โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศตองงา

ดัชนี ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

182 ความสัมพันธ์: บารอนวาเออาฟาตูมาโนงีฟุตบอลทีมชาติตองงาพ.ศ. 2443พ.ศ. 2502พ.ศ. 2513พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 แห่งตองงาพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองงาพฤษภาคม พ.ศ. 2549พิธีราชาภิเษกพิธีราชาภิเษกในโอเชียเนียกลุ่มภาษาตองงิกการลงโทษทางกายการจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองงา พ.ศ. 2557ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาตองงามหาสมุทรแปซิฟิกมะกอกฝรั่งมะเฟืองมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสเอิร์ธ 2017มูอารัฐในอารักขาราชวงศ์ราชอาณาจักรตาฮีตีรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศตองงารายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายชื่อเมืองในประเทศตองงารายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงารายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีรายพระนามรัชทายาทรายพระนามรัชทายาทตองงารายการภาพธงชาติรายการภาพธงสองสีรายนามนายกรัฐมนตรีตองงาร่องลึกก้นสมุทรร่องลึกตองงาลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ตองงาลูลูงา...วันชาติวันแม่วาวาอูวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีวงศ์งูโบอาวงแหวนไฟสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาสมเด็จพระราชินีสโลเต ลูเปปาอูอูสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงาสมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮสหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิกสาธารณรัฐมิเนอร์วาหมู่เกาะซามัวหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอิกัวนาฟีจีอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบอเลสซานโดร มาลาสปินาฮาอะโนฮาอะไปจักรวรรดิตูอีโตงาจุลรัฐคริสต์สหัสวรรษที่ 3คาวาคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะองคมนตรีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศตองงาค้างคาวแม่ไก่ป่าฝนตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตราแผ่นดินของตองงาตราแผ่นดินในโอเชียเนียตูอิกาโนกูโปลูตูอิฮาอะตากาเลาอาตูอี มะลิลาตูอีโตงาตีนเป็ดทรายซีอาเลอาตาโอโง ตูอีวากาโนประมวลกฎหมายวาวาอูประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิกประเทศฟีจีประเทศตองกาใน ค.ศ. 1875ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1880ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1885ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1890ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1895ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1900ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1905ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1910ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1915ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1918ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1921ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1924ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1927ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1930ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1936ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1939ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1942ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1945ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1948ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1951ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1954ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1957ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1960ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1963ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1966ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1969ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1972ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1975ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1978ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1981ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1984ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1987ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1988ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1990ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1992ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1993ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1996ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1999ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2000ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2002ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2004ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2005ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2008ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2010ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2012ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2014ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2016ประเทศนิวซีแลนด์ปลาวัวจมูกยาวปลาสลิดหินมะนาวปอสาปาล์มพัดปาอางานูกูอาโลฟานีวเวนีอูอาสนีอูอาโฟโออูนีอูอาโตปูตาปูนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาวแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559แปซิฟิกเกมส์โฟอาโกโลไวโกเอฟาซีโอเอตูอีโอเอโอตูโตงาโอลิมปิกฤดูหนาว 2014โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14โตฟูอาโตงาตาปูเฟเลติ เซเวเลเกาะแคโรไลน์เมยังคลาสสิกเวลาสากลเชิงพิกัดเหยี่ยวออสเปรเออัวเอเชียแปซิฟิกเจ้าชายอาตาเจ้าหญิงลาตูฟูอิเปกา ตูกูอาโฮเจ้าหญิงโซเนม เดเชน วังชุกเท้ายายม่อม (พืช)เขตเวลาเนอิอาฟูISO 4217.to1 E+8 m²10 กันยายน18 พฤษภาคม4 พฤษภาคม4 มิถุนายน ขยายดัชนี (132 มากกว่า) »

บารอนวาเออา

บารอนวาเออา ซีอาโอซี ตูอีฮาลา อาลีปาเต วาเออา ตูโปอู หรือ บารอนวาเออา (Siaosi Tuʻihala ʻAlipate Vaea Tupou; Baron Vaea) เกิดวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 เคยเป็นนายกรัฐมนตรีของตองงาตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนถึง พ.ศ. 2543 นายกรัฐมนตรีท่านนี้เคยเข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในคราวเยือนราชอาณาจักรตองงา อย่างเป็นทางการ นอกจากนี้เขายังเป็นพระราชบิดาใน สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ สมเด็จพระราขินีแห่งราชอาณาจักรตองงา รัชกาลปัจจุบัน หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีตองงา หมวดหมู่:ประเทศตองงา.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและบารอนวาเออา · ดูเพิ่มเติม »

ฟาตูมาโนงี

ฟาตูมาโนงี (Fatumanongi) เป็นเกาะหนึ่งของประเทศตองงา ตั้งอยู่ทางตอนกลางของกลุ่มเกาะฮาอะไป และอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองหลวงนูกูอาโลฟ.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและฟาตูมาโนงี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติตองงา

ฟุตบอลทีมชาติตองงา เป็นทีมชาติที่เป็นตัวแทนของประเทศตองงา บริหารงานโดยสมาคมฟุตบอลตองงา ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1965 และเข้าร่วมเป็นสมาชิกฟีฟ่าและสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนียในปี ค.ศ. 1994.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและฟุตบอลทีมชาติตองงา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพ.ศ. 2443 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 แห่งตองงา

มเด็จพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 แห่งตองกา เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าทูโพทัว แห่งราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลู ทรงพระราชสมภพที่ตองโกเลเลกา ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2340 และสวรรคตในวันที่18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 ณ กรุงนูกูอะโลฟา พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์ตูโปอู ทรงขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2388 อีกทั้งยังเป็นผู้รวบรวมตองงา ภายใต้ชื่อว่าอาณาจักรโพลีนิเซียให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง ตราบเท่าทุกวันนี้ อีกทั้งพระองค์ยังทรงเลิกทาสและประกาศตั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรตองงาที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน เมื่อพระองค์สวรรคตในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองงา

สมเด็จพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองกา แห่งราชวงศ์ตูโปอู (18 มิถุนายน พ.ศ. 2417 — 5 เมษายน พ.ศ. 2461) ทรงเป็นพระราชโอรสในเจ้าชายเซียโอซิ ฟาตาเฟหิ ตัวไตโตโกตาฮา (ตูอิเปเลหะกาลำดับที่ 4 และนายกรัฐมนตรีของตองงา) และพระราชมารดาซึ่งเป็นหลานของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 พระองค์มีพระนามภาษาตองงาว่าเจียโอจิ ตูบู หรือเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 2 ต่อมาพระองค์ได้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 ในปี พ.ศ. 2436 พระองค์โปรดในด้านศิลปะและเป็นกวีที่เปรื่องปราด อีกทั้งพระองค์ยังทรงไม่ชื่นชอบการบริหารประเทศ จึงทรงมอบหมายให้ เชอเลย์ ดับเบิลยู บาเกอร์ มิชชันนารีชาวคริสต์นิกายเวสเลยันมาบริหารประเทศ แต่นายเชอเลย์ คดโกงและโกงกินจึงถูกเนรเทศออกนอกประเทศ และเมื่อพระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2461 เมื่อพระชนมพรรษาได้ 43 พรรษา สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา ก็ได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติแทน หมวดหมู่:ราชวงศ์ตูโปอู หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ตองงา.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พิธีราชาภิเษก

น ดาร์ก'' (''Jeanne d'Arc'') พ.ศ. 2429-2433 โดยฌูลส์ เออแฌน เลอเนิปเวอ พิธีราชาภิเษก (coronation) เป็นเป็นพิธีการเพื่อสถาปนาพระมหากษัตริย์ และ/หรือ คู่อภิเษกซึ่งมีพระราชอำนาจ อย่างเป็นทางการ เกี่ยวข้องกับการวางมงกุฎบนพระเศียรของพระองค์หรือการนำเสนอเครื่องราชกกุธภัณฑ์รายการอื่น โดยพิธีการนี้อาจหมายรวมถึง การตรัสคำปฏิญาณพิเศษโดยกษัตริย์ การแสดงคารวะจากคนในบังคับ ของผู้ปกครองใหม่ และการแสดงพิธีกรรมอื่น ซึ่งมีความสำคัญพิเศษต่อชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพิธีราชาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย

ระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงาและวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี พระราชสวามี ในรูปแบบพิธีตามอย่างวัฒนธรรมยุโรป แวดล้อมด้วยข้าราชการที่แต่งตัวแบบยุโรป วันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1918 พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย เป็นพิธีที่มีความเกี่ยวเนื่องในประวัติศาสตร์ของประเทศในโอเชียเนีย ที่เคยมีระบอบราชาธิปไตยโดยถูกยกเลิกไปแล้ว และประเทศที่ยังคงมีสถาบันกษัตริย์อยู๋ พิธีราชาภิเษกแบบดั้งเดิมของพระมหากษัตริย์ในโอเชียเนียยังคงมีลักษณะในรูปแบบชนเผ่า ตามประเพณีของชนเผ่าพื้นเมืองดั้งเดิม ก่อนที่พิธีราชาภิเษกในบางประเทศจะถูกแปรเปลี่ยนไปตามอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรป และการเผยแพร่ของคริสต์ศาสนา ที่เข้ามาแทนที่ศาสนาและประเพณีของชนเผ่าพื้นเมือง เช่น ในกรณีของราชอาณาจักรตองงาและราชอาณาจักรฮาวาย พิธีราชาภิเษกของภูมิภาคโอเชียเนียสามารถแบ่งตามประเทศได้ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและพิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาตองงิก

กลุ่มภาษาตองงิก (Tongic languages) เป็นกลุ่มภาษาย่อยในกลุ่มภาษามาลาโย-พอลินีเชียน ประกอบไปด้วย 2 ภาษา คือภาษานีวเวและภาษาตองงา และอาจจะมีภาษานีอูอาโฟโออูเป็นภาษาที่สามในกลุ่มนี้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและกลุ่มภาษาตองงิก · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

การจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549

การจลาจลในนูกูอะโลฟ..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและการจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองงา พ.ศ. 2557

การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองง..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองงา พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตองงา

ภาษาตองงา (lea faka-Tonga) เป็นภาษาราชการของประเทศตองงา พูดกันทั้งหมด 105,319 คน เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีรูปแบบการเรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม มีความใกล้ชิดกับภาษานีวเว หมวดหมู่:สังคมตองงา ตองงา.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและภาษาตองงา · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกฝรั่ง

มะกอกฝรั่ง, มะกอกหวาน หรือ มะกอกดง เป็นไม้ยืนต้นเขตร้อนขนาดกลาง ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน มีขนาดเล็ก ผลกลมรี สีเขียวเข้ม พอแก่สีจะอ่อนลง เนื้อมีรสมัน เปรียวอมหวาน ติดผลตลอดปี มีชื่อเรียกแตกต่างกันมากมาย เช่น พอมซิเทย์ (pomsitay) ในตรินิแดดและโตเบโก,Davidson, Alan, and Tom Jaine.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและมะกอกฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

มะเฟือง

มะเฟือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Averrhoa carambola L.; ชื่อสามัญ: Carambola) เป็นไม้ต้นพื้นเมืองของอินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา และเป็นที่นิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวันออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชย์อยู่ที่ฟลอริดาตอนใต้และฮาว.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและมะเฟือง · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอิร์ธ 2017

มิสเอิร์ธ 2017, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 17 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและมิสเอิร์ธ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มูอา

200px มูอา (Mua) เป็นหนึ่งในศูนย์กลางของวัฒนธรรมแลพีตาในตองงา เมื่อเวลา 2,000 ปีผ่านมาแล้ว และในระยะเวลาต่อมามูอาได้กลายมาเป็นศูนย์กลางการปกครองของจักรวรรดิตูอีโตงา หลังจากการแบ่งอำนาจของตูอีโตงาสู่ราชวงศ์อื่น ๆ มูอาจึงทำหน้าที่เป็นเพียงแค่เมืองหลวงของกษัตริย์ตูอีโตงาเท่านั้น ซึ่งไม่มีพระราชอำนาจทางการเมืองใดๆและมีบทบาทเพียงทางด้านพิธีการเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและมูอา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรตาฮีตี

ราชอาณาจักรตาฮีตี ก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าโปมาเรที่ 1 ด้วยความช่วยเหลือของมิชชันนารีอังกฤษและพ่อค้ายุโรป โดยได้รวบรวมหมู่เกาะต่างๆ เข้าด้วยกัน และก่อตั้งเป็นราชอาณาจักร ต่อมาในสมัยของพระเจ้าโปมาเรที่ 2 อาณาจักรก็เริ่มก้าวหน้า มีความรุ่งเรืองและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น แต่อาณาจักรก็ต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคมเช่นเดียวกันกับดินแดนโปลินีเซียอื่น ๆ เช่น ราอีอาเตอา, ฮูอาฮีเน, บอราบอรา, ฮาวาย, ซามัว, ตองกา, ราโรตองกา และนีอูเอ ในศตวรรษที่ 19 ตาฮีตีต้องตกเป็นรัฐอารักขาของฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและราชอาณาจักรตาฮีตี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

มุมหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี้คือรางวัลทางการศึกษานานาชาติของ ดร.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศตองงา

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อปีในประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองในประเทศตองงา

รายชื่อที่จะเห็นต่อไปนี้คือชื่อเกาะและเมืองทั้งหมดในประเทศตองง.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายชื่อเมืองในประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา

ราชวงศ์ตูโปอูซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูปกครองประเทศตองงาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา โดยใช้ระบบราชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มาบริหารประเทศ และนายกรัฐมนตรีแต่ละสมัยของตองงามักเป็นเชื้อพระวงศ์หรือไม่ก็เป็นเหล่าขุนนางซึ่งมาจากการเลือกของขุนนางทั้งหมด 33 คน แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของตองงาคือ ดร.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจำนวน 25 ประเทศจากทั้งสิ้น 29 ประเทศทั่วโลกตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยที่จะมาร่วมราชพิธีอันเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายนปีดังกล่าว พระประมุขจาก 13 ประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง 12 ประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน ครั้งนี้นับเป็นการชุมนุมของพระประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาท

นี้คือรายพระนามรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในการสืบราชบัลลังก์ทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายพระนามรัชทายาท · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาทตองงา

รายพระนามรัชทายาทตองงา รายพระนามนี้รวมถึงบุคคลทุกคนที่ได้รับการพิจารณาว่าจะได้รับมรดกสืบราชบัลลังก์ตองงา หรือ ได้รับการดำรงตำแหน่งเป็นพระมหากษัตริย์ตองงา ไม่ว่าจะเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานนับตั้งการสถาปนาราชวงศ์ตูปูปกครองราชอาณาจักรตองงาในวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายพระนามรัชทายาทตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงสองสี

รายการภาพธงสองสี เรียงตามชื่อสามัญ (หากธงใดมีตราแผ่นดินที่มีหลายสีติดอยู่ จะไม่นับ).

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายการภาพธงสองสี · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีตองงา

ประเทศตองงามีนายกรัฐมนตรีมาแล้วทั้งสิ้น 14 คน โดยเจ้าชายเตวิตา อังกาเป็นผู้ประเดิมตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยส่วนใหญ่แล้วเชื้อพระวงศ์และชนชั้นสูงมีโอกาสในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีบ่อยครั้งกว่าสามัญชน อย่างไรก็ตามในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและรายนามนายกรัฐมนตรีตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ร่องลึกก้นสมุทร

ปลือกโลกใต้มหาสมุทรจะเกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทรขณะที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจะถูกมุดกลับเข้าไปในชั้นฐานธรณีภาคที่ร่องลึกก้นสมุทร ร่องลึกก้นสมุทร (oceanic trench) เป็นร่องหลุมลึกของพื้นผิวท้องทะเลที่มีลักษณะภูมิประเทศยาว แคบ และโค้ง และถือว่าเป็นส่วนของมหาสมุทรที่ลึกที่สุด ร่องลึกก้นสมุทรถือเป็นหนึ่งในขอบเขตทางธรรมชาติที่สำคัญที่สุดบนพื้นผิวในส่วนที่เป็นของแข็งของโลกระหว่างแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ขอบเขตระหว่างแผ่นธรณีภาคชั้นนอกมี 3 ประเภท คือ ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว (divergent boundary) (เป็นขอบเขตที่เกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทร) ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (convergent boundary) (เป็นขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจมลงไปใต้อีกแผ่นหนึ่งกลับลงไปสู่ชั้นเนื้อโลก) และขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกเคลื่อนที่ผ่านซึ่งกันและกัน (transform boundary) ร่องลึกก้นสมุทรเป็นลักษณะของขอบเขตระหว่างแผ่นเปลือกโลกที่โดดเด่นชัดเจน โดยเป็นบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่เข้าหากันด้วยอัตราการลู่เข้าหากันที่แปรผันจากปีละไม่กี่มิลลิเมตรจนไปถึงสิบเซนติเมตรหรือมากกว่า ร่องลึกก้นสมุทรหนึ่งๆเป็นตำแหน่งที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกหนึ่งมีการโค้งมุดลงไปใต้แผ่นธรณีภาคชั้นนอกอีกแผ่นหนึ่ง โดยทั่วไปแล้วร่องลึกก้นสมุทรจะขนานไปกับแนวหมู่เกาะรูปโค้ง (volcanic arc) และอยู่ห่างจากแนวหมู่เกาะรูปโค้งออกไปประมาณ 200 กิโลเมตร โดยทั่วไปร่องลึกก้นสมุทรจะมีความลึกประมาณ 3 ถึง 4 กิโลเมตรลงไปจากพื้นมหาสมุทรรอบข้าง ส่วนที่ลึกที่สุดอยู่ที่ร่องลึกชาลเลนเจอร์ของร่องลึกก้นสมุทรมาเรียน่าซึ่งมีความลึก 10,911 เมตรใต้ระดับทะเล แผ่นธรณีภาคชั้นนอกใต้มหาสมุทรจะเคลื่อนที่หายเข้าไปในร่องลึกก้นสมุทรด้วยอัตราประมาณ 10 ตารางเมตรต่อวินาที.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและร่องลึกก้นสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ร่องลึกตองงา

ร่องลึกตองงา (Tonga Trench) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของหมู่เกาะตองงา ประเทศตองงา จุดที่ลึกที่สุดมีความลึก 10,882 เมตร หมวดหมู่:ร่องลึกบาดาล หมวดหมู่:มหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ประเทศตองงา.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและร่องลึกตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ตองงา

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์แห่งราชอาณาจักรตองงา เป็นรายพระนามที่จัดเรียงไว้ของบุคคลที่อยู่ในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่งราชอาณาจักรตองง.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ลูลูงา

ลูลูงา เป็นอำเภอและหมู่เกาะในเขตการปกครองฮาอะไป ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรตองงา ลูลูงาเป็นหมู่เกาะที่ประกอบไปด้วยเกาะทั้งสิ้น 17 เกาะแต่มีเพียง 5 เกาะเท่านั้นที่มีประชากรอยู่อาศัย อันได้แก่ ฮาอะเฟวา มาตูกู โกตู โออัว และตูงูอา ลูลูงามีประชากรทั้งสิ้น 1055 คน โดยส่วนใหญ่แล้วอาศัยอยู่ในฮาอะเฟว.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและลูลูงา · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วาวาอู

ทัศนียภาพของวาวาอู วาวาอู (Vavaʻu) เป็น 1 ใน 3 กลุ่มเกาะหลักของตองงา วาวาอูมีเกาะใหญ่ 1 เกาะ และเกาะเล็กอีก 4 เกาะ มีเมืองเอกชื่อว่าเนอิอาฟู ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ วาวาอูมีความสูงสูงสุดอยู่ที่ 204 เมตรจากระดับน้ำทะเล อีกทั้งวาวาอูยังมีท่าเรือที่สวยงามและดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก คือท่าเรือรีเฟิก (ปัวตาเลฟูซีหรือโลโลอาฮาแลวาลู) รวมถึงเหมาะแก่การตกปลาด้วย วาวาอูจัดอยู่ในเขตวาวาอู มีพื้นที่ทั้งหมด 103.6 ตารางกิโลเมตร เกาะนี้เป็นเกาะที่เกิดจากปะการัง พื้นที่ชื้นแฉะ อยู่เขตร้อน มีประชากรทั้งสิ้น 9400 คน มีรายได้ต่อหัว 1030 ดอลลาร์สหรัฐ มีภัยธรรมชาติที่สำคัญคือไซโคลนและแผ่นดินไหว.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและวาวาอู · ดูเพิ่มเติม »

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี หรือเจ้าชายวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา (Viliami Tupoulahi Tungī Mailefihi) (พระราชสมภพ 1 พฤศจิกายน 1887) เป็นนายกรัฐมนตรีตองกาและพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ตูปูผ่านทางการอภิเษกสมรส วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีและสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เป็นบุตรของซิอาโอซิ ตูกูอาโฮ นายกรัฐมนตรีของตองกาตั้งแต่ 1890 ถึง 1893 พระองค์ได้รับเลือกจากพระเจ้าจอร์จ ตูปูที่ 2 แห่งตองกา ให้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงสโลเต ตูปูเจ้าหญิงและรัชทายาทแห่งตองกา (ต่อมาคือ "สมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา") เมื่อเจ้าหญิงสโลเต ตูปูครองราชย์ พระองค์จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา" นอกจากนี้พระองค์ยังได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตองกาตั้งแต่ 1923 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี 1941.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูโบอา

วงศ์งูโบอา หรือ วงศ์งูเหลือมโบอา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Boidae; Boa, Anaconda) เป็นวงศ์ของงูที่ไม่มีพิษขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง มีรูปร่างคล้ายกับงูในวงศ์งูเหลือม (Pythonidae) จึงมักสร้างความสับสนให้อยู่เสมอ ๆ มีลักษณะโดยรวม คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและมีฟัน ช่องเปิดตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล กระดูกซูปราออคซิพิทัลมีสันใหญ่ ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกระยางค์ขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดและเป็นแท่งขนาดเล็กที่มองเห็นได้ทางช่องเปิดทวารร่วม และมีกระดูกเชิงกรานขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อ ปอดข้างซ้ายค่อนข้างเจริญ มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างเจริญเท่ากัน งูในวงศ์นี้ มีทั้งหมด 8 สกุล แบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย มีทั้งสิ้น 43 ชนิด กระจายพันธุ์ไปในหลายพื้นที่รอบโลก ทั้ง ทวีปเอเชีย, ทวีปแอฟริกา, ทวีปอเมริกาใต้ ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะต่าง ๆ กลางทะเล เช่น ศรีลังกา, เกาะมาดากัสการ์, หมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เช่น ฟิจิ, หมู่เกาะโซโลมอน, เมลานีเซีย และตองกา เป็นต้น โดยตัวอย่างงูในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ งูอนาคอนดา คือ งูที่อยู่ในสกุล Eunectes ที่อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ซึ่งโตเต็มที่ยาวได้ถึง 11.5 เมตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนิด Eunectes murinus หรือ งูอนาคอนดาเขียว ที่เป็นงูที่มีน้ำหนักตัวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยอาจมีน้ำหนักได้ถึง 250 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในป่าดิบชื้นของลุ่มแม่น้ำอเมซอน ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและวงศ์งูโบอา · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและวงแหวนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5

มเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 แห่งตองกา (George Tupou V) หรือพระนามเดิม เจ้าชายเซียโอซี เตาฟาอาเฮา มานูมาตาโอโก ตูกูอาโฮ ตูโปอู มกุฎราชกุมารแห่งตองกา (Sia'osi Taufa'ahau Manumata'ogo Tuku'aho Tupou, Crown Prince of Tonga) ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารแห่งราชอาณาจักรตองงา เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 ขณะมีพระชนมพรรษา 18 พรรษา เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยมีการประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์ตูโปอูและลำดับที่ 23 แห่งราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลู อีกทั้งพระองค์ยังมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจอันดีกับนายกรัฐมนตรีเฟเลติ เซเวเล.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6

มเด็จพระราชาธิบดีอาโฮเออิตู อูนัวกิโอตองงา ตูกู อาโฮ ตูโปอูที่ 6 แห่งตองกา เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2502 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรตองการัชกาลปัจจุบัน และเป็นพระราชโอรสองค์สุดท้องของสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4กับ สมเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอ และเป็นพระอนุชาของสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นมกุฎราชกุมารของตองกาหลังจากการขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2549 และยังทรงเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีตองงา แต่เนื่องจากการกดดันจากกลุ่มต่าง ๆ และปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง พระองค์จึงต้องทรงลาออกในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา

มเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองกา (4 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 10 กันยายน พ.ศ. 2549) พระมหากษัตริย์แห่งตองงา ทรงเป็นผู้หนึ่งซึ่งนิยมประชาธิปไตย ตองงา เป็นประเทศเดียวที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขในภูมิภาคโอเชียเนีย กินเนสบุคส์ได้บันทึกไว้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีน้ำหนักพระองค์มากที่สุดในโลก คือ 201 กิโลกรัม ใน พ.ศ. 2513 แต่ต่อมาน้ำหนักพระองค์ก็ลดลงเหลือ 139 กิโลกรัม ใน พ.ศ. 2532 นอกจากนั้นพระองค์ยังเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของตองงา ระหว่างปี พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2508.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีสโลเต ลูเปปาอูอู

มเด็จพระราชินีสโลเต ลูเปปาอูอูแห่งตองกา (Sālote Lupepauʻu) หรือพระนามในภาษาอังกฤษ สมเด็จพระราชินีชาร์ลอตต์แห่งตองกา (Queen Charlotte of Tonga) (ค.ศ. 1811 - 8 กันยายน ค.ศ. 1889) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรตองงาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1875 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1889 พระองค์เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 แห่งตองงา พระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระราชินีชาร์ลอตต์แห่งตองงา วาดโดย เจมส์ เกย์ ซอกิน.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสมเด็จพระราชินีสโลเต ลูเปปาอูอู · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองกา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ตูโปอู และทรงเป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งตองกา เพียงพระองค์เดียว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2443 เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2และสมเด็จพระราชินีลาวิเนีย เวอิออนโก ทรงเป็นกษัตริย์นักพัฒนา ทรงพัฒนาธุรกิจและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศถือเป็นกษัตริย์นักพัฒนาอีกพระองค์หนึ่งนอกจากพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 จึงทำให้ยุคของพระนางเป็นยุคทองของประเทศตองงา นอกจากรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับ วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2461 และสวรรคตในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2508 สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 ซาโลเต หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์จีบีอี.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ

มเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮแห่งตองกา (Nanasipau'u Tuku'aho) หรือ สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอูแห่งตองกา เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งตองงา พระราชสมภพเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 ที่ นูกูอะโลฟา ประเทศตองงา เป็นพระธิดาในบารอนวาเออากับบารอนเนสตูปูตูปูวาเออา สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีตูปูที่ 6 เมื่อปี พ.ศ. 2534 มีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก

หพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (Oriental & Pacific Boxing Federation; ชื่อย่อ: OPBF) ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมิเนอร์วา

สาธารณรัฐมิเนอร์วา สร้างขึ้นโดยนำทรายที่นำมาจากประเทศออสเตรเลีย มาถมลงไปในระดับน้ำทะเล ผู้ที่มาริเริ่มโครงการคือไมเคิล โอลิเวอร์ จนทำให้ดินแดนนี้มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การค้าขายและตกปลาซึ่งเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศใหม่ ประเทศนี้ แนวปะการังมิเนอร์วาอยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิก โดยตัดสินใจที่จะสร้างเป็นสาธารณรัฐในปี พ.ศ. 2514 และนำเรือบรรทุกทรายจากประเทศออสเตรเลียมาถมในระดับน้ำทะเล และสร้างหอและธงชาติขึ้น สาธารณรัฐมิเนอร์วาได้ส่งประกาศความเป็นเอกราชส่งไปยังประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆและได้คิดสกุลเงินไว้ใช้ภายในประเทศ ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2515 มอริส ซี เดวิสได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีชั่วคราวของสาธารณรัฐมิเนอร์วา การประกาศความเป็นเอกราชของสาธารณรัฐมิเนอร์วา ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2515 ยังผลให้เกิดความสงสัยอย่างมากของประเทศเพื่อนบ้าน การประชุมของประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ (ประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศตองงา ประเทศฟีจี ประเทศนาอูรู ประเทศซามัว หมู่เกาะคุก) ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 ซึ่งตองงาได้อ้างสิทธิเหนือดินแดนแนวปะการังมิเนอร์วา ในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2515 รัฐบาลตองงา ได้ประกาศในหนังสือราชกิจจาโดยประกาศให้สาธารณรัฐมิเนอร์วาเป็นดินแดนภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรตองงา ต่อมาประเทศตองงาได้ส่งกองกำลังทหารเข้ามายึดดินแดนนี้ ธงชาติมิเนอร์วาถูกชักลงจากเสา และเกาะปะการังที่เหลือก็ถูกยึดครองโดยตองงา การยึดครองดินแดนแห่งนี้ของตองงาได้รับการรับรองจากสภาแห่งแปซิกใต้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2515 ในระหว่างนั้นประธานาธิบดีชั่วคราวมอริส ซี เดวิส ถูกไล่ออก หมวดหมู่:ประเทศตองงา หมวดหมู่:ประเทศจำลอง ja:ミネルバ共和国.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและสาธารณรัฐมิเนอร์วา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะซามัว

หมู่เกาะซามัว เป็นกลุ่มเกาะครอบคลุมพื้นที่ 3,030 ตารางกิโลเมตรในแปซิฟิกใต้ตอนกลาง เป็นส่วนหนึ่งของพอลินีเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคโอเชียเนียอีกทอดหนึ่ง ประชากรหมู่เกาะซามัวมีประมาณ 250,000 คน โดยใช้ภาษากลางร่วมกัน ตลอดจนมีวัฒนธรรมและรูปแบบการปกครองพื้นเมืองแบบเดียวกัน เนื่องจากการล่าอาณานิคม หมู่เกาะและประชากรซามัวจึงถูกแบ่งแยกโดยอำนาจตะวันตก ปัจจุบัน หมู่เกาะมีสองเขตอำนาจควบคุม (jurisdiction) คือ ประเทศเอกราชซามัวในซีกตะวันตกของหมู่เกาะ และดินแดนอเมริกันซามัว ซึ่งประกอบด้วยหมู่เกาะทางตะวันออก ภูมิภาคทั้งสองนี้แบ่งแยกโดยมหาสมุทรกว้าง 64 กิโลเมตร ชาวซามัวส่วนใหญ่เป็นสายเลือดพอลินีเซียพันธุ์แท้และเป็นหนึ่งในประชากรพอลินีเซียที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใน..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและหมู่เกาะซามัว · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนาฟีจี

อิกัวนาฟีจี (Fiji banded iguana) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brachylophus fasciatus ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีสีสันสวยงามที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง ในตัวผู้จะมีแถบสีขาวอมฟ้าคาดที่กลางลำตัวลงไปถึงช่วงท้องประมาณ 2-3 แถบ ในขณะที่ลำตัวทั้งตัวจะเป็นสีเขียวอ่อนทั้งตัว ในส่วนของตัวเมียจะไม่ปรากฏแถบดังกล่าว ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 60-80 เซนติเมตร โดยมีความยาวหางคิดเป็น 2 ใน 3 ส่วนของขนาดความยาวทั้งตัว มีหนามเล็ก ๆ เรียงกันเป็นแถวเดียวตั้งแต่ส่วนบริเวณเหนือมุมปากไปจนถึงต้นตอ จากนั้นจะกลายเป็นแค่สันแถวเดียวไปจรดปลายหาง ใช้ชีวิตส่วนอาศัยอยู่บนต้นไม้ กินอาหารจำพวกผลไม้และดอกไม้ได้หลากหลายประเภทเป็นอาหารหลัก แต่ก็สามารถกินแมลงบางชนิดได้เป็นอาหารเสริมเช่นกัน พบกระจายพันธุ์เฉพาะในหมู่เกาะฟีจีและตองงา ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้แห่งเดียวเท่านั้น โดยเชื่อว่าในอดีตบรรพบุรุษคงมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่อยู่ห่างไกลออกไปประมาณ 6,000 กิโลเมตร ด้วยการเกาะวัสดุที่ลอยตามน้ำมาจากพายุ พร้อมกับสัตว์จำพวกอื่น จนวิวัฒนาการมาเป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นที่นี่ เป็นกิ้งก่าที่ได้รับความนิยมเป็นสัตว์เลี้ยงอย่างมากเนื่องจากความสวยงามและหายาก ทำให้มีราคาซื้อขายกันในแวดวงสัตว์เลี้ยงสูงมาก ซึ่งพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงนั้น อิกัวนาฟีจีแทบไม่ปรากฏความก้าวร้าวต่อผู้เลี้ยงเลย แต่สถานะในธรรมชาติปัจจุบันนั้น อิกัวนาฟีจีกำลังใกล้สูญพันธุ์แล้ว เนื่องจากถิ่นที่อยู่ที่จำกัดถูกคุกคามจากมนุษย์ และยังได้รับผลกระทบจากสัตว์นักล่าขนาดใหญ่กว่าที่มิใช่สัตว์พื้นเมือง เช่น พังพอนหรือแมวบ้าน เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและอิกัวนาฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ

มิได้ลงนาม Col-end อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination against Women หรือย่อว่า CEDAW) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศฉบับหนึ่งซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบในปี 2522 และสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศพัฒนาแล้วประเทศเดียวที่ลงนามในอนุสัญญานี้แล้วแต่มิยอมให้สัตยาบัน.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ · ดูเพิ่มเติม »

อเลสซานโดร มาลาสปินา

อเลสซานโดร มาลาสปินา (Alessandro Malaspina) (5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1754 - 9 เมษายน ค.ศ. 1810) เป็นขุนนางชาวอิตาลี ที่ใช้ชีวิตเกือบทั้งชีวิตเป็นนาวิกโยธินสเปน เขาได้เดินทางไปรอบโลกตั้งแต่ปี 1786 ถึง 1788 จากนั้นจากปี 1789 ถึง 1794 โดยเป็นการเดินทางสำรวจทางวิทยาศาสตร์ผ่านทางมหาสมุทรแปซิฟิก โดยสำรวจและทำแผนที่ชายฝั่งทางตะวันตกของอเมริกา ตั้งแต่เคปฮอร์นถึงอ่าวอะแลสกา ข้ามไปยังเกาะกวมไปถึงฟิลิปปินส์ และหยุดที่นิวซีแลนด์ ออสเตรเลียและตองกา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2297 หมวดหมู่:นักสำรวจชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและอเลสซานโดร มาลาสปินา · ดูเพิ่มเติม »

ฮาอะโน

อะโน (Haano) เป็นเกาะและอำเภอหนึ่งในเขตการปกครองฮาอะไปในประเทศตองงา ทางตอนใต้ของอำเภอคือเกาะโฟอาและลิฟูกา อำเภอฮาอะโนมีพื้นที่ทั้งสิ้น 6.58 ตารางกิโลเมตร โดยมีประชากรทั้งสิ้น 477 คน (ค.ศ. 2006) ซึ่งลดลงจากปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและฮาอะโน · ดูเพิ่มเติม »

ฮาอะไป

แผนที่ฮาอะไป ฮาอะไป (Ha'apai) เป็นเกาะและเขตในการปกครองของราชอาณาจักรตองงา อยู่ทางตอนกลางของประเทศ ซึ่งมีโตงาตาปูอยู่ตอนใต้และมีวาวาอูอยู่ทางเหนือ มีเกาะอยู่เพียง 17 เกาะทางตอนเหนือเท่านั้นที่มีประชากรอาศัยอยู่ และเกาะใหญ่ของเขตนี้ก็ตั้งอยู่ในเขตตะวันออก คือเกาะลิฟูกา เกาะฟัว ซึ่งมีประชากรรวมกัน 4249 คน ส่วนเกาะนูกูนาโมและเกาะฮาอาโน มีประชากรกว่า 728 คน ส่วน 2 เกาะทางตะวันตกที่สำคัญคือ เกาะโตฟัวและเกาะเก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและฮาอะไป · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิตูอีโตงา

ักรวรรดิตูอีโตงา เป็นจักรวรรดิหนึ่งที่มีอำนาจยิ่งใหญ่มากในเขตโอเชียเนีย โดยจักรวรรดินี้ก่อตั้งขึ้นราวปี ค.ศ. 950 โดยพระเจ้าอะโฮเออิตู แต่เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 15 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยของจักรพรรดิโมโมและจักรพรรดิตูอิตาตูอิ ซึ่งสามารถขบายอำนาจได้ตั้งแต่ นีอูเอ ถึงติโกเปีย จักรวรรดินี้เคยขยายอาณาเขตได้ไกลที่สุดถึงรัฐแยปของไมโครนีเซีย มีเมืองหลวงสำคัญของจักรวรรดิที่มูอา ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะโตงาตาปู โดยมีพระมหากษัตริย์ปกครองมาจาก 3 ราชวงศ์ และตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา จักรวรรดิตูอีโตงามีราชวงศ์ปกครองจักรวรรดิพร้อมกันถึง 3 ราชวงศ์ในเวลาเดียวกัน ในปัจจุบันนักวิจัยได้พยายามค้นคว้าถึงบทบาทของจักรวรรดิในการค้าทางทะเล รวมไปถึงอิทธิพลของจักรวรรดิในบริเวณต่างๆ แต่ยังคงขาดหลักฐานเชิงประจักษ์"The Pacific Islands: An Encyclopedia," edited by Lal and Fortune, p. 133.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและจักรวรรดิตูอีโตงา · ดูเพิ่มเติม »

จุลรัฐ

รัฐเอกราชที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก 5 อันดับ ได้แก่: นครรัฐวาติกัน, โมนาโก, นาอูรู, ตูวาลู และซานมารีโน โดยแผนที่แสดงมาตราส่วนที่เท่ากันเพื่อเปรียบเทียบขนาดของแต่ละประเทศ จุลรัฐ (microstate หรือ ministate) เป็นรัฐที่มีอธิปไตยเป็นของตนเองแต่มีขนาดพื้นที่ประเทศหรือจำนวนประชากรที่น้อยมาก อาทิ ประเทศลิกเตนสไตน์, ประเทศมอลตา, ประเทศซานมารีโน, ประเทศสิงคโปร์ และนครรัฐวาติกัน เป็นต้น จุลรัฐมักมีปัญหาพิเศษโดยเฉพาะด้านการป้องกันประเทศ และการป้องกันการแทรกแซงจากภายนอก ส่วนจุลรัฐที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก คือ นครรัฐวาติกัน ที่มีประชากรเพียง 842 คน (จากการสำรวจในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556) กับพื้นที่ 0.44 ตารางกิโลเมตร จุลรัฐ (Microstate) แตกต่างจากประเทศจำลอง (Micronation) เนื่องจากจุลรัฐจะได้รับการยอมรับจากประเทศต่าง ๆ แต่ตรงกันข้ามประเทศจำลองจะไม่ได้รับการยอมรับนานาชาติว่าเป็นรัฐอธิปไตย ส่วนเขตปกครองพิเศษ (Special territory) อาทิอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หรือเขตปกครองพิเศษของจีน ไม่จัดว่าเป็นจุลรั.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและจุลรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คาวา

วา ในอินโดนีเซียเรียกวาฆีหรือวาตี ในอิเรียนจายาเรียกบารี เป็นไม้พุ่มเนื้อแข็ง ส่วนข้อโป่งพอง มีรอยแผลจากการหลุดร่วงของใบดอกแยกเพศ แยกต้น ดอกช่อ ดอกย่อยไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ติดผลน้อย ผลมีเมล็ดเดียว คาวาเป็นพืชที่พบในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นพืชท้องถิ่นในบริเวณวานูอาตู ซามัว ตองกา ฟิจิ ไมโครนีเซีย และปาปัวนิวกินี นิยมนำรากและกิ่งก้านของพืชชนิดนี้มาเคี้ยว ทำให้สารในพืชคือมารินดินและไดไฮโดรสติซิน สารนี้ทำให้ซึม ง่วงงุน รู้สึกมีความสุขและทำให้ฟันทน ใช้ผลิตเครื่องดื่มที่เรียกคาวา โดยนำชิ้นส่วนของต้นไปบดแช่น้ำแล้วกรอง นำของเหลวสีขาวอมน้ำตาลไปดื่ม รากและใบใช้รักษาอาการปวดข้อ วัณโรค หนองใน อาการไข้ นอกจากนั้น คาวายังเป็นเครื่องดื่มที่มีความสำคัญทางพิธีกรรม ในงานประเพณีต่างๆและยังเป็นของขวัญที่สำคัญ ในคาวามีสารคาวาแลกโทน ซึ่งออกฤทธิ์เป็นยาแก้ปวด คลายกล้ามเนื้อ คาวาแห้ง 100 กรัมมีคาวาแลกโทนประมาณ 3-20 กรัม การตากรากคาวาในฟิจิ เครื่องดื่มคาวาที่วาง.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและคาวา · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศตองงา

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตของตองงาแทนด้วยสีนำเงิน สถานทูตตองงาในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน

้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Large flying fox, Greater flying fox, Malayan flying fox, Malaysian flying fox, Large fruit bat) เป็นค้างคาวชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pteropus vampyrus อยู่ในวงศ์ Pteropodidae หรือค้างคาวผลไม้ เป็นค้างคาวขนาดใหญ่ มีหัวคล้ายหมาจิ้งจอก มีดวงตาโต จมูกและใบหูเล็ก ขนสีน้ำตาลแกมแดง และมีเล็บที่แหลมคมสามารถเกาะกิ่งไม้ได้ โดยจะใช้เล็บของนิ้วที่ 2 ที่เหมือนตะขอเป็นหลักในการป่ายปีนและเคลื่อนไหว มีฟันทั้งหมด 36 ซี่ ที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Lekagul B., J. A. McNeely.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิกคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้ คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับคำภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกูลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และ ภาษาจามที่ใช้พูดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และ ภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้ ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซ.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของตองงา

ตราแผ่นดินของตองงา ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อพ.ศ. 2418 ออกแบบโดยพระเจ้าจอร์จ ตูปูที่ 1 หลังจากสงครามกลางเมืองของตองงา มีความหมายดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตราแผ่นดินของตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในโอเชียเนีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ในโอเชียเนี.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตราแผ่นดินในโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ตูอิกาโนกูโปลู

ราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลู (Tui Kanokupolu) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิตูอีโตงาร่วมกับราชวงศ์ตูอีโตงาและตูอิฮาอะตากาเลาอา ราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูสถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าโมอูงาโอโตงาตูอิฮาอะตากาเลาอาพระองค์ที่ 6 โดยแต่งตั้งพระราชโอรสของพระองค์ซึ่งมีพระราชมารดาเป็นชาวซามัวคือเจ้าชายงาตาขึ้นเป็นตูอิกาโนกูโปลูพระองค์แรก ราชวงศ์นี้ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือตูอิฮาอะตากาเลาอาบริหารราชการแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมาราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูเริ่มมีบทบาททางการปกครองมากขึ้น เห็นได้จากการที่ตูอีโตงาต้องอภิเษกสมรสเจ้าหญิงจากราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูแทนที่จะมาจากตูอิฮาอะตากาเลาอา ในช่วงปลายจักรวรรดิตูอีโตงาเกิดการแตกแยกขึ้นระหว่างราชวงศ์และผู้ปกครองท้องถิ่นต่างๆ ซึ่งในท้ายที่สุดพระเจ้าเตาฟาอาเฮาจากราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูสามารถรวบรวมดินแดนที่แตกแยกให้เป็นหนึ่งเดียวได้อีกครั้งและสถาปนาราชอาณาจักรตองงาขึ้น ในปัจจุบันตูอิกาโนกูโปลูเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศตองงาในนามราชวงศ์ตูปู พระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันของราชวงศ์นี้คือสมเด็จพระราชาธิบดีตูปูที่ 6.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตูอิกาโนกูโปลู · ดูเพิ่มเติม »

ตูอิฮาอะตากาเลาอา

ราชวงศ์ตูอิฮาอะตากาเลาอา (Tui Haatakalaua) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิตูอีโตงาร่วมกับราชวงศ์ตูอีโตงาและตูอิกาโนกูโปลู ราชวงศ์ตูอิฮาอะตากาเลาอาสถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าเกาอูลูโฟนูอาตูอีโตงาพระองค์ที่ 24 โดยแต่งตั้งพระอนุชาของพระองค์คือเจ้าชายโมอูงาโมตูอาขึ้นเป็นตูอิฮาอะตากาเลาอาพระองค์แรก ราชวงศ์นี้ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือตูอีโตงาบริหารราชการแผ่นดินและปกป้องตูอีโตงาจากการถูกลอบปลงพระชนม์ซึ่งเกิดขึ้นมายาวนานหลายรัชกาล อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมาราชวงศ์ตูอิฮาอะตากาเลาอาเริ่มมีบทบาททางการปกครอง โดยลดอำนาจตูอีโตงาลงและเนรเทศตูอีโตงาหลายพระองค์ไปอยู่ซามัวเพื่อสร้างฐานอำนาจของตน ในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ราชวงศ์ตูอิฮาอะตากาเลาอาได้ตั้งตำแหน่งตูอิกาโนกูโปลูเพื่อช่วยเหลือในการบริหารราชการของจักรวรรดิ โดยพระเจ้าโมอูงาโอโตงา ตูอิฮาอะตากาเลาอาพระองค์ที่ 6 แต่งตั้ง เจ้าชายงาตา พระราชโอรสองค์แรกของพระองค์อันประสูติแด่พระชายาชาวซามัวขึ้นเป็นตูอิกาโนกูโปลูพระองค์แรก ซึ่งในระยะเวลาต่อมาราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูจะมีอำนาจเหนือราชวงศ์ตูอิฮาอะตากาเลาอา การสืบราชสมบัติในราชวงศ์ตูอิฮาอะตากาเลาอาจะไม่ได้สืบต่อจากพ่อสู่ลูกเหมือนกับตูอีโตงาและตูอิกาโนกูโปลู แต่สืบทอดผ่านการคัดสรรสมาชิกในราชวงศ์ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดให้ขึ้นเป็นตูอิฮาอะตากาเลาอาพระองค์ต่อไป.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตูอิฮาอะตากาเลาอา · ดูเพิ่มเติม »

ตูอี มะลิลา

ตูอี มะลิลา (Tu'i Malila; ค.ศ. 1777 — 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1965) เป็นเต่าบกที่กัปตันเจมส์ คุก กล่าวว่าได้นำมาถวายแก่พระราชวงศ์ของประเทศตองงาตามจารีตประเพณี โดยเป็นเต่ารัศมีดาราเพศเมีย (Geochelone radiata) จากประเทศมาดากัสการ์ และเป็นเต่าบกที่มีอายุยืนยาวที่สุดที่อายุได้รับการยืนยันแล้ว ชื่อของมันหมายถึงกษัตริย์มะลิลาในภาษาตองงา ซึ่งตูอี มะลิลา ฟักออกจากไข่เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตูอี มะลิลา · ดูเพิ่มเติม »

ตูอีโตงา

ตูอีโตงา (Tui Tonga) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิตูอีโตงา โดยตำนานกล่าวถึงการที่เทพเจ้าตากาโลอาพระเจ้าของชาวตองงามีพระโอรสกับหญิงมนุษย์โลก แล้วให้กำเนิดออกมาเป็นพระเจ้าอะโฮเออิตู ซึ่งพระเจ้าอะโฮเออิตูนี้เป็นต้นราชวงศ์ตูอีโตงา โดยสถาปนาราชวงศ์นี้ในประมาณปี ค.ศ. 950 ราชวงศ์ตูอีโตงาเจริญถึงขีดสุดในช่วงเวลาประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12ในรัชสมัยของพระเจ้าโมโม พระเจ้าตูอิตาตูอิและพระเจ้าตาลาตามา ซึ่งสามารถขยายอาณาเขตได้กว้างไกล จนกระทั่งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์ตูอีโตงาเริ่มเสื่อมอำนาจลงจากการโอนอำนาจส่วนใหญ่ให้ตูอิฮาอะตากาเลาอา จนกระทั่งหมดอำนาจไปใน ค.ศ. 1826 และเสื่อมสลายไปในปี ค.ศ. 1865 สำหรับกฎการสืบราชสมบัติของราชวงศ์นี้จะสืบจากพระบิดาสู่พระโอรสเท่านั้น ปัจจุบันเชื้อสายของราชวงศ์นี้ยังอยู่ในสายกาลานีอูวาลู.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตูอีโตงา · ดูเพิ่มเติม »

ตีนเป็ดทราย

ผลตีนเป็ดทรายดิบในอินโดนีเซีย ตีนเป็ดทราย เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Apocynaceae ยางสีขาว รากแผ่กว้างเพื่อยึดกับทราย ใบยาวรี ค่อนข้างหนา ผิวเคลือบใบหนา ดอกสีขาว ผลทรงกลมรี เมื่อสุกสีแดง มีพิษ รับประทานไม่ได้ ใบใช้เป็นยารักษาโรคผิวหนัง ชื่อสามัญของพืชนี้ในแต่ละถิ่นจะต่างกันไป ภาษาอังกฤษเรียก sea mango (ตรงตัว: มะม่วงทะเล), ในมาดากัสการ์เรียก tanguin samanta tangena, ในซามัวเรียก leva, ในตองงาเรียก toto, ในฟีจีเรียก vasa ส่วนในภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู และภาษาซุนดาเรียก bintaro.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและตีนเป็ดทราย · ดูเพิ่มเติม »

ซีอาเลอาตาโอโง ตูอีวากาโน

ซีอาเลอาตาโอโง ตูอีวากาโน ซีอาเลอาตาโอโง ตูอีวากาโน (Sialeʻataongo Tuʻivakanō) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 15 ของประเทศตองงา เขาดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2553–2557 ต่อจาก ดร.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและซีอาเลอาตาโอโง ตูอีวากาโน · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายวาวาอู

ระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 ประมวลกฎหมายวาวาอู (Vava'u Code) เป็นกฎหมายที่ประกาศขึ้นในวาวาอูโดยพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 ประมวลกฎหมายวาวาอูนี้เป็นกฎหมายฉบับแรกของประเทศตองงาที่เป็นลายลักษณ์อักษรและเป็นพื้นฐานสำคัญของรัฐธรรมนูญของราชอาณาจักรตองงา ประมวลกฎหมายวาวาอูเป็นกฎหมายที่ได้รับอิทธิพลจากมิชชันนารีกลุมเมโธดิสต์เป็นอย่างมาก เนื่องจากพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 ทรงศรัทธามิชชันนารีกลุ่มนี้ เนื้อกาสาระในประมวลกฎหมายวาวาอูจึงได้รับอิทธิพลอย่างมากจากศาสนาคริสต์ มีการกล่าวถึงสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานและลดอำนาจเจ้าผู้ปกครองพื้นเมืองลง โดยเจ้าผู้ปกครองพื้นเมืองจะไม่มีอำนาจในการสั่งประหารชีวิตผู้ใดได้ รวมไปถึงไม่สามารถยึดผลิตผลทางการเกษตรของชาวตองงาเป็นของตนเอง นอกจากนี้ประมวลกฎหมายยังห้ามการจัดเทศกาลที่ชาวมิชชันนารีเห็นว่ามีความเกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ การสักและการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายและมีการประกาศให้วันอาทิตย์เป็นวันหยุดงาน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนชาวตองงาเข้าโบสถ์อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประมวลกฎหมายวาวาอู · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก เป็นประวัติศาสตร์หมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก ชาวโพลินีเซียมีความเจริญสูงสุดโดยเฉพาะประเทศตองกาและประเทศซามัว ซึ่งเจริญมากจนมีการสร้างขึ้นเป็นอาณาจักร สำหรับชาวเมลานีเซียความเจริญมากสุดอยู่ที่ประเทศฟิจิและหมู่เกาะโซโลมอน และมีสังคมแบบชนเผ่า สังเกตได้ในประเทศปาปัวนิวกินีซึ่งมีชนเผ่ากว่า 100 ชนเผ่า ส่วนภูมิภาคไมโครนีเซียก็มีประชากรอาศัยกันอยู่อย่างช้านานแบบชนเผ่า บางแห่งเป็นรัฐ แว่นแคว้นหรืออาณาจักร ในประเทศออสเตรเลียมีชาวอบอริจินส์อาศัยอยู่นานถึง 40000 - 50000 ปี สำหรับประเทศนิวซีแลนด์มีชาวมาวรีอาศัยอยู.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจี

ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1875

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1875 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1875 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1880

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1880 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1880 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1885

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1885 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1885 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1890

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1890 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1890 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1895

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1895 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1895 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1900

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1900 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1905

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1905 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1905 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1910

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1910 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1910 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1915

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1915 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1915 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1921

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1921 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1921 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1924

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1924 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1930

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1930 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1930 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1936

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1936 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1936 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1939

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1939 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1939 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1942

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1942 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1942 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1945

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1945 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1945 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1948

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1948 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1954

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1954 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1954 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1957

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1957 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1957 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1960 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1963

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1963 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1963 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1966

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1966 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1966 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1969

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1969 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1969 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1972 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1975

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1975 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1975 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1978

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1978 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1981

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1981 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1981 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1984 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1987

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1987 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1987 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1988 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1990

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1990 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1992 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1993

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1993 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1993 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1996 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1999

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1999 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2002 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2005

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2005 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2005 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2008 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศตองก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศตองกาใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวจมูกยาว

ปลาวัวจมูกยาว หรือ ปลาวัวจุดส้ม (Long-nose filefish, Orangespotted filefish, Harlequin filefish, Beaked leatherjacket) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oxymonacanthus longirostris อยู่ในวงศ์ปลาวัวจมูกยาว (Monacanthidae) มีรูปร่างเรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด มีจะงอยปากยื่นยาวคล้ายหลอดหรือท่อ ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนแรกมีเงี่ยงแข็งซึ่งสามารถตั้งชี้หรือกระดกได้เพื่อใช้ข่มขู่ผู้รุกรานหรือป้องกันตัวจากปลาที่ใหญ่กว่า เมื่อเวลาถูกกินเข้าปากจะถูกเงี่ยงนี้ทิ่มเอา ครีบท้องลดรูปลงไปทำให้เล็กและมีก้านครีบแข็งเช่นเดียวกับครีบหลัง สามารถพับเก็บได้ ครีบท้องยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีจุดกลมสีส้มกระจายอยู่ทั่วบนพื้นลำตัวสีเขียวอมฟ้า โดยที่ส่วนหน้าจะเป็นรอยขีดยาวตามดวงตา ที่ปลายครีบหางจะมีจุดสีดำขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ชายฝั่งของทวีปแอฟริกาฝั่งตะวันออกและใต้, โมซัมบิก, ทะเลแดง, ซามัว, หมู่เกาะริวกิวในทะเลจีนตะวันออก, นิวแคลิโดเนีย, ตองกา และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มักอยู่เป็นคู่ โดยจะพบมากที่สุดในแนวปะการัง เพราะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นหลัก พบได้ในความลึกตั้งแต่ 4-30 เมตร หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในเวลากลางคืนในแนวปะการังหรือกองหิน เป็นปลาที่เป็นที่ชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำเนื่องจากเป็นปลาที่สวยงามและไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินมะนาว

ปลาสลิดหินมะนาว (Lemon damsel) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์นี้ทั่วไป มีสีลำตัวเป็นสีเหลืองสดตลอดทั้งลำตัวเหมือนสีของมะนาวหรือเลมอน มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 9 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลอันดามันจนถึงทะเลญี่ปุ่น บริเวณหมู่เกาะริวกิว และตองกา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนักเพราะมีอุปนิสัยดุร้าย ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วเหมือนปลาในวงศ์เดียวกันชนิดอื่นอีกหลายชน.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและปลาสลิดหินมะนาว · ดูเพิ่มเติม »

ปอสา

ปอสา เป็นพืชในวงศ์ Moraceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว แผ่นใบสากมือเล็กน้อย ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้เป็นช่อหางกระรอก ดอกตัวเมียเป็นช่อกระจุกแน่น ผลกลม สีแดงอมส้ม ภายในมีเมล็ดสีแดง ยาง ราก ใบ และเปลือกลำต้น ผู้ที่แพ้เมื่อรับประทานเข้าไปทำให้ท้องร่วง เปลือกลำต้นใช้ทำกระดาษเรียกกระดาษสา เส้นใยจากเปลือกใช้ทำผ้าตาปาซึ่งใช้ในฟิจิ ตองกา ซามัว และตาฮีตี Royal Botanic Gardens, Kew.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและปอสา · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มพัด

ปาล์มพัด (Fiji Fan Palm) หรือ ปาล์มมงกุฎ เป็นปาล์มในสกุล Pritchardia มีถิ่นกำเนิดในฟิจิ ตองกาและซามัว เป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ใบรูปพัด ขอบใบจักเว้าตื้นและพับเป็นจีบ แผ่นใบขนาด 1 เมตร ช่อดอกสมบูรณ์เพศยาว 30 เซนติเมตร ออกระหว่างกาบใบ ผลกลมขนาด 1.2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีน้ำตาลเข้ม ปาล์มพัดนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชาวพื้นเมืองฟิจิใช้ใบและลำต้นทำพัด ร่มและเสาเรือน.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและปาล์มพัด · ดูเพิ่มเติม »

ปาอางา

ปาอางา (paʻanga) เป็นหน่วยเงินของประเทศตองงา หน่วยเงินนี้ถูกควบคุมโดยธนาคารแห่งชาติตองงา โดยมีอัตราแลกเปลี่ยน 1 ปาอางามีค่าเท่ากับ 100 เซนีตี ไอเอสโอโคดคือ TOP ในเดือนพฤษภาคมปี พ.ศ. 2548 นั้น 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับ 2 ปาอางา ธนบัตรทุกฉบับนั้นมีค่าตั้งแต่ 1 ปาอางาจนถึง 50 ปาอางา โดยใช้สัญลักษณ์คือ T$ (บางครั้ง PT) ส่วนเซนีตีใช้ ¢ หมวดหมู่:สกุลเงิน หมวดหมู่:ประเทศตองงา.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและปาอางา · ดูเพิ่มเติม »

นูกูอาโลฟา

ย่านกลางกรุงนูกูอาโลฟา นูกูอาโลฟา (Nukuʻalofa) เป็นเมืองหลวงของตองงา มีประชากรทั้งหมด 22,400 คน (พ.ศ. 2539) เมืองนี้อยู่บนเกาะโตงาตาปู โดยมีสินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ เนื้อมะพร้าวตากแห้ง กล้วย วานิลลา และงานฝีมือ นูกูอาโลฟามีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ นูกูอาโลฟามีความสัมคัญมากในทางด้านการค้าขาย การขนส่ง และเป็นศูนย์รวมทางสังคมของตองงา กรุงนูกูอาโลฟามีประชากรทั้งหมดร้อยละ 35 ของทั้งประเทศ ทั้งพระราชวัง โบถส์คริสต์เวสเลยัน และสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับรัฐบาลล้วนอยู่ในเมืองนี้ทั้งสิ้น หมวดหมู่:ประเทศตองงา หมวดหมู่:โตงาตาปู หมวดหมู่:เมืองหลวง.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและนูกูอาโลฟา · ดูเพิ่มเติม »

นีวเว

นีวเว (Niue; นีวเว: Niuē) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มักเรียกว่า "Rock of Polynesia" นีวเวปกครองตนเอง แต่นอกจากนี้ นีวเวยังอยู่ในความสัมพันธ์เสรี (free association) กับประเทศนิวซีแลนด์ด้วย นั่นหมายความว่าประมุขโดยชอบธรรมของนิวซีแลนด์เป็นประมุขรัฐของนีวเวด้วย และความสัมพันธ์ทางการทูตส่วนใหญ่จะจัดโดยนิวซีแลนด์ นีวเวตั้งอยู่ห่างจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวซีแลนด์ 2,400 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมระหว่างประเทศตองงา ประเทศซามัว และหมู่เกาะคุก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและนีวเว · ดูเพิ่มเติม »

นีอูอาส

กาะนีอูอาโตปูตาปูที่ตั้งศูนย์กลางทางการปกครองของเขตการปกครอง นีอูอาส หรือ นีอูอา หรือ โอโงนีอูอา เป็นหนึ่งในห้าเขตการปกครองของราชอาณาจักรตองกา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของราชอาณาจักร เขตการปกครองนีอูอาสประกอบไปด้วยเกาะทั้งสิ้น 3 เกาะคือ นีอูอาโฟโออู นีอูอาโตปูตาปูและตาฟาฮี ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วมีพื้นที่ทั้งสิ้น 71.69 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 1,281 คน เมืองที่เป็นศูนย์กลางการปกครองและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือฮิหิโฟ บนเกาะนีอูอาโตปูตาปู จุดที่สูงที่สุดของเขตการปกครองนี้คือปีอูโอตาฟาฮีมีความสูงจากระดับน้ำทะเลทั้งสิ้น 560 เมตร เกาะส่วนใหญ่ของเขตการปกครองเป็นยอดของภูเขาไฟใต้ทะเลซึ่งยังคงประทุอยู่ ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่เดินทางมาถึงนีอูอาสคือนักสำรวจชาวดัตช์ที่เข้ามาสำรวจในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและนีอูอาส · ดูเพิ่มเติม »

นีอูอาโฟโออู

ื้นที่ตามสภาพภูมิศาสตร์ของเกาะนีอูอาโฟโออู นีอูอาโฟโออู (Niuafoʻou แปลว่า "มะพร้าวใหม่หลายลูก") เป็นเกาะที่อยู่เหนือที่สุดของประเทศตองงา มีอาณาเขตอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ระหว่างประเทศฟิจิกับประเทศซามัว อยู่เหนือเกาะโตงาตาปู 574 กิโลเมตรและอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของวาวาอู มีพื้นที่ 52.3 ตารางกิโลเมตร มีจุดสูงสุดอยู่ที่ 260 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟ อยู่ในเขตร้อนชื้น มีประชากรทั้งสิ้น 750 คน มีภัยธรรมชาติที่สำคัญคือการประทุของภูเขาไฟและไซโคลน เกาะนีอูอาโฟโออูเป็นเกาะที่พิเศษเกาะหนึ่งในโลกเนื่องจากว่ามีนกที่พิเศษกว่าที่ใดในโลกคือนกมาเลา ซึ่งเหลืออยู่บนเกาะประมาณ 200 - 400 ตัว ในนีอูอาโฟโออูและในโลก หมวดหมู่:ประเทศตองงา.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและนีอูอาโฟโออู · ดูเพิ่มเติม »

นีอูอาโตปูตาปู

ทัศนียภาพของเกาะนีอูอาโตปูตาปู นีอูอาโตปูตาปู (Niuatoputapu แปลว่า "เกาะศักดิ์สิทธิ์") เป็นเกาะหนึ่งของประเทศตองงา ล้อมรอบด้วยแนวปะการัง อยู่ห่างจากเกาะโตงาตาปูไปทางเหนือ 516 กิโลเมตรและห่างจากวาวาอู 300 กิโลเมตร ใกล้ชายแดนติดกับซามัว มีพื้นที่ประมาณ 18 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งหมด 1283 คน ใช้ระยะเวลา 8 ชั่วโมงในการเดินรอบเกาะ อีกทั้งยังมีชายหาดที่สวยงามและมีสนามบินสำหรับรองรับนักท่องเที่ยวอีกด้วย ในอดีตชาวเกาะนีอูอาโตปูตาปูพูดภาษานีอูอาโตปูตาปู แต่ในปัจจุบันชาวเกาะแห่งนี้พูดภาษาตองงา นีอูอาโตปูตาปูมีฮีฮีโฟเป็นเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุด เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการบริหารของเกาะ ชื่อเดิมของเกาะแห่งนี้คือเกาะเทรเตอร์หรือเกาะเคปเปล เกาะนี้มีภัยธรรมชาติที่สำคัญตือไซโคลนและแผ่นดินไหว.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและนีอูอาโตปูตาปู · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว

Lao visa ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศลาวจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตลาว เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559

แผ่นดินไหวใน..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

แปซิฟิกเกมส์

กีฬาแปซิฟิกเกมส์ (Pacific Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในโอเชียเนีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและแปซิฟิกเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟอา

ฟอา โฟอา เป็นเกาะและอำเภอของเขตการปกครองฮาอะไปในประเทศตองงา ตั้งอยู่ทางเหนือของนูกูอะโลฟาเมืองหลวงของประเทศ โฟอามีการเชื่อมต่อทางถนนกับเกาะลิฟูกา ซึ่งเป็นเกาะหลักของเขตการปกครองฮาอะไป โดยโฟอาอยู่ห่างจากลิฟูกา 640 กิโลเมตร โฟอามีพื้นที่ 13.39 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและโฟอา · ดูเพิ่มเติม »

โกโลไว

กโลไว (Kolovai) เป็นหมู่บ้าน (เมือง) ตั้งอยู่บนเกาะโตงาตาปู ประเทศตองงา ในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและโกโลไว · ดูเพิ่มเติม »

โกเอฟาซีโอเอตูอีโอเอโอตูโตงา

กเอฟาซีโอเอตูอิโอเอโอตูตองงา (Ko e fasi 'o e tu'i 'o e 'Otu Tonga) หมายถึงเพลงของกษัตริย์แห่งหมู่เกาะตองงา เป็นเพลงชาติของประเทศตองงา เมื่อก่อนนี้เป็นเพลงสำหรับกษัตริย์ (royal anthem - เพลงสรรเสริญพระบารมี) แต่ในปัจจุบันนี้ใช้เป็นเพลงชาติด้วย เนื้อร้องโดย เจ้าชายอูเอลลิงกาโตนิ งู ตูปูมาโลหิ ทำนองโดย คาร์ล กุสตาวัส ชมิต ในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและโกเอฟาซีโอเอตูอีโอเอโอตูโตงา · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2014

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 (XXII Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 จัดขึ้น ณ เมืองโซชี ประเทศรัสเซีย ระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ถึง 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 · ดูเพิ่มเติม »

โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า โอลีก 2014 เป็นการแข่งขันชิงถ้วยที่ใหญ่ที่สุดในทวีประหว่างสโมสรภายในทวีปโอเชียเนียครั้งที่ 13 ซึ่งการแข่งขันในครั้งนี้ดำเนินการจัดการแข่งขันโดยสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (Oceania Football Confederation - OFC) และถือเป็นการแข่งขันครั้งที่ 8 ภายใต้ชื่อโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีกด้วย โดยมีสโมสรฟุตบอลออกแลนด์ซิตีเป็นผู้ชนะเลิศจากการแข่งขันในครั้งที่แล้ว สโมสรที่ชนะเลิศในการแข่งขันรายการโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 จะได้สิทธิ์เป็นตัวแทนของทวีปโอเชียเนียเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2014 นอกจากนี้แล้วผู้ชนะเลิสและรองรองชนะเลิศของรายการนี้จะมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันโอเอฟซีเพรสสิเดนท์คัพ ซึ่งจะมี 2 สโมสรจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และอีก 2 สโมสรรับเชิญเข้าร่วมในการแข่งขันครั้งนี้ โดยจะจัดการแข่งขันในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 · ดูเพิ่มเติม »

โตฟูอา

ตโตฟูอา โตฟูอา (Tofua) เขตหนึ่งในประเทศตองงา มีประชากรประมาณ 50 คน เป็นเกาะหินภูเขาไฟ อยู่ในละติจูดที่ ตั้งอยู่ในเขตกลุ่มเกาะฮาอะไป จุดสูงสุดอยู่ที่ 515 เมตรจากระดับน้ำทะเล ภัยธรรมชาติที่สำคัญคือแผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟแล.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและโตฟูอา · ดูเพิ่มเติม »

โตงาตาปู

ระราชวังหลวง โตงาตาปู (Tongatapu) เป็น 1 ใน 3 เขตของราชอาณาจักรตองงา เป็นเขตที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในตองงา โตงาตาปูประกอบด้วยเกาะสำคัญะคือเกาะโตงาตาปู เกาะอัว เกาะอาตาตา และแนวปะการังมิเนอร์วา เป็นเขตที่มีเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ เป็นที่ตั้งเมืองหลวงของตองงาคือนูกูอะโลฟาซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือ เขตนี้มีเมืองเอกชื่อว่ามูอา อันเป็นเมืองหลวงเก่าของจักรวรรดิตูอีโตงาและเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเกาะ ปัจจุบันเขตนี้มีสภาพเป็นเมืองและมีท่าเรือที่ทันสมัย เป็นศูนย์กลางของรัฐบาลและการจ้างงานของประเทศ เกาะโตงาตาปูมีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม มีต้นไม้ปกคลุมรอบ ๆ เกาะ ตอนกลางค่อนข้างแห้งแล้ง อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของสนามบินแห่งชาติฟัวอาโมตูสนามบินแห่งชาติที่อยู่ทางตอนใต้ของเกาะโตงาตาปู ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองฟัวอาโมตู ด้วย เกาะนี้มีประชากรทั้งหมด 66577 คน คิดเป็นร้อยละ 68.3 ของประชากรทั้งประเท.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและโตงาตาปู · ดูเพิ่มเติม »

เฟเลติ เซเวเล

ร. เฟเลติ เซเวเล ดร.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเฟเลติ เซเวเล · ดูเพิ่มเติม »

เกาะแคโรไลน์

กาะแคโรไลน์ (Caroline Island) หรือ แคโรไลน์อะทอลล์ (Caroline Atoll) บ้างเรียก เกาะมิลเลนเนียม (Millennium Island) และ เกาะเบสซีซา (Beccisa Island) เป็นเกาะปะการังวงแหวนไร้คนอาศัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะไลน์ใต้ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง ชาวยุโรปพบเกาะนี้ครั้งแรกเมื่อประมาณ..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเกาะแคโรไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เมยังคลาสสิก

มยังคลาสสิก (Mae Young Classic) เป็นรายการมวยปล้ำพิเศษประเภททัวร์นาเมนต์ ที่จัดโดย สมาคมมวยปล้ำอาชีพอเมริกัน ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ซึ่งเป็นเกียรติแก่นักมวยปล้ำหญิง และผู้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี Mae Young โดยในผู้ร่วมเข้าแข่งขันนั้นมีนักมวยปล้ำหญิง 32 คน โดยจะเลือกจากนักมวยปล้ำ NXT และสมาคมอิสระ โดยเริ่มปล้ำอัดเทปในวันที่ 13 กรกฎาคม และ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเมยังคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวออสเปร

หยี่ยวออสเปร (Osprey, Sea hawk, Fish eagle) เป็นนกล่าเหยื่อที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ ยาว 60 เซนติเมตร ช่วงปีกกว้าง 2 เมตร ขนส่วนบนเป็นสีน้ำตาล ศีรษะและส่วนล่างมีสีค่อนข้างเทา มีสีดำบริเวณตาและปีก เหยี่ยวออสเปรมีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชอบทำรังใกล้กับแหล่งน้ำ แม้ว่าในทวีปอเมริกาใต้จะเป็นเพียงแค่นกอพยพนอกฤดูผสมพันธุ์ แต่ก็ถือว่าสามารถพบได้ทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา เหยี่ยวออสเปรกินปลาเป็นอาหาร จึงพัฒนาลักษณะทางกายภาพเฉพาะและแสดงพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เพื่อช่วยในการล่าและการจับเหยื่อ จึงส่งผลให้มีสกุลและวงศ์เป็นของตนเองคือ สกุล Pandion และ วงศ์ Pandionidae มี 4 สปีชีส์ย่อยที่ได้รับการยอมรับ แม้จะมีนิสัยชอบในการทำรังใกล้แหล่งน้ำ แต่เหยี่ยวออสเปรก็ไม่ใช่อินทรีทะเล.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเหยี่ยวออสเปร · ดูเพิ่มเติม »

เออัว

อีอูอา เป็นเกาะขนาดเล็กแต่มีความสำคัญมากเกาะหนึ่งของประเทศตองกา เออัวตั้งอยู่ใกล้กับเขตการปกครองโตงาตาปู แต่มีการปกครองที่ไม่ขึ้นต่อกัน โดยเออัวมีพื้นที่ทั้งสิ้น 87.44 km2 และมีประชากรในปี..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเออัว · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียแปซิฟิก

อเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific) หรืออาจเรียกว่า เอแปก (Apac) เป็นภูมิภาคของโลกที่อยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย ซึ่งอาจรวมไปถึงเอเชียใต้ สหพันธรัฐรัสเซีย และประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกด้วย คำว่า "เอเชีย-แปซิฟิก" ได้กลายมาเป็นคำยอดนิยมหลังจากช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เนื่องจากเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภูมิภาคเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีการปฏิสัมพันธ์ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐก.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเอเชียแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาตา

้าชายอาตา ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กใน สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 แห่งตองงา กับ สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ ทรงมีพระภคินีและพระเชษฐาร่วมพระอุทรคือ เจ้าหญิงลาตูฟูอิเปกา ตูกูอาโฮ กับ เจ้าชายตูโปอูโตอา อูลูกาลาลา พระองค์ทรงมีสิทธิในการสืบราชสันตติวงศ์แห่งตองงาลำดับที่ 4.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเจ้าชายอาตา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลาตูฟูอิเปกา ตูกูอาโฮ

้าหญิงลาตูฟูอิเปกา ตูกูอาโฮ ทรงเป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่และพระองค์เดียวใน สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 แห่งตองงา กับ สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ ทรงมีพระอนุชา 2 พระองค์คือ เจ้าชายตูโปอูโตอา อูลูกาลาลา กับ เจ้าชายอาตา พระองค์ทรงมีสิทธิในการสืบราชสันตติวงศ์แห่งตองงาลำดับที่ 5.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเจ้าหญิงลาตูฟูอิเปกา ตูกูอาโฮ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซเนม เดเชน วังชุก

้าฟ้าหญิงโซเนม เดเซน วังชุก ประสูติเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเจ้าหญิงโซเนม เดเชน วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

เท้ายายม่อม (พืช)

ระวังสับสนกับ ไม้เท้ายายม่อม เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์ Taccaceae เป็นพืชที่มีหัว มีใบ 1-3 ใบ แต่ละใบจักเป็นสามแฉก เว้าแบบขนนก ดอกเป็นช่อยาว แต่ละช่อมีดอกย่อย 20 - 40 ดอก ผลกลม หัวของพืชชนิดนี้นำไปทำแป้งที่เรียกแป้งเท้ายายม่อม พืชชนิดนี้เป็นพืชท้องถิ่นในทวีปแอฟริกา เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียเหนือ นิวกินี ซามัว หมู่เกาะไมโครนีเซีย และฟิจิ และมีการแพร่กระจายไปในหมู่เกาะแปซิฟิกเนื่องมาจากการอพยพของคน ชื่อสามัญของพืชชนิดนี้ ได้แก่ Polynesian Arrowroot (ภาษาอังกฤษ) Pia (ฮาวาย, โพลีเนเซียฝรั่งเศส, Niue, และ หมู่เกาะคุก), Masoa (ซามัว), Mahoaa (ตองกา), Yabia (ฟิจิ) Gapgap (กวม) และ Taka (อินโดนีเซีย).

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเท้ายายม่อม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เนอิอาฟู

ท่าเรือเมืองเนอิอาฟูเมื่อมองลงมาจากภูเขาตาเลา เนอิอาฟู เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในประเทศตองงาและเป็นศูนย์กลางการบริหารเขตการปกครองวาวาอู เนอิอาฟูมีประชากรประมาณ 6,000 คน ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะวาวาอูซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ในปัจจุบันเนอิอาฟูเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การปกครอง การศึกษา การธนาคารและการสาธารณสุขของเขตการปกครองวาวาอู.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและเนอิอาฟู · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

.to

.to เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศตองงา เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและ.to · ดูเพิ่มเติม »

1 E+8 m²

กาะภูเก็ต โซล 1 E+8 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 100 ถึง 1,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 100 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและ1 E+8 m² · ดูเพิ่มเติม »

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและ10 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศตองงาและ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Tongaราชอาณาจักรตองการาชอาณาจักรตองงาตองกาตองงาประเทศตองกาเกาะตองกาเขตการปกครองของตองกาเขตการปกครองของตองงา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »