โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส

ดัชนี ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส

ซนต์คิตส์และเนวิส (Saint Kitts and Nevis) หรือชื่อทางการคือ สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส (Federation of Saint Kitts and Nevis) ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) เป็นประเทศเกาะในทะเลแคริบเบียนและเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในซีกโลกตะวันตก เมืองหลวงและหน่วยงานรัฐบาลของสหพันธรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนเกาะเซนต์คิตส์ (หรือเซนต์คริสโตเฟอร์) ที่มีขนาดใหญ่กว่า ส่วนรัฐที่เล็กกว่าคือ เนวิส (Nevis) ตั้งอยู่ห่างจากเกาะเซนต์คิตส์ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 3 กิโลเมตร ตามประวัติศาสตร์แล้ว แองกวิลลาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐด้วย เรียกว่า เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา แม้ว่าทั้งเกาะเซนต์คิตส์และเกาะเนวิสตั้งอยู่ภายในหมู่เกาะลีเวิร์ด แต่ทั้ง 2 เกาะก็ตั้งอยู่ใกล้กับเกาะอื่น ๆ อีกมากมายด้วย ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีเกาะซินต์เอิสตาซียึส เกาะซาบา เกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี และเกาะเซนต์มาร์ติน ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีเกาะแอนติกาและบาร์บูดา และทางตะวันออกเฉียงใต้มีเกาะมอนต์เซอร์รัต ทั้งชื่อ Saint Christopher และ Saint Kitts ปรากฏอยู่ใน.

57 ความสัมพันธ์: บาสแตร์ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียฟุตบอลทีมชาติเซนต์คิตส์และเนวิสการลงโทษทางกายภาษาอังกฤษมิสเวิลด์ 2010มิสเวิลด์ 2012มิสเวิลด์ 2014มิสเวิลด์ 2015มิสเวิลด์ 2016ราชวงศ์วินด์เซอร์รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายชื่อเขตการปกครองรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามรัชทายาทรายการภาพธงชาติวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือวันชาติวันแม่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนหนังสือเดินทางไทยหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติจักรวรรดิบริติชจุลรัฐธงชาติเซนต์คิตส์และเนวิสทรายดำทวีปอเมริกาเหนือคริสต์สหัสวรรษที่ 3คำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิสประเทศองค์ประกอบประเทศแอนติกาและบาร์บูดาประเทศไต้หวันประเทศเกรเนดานิติภาวะแองกวิลลาแคริบเบียนโอแลนด์ออฟบิวทีไมคาห์ ริชาดส์เฟเบียน แบรนดีเวลาสากลเชิงพิกัด...เจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์เขตเวลาเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลาเซนต์คิตส์UTC−04:00.kn19 กันยายน ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »

บาสแตร์

บาสแตร์ (Basseterre) เป็นเมืองหลวงของสหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส มีประชากรราว 15,500 คนจากการสำรวจในปี 2000 ท่าเรือบาสแตร์ตั้งอยู่ที่พิกัด บนชายหาดตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะเซนต์คิตส์ และเป็น 1 ในศูนย์กลางเศรษฐกิจที่สำคัญของเกาะลีวาร์ด บาสแตร์ถือเป็น 1 ในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในแคริบเบียนตะวันออก หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและบาสแตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย (Estonia national football team,Eesti jalgpallikoondis) เป็นตัวแทนของ ประเทศเอสโตเนียในการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติเช่น ฟุตบอลโลก และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของ สมาคมฟุตบอลเอสโตเนีย (Eesti Jalgpalli Liit),โดยสนามเหย้าของฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียคือ อา เลอ ค็อก อารีน่าใน ทาลลินน์, ประเทศเอสโตเนี.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเซนต์คิตส์และเนวิส

ฟุตบอลทีมชาติเซนต์คิตส์และเนวิส เป็นทีมฟุตบอลของสหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิสในการแข่งขันระดับชาติ ควบคุมและบริหารงานโดยสมาคมฟุตบอลเซนต์คิตส์และเนวิส (เอสเคเอ็นเอฟเอ) และเป็นสมาชิกของสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนรวมถึงคอนคาแคฟ ทีมชาติเซนต์คิตส์และเนวิส มีชื่อเล่นว่า เดอะ ซูการ์ บอยซ์ จากการที่มีการผลิตน้ำตาลเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศ สำหรับในการแข่งขันระดับภูมิภาค ทีมชาติเซนต์คิสและเนวิส ผ่านเข้าไปแข่งขันใน แคริบเบียน คัพ ทั้งหมด 2 ครั้ง โดยผลงานดีที่สุดคือการคว้าตำแหน่งรองชนะเลิศได้ในแคริบเบียนคัพ 1997 ที่ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและฟุตบอลทีมชาติเซนต์คิตส์และเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2010

มิสเวิลด์ 2010 (Miss World 2010) เป็นการประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 60 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 โดยแต่เดิมนั้นการประกวดมิสเวิลด์ในปีนี้จะจัดขึ้นที่เมืองญาจาง ประเทศเวียดนาม ซึ่งเคยเป็นเจ้าภาพในการจัดประกวดนางงามจักรวาล 2008 มาก่อน แต่เวียดนามได้ขอสละสิทธิ์ในการเป็นเจ้าภาพการประกวดมิสเวิลด์ ด้วยเหตุผลคือขาดงบประมาณและขาดการสนับสนุนจากรัฐบาล ทำให้การประกวดปีนี้ต้องกลับมาจัดที่เมืองซานย่า ประเทศจีนอีกครั้ง หลังจากที่เคยเป็นเจ้าภาพไปแล้วเมื่อปี พ.ศ. 2550 การประกวดในปีนี้มีสาวงามเข้าร่วมประกวดทั้งหมด 115 คนจากทั่วโลก โดยมี ไคแอน อัลโดริโน มิสเวิลด์ 2552 จากประเทศยิบรอลตาร์ ได้มาส่งมอบตำแหน่งให้กับ อเล็กซานเดรีย มิลล์ส สาวงามวัย 18 ปีจากประเทศสหรัฐอเมริกา ครองตำแหน่งมิสเวิลด์ประจำปีนี้.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและมิสเวิลด์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2012

มิสเวิลด์ 2012, การประกวด มิสเวิลด์ ครั้งที่ 62 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและมิสเวิลด์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2014, การประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 64 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและมิสเวิลด์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและมิสเวิลด์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์วินด์เซอร์

ราชวงศ์วินด์เซอร์ เป็นราชวงศ์ที่เป็นสาขาของ ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน ของเยอรมนี เป็นราชวงศ์ปัจจุบันที่ปกครอง สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และ เครือจักรภพ ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 1 ปี..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและราชวงศ์วินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์

้านล่างนี้คือ รายชื่อ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง ที่ไม่มี ตลาดหลักทรั.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)

ทความนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(ราคาตลาด) ซึ่งเป็นมูลค่าตลาดของสินค้า โดยเป็นข้อมูลประมาณการจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก โดยสำนักข่าวกรองกลาง .

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาท

นี้คือรายพระนามรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในการสืบราชบัลลังก์ทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายพระนามรัชทายาท · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือ

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือกโซนนอร์เซกา จะมีสมาชิกทั้ง 6 ประเทศ เข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายที่ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพฟุตบอลแคริบเบียน

*สมาชิกของสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนอยู่ในบริเวณสีส้มเข้ม *สมาชิกทั้งหมดของคอนคาแคฟ อยู่ในบริเวณสีส้มเข้มและสีส้มอิฐ สหภาพฟุตบอลแคริบเบียน (อังกฤษ: Caribbean Football Union) หรือ ซีเอฟยู (CFU) คือองค์กรฟุตบอลประจำภูมิภาคแคริบเบียน เกิดจากการรวมตัวกันของสมาคมฟุตบอลในกลุ่มประเทศแถบทะเลแคริบเบียน รวมถึง 3 สมาคมฟุตบอลที่ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้อย่างกายอานา, ซูรินาม และ เฟรนช์เกียนา มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงคิงส์ตัน ประเทศจาเมกา สหภาพฟุตบอลแคริบเบียนได้เริ่มก่อตั้งขึ้นในเดือนมกราคม..1978 และจัดการแข่งขันในระดับภูมิภาคโดยอยู่ภายใต้การควบคุมของคอนคาแคฟ ในปัจจุบันมีสมาชิก 29 สมาคมฟุตบอล โดยในจำนวนนี้มี 23 สมาคมฟุตบอลที่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า และมี 6 สมาคมฟุตบอลจากดินแดนอาณานิคมที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิกของฟีฟ่า การจัดการแข่งขันฟุตบอลในภูมิภาคที่จัดขึ้นโดยสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนคือการแข่งขัน แคริบเบียน คัพ ที่เป็นการแข่งขันระดับทีมชาติ และ ซีเอฟยู คลับ แชมเปียนชิป ที่เป็นการแข่งขันระดับสโมสร โดยสโมสรที่ได้แชมป์,รองแชมป์ และอันดับ 3 ของรายการซีเอฟยู คลับ แชมเปียนชิป จะได้สิทธิแข่งขันในรายการ คอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและสหภาพฟุตบอลแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและหนังสือเดินทางไทย · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จุลรัฐ

รัฐเอกราชที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก 5 อันดับ ได้แก่: นครรัฐวาติกัน, โมนาโก, นาอูรู, ตูวาลู และซานมารีโน โดยแผนที่แสดงมาตราส่วนที่เท่ากันเพื่อเปรียบเทียบขนาดของแต่ละประเทศ จุลรัฐ (microstate หรือ ministate) เป็นรัฐที่มีอธิปไตยเป็นของตนเองแต่มีขนาดพื้นที่ประเทศหรือจำนวนประชากรที่น้อยมาก อาทิ ประเทศลิกเตนสไตน์, ประเทศมอลตา, ประเทศซานมารีโน, ประเทศสิงคโปร์ และนครรัฐวาติกัน เป็นต้น จุลรัฐมักมีปัญหาพิเศษโดยเฉพาะด้านการป้องกันประเทศ และการป้องกันการแทรกแซงจากภายนอก ส่วนจุลรัฐที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก คือ นครรัฐวาติกัน ที่มีประชากรเพียง 842 คน (จากการสำรวจในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556) กับพื้นที่ 0.44 ตารางกิโลเมตร จุลรัฐ (Microstate) แตกต่างจากประเทศจำลอง (Micronation) เนื่องจากจุลรัฐจะได้รับการยอมรับจากประเทศต่าง ๆ แต่ตรงกันข้ามประเทศจำลองจะไม่ได้รับการยอมรับนานาชาติว่าเป็นรัฐอธิปไตย ส่วนเขตปกครองพิเศษ (Special territory) อาทิอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หรือเขตปกครองพิเศษของจีน ไม่จัดว่าเป็นจุลรั.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและจุลรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซนต์คิตส์และเนวิส

งชาติเซนต์คิตส์และเนวิส เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในมีแถบสีดำขอบสีเหลือง ภายในมีดาวห้าแฉกสีขาว 2 ดวง พาดผ่านจากมุมบนด้านปลายธงมายังมุมล่างด้านคันธง แบ่งพื้นธงออกเป็นรูปสามเหลี่ยม 2 รูป รูปหนึ่งอยู่ด้านคันธง มีพื้นสีเขียว ส่วนอีกรูปอยู่ด้านปลายธง พื้นสีแดง ธงนี้เป็นที่ชนะเลิศในการประกวดออกแบบธงชาติเมื่อ พ.ศ. 2526 เริ่มใช้เมื่อวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน สีที่ใช้ในธงนี้เป็นสีพันธมิตรแอฟริกา ในธงนี้ สีเขียวเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ สีแดงหมายถึงการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราช สีดำหมายถึงประชาชนในประเทศสืบเชื้อสายจากชนในทวีปแอฟริกา สีเหลืองคือแสงของดวงอาทิตย์ และดาวสีขาว 2 ดวง เป็นตัวแทนของความหวังและอิสร.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและธงชาติเซนต์คิตส์และเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิส

ตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิส ประกาศใช้เป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2510 โดยรายละเอียดของตราอาร์มแผ่นดินมีดังนี้ ในโล่พื้นขาวที่มุมบนของโล่ทั้ง 2 มุมมีดอกโป๊ยเซียนวางอยู่ ใต้ดอกโป๊ยเซียน มีขีดแง่งสีแดงวางอยู่ ใต่แง่งสีแดงมีรูปเรือใบวางอยู่ ด้านบนสุดของโล่มีแถบสีนำเงินคือทะเลแคริบเบียน ในแถบบนสุดมีการวางตามรูปแบบคือ ด้านซ้ายสุด มีดอกเฟอร์ราลีลวางอยู่ ตรงกลางแถบ มีหอยแคริเบียนวางอยู่ ด้นขวาสุด มีดอกกุหลาบอังกฤษวางอยู่ด้านข้างโล้มีนกปากยาวยืนขนาบข้างโล่ โดยนกถือต้นมะพร้าวและต้นอ้อย เหนือตราโล่มีมือสีนำตาล 3 ข้างถือคบเพลิง ใต้ตราโล่มีคำขวัญเขียนว่า "Country Above Self" ซึ่งก่อนหน้านี้เป็นคำขวัญที่ชื่อว่า "Unity in Trinity".

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศองค์ประกอบ

ประเทศองค์ประกอบ (constituent country) เป็นคำที่บางครั้งใช้เรียกประเทศที่มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทางการเมืองที่ใหญ่กว่า เช่น รัฐเอกราช คำว่าประเทศองค์ประกอบนี้ไม่มีความหมายในทางกฎหมาย และใช้เรียก ประเทศ ที่เป็นส่วนประกอบหนึ่งของหน่วยอื่นเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและประเทศองค์ประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา

แอนติกาและบาร์บูดา (Antigua and Barbuda) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันออก บริเวณรอยต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะหลักสองเกาะ คือ เกาะแอนติกาและเกาะบาร์บูดา ทั้งสองเกาะตั้งอยู่ในตอนกลางของหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) ในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออก ประมาณ 17 องศาเหนือเส้นศูนย์สูตร แอนติกาและบาร์บูดายังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส โดยมีหมู่เกาะกัวเดอลุป ดอมินีกา มาร์ตีนิก เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ บาร์เบโดส เกรเนดา ตรินิแดดและโตเบโกอยู่ทางทิศใต้ เกาะมอนต์เซอร์รัตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่เกาะเซนต์คิตส์และเนวิสทางทิศตะวันตก และมีเกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี เกาะเซนต์มาร์ติน และมีเกาะแองกวิลลาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและประเทศแอนติกาและบาร์บูดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกรเนดา

กรเนดา (Grenada) เป็นประเทศบนเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและประเทศเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

แองกวิลลา

แองกวิลลา (Anguilla) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียน หนึ่งในกลุ่มเกาะที่อยู่ทางเหนือสุดของหมู่เกาะลีเวิร์ดในภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส แองกวิลลาประกอบด้วยเกาะหลักแองกวิลลายาว 26 กิโลเมตร (16 ไมล์) กว้าง 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) และกลุ่มเกาะเล็ก ๆ ซึ่งไม่มีคนอาศัยอย่างถาวร เมืองหลักของดินแดนแห่งนี้คือเดอะแวลลีย์ (The Valley) มีเนื้อที่รวมทั้งหมด 102 ตารางกิโลเมตร (39.4 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 13,500 คน (พ.ศ. 2549).

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

แคริบเบียน

แคริเบียน (The Caribbean) เป็นกลุ่มประเทศและหมู่เกาะต่างในเขตทะเลแคริเบียนซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเม็กซิโก ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวเนซูเอลา มีรัฐอยู่ราวๆ 25 รัฐซึ่งรวมรัฐอิสระและรัฐภายใต้ความคุ้มครอง (dependencies).

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

โอแลนด์ออฟบิวที

อแลนด์ออฟบิวที เป็นเพลงชาติของประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส ประพันธ์เนื้อร้องและทำนองโดย เคนริค จอร์จ (Kenrick Georges) ได้รับการประกาศให้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2526.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและโอแลนด์ออฟบิวที · ดูเพิ่มเติม »

ไมคาห์ ริชาดส์

มคาห์ ลินคอล์น ริชาดส์ (Micah Lincoln Richards) เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและไมคาห์ ริชาดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟเบียน แบรนดี

ฟเบียน แบรนดี นักฟุตบอลชาวเซนต์คิตส์และเนวิส ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งกองหน้าให้กับสโมสรอุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด ในระดับไทยลีกดิวิชัน 1 แบรนดี เกิดที่เมืองแมนเชสเตอร์และเริ่มต้นเป็นนักฟุตบอลอาชีพกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด แต่ไม่อาจสอดแทรกขึ้นมาสู่ทีมชุดใหญ่ของสโมสรได้ ก่อนจะถูกปล่อยตัวไปเล่นให้กับสวอนซี ซิตี, เฮเรฟอร์ด ยูไนเต็ด และจิลลิงแฮม ด้วยสัญญายืมตัว หลังจากหมดสัญญากับแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดในเดือนกรกฎาคม ปี 2010 แบรนดี ย้ายไปเล่นในระดับฟุตบอลลีกวันกับสโมสรฟุตบอลนอตส์ เคาน์ตี ในเดือนกุมภาพันธ์ 2011 แต่ก็ถูกปล่อยตัวออกจากทีมเมื่อจบฤดูกาล จากนั้นเขาย้ายไปเล่นฟุตบอลที่ประเทศกรีซในระยะเวลาสั้นๆกับสโมสรพาเนโตลิกอส เดือนกรกฎคม 2012 แบรนดี กลับมาที่อังกฤษอีกครั้งเพื่อเล่นให้กับวอลซอล ก่อนจะย้ายไปเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลเชฟฟีลด์ ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2013–14.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและเฟเบียน แบรนดี · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์

้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์ (Prince George of Cambridge; ประสูติ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) หรือพระนามเต็มว่า จอร์จ อเล็กซานเดอร์ หลุยส์ (George Alexander Louis) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ เป็นพระนัดดาของเจ้าชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ กับไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ผู้ล่วงลับ ทั้งเป็นพระปนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ จึงอยู่ในลำดับที่สามของการสืบสันตติวงศ์อังกฤษ ก่อนประสูติสื่อมวลชนพรรณนาพระโอรสองค์นี้ว่าเป็น "พระกุมารผู้ทรงมีชื่อเสียงที่สุดในโลก".

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและเจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา

เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา เป็นชื่ออาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งตั้งอยู่ในแถบทะเลแคริบเบียน ประกอบด้วยดินแดนของแองกวิลลาและประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสในปัจจุบัน รัฐดังกล่าวนี้ต่อมาได้กลายเป็นมณฑลหนึ่งของสหพันธรัฐเวสต์อินดิสในปี ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) จนกระทั่งเมื่อสหพันธรัฐดังกล่าวได้ล้มเลิกลงในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลาก็ได้เป็นประเทศอิสระ ซึ่งได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อรวมตัวเป็นสหภาพกับประเทศอื่นอยู่หลายครั้ง ในปี ค.ศ. 1967 (พ.ศ. 2510) เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลา ได้รับมอบอำนาจปกครองตนเองด้านกิจการภายในอย่างเต็มที่จากสหราชอาณาจักร ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 แองกวิลลาได้พยายามก่อกบฏเพื่อแยกตัวเป็นอิสระจนสำเร็จแต่ก็เป็นประเทศเอกราชได้เพียงไม่นานนัก ถึงปี ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) แองกวิลลาจึงแยกตัวจากเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลาอย่างเป็นทางการโดยยังคงสถานะเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรจนถึงปัจจุบัน ส่วนดินแดนที่เหลือภายหลังก็ได้รับเอกราชและสถาปนาเป็นประเทศเอกราชในชื่อเซนต์คิตส์และเนวิสเมื่อปี ค.ศ. 1983 (พ.ศ. 2526) หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เซนต์คิสต์และเนวิส หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์แองกวิลลา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2501 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2526 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์คิตส์

กาะเซนต์คิตส์ (Saint Kitts) หรือ เกาะเซนต์คริสโตเฟอร์ (Saint Christopher Island) เป็นเกาะในเวสต์อินดีส์ ของประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส ฝั่งตะวันตกของเกาะติดกับทะเลแคริบเบียน ส่วนชายฝั่งตะวันออกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะลีเวิร์ด ในเลสเซอร์แอนทิลลีส ตั้งอยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ราว 2,100 กม.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและเซนต์คิตส์ · ดูเพิ่มเติม »

UTC−04:00

UTC−04:00 เป็นออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด ที่ลบ 4 ชั่วโมงจากเวลามาตรฐานสากล (UTC).

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและUTC−04:00 · ดูเพิ่มเติม »

.kn

.kn เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและ.kn · ดูเพิ่มเติม »

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสและ19 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Saint Kitts and Nevisสหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิสเซนต์คิตส์และเนวิส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »