โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศชาด

ดัชนี ประเทศชาด

(Tchad; تشاد, Tshād) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกจดประเทศซูดาน ทางใต้จดสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศแคเมอรูนและประเทศไนจีเรีย และทางตะวันตกจดประเทศไนเจอร์ เนื่องจากมีระยะไกลจากทะเลและมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ประเทศจึงได้ชื่อว่าเป็น "หัวใจตายของแอฟริกา" (dead heart of Africa) ทางเหนือมีทิวเขาทิเบสตี (Tibesti Mountains) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ใหญ่ที่สุดในทะเลทรายสะฮารา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา (Federation of French Equatorial Africa) มีชื่อตามทะเลสาบชาด (Lake Chad).

117 ความสัมพันธ์: ชาวมันเดชาด (แก้ความกำกวม)ช้างช้างแอฟริกาพ.ศ. 2503กลุ่มภาษาเซมิติกการก่อความไม่สงบของกลุ่มโบโกฮะรอมการร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศภาษาฝรั่งเศสภาษาอาหรับภาษาอิตาลีภาษาทัวเร็กมิสเวิลด์ 2014มิสเวิลด์ 2015มิสเวิลด์ 2018มูนดูรัฐในอารักขาราชวงศ์รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์รายชื่อสนธิสัญญารายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศชาดรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศชาดรายการภาพธงชาติรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์รีดบักโบฮอร์ลัทธิอาณานิคมวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกาวันชาติวีอาร์เดอะเวิลด์ศิลปะสกัดหินสหประชาชาติสาธารณรัฐแอฟริกากลางสไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)หญ้าข้าวนกหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอึนจาเมนาอุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีรอนุสัญญาแรมซาร์ฮิปโปโปเตมัสจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ธงชาติธงชาติชาดธงชาติโรมาเนียทวีปแอฟริกา...ทะเลสาบชาดทะเลทรายสะฮาราทุพภิกขภัยข้าวฟ่างข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติดาวเทียมไทยคมคริสต์สหัสวรรษที่ 3ความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)คำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศตับอักเสบ อีซาเฮลประเทศชาดใน ค.ศ. 1964ประเทศชาดใน ค.ศ. 1965ประเทศชาดใน ค.ศ. 1968ประเทศชาดใน ค.ศ. 1972ประเทศชาดใน ค.ศ. 1973ประเทศชาดใน ค.ศ. 1978ประเทศชาดใน ค.ศ. 1984ประเทศชาดใน ค.ศ. 1987ประเทศชาดใน ค.ศ. 1988ประเทศชาดใน ค.ศ. 1991ประเทศชาดใน ค.ศ. 1992ประเทศชาดใน ค.ศ. 1995ประเทศชาดใน ค.ศ. 1996ประเทศชาดใน ค.ศ. 1999ประเทศชาดใน ค.ศ. 2000ประเทศชาดใน ค.ศ. 2003ประเทศชาดใน ค.ศ. 2004ประเทศชาดใน ค.ศ. 2007ประเทศชาดใน ค.ศ. 2008ประเทศชาดใน ค.ศ. 2011ประเทศชาดใน ค.ศ. 2012ประเทศชาดใน ค.ศ. 2015ประเทศชาดใน ค.ศ. 2016ประเทศชาดใน ค.ศ. 2019ประเทศชาดในโอลิมปิกประเทศลิเบียประเทศซูดานประเทศแคเมอรูนประเทศไนจีเรียประเทศไนเจอร์ปลาช่อนแอฟริกา (สกุล)ปลากรายแอฟริกาปลากะพงแม่น้ำไนล์นิติภาวะน้ำอมฤตแกะภูเขาแสงศตวรรษแอฟริกากลางแอฟริกาใต้สะฮาราแอดแดกซ์โบโกฮะรอมโรคโปลิโอโปเกมอน โกไก่ต๊อกหมวกเหล็กไส้กรอกแอฟริกาไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9เวลายุโรปกลางเขตเวลาHomo erectusSTS-26UTC+01:00UTC+02:00.td11 สิงหาคม ขยายดัชนี (67 มากกว่า) »

ชาวมันเด

นมันเด หรือ ชนมันเดน (Mandé peoples หรือ Manden peoples) หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ในแอฟริกาตะวันตกผู้พูดภาษามันเดที่กระจัดกระจายทั่วบริเวณ กลุ่มชนชนมันเดพบว่าตั้งถิ่นฐานอยู่ในเบนิน, บูร์กินาฟาโซ, โกตดิวัวร์, ชาด, แกมเบีย, กานา, กินี, กินี-บิสเซา, ไลบีเรีย, มาลี, มอริเตเนีย, ไนเจอร์, ไนจีเรีย, เซเนกัล และ เซียร์ราลีโอน ทางด้านภาษาภาษามันเดเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาไนเจอร์-คองโก และแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ สองกลุ่ม “มันเดตะวันออก” และ “มันเดตะวันตก” ชนมันดิงคาซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของชนมันเดได้ชื่อว่าเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรรดิโบราณที่ใหญ่ที่สุดของแอฟริกาตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศชาดและชาวมันเด · ดูเพิ่มเติม »

ชาด (แก้ความกำกวม)

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศชาดและชาด (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง

รงกระดูกช้างแอฟริกา ช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่วงศ์ Elephantidae โดยแบ่งเป็นสองสกุล ได้แก่ Elephas และ Loxodonta ช้างในปัจจุบันเหลือ 3 สปีชีส์ คือ ช้างแอฟริกา, ช้างป่าแอฟริกา และช้างเอเชีย (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช้างอินเดีย) ส่วนสปีชีส์และสกุลอื่นของวงศ์ Elephantidae ล้วนสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว บางสปีชีส์หรือสกุลสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุด ถึงแม้ว่าช้างแมมมอธในรูปแคระอาจสืบสายพันธุ์ต่อมาจนถึง 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ช้างและสัตว์ในวงศ์ Elephantidae อื่น ๆ เคยถูกจัดเป็นประเภทเดียวกับสัตว์หนังหนาอื่น ๆ ชื่อว่าอันดับ Pachydermata ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ช้างนับเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ใช้เวลาการตั้งครรภ์ถึง 22 เดือน ซึ่งนับว่านานที่สุดในบรรดาสัตว์บกทุกชนิด ช้างแรกเกิดมีน้ำหนักเฉลี่ย 120 กิโลกรัม มีอายุขัยอยู่ระหว่าง 50 ถึง 70 ปี แต่ช้างอายุมากที่สุดที่เคยบันทึกไว้มีอายุถึง 109 ปี ช้างขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้อาศัยอยู่ในแองโกลาในปี..

ใหม่!!: ประเทศชาดและช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแอฟริกา

้างแอฟริกา หรือ ช้างแอฟริกัน (African elephant) เป็นช้างสกุลหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา จากหลักฐานฟอสซิลที่ค้นพบทำให้ทราบว่า ช้างแอฟริกาอาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกามาตั้งแต่ยุคไพลสโตซีน ช้างแอฟริกา จัดอยู่ในสกุล Loxodonta (/โล-โซ-ดอน-ตา/; เป็นภาษากรีกแปลว่า "ฟันเอียงข้าง") ซึ่งปัจจุบันหลงเหลือเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ประเทศชาดและช้างแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: ประเทศชาดและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

การก่อความไม่สงบของกลุ่มโบโกฮะรอม

การก่อความไม่สงบของกลุ่มโบโกฮะรอม เริ่มขึ้นในปี 2009 เมื่อกลุ่มญิฮาดโบโกฮะรอม เริ่มก่อกบฏติดอาวุธต่อต้านรัฐบาลไนจีเรี.

ใหม่!!: ประเทศชาดและการก่อความไม่สงบของกลุ่มโบโกฮะรอม · ดูเพิ่มเติม »

การร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ

ตราสัญลักษณ์ศาลอาญาระหว่างประเทศ ตามความในธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) อันเป็นสนธิสัญญาจัดตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศนั้น บุคคลหรือองค์กรจะแจ้งความดำเนินคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอาญาระหว่างประเทศต่อศาลนั้นก็ได้ ถ้าบุคคลเป็นผู้ยื่น เรียกว่า "ร้องทุกข์" (complain) ถ้ารัฐภาคีศาลก็ดี หรือเลขาธิการสหประชาชาติก็ดี เป็นผู้ยื่น เรียกว่า "เสนอข้อหา" (refer) และเรียกรวมกันว่า "กล่าวโทษ" (communicate)International Criminal Court.

ใหม่!!: ประเทศชาดและการร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศชาดและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: ประเทศชาดและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทัวเร็ก

ริเวณที่มีผู้พูดภาษาทัวเร็ก ภาษาทัวเร็ก (Tuareg) หรือภาษาทามาเช็ก (Tamasheq,, Tamajaq, ⵜⴰⵎⴰⵌⴰⵆ Tamahaq) เป็นภาษาใน กลุ่มภาษาเบอร์เบอร์ พูดโดยชาวทัวเร็กใน มาลี ไนเจอร์ แอลจีเรีย ลิเบีย และ บูร์กินาฟาโซ และมีผู้พูดเล็กน้อยใน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและภาษาทัวเร็ก · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2014, การประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 64 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศชาดและมิสเวิลด์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศชาดและมิสเวิลด์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2018

มิสเวิลด์ 2018 ครั้งที่ 68 ของการประกวดมิสเวิลด์ซึ่งจะจัดขึ้นที่ ซานย่า, ประเทศจีน เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศชาดและมิสเวิลด์ 2018 · ดูเพิ่มเติม »

มูนดู

มูนดู (Moundou) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศชาด อยู่ห่างจากกรุงอึนจาเมนาไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 388 กม.

ใหม่!!: ประเทศชาดและมูนดู · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ประเทศชาดและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์

รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ไม่ได้รับการรับรองจากรัฐสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งประเทศ การขาดการรับรองทางการทูตเป็นอุปสรรคต่อหน่วย (entity) ทางภูมิรัฐศาสตร์ร่วมสมัยซึ่งปรารถนาจะได้รับการรับรองเป็นรัฐเอกราชโดยนิตินัย ในอดีต เคยมีหน่วยที่คล้ายกัน และปัจจุบันมีหน่วยที่ประกาศอิสรภาพ ซึ่งมีการควบคุมดินแดนของตนโดยพฤตินัย โดยมีการรับรองแปรผันตั้งแต่ได้รับการรับรองจากรัฐที่ได้รับการรับรองอื่นแทบทั้งหมดไปจนถึงแทบไม่มีรัฐใดรับรองเลย มีสองลัทธิแต่เดิมที่มให้การตีความว่าเมื่อใดรัฐเอกราชโดยนิตินัยควรได้รับการรับรองเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศ ทฤษฎี "ประกาศ" (declarative) นิยามรัฐเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากเป็นไปตามเกณฑ์ต่อไปนี้: 1) มีดินแดนแน่นอน 2) มีประชากรถาวร 3) มีรัฐบาล และ 4) มีความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับรัฐอื่น ตามทฤษฎีประกาศ สภาพเป็นรัฐของหน่วยไม่ขึ้นอยู่กับการรับรองของรัฐอื่น ทว่า ทฤษฎี "ก่อตั้ง" นิยามรัฐว่าเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากได้รับการรับรองจากรัฐอื่นซึ่งเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศอยู่แล้ว หลายหน่วยอ้างลัทธิข้างต้นหนึ่งหรือทั้งสองลัทธิเพื่ออ้างความชอบของการอ้างสิทธิ์สภาพเป็นรัฐของหน่วย ตัวอย่างเช่น มีหน่วยที่เป็นไปตามเกณฑ์ทฤษฎีประกาศ (คือ มีการควบคุมเหนือดินแดนที่อ้างสิทธิ์อย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนโดยพฤตินัย มีรัฐบาลและประชากรถาวร) แต่สภาพเป็นรัฐของหน่วยเหล่านั้นไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอย่างน้อยหนึ่งรัฐ การไม่รับรองมักเป็นผลแห่งข้อขัดแย้งกับประเทศอื่นซึ่งอ้างว่าหน่วยเหล่านั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน ในกรณีอื่น หน่วยที่ได้รับการรับรองบางส่วนสองหน่วยหรือกว่านั้นอาจอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่เดียวกัน ซึ่งแต่ละหน่วยมีการควบคุมบางส่วนของพื้นที่นั้นโดยพฤตินัย (เช่นในกรณีสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐจีน และเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้) หน่วยซึ่งได้รับการรับรองจากรัฐส่วนน้อยของโลกปกติอ้างอิงลัทธิประกาศเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การอ้างสิทธิ์ของตน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์

้านล่างนี้คือ รายชื่อ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง ที่ไม่มี ตลาดหลักทรั.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศชาด

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อปีในประเทศชาด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศชาด

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศชาดทั้งสิ้น 2 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางธรรมชาติ 1 แห่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 1 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศชาด · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์

ตารางต่อไปนี้จะแสดงข้อมูลส่วนหนึ่งในบรรดาซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ที่เป็นสายพันธุ์มนุษย์ (hominin) ซึ่งใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นตั้งแต่การตั้งขึ้นของวงศ์ย่อย "Hominini" ในสมัย Miocene ปลายคือประมาณ 6 ล้านปีก่อน (ดูการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ที่บทความการจำแนกชั้นของไพรเมต-วงศ์ลิงใหญ่) เนื่องจากว่า มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์เป็นพัน ๆ โดยมากไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งเป็นเพียงแค่กระดูกหรือฟันชิ้นเดียว และน้อยครั้งจะได้โครงกระดูกหรือแม้แต่กะโหลกศีรษะทุกชิ้น ตารางนี้ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะแสดงซากดึกดำบรรพ์ที่ได้ค้นพบทั้งหมด แต่เพื่อจะแสดงสิ่งค้นพบที่สำคัญที่สุด รายการจะเรียงลำดับตามอายุโดยประมาณ ตามการหาอายุโดยสารกัมมันภาพรังสี (เช่นจากคาร์บอนกัมมันตรังสี) หรือเทคนิคอื่น ๆ (เช่น incremental dating) ชื่อสปีชีส์เป็นชื่อตามมติในปัจจุบัน หรือว่า ถ้าไม่มี ก็จะแสดงชื่ออื่น ๆ ไว้ด้วย ส่วนชื่อสปีชีส์ที่เคยใช้แต่ตกไปแล้วอาจจะพบได้ในเว็บไซต์ของซากดึกดำบรรพ์เอง ให้สังเกตว่า ซากดึกดำบรรพ์ที่แสดงโดยมากไม่ได้รับการพิจารณาว่า เป็นสัตว์บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens) แต่เป็นญาติใกล้ชิดกับบรรพบุรุษมนุษย์ และดังนั้น จึงมีความสำคัญในการศึกษาเรื่องการสืบทอดสายพัน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รีดบักโบฮอร์

รีดบักโบฮอร์ (Bohor reedbuck) เป็นแอนทิโลปขนาดกลาง ที่พบได้ในแอฟริกากลาง ตัวผู้มีน้ำหนักตัวประมาณ 45–60 กิโลกรัม ตัวเมีย 35–45 กิโลกรัม ความสูงตั้งแต่กีบเท้าจนถึงหัวไหล่ 75–85 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 1.2–1.4 เมตร อายุโดยเฉลี่ย 10 ปี มีเขาเฉพาะตัวผู้ที่โง้งงุ้มไปทางด้านหน้าของส่วนหัว ตัวเมียไม่มีเขา มีจุดเด่น คือ มีต่อมกลิ่นเป็นแผ่นหนังสีดำที่ใต้หูทั้งสองข้างเห็นได้ชัดเจน อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ดงกก, ดงอ้อ, ริมหนองหรือบึง หรือแม่น้ำที่ติดกับทุ่งหญ้า กินใบไม้, หญ้า รวมถึงดอกไม้ตูมในฤดูแล้ง เมื่อสะสมความชื้นจากพืชที่กินเข้าไปแล้วก็จะสามารถอดน้ำได้เป็นเวลานาน รีดบักโบฮอร์ ที่โตเต็มวัยแล้วมักตกเป็นเหยื่อของสิงโตและฝูงไฮยีนา ส่วนในวัยที่ยังไม่โตเต็มที่ก็จะถูกเสือดาว, เสือชีตาห์, ไฮยีนา, แมวป่า, อินทรีขนาดใหญ่ และงูเหลือมล่าเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าแอฟริกาตอนกลางจนถึงแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงตะวันตก แบ่งออกเป็นชนิดย่อยได้ 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศชาดและรีดบักโบฮอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: ประเทศชาดและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก (ซีเอวีบี) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกเพื่อหาสมาชิก 4 ประเทศ เข้าร่วมการแข่งขัน ที่ประเทศโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศชาดและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วีอาร์เดอะเวิลด์

วีอาร์เดอะเวิลด์ (We Are the World) เป็นเพลงและซิงเกิลการกุศลที่แต่งโดยไมเคิล แจ็กสันและไลโอเนล ริชชี โปรดิวซ์โดยควินซี โจนส์ เตรียมการโดยไมเคิล โอมาร์เทียน เวอร์ชั่นออริจินัลได้รับการขับร้องและบันทึกเสียงโดยกลุ่มศิลปินนักร้องชาวอเมริกันจำนวน 45 คน โดยใช้ชื่อว่า "USA for Africa" (United Support of Artists for Africa) เพื่อหารายได้สมทบกองทุนช่วยเหลือผู้ประสบทุพภิกขภัย ในแอฟริกา ซึ่งประสบปัญหาความแห้งแล้งผิดปกติในปี 1984-1985 และประสบภาวะขาดแคลนอาหารใน 6 ประเทศ ประกอบด้วยเอธิโอเปีย ชาด มาลี ไนเจอร์ ซูดาน และโมซัมบิก ด้วยยอดขายมากกว่า 20 ล้านชุด ถือเป็นหนึ่งในซิงเกิลที่ขายดีที่สุดตลอดกาล โปรเจกต์เพลงนี้เกิดจากการบันทึกเสียงเพลง "Do They Know It's Christmas?" เพื่อระดมทุนในลักษณะเดียวกับโดยศิลปินนักร้องจากอังกฤษ ที่นำโดยบ็อบ เกลดอฟ เมื่อปลายปี 1984 โดยเริ่มจากแนวคิดเริ่มแรกของแฮรี เบลาฟอนเต ได้ติดต่อกับเคนนี คราเคน ผู้จัดการส่วนตัวของไลโอเนล ริชชีและเคนนี โรเจอร์ส เพื่อหาลู่ทางจัดคอนเสิร์ตเพื่อหารายได้ช่วยเหลือแอฟริกา แต่คราเคนคิดว่าหากบันทึกเสียงเป็นซิงเกิลวางจำหน่ายน่าจะได้การตอบรับดีกว่า และต่อมาได้ประสานงานกับไมเคิล แจ็กสัน, ไลโอเนล ริชชี, ควินซี โจนส์ และติดต่อนักร้องอื่นๆ มาร่วมร้อง ทั้งคู่เสร็จสิ้นการเขียนเพลงในวันที่ 21 มกราคมปี 1985 เพียงหนึ่งคืนก่อนวันประชุมเพื่อบันทึกเสียงครั้งแรก เพลงนี้ได้รับการปล่อยเป็นซิงเกิลในวันที่ 7 มีนาคม ปี..

ใหม่!!: ประเทศชาดและวีอาร์เดอะเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสกัดหิน

อุทยานแห่งชาติแคนยอนแลนด์ในยูทาห์ในสหรัฐอเมริกา งานสลักลายหินที่รู้จักกันว่า "Meerkatze" ที่เป็นภาพสิงโตต่อสู้กันที่ Wadi Methkandoushที่ลิเบีย ศิลปะสกัดหิน (Petroglyph หรือ Rock engravings) เป็นแผนภูมิรูปภาพ (pictogram) และ แผนภูมิโลโก (logogram) ที่สร้างโดยการสกัด, เซาะ, ถาก, แกะ หรือ ครูดหินจนเป็นภาพ นอกทวีปอเมริกาเหนือนักวิชาการมักจะใช้คำว่า "สลัก", "แกะ" หรือคำบรรยายอื่นในการบรรยายวิธีการสร้างภาพดังกล่าว ศิลปะสกัดหินพบทั่วไปในโลกและมักจะเกี่ยวข้อง (แต่ไม่เสมอไป) กับชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในภาษาอังกฤษคำว่า "Petroglyph" มาจากคำสองคำในภาษากรีก คำว่า "Petros" ที่แปลว่า "หิน" และ "glyphein" ที่แปลว่า "แกะสลัก" เดิมเป็นคำที่คิดขึ้นในภาษาฝรั่งเศสว่า "pétroglyphe" "ศิลปะสกัดหิน" ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า "ศิลปะวาดบนหิน" ซึ่งเป็นภาพที่วาดบนหน้าหิน แต่ศิลปะทั้งสองแบบจัดอยู่ในกลุ่มศิลปะหิน (Rock art) หรือ ศิลปะวางหิน (Petroform) ซึ่งเป็นศิลปะของการวางก้อนหินให้เป็นลวดลายหรือทรงต่างๆ บนพื้น หรือศิลปะก่อหิน (Inukshuk) ซึ่งเป็นศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งที่พบเฉพาะในบริเวณอาร์กติก.

ใหม่!!: ประเทศชาดและศิลปะสกัดหิน · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศชาดและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกากลาง

รณรัฐแอฟริกากลาง (République centrafricaine; ซังโก: Ködörösêse tî Bêafrîka) หรือ ซ็องทราฟริก (Centrafrique) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศชาด ทางตะวันออกจรดประเทศซูดาน ทางใต้จรดสาธารณรัฐคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) และทางตะวันตกจรดประเทศแคเมอรูน ตั้งอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร และแบ่งลุ่มแม่น้ำคองโกจากทะเลสาบชาดและลุ่มแม่น้ำไนล์ขาว.

ใหม่!!: ประเทศชาดและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

สไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)

ปรูไลนาอัดเม็ด สไปรูไลนา เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์หรือเป็นอาหารเสริมซึ่งผลิตจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินสองชนิด คือ Arthrospira platensis และ Arthrospira maxima Arthrospira พบปลูกทั่วโลก และใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในมนุษย์ เช่นเดียวกับเป็นอาหาร และพบได้ทั้งในรูปเม็ด แผ่นและผง มันยังใช้เป็นสารเสริมอาหารสัตว์ในการเลี้ยงสัตว์น้ำ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำและอุตสาหกรรมสัตว์ปีกVonshak, A. (ed.). Spirulina platensis (Arthrospira): Physiology, Cell-biology and Biotechnology. London: Taylor & Francis, 1997.

ใหม่!!: ประเทศชาดและสไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวนก

หญ้าข้าวนก(Jungle Rice) หญ้าข้าวนก (ภาษาอังกฤษ: jungle rice, birdsrice) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 30-60 ซม.

ใหม่!!: ประเทศชาดและหญ้าข้าวนก · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศชาดและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อึนจาเมนา

อึนจาเมนา (Ndjamena, N’Djaména; نجامينا, Nijāmīnā) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศชาด เมืองท่าบนฝั่งแม่น้ำชารี เป็นตลาดสำคัญของการทำปศุสัตว์ เกลือ อินทผลัม ธัญพืช เนื้อสัตว์ ปลา การทำฝ้าย ที่ถือเป็นอุตสาหกรรมสำคัญ และยังเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศชาด ถึงแม้ว่าจะเกิดปัญหาความรุนแรงในเมือง.

ใหม่!!: ประเทศชาดและอึนจาเมนา · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร

อุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร (عمر حسن أحمد البشير, 1 มกราคม ค.ศ. 1944 -) เป็นหัวหน้าพรรคเนชันแนลคองเกรส และประธานาธิบดีของประเทศซูดานคนปัจุจบัน เริ่มเข้ามามีอำนาจทางการเมืองครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1989 ขณะยังเป็นนายทหารยศพันโท โดยเป็นผู้นำกลุ่มนายทหารทำรัฐประหารไม่นองเลือดขับไล่รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีซาดิก อัลมะฮ์ดี (Sadiq al-Mahdi) ซึ่งเป็นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2004 รัฐบาลของนายอัลบะชีรได้เจรจายุติสงครามกลางเมืองซูดานครั้งที่สอง ซึ่งเป็นสงครามที่ดำเนินมาต่อเนื่องยาวนานที่สุดและนองเลือดที่สุดครั้งหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยให้อำนาจปกครองตนเองบางส่วนในเซาท์ซูดานซึ่งเป็นพื้นที่เกิดสงคราม อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามกลางเมืองแล้ว รัฐบาลของนายอัลบะชีรได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางต่อบทบาทของรัฐบาลในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ดาร์ฟูร์ อันเป็นการกวาดล้างชาติพันธุ์ประชากรที่ไม่ใช่ชาวอาหรับครั้งใหญ่ในซูดาน มีผู้เสียชีวิตจากกรณีดังกล่าวอยู่ระหว่าง 200,000 ถึง 400,000 คน บทบาทของนายอัลบะชีรในเรื่องนี้ได้นำไปสู่การสู้รบอย่างรุนแรงระหว่างกองกำลังติดอาวุธของพวกยันยาวิด (Janjaweed) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายรัฐบาล และกองกำลังกบฏฝ่ายต่างๆ อันได้แก่ กองทัพปลดแอกประชาชนซูดาน (Sudan People's Liberation Army, SPLA) กองทัพปลดปล่อยซูดาน (Sudanese Liberation Army, SLA) และขบวนการความยุติธรรมและความเสมอภาค (Justice and Equality Movement, JEM) ซึ่งทำการรบในรูปแบบสงครามกองโจรในแคว้นดาร์ฟูร์ ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้ประชาชนกว่า 2.5 ล้านคนต้องไร้ที่อยู่อาศัย และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศชาดกับซูดานตกต่ำลงจนถึงระดับวิกฤต เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2008 หลุยส์ โมเรโน-โอแคมโป อัยการประจำศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court, ICC) ได้ฟ้องร้องนายอัลบะชีรในข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ กระทำอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ และอาชญากรรมสงครามในแคว้นดาร์ฟูร์ ศาลได้ออกหมายจับนายอัลบะชีรเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2009 ในข้อหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงคราม แต่ไม่รวมข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เนื่องจากศาลได้ชี้ว่าหลักฐานที่จะฟ้องร้องด้วยข้อหาดังกล่าวยังมีไม่เพียงพอBBC News, 4 March 2009.

ใหม่!!: ประเทศชาดและอุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศชาดและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปโปโปเตมัส

ปโปโปเตมัส หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ฮิปโป (Hippopotamus; Hippo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินพืชชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กีบคู่ จัดอยู่ในวงศ์ฮิปโปโปเตมัส (Hippopotamidae) โดยเป็นสัตว์เพียง 1 ใน 2 ชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดนั้นคือ ฮิปโปโปเตมัสแคระ (Choeropsis liberiensis) ที่พบในป่าดิบชื้นของแอฟริกาตะวันตก) ชื่อ "ฮิปโปโปเตมัส" มาจากภาษากรีกคำว่า ἵππος (hippos) หมายถึง "ม้า" และ ποταμός (potamos) หมายถึง "แม่น้ำ" รวมแล้วหมายถึง "ม้าแม่น้ำ" หรือ "ม้าน้ำ" (ἱπποπόταμος) เนื่องจากมีส่วนหัวคล้ายม้ามาก โดยเฉพาะยามเมื่ออยู่ในน้ำ.

ใหม่!!: ประเทศชาดและฮิปโปโปเตมัส · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศชาดและจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติ

งของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งนโปเลียน. ธงชาติประจำประเทศต่างๆ ธงชาติเดนมาร์ก เป็นธงราชการที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ธงชาติ คือธงที่แสดงถึงสัญลักษณ์ของประเทศและดินแดนต่างๆ ปกติแล้วรัฐบาลของประเทศต่างๆ ย่อมเป็นผู้กำหนดแบบธงชาติและข้อบังคับการใช้ธงชาติ หากแต่พลเมืองในแต่ละประเทศก็สามารถใช้ธงชาติในดินแดนของตนเองได้เช่นกัน โดยขึ้นอยู่กับข้อบังคับการใช้ธงตามที่รัฐบาลกำหนดไว้ ธงชาตินิยมใช้ชักตามสถานที่ต่างๆ ทั้งของเอกชนและของรัฐ เช่น โรงเรียน และศาลาว่าการเมือง แต่ในบางประเทศ ได้มีข้อกำหนดการใช้ธงชาติว่าจะชักอยู่บนอาคารอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาคารทางทหารได้ในวันที่กำหนดให้ชักธงบางวันเท่านั้น ตามหลักสากล นิยมแบ่งลักษณะการใช้ธงชาติออกเป็น 3 ประเภทสำหรับใช้บนแผ่นดิน และอีก 3 ประเภทสำหรับใช้ในภาคพื้นทะเล แม้ว่าหลายประเทศมักจะใช้ธงชาติเพียงแบบเดียวในการใช้ธงหลายๆ ลักษณะ และบางทีก็ใช้ธงชาติในหน้าที่ทั้ง 6 ประเภทก็ตาม.

ใหม่!!: ประเทศชาดและธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติชาด

20px ธงชาติชาด สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติสาธารณรัฐชาด มีลักษณะเป็นธงสามสีสามแถบอย่างธงชาติฝรั่งเศส กล่าวคือ แต่ละแถบแบ่งตามแนวตั้งและมีความกว้างเท่ากัน ประกอบด้วยแถบสีน้ำเงิน สีเหลือง และสีแดง เรียงจากด้านคันธงไปยังด้านปลายธง ลักษณะโดยรวมของธงนี้พ้องกับธงชาติโรมาเนียเกือบทุกประการ ธงนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่เมื่อชาดเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองและได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2503 และแม้ว่าประเทศจะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงภายในอีกหลายครั้ง แต่แบบธงชาติชาดก็ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเลยมาจนถึงทุกวันนี้ เหตุที่ประเทศใช้ธงสามแถบอย่างนี้ ก็เนื่องจากได้รับอิทธิพลการออกแบบธงจากฝรั่งเศส ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมของชาดมาก่อน ส่วนแถบสีในธงนี้จัดเป็นสีพันธมิตรแอฟริกา ความหมายของสีธงชาติชาดมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศชาดและธงชาติชาด · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติโรมาเนีย

งชาติโรมาเนีย (Drapelul României) เป็นธงสามสีซึ่งประกอบด้วยแถบริ้วแนวตั้ง 3 สี ประกอบด้วยสีน้ำเงิน สีเหลือง และสีแดง เรียงตามลำดับจากด้านคันธง ลักษณะโดยรวมของธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐโรมาเนียได้ระบุถึงธงชาติโรมาเนียไว้ว่า “ธงของโรมาเนียเป็นธงสามสี แถบสีต่างๆ เรียงลำดับตามแนวตั้งโดยนับจากด้านคันธงไป ประกอบด้วยสีน้ำเงิน สีเหลือง สีแดง” สัดส่วนและระดับสีของธงแบบมาตรฐานได้ถูกกำหนดไว้พร้อมกับข้อปฏิบัติเกี่ยวกับธงโดยกฎหมายว่าด้วยธง ซึ่งได้ตราขึ้นในปี ค.ศ. 1994 และต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ. 2001 ลักษณะของธงดังกล่าวนี้พ้องกันอย่างยิ่งกับธงพลเรือนของอันดอร์ราและธงราชการของประเทศชาด โดยเฉพาะกรณีธงชาติของประเทศชาดนั้นต่างกันกับธงของโรมาเนียเพียงว่าประเทศชาดใช้โทนสีน้ำเงินที่เข้มกว่าของโรมาเนียเท่านั้น ความคล้ายคลึงดังกล่าวได้นำไปสู่การอภิปรายเรื่องนี้ในระดับนานาชาติ โดยในปี ค.ศ. 2004 ประเทศชาดได้ร้องขอให้องค์การสหประชาชาติวินิจฉัยในข้อปัญหาดังกล่าว แต่ประธานาธิบดีอีออน อีลีเอสคู (Ion Iliescu) ได้ประกาศในเวลาต่อมาว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ แก่ธงชาติโรมาเนีย ธงอีกธงหนึ่งที่สัมพันธ์กับธงชาติโรมาเนียคือธงชาติมอลโดวา ซึ่งใช้พื้นสีธงแบบเดียวกับของโรมาเนีย แต่สัดส่วนความกว้างต่อความยาวของธงเป็น 1:2 มีใช้สีน้ำเงินในโทนที่อ่อนกว่าของโรมาเนีย และมีดวงตราแผ่นดินของมอลโดวาที่กลางธง.

ใหม่!!: ประเทศชาดและธงชาติโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ประเทศชาดและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบชาด

right ทะเลสาบชาด (Lake Chad) ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อ 4 ประเทศในทวีปแอฟริกา ได้แก่ ชาด ไนเจอร์ ไนจีเรีย และแคเมอรูน เป็นทะเลสาบน้ำจืดตื้น ๆ และเป็นแหล่งที่อยู่ของนกอีกหลายชนิด ซึ่งในช่วงเวลาที่น้ำขึ้นสูงในฤดูฝน ทะเลสาบจะครอบคลุมพื้นที่กว่า 20,800 ตารางกิโลเมตร แต่บางช่วงเวลาขนาดพื้นที่น้ำอาจจะเหลือเพียง 10,000 ตารางกิโลเมตร ส่วนที่ลึกที่สุดของทะเลสาบมีความลึกเพียง 8 เมตร ซึ่งเมื่อ 13,000 ปีก่อน ทะเลสาบชาดเคยเป็นทะเลขนาด 400,000 ตารางกิโลเมตรมาก่อน ชาด.

ใหม่!!: ประเทศชาดและทะเลสาบชาด · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายสะฮารา

ทะเลทรายสะฮารา หรือ ซาฮารา หรือ สาฮารา (Sahara) เป็นทะเลทรายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นบริเวณแห้งแล้งใหญ่สุดเป็นอันดับสามรองจากทวีปแอนตาร์กติกาและอาร์กติก มีเนื้อที่มากกว่า 9,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,500,000 ตารางไมล์ คำว่า สะฮารา ในภาษาอาหรับ (صحراء) หมายถึง ทะเลทราย อาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา ด้านทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศเหนือคือเทือกเขาแอตลาสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกจรดทะเลแดงและประเทศอียิปต์ ทิศใต้จรดประเทศซูดานและหุบเขาของแม่น้ำไนเจอร์ วิดีโอที่ถ่ายในมุมมองจากอวกาศ ของ ทะเลทรายสะฮารา และ แถวตะวันออกกลาง โดยสมาชิกนักบินอวกาศในการสำรวจที่ 29.

ใหม่!!: ประเทศชาดและทะเลทรายสะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัย

ทุพภิกขภัย (famine) คือสภาวะของการขาดแคลนอาหารอย่างกว้างขวางซึ่งอาจใช้กับสภาวะที่เกิดในสัตว์ชนิดใดก็ได้ วิกฤติการณ์ดังกล่าวมักจะตามมาด้วยสภาวะทุพโภชนาการ, การอดอยาก, โรคระบาด และการเพิ่มจำนวนการเสียชีวิต องค์ประกอบสำคัญในการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยก็ได้แก่การแจกจ่ายสารอาหารรอง เช่นวิตามินและ แร่ธาตุจากซองอาหารบำบัดที่ประกอบด้วยสารเสริมอาหาร หรือให้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยตรงhttp://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1914655, 00.html Can one pill tame the illness no one wants to talk about? ประเภทการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยแบบหนึ่งการให้เงินหรือให้ตั๋วแก่ผู้ที่อดอยากเพื่อนำไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนเป็นอาหารจากเกษตรกรท้องถิ่น แทนที่จะนำทุนไปซื้ออาหารจากประเทศผู้บริจาค กฎหมายมักต้องระบุ เพราะเป็นการเสียเงินค่าขนส่ง การแก้ปัญหาความขาดแคลนระยะยาวก็ทำได้โดยการลงทุนในการเกษตรกรรมแบบใหม่ในภูมิภาคที่ยังไม่มีระบบดังกล่าว เช่นการใช้ปุ๋ย และสร้างระบบการชลประทานอันวิธีสำคัญที่ใช้ในการกำจัดความหิวโหยในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กฎของธนาคารโลกจำกัดการให้ทุนช่วยเหลือเกษตรกร และการใช้ปุ๋ยก็ได้รับการต่อต้านจากนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางกลุ่มเพราะมีผลตามมาอย่างคาดไม่ถึง คือ ปริมาณน้ำและถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ลดลงhttp://www.theatlantic.com/issues/97jan/borlaug/borlaug.htm Forgotten benefactor of humanity.

ใหม่!!: ประเทศชาดและทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่าง

้าวฟ่าง, ข้าวฟ่างหางช้าง หรือ ข้าวฟ่างสมุทรโคดม เป็นพืชปลูกในสกุลข้าวฟ่างและมีชื่อสามัญว่า sorghum เป็นพืชในวงศ์หญ้า อายุปีเดียว ต้นเดี่ยวหรือแตกกอที่โคน มีรากพิเศษเป็นรากฝอย ต้นตั้ง แห้งหรือฉ่ำน้ำ จืดหรือหวาน ส่วนกลางลำต้นมีลักษณะคล้ายฟองน้ำ มีช่วงว่างในส่วนพิธ ใบเรียงสลับ กาบล้อมลำต้นโดยส่วนของกาบซ้อนเหลื่อมกัน มีไขนวลปกคลุม ลิ้นใบสั้น มีขนปกคลุมตามขอบด้านบน มีปากใบทั้งสองด้าน ดอกช่อ ผลแบบธัญพืชกลมหรือปลายมน แหลม ใช้เป็นอาหารทั้งมนุษย์และสัตว์ และใช้เป็นพืชเชื้อเพลิง ข้าวฟ่างหวานเป็นสายพันธุ์ที่ใช้ปลูกเพื่อผลิตน้ำตาลและเอทานอล ต้นสูงกว่าพันธุ์กินเมล็.

ใหม่!!: ประเทศชาดและข้าวฟ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ

้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees, คำย่อ UNHCR) เป็นองค์การที่รับภารกิจหน้าที่จาก UNRRA: United Nations Relief and Rehabilitation Administration ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2486 โดยแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ ประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา ทำหน้าที่ช่วยเหลือการกลับถิ่นฐานเดิมของผู้ลี้ภัยจำนวนกว่า 8 ล้านคน ซึ่งเกิดจากการสู้รบในสงครามโลกครั้งที่ 2 สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2493 โดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ภารกิจหลัก คือ การปกป้องและสนับสนุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยทั่วโลก ตามข้อเรียกร้องของรัฐบาลในแต่ละประเทศหรือข้อเรียกร้องของสหประชาชาติ นอกจากนี้ สำนักงานฯ ยังมีหน้าที่สำคัญในการส่งผู้ลี้ภัยกลับประเทศต้นทาง หรือ ประเทศที่สามเพื่อตั้งถิ่นฐานใหม่ สำนักงานฯ มีภารกิจหลักคือ เป็นผู้นำและประสานงานในการรวบรวมความช่วยเหลือจากนานาประเทศ เพื่อปกป้องและแก้ปัญหาของผู้ลี้ภัยทั่วโลก และการปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ลี้ภัย โดยเฉพาะสิทธิที่จะอาศัยอยู่อย่างปลอดภัยในรัฐอื่น เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับทางออกที่ยั่งยืน ซึ่งได้แก่การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิมโดยสมัครใจ (voluntary repatriation) การตั้งถิ่นฐานในรัฐผู้รับ (local integration) หรือการไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม (third country resettlement) และภารกิจที่ตามมาคือ การปกป้องและให้ความช่วยเหลือตามหลักมนุษยธรรมแก่บุคคลในความห่วงใย (person of concern, POC) กลุ่มอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ผู้แสวงหาที่พักพิง (asylum seeker) ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced person) บุคคลไร้รัฐ (stateless person) และผู้ที่เดินทางกลับประเทศต้นทาง (returnee) ภารกิจของสำนักงานฯ ในขณะนี้ มักจะอยู่ในประเทศที่ยังคงมีสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่ปกติและประเทศใกล้เคียง เช่น เลบานอน ซูดาน ชาด อิรัก อัฟกานิสถาน เคนยา อย่างไรก็ตาม สำนักงานฯ ยังมีภารกิจครอบคลุมไปถึงผู้ที่หนีภัยจากการประหัตประหาร และผู้ที่พลัดถิ่นอันเนื่องมาจากภัยพิบัติอีกด้วย ทั้งนี้ สำนักงานฯ มีสำนักงานระดับภูมิภาคในประเทศไทยที่อาคารสำนักงานสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอก สำนักงานฯ ได้รับรางวัลโนเบลสันติภาพในปี พ.ศ. 2497 และ พ.ศ. 2524 ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ นายฟีลิปโป กรันดี (Filippo Grandi) นักการทูตชาวอิตาลี และประธานคณะกรรมการบริหารสำนักงานฯ คนปัจจุบันได้แก่ นาย Carsten Staur เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเดนมาร์กประจำสำนักงานสหประชาชาติ ณ นครเจนีว.

ใหม่!!: ประเทศชาดและข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมไทยคม

วเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ชื่อ "ไทยคม" (Thaicom) เป็นชื่อพระราชทาน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศชาดและดาวเทียมไทยคม · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศชาดและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)

วามขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง เริ่มขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 ระหว่างรัฐบาลสาธารณรัฐแอฟริกากลางกับกบฏซึ่งหลายคนเคยมีส่วนเกี่ยวข้องในสงครามกลางเมืองสาธารณรัฐแอฟริกากลาง กลุ่มกบฏกล่าวหารัฐบาลประธานาธิบดีฟร็องซัว บอซีเซว่าไม่สามารถปฏิบัติตามความตกลงสันติภาพที่ลงนามตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 กองกำลังกบฏซึ่งมีชื่อว่า "เซเลกา" (Séléka CPSK-CPJP-UFDR) ยึดเมืองหลักหลายเมืองในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศ พันธมิตรดังกล่าวประกอบด้วยสองกลุ่มหลัก คือ UFDR และ CPJP ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นเดียวกับ CPSK ซึ่งรู้จักกันน้อยกว่า อีกสองกลุ่มประกาศการสนับสนุนแนวร่วมนี้เช่นเดียวกัน ได้แก่ FDPC และ FPR (ในประเทศชาด) ทั้งสองตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศ ทุกกลุ่มแยกยกเว้น FPR และ CPSK เป็นฝ่ายในสัญญาความตกลงสันติภาพและกระบวนการปลดอาวุธ ประเทศชาด กาบอง แคเมอรูน แองโกลา แอฟริกาใต้ และสาธารณรัฐคองโก ส่งทหารช่วยเหลือรัฐบาลบอซีเซยับยั้งการรุกคืบของฝ่ายกบฏสู่กรุงบังกี เมืองหลวงของประเทศ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2556 มีการลงนามความตกลงหยุดยิงในกรุงลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ฝ่ายกบฏสละข้อเรียกร้องของพวกตนที่จะให้ประธานาธิบดีฟร็องซัว บอซีเซลาออก แต่เขาต้องแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่จากพรรคฝ่ายค้านภายในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556 วันที่ 13 มกราคม บอซีเซลงนามกฤษฎีกาซึ่งถอดถอนนายกรัฐมนตรีโฟสแต็ง-อาร์ช็องฌ์ ตัวเดราจากตำแหน่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความตกลงกับแนวร่วมกบฏ วันที่ 17 มกราคม นีกอลา ตีย็องกาย (Nicolas Tiangaye) ได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีPatrick Fort,, Agence France-Presse, 17 January 2013. วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556 การหยุดยิงถูกละเมิด โดยรัฐบาลประณามเซเลกาว่าละเมิดการหยุดยิง และเซเลกาประณามรัฐบาลโดยกล่าวหาว่ารัฐบาลไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของความตกลงแบ่งสรรอำนาจ จนถึงวันที่ 21 มีนาคม กบฏรุกคืบถึงเมืองบูกาซึ่งอยู่ห่างจากเมืองหลวง 300 กิโลเมตร วันที่ 22 มีนาคม การสู้รบมาถึงเมืองดามารา ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองหลวง 75 กิโลเมตร กบฏยึดด่านตรวจที่ดามาราและรุกคืบสู่กรุงบังกี แต่ถูกหยุดด้วยการโจมตีทางอากาศจากเฮลิคอปเตอร์จู่โจม อย่างไรก็ดี วันรุ่งขึ้น ฝ่ายกบฏเข้าสู่กรุงบังกี มุ่งหน้าสู่ทำเนียบประธานาธิบดี วันที่ 24 มีนาคม ฟร็องซัว บอซีเซหลบหนีออกนอกประเทศหลังกบฏยึดทำเนียบได้ ผู้นำกบฏ มีแชล จอตอดียา ประกาศตนเป็นประธานาธิบดีในวันเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน) · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศชาดและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศชาดและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ตับอักเสบ อี

ตับอักเสบ อี (Hepatitis E) เป็นตับอักเสบที่เกิดจากการการติดเชื้อไวรัสที่เรียกว่า hepatitis E virus (HEV) HEV เป็นไวรัส RNA สายเดียวประเภท positive-sense มีรูปทรงแบบ icosahedral และมีขนาดจีโนม 7.5 kilobase HEV ใช้ช่องทางแพร่เชื่อผ่านอุจจาระ/ช่องปาก เป็นไวรัสตับอักเสบหนึ่งในห้าชนิดที่รู้จักกันดี (A, B, C, D และ E) การติดเชื้อที่มีการบันทึกไว้ครั้งแรกเกิดใน..

ใหม่!!: ประเทศชาดและตับอักเสบ อี · ดูเพิ่มเติม »

ซาเฮล

ภาพแสดงบริเวณซาเฮล มีความยาวราว 1,000 กม. พาดระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับทะเลแดง ซาเฮล (Sahel) เป็นเขตรอยต่อ บริเวณกึ่งทะเลทราย บริเวณทะเลทรายสะฮารา แบ่งทวีปแอฟริกาเป็นเหนือและใต้ ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนทะเลแดง ซาเฮลเป็นภาษาอาหรับ มีความหมายว่า ชายหาด พื้นที่ของซาเฮลครอบคลุมตั้งแต่ (ไล่จากตะวันตกสู่ตะวันออก) ประเทศเซเนกัล, ทางใต้ของประเทศมอริเตเนีย, ประเทศมาลี, ประเทศบูร์กินาฟาโซ, ทางตอนใต้ของประเทศแอลจีเรีย, ประเทศไนเจอร์, ทางตอนเหนือของประเทศไนจีเรีย, ประเทศชาด, ทางตอนเหนือของประเทศแคเมอรูน, ประเทศซูดาน และประเทศเอริเทรีย หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปแอฟริกา.

ใหม่!!: ประเทศชาดและซาเฮล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1965

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1965 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1973

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1973 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1978

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1987

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1987 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1991

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1991 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1995

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 1999

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2003

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2007

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2011

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2015

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2015 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดใน ค.ศ. 2019

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดใน ค.ศ. 2019 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาดในโอลิมปิก

ประเทศชาด เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ชาด หมวดหมู่:ประเทศชาด.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศชาดในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคเมอรูน

แคเมอรูน (Cameroon; Cameroun) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแคเมอรูน (Republic of Cameroon; République du Cameroun) เป็นสาธารณรัฐในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตจรดไนจีเรีย ชาด สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐคองโก กาบอง อิเควทอเรียลกินี.

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศแคเมอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไนจีเรีย

นจีเรีย (Nigeria) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย (Federal Republic of Nigeria) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในแอฟริกา ไนจีเรียได้ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยเมื่อพ.ศ. 2542 หลังจากที่มีการปกครองโดยเผด็จการทหารหลายคนที่โหดร้ายและคดโกง มานาน 16 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2508 ถึง พ.ศ. 2542 ไนจีเรียปกครองโดยเผด็จการทหารที่ชิงอำนาจด้วยการรัฐประหาร (ยกเว้นสาธารณรัฐที่ 2 ในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไนเจอร์

นเจอร์ (อังกฤษและNiger) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐไนเจอร์ (Republic of Niger; République du Niger) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่อยู่ทางใต้ของทะเลทรายสะฮาราในแอฟริกาตะวันตก ตั้งชื่อตามแม่น้ำไนเจอร์ มีอาณาเขตทางใต้จดประเทศไนจีเรียและประเทศเบนิน ตะวันตกจดประเทศมาลี เหนือจดประเทศแอลจีเรียและประเทศลิเบีย ตะวันออกจดประเทศชาด ไนเจอร์มีพื้นที่เกือบ 1,270,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งร้อยละ 80 ถูกปกคลุมด้วยทะเลทรายสะฮารา มีประชากรประมาณ 15 ล้านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามและอาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณตอนใต้และตะวันตกของประเทศ เมืองหลวงชื่อนีอาเม (Niamey).

ใหม่!!: ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนแอฟริกา (สกุล)

ปลาช่อนแอฟริกา (African snakeheads) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Parachanna (/พา-รา-ชาน-นา/) มีรูปร่างคล้ายคลึงกับปลาในสกุล Channa ที่พบในทวีปเอเชีย แต่ทว่าปลาในสกุลนี้จะมีขนาดลำตัวที่เล็กกว่า มีส่วนหัวที่เล็กและแบน และมีลายที่ลำตัวคล้ายลายไม้แบบเดียวกับ ปลากระสง (C. lucius) ที่อยู่ในสกุล Channa พบทั้งหมด 3 ชนิด โดยพบในตอนกลางและตอนตะวันตกของทวีปแอฟริกา ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศชาดและปลาช่อนแอฟริกา (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากรายแอฟริกา

ปลากรายแอฟริกา (African brown knifefish, African knifefish, False featherbackfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenomystus nigri ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) นับเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นทีอยู่ในสกุล Xenomystus มีรูปร่างคล้ายกับปลาสลาด (Notopterus notopterus) ที่พบได้ในทวีปเอเชีย แต่ทว่ามีขนาดลำตัวที่เพรียวบางกว่า ไม่มีครีบหลัง ครีบท้องและก้นพริ้วไหวได้เร็วกว่า และมีจุดเด่นที่เห็นชัดคือ จมูกมีสองคู่ คู่หน้ายื่นออกมาคล้ายหลอดหรือหนวด ซึ่งใช้เป็นประสาทสัมผัสในการหาอาหาร ซึ่งเห็นได้ชัดเจนกว่าปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน พบกระจายทั่วไปในทวีปแอฟริกาตอนกลาง ในแถบลุ่มแม่น้ำไนล์และแอ่งน้ำในเซียร์รา ลีโอน, ชาด, ซูดาน, โตโก, เบนิน และแคเมอรูน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต แต่โดยเฉลี่ยที่พบทั่วไป คือประมาณ 8 นิ้ว โดยอาศัยในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำขึ้นหนาแน่น ปลาตัวเมียวางไข่ประมาณ 150-200 ฟอง ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 มิลลิเมตร และยังมีความสามารถพิเศษคือ สามารถเปล่งเสียงออกมาได้ด้วย เพื่อหาอาหาร เนื่องจากหากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารจำพวก แมลงน้ำและสัตว์มีเปลือกขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม มีอุปนิสัยที่ค่อนข้างก้าวร้าวในหมู่พวกเดียวกัน แต่ทว่าจะไม่แสดงพฤติกรรมเหล่านี้ต่อปลาชนิดอื่น.

ใหม่!!: ประเทศชาดและปลากรายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงแม่น้ำไนล์

ปลากะพงแม่น้ำไนล์ (Nile perch, African snook) หรือชื่อในภาษาพื้นเมืองว่า อิมพิวทา (Imputa) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) มีรูปร่างคล้ายปลากะพงขาว (L. calcarifer) ซึ่งเป็นปลาอยู่ในวงศ์เดียวกัน สกุลเดียวกัน ต่างกันที่ปลากะพงแม่น้ำไนล์มีครีบหลังที่ยกสูงกว่า และมีขนาดตัวเมื่อโตเต็มที่ได้ใหญ่กว่ามาก โดยยาวได้ถึง 2 เมตร หนักได้ถึง 200 กิโลกรัม หนักสุดพบ 230 กิโลกรัม จัดเป็นปลาที่มีความใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ อาศัยอยู่ในแม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกา พบในอียิปต์, ชาด, เซเนกัล, คองโก, เคนยา เป็นต้น นิยมตกเป็นเกมกีฬา โดยถูกจัดให้เป็นปลาที่สามารถตกด้วยเบ็ดได้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใช้เนื้อบริโภคเป็นอาหารขึ้นชื่อในท้องถิ่น และส่งออกต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ด้วยความใหญ่ในรูปร่าง ในแง่ของปัญหาสิ่งแวดล้อม ปลากะพงแม่น้ำไนล์ถือเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่คุกคามสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ ในทะเลสาบแทนกันยีกาและทะเลสาบวิกตอเรีย โดยเพาะอย่าง ปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เพราะเป็นปลาขนาดใหญ่ที่กินปลาและสัตว์น้ำชนิดอื่นที่เล็กกว่าเป็นอาหาร และกินเป็นจำนวนมาก จึงเป็นต้นเหตุที่ทำให้หลายชนิดต้องอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ เพราะปลากะพงแม่น้ำไนล์มิได้เป็นปลาพื้นถิ่นของทะเลสาบทั้งสองแห่งนี้ แต่ทว่าถูกนำไปปล่อยโดยเมื่อทศวรรษที่ 50.

ใหม่!!: ประเทศชาดและปลากะพงแม่น้ำไนล์ · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศชาดและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอมฤต

น้ำอมฤต /อะมะริด, หรือ อะมะรึด/ หรือ น้ำทิพย์ (elixir of life, elixir of immorality หรือ Dancing Water, อาหรับ: الإكسير, อัลอีกซีร์; เปอร์เซีย: آب حیات, อาบเอฮะยาต) เป็นยาน้ำหรือเครื่องดื่มซึ่งเชื่อกันว่าจะยังให้ผู้ดื่มเป็นอมตะหรือคงความเยาว์วัยแห่งรูปร่างไว้ชั่วกัลป์ บ้างก็ว่าสามารถชุบชีวิตหรือสร้างชีวิตใหม่ได้ เรียกว่าเป็นยาแก้สรรพโรคประเภทหนึ่ง และเคยเป็นที่ต้องการและควานไขว่หาอย่างบ้าคลั่งของลัทธิรสายนเวทอยู่พักใหญ่ น้ำอมฤตปรากฏในวรรณกรรมหลายเรื่องของทุกชนชาต.

ใหม่!!: ประเทศชาดและน้ำอมฤต · ดูเพิ่มเติม »

แกะภูเขา

แกะภูเขา หรือ แกะบาร์บารี (Barbary sheep) เป็นแกะชนิดหนึ่ง จัดอยู่เพียงชนิดเดียวในสกุล Ammotragus Grubb, P. (16 November 2005).

ใหม่!!: ประเทศชาดและแกะภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

แสงศตวรรษ

แสงศตวรรษ (Syndromes and a Century) เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล เป็นหนึ่งในชุดผลงานของผู้กำกับ 6 คนจากทั่วโลก ร่วมกับผู้กำกับจากปารากวัย อิหร่าน ชาด ไต้หวัน และอินโดนีเซีย ที่ได้รับเชิญให้ร่วมผลิตภาพยนตร์เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาล “นิว คราวน์ โฮป” ในโอกาสเฉลิมฉลอง 250 ปีชาตกาลของ โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท คีตกวีชาวออสเตรีย เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศชาดและแสงศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกากลาง

สหพันธ์แอฟริกากลาง (ยกเลิก) แอฟริกากลาง เป็นดินแดนในทวีปแอฟริกา ได้ถูกนิยามไว้สองอย่างคือ Central Africa และ Middle Africa (นิยามโดยสหประชาชาติ) ประกอบด้วยประเท.

ใหม่!!: ประเทศชาดและแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาใต้สะฮารา

ประเทศที่สหประชาชาติจัดเป็นแอฟริกาเหนือ แอฟริกาใต้สะฮารา (Sub-Saharan Africa) เป็นภูมิภาคที่มีพื้นที่อยู่ในทวีปแอฟริกาและอยู่ใต้ทะเลทรายสะฮารา โดยมีประเทศในภูมิภาค 54 ประเทศ มีประชากรรวมกันมากถึง 574 ล้านคน ภูมิภาคนี้มีพื้นที่ประมาณ 16 % ของพื้นดินของโลก โดยสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าทึบ และบางส่วนเป็นทะเลทร.

ใหม่!!: ประเทศชาดและแอฟริกาใต้สะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

แอดแดกซ์

แอดแดกซ์ หรือ แอนทิโลปขาว หรือ แอนทิโลปเขาเกลียว (addax, white antelope, screwhorn antelope) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นแอนทิโลปชนิดหนึ่ง จำพวกแอนทิโลปปศุสัตว์ จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Addax โดยคำว่า "แอดแดกซ์" นั้นมาจากภาษาอาหรับแปลว่า "สัตว์ป่าเขาเบี้ยว" ขณะที่ชื่อชนิดทางวิทยาศาสตร์ nasomaculatus มาจากภาษาละตินแปลว่า "จมูกเป็นจุด" (nasus (หรืออุปสรรคว่า naso) หมายถึง "จมูก" และ macula หมายถึง "จุด" และหน่วยคำเติม atus) ขณะที่ชาวเบดูอินจะรู้จักแอดแดกซ์ดี โดยคำว่าแอดแดกซ์นั้นมาจากภาษาอาหรับเรียกว่า bakr (หรือ bagr) al wahsh หมายถึง วัว, ควาย หรือสัตว์กีบทั่วไป แอดแดกซ์มีความแตกต่างจากแอนทิโลปอื่น ๆ ที่มีฟันขนาดใหญ่รูปสี่เหลี่ยมและไร้ต่อมบนหน้า มีความสูงจากไหล่ 91–115 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 120–130 เซนติเมตร ความยาวหาง 25–35 เซนติเมตร น้ำหนัก 60–125 กิโลกรัม ตัวเมียขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีขนสีน้ำตาลเทาในฤดูหนาว และเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือสีซีดในฤดูร้อน มีขนสีน้ำตาลหรือดำรูปตัวเอ็กซ์บนจมูก ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเขาทั้งคู่ ลักษณะเขาบิดเป็นเกลียวยาว 55–85 เซนติเมตร และมีการขด 2–3 ครั้ง มีกีบเท้าขนาดใหญ่เพื่อเดินบนพื้นทราย ที่กีบเท้าทั้งหมดมีต่อมกลิ่นอยู่ แต่เป็นสัตว์ที่มีความเชื่องช้าจึงมักตกเป็นเหยื่อของสัตว์นักล่าอยู่เสมอ ๆ เช่น หมาล่าเนื้อแอฟริกา, ไฮยีนา, ชีตาห์, เสือดาว, คาราคัล, เซอวัล โดยเป็นสัตว์ที่ไม่ก้าวร้าวแม้จะถูกรบกวนก็ตาม พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาเหนือ โดยเป็นสัตว์พื้นเมืองของชาด, มอริเตเนีย และไนเจอร์ ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วที่แอลจีเรีย, อียิปต์, ลิเบีย, ซูดาน และสะฮาราตะวันตก และกำลังได้รับการฟื้นฟูที่โมร็อกโกและตูนิเซีย ปัจจุบันเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตเนื่องจากพบน้อยกว่า 500 ตัว ในแถบทะเลทรายสะฮารา เป็นสัตว์ที่มีความอดทนอย่างมากจากการขาดน้ำเนื่องจากรับน้ำจากอากาศและพืชจำพวกพุ่มไม้หรืออาเคเชียที่กินเข้าไป อีกทั้งยังมีกระเพาะที่มีความพิเศษที่เก็บน้ำไว้ใช้ในคราวจำเป็น และปัสสาวะก็มีความเข้มข้นเป็นพิเศษ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืนโดยจะหลบนอนอยู่ตามร่มเงาของภูเขาทรายในเวลากลางวันและหลบพายุทะเลทราย แต่แอดแดกซ์เป็นสัตว์ที่มีอยู่จำนวนมากในสถานที่เลี้ยงหรือเขตอนุรักษ์ทางธรรมชาติในปัจจุบัน มีโครงการขยายพันธุ์ในหลายประเทศในหลายทวีป ทั้ง อิสราเอล, ญี่ปุ่น, อเมริกาเหนือ, ซูดาน, อียิปต์, ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ประเทศชาดและแอดแดกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

โบโกฮะรอม

กฮะรอม (Boko Haram, "การศึกษาตะวันตกถูกห้าม") เป็นขบวนการอิสลามก่อการร้ายมีฐานในทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไนจีเรีย นอกจากนี้ยังปฏิบัติการในประเทศชาด ไนเจอร์และทางเหนือของแคเมอรูน มีสมาชิกประเมินอยู่ระหว่าง 4,000-20,000 คน ในปี 2558 โบโกฮะรอมประกาศสวามิภักดิ์ต่อกลุ่มรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (ISIL) หลังจากนั้นกลุ่มกลายเป็น "จังหวัด" หนึ่งของรัฐอิสลาม เรียกว่า Wilayat Gharb Afriqiya (จังหวัดแอฟริกาตะวันตก) ISIL แต่งตั้งอะบู มูซาบ อัลบาร์นาวีขึ้นเป็นผู้นำคนใหม่ ทำให้กลุ่มเกิดการแตกแยกออกเป็นสองฝ่ายคือฝ่ายที่สนับสนุนบาร์นาวีกับฝ่ายที่สนับสนุนอะบูบะการ์ เชเกา ผู้นำคนก่อน โบโกฮะรอมฆ่าพลเรือนกว่า 5,000 คนระหว่างเดือนกรกฎาคม 2552 ถึงเดือนมิถุนายน 2557 รวมอย่างน้อย 2,000 คนในช่วงครึ่งแรกของปี 2557 ในการโจมตีซึ่งส่วนใหญ่เกิดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เหนือ-กลางและกลางของไนจีเรีย การฉ้อราษฎร์บังหลวงในราชการความมั่นคงและการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ราชการก่อบั่นทอนความพยายามรับมือกับความไม่สงบดังกล่าว นับแต่ปี 2552 โบโกฮะรอมลักพาตัวชาย หญิงและเด็กกว่า 500 คน รวมการลักพาตัวเด็กนักเรียนหญิง 278 คนจากชิบอค (Chibok) ในเดือนเมษายน 2557 ประชาชน 650,000 คนหนีจากพื้นที่ขัดแย้งจนถึงเดือนสิงหาคม 2557 เพิ่มขึ้น 200,000 คนนับจากเดือนพฤษภาคมปีนั้น เมื่อสิ้นปี มีประชาชนหนีแล้ว 1.5 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและโบโกฮะรอม · ดูเพิ่มเติม »

โรคโปลิโอ

รคโปลิโอ (poliomyelitis, polio, infantile paralysis) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสเฉียบพลันซึ่งติดต่อจากคนสู่คนทางอุจจาระ-ปาก ชื่อนี้มาจากภาษากรีกว่า (πολιός) หมายถึง สีเทา, (µυελός) หมายถึงไขสันหลัง และคำอุปสรรค -itis หมายถึงการอักเสบ การติดเชื้อโปลิโอกว่า 90% จะไม่ทำให้เกิดอาการใด ๆ โดยผู้ติดเชื้ออาจมีอาการได้หลายอย่างหากได้รับไวรัสเข้ากระแสเลือด ผู้ป่วย 1% จะมีการติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ระบบประสาทกลาง ทำให้เซลล์ประสาทสั่งการถูกทำลาย ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงและอัมพาตอ่อนเปียก ผู้ป่วยอาจมีอาการอ่อนแรงได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับเส้นประสาทที่ถูกทำลาย รูปแบบที่พบบ่อยที่สุดคือโปลิโอไขสันหลัง ซึ่งทำให้มีอาการอ่อนแรงแบบไม่สมมาตรมักเป็นที่ขา โปลิโอก้านสมองส่วนท้ายทำให้เกิดการอัมพาตของกล้ามเนื้อที่เลี้ยงโดยเส้นประสาทสมอง โปลิโอไขสันหลังและก้านสมองส่วนท้ายจะทำให้มีอาการร่วมกันทั้งการอัมพาตก้านสมองส่วนท้ายและไขสันหลัง โรคโปลิโอค้นพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศชาดและโรคโปลิโอ · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศชาดและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ต๊อกหมวกเหล็ก

ก่ต๊อกหมวกเหล็ก (helmeted guineafowl) เป็นนกขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ต๊อก (Numididae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Numida ไก่ต๊อกหมวกเหล็ก มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับไก่ต๊อกชนิดอื่น ๆ แต่บนหัวมีหงอนที่เป็นโหนกแข็งที่มีลักษณะที่เหมือนกับสวมหมวกเหล็กหรือหมวกกันน็อกอยู่ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 61 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงตั้งแต่ 10-100 ตัว หากินตามพื้นดินหรือตามทุ่งหญ้าโปร่งเท่านั้น เมื่อตกใจจะบินได้ระยะทางสั้น ๆ เพื่อขึ้นต้นไม้หรือขึ้นที่สูง โดยกินอาหารที่เป็นพืชแทบทุกชนิด ตลอดจนสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หอยทาก แมลงชนิดต่าง ๆ ไก่ต๊อกหมวกเหล็กเป็นไก่ต๊อกที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา และเป็นไก่ต๊อกชนิดที่พบเห็นได้ง่ายและแพร่กระจายพันธุ์มากที่สุด ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงไก่ต๊อกหมวกเหล็กเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม เพื่อความเพลิดเพลินใจ และยังมีการเพาะเลี้ยงเพื่อการบริโภคเนื้อและไข่เป็นสัตว์เศรษฐกิจอีกด้วย โดยเมื่อวางไข่ไก่ต๊อกหมวกเหล็กจะแยกตัวจากฝูงไปวางไข่เพียงตามลำพังในพงหญ้า ครั้งละ 40-50 ฟอง แม่ไก่จะดูแลลูกประมาณ 2-3 เดือน เมื่อพ้นจากนี้แล้วลูกไก่จะแข็งแรงพอที่จะเข้าฝูงหากินเองได้ ไก่ต๊อกหมวกเหล็กเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 5-7 เดือน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและไก่ต๊อกหมวกเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ไส้กรอกแอฟริกา

้กรอกแอฟริกา เป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุล Kigelia ในวงศ์ Bignoniaceae พบในเขตร้อนของแอฟริกาตั้งแต่เอริเทรียและชาด ไปจนถึงทางเหนือของแอฟริกาใต้ เซเนกัล และนามิเบี.

ใหม่!!: ประเทศชาดและไส้กรอกแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศชาดและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9

รือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 เป็นเรือพระที่นั่งกิ่งประเภทเรือรูปสัตว์ หนึ่งในเรือพระราชพิธี ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาส พระราชพิธีกาญจนาภิเษก แห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 โดย กองทัพเรือ ร่วมกับ กรมศิลปากร ได้นำ โขนเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ที่สร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 และ รัชกาลที่ 4 มาเป็นต้นแบบ โดยกองทัพเรือ สร้างในส่วนที่เป็นโครงสร้างเรือ พาย และคัดฉาก ส่วนกรมศิลปากร ดำเนินการในงานที่เกี่ยวกับ ศิลปกรรมของเรือทั้งหม.

ใหม่!!: ประเทศชาดและเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปกลาง

ตเวลาชาติยุโรปกลาง (Central European Time; CET) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานบบเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 1 ชั่วโมง (UTC+1) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศชาดและเวลายุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศชาดและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R. (2003) in An Overview of the Siwalik Acheulian & Reconsidering Its Chronological Relationship with the Soanian - A Theoretical Perspective.

ใหม่!!: ประเทศชาดและHomo erectus · ดูเพิ่มเติม »

STS-26

STS-26 เป็นภารกิจกระสวยอวกาศของนาซาครั้งที่ 26 และเป็นเที่ยวบินที่เข้าสู่วงโคจรครั้งที่ 7 ของกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี ภารกิจได้เริ่มต้นขึ้นที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี, รัฐฟลอริด้า ในวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1988 หลังจากนั้น 4 วัน ภารกิจได้สิ้นสุดในวันที่ 3 ตุลาคม STS-26 ได้รับตั้งสมญาว่า "รีเทริน์ ทู ไฟต์" (กลับสู่เที่ยวบิน) ซึ่งเป็นภารกิจแรกหลังจากเกิดภัยพิบัติกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 เป็นภารกิจแรกตั้งแต่ภารกิจ STS-9 โดยใช้รหัส STS แบบเดียวกัน ภารกิจนี้เป็นครั้งแรกที่สมาชิกลูกเรือทั้งหมดใส่ชุดความดันในตอนเริ่มภารกิจจนถึงสิ้นสุดภารกิจ และเป็นภารกิจแรกที่มีประสบการณ์ครั้งแรกนับตั้งแต่อะพอลโล 11 โดยมีลูกเรือทั้งหมดปฎิบัติภารกิจอย่างน้อยหนึ่งภารกิจก่อน.

ใหม่!!: ประเทศชาดและSTS-26 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+01:00

UTC+01:00 เป็นช่วงเวลาที่การชดเชยที่เพิ่ม 1 ชั่วโมง ไปยังเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC).

ใหม่!!: ประเทศชาดและUTC+01:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+02:00

UTC+02:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน: UTC +2 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ใหม่!!: ประเทศชาดและUTC+02:00 · ดูเพิ่มเติม »

.td

.td เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศชาด เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: ประเทศชาดและ.td · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศชาดและ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Chadสาธารณรัฐชาดชาด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »