โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศซามัว

ดัชนี ประเทศซามัว

รัฐเอกราชซามัว (ซามัว: Malo Sa‘oloto Tuto'atasi o Sāmoa; Independent State of Samoa) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ซามัว (ซามัว: Sāmoa; Samoa) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เกาะอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ชื่อในอดีตคือ เยอรมันซามัว ระหว่างปี พ.ศ. 2443 ถึง พ.ศ. 2457 และ ซามัวตะวันตก ระหว่างปี พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2540.

149 ความสัมพันธ์: ชมพู่ชาวพอลินีเซียฟุตบอลทีมชาติซามัวฟุตบอลทีมชาตินีวเวฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือกพ.ศ. 2505พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวายการเลิกล้มราชาธิปไตยภาษาอังกฤษภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้นมหาสมุทรแปซิฟิกมะกอกฝรั่งมะเฟืองมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2มาลีเอตัว โมลีมาลีเอตัว เลาเปปามิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสเวิลด์ 2013มิสเวิลด์ 2014มิสเวิลด์ 2015มิสเวิลด์ 2016มิสเอิร์ธ 2017ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือราชอาณาจักรตาฮีตีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศซามัวรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนียรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาลรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีรายการภาพธงชาติริกิชิวันชาติวันแม่วาลิสและฟูตูนาวงแหวนไฟสาธารณรัฐมิเนอร์วาสุริยา ปราสาทหินพิมายสงครามแปซิฟิกหมู่เกาะซามัวหลุมพอทะเล...อาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่าอาปีอาอูมากาอนุสัญญาแรมซาร์อเมริกันซามัวจักรวรรดิบริติชจักรวรรดิตูอีโตงาจักรวรรดิเยอรมันจุลรัฐธงชาติซามัวขิงแดงดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติด้วงงวงมะพร้าวดเวย์น จอห์นสันคริสต์สหัสวรรษที่ 3คำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตราแผ่นดินในโอเชียเนียตูอิ มานูอา เอลิซาลาตูอีโตงาตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิตีนเป็ดทรายซามัว โจซาไวอีปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิมประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิกประเทศตองงาประเทศซามัวใน ค.ศ. 1923ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1926ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1929ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1932ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1935ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1938ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1948ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1951ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1954ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1957ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1961ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1964ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1967ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1970ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1973ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1976ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1979ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1982ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1984ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1985ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1988ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1991ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1996ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2000ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2001ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2004ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2006ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2008ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2011ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2012ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2016ปลากะตักใหญ่ปลาวัวจมูกยาวปลาสีกุนครีบยาวปลาหางแข็งบั้งปลาขี้ตังเบ็ดฟ้าปลาข้างตะเภาลายโค้งปลาดุกทะเลลายปลานกแก้วหัวโหนกปลาโนรีครีบสั้นปลาเก๋าเสือปลาเฉี่ยวหินปอสาปาล์มพัดปีเตอร์ มายเวียป่าเมฆนางงามจักรวาล 1981นางงามจักรวาล 1987นางงามจักรวาล 1997นีวเวนีอูอาโฟโออูนีอูอาโตปูตาปูแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016แม่หอบแปซิฟิกเกมส์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14โปยเวลาสากลเชิงพิกัดเอเชียแปซิฟิกเท้ายายม่อม (พืช)เขตเวลาเซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา)เซอร์ไวเวอร์ วันเวิลด์เซอร์ไวเวอร์ ฮีโร่ปะทะวายร้ายเซอร์ไวเวอร์ ซาโมอาเซอร์ไวเวอร์ แปซิฟิกใต้UTC+14:001 มิถุนายน1 E+9 m² ขยายดัชนี (99 มากกว่า) »

ชมพู่

มพู่ (Syzygium) เป็นสกุลพืชดอกชนิดหนึ่ง ที่สามารถนำผลมารับประทานได้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 1,100 สปีชี.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและชมพู่ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวพอลินีเซีย

วพอลินีเซีย (Polynesians) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาพอลินีเซียและอาศัยอยู่ในพอลินีเซีย (ฮาวาย ตาฮิตี ซามัว รวมไปถึงพวกมาวรีในนิวซีแลนด์).

ใหม่!!: ประเทศซามัวและชาวพอลินีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติซามัว

ฟุตบอลทีมชาติซามัวเป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศซามัว ภายใต้การบริหารจัดการของสมาคมฟุตบอลซามัว ฟุตบอลทีมชาติซามัวถือได้ว่าเป็นฟุตบอลทีมชาติที่อ่อนแอมากชาติหนึ่งในระดับโลกและในระดับสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย ทั้งนี้เนื่องจากกีฬาประจำชาติของซามัวคือรักบี้ ส่งผลให้ไม่ค่อยมีประชาชนสนในในกีฬาฟุตบอลมากนัก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและฟุตบอลทีมชาติซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาตินีวเว

ฟุตบอลทีมชาตินีวเว เป็นตัวแทนของนีวเวในการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติ โดยสมาคมฟุตบอลแห่งเกาะนีวเวยังไม่ได้เป็นสมาชิกของฟีฟ่า แต่เป็นสมาชิกสมทบของสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย ทั้งนี้จึงไม่มีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลก แต่มีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันโอเอฟซี แนชันส์คัพ อย่างไรก็ตามทีมชาตินีวเวมีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขันเพียงแค่ 2 นัดเท่านั้น โดยแข่งขันในรายการเซาท์แปซิฟิกเกมส์ปี 1983 ซึ่งลงเอยด้วยการแพ้ทั้ง 2 นัดกล่าวคือแพ้ให้กับทีมชาติปาปัวนิวกินี 0 - 19 และแพ้ให้กับทีมชาติตาฮีตี 0 - 14.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและฟุตบอลทีมชาตินีวเว · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก

ฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก จัดขึ้นระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 ถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เพื่อให้เหลือเพียง 32 ทีมในรอบสุดท้าย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นทีมชาติเดียว ที่เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก ส่วนยูเครนคือทีมที่มีอันดับโลกสูงสุด (อันดับที่ 16) ที่ไม่ผ่านเข้ามาเล่นในรอบสุดท้าย อนึ่ง เมื่อแข่งขันรอบคัดเลือกเสร็จสิ้น ฟีฟ่ายังกำหนดให้มี การแข่งขันรอบแพ้คัดออก (play-off) เพื่อเลือกทีมชาติเข้ารอบสุดท้ายอีกชั้นหนึ่ง โดยในคราวนี้จัดเป็นสองคู่ แต่ละคู่ใช้ระบบเหย้า-เยือน ประกอบด้วย อันดับที่ 5 จากโซนเอเชีย พบกับ อันดับที่ 5 จากโซนอเมริกาใต้ (โซนอเมริกาใต้ชนะ) และอีกคู่หนึ่งคือ อันดับที่ 4 จากโซนคอนคาแคฟ พบกับ ทีมชนะเลิศจากโซนโอเชียเนีย (โซนคอนคาแคฟชนะ).

ใหม่!!: ประเทศซามัวและฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

ระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย (Kalākaua) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาคาอัว (David Laamea Kamanakapuu Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์คาลาคาอัวและถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ประเทศซามัวและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น

ูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าภูมิอากาศแบบเส้นศูนย์สูตร เป็นภูมิอากาศแบบร้อนชื้นมักพบบริเวณแถบบเส้นศูนย์สูตร ประเทศที่มีภูมิอากาศแบบนี้มักจะมีป่าดิบชื้น ในระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน เขตภูมิอากาศนี้แทนด้วยอักษร Af.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกฝรั่ง

มะกอกฝรั่ง, มะกอกหวาน หรือ มะกอกดง เป็นไม้ยืนต้นเขตร้อนขนาดกลาง ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน มีขนาดเล็ก ผลกลมรี สีเขียวเข้ม พอแก่สีจะอ่อนลง เนื้อมีรสมัน เปรียวอมหวาน ติดผลตลอดปี มีชื่อเรียกแตกต่างกันมากมาย เช่น พอมซิเทย์ (pomsitay) ในตรินิแดดและโตเบโก,Davidson, Alan, and Tom Jaine.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมะกอกฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

มะเฟือง

มะเฟือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Averrhoa carambola L.; ชื่อสามัญ: Carambola) เป็นไม้ต้นพื้นเมืองของอินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา และเป็นที่นิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวันออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชย์อยู่ที่ฟลอริดาตอนใต้และฮาว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมะเฟือง · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1

มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 (Malietoa Tanumafili I) (1879 – 5 กรกฎาคม 1939) ทรงเป็นมาลีเอตัวแห่งประเทศซามัว ตั้งแต่ปี 1898 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในปี 1939 มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี 1879 ทรงเป็นโอรสในมาลีเอตัว เลาเปปากับนิอูวาไอ ซิซาวาอิ มาลูโป ที่ประเทศซามัว พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับโมโมเอ ลูเปอูลูอิวามีพระโอรส-พระธิดาด้วยกัน 5 พระองค์ หนึ่งในนั้นคือมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 เมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้ 19 พรรษา พระองค์ทรงได้รับการประกาศให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งประเทศซามัวโดยสหราชอาณาจักร ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศถูกแทรกแทรงการบริหารจากต่างประเทศโดยเฉพาะเยอรมนีและสหรัฐอเมริกา พระองค์แทบไม่มีอำนาจใดๆ ในการบริหารประเทศ ประเทศซามัวในขณะนั้นตกเป็นอานาณิคมของชาติมหาอำนาจเช่นเดียวกับประเทศต่างๆ ในโอเชียเนีย มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 1939 มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2พระโอรสจึงได้ครองราชย์สมบัติต่อจากพระอง.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2

ระประมุขมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 (His Highness Susuga Malietoa Tanumafili II) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 – 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระประมุขแห่งรัฐเอกราชซามัว ทรงพระราชสมภพในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2456 เป็นพระราชโอรสใน มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 และโมโมเอ ลูเปอูลูอีวา มาเลอิเซอา ทรงขึ้นครองราชย์พร้อมกับ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมุขตูปัว ตามาเซเซ ซึ่งครองราชย์อยู่ 2 ปี โดยส่วนพระองค์นับถือศาสนาบาไฮ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมาลีเอตัว ขณะครองราชย์ทรงเคยเป็นประมุขแห่งรัฐ ที่มีพระชนมพรรษามากที่สุดในโลก และ ครองราชย์ยาวนานเป็นอันดับ 3 ของโลก พระองค์มีส่วนสำคัญที่ทำให้ซามัวเป็นเอกราชจากนิวซีแลนด์ได้.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว โมลี

มาลีเอตัว โมลี (Malietoa Moli) (1790 – 1860) ทรงเป็นมาลีเอตัวแห่งประเทศซามัว ตั้งแต่ปี 1858 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในปี 1860 มาลีเอตัว โมลี เสด็จพระราชสมภพประมาณปี 1790 ทรงเป็นโอรสในมาลีเอตัว วาอินูโป ตาวิตากับอาอูโนโฟ ซิอูลิ อาตูอิลากิ พระองค์ทรงครองราชย์เป็นระยะเวลาสั้นๆ ต่อจากพระบิดา และเสด็จสิ้นพระชนม์ไป มาลีเอตัว โมลี เสด็จสิ้นพระชนม์ เมื่อปี 1860 พระโอรสของพระองค์มาลีเอตัว เลาเปปาจึงครองราชย์ต่อจากพระองค์ร่วมกับมาลีเอตัว ตาลาโวอู โตนูมาอิเปอาพระเชษฐาของพระอง.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมาลีเอตัว โมลี · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว เลาเปปา

มาลีเอตัว เลาเปปา (Malietoa Laupepa) (ค.ศ. 1841 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1898) ทรงเป็นมาลีเอตัวแห่งประเทศซามัว ในปลายศตวรรษที่ 19 มาลีเอตัว เลาเปปา เป็นโอรสในมาลีเอตัว โมลีกับฟาอาลาอิตูอิโอ ฟูอาติโน ซูอา พระองค์ทรงได้เข้ารับศึกษาที่ศาสนาที่วิทยาลัยมาลาอู ทำให้พระองค์ทรงเคร่งศาสนาคริสต์เป็นอย่างมาก พระองค์ทรงอภิเษกสมสกับซิซาวาอิ มาลูโป นิอูวาอาอิมีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ หนึ่งในนั้นคือมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 พระองค์ทรงครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งซามัว โดยมีจักรวรรดิเยอรมัน สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรคอยแทรกแทรงทางการเมือง ตามาเซเซไม่ยอมรับพระองค์ และพยายามที่จะทำสงครามชิงราชบัลลังก์ ในที่สุดสงครามก็จบลงด้วยสนธิสัญญาสงบศึก พระองค์ยังคงครองราชย์ต่อไป มาลีเอตัว เลาเปปา เสด็จสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมาลีเอตัว เลาเปปา · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2013

มิสเวิลด์ 2013, ครั้งที่ 63 จัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมิสเวิลด์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2014, การประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 64 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมิสเวิลด์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมิสเวิลด์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอิร์ธ 2017

มิสเอิร์ธ 2017, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 17 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและมิสเอิร์ธ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรตาฮีตี

ราชอาณาจักรตาฮีตี ก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าโปมาเรที่ 1 ด้วยความช่วยเหลือของมิชชันนารีอังกฤษและพ่อค้ายุโรป โดยได้รวบรวมหมู่เกาะต่างๆ เข้าด้วยกัน และก่อตั้งเป็นราชอาณาจักร ต่อมาในสมัยของพระเจ้าโปมาเรที่ 2 อาณาจักรก็เริ่มก้าวหน้า มีความรุ่งเรืองและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น แต่อาณาจักรก็ต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคมเช่นเดียวกันกับดินแดนโปลินีเซียอื่น ๆ เช่น ราอีอาเตอา, ฮูอาฮีเน, บอราบอรา, ฮาวาย, ซามัว, ตองกา, ราโรตองกา และนีอูเอ ในศตวรรษที่ 19 ตาฮีตีต้องตกเป็นรัฐอารักขาของฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและราชอาณาจักรตาฮีตี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศซามัว

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อปีในประเทศซามัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย

นี่คือ รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนี.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล ซึ่งเรียงลำดับพระมหากษัตริยที่ทรงครองราชย์ 60 ปีขึ้นไปตามรัชกาล.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจำนวน 25 ประเทศจากทั้งสิ้น 29 ประเทศทั่วโลกตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยที่จะมาร่วมราชพิธีอันเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายนปีดังกล่าว พระประมุขจาก 13 ประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง 12 ประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน ครั้งนี้นับเป็นการชุมนุมของพระประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ริกิชิ

ซโลฟา เอฟ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและริกิชิ · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วาลิสและฟูตูนา

วาลิสและฟูตูนา (Wallis and Futuna; Wallis et Futuna; ภาษาฟากาอูเวอาและภาษาฟูตูนา: Uvea mo Futuna) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา (Territory of the Wallis and Futuna Islands; Territoire des îles Wallis-et-Futuna) เป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 264 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 2 หมู่เกาะคือ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและวาลิสและฟูตูนา · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและวงแหวนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมิเนอร์วา

สาธารณรัฐมิเนอร์วา สร้างขึ้นโดยนำทรายที่นำมาจากประเทศออสเตรเลีย มาถมลงไปในระดับน้ำทะเล ผู้ที่มาริเริ่มโครงการคือไมเคิล โอลิเวอร์ จนทำให้ดินแดนนี้มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การค้าขายและตกปลาซึ่งเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศใหม่ ประเทศนี้ แนวปะการังมิเนอร์วาอยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิก โดยตัดสินใจที่จะสร้างเป็นสาธารณรัฐในปี พ.ศ. 2514 และนำเรือบรรทุกทรายจากประเทศออสเตรเลียมาถมในระดับน้ำทะเล และสร้างหอและธงชาติขึ้น สาธารณรัฐมิเนอร์วาได้ส่งประกาศความเป็นเอกราชส่งไปยังประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆและได้คิดสกุลเงินไว้ใช้ภายในประเทศ ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2515 มอริส ซี เดวิสได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีชั่วคราวของสาธารณรัฐมิเนอร์วา การประกาศความเป็นเอกราชของสาธารณรัฐมิเนอร์วา ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2515 ยังผลให้เกิดความสงสัยอย่างมากของประเทศเพื่อนบ้าน การประชุมของประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ (ประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศตองงา ประเทศฟีจี ประเทศนาอูรู ประเทศซามัว หมู่เกาะคุก) ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 ซึ่งตองงาได้อ้างสิทธิเหนือดินแดนแนวปะการังมิเนอร์วา ในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2515 รัฐบาลตองงา ได้ประกาศในหนังสือราชกิจจาโดยประกาศให้สาธารณรัฐมิเนอร์วาเป็นดินแดนภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรตองงา ต่อมาประเทศตองงาได้ส่งกองกำลังทหารเข้ามายึดดินแดนนี้ ธงชาติมิเนอร์วาถูกชักลงจากเสา และเกาะปะการังที่เหลือก็ถูกยึดครองโดยตองงา การยึดครองดินแดนแห่งนี้ของตองงาได้รับการรับรองจากสภาแห่งแปซิกใต้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2515 ในระหว่างนั้นประธานาธิบดีชั่วคราวมอริส ซี เดวิส ถูกไล่ออก หมวดหมู่:ประเทศตองงา หมวดหมู่:ประเทศจำลอง ja:ミネルバ共和国.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและสาธารณรัฐมิเนอร์วา · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา ปราสาทหินพิมาย

อก สุริยา ปราสาทหินพิมาย (เกิดวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2522; เป็นหลานปู่ของสุข ปราสาทหินพิมาย) เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทย เจ้าของเหรียญเงิน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 14 ที่เกาหลีใต้ จากนั้นมาคว้าเหรียญทองแดง ในกีฬาโอลิมปิก ครั้งที่ 28 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซในรุ่นมิดเดิลเวท 75 กก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและสุริยา ปราสาทหินพิมาย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะซามัว

หมู่เกาะซามัว เป็นกลุ่มเกาะครอบคลุมพื้นที่ 3,030 ตารางกิโลเมตรในแปซิฟิกใต้ตอนกลาง เป็นส่วนหนึ่งของพอลินีเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคโอเชียเนียอีกทอดหนึ่ง ประชากรหมู่เกาะซามัวมีประมาณ 250,000 คน โดยใช้ภาษากลางร่วมกัน ตลอดจนมีวัฒนธรรมและรูปแบบการปกครองพื้นเมืองแบบเดียวกัน เนื่องจากการล่าอาณานิคม หมู่เกาะและประชากรซามัวจึงถูกแบ่งแยกโดยอำนาจตะวันตก ปัจจุบัน หมู่เกาะมีสองเขตอำนาจควบคุม (jurisdiction) คือ ประเทศเอกราชซามัวในซีกตะวันตกของหมู่เกาะ และดินแดนอเมริกันซามัว ซึ่งประกอบด้วยหมู่เกาะทางตะวันออก ภูมิภาคทั้งสองนี้แบ่งแยกโดยมหาสมุทรกว้าง 64 กิโลเมตร ชาวซามัวส่วนใหญ่เป็นสายเลือดพอลินีเซียพันธุ์แท้และเป็นหนึ่งในประชากรพอลินีเซียที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและหมู่เกาะซามัว · ดูเพิ่มเติม »

หลุมพอทะเล

หลุมพอทะเล หรือ ประดู่ทะเล เป็นต้นไม้พืชดอกในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในอินโดแปซิฟิก มีการกระจายพันธุ์จากประเทศแทนซาเนียและประเทศมาดากัสการ์ไปทางตะวันออกผ่านประเทศอินเดียและรัฐควีนส์แลนด์, ประเทศออสเตรเลียถึงหมู่เกาะแปซิฟิกของประเทศซามัว ต้นสูงได้ถึง 50 เมตร พบในป่าชายเลน.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและหลุมพอทะเล · ดูเพิ่มเติม »

อาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่า

อาธีนาและเซนต์แห่งอาธีน่า เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย์ย่า ซึ่งเซนต์แห่งอาธีน่าเป็นเซนต์ประจำกลุ่มดาวทั้ง 88 มีหน้าที่ปกป้องอาธีนา โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ บรอนซ์เซนต์ ซิลเวอร์เซนต์ และโกลด์เซนต์ แต่ในบรรดานั้นก็มีเซนต์บางคนที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มดาวทั้ง 88 รวมไปถึงเซนต์ที่ไม่มีกลุ่มดาวประจำตัวอย่าง สตีลเซนต์ แบล็กเซนต์ และโกสต์เซนต์ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและอาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่า · ดูเพิ่มเติม »

อาปีอา

อาปีอา (Apia) เป็นเมืองหลวงของรัฐเอกราชซามัว เมืองตั้งอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของเกาะยูโปลู ถือเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของซามัว จากข้อมูลในปี..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและอาปีอา · ดูเพิ่มเติม »

อูมากา

อ็ดเวิร์ด สมิธ ฟาตู (Edward Smith Fatu; 28 มีนาคม ค.ศ. 1973 – 4 ธันวาคม ค.ศ. 2009) นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน อดีตสังกัดWWEในนาม อูมากา (Umaga) เป็นหนึ่งในครอบครัวตระกูลอานัวอี ปัจจุบันได้เสียชีวิตลงแล้วด้วยวัย 36 ปี จากอาการหัวใจวายเฉียบพลัน โดยเว็บไซต์ PWinsider.com ระบุว่าก่อนหน้านี้เมื่อคืนวันพฤหัสฯที่ผ่านมา 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและอูมากา · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกันซามัว

อเมริกันซามัว (American Samoa; ซามัว: Amerika Samoa) เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ซามัวและอเมริกันซามัวถูกแบ่งแยกโดยส่วนของประเทศซามัวในปัจจุบันเคยอยู่ในการครอบครองของประเทศเยอรมนี ต่อมาก็ได้ถูกครอบครองโดยประเทศนิวซีแลนด์ ส่วนของอเมริกันซามัวก็ได้ถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกา จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและอเมริกันซามัว · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิตูอีโตงา

ักรวรรดิตูอีโตงา เป็นจักรวรรดิหนึ่งที่มีอำนาจยิ่งใหญ่มากในเขตโอเชียเนีย โดยจักรวรรดินี้ก่อตั้งขึ้นราวปี ค.ศ. 950 โดยพระเจ้าอะโฮเออิตู แต่เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 15 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยของจักรพรรดิโมโมและจักรพรรดิตูอิตาตูอิ ซึ่งสามารถขบายอำนาจได้ตั้งแต่ นีอูเอ ถึงติโกเปีย จักรวรรดินี้เคยขยายอาณาเขตได้ไกลที่สุดถึงรัฐแยปของไมโครนีเซีย มีเมืองหลวงสำคัญของจักรวรรดิที่มูอา ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะโตงาตาปู โดยมีพระมหากษัตริย์ปกครองมาจาก 3 ราชวงศ์ และตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา จักรวรรดิตูอีโตงามีราชวงศ์ปกครองจักรวรรดิพร้อมกันถึง 3 ราชวงศ์ในเวลาเดียวกัน ในปัจจุบันนักวิจัยได้พยายามค้นคว้าถึงบทบาทของจักรวรรดิในการค้าทางทะเล รวมไปถึงอิทธิพลของจักรวรรดิในบริเวณต่างๆ แต่ยังคงขาดหลักฐานเชิงประจักษ์"The Pacific Islands: An Encyclopedia," edited by Lal and Fortune, p. 133.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและจักรวรรดิตูอีโตงา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จุลรัฐ

รัฐเอกราชที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก 5 อันดับ ได้แก่: นครรัฐวาติกัน, โมนาโก, นาอูรู, ตูวาลู และซานมารีโน โดยแผนที่แสดงมาตราส่วนที่เท่ากันเพื่อเปรียบเทียบขนาดของแต่ละประเทศ จุลรัฐ (microstate หรือ ministate) เป็นรัฐที่มีอธิปไตยเป็นของตนเองแต่มีขนาดพื้นที่ประเทศหรือจำนวนประชากรที่น้อยมาก อาทิ ประเทศลิกเตนสไตน์, ประเทศมอลตา, ประเทศซานมารีโน, ประเทศสิงคโปร์ และนครรัฐวาติกัน เป็นต้น จุลรัฐมักมีปัญหาพิเศษโดยเฉพาะด้านการป้องกันประเทศ และการป้องกันการแทรกแซงจากภายนอก ส่วนจุลรัฐที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก คือ นครรัฐวาติกัน ที่มีประชากรเพียง 842 คน (จากการสำรวจในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556) กับพื้นที่ 0.44 ตารางกิโลเมตร จุลรัฐ (Microstate) แตกต่างจากประเทศจำลอง (Micronation) เนื่องจากจุลรัฐจะได้รับการยอมรับจากประเทศต่าง ๆ แต่ตรงกันข้ามประเทศจำลองจะไม่ได้รับการยอมรับนานาชาติว่าเป็นรัฐอธิปไตย ส่วนเขตปกครองพิเศษ (Special territory) อาทิอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หรือเขตปกครองพิเศษของจีน ไม่จัดว่าเป็นจุลรั.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและจุลรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติซามัว

งชาติซามัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดง ที่มุมบนด้านคันธงมีสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงินขนาดเล็ก ภายในรูปดังกล่าวมีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นกลุ่มดาวกางเขนใต้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 พื้นสีแดงหมายถึงความกล้าหาญ สีน้ำเงินหมายถึงเสรีภาพ สีขาวหมายถึงความบริสุทธิ์ เดิมดินแดนส่วนนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมนี ต่อมาถูกกองทัพนิวซีแลนด์เข้ายึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2457 หลังสิ้นสงคราม ซามัวก็ตกเป็นรัฐในอาณัติของนิวซีแลนด์อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 และได้รับการรับรองจากสันนิบาตชาติเมื่อในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2463 นับแต่นั้นมาจนถึงปี พ.ศ. 2540 ดินแดนนี้เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อซามัวตะวันตก (ซามัวส่วนที่เหลือตกเป็นของสหรัฐอเมริกา เรียกว่า อเมริกันซามัว) ตราแผ่นดินของซามัวนับตั้งแต่ตกเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรผ่านทางนิวซีแลนด์นั้น เป็นรูปต้นปาล์ม 3 ต้นอยู่ในวงกลม ตราดังกล่าวนี้ใช้ประกอบเข้ากับธงเรือของสหราชอาณาจักร (ธงเรือพลเรือนใช้สีแดง ธงเรือราชการใช้สีน้ำเงิน) สำหรับใช้เป็นธงประจำดินแดน จนถึงปี พ.ศ. 2492 อนึ่ง ซามัวได้รับเอกราชจากนิวซีแลนด์ในปี พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและธงชาติซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ขิงแดง

งแดง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Alpinia purpurata (Vielle.) Schum.) เป็นพืชพื้นเมืองของมาเลเซียที่มีดอกสวยงาม ส่วนที่เป็นมีสีสดใสเป็นกาบหุ้มช่อดอก ส่วนดอกจริงมีขนาดเล็กอยู่ข้างบน แบ่งเป็นสองสายพันธุ์คือ Jungle King และ Jungle Queen ขิงแดงสามารถพบได้ในฮาวาย ปวยร์โตรีโก และหลายประเทศในอเมริกากลาง รวมทั้งเบลีซ พบได้ในซามัวซึ่งเป็นดอกไม้ประจำชาติของซามัว มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "teuila" นอกจากนั้น ยังพบในทางใต้ของฟลอริดา บริเวณที่ไม่มีหิมะปกคลุม ชอบอากาศที่มีร่มเงาและชุ่มชื้น ทนต่อแสงแดดจัดได้ แต่ไม่ชอบอากาศแล้ง สามารถปลูกเป็นไม้ในบ้านได้ และเป็นไม้ตัดดอกได้เช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและขิงแดง · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ

ลกในปี 1945 ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติแสดงด้วยสีเขียว ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ (United Nations Trust Territories) เป็นผู้สืบทอดดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ (League of Nations mandates) โดยเริ่มเกิดขึ้นมาเมื่อสันนิบาตชาติถูกยุบในปี 1946.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงงวงมะพร้าว

้วงงวงมะพร้าว หรือ ด้วงสาคู หรือ ด้วงลาน หรือ แมงหวัง ในภาษาใต้ (Red palm weevil, Red-stripes palm weevil, Asian palm weevil, Sago palm weevil) เป็นด้วงงวงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchophorus ferrugineus จัดว่าเป็นด้วงงวงขนาดกลาง ตัวเต็มวัย ปีกมีสีน้ำตาลดำ อกมีสีน้ำตาลและมีจุดสีดำ มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 25-28 มิลลิเมตร ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีขนาดและลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกัน ต่างกันที่ตัวผู้มีขนที่ด้านบนของงวงใกล้ส่วนปลาย ตัวหนอนมีสีเหลืองปนน้ำตาล ดักแด้เป็นปลอกทำด้วยเศษชิ้นส่วนจากพืชที่กินเป็นอาหาร โดยด้วงงวงชนิดนี้นับเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะพืชจำพวกปาล์ม เช่น มะพร้าวหรือสาคู หรือลาน ในประเทศไทยพบมากที่ภาคใต้ ตัวหนอนจะอาศัยและกัดกินบริเวณยอดอ่อน ตัวเต็มวัยจะเกาะกินเนื้อเยื่อด้านในของลำต้นลึกจนเป็นโพรง ซึ่งอาจทำให้ต้นตายได้ โดยจะบินออกหากินในเวลากลางวัน สามารถบินได้ไกลถึง 900 เมตร และอาจซ้ำกินซ้ำเติมจากที่ด้วงแรดมะพร้าว (Oryctes rhinoceros) ซึ่งเป็นด้วงกว่างกินแล้วด้วย ตัวเมียใช้เวลาวางไข่นาน 5-8 สัปดาห์ ในปริมาณเฉลี่ย 400 ฟอง กระจายพันธุ์อยู่ตั้งแต่อินเดียจนถึงซามัว แต่ปัจจุบันได้แพร่กระจายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นไปในทวีปต่าง ๆ ของโลก ตัวหนอนในชามที่รอการบริโภค แต่ในปัจจุบัน ตัวหนอนของด้วงงวงชนิดนี้กำลังเป็นที่นิยมของการเพาะเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยนิยมบริโภคกัน มีราคาซื้อขายที่สูงถึงกิโลกรัมละ 200-300 บาท โดยระยะจากไข่-หนอน-ดักแด้ใช้เวลา 60 วัน ตัวเต็มวัยมีอายุ 2-3 เดือน.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและด้วงงวงมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ดเวย์น จอห์นสัน

วย์น จอห์นสัน (Dwayne Johnson) มีชื่อจริงว่า ดเวย์น ดักลาส จอห์นสัน (Dwayne Douglas Johnson) เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและดเวย์น จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิกคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้ คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับคำภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกูลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และ ภาษาจามที่ใช้พูดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และ ภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้ ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในโอเชียเนีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ในโอเชียเนี.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและตราแผ่นดินในโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ตูอิ มานูอา เอลิซาลา

ตูอิ มานูอา เอลิซาลา ตูอิ มานูอา เอลิซาลา Tui Manuʻa Elisala (ประมาณ 2442) ทรงเป็นผู้ปกครองดินแดนตูอิมานูอา ในช่วงประมาณพ.ศ. 2442 ตำแหน่งตูอิมานูอาถือเป็นตำแหน่งที่เก่าแก่ที่สุดในแถบดินแดนซามัวและโพลีนีเซีย หมวดหมู่:ผู้ปกครองซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและตูอิ มานูอา เอลิซาลา · ดูเพิ่มเติม »

ตูอีโตงา

ตูอีโตงา (Tui Tonga) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิตูอีโตงา โดยตำนานกล่าวถึงการที่เทพเจ้าตากาโลอาพระเจ้าของชาวตองงามีพระโอรสกับหญิงมนุษย์โลก แล้วให้กำเนิดออกมาเป็นพระเจ้าอะโฮเออิตู ซึ่งพระเจ้าอะโฮเออิตูนี้เป็นต้นราชวงศ์ตูอีโตงา โดยสถาปนาราชวงศ์นี้ในประมาณปี ค.ศ. 950 ราชวงศ์ตูอีโตงาเจริญถึงขีดสุดในช่วงเวลาประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12ในรัชสมัยของพระเจ้าโมโม พระเจ้าตูอิตาตูอิและพระเจ้าตาลาตามา ซึ่งสามารถขยายอาณาเขตได้กว้างไกล จนกระทั่งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์ตูอีโตงาเริ่มเสื่อมอำนาจลงจากการโอนอำนาจส่วนใหญ่ให้ตูอิฮาอะตากาเลาอา จนกระทั่งหมดอำนาจไปใน ค.ศ. 1826 และเสื่อมสลายไปในปี ค.ศ. 1865 สำหรับกฎการสืบราชสมบัติของราชวงศ์นี้จะสืบจากพระบิดาสู่พระโอรสเท่านั้น ปัจจุบันเชื้อสายของราชวงศ์นี้ยังอยู่ในสายกาลานีอูวาลู.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและตูอีโตงา · ดูเพิ่มเติม »

ตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ

ตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ ตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ (ซามัว: Tupua Tamasese Tupuola Tufuga Efi; 1 มีนาคม พ.ศ. 2481 - ปัจจุบัน) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งซามัว ซึ่งเป็นประมุขแห่งซามัวต่อจากมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 กษัตริย์ซามัวองค์ก่อน ท่านจึงเป็นประธานาธิบดีแทน เพราะ มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 ไม่มีราชโอรสสืบราชบัลลังก์ทำให้ซามัวไม่มีกษัตริย์อีกต่อไป และเริ่มใช้ระบบประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี โดยประธานาธิบดีอยู่ในตำแหน่ง 5 ปี แต่อย่างไรก็ดีพระองค์ก็เป็นเจ้าที่สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ตูปัว ตามาเซเซ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ · ดูเพิ่มเติม »

ตีนเป็ดทราย

ผลตีนเป็ดทรายดิบในอินโดนีเซีย ตีนเป็ดทราย เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Apocynaceae ยางสีขาว รากแผ่กว้างเพื่อยึดกับทราย ใบยาวรี ค่อนข้างหนา ผิวเคลือบใบหนา ดอกสีขาว ผลทรงกลมรี เมื่อสุกสีแดง มีพิษ รับประทานไม่ได้ ใบใช้เป็นยารักษาโรคผิวหนัง ชื่อสามัญของพืชนี้ในแต่ละถิ่นจะต่างกันไป ภาษาอังกฤษเรียก sea mango (ตรงตัว: มะม่วงทะเล), ในมาดากัสการ์เรียก tanguin samanta tangena, ในซามัวเรียก leva, ในตองงาเรียก toto, ในฟีจีเรียก vasa ส่วนในภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู และภาษาซุนดาเรียก bintaro.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและตีนเป็ดทราย · ดูเพิ่มเติม »

ซามัว โจ

นิวย์โฟเลา โจเอล ซีนัว (Nuufolau Joel Seanoa) เกิด 17 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและซามัว โจ · ดูเพิ่มเติม »

ซาไวอี

ซาไวอี (Savaiʻi) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีจุดสูงสุดของประเทศซามัวและกลุ่มเกาะซามัว และเป็นเกาะใหญ่สุดในโพลินีเซีย นอกเหนือจากฮาวายและนิวซีแลนด์ เกาะมีประชากร 43,142 คน (ค.ศ. 2006) ถือเป็น 24% ของประชากรทั้งประเท.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและซาไวอี · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม

ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม (Declaration on the Rights of Indigenous Peoples) ผ่านโดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติระหว่างสมัยประชุมที่ 62 ที่สำนักงานใหญ่สหประชาชาติในนครนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก เป็นประวัติศาสตร์หมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก ชาวโพลินีเซียมีความเจริญสูงสุดโดยเฉพาะประเทศตองกาและประเทศซามัว ซึ่งเจริญมากจนมีการสร้างขึ้นเป็นอาณาจักร สำหรับชาวเมลานีเซียความเจริญมากสุดอยู่ที่ประเทศฟิจิและหมู่เกาะโซโลมอน และมีสังคมแบบชนเผ่า สังเกตได้ในประเทศปาปัวนิวกินีซึ่งมีชนเผ่ากว่า 100 ชนเผ่า ส่วนภูมิภาคไมโครนีเซียก็มีประชากรอาศัยกันอยู่อย่างช้านานแบบชนเผ่า บางแห่งเป็นรัฐ แว่นแคว้นหรืออาณาจักร ในประเทศออสเตรเลียมีชาวอบอริจินส์อาศัยอยู่นานถึง 40000 - 50000 ปี สำหรับประเทศนิวซีแลนด์มีชาวมาวรีอาศัยอยู.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1923

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1923 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1923 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1926

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1926 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1926 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1929

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1929 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1929 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1932

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1932 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1935

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1935 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1935 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1938

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1938 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1938 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1948

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1948 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1954

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1954 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1954 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1957

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1957 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1957 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1961

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1961 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1961 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1964 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1967

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1967 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1967 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1970

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1970 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1970 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1973

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1973 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1973 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1976 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1979

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1979 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1979 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1982

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1982 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1982 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1985

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1985 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1985 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1988 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1991

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1991 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1991 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1996 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2001

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2001 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2001 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2011

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2011 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัวใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 ในประเทศซามัว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและประเทศซามัวใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะตักใหญ่

ปลากะตักใหญ่ หรือ ปลากะตักควาย (Indian anchovy) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stolephorus indicus ในวงศ์ปลากะตัก (Engraulidae) มีลำตัวยาวเรียวด้านข้างแบน ท้องเป็นสันคม เกล็ดบริเวณหน้าครีบท้องแข็งเป็นหนาม หัวโต จะงอยปากสั้น ปากกว้างและเฉียงขึ้นข้างบน ครีบหลังและครีบก้นมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบหางลึกเป็นแฉก ครีบหูและครีบท้องมีขนาดเล็ก มีแถบสีขาวคาดที่ข้างลำตัวและมีจะงอยปากใหญ่กว่าปลากะตักชนิดอื่น ๆ ไม่มีเส้นดำบนด้านหลังระหว่างหัวถึงครีบหลัง ลำตัวเป็นสีเทาโปร่งแสง มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ หากินตามผิวน้ำ โดยมีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 10 เซนติเมตร กินอาหารขนาดเล็ก จำพวก แพลงก์ตอน, เคยหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลที่ห่างจากชายฝั่งประมาณ 0.5-1.5 ไมล์ทะเล สามารถเข้าไปหากินถึงในแหล่งน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำได้ ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นอกจากนั้นแล้วยังพบได้ไกลถึงชายฝั่งของแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ซามัว, ตาฮิติ, มาดากัสการ์, ทะเลจีนตะวันออก และออสเตรเลีย มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ในแง่ของการทำเป็นน้ำปลา, ปลาแห้ง, ปลาป่น และแกงกะหรี่ ในอินเดีย ปลากะตักใหญ่ ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลามะลิ", "ปลากล้วย" หรือ "ปลาไส้ตัน".

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลากะตักใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวจมูกยาว

ปลาวัวจมูกยาว หรือ ปลาวัวจุดส้ม (Long-nose filefish, Orangespotted filefish, Harlequin filefish, Beaked leatherjacket) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oxymonacanthus longirostris อยู่ในวงศ์ปลาวัวจมูกยาว (Monacanthidae) มีรูปร่างเรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด มีจะงอยปากยื่นยาวคล้ายหลอดหรือท่อ ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนแรกมีเงี่ยงแข็งซึ่งสามารถตั้งชี้หรือกระดกได้เพื่อใช้ข่มขู่ผู้รุกรานหรือป้องกันตัวจากปลาที่ใหญ่กว่า เมื่อเวลาถูกกินเข้าปากจะถูกเงี่ยงนี้ทิ่มเอา ครีบท้องลดรูปลงไปทำให้เล็กและมีก้านครีบแข็งเช่นเดียวกับครีบหลัง สามารถพับเก็บได้ ครีบท้องยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีจุดกลมสีส้มกระจายอยู่ทั่วบนพื้นลำตัวสีเขียวอมฟ้า โดยที่ส่วนหน้าจะเป็นรอยขีดยาวตามดวงตา ที่ปลายครีบหางจะมีจุดสีดำขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ชายฝั่งของทวีปแอฟริกาฝั่งตะวันออกและใต้, โมซัมบิก, ทะเลแดง, ซามัว, หมู่เกาะริวกิวในทะเลจีนตะวันออก, นิวแคลิโดเนีย, ตองกา และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มักอยู่เป็นคู่ โดยจะพบมากที่สุดในแนวปะการัง เพราะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นหลัก พบได้ในความลึกตั้งแต่ 4-30 เมตร หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในเวลากลางคืนในแนวปะการังหรือกองหิน เป็นปลาที่เป็นที่ชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำเนื่องจากเป็นปลาที่สวยงามและไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสีกุนครีบยาว

ำหรับปลาผมนางสกุลอื่น ดูที่: ปลาผมนาง สำหรับปลามงแซ่ชนิดอื่น ดูที่: ปลาจุยจินขาว ปลาสีกุนครีบยาว หรือ ปลามงแซ่ หรือ ปลาผมนาง (Bumpnose trevally, Longfin trevally) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนข้าง หัวโต หน้าสั้น สันหัวโค้งนูน นัยน์ตาโต ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย คอดหางเล็กและสั้นมาก ครีบหลังมี 2 อัน อันแรกมีขนาดเล็กรูปสามเหลี่ยมอันที่สองยาวมีปลายครีบอ่อนบางอันยืดยาวออกเป็นเส้นเดียวประมาณ 7 อัน คล้ายปลาผมนาง ครีบก้นส่วนที่เป็นก้านครีบอ่อนมีลักษณะเช่นเดียวกับครีบหลังอันที่สอง และมีหนามแหลมสั้น ๆ 2 อัน อยู่หน้าครีบก้น ครีบหูเรียวเป็นรูปเคียว ครีบหางเป็นแฉกลึก มีเกล็ดแข็งอยู่บริเวณโคนหางพื้นลำตัวสีขาว มีสีเหลืองอ่อนตามแนวเส้นข้างตัว ขอบกระดูกกระพุ้งเหงือกมีแถบสีดำเล็ก ๆ อยู่ข้างละแถบ ครีบหางสีเหลืองจัด ครีบอื่น ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ เป็นปลาที่กินสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 32 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก พบตั้งแต่แอฟริกาใต้จนถึงญี่ปุ่น และซามัว ด้านฝั่งตะวันออก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน เป็นปลาเศรษฐกิจที่ใช้เนื้อเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาสีกุนครีบยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางแข็งบั้ง

ปลาหางแข็งบั้ง หรือ ปลาสีกุนกบ (Yellowtail scad, Banded crevalle, Deep trevally) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Atule มีลำตัวยาว แบนข้าง หัวโต จะงอยปากยาวและแหลม นัยน์ตาโตมีเยื่อไขมันหุ้มอยู่ ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย มีฟันเล็ก บนขากรรไกร เกล็ดบริเวณเส้นข้างลำตัวแข็ง โดยเฉพาะส่วนหางดูเป็นสันแข็งกว่าส่วนอื่น ๆ ครีบหลังมีสองอัน แยกเป็นอิสระจากกัน อันแรกเป็นรูปสามเหลี่ยม อันที่สองตอนหน้าสูงแหลม ตอนท้ายสุดจรดโคนหาง ครีบก้นยาวปลายจรดโคนหาง เช่นกัน ลำตัวด้านบนสีน้ำเงินแกมเขียว ช่วงท้องสีขาว มีแถบสีเทาจาง ๆ พาดตัวลายใหญ่บ้างเล็กบ้างสลับกัน ครีบต่าง ๆ มีสีเหลือง มีความยาวเต็มที่ 30 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ยที่พบ คือ 15-26 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งและน้ำกร่อยอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ทะเลแดง, หมู่เกาะฮาวาย, แอฟริกา, ซามัว, ตอนเหนือของญี่ปุ่น และออสเตรเลีย เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญชนิดหนึ่ง เนื้อมีรสชาติดี จึงนิยมแปรรูปเป็นปลาเค็ม, ปลากระป๋อง เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาหางแข็งบั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า

ปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า หรือชื่อที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า ปลาบลูแทง (blue tang, regal tang, palette surgeonfish, royal blue tang, hippo tang, flagtail surgeonfish, blue surgeonfish, Pacific regal blue tang) เป็นปลาทะเลที่อาศัยตามแนวปะการังที่มีสีสันสดใส จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จัดอยู่ในวงศ์ปลาขี้ตังเบ็ด (Acanthuridae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล ParacanthurusFroese, Rainer, and Daniel Pauly, eds.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาขี้ตังเบ็ดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาข้างตะเภาลายโค้ง

ปลาข้างตะเภาลายโค้ง (Target fish, Crescent bass, Tiger bass, Jarbua terapon; 花身鯻) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Terapon jarbua ในวงศ์ Terapontidae เป็นปลาที่หากินบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็นน้ำกร่อย และบริเวณป่าชายเลน สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ ลำตัวค่อนข้างสั้นปากเล็ก ลำตัวสีขาวเงิน และมีแถบสีดำพาดตามลำตัว 3 แถบ ซึ่งแถบนั้นจะโค้งต่ำลงตอนกลาง เป็นปลาที่มีความว่องไวปราดเปรียวและนิยมอยู่เป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทะเลแดง, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ซามัว, ทางตอนใต้ของจีนไปจนถึงออสเตรเลีย ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 36 เซนติเมตร มีความสามารถพิเศษคือ สามารถเปล่งเสียงได้ จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ปลาออดแอด" หรือ "ปลาครีดคราด" หรือ "ปลามโหรี" หรือ "ปลาข้างลาย" เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันเฉพาะท้องถิ่น ด้วยความที่เป็นปลาขนาดเล็ก และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ที่มีชื่อเรียกในวงการปลาสวยงามว่า "ปลามงกุฎ".

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาข้างตะเภาลายโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกทะเลลาย

ปลาดุกทะเลลาย หรือ ปลาดุกทะเลแถบ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ปลาดุกทะเล (Striped eel catfish) เป็นปลาหนังชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plotosus lineatus (มาจากภาษากรีก Plotos หมายถึง "ว่ายน้ำ" และ lineatus หมายถึง "ลายแถบ") อยู่ในวงศ์ปลาดุกทะเล (Plotosidae) มีรูปร่างเรียวยาวด้านข้างแบน ส่วนหัวแบนลงมีหนวด คู่ครีบหลังและครีบหูมีก้านครีบแข็งเป็นเงี่ยง มีลักษณะเป็นฟันเลื่อย ไม่มีครีบไขมัน ส่วนหัวแบนยาวเรียวแหลมครีบหลังอันที่สอง ครีบก้นและครีบหางติดต่อกัน นอกจากนี้ยังมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจอยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำตัวมีสำดำปนน้ำตาล ด้านท้องมีสีขาว ปลาขนาดเล็กจะมีลายแถบสีขาวปนเหลือง 3 แถบพาดไปตามยาวลำตัว เมื่อโตขึ้นแถบเหล่านี้จะเลือนหายไปกลายเป็นสีน้ำตาลอ่อนแทน โดยที่ปลาดุกทะเลชนิดนี้ ตามเงี่ยงแข็งในแต่ละครีบนั้นมีพิษร้ายแรงมาก ถึงขนาดมีรายงานแทงมนุษย์จนถึงขั้นเสียชีวิตมาแล้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร แต่ขนาดที่พบทั่วไปคือ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่ทะเลแดง, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย และพบในทะเลสาบน้ำจืดของทวีปแอฟริกา เช่น ทะเลสาบมาลาวี และมาดากัสการ์ด้วย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รวมถึงในปากแม่น้ำเจ้าพระยา ปลาวัยอ่อนจะอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในทะเลใกล้ชายฝั่ง ในแนวปะการังหรือตามกอสาหร่าย เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยมักจะขุดรูอยู่ในดินหรือเลนใกล้ชายฝั่ง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และนิยมนำมาบริโภคกันโดยปรุงสุด แต่เนื้อมีกลิ่นคาวจึงมักจะนำไปปรุงประเภทรสจัดเช่น ผัดฉ.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาดุกทะเลลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลานกแก้วหัวโหนก

ระวังสับสนกับ: ปลานกขุนทองหัวโหนก ปลานกแก้วหัวโหนก (Bumphead parrotfish, Green bumphed parrotfish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลานกแก้ว (Scaridae) ถือเป็นปลานกแก้วมีขนาดใหญ่ที่สุด โดยมีขนาดใหญ่ได้ถึง 1 เมตร หรือ 1.3 เมตร น้ำหนักได้ถึง 46 กิโลกรัม และมีอายุยืนยาวได้นานถึง 40 ปี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลานกขุนทองหัวโหนก (Cheilinus undulatus) ซึ่งอยู่ในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) และถือเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Bolbometopon โดยมีลักษณะเด่น คือ บริเวณหน้าผากโหนกหนาแข็งแรง ทำหน้าที่เปรียบเสมือนกันชนเวลาที่เข้ากัดกินหินหรือปะการังแข็ง ๆ เพื่อกินเป็นอาหาร ปากและฟันหน้าใหญ่แข็งแรง ติดกันเป็นพรืดเหมือนกันกับปลานกแก้วชนิดอื่นทั่วไปไม่เป็นซี่ ๆ เหมือนสัตว์ทั่วไป ลักษณะของปากและฟันเช่นนี้ทำให้ถูกเปรียบเทียบว่าคล้ายกับจะงอยปากของนกแก้ว อันเป็นที่มาของชื่อ มีลำตัวทั่วไปสีเขียว ปลานกแก้วหัวโหนกเป็นปลาที่อยู่อาศัยหากินรวมกันเป็นฝูง ตามแนวปะการัง ในฝูงหนึ่งประมาณ 13-14 ตัว ออกหากินในเวลากลางวัน และเข้านอนตามซอกหลืบถ้ำหรือตามซากเรือจมในเวลากลางคืน ในระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทะเลแดง, ซามัว จนถึงนิวแคลิโดเนียและเกรตแบร์ริเออร์รีฟ ในออสเตรเลีย สำหรับน่านน้ำไทย ถือเป็นปลาที่พบได้น้อย หายาก จึงมักเป็นที่ชื่นชอบของนักประดาน้ำเพื่อถ่ายรูปเช่นเดียวกับปลานกขุนทองหัวโหนก โดยอาจพบได้ที่เขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลันและหมู่เกาะสุรินทร์แต่ก็ไม่บ่อยนัก และจำนวนก็ไม่มาก ครั้งละ 3-4 ตัวเท่านั้น แต่สำหรับที่เกาะเซปาดัง ในมาเลเซีย และเกาะบอร์เนียว ในอินโดนีเซียจะพบได้ง่ายกว่า ปลานกแก้วหัวโหนก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลานกแก้วหัวโหนก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีครีบสั้น

ปลาโนรีครีบสั้น หรือ ปลาโนรีหลังเหลือง (Singular bannerfish, Philippine kabubu) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus singularius ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีรูปร่างใหญ่กว่า มีครีบบนหลังสั้นกว่ามากและบริเวณท้ายลำตัวมีสีออกเหลืองเข้มกว่า มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบในความลึกประมาณ 2-40 เมตร ชอบอยู่ในแหล่งน้ำที่ค่อนข้างขุ่นกว่าปลาโนรีชนิดอื่น กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ หมู่เกาะอันดามัน, มหาสมุทรอินเดีย, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น และนิวแคลิโดเนีย เป็นต้น เป็นปลาที่แลดูแล้วไม่สวยเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ๆ แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถูกจับปะปนมากับปลาโนรีชนิดอื่น.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาโนรีครีบสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเก๋าเสือ

ปลาเก๋าเสือ หรือ ปลากะรังลายน้ำตาล (Brown-marbled grouper, Tiger grouper) เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลากะรังทั่วไป สีพื้นลำตัวเป็นสีเหลืองน้ำตาล มีจุดสีน้ำตาลเข้ม ส่วนหัวและแผ่นปิดเหงือกมีจุดสีน้ำตาลขนาดเล็ก ไปจนถึงครีบต่าง ๆ และครีบหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 120 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 50 เซนนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทะเลแดงในแอฟริกาตะวันออก, อ่าวเปอร์เซีย, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น, นิวแคลิโดเนีย, อินโด-แปซิฟิก จนถึงออสเตรเลีย เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ที่มีการเพาะเลี้ยงอย่างปลากะรังชนิดอื่น ๆ โดยมีราคาขายตัวละ 400-600 บาท รวมถึงมีการผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาหมอทะเล หรือปลาเก๋ายักษ์ (E. lanceolatus) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกันแต่ตัวใหญ่กว่า เพื่อให้ได้ปลาลูกผสมที่เรียกว่า  ปลาเก๋ามุกมังกร ที่เนื้อมีความนุ่มอร่อยกว่า และราคาถูกกว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาเก๋าเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเฉี่ยวหิน

ปลาเฉี่ยวหิน หรือ ปลาเฉี่ยว หรือ ปลาผีเสื้อเงิน หรือ ปลาโสร่งแขก (Silver moony) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monodactylus argenteus อยู่ในวงศ์ปลาเฉี่ยว (Monodactylidae) มีรูปร่างแบนข้างมาก ลำตัวป้อมสั้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม ครีบหลังและครีบก้นยื่นยาว ผิวลำตัวสีเงินเหลือบเป็นประกายแวววาว เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด ครีบหลังสีเหลืองมีลายคาดสีดำตามขวางผ่านตาและบริเวณขอบแผ่นปิดเหงือก ปากเล็กและเฉียงขึ้นบน หัวเล็ก ดวงตากลมโต สามารถโตได้ถึง 13 นิ้ว แต่โดยทั่วไปจะอยู่ที่ 8 นิ้ว มีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่งในเขตอบอุ่น มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, ซามัว ไปจนถึงนิวแคลิโดเนียจนถึงออสเตรเลีย สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยและน้ำจืดสนิทได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง และความสามารถที่ปรับตัวในน้ำจืดได้ จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกในวงการปลาสวยงามว่า "บอร์เนียว" หรือ "เทวดาบอร์เนียว" เนื่องจากมีรูปร่างคล้ายปลาเทวดา ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง โดยแม่ปลาจะวางไข่ได้ทั้งปี โดยการแบ่งเพศจะไม่สามารถทำได้ จนกว่าจะถึงฤดูผสมพันธุ์ โดยสังเกตคร่าว ๆ ว่า ปลาเพศเมียนั้นจะมีขนาดใหญ่ปลาเพศผู้ และช่องท้องจะอูมกว่า ช่องเพศจะเต่งตึงขณะกำลังตั้งท้อง โดยจะเพาะได้ในบ่อดิน การรวบรวมไข่จะกระทำได้ต่อเมื่อถ่ายน้ำ โดยใช้วัสดุตาข่ายที่มีความละเอียดกรอง.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปลาเฉี่ยวหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปอสา

ปอสา เป็นพืชในวงศ์ Moraceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว แผ่นใบสากมือเล็กน้อย ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้เป็นช่อหางกระรอก ดอกตัวเมียเป็นช่อกระจุกแน่น ผลกลม สีแดงอมส้ม ภายในมีเมล็ดสีแดง ยาง ราก ใบ และเปลือกลำต้น ผู้ที่แพ้เมื่อรับประทานเข้าไปทำให้ท้องร่วง เปลือกลำต้นใช้ทำกระดาษเรียกกระดาษสา เส้นใยจากเปลือกใช้ทำผ้าตาปาซึ่งใช้ในฟิจิ ตองกา ซามัว และตาฮีตี Royal Botanic Gardens, Kew.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปอสา · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มพัด

ปาล์มพัด (Fiji Fan Palm) หรือ ปาล์มมงกุฎ เป็นปาล์มในสกุล Pritchardia มีถิ่นกำเนิดในฟิจิ ตองกาและซามัว เป็นปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ใบรูปพัด ขอบใบจักเว้าตื้นและพับเป็นจีบ แผ่นใบขนาด 1 เมตร ช่อดอกสมบูรณ์เพศยาว 30 เซนติเมตร ออกระหว่างกาบใบ ผลกลมขนาด 1.2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีน้ำตาลเข้ม ปาล์มพัดนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชาวพื้นเมืองฟิจิใช้ใบและลำต้นทำพัด ร่มและเสาเรือน.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปาล์มพัด · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ มายเวีย

ฟาเนน ไลไฟ ปีตา มายเวีย (Fanene Leifi Pita Maivia) เกิดวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและปีเตอร์ มายเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ป่าเมฆ

ฟินต้นในป่าเมฆบนยอดเขากีนาบาลู, บอร์เนียว ที่ Parque Internacional la Amistad ป่าเมฆเขตอบอุ่นบน La Palma, หมู่เกาะคะเนรี ป่าเมฆของ Monteverde, ประเทศคอสตาริกา ป่าเมฆบนเขาหลูซานทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หนึ่งในสะพานแขวนของ Sky walk ใน Santa Elena, Costa Rica หายไปในเมฆ มอสส์ในป่าเมฆเขตอบอุ่นที่ Budawang National Park, ประเทศออสเตรเลีย ป่าเมฆ (cloud forest) หรือ ป่าหมอก (fog forest) คือป่าไม้เขตร้อนในเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน เติบโตตามภูเขา ไม่ผลัดใบ มีโอกาสถูกปกคลุมด้วยเมฆระดับต่ำได้สูง ปกติมักอยู่ระดับยอดเขาและสันเขา ป่าเมฆจะอุดมไปด้วยมอสส์ไม่ว่าบนพื้นหรือบนต้นไม้จึงเรียกอีกอย่างว่า ป่ามอสส์ (mossy forest) ป่ามอสส์มักจะอยู่บนสันเขาที่ซึ่งได้รับความชื้นจากเมฆอย่างมีประสิท.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและป่าเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1981

นางงามจักรวาล 1981 (Miss Universe 1981) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 30 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและนางงามจักรวาล 1981 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1987

นางงามจักรวาล 1987 (Miss Universe 1987) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 36 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและนางงามจักรวาล 1987 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1997

นางงามจักรวาล 1997 (Miss Universe 1997) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 46 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและนางงามจักรวาล 1997 · ดูเพิ่มเติม »

นีวเว

นีวเว (Niue; นีวเว: Niuē) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มักเรียกว่า "Rock of Polynesia" นีวเวปกครองตนเอง แต่นอกจากนี้ นีวเวยังอยู่ในความสัมพันธ์เสรี (free association) กับประเทศนิวซีแลนด์ด้วย นั่นหมายความว่าประมุขโดยชอบธรรมของนิวซีแลนด์เป็นประมุขรัฐของนีวเวด้วย และความสัมพันธ์ทางการทูตส่วนใหญ่จะจัดโดยนิวซีแลนด์ นีวเวตั้งอยู่ห่างจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวซีแลนด์ 2,400 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมระหว่างประเทศตองงา ประเทศซามัว และหมู่เกาะคุก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและนีวเว · ดูเพิ่มเติม »

นีอูอาโฟโออู

ื้นที่ตามสภาพภูมิศาสตร์ของเกาะนีอูอาโฟโออู นีอูอาโฟโออู (Niuafoʻou แปลว่า "มะพร้าวใหม่หลายลูก") เป็นเกาะที่อยู่เหนือที่สุดของประเทศตองงา มีอาณาเขตอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ระหว่างประเทศฟิจิกับประเทศซามัว อยู่เหนือเกาะโตงาตาปู 574 กิโลเมตรและอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของวาวาอู มีพื้นที่ 52.3 ตารางกิโลเมตร มีจุดสูงสุดอยู่ที่ 260 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟ อยู่ในเขตร้อนชื้น มีประชากรทั้งสิ้น 750 คน มีภัยธรรมชาติที่สำคัญคือการประทุของภูเขาไฟและไซโคลน เกาะนีอูอาโฟโออูเป็นเกาะที่พิเศษเกาะหนึ่งในโลกเนื่องจากว่ามีนกที่พิเศษกว่าที่ใดในโลกคือนกมาเลา ซึ่งเหลืออยู่บนเกาะประมาณ 200 - 400 ตัว ในนีอูอาโฟโออูและในโลก หมวดหมู่:ประเทศตองงา.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและนีอูอาโฟโออู · ดูเพิ่มเติม »

นีอูอาโตปูตาปู

ทัศนียภาพของเกาะนีอูอาโตปูตาปู นีอูอาโตปูตาปู (Niuatoputapu แปลว่า "เกาะศักดิ์สิทธิ์") เป็นเกาะหนึ่งของประเทศตองงา ล้อมรอบด้วยแนวปะการัง อยู่ห่างจากเกาะโตงาตาปูไปทางเหนือ 516 กิโลเมตรและห่างจากวาวาอู 300 กิโลเมตร ใกล้ชายแดนติดกับซามัว มีพื้นที่ประมาณ 18 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งหมด 1283 คน ใช้ระยะเวลา 8 ชั่วโมงในการเดินรอบเกาะ อีกทั้งยังมีชายหาดที่สวยงามและมีสนามบินสำหรับรองรับนักท่องเที่ยวอีกด้วย ในอดีตชาวเกาะนีอูอาโตปูตาปูพูดภาษานีอูอาโตปูตาปู แต่ในปัจจุบันชาวเกาะแห่งนี้พูดภาษาตองงา นีอูอาโตปูตาปูมีฮีฮีโฟเป็นเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุด เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการบริหารของเกาะ ชื่อเดิมของเกาะแห่งนี้คือเกาะเทรเตอร์หรือเกาะเคปเปล เกาะนี้มีภัยธรรมชาติที่สำคัญตือไซโคลนและแผ่นดินไหว.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและนีอูอาโตปูตาปู · ดูเพิ่มเติม »

แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016

แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Manhunt International 2016) เป็นการประกวดแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 17 ซึ่งกำหนดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ใน OCT Harbour City, เซินเจิ้น, ประเทศจีน โดยจูน มากาเซท แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2012 ได้มอบตำแหน่งแก่ พาทริก เชอ จากสวีเดน เป็นผู้ครองตำแหน่งคนใหม.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

แม่หอบ

แม่หอบ หรือ จอมหอบ (อังกฤษ: Mud lobster, Mangrove lobster) เป็นสัตว์น้ำประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกครัสเตเชียนชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสกุล Thalassina และวงศ์ Thalassinidae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตโบราณหรือซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตที่ดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไมโอซีนยาวนานถึง 16 ล้านปี มีรูปร่างคล้ายกุ้งผสมกับปูโดยขาคู่แรกขนาดใหญ่คล้ายก้ามปู นอกจากใช้เดินแล้วยังทำหน้าที่ขุดรูและขนดินออกมากองคล้ายจอมปลวก แต่มีขนาดเล็กกว่า หัวเหมือนกุ้งมีขนาดใหญ่ ลำตัวสีแดงเข้มเป็นปล้อง ๆ คล้ายกั้ง ท้องขนาดเล็กยาวเรียวไม่มีแพนหาง ลักษณะคล้ายแมงป่อง มีขนาดความยาวประมาณ 20–30 เซนติเมตร (7.9–12 นิ้ว) อาศัยโดยการขุดรูอยู่ตามพื้นป่าชายเลน โดยขนดินขึ้นมากองทับถมกันเป็นเนินสูง และอาศัยอยู่ด้านใต้กองดินนั้น สามารถอยู่บนบกได้เป็นเวลานานกว่าครัสตาเซียนจำพวกอื่น ๆ กินอาหารจำพวกอินทรีย์สารที่อยู่ในดินเลนในเวลากลางคืน ในประเทศไทยพบเฉพาะป่าชายเลนทางภาคใต้ โดยเฉพาะภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน ในต่างประเทศพบได้ที่รัฐเกรละ ในอินเดีย, ศรีลังกาจรดถึงเวียดนาม, หมู่เกาะริวกิวของญี่ปุ่น จนถึงชายฝั่งทะเลของปาปัวนิวกินีและออสเตรเลียทางตอนเหนือและตะวันตก รวมถึงฟิจิและซามัว พบได้รอบ ๆ พื้นที่เกษตรกรรม เช่น พื้นที่เพาะเลี้ยงปลาหรือกุ้ง โดยถือว่าเป็นสัตว์คุกคาม การที่ได้ชื่อในภาษาไทยว่า "แม่หอบ" เนื่องจากมีความเชื่อว่า เนื้อของแม่หอบสามารถรักษาอาการหอบหืดได้ จึงนิยมนำมาเผาไฟรับประทานกันในอดีต สอดคล้องกับชื่อวิทยาศาสตร์ Thalassina ที่หมายถึง "การย้อนกลับทางเดินหายใจ" เพื่อให้เหงือกไม่มีสิ่งสกปรก สถานะปัจจุบันของแม่หอบ ถือได้ว่าหมิ่นเหม่ต่อการสูญพันธุ์ อันเนื่องจากสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ประกอบกับเป็นสัตว์ที่ค่อนข้างบอบบางตายง่าย เช่น ในช่วงฤดูมรสุมน้ำทะเลอาจท่วมรูของแม่หอบ จนทำให้แม่หอบตายได้.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและแม่หอบ · ดูเพิ่มเติม »

แปซิฟิกเกมส์

กีฬาแปซิฟิกเกมส์ (Pacific Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในโอเชียเนีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและแปซิฟิกเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า โอลีก 2014 เป็นการแข่งขันชิงถ้วยที่ใหญ่ที่สุดในทวีประหว่างสโมสรภายในทวีปโอเชียเนียครั้งที่ 13 ซึ่งการแข่งขันในครั้งนี้ดำเนินการจัดการแข่งขันโดยสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (Oceania Football Confederation - OFC) และถือเป็นการแข่งขันครั้งที่ 8 ภายใต้ชื่อโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีกด้วย โดยมีสโมสรฟุตบอลออกแลนด์ซิตีเป็นผู้ชนะเลิศจากการแข่งขันในครั้งที่แล้ว สโมสรที่ชนะเลิศในการแข่งขันรายการโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 จะได้สิทธิ์เป็นตัวแทนของทวีปโอเชียเนียเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2014 นอกจากนี้แล้วผู้ชนะเลิสและรองรองชนะเลิศของรายการนี้จะมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันโอเอฟซีเพรสสิเดนท์คัพ ซึ่งจะมี 2 สโมสรจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และอีก 2 สโมสรรับเชิญเข้าร่วมในการแข่งขันครั้งนี้ โดยจะจัดการแข่งขันในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 · ดูเพิ่มเติม »

โปย

ปย (poi) เป็นคำศัพท์จากภาษาฮาวาย ใช้เรียกอาหารจานหลักสำคัญต่อชาวพอลินีเซียซึ่งทำจากหัวเผือก (ในภาษาฮาวายเรียกว่า กาโล) โปยเป็นส่วนประกอบสำคัญของอาหารฮาวาย โปยทำจากหัวเผือกนึ่งหรืออบแล้วนำไปบด ระหว่างบดผู้ทำโปยจะใส่น้ำเติมไปทีละนิด จนกว่าจะพอใจกับความเหนียว ซึ่งแล้วแต่ความชอบของผู้บริโภค บางคนชอบแบบเหลวๆ ส่วนบางคนชอบแบบเหนียวข้น ผู้บริโภคมักจะใช้นิ้วมือตักโปยขึ้นรับประทาน โดยมีวิธีการตักที่ต่างกัน เช่น ตักหนึ่งนิ้ว ตักสองนิ้ว หรือ ตักสามนิ้ว อันมักขึ้นอยู่กับความเหนียวของโปย ถ้าเหนียวน้อยก็ต้องใช้หลายนิ้ว ถ้าเหนียวมากก็ใช้น้อยนิ้ว โปยที่ทำจากเผือก ไม่ควรสบสนกั.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและโปย · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียแปซิฟิก

อเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific) หรืออาจเรียกว่า เอแปก (Apac) เป็นภูมิภาคของโลกที่อยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย ซึ่งอาจรวมไปถึงเอเชียใต้ สหพันธรัฐรัสเซีย และประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกด้วย คำว่า "เอเชีย-แปซิฟิก" ได้กลายมาเป็นคำยอดนิยมหลังจากช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เนื่องจากเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภูมิภาคเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีการปฏิสัมพันธ์ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐก.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเอเชียแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

เท้ายายม่อม (พืช)

ระวังสับสนกับ ไม้เท้ายายม่อม เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์ Taccaceae เป็นพืชที่มีหัว มีใบ 1-3 ใบ แต่ละใบจักเป็นสามแฉก เว้าแบบขนนก ดอกเป็นช่อยาว แต่ละช่อมีดอกย่อย 20 - 40 ดอก ผลกลม หัวของพืชชนิดนี้นำไปทำแป้งที่เรียกแป้งเท้ายายม่อม พืชชนิดนี้เป็นพืชท้องถิ่นในทวีปแอฟริกา เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียเหนือ นิวกินี ซามัว หมู่เกาะไมโครนีเซีย และฟิจิ และมีการแพร่กระจายไปในหมู่เกาะแปซิฟิกเนื่องมาจากการอพยพของคน ชื่อสามัญของพืชชนิดนี้ ได้แก่ Polynesian Arrowroot (ภาษาอังกฤษ) Pia (ฮาวาย, โพลีเนเซียฝรั่งเศส, Niue, และ หมู่เกาะคุก), Masoa (ซามัว), Mahoaa (ตองกา), Yabia (ฟิจิ) Gapgap (กวม) และ Taka (อินโดนีเซีย).

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเท้ายายม่อม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา)

ซอร์ไวเวอร์ คือ รายการ เรียลลิตี้โชว์ ซึ่งถูกสร้างในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ในรายการเซอร์ไวเวอร์นี้ผู้เข้าแข่งขันจะถูกปล่อยเกาะกลางทะเลหรือป่าที่ห่างไกลผู้คน และจะต้องแข่งขันกันเพื่อเงินรางวัล เซอร์ไวเวอร์ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก รายการ Expedition Robinson ของสวีเดนซึ่งมีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน ประเด็นสำคัญมาจากเรื่องราวการเอาตัวรอดในสถานะการที่ยากลำบากท่ามกลางธรรมชาติของ โรบินสัน ครูโซ และทำให้เซอร์ไวเวอร์กลายเป็น "เรียลลิตี้โชว์ต้นแบบ" เนื่องจากได้รับความนิยมและทำให้รายการในรูปแบบนี้เริ่มผลิตออกมาเรื่อยๆ ในช่วงต่อม.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ วันเวิลด์

ซอร์ไวเวอร์ วันเวิลด์ (Survivor: One World) เป็นฤดูกาลที่ 24 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ การใช้สถานที่ถ่ายทำซ้ำแบบ 2 ฤดูกาลติดกันเริ่มอย่างเป็นทางการในฤดูกาลที่ 19-20 ที่ประเทศซามัวจากนั้นจึงเปลี่ยนสถานที่เป็นประเทศนิการากัวในฤดูกาลที่ 21-22 และสุดท้ายมาจบที่ประเทศซามัวอีกครั้งในฤดูกาลที่ 23-24 นี้ โดยคาดการณ์ว่าจะเป็นฤดูกาลสุดท้ายในการทำหน้าที่พิธีกรของเจฟฟ์ โพรส แต่ทางสถานีไม่ได้กล่าวว่าฤดูกาลนี้จะเป็นฤดูกาลสุดท้ายของรายการและเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2554 ซีบีเอสได้ประกาศการทำฤดูกาลที่ 25 กับฤดูกาลที่ 26 สำหรับปี 2012-2013 ออกมาอย่างเป็นทางการแล้วและสัญญาการทำหน้าที่พิธีกรของเจฟฟ์ โพรส จะยังคงอยู่ไปถึงฤดูกาลที่ 26 ด้วยโดยยังคงไม่มีกำหนดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ข้อมูลบางส่วนถูกเปิดเผยมาล่วงหน้าว่าเผ่าทั้ง 2 เผ่านั้นชื่อ มาโนโน่ กับ ซาลานี่ จากการสัมภาษณ์พิธีกรได้ออกมากล่าวว่าในครั้งนี้จะเป็นครั้งแรกที่ สองเผ่าจะอาศัยอยู่บนหาดเดียวกันตั้งแต่เริ่มเกมส์ เพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันสามารถแทรกซึมและล้วงลับข้อมูลของอีกฝ่ายในการเล่นเกมส์ได้อย่างซับซ้อนมากขึ้นและเป็นอีกครั้งหนึ่งที่เผ่าถูกแบ่งเป็นชายล้วนกับหญิงล้วนเหมือนในฤดูกาลที่ 6 และ 9 ข้อหักมุมใหม่เพิ่มเข้ามา 2 ข้อในซีซั่นนี้ คือ ผู้เข้าแข่งขันจะแบ่งเป็น 2 เผ่าเหมือนเดิมแต่จะอาศัยอยู่ในแค้มป์เดียวกัน ไม่แยกเป็น 2 แค้มป์เหมือนซีซั่นก่อนๆ และแต่ละเผ่าจะมี Hidden Immunity Idol ให้เผ่าละ 1 ตัวแต่ Hidden Immunity Idol นี้ถ้าผู้ครอบครองหาได้อันที่เป็นของเผ่าตัวเองจะใช้มันกับตัวเองหรือกับเพื่อนร่วมเผ่าได้ แต่ถ้าหาเจออันที่เป็นของอีกเผ่าหนึ่ง คนๆ นั้นต้องยกเครื่องรางให้สมาชิกอีกเผ่าหนึ่งใช้แทนเท่านั้นและในซีซั่นนี้จะไม่มี Redemption Island กลับมาใช้ ผู้ซึ่งถูกโหวตออกจะไม่มีโอกาสใดๆ กลับมาอีกและออกจากเกมอย่างถาวรแบบฤดูกาลอื่นๆ ปกติ โดยทางผู้ผลิตได้กล่าวว่า Redemption Island อาจจะกลับมาในฤดูถัดๆ ไปได้ การออกอากาศตอนแรกสำหรับในประเทศไทยสามารถรับชมได้ทาง True Visions ซึ่งจะฉายหลังจากที่ทางซีบีเอสฉายจบแต่ละตอนไปแล้วเป็นเวลา 7 ชั่วโมงซึ่งตรงกับวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเซอร์ไวเวอร์ วันเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ ฮีโร่ปะทะวายร้าย

ซอร์ไวเวอร์ ฮีโร่ปะทะวายร้าย (Survivor: Heroes vs.) เป็นฤดูกาลที่ 20 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ จะทำการฉลองที่รายการครบรอบ 10 ปีอีกด้วย รวมถึงจะไม่เหมือนฤดูกาลอื่น ๆ ที่จะหยุดการถ่ายทำไปก่อนช่วงหนึ่งแล้วจึงเริ่มถ่ายทำฤดูกาลถัดไปแต่ฤดูกาลนี้จะถ่ายทำทันทีหลังจากฤดูกาลที่ 19 เซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา จบลงโดยจะทำการถ่ายทำที่ประเทศซามัว เช่นเดียวกับฤดูกาลที่ 19 โดยใช้สถานที่เดียวกันแต่จะใช้ชื่อต่างออกไปเพื่อป้องกันการสับสน ผู้แข่งขันได้ถูกทำการเลือกเสร็จเรียบร้อยแล้วพร้อมกับเซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา ข้อหักมุมสำหรับฤดูกาลนี้คือ ผู้เข้าแข่งขันทุกคนเป็นผู้เข้าแข่งขันจากฤดูกาลก่อน ๆ หน้าทั้งหมดและจะเป็นการคัดเฉพาะผู้เข้าแข่งขันที่ "ดีที่สุด" ปะทะ "ร้ายกาจที่สุด"อีกด้วย ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 20 คนมาจากในฤดูกาลก่อนๆ ทั้งสิ้นซึ่งมีทั้งเคยเล่นมาแล้ว 1 ครั้งกับเล่นมาแล้ว 2 ครั้ง การออกอากาศตอนแรกสำหรับในประเทศไทยสามารถรับชมได้ทาง True Visions ซึ่งจะฉายหลังจากที่ทางซีบีเอสฉายจบแต่ละตอนไปแล้วเป็นเวลา 7 ชั่วโมงซึ่งตรงกับวันที่ 12 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเซอร์ไวเวอร์ ฮีโร่ปะทะวายร้าย · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา

ซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา (Survivor: Samoa) เป็นฤดูกาลที่ 19 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ เริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552 และเป็นครั้งแรกที่อนุญาตให้ผู้ที่มีอายุต่ำสุดคือ 18 ปี ลงสมัครได้ทั้งประเทศ ถ่ายทำที่ประเทศซามัว ซึ่งตามความเป็นจริงจะต้องใช้ชื่อรายการว่า เซอร์ไวเวอร์ ซามัว แต่ในการถ่ายทำได้ออกเสียงจากซามัวเป็นซาโมอา การออกอากาศตอนแรกสำหรับในประเทศไทยสามารถรับชมได้ทาง True Visions ซึ่งจะฉายหลังจากที่ทางซีบีเอสฉายจบแต่ละตอนไปแล้วเป็นเวลา 7 ชั่วโมงซึ่งตรงกับวันที่ 18 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ แปซิฟิกใต้

ซอร์ไวเวอร์ แปซิฟิกใต้ (Survivor: South Pacific) เป็นฤดูกาลที่ 23 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ สถานที่ถ่ายทำอยู่ในประเทศซามัว ซึ่งเป็นสถานที่เดียวกันกับในฤดูกาลที่ 19 และ 20 รวมถึงจะมีการใช้ถ่ายทำต่อเนื่องไปถึงฤดูกาลที่ 24 ด้วย ทำให้สถานที่ประเทศซามัวเป็นสถานที่ถ่ายทำรายการเซอร์ไวเวอร์ที่ซ้ำกันมากที่สุด โดยซ้ำถึง 4 ครั้งแซงหน้าประเทศปานามาที่ถ่ายทำ 3 ครั้งในฤดูกาลที่ 7, 8 และ 12 เกาะแห่งการแก้แค้นที่เป็นข้อหักมุมใหม่จากฤดูกาลที่แล้วยังคงนำกลับมาใช้ในฤดูกาลนี้เช่นเดิมและจะยังคงเหมือนกับฤดูกาลที่แล้วด้วยอีก 1 ประเด็นคือจะมีผู้เล่นหน้าใหม่ 16 คนมาแข่งขันพร้อมกับผู้เล่นเก่าอีก 2 คนรวมเป็น 18 คน ในจำนวนผู้เล่นหน้าใหม่ 16 คน 1 ในนั้นคือ แบรนดอน แฮนซ์ ผู้เป็นหลานชายแท้ๆ ของ รัซเชล แฮนซ์ ที่เล่นเกมอย่างดุเดือดที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร์รายการ มาแล้วถึง 3 ครั้งในเซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา, เซอร์ไวเวอร์ ฮีโร่ปะทะวายร้ายและเซอร์ไวเวอร์ รีเดมชันไอส์แลนด์ ส่วนผู้เล่นเก่า 2 คนที่กลับมาได้แก่ ออสการ์ "ออสซี่" ลัสธ์ จากเซอร์ไวเวอร์ คุกไอส์แลนด์สและเซอร์ไวเวอร์ ไมโครนีเซีย กับ เบนจามิน "โค๊ช" เวด จากเซอร์ไวเวอร์ โทแคนตินและเซอร์ไวเวอร์ ฮีโร่ปะทะวายร้าย เบาะแสสำหรับเครื่องรางสิทธิ์คุ้มกันที่ซ่อนไว้ในฤดูกาลนี้ก็จะให้แตกต่างออกไป โดยจะไม่มาอยู่รวมกับในของรางวัลแต่จะได้เมื่อชนะสิทธิ์คุ้มกันแบบเผ่าแล้วเท่านั้น เบาะแสถึงจะถูกนำไปซ่อนไว้ที่เผ่า นั่นหมายความว่าจะต้องหาทั้ง 2 อย่าง คือ ทั้งเบาะแสและเบาะแสจะนำพาไปหาเครื่องรางอีกทีหนึ่ง แต่ถ้าไม่ชนะสิทธิ์คุ้มกันแบบเผ่าเลย ก็จะไม่มีเบาะแสไปซ่อนไว้ในเผ่าแต่อย่างใด ฤดูกาลนี้จะเริ่มออกอากาศทางโทรทัศน์ในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศซามัวและเซอร์ไวเวอร์ แปซิฟิกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

UTC+14:00

UTC+14:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 14 ชั่วโมง ใช้ใน.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและUTC+14:00 · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 E+9 m²

จังหวัดสมุทรปราการ มีเนื้อที่ 1,004 ตารางกิโลเมตร จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเนื้อที่ 9,942 ตารางกิโลเมตร 1 E+9 m² (1 E+9 m²) เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 1,000 ถึง 10,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 1,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศซามัวและ1 E+9 m² · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Samoaรัฐเอกราชซามัวซามัวเกาะซามัวตะวันตก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »