปุระในประเทศอินเดีย โคราฆปุระ (Gorakhpur, เทวนาครี: गोरखपुर, อูรดู: گۋڙکھ پور) เป็นเมืองหลวงของอำเภอโคราฆปุระในภาคตะวันออกของรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ใกล้กับพรมแดนประเทศเนปาล โคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญและมีชื่อเสียงไม่ว่าจะเป็น ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน หรือศาสนาสิกข์ โดยชื่อเมืองในปัจจุบันเรียกตามชื่อ โยคีโคราฆชนาถ (Gorakshanath) บริเวณแคว้นนี้เป็นศูนย์กลางที่สำคัญของอารยธรรมอารยันตามคัมภีร์พระเวท ผู้ปกครองดินแดนในบริเวณนี้ในอดีต คือ กษัตริย์ราชวงศ์ สุริยวงศ์ (Solar Dynasty) โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่อโยธยา กษัตริย์สุริยวงศ์นี้ได้ปกครองติดต่อกันอย่างยาวนาน โดยเฉพาะที่รู้จักกันดี คือ พระรามในเรื่อง รามเกียรติ์เป็นหนึ่งในกษัตริย์ราชวงศ์นี้ ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีเมืองนี้ เมืองสำคัญในขณะนั้นคือ เวสาลี โกสัมพี พาราณสี และราชคฤห์ ในขณะที่อโยธยากลายเป็นเมืองเล็ก แคว้นนี้ในสมัยพุทธกาลเป็นอาณาเขตของแคว้นโกศล (Kosala) พระพุทธเจ้าทรงถือครองเพศบรรพชิตที่ริมแม่น้ำในบริเวณใกล้ที่ตั้งเมืองในปัจจุบันนี้ ก่อนที่เสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ และพระมหาวีระศาสดาของศาสนาเชนได้เดินทางผ่านบริเวณนี้เช่นเดียวกัน ปัจจุบันเมืองโคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ อุตสาหกรรม และการคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่งของรัฐอุตตรประเท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโคราฆปุระ · ดูเพิ่มเติม »

โคตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ล

ตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ล (The Expendables 2) เป็นภาพยนตร์แนวแอ็คชั่นลำดับที่ 2 ในชุด ดิ เอ็กซ์เพ็นเดเบิลส์ กำกับโดยไซมอน เวสต์ ร่วมเขียนบทและแสดงนำโดยซิลเวสเตอร์ สตอลโลน สมทบด้วยเจสัน สเตธัม เจ็ต ลี ดอล์ฟ ลันด์เกรน ชัค นอร์ริส ฌ็อง-โกลด ว็อง ดาม บรูซ วิลลิส อาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์ เทอร์รี ครูวส์ แรนดี โคทัวร์และเลียม เฮมส์เวิร์ท ออกฉายในไทยเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2012.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโคตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ล · ดูเพิ่มเติม »

โปขรา

ปขรา (เนปาล: पोखरा उपमहानगरपालिका Pokharā Upa-Mahānagarpālikā; Pokhara Sub-Metropolitan City) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศเนปาล มีประชากรราว 250,000 คน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมืองหลวง กาฐมาณฑุ ราว 200 กม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโปขรา · ดูเพิ่มเติม »

โปแลนด์บอล

ปแลนด์บอล โปแลนด์บอล เป็นอินเทอร์เน็ตมีมชนิดหนึ่ง โดยเป็นการวาดลูกบอล ที่เป็นสีของธงชาติประเทศต่างๆ โปแลนด์บอลเป็นการ์ตูนที่ผู้ใช้สามารถวาดขึ้นเองและเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตได้เนื่องจากตัวการ์ตูนเหล่านี้ไม่มีผู้อ้างลิขสิท.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโปแลนด์บอล · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ฟ้าสีเลือด

ก่ฟ้าสีเลือด (Blood pheasant) เป็นนกชนิดหนึ่ง จำพวกไก่ฟ้า จัดอยู่ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ithaginis ไก่ฟ้าสีเลือดมีขนาดลำตัวเหมือนไก่ป่าขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ 43 เซนติเมตร มีจะงอยปากที่แข็งแรง มีขนปกคลุมลำตัวรุงรังสีเทา แต่ที่หน้าอกเป็นสีแดงสดเหมือนเลือดไหลซึมไปทั่วเส้นขน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ในตัวผู้จะมีส่วนใบหน้าและหัวเป็นสีแดง ขณะที่ตัวเมียจะเป็นสีน้ำตาลทึม ๆ พบกระจายพันธุ์ตามแถบเทือกเขาสูงตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในหลายประเทศ เช่น ภูฐาน, เนปาล, ธิเบต, ตอนเหนือของอินเดีย, ตอนเหนือของพม่า และภาคตะวันตกของจีน มีพฤติกรรมมักชอบอาศัยในป่าสนผสมและในพื้นที่อยู่ใกล้กับยอดเขาที่มีหิมะหรือน้ำแข็งปกคลุม มีการอพยพย้ายถิ่นตามฤดูกาล โดยพบได้ในที่ ๆ ระดับความสูงที่สูงขึ้นในช่วงฤดูร้อน และด้วยปริมาณหิมะที่เพิ่มขึ้นในฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาวจะย้ายไปอยู่ในระดับพื้นที่ ๆ ต่ำกว่า ไก่ฟ้าสีเลือด เป็นนกประจำรัฐสิกขิม ของอินเดีย และเป็นนกประจำชาติของคาซัคสถาน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและไก่ฟ้าสีเลือด · ดูเพิ่มเติม »

ไอโฟน เอสอี

อโฟน เอสอี (iPhone SE) เป็นสมาร์ตโฟนที่ออกแบบและผลิตโดยบริษัท แอปเปิล ไอโฟนรุ่นนี้เปิดตัว เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2559 ที่สำนักงานใหญ่บริษัทแอปเปิล และวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 31 มีนาคม 2559 สำหรับประเทศไทยวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2559 ไอโฟน เอสอี นี้พัฒนาต่อยอดจาก ไอโฟน 5เอส โดยยังคงขนาดหน้าจอ 4 นิ้ว และมีรูปลักษณ์เหมือนกับ ไอโฟน 5เอส เกือบทั้งหมด แต่เลือกใช้ชิ้นส่วนฮาร์ดแวร์ภายในรุ่นใหม่จาก ไอโฟน 6เอส นั้นรวมไปถึงโปรเซสเซอร์, กล้องหลัง และอื่นๆ รองรับฟีเจอร์ใน ไอโอเอส 10 เช่น แอปเปิลเพย์ และไลฟ์โฟโต้ อีกทั้งรุ่นนี้ยังมีสีใหม่คือ สีโรสโกลด์ นอกเหนือจากสีมาตรฐานคือ สีสเปซเกรย์, สีเงิน และสีทอง ไอโฟนรุ่นนี้มีการวางจำหน่ายอีกครั้ง มีตัวเลือกความจุใหม่เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2560.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและไอโฟน เอสอี · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่หก

ผ่หก เป็นไผ่ชนิดหนึ่งในสกุล Dendrocalamus เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12–15 เซนติเมตร และสูงได้ถึง 15–18 เมตร พบในเอเชียใต้ จีน อินเดีย ภูฏาน เนปาล ปากีสถาน ภาษากะเหรี่ยงเรียก หว่าซึ มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเป็นกอ ลำต้นอ่อนมีขนสีขาว กาบหุ้มลำต้นเกลี้ยงหรือมีขนสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบสากมือและคม ผิวใบมีขน ก้านใบสั้น กาบใบเป็นสัน โคนพองและหยัก กระจังใบยาวเป็นเคียว มีขนสีม่วง ดอกช่อ ออกตามปลายยอด ในไทย หน่ออ่อนนำมาทำอาหารหน่อรับประทานได้ มีรสขมเล็กน้อย เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องจักสาน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและไผ่หก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ตง

ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและไผ่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไทรย้อยใบทู่

ทรย้อยใบทู่ หรือ ไทรย้อย (Chinese banyan, Malayan banyan; 細葉榕) เป็นไม้ประเภทบันยัน ในสกุล Ficus ในวงศ์ Moraceae เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ประมาณ 12-25 เมตร และสูงได้ถึง 30 เมตร บางครั้งอาจรอเลื้อยกับพื้นดินหรือกึ่งอาศัยกับไม้อื่น ๆ มีรากอากาศอยู่ตามกิ่งไม้เป็นเส้นเรียงยาวจำนวนมาก เปลือกมีสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตัวแบบเวียน มีลักษณะรูปไข่หรือรูปวงรี ขนาดกว้าง 2.5 เซนติเมตร ยาว 4-10 เซนติเมตร ปลายใบแหลมถึงเป็นติ่งทู่เกือบแหลม หรือเป็นติ่งสั้น และเรียวแหลม ไม่ค่อยพบแบบเว้า ฐานใบสอบรูปลิ่ม ขอบใบเรียว ผิวใบมัน เนื้อใบบางเหนียวคล้ายผิวหนัง ออกดอกตามง่ามใบ เป็นดอกเดี่ยวหรือน้อยมากที่จะเป็นดอกคู่ ตาดอกสีแดงแกมชมพู ก้านดอกยาว 0.5-1.5 เซนติเมตร วงกลีบเลี้ยงรูประฆัง จำนวน 6 กลีบ ยาว 3-7 กลีบ กลีบดอกแบบอิสระ 6 กลีบ รูปไข่มน ยาว 3-8 มิลลิเมตร มีลักษณะย่น เกสรตัวผู้ 12 อัน ขดเป็นวง ผลเป็นรูปไข่กลับหรือกระสวยรี มีกลีบเลี้ยงเป็นท่อหุ้ม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-10 มิลลิเมตร ผลเกลี้ยง ผลแก่แตกออก มีเมล็ดจำนวนมาก มีปีกยาว รูปลิ่มแกมไข่กลับ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้าง โดยพบได้ที่ปากีสถาน, อินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, จีนตอนใต้, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, พม่า, ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย จนถึงฟิลิปปินส์และออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นกระจายในป่าดิบแล้ง, ป่าดิบชื้น และป่าเบญจพรรณ บางครั้งพบตามป่าเสื่อมโทรม, ชายทะเล, ป่าชายเลน หรือเขาหินปูน จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล ใบของไทรย้อยใบทู่ เป็นไม้ที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับให้ร่มเงา ออกดอกและออกผลตลอดทั้งปี รากอากาศใช้ต้มดื่มขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา แก้นิ่ว บำรุงน้ำนม รากสมานลำไส้ แก้ท้องเสียได้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและไทรย้อยใบทู่ · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 — สิ้นพระชนม์ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เป็นพระชายาองค์แรกของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารอังกฤษ ไดอานาถือกำเนิดในตระกูลขุนนางที่สืบทอดเชื้อสายจากราชวงศ์อังกฤษโบราณ  เป็นบุตรีคนที่ 3 ของ จอห์น สเปนเซอร์ ไวเคานต์อัลธอร์พ และฟรานเซส โรช ในวัยเด็กไดอานาพักอาศัยที่คฤหาสน์พาร์กเฮาส์ ซึ่งตั้งอยู่ภายในพื้นที่ตำหนักซานดริงแฮม ไดอานาเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนที่ประเทศอังกฤษและได้เข้าศึกษาต่อเป็นเวลาสั้นๆ ในโรงเรียนการเรือนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  เมื่ออายุได้ 14 ปี ไดอานาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เลดี้ เมื่อบิดาสืบทอดฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น เอิร์ลแห่งสเปนเซอร์ ไดอานาเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกเมื่อเป็นเข้าพิธีหมั้นหมายกับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ใน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐ์ ติงสัญชลี

รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี (เกิด 22 เมษายน พ.ศ. 2520 -) เป็นนักวิชาการชาวไทย อาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความชำนาญด้านศิลปะและประวัติศาสตร์อินเดียและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะศิลปะอินเดีย พม่า และเนปาล อิทธิพลของศาสนาพุทธและพราหมณ์ต่องานศิลปะ รวมทั้งอิทธิพลศิลปะอินเดียในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มีผลงานแต่งหนังสือที่สำคัญอาทิเช่น "ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้", "พระพุทธรูปอินเดีย" เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเชษฐ์ ติงสัญชลี · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนแท้ในป่าใหญ่

ื่อนแท้ในป่าใหญ่ (The Fox and the Hound) ออกฉายวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 กำกับโดย Ted Berman และ Richard Rich เป็นภาพยนตร์การ์ตูนคลาสสิกลำดับที่ 24 ของดิสนีย์ ภาพยนตร์เรื่องนี้มีโครงเรื่องมาจากหนังสือที่มีชื่อเดียวกัน ซึ่งผลงานการประพันธ์ของ Daniel P. Mannix นักเขียนชาวอเมริกัน แต่งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเพื่อนแท้ในป่าใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เพียงพอนเส้นหลังขาว

ียงพอนเส้นหลังขาว หรือ เพียงพอนหลังขาว (Back-striped weasel) เป็นเพียงพอนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนกับเพียงพอนชนิดอื่น ๆ แต่มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีขาวแคบ ๆ พาดตามแนวสันหลังบริเวณกึ่งกลางหลัง ตั้งแต่ท้ายทอยจรดโคนหาง และมีอีกแถบสีคล้ายคลึงกันตามแนวกึ่งกลางของใต้ท้อง ขนตามบริเวณลำตัวและหางมีสีน้ำตาลเข้ม บริเวณใต้คางและใต้คอมีสีเหลืองอ่อน หางมีความยาวประมาณครึ่งหนึ่งของลำตัว ตัวผู้จะมีแถบขนสีขาวพาดอยู่เพียงเส้นเดียว ขณะที่ตัวเมียจะมีอยู่ด้วยกันสองเส้น มีความยาวลำตัวตั้งแต่หัวจรดโคนหางประมาณ 27.5-32.5 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 14.5-20.5 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 1-2 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ในป่าบนภูเขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,200-2,000 เมตร และเคยมีรายงานว่าพบในป่าผลับใบบนพื้นที่สูง ตั้งแต่แคว้นสิกขิมในอินเดีย, เนปาล, ภูฐาน, จีนทางตอนใต้, ลาวและเวียดนามทางตอนเหนือ และภาคเหนือและภาคอีสานของไทย มีพฤติกรรมออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน โดยมักล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู เป็นอาหาร โดยเมื่อจับได้แล้วมักจะกัดที่จมูกจนตาย ในประเทศไทย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเพียงพอนเส้นหลังขาว · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เม่นใหญ่แผงคอยาว

ม่นใหญ่แผงคอยาว (Malayan porcupine, Himalayan porcupine, Large porcupine) เป็นเม่นขนาดใหญ่ หูและหางสั้น ขนตามลำตัวสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีขนแข็งแหลมและยาวมากบนหลังและสะโพก ซึ่งขนดังกล่าวจะชี้ตรงไปทางด้านหลัง ก้านขนมีสีขาว บางเส้นอาจมีวงสีดำสลับอยู่ ขนแผงคอยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร มีสีน้ำตาลเข้ม มีฟันหน้าที่ใหญ่ยาวและแข็งแรงมาก มีความยาวลำตัวและหัว 63.5-72.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.4-11.4 เซนติเมตร น้ำหนัก 20-27 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในเนปาล, อินเดีย, ภูฏาน, จีน, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ทั้งป่าสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรมที่ผ่านการทำลายมาแล้ว หลับนอนในโพรงที่ขุดขึ้นมาเอง บริเวณปากโพรงจะปกคลุมด้วยพืชรกชัฏเพื่ออำพราง ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารจำพวกรากพืช หน่อไม้ เปลือกไม้ ผลไม้สุกที่ร่วงจากต้น กระดูกสัตว์รวมทั้งเขาสัตว์ด้วย เช่น เขาของเก้งหรือกวางที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่มแคลเซี่ยมให้กับร่างกาย อีกทั้งเป็นการขัดฟันไม่ให้ยาวเกินไปในตัวด้วย นอนหลับในเวลากลางวันในโพรง โดยจะลากเอาเขาหรือกระดูกสัตว์เข้ามาแทะถึงในโพรง เมื่อพบศัตรูจะกระทืบเท้าเสียงดัง หากไม่สำเร็จจะค่อย ๆ เดินหนี หากศัตรูยังตามมา จะวิ่งหนีรวดเร็วและหยุดอย่างกะทันหัน เพื่อให้ศัตรูหยุดไม่ทันและถูกหนามแหลมทิ่ม โดยปกติจะสั่นขนของตัวเองอยู่เสมอ ทำให้มักได้ยินเสียงการกระทบกันของเส้นขนอยู่บ่อย ๆ ซึ่งเป็นการอวดศักยภาพของตัวเอง หรือแม้แต่เดินธรรมดา ๆ ก็จะได้ยินเสียงเส้นขนลากกับพื้น เม่นใหญ่แผงคอยาวออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว มีอายุสูงสุดในที่เลี้ยง 27 ปี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเม่นใหญ่แผงคอยาว · ดูเพิ่มเติม »

เยติ

รคดี เยติ หรือ มนุษย์หิมะ (เนปาลี: हिममानव himamānav, คำแปล "มนุษย์หิมะ") เป็นชื่อที่ใช้เรียกสัตว์ประหลาดชนิดหนึ่ง ในความเชื่อของชาวเชอร์ปา ชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่แถบเทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาล, ภูฏาน, ธิเบต, จีน จนถึงบางพื้นที่ในมองโกเลียและรัสเซีย โดยเชื่อว่าเยติ เป็นสัตว์ขนาดใหญ่สูงตั้งแต่ 5–8 ฟุต น้ำหนักประมาณ 600 ปอนด์ ที่คล้ายมนุษย์ผสมกับลิงไม่มีหางคล้าย กอริลลา มีขนยาวสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำหรือสีเทาหรือเทาเข้มปกคลุมทั้งลำตัว ยกเว้นใบหน้าที่มีสีคล้ำ มีเสียงร้องที่น่าสะพรึงกลัว โดยปรกติแล้ว เยติเป็นสัตว์ที่มีนิสัยสงบเสงี่ยม แต่อาจดุร้ายโจมตีใส่มนุษย์และสัตว์เลี้ยง เช่น จามรี ได้ในบางครั้ง เยติ ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมของชาวเชอร์ปามาอย่างช้านาน โดยถูกกล่าวถึงในนิทานและเพลงพื้นบ้าน และเรื่องเล่าขานต่อกันมาถึงผู้ที่เคยพบมัน นอกจากนี้แล้วยังปรากฏในศิลปะของพุทธศาสนานิกายมหายานแบบธิเบต โดยปรากฏเป็นภาพในพรมธิเบตที่แขวนไว้ที่ฝาผนังเหมือนจิตรกรรมฝาผนังในวัดลามะอายุกว่า 400 ปี เป็นภาพของสิ่งมีชีวิตประหลาดอย่างหนึ่งที่ขนดกอยู่ด้านมุมภาพและในมือถือกะโหลกมนุษย์อยู่ และปัจจุบันนี้ ก็มีสิ่งที่เชื่อว่าเป็นหนังหัวของเยติถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในวัดลามะแห่งหนึ่งในคุมจุง ซึ่งนับว่าเยติเป็นสัตว์ที่ถูกกล่าวอ้างถึงยาวนานกว่าสัตว์ประหลาดที่มีลักษณะคล้ายกันชนิดอื่นที่พบในอีกซีกโลก เช่น บิ๊กฟุต หรือ ซาสควาทช์ ในทวีปอเมริกาเหนือ, ยาวี ในทวีปออสเตรเลีย หรืออัลมาส์ ในเอเชียกลาง หากแต่หลักฐานเกี่ยวกับเยติเมื่อเทียบกับบิ๊กฟุตแล้วพบน้อยกว่ามาก แต่มีหลายกรณีที่บ่งชี้ว่าเป็นสัตว์ที่ดุร้าย ก้าวร้าวกว่ามาก นอกจากคำว่าเยติแล้ว ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ที่เรียกเยติ เช่น เธลม่า (Thelma), แปลว่า "ชายตัวเล็ก" เชื่อว่ามีนิสัยรักสงบ ชอบสะสมกิ่งไม้และชอบร้องเพลงขณะที่เดินไป, ดซูท์เทห์ (Dzuteh) เป็นเยติขนาดใหญ่ มีขนหยาบกร้านรุงรัง มีนิสัยดุร้ายชอบโจมตีใส่มนุษย์, มิห์เทห์ (Mith-teh) มีนิสัยคล้ายดซูท์เทห์ คือ ดุร้าย มีขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำ, เมียกา (Mirka) แปลว่า "คนป่า" เชื่อว่าหากมันพบเห็นสิ่งใดไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ มันจะทำร้ายจนถึงแก่ความตาย, คัง แอดมี (Kang Admi) แปลว่า "มนุษย์หิมะ" และ โจบราน (JoBran) แปลว่า "ตัวกินคน" ขณะที่ในภูฏานเรียกว่า มิกอย (Migoi) หรือ นากอย (Nagoi) ส่วนชื่อ มนุษย์หิมะ นั้น ปรากฎขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1921 เมื่อนักสำรวจชาวตะวันตกซึ่งเป็นผู้ที่ถ่ายภาพรอยเท้าของเยติไว้ได้เป็นภาพแรก เจอกับปัญหาการแปลภาษาเชอร์ปา ซึ่งมาจากคำว่า "ดซูท์เทห์" ที่แปลได้ว่า "มนุษย์ตัวเหม็นแห่งหิมะ" ซึ่งเขาได้เขียนลงในบันทึกในฐานที่พักว่า "มนุษย์ตัวเหม็นน่ารังเกียจแห่งหิมะ" ที่ภูฏาน ชาวพื้นเมืองต่างเชื่อว่าเยติมีจริง หลายคนเคยได้พบเจอตัวหรือได้ยินเสียงของเยติ โดยกล่าวว่าเยติเป็นสัตว์ดุร้าย ที่ฆ่ามนุษย์ได้ มีรูปร่างสูงใหญ่ มีพละกำลังมาก มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุมทั่วร่างรวมถึงมีใบหน้าคล้ายลิง มีเขี้ยวที่ยาวและแหลมคม เสียงร้องของเยติเป็นเสียงสูง เยติอาศัยอยู่ตามถ้ำหรือในป่าลึก ออกหากินในช่วงเวลาที่อากาศอบอุ่น ทำรังด้วยการใช้กิ่งไม้ขัดสานกันเหมือนเตียงนอน และเชื่อว่าหากผู้ใดต้องการพบเห็นตัวเยติต้องทำร่างกายให้สกปรก หากเนื้อตัวสะอาดก็จะไม่ได้พบเยติ มีรายงานการพบเห็นเยติเป็นจำนวนมากทางตอนเหนือของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสากเต็ง ในเขตตราชิกัง เรเน เดอ มีล์วีลล์ นักปีนเขาชาวฝรั่งเศสเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1976 เรื่องราวของเยติที่โจมตีใส่มนุษย์นั้น ได้ถูกทำเป็นรายงานส่งไปยังเมืองกาฐมาณฑุ เมืองหลวงของเนปาล ซึ่งปากคำของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อถูกบันทึกโดยอาสาสมัครชาวอเมริกันที่ทำงานในเนปาล โดยผู้ถูกทำร้ายเป็น เด็กหญิงชาวเชอร์ปาคนหนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเยติ · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์

รือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เป็นหนึ่งในเรือพระที่นั่ง และพระราชพิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค เป็นเรือที่ถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก ในปัจจุบันจัดแสดงอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ปากคลองบางกอกน้อย เขตบางกอกน้อ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจอินเดีย

รษฐกิจของอินเดีย มีขนาดเป็นอันดับที่ 11 ของโลกเมื่อวัดด้วยค่าจีดีพี และเป็นอันดับ 4 ของโลกเมื่อเทียบด้วยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ หลังจากที่ได้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งโดยนักสังคมนิยมเป็นแรงบันดาลใจให้แก่เศรษฐกิจของประเทศหลังจากได้รับเอกราช อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยกิจกรรมตลาดเสรีซึ่งริเริ่มในปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเศรษฐกิจอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เสือลายเมฆ

ือลายเมฆ (Clouded leopard) เสือใหญ่ประเภทหนึ่ง อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

เสือดาวหิมะ

ือดาวหิมะ (Snow leopard, Ounce) สัตว์ในวงศ์ Felidae ชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์ป่าที่หายากใกล้สูญพันธุ์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera uncia เดิมทีเสือดาวหิมะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Uncia uncia โดยถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Uncia โดยใช้มาตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 30 แต่จากการศึกษาด้านจีโนไทป์พบว่าอยู่ในสกุล Panthera เช่นเดียวกับเสือใหญ่หลายชนิด ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเสือดาวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

เสือปลา

ือปลา หรือ เสือแผ้ว (ชื่อเรียกเสือปลาในตัวที่มีขนาดใหญ่; Fishing cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็ก จัดเป็นแมวป่าขนาดกลาง รูปร่างอ้วนป้อม ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นและหนา ขนสีเทาอมน้ำตาล หรือขนสีเทาอมมะกอก มีจุดสีน้ำตาลเข้มแกมดำเรียงเป็นลายแนวขนานไปกับความยาวลำตัว โดยขนแบ่งออกเป็น 2 ชั้น ซึ่งพัฒนามาเพื่อหากินกับน้ำโดยเฉพาะ ขนชั้นในสั้นเกรียนและแน่นมากจนน้ำซึมผ่านไม่ได้ ทำให้ตัวของเสือปลาแห้ง และช่วยรักษาความอบอุ่นเอาไว้ในขณะลงจับปลาในน้ำ ขนชั้นในสั้นกว่าขนชั้นนอก มีความหนาและยาวกว่าขนชั้นใน ขนชั้นนอกเป็นชั้นที่มีลวดลายและหนามันวาว หางยาวเพียงหนึ่งในสามของลำตัว มีพังผืดบาง ๆ ยึดระหว่างนิ้วเท้าหน้า ยังไม่พัฒนา เก็บเล็บไม่ได้เหมือนเสือชนิดอื่น ๆ เสือปลามีหัวขนาดใหญ่ หูสั้นมีกรอบสีดำ ดวงตาสีเขียว มีความยาวตั้งแต่หัวถึงลำตัว 70–90 เซนติเมตร หรือเกินกว่านั้น หางสั้น 20–30 เซนติเมตร น้ำหนัก 7–11 กิโลกรัม ขนาดของเสือปลาอาจมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของอาหารซึ่งก็คือความสมบูรณ์ของป่า ลูกเสือปลาขนาดเล็กมีลักษณะคล้ายแมวดาว (P. bengalensis) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันมาก มีการกระจายพันธุ์กว้างขวาง ในภูมิประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น มักอาศัยใกล้แหล่งน้ำตามธรรมชาติ เข่น ลำธาร, แม่น้ำ, ทะเลสาบ, ป่าชายเลน พบได้ตั้งแต่ตะวันตกเฉียงเหนือ, เหนือ, ตะวันออกเฉียงเหนือ, และตะวันตกเฉียงใต้ ของอินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ภูฏาน, จีน, รัสเซีย, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, เกาะสุมาตรา และเกาะชวา เสือปลามักอาศัยหากินอยู่ตามป่าเบญจพรรณ, ป่าพรุหรือป่าละเมาะ และป่าชายเลน เพราะอาหารหลัก คือ ปลา จึงเป็นที่มาของชื่อ สามารถจับปลาหรือสัตว์น้ำ เช่น อึงอ่าง, คางคก, กบ, เขียด, ปาด, ปลาไหล, ปู และสัตว์บกขนาดเล็ก เช่น หนู, กระรอก, กระต่าย, พังพอน, ชะมดเช็ด, ไก่ป่า และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น งู, นาก, ตุ่น, เป็ดน้ำ กินได้เก่งมาก โดยจะนั่งรอตะปบ หรือตะครุบปลาในแหล่งน้ำตื้น สามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้อย่างคล่องแคล่ว โดยใช้ขาหลังตีน้ำ ปีนต้นไม้ได้เก่ง มักอยู่บนต้นไม้ แต่ไม่ทำรังอาศัยอยู่บนต้นไม้ มักทำรังอยู่ในโพรงใต้ต้นไม้ เสือปลามีการผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ ตั้งท้อง 60–65 วัน ออกลูกในเดือนมีนาคม–เมษายน มีการผสมพันธุ์ช่วงเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน ออกลูกในเดือนกันยายน–ตุลาคม ออกลูกครั้งละ 1–4 ตัว 1–15 วันแรกตายังปิดอยู่ 55–60 วัน กินปลาหรือสัตว์น้ำและสัตว์บกขนาดเล็ก 120–180 วัน ยังไม่หย่านม จนเมื่ออายุได้ 10–12 เดือน แม่จะแยกจากไป เพื่อฝึกให้หากินเองลำพังตามธรรมชาติ บางครั้ง (บางปี) ฤดูร้อนอากาศแห้งแล้งฝนขาดช่วงตกเป็นระยะเวลานาน น้ำในแหล่งน้ำตามธรรมชาติแห้งขอด มีผลทำให้ปลาและสัตว์น้ำไม่มีที่อยู่อาศัย อาหารของเสือปลาหมดไป จึงทำให้ต้องออกจากป่ามาหาอาหารกินในเขตชุมชนมนุษย์ และอาศัยอยู่ใกล้กับชุมนุมมนุษย์ เช่น ในเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร มีวัดแห่งหนึ่งชื่อ "วัดกระทุ่มเสือปลา" แสดงถึงในอดีตเคยมีเสือปลาชุกชุม ซึ่งในตัวขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเสือแผ้วอาจคุกคามปศุสัตว์ขนาดใหญ่ของมนุษย์ได้ เช่น ลูกวัว การเลี้ยงเพื่อให้เชื่องในสถานที่เลี้ยง ไม่สามารถทำได้ เนื่องจากเสือปลาเป็นสัตว์ป่าที่มีอุปนิสัยดุมาก.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเสือปลา · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งเบงกอล

ือโคร่งเบงกอล (เบงกาลี:বাঘ, ฮินดี: बाघ; Bengal tiger, Royal bengal tiger) เป็นเสือโคร่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด รองจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) ที่พบในแถบไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย เสือโคร่งเบงกอลตัวผู้เมื่อมีขนาดใหญ่เต็มที่อาจยาวได้ถึง 360 เซนติเมตร หนัก 180-270 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า และมีน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 140–180 กิโลกรัม การกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียใต้ ในประเทศอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ และกระจายเข้าไปในแถบประเทศพม่าด้วย สถานะในธรรมชาติ จัดเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกล่าเพื่อทำหนังเป็นเครื่องประดับ และกระดูก, อวัยวะ เป็นยาสมุนไพรตามความเชื่อ อย่างไรก็ตาม เสือโคร่งเบงกอลนั้นนับได้ว่าเป็นเสือโคร่งชนิดที่ยังมีเหลืออยู่มากที่สุดในธรรมชาติ คาดว่ามีอยู่ประมาณ 2,000 ตัวในธรรมชาติ ในเขตป่าอนุรักษ์และอินเดียและเนปาล และเป็นเสือที่มนุษย์นำมาเลี้ยงและขยายพันธุ์ได้มากและแพร่หลายที่สุด ในสถานที่เลี้ยง พบว่า เสือโคร่งเบงกอลเป็นเสือโคร่งที่มีความเชื่องและดุร้ายน้อยที่สุด จนสามารถฝึกหัดให้เล่นละครสัตว์ได้ เสือโคร่งเบงกอลขึ้นชื่อว่าเป็นเสือโคร่งที่กินมนุษย์มาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะในอินเดีย การล่าเสือเป็นเกมกีฬาของราชวงศ์ชั้นสูง แม้แต่ในยุคที่อังกฤษเข้ามาปกครองอินเดีย โดยการขี่หลังช้างออกล่าในตามทุ่งหญ้าทั้งหญ้าสูงและหญ้าต่ำ ในคริสต์ทศวรรษที่ 20 มีเสือโคร่งเบงกอลคร่าชีวิตมนุษย์ไปกว่า 1,600 รายต่อปี แม้แต่ในปัจจุบันที่การล่าเสือเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และผู้คนเข้าใจถึงการอนุรักษ์สัตว์ป่ามากขึ้น แต่ทว่าก็ยังคงมีการโจมตีมนุษย์อยู่เป็นระยะ ๆ ของเสือ โดยเฉพาะในสุนทรพนะซึ่งเป็นพื้นที่ป่าชายเลน เสือโคร่งเบงกอลที่นี่มีความดุร้ายและไม่เกรงกลัวมนุษย์ มักจะโจมตีมนุษย์เสมอ ๆ โดยเฉพาะการจู่โจมจากด้านหลัง ชาวพื้นเมืองที่นี่จึงต้องสวมหน้ากากไว้ด้านหลังเพื่อป้องกัน ด้วยการทำให้เสือเข้าใจผิดว่ากำลังถูกจ้องดูอยู่ เสือที่โจมตีมนุษย์ส่วนมากเป็นตัวเมียในช่วงฤดูเก็บน้ำผึ้ง ซึ่งตรงกับฤดูที่เสือโคร่งเบงกอลจะมีลูกพอดี.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเสือโคร่งเบงกอล · ดูเพิ่มเติม »

เสือไฟ

ือไฟ (หรือ Catopuma temminckii) เป็นแมวป่าขนาดกลาง มีขนาดเล็กกว่าเสือลายเมฆ แต่ใหญ่กว่าแมวลายหินอ่อน โดยชื่อวิทยาศาสตร์ temminckii ถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่กุนราด ยาโกบ แต็มมิงก์ นักสัตววิทยาชาวดัตช์ซึ่งเป็นผู้บรรยายลักษณะทางวิทยาศาสตร์ของเสือไฟแอฟริกาเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเสือไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เสนียด

นียด (Malabar nut, adulsa, adhatoda, vasa, หรือ vasaka) เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยกลีบแยกเป็นปาก สีขาวประม่วง เป็นพืชสมุนไพรที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย กระจายทั่วไปในศรีลังกา เนปาล อินเดีย ปากีสถาน อินโดนีเซีย มาเลเซีย จีน และปานามา ทุกส่วนของลำต้นเมื่อรับประทานทำให้คลื่นไส้อาเจียน ชาวกะเหรี่ยงใช้รากต้มน้ำดื่มรักษาโรคหอบหืด เนื้อไม้ใช้ทำรั้วในใบมีสารเคมีหลายชนิด เช่น อัลคาลอยด์ แทนนิน ซาโพนิน ฟีโนลิก และฟลาโวนอยด์ สารที่สำคัญคือวาสิซีน ซึ่งเป็นควินาโซลีนอัลคาลอยด์ พบในปริมาณ 0.541 - 1.1% ของน้ำหนักแห้ง ใช้เป็นพืชสมุนไพรตามตำรับยาอายุรเวท สิทธะ และอูนานี ดอกเสนียดเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดปัญจาบ ประเทศปากีสถานอย่างไม่เป็นทางการ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเสนียด · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเพลิงไหม้ซานติก้าผับ

ซากอาคารซานติก้าผับ หลังเกิดเหตุ เหตุเพลิงไหม้ซานติก้าผับ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เกิดขึ้นในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 มีผู้เสียชีวิต 61 คน (สื่อมวลชนไทยรายงานว่าเสียชีวิต 66 คน) และบาดเจ็บอย่างน้อย 225 คน (สื่อมวลชนไทยรายงานว่า 222 คนที่บาดเจ็บ) เหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้นหลังช่วงจัดงานปีใหม่ เวลา 00.35 น. ชาวต่างชาติจากประเทศออสเตรเลีย เบลเยียม ฝรั่งเศส ฟินแลนด์ ญี่ปุ่น เนปาล เนเธอร์แลนด์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ได้รับบาดเจ็บในเหตุนี้ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเหตุเพลิงไหม้ซานติก้าผับ · ดูเพิ่มเติม »

เอบียูโรบอตคอนเทสต์ 2002

การแข่งขันเอบียูโรบอตคอนเทสต์ในปี ค.ศ. 2002นั้น ถือเป็นปีแรกของการจัดการแข่งขันเอบียูโรบอตคอนเทสต์ ซึ่งทางเอบียูได้มอบหมายให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งแรก โดยทางเจ้าภาพนั้นได้กำหนดกติกาการแข่งขันและใช้ชื่อการแข่งขันนี้ว่า Reach for The Top of Mt.Fuji หรือชื่อภาษาไทยว่า พิชิตยอดภูเขาไฟฟูจิ ซึ่งประเทศไทยนั้นได้ส่งทีม MIMI ซึ่งเป็นทีมที่มาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและเป็นผู้ชนะในการแข่งขันหุ่นยนต์เอบียูชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันกับอีก 19 ทีม จาก 18 ประเทศ(ไม่รวมประเทศไทย) และในที่สุดทีม TELEMATIC จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีโฮจิมินซิตี้ ประเทศเวียดนาม ก็สามารถคว้าชัยชนะในการแข่งขันครั้งนี้ได้สำเร็.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอบียูโรบอตคอนเทสต์ 2002 · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องสายมรกต

อิ้องสายมรกต เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในจีน (กว่างซีจ้วง กุ้ยโจว ทิเบต และยูนนาน) อินโดจีน ไทย และเขตเทือกเขาหิมาลัย เช่น เนปาล ภูฏาน อัสสัม ภาษาจีนกลางเรียกหวงเฉ่าสือหู ก้านใช้ทำยาที่เรียกสือหูหรือเจี่ยฮก แก้ท้องผูก เบื่ออาหาร.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอื้องสายมรกต · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องสีตาล

อื้องสีตาล หรือเอื้องแซะดง เอื้องสีจุน เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในเทือกเขาหิมาลัย ยูนนาน เนปาล รัฐอัสสัม อินเดีย ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอื้องสีตาล · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องเงินหลวง

อื้องเงินหลวง หรือ หวายเงินหลวง เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยชนิดหนึ่งในสกุลหวาย เป็นพืชพื้นถิ่นตามป่าในแถบเทือกเขาหิมาลัย (เนปาล, ภูฏาน, รัฐอัสสัมของอินเดีย, บังกลาเทศ), ตอนเหนือของคาบสมุทรอินโดจีน (พม่า, ไทย, เวียดนาม) และหมู่เกาะอันดามัน นอกจากนี้ยังมีการปลูกเป็นไม้ประดับอย่างแพร่หลายในพื้นที่อื่น ดอกเอื้องเงินหลวงเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดระนอง ชื่อเรียกในท้องถิ่นคือ "โกมาซุม" มีที่มาจากชาวอังกฤษคนหนึ่งชื่อ มร.สกอต ซึ่งเข้ามาทำเหมืองแร่กับบริษัทไซมิสตินในตำบลบางริ้น อำเภอเมืองระนอง เขาได้ตัดดอกเอื้องเงินหลวงซึ่งพบในป่าแถบนั้นมาแขวนประดับไว้บริเวณบ้าน โดยเรียกว่า "ฟอร์มมาซ่อม" คาดว่าคงเป็นการเรียกชื่อตามชนิดของกล้วยไม้นี้ (formosum) จากนั้นชาวไทยในพื้นที่ได้เรียกเพี้ยนต่อ ๆ กันมาจนกลายเป็นโกมาซุม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอื้องเงินหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เอเชีย เน็กซ์ ท็อป โมเดล

อเชียเน็กซ์ท็อปโมเดล (Asia's Next Top Model) เป็นรายการเรียลลิตีโชว์ที่ทำการคัดเลือกสาวๆจากประเทศใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ใฝ่ฝันจะเป็นสุดยอดนางแบบในระดับมืออาชีพ โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องขับเคี่ยวและฟ่าฝ่าอุปสรรคต่างๆนานา ในการขึ้นอยู่ไปอยู่ในระดับสุดยอดนางแบบ ทั้งการถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ซึ่งเริ่มออกอากาศครั้งแรกทางช่อง สตาร์เวิลด์ ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเชีย เน็กซ์ ท็อป โมเดล · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์ 2012

อเชียนบีชเกมส์ 2012 (2012 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขัน เอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่ ไห่หยาง ประเทศจีน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเชียนบีชเกมส์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันศิลปะการป้องกันตัว ในระดับทวีปเอเชีย โดยครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1-9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1978

อเชียนเกมส์ 1978 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 8 ประเทศไทยจำต้องเป็นเจ้าภาพอีกวาระหนึ่งเพราะปากีสถานซึ่งได้รับมอบหมายจากที่ประชุมมนตรีสหพันธ์ฯ ให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันครั้งนี้ได้แจ้งไปยังสหพันธ์ว่าไม่สามารถจัดการแข่งขันได้ เนื่องจากปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจภายในประเทศและภาวะเงินเฟ้อ ซึ่งเป็นเหตุให้ขาดดุลทางการเงิน นายอาลี ภูตโต นายกรัฐมนตรีปากีสถานในขณะนั้น ได้สั่งระงับการเป็นเจ้าภาพจัด การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 ผลจากการที่ปากีสถานขอคืนความเป็นเจ้าภาพจึงได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ขึ้นในระหว่างการแข่งขันโอลิมปิคครั้งที่ 21 ณ ประเทศแคนาดา เพื่อหาประเทศเจ้าภาพแทนปากีสถานและที่ประชุมได้มีมติขอร้องให้ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพอีกครั้ง โดยสมาชิกสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์จะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งสิ้นสำหรับการเป็นเจ้าภาพ ยกเว้นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งนักกีฬาไทยเข้าร่วมแข่งขัน ประเทศไทยจึงรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 8 ระหว่างวันที่ 9 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2521 การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระมหากรุณาทรงรับการแข่งขันครั้งนี้ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ การแข่งขันครั้งนี้ กีฬาที่แข่งขันมี 19 ชนิด คือ กรีฑา ยิงธนู แบดมินตัน บาสเกตบอล มวย โบว์ลิ่ง จักรยาน ฟุตบอล ยิมนาสติคส์ ฮอกกี้ ลอนเทนนิส ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก มวยปล้ำ และเรือใบ ส่วนประเทศที่เข้าแข่งขันมี 25 ประเทศ (สำหรับอิสราเอลนั้น คณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ได้ขอร้องมิให้ประเทศอิสราเอลส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันครั้งนี้ เพื่อลดค่ารักษาความปลอดภัย แต่ก็ยังถือว่าประเทศอิสราเอลยังคงเป็นสมาชิกอยู่) นักกีฬาที่เข้าแข่งขันครั้งนี้มี 2,863 คน เป็นชาย 2,318 คน หญิง 454 คน ประเทศที่ไม่ได้รับเหรียญรางวัลเลยได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย เนปาล บาห์เรน บังคลาเทศ กาตาร์ สหสาธารณรัฐอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1994

อเชียนเกมส์ 1994 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 12 จัดขึ้นที่ ฮิโระชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 2 ตุลาคม ถึง 16 ตุลาคม พ.ศ. 2537 มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 42 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 34 ชนิด โดยสนามแข่งขันที่ใช้เป็นหลัก คือ ฮิโรชิมา บิ๊ก อาร์ช มีมาสคอทหรือสัญลักษณ์เป็นนกพิราบคู่ ตัวผู้ ตัวเมีย เป็นการสื่อถึงสันติภาพ นับเป็นครั้งแรกด้วยที่การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติใช้มาสคอทเป็นคู่ สำหรับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งนี้ของนักกีฬาทีมชาติไทย ปรากฏว่าสามารถได้เพียงเหรียญทองเดียวจากมวยสากลสมัครเล่นในรุ่นเฟเธอร์เวทจากสมรักษ์ คำสิงห์ แต่ต่อมาภายหลังจบการแข่งขันได้มีมติให้เพิ่มอีก 2 เหรียญทองจากกีฬาว่ายน้ำจากรัฐพงษ์ ศิริสานนท์ เนื่องจากมีนักกีฬาคนเดิมที่ได้เหรียญไปนั้นถูกตรวจสอบใช้สารกระตุ้น และพิธีเปิดการแข่งขันมีนักร้องไทยร่วมในการแสดงด้วยคือ กุ้งนาง ปัทมสูต แต่การถ่ายทอดทางทีวีที่ถ่ายกลับมาไม่ทัน และในพิธีปิดการแข่งขัน การส่งมอบธงจัดการแข่งขันต่อให้ไทย ในปี พ.ศ. 2541 หรือ..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเชียนเกมส์ 1994 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียใต้

แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเวอร์เรสต์เวียดนาม

อเวอร์เรสต์เวียดนาม (Everest Vietnam, EVN หรือ Vietnam Spirit To The World) เป็นรายการโทรทัศน์เรียลลิตี้โชว์ของประเทศเวียดนาม จัดโดยสถานีโทรทัศน์นครโฮจิมินห์ (HTV) สถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นของรัฐ เพื่อที่จะนำนักปีนเขาชาวเวียดนามกลุ่มแรก ขึ้นไปบนยอดเขาเอเวอเรสต์ประมาณเดือนเมษายน-มิถุนายน พ.ศ. 2551 ตัวแทนชาวเวียดนามที่จะปีนขึ้นสู่ยอดเขา มีจำนวน 4 คน คัดเลือกจากผู้สมัครทั่วประเทศ โดยมีการฝึกซ้อมและคัดตัวผู้สมัครที่ร่างกายไม่สมบูรณ์ออก แบ่งเป็น 2 ระยะคือ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเวอร์เรสต์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ

อเอฟซีแชลเลนจ์คัพ (AFC Challenge Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับประเทศจัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยเป็นการแข่งขันพิเศษนอกเหนือจากเอเชียนคัพ โดยเปิดโอกาสให้ทีมที่อยู่ระหว่างการพัฒนาได้มีการแข่งขันขึ้น เริ่มมีการจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2549 ที่ ประเทศบังกลาเทศ โดยผู้ชนะในครั้งนั้น ทีมชาติทาจิกิสถาน โดยในปี พ.ศ. 2551 จัดขึ้นที่ประเทศอินเดีย หลังจากที่ไต้หวัน ได้ถูกเสนอให้เป็นเจ้าภาพ แต่ไม่สามารถจัดการแข่งขันได้ และอินเดียเป็นผู้ชนะเลิศในครั้งนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีเพรซิเดนต์คัพ

อเอฟซีเพรซิเดนต์คัพ (AFC President's Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติของทีมสโมสรที่อยู่ภายใต้ เอเอฟซี โดยทีมสโมสรที่เข้าร่วมจะเป็นทีมจากประเทศที่ ระบบฟุตบอล "อยู่ในระหว่างการพัฒนา" นอกเหนือจากทีมจากประเทศที่ลงแข่งใน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และ เอเอฟซีคัพ การแข่งขันนี้เริ่มครั้งแรกในปี 2548.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเอเอฟซีเพรซิเดนต์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาล

้าหญิงศรุติราชยลักษมีเทวีศาหะ (श्रुती राज्यलक्ष्मी देवी शाह; 15 ตุลาคม พ.ศ. 2519 — 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544) พระราชธิดาองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ กับสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ เป็นพระขนิษฐาในมกุฎราชกุมารทิเปนทรวีรพิกรมศาหเทวะ และเป็นพระพี่นางในเจ้าชายนิราชันวีรพิกรมศาหเทว.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงหิมานี มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล

้าหญิงหิมานีราชยลักษมีเทวีศาหะ มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล (हिमानी शाह) เป็นพระราชชายาในเจ้าชายปารัสวีรพิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล และเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล ตั้งแต่ 2001 จนถึงการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในปี 2008 เจ้าหญิงหิมาณีราชยลักษมีเทวีศาหะ ประสูติเมื่อ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเจ้าหญิงหิมานี มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงปูรณิกาแห่งเนปาล

้าหญิงปูรณิการาชยลักษมีเทวีศาหะ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2543) เป็นพระราชธิดาในเจ้าชายปารัส มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล กับเจ้าหญิงหิมานี มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระ พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเจ้าหญิงปูรณิกาแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเปรรณาแห่งเนปาล

้าหญิงเปรรณาราชยลักษมีเทวีสิงห์ (प्रेरणा राज्यलक्ष्मी सिंह; 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงเปรรณาราชยลักษมีเทวีศาหะ พระราชธิดาองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระ กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งเนปาล กับสมเด็จพระราชินีโกมล เจ้าหญิงเปรรณาเสกสมรสเมื่อวันที่ 23 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเจ้าหญิงเปรรณาแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เทวทหะ

ทวทหะ (Devadaha) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกลิยะ 1 ใน มหาชนบทในสมัยพุทธกาล เป็นเมืองที่ประสูติของพระนางสิริมหามายา ผู้เป็นพระราชมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า และเป็นเมืองพี่เมืองน้องในฐานะพระประยูรญาติของศากยวงศ์และโกลิยวงศ์แห่งแคว้นสักกะ (กรุงกบิลพัสดุ์) และโกลิยะ (กรุงเทวทหะ) เมืองแห่งนี้ ปัจจุบันเหลือเพียงซากโบราณสถานอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนตอนเหนือของประเทศอินเดีย ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญ.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเทวทหะ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลกฤษณชันมาษฏมี

ระกฤษณะปางประสูติ เทศกาลกฤษณะชันมาษฏมี (เทวนาครี: कृष्ण जन्माष्टमी) เป็นวันประสูติของ พระกฤษณะ แรม 8 ค่ำ เดือน 9 ของทุกปี เทศกาล นี้ เป็นที่นิยมของชาวฮินดูทั่วโลก เทั้งใน อินเดีย และ ต่างประเทศ เช่น อังกฤษ ยุโรป ไทย เนปาล อินโดนีเซีย จีน และ แอฟริกาใต้ ในงานพิธีนี้ จะมีการเล่าเรื่องราวประวัติของพระกฤษณะ และ จะมีการร้องรำทำเพลง ถวายพระกฤษณะ ตั้งแต่ เช้าจนถึงเที่ยงคืน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเทศกาลกฤษณชันมาษฏมี · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลคฒิมาอี

ทศกาลคฒิมาอี (गढ़िमाई पर्व; Gadhimai festival) เป็นพิธีบูชายัญที่จัดขึ้นทุก 5 ปีที่วัดคฒิมาอี แห่งเมืองพริยารปุระ อำเภอพารา ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางใต้ประมาณ ของเมืองหลวงกาฐมาณฑุ ทางภาคใต้ของประเทศเนปาล ใกล้ชายแดนอินโด-เนปาล และแดนติดกับรัฐพิหาร (ประเทศอินเดีย) มีการเฉลิมฉลองเป็นหลักโดยชาวมะเทสี และชาวรัฐพิหาร โดยเป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าสัตว์บูชายัญครั้งใหญ่ ซึ่งประกอบด้วย ควาย, หมู, แพะ, ไก่, หนู และนกพิราบ – โดยมีเป้าหมายเพื่อการเซ่นสังเวยให้แก่เจ้าแม่คฒิมาอี ซึ่งเป็นเทพีแห่งอำน.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเทศกาลคฒิมาอี · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาหิมาลัย

วเทียมของเทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาหิมาลัย (Himalaya Range) เป็นเทือกเขาในทวีปเอเชีย ที่แยกอนุทวีปอินเดียทางทิศใต้ ออกจากที่ราบสูงทิเบตทางทิศเหนือ เป็นที่ที่มียอดเขาที่สูงที่สุดในโลก เช่น ยอดเขาเอเวอเรสต์ และยอดเขากันเจนชุงคา (Kanchenjunga) และยังประกอบด้วยยอดเขาที่มีความสูงมากกว่า 7,200 เมตร (23,600 ฟุต) มากกว่าหนึ่งร้อยยอด ในทางศัพทมูลวิทยา คำว่า หิมาลัย มาจากภาษาสันสกฤต หมายถึง "ที่อยู่ของหิมะ" (หิม + อาลย) เป็นจุดกำเนิดของระบบแม่น้ำที่สำคัญของโลกหลายสาย เช่น แอ่งแม่น้ำสินธุ และแอ่งแม่น้ำคงคา-พรหมบุตร แม่น้ำสาละวิน และแม่น้ำโขง เทือกเขาหิมาลัยทอดยาวพาดผ่านพื้นที่ของ 5 ประเทศ — ปากีสถาน อินเดีย จีน ภูฏาน เนปาล — พื้นที่ลุ่มน้ำของแม่น้ำหิมาลัยเป็นที่อยู่ของผู้คนราว 750 ล้านคน ซึ่งรวมถึงชาวบังคลาเทศ เทือกเขาหิมาลัยหมายรวมถึงเทือกเขาการาโกรัม ฮินดูกูช และเทือกเขาอื่น ๆ ที่เล็กกว่า เมื่อรวมกันแล้วเทือกเขาหิมาลัยเป็นระบบที่สูงที่สุดในโลก และเป็นบ้านของยอดเขาที่สูงที่สุด ซึ่งรวมถึงยอดเขาเอเวอเรสต์และเคทู.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเทือกเขาหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เทนซิง นอร์เก

อนุสาวรีย์ของเทียนซิง นอร์เก เทนซิง นอร์เก (ทิเบต: བསྟན་འཛིན་ནོར་རྒྱས།, เนปาล: तेन्जिङ नोर्गे शेर्पा, อังกฤษ: Tenzing Norgay) เกิดในปี พ.ศ. 2457 - 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักปีนเขาชาวเชอร์ปา (เนปาล) โดยเทนซิง นอร์เก และเอดมันด์ ฮิลลารี เป็น 2 คนแรกที่สามารถปีกถึงยอดของยอดเขาเอเวอเรสต์ได้สำเร็จ (ทั้งสองถึงยอดเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) เทนซิง นอร์เก เสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2529.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเทนซิง นอร์เก · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเขตปกครองตนเองทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด วูดอาร์ด

วิด วูดอาร์ด (David Woodard; เกิด 6 เมษายน พ.ศ. 2507) คือ นักเขียนและวาทยากรชาวอเมริกัน ในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเดวิด วูดอาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Supreme Order of the Chrysanthemum) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสุงสุดของญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2422 โดยสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น จัดว่าเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สถาปนาเป็นลำดับสองของญี่ปุ่น และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงจะได้รับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ มีการพระราชทานสองแบบด้วยกันคือ แบบแรก มีสายสะพายพร้อมดาราและสังวาล สำหรับประมุขแห่งรัฐต่างประเทศและสมาชิกพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และแบบที่สอง มีสายสะพายพร้อมดารา สำหรับพระราชวงศ์ต่างประเทศ, ผู้นำรัฐบาลต่างประเทศ และบุคคลทั่วไปที่สมควรได้รั.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

เปียงยาง

ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ. 427 ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโคกูรยอ มีชื่อว่าเมืองเปียงยาง จนถึงปี ค.ศ. 668 ที่อาณาจักรโคกูรยอล่มสลายลง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเปียงยาง · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดก่า

ป็ดก่า (White-winged duck, White-winged wood duck) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จำพวกเป็ด อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Asarcornis จัดเป็นเป็ดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ หัวและลำคอตอนบนสีขาว มีจุดกระดำกระด่างสีดำ โดยทั่วไปสีของลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลเหลือบเขียว มีขนเป็นปื้นขาวตรงหัวไหล่เป็นลักษณะเด่น มีรูปร่างเทอะทะ ปีกกว้าง ขาสั้น เพศผู้มีม่านตาสีสดใสเป็นสีเหลืองส้ม ในขณะที่เพศเมียมีม่านตาสีน้ำตาลเข้ม จะงอยปากสีเหลืองเข้มหรือสีส้ม มีประดำเป็นหย่อม ๆ เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์โคนปากจะพองโต เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย น้ำหนักโดยเฉลี่ยเพศผู้ประมาณ 2,945-3,855 กรัม ขณะที่เพศเมีย 1,925-3,050 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, พม่า, ไทย จนถึงหลาย ๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับในประเทศไทยถือเป็นนกในวงศ์ Anatidae ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็ดก่า มีอุปนิสัยแปลกไปจากนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยมักจะอาศัยอยู่ในป่าดิบทึบ และพบได้จนถึงในพื้นที่ ๆ มีความสูงถึง 5,000 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลากลางคืนและกลับสู่ถิ่นที่อยู่ในเวลารุ่งเช้า โดยมักจะจับกิ่งไม้สูง ๆ ใช้เป็นที่หลับนอน มักจับคู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ 5-6 ตัวในแหล่งน้ำที่สงบ ปราศจากการรบกวน แม้จะมีรูปร่างเทอะทะแต่ก็สามารถบินได้ดี และบินหลบหลีกต้นไม้ต่าง ๆ ในป่าดิบได้เป็นอย่างดี ในฤดูผสมพันธุ์ เป็ดก่าจะส่งเสียงร้องขณะบิน การจับคู่ผสมพันธุ์อาจเป็นในรูปแบบผัวเดียวเมียเดียว แต่ยังไม่เป็นที่ยืนยัน วางไข่ครั้งละ 6-13 ฟอง สีของไข่เป็นสีเหลืองอมเขียว มักทำรังตามโพรง เพศเมียเท่านั้นที่กกฟักไข่ ระยะเวลาฟักประมาณ 33-35 วัน ขณะฟักไข่หรือเลี้ยงลูกอ่อนเพศผู้จะอยู่พัวพันเพียงห่าง ๆ เท่านั้น เป็ดก่า ถือเป็นเป็ดป่าที่หายากและเพาะขยายพันธุ์ได้ยากชนิดหนึ่ง มีการขยายพันธุ์ได้ด้วยฝีมือมนุษย์เพื่อการอนุรักษ์ ได้แค่ไม่กี่ครั้ง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเป็ดก่า · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดแดง

ป็ดแดง เป็นเป็ดขนาดเล็ก มีแหล่งขยายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ p. 58.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเป็ดแดง · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อทราย

thumb เนื้อทราย หรือ ทราย หรือ ตามะแน (Hog deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกกวางชนิดหนึ่ง มีรูปร่างอ้วนป้อม ขาสั้น เนื้อทรายจะมีสีขนเปลี่ยนไปตามสภาพภูมิอากาศ thumb thumb.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเนื้อทราย · ดูเพิ่มเติม »

เนปาลแอร์ไลน์

นปาลแอร์ไลน์ (เคยรู้จักกันในชื่อ รอยัลเนปาลแอร์ไลน์) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเนปาล มีสำนักงานใหญ่ในกรุงกาฐมาณฑุ มีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน ชานกรุงกาฐมาณฑุ ก่อตั้งในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและเนปาลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

Hemiorchis

Hemiorchis เป็นสกุลของพืชในวงศ์ขิง มีสมาชิก 3 สปีชีส์ เป็นพืชท้องถิ่นทางตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยจากประเทศเนปาลถึงประเทศพม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและHemiorchis · ดูเพิ่มเติม »

NP

อ็นพี NP หรือ Np เป็นอักษรย่อภาษาอังกฤษ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและNP · ดูเพิ่มเติม »

O.T ผี OVERTIME

O.T. ผี Overtime ภาพยนตร์ไทย แนวตลก-สยองขวัญภาคต่อของ ตีสาม 3D และ ตีสาม คืนสาม 3D จาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น กำกับการแสดงโดย อิสรา นาดี ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2557 นำแสดงโดย เรย์ แมคโดนัลด์ ชาคริต แย้มนาม และ อนันดา เอเวอริ่งแฮม.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและO.T ผี OVERTIME · ดูเพิ่มเติม »

Rucervus

Rucervus (/รู-เซอ-วัส/) เป็นสกุลของกวางที่กระจายพันธุ์ในอินเดีย, เนปาล, อินโดจีน และเกาะไหหลำ ของจีน ส่วนใหญ่สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยจากการทำลายป่า รวมทั้งถูกล่า และมีบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว กวางในสกุลนี้เคยถูกรวมเป็นสกุลเดียวกันกับสกุล Cervus แต่ถูกจัดให้เป็นสกุลต่างหาก ตามหลักของความแตกต่างทางสัณฐานวิทยา ตามหลักฐานทางพันธุกรรมแล้ว ละองละมั่งควรจะใช้สกุล Cervus ขณะที่ทั้ง 2 ชนิดที่เหลือยังใช้ที่สกุล Rucervus อยู่ หรืออย่างน้อยก็ย้ายไปในสกุล AxisPitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004).

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและRucervus · ดูเพิ่มเติม »

TITV Everest 2007

thumb แผนการปีนเขา TITV Everest 2007 มีชื่อเต็มว่า TITV The Everest: The Unlimited Spirit of Thailand 2007 ชื่อไทย “ปฏิบัติการเกียรติยศ สู่ยอดเอเวอเรสต์” เป็นโครงการส่งนักปีนเขาชาวไทย ขึ้นไปปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ ในปี พ.ศ. 2550 ให้การสนับสนุนโดยสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี กรมประชาสัมพันธ์ และกองทัพเรือไทย โดยมีการส่งทีมงานไปถ่ายทำภาพยนตร์เบื้องหลังการปีนเขา และส่งมาตัดต่อเป็นรายการสารคดีเรียลลิตี้โชว์ ฉายทางโทรทัศน์ในประเทศไทย การปีนเขามีกำหนด 3 เดือนตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยใช้เวลาฝึกฝนร่างกาย และปรับตัวเป็นเวลา 45 วัน และเริ่มต้นปีนจากแคมป์ฐาน ใช้เวลา 39 วัน จนถึงยอดเขา มีเป้าหมายที่จะนำธงชาติไทย ธงธรรมจักร และธงตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไปปักบนยอดเขา เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โครงการนี้เกิดจากแนวคิดของชิบ จิตนิยม ผู้ประกาศข่าวสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี เมื่อครั้งไปเยิ่ยมชมวัดไทยลุมพินีเมื่อกลางปี 2550 โดยในครั้งแรกจะนำนายทหารหน่วยรบพิเศษของกองทัพเรือ 3 คน กองทัพอากาศ 3 คน และเจ้าหน้าที่ทีไอทีวี 1 คน อุปสมบทที่วัดไทยลุมพินี และเดินเท้านำธงธรรมจักรขึ้นไปประดับบนยอดเขา ต่อมาได้ยกเลิกแนวคิดนี้ไปด้วยข้อจำกัดเกี่ยวกับการดื่มน้ำและรับประทานอาหารของพระภิกษุ ในปี 2007 มีนักปีนเขาจำนวนมากที่ขึ้นสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ โดยขึ้นจากทางทิศเหนือ จากทิเบต ประเทศจีน และหลีกเลี่ยงการขึ้นจากทางทิศใต้ จากประเทศเนปาลเนื่องจากสถานการณ์ทางการเมืองไม่มั่นคง dpa - Deutsche Presse-Agentur แต่สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีเลือกเส้นทางนี้ โดยให้เหตุผลว่าต้องการเดินทางจากประเทศเนปาล ซึ่งเป็นสถานที่ประสูติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีประมาณการค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นประมาณ 450,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 15 ล้านบาท) ใช้เวลาเตรียมการทั้งสิ้น 4 เดือน นิตยสาร Nature Explorer ฉบับเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและTITV Everest 2007 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+05:45

UTC+5:45 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 5 ชั่วโมง 45 นาที ใช้ในประเทศเนปาล โดยเรื่มใช้มาตั้งแต่ ค.ศ. 1986.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและUTC+05:45 · ดูเพิ่มเติม »

.np

.np เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและ.np · ดูเพิ่มเติม »

1 E+11 m²

ประเทศเกาหลีใต้ มีพื้นที่ 100,032 ตร.กม. ทะเลแคสเปียน มีพื้นที่ 370,000 ตร.กม. ประเทศไทย มีพื้นที่ 513,000 ตร.กม. อุทยานแห่งชาตินอร์ทอีสท์กรีนแลนด์ มีพื้นที่ 972,000 ตร.กม. 1 E+11 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 100,000 ถึง 1,000,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 100,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและ1 E+11 m² · ดูเพิ่มเติม »

22 กรกฎาคม

วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและ22 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ปี โลกไม่มีวันลืม

ซเวนเยียร์สอินทิเบต (Seven Years in Tibet) เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากหนังสืออัตชีวประวัติของไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ นักไต่เขาชาวออสเตรียที่ใช้ชีวิตอยู่ในทิเบตระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศเนปาลและ7 ปี โลกไม่มีวันลืม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nepalรัฐเนปาลสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลเนปาล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »