โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฏิทินฮิจเราะห์

ดัชนี ปฏิทินฮิจเราะห์

ปฏิทินฮิจเราะห์ หรือ ปฏิทินอิสลาม หรือ ปฏิทินมุสลิม (อังกฤษ: Islamic calendar) เป็นระบบปฏิทินจันทรคติ ซึ่งประกอบด้วย 12 เดือนทางจันทรคติ ซึ่งในหนึ่งปีจะมี 354 หรือ 355 วัน ใช้กำหนดวันเหตุการณ์ในหลายประเทศมุสลิม (ควบคู่ไปกับปฏิทินเกรโกเรียน) และใช้โดยมุสลิมทั่วโลกเพื่อกำหนดวันที่เหมาะสมในการเฉลิมฉลองวันสำคัญและเทศกาลในศาสนาอิสลาม ปฏิทินฮิจเราะห์เริ่มนับเมื่อศาสดาแห่งอิสลาม นบีมุฮัมมัดอพยพจากมักกะฮ์ไปยังมะดีนะฮ์ หรือที่รู้จักกันว่า hijra, hijrah ในภาษาอังกฤษ ฮิจเราะห์ศักราชจะถูกระบุโดยใช้ตัวย่อ H หรือ AH อันเป็นตัวย่อของวลีภาษาละติน anno Hegirae (ในปีแห่งฮิจเราะห์) ปัจจุบันอยู่ในฮิจเราะห์ศักราช เนื่องจากปฏิทินฮิจเราะห์เป็นปฏิทินจันทรคติ จึงไม่เกิดขึ้นพร้อมกับฤดูกาล โดยในแต่ละปีมีวันคาดเคลื่อนไปจากปฏิทินเกรโกเรียนอยู่ 11 หรือ 12 วัน ทำให้ฤดูกาลจะกลับมาซ้ำเดิมทุก 33 ปีอิสลาม.

39 ความสัมพันธ์: ชะอ์บานช่วงเวลาในมักกะฮ์ฟาฏิมะฮ์การทดปฏิทินญุมาดัษษานียะฮฺมุฮัมมัดมุฮัรรอมรอบีอุลเอาวัลรายชื่อวันสำคัญรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถานลัยลัต อัล-ก็อดรฺวันหยุดในประเทศบรูไนวันอาชูรออ์วันอีดวันขึ้นปีใหม่ศักราชสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีอภิธานศัพท์ศาสนาอิสลามอัซซิซตานีย์ฮัจญ์ฮิจเราะห์ธงชาติอัฟกานิสถานดวงจันทร์ดาวฤกษ์คริสต์ศักราชซุลกิอฺดะฮฺซุลหิจญะฮฺปฏิทินปฏิทินสุริยคติเชาวาลเราะญับเราะมะฎอนเศาะฟัรเส้นเวลาของอนาคตอันใกล้เส้นเวลาของอนาคตไกลเหตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอมเดือน16 กรกฎาคม27 พฤษภาคม

ชะอ์บาน

ชะอ์บาน หรือสะกด ชะอฺบาน (شعبان | Sha'aban) คือเดือนที่ 8 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ หรือปฏิทินอิสลาม ถือว่าเป็นเดือนที่สำคัญเดือนหนึ่ง โดยเฉพาะในคืนวันเพ็ญของเดือนนี้ เรียกว่า นิศฟุชะอ์บาน (กลางเดือนชะอ์บาน) ตามมัซฮับชีอะหฺอิสลาม ถือเป็นวันเกิดของอิมามมะหฺดี และเป็นวันที่มุสลิมพึงกระทำอิบาดะหฺเป็นพิเศษ ด้วยการถือศีลอด และกระทำความดีอื่น ๆ หมวดหมู่:ปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ sv:Sha'ban.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และชะอ์บาน · ดูเพิ่มเติม »

ช่วงเวลาในมักกะฮ์

นี่คือช่วงเวลาของประวัติศาสตร์เมืองมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และช่วงเวลาในมักกะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาฏิมะฮ์

ฟาฏิมะห์ อัซ ซะรออ์ หรือ ท่าหญิงฟาฏิมะหฺ บิดาคือศาสดามุฮัมมัด มารดาคือท่านหญิงคอดีญะหฺ เป็นภรรยาของอะลี บินอะบีฏอลิบ เสียชีวิตในมะดีนะหฺ ปีฮิจญ์เราะหฺศักราชที่ 10 หลังบิดาเพียง 6 เดือน ท่านหญิงฟาฏิมะหฺ เป็นสตรีที่มีความสำคัญมากที่สุดในศาสนาอิสลาม นางไม่เพียงแต่เป็นบุตรสาวของศาสนทูตแห่งอิสลาม นางยังเป็นมารดาของท่านฮะซัน และท่านฮุซัยน์ ผู้ซึ่งมีบุตรหลานเป็นอิมามในสำนักคิดชีอะฮ์และบุคคลสำคัญมากมาย ท่านหญิงฟาติมะห์ มีบุตรและธิดารวมกันแล้ว4คน ได้แก่ ท่านอิมามฮะซัน อิมามฮุซัยน์ ท่านหญิงซัยนับ และท่านหญิงอุมมุลกุลซุม ท่านนั้นเสียมารดา(ท่านหญิงคอิยะฮ์)ตั้งแต่ยังเด็ก แล้วท่านก็เป็นผู้คอยปรนนิบัตรบิดาทุกอย่าง ท่านจึงได้สมยานมว่า "มารดาของผู้เป็นบิดา" หมายความว่าท่านนั้นคอยดูแลท่านนบีมูฮัมหมัดทุกอย่าง หมวดหมู่:ชาวอาหรับ หมวดหมู่:บุคคลในศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:บุคคลจากมักกะฮ์.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และฟาฏิมะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

การทดปฏิทิน

การทดปฏิทิน (intercalation) หมายถึง การเพิ่มเติมวัน หรือเดือน ลงในปฏิทินจันทรคติเพื่อให้ไม่เคลื่อนไปจากปฏิทินสุริยคติมากนัก การทดปฏิทินพบได้ในปฏิทินจันทรคติไทย ปฏิทินจันทรคติอิสลาม ปฏิทินจันทรคติจีน และปฏิทินจันทรคติภารตะ นอกจากนี้ การทดปฏิทินยังหมายถึงการเพิ่มวันที่ 29 กุมภาพันธ์ ในปีอธิกสุรทินอีกด้วย ปฏิทินจันทรคติไทยและภารตะ ปกติกำหนดให้เดือนเลขคี่มี 29 วัน ส่วนเดือนเลขคู่มี 30 วัน เรียกว่า ปีปกติมาสวาร ดังนั้นจำนวนวันทั้งหมดในหนึ่งปีจึงอยู่ที่ 354 วัน ซึ่งน้อยกว่าจำนวนวันในปีปกติสุรทินที่ 365 วัน เมื่อจัดเดือนตามวิธีปกติไปเรื่อย ๆ อาจสังเกตได้ว่าเดือน 12 ถอยร่นมาเป็นเดือนตุลาคม หากไม่ได้ทำอะไรเลย เดือน 12 ก็จะร่นมาที่เดือนกันยายน สิงหาคม...

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และการทดปฏิทิน · ดูเพิ่มเติม »

ญุมาดัษษานียะฮฺ

ญุมาดัลอาคิเราะฮ์ (جمادى الآخر أو جمادى الثاني) หรือ ญุมาดัษษานียะฮ์ นอกจากนี้ยังเรียกอีกว่า ญุมาดัลอาคิร และ ญุมาดัษษานี และ การสะกดไม่มาตรฐานอื่น ๆ ญุมาดิลอาคิเราะฮ์ ญุมาดิลอาคิเราะฮ์ ญุมาดิษษานี ญุมาดิษซานี เป็นเดือนที่ 6 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ หรือปฏิทินอิสลาม.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และญุมาดัษษานียะฮฺ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด

นบีมุฮัมมัด หรือ มุหัมมัด หรือ พระมะหะหมัด (محمد แปลว่า ผู้ได้รับการสรรเสริญ) เป็นนบีคนสุดท้ายของศาสนาอิสลาม ที่อัลลอฮ์ทรงแต่งตั้ง ท่านมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกหลายชื่อ เช่น มุสตอฟา, ฏอฮา, ยาซีน และ อะฮฺมั.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และมุฮัมมัด · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัรรอม

มุฮัรรอม (محرم) หรือที่คนไทยบางคนรู้จักกันในนาม "มะหะหร่ำ" เป็นเดือนแรกของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์หรือปฏิทินอิสลาม เป็นเดือนที่มุสลิมชีอะฮ์ไว้อาลัยต่ออิมามฮุเซน หลานตาศาสนทูตมุฮัมมัด ตั้งแต่วันที่ 1 จนถึงวันที่ 10 หรือที่เรียกว่าวันอาชูรออ์ มุสลิมในประเทศไทยและมาเลเซียจะร่วมกันทำขนมบูโบซูรอ หรือที่ชาวชีอะฮ์ในไทยเรียกว่า "หะยีส่า".

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และมุฮัรรอม · ดูเพิ่มเติม »

รอบีอุลเอาวัล

รอบีอุลเอาวัล (ربيع الاول) เดือนที่ 3 ในปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ เรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า เดือนเมาลิด เพราะเป็นเดือนที่ท่านนบีมุฮัมมัดประสูติ หมวดหมู่:ปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม sv:Rabi' al-Awwal.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และรอบีอุลเอาวัล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญ

วันสำคัญ คือ วันที่มีความสำคัญหรือมีความพิเศษในด้านใดด้านหนึ่ง โดยมีประเพณีหรืองานฉลองในวันสำคัญแต่ละวันแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และรายชื่อวันสำคัญ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน

หน้านี้คือรายการธงที่มีการใช้ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ลัยลัต อัล-ก็อดรฺ

ลัยลัต อัล-ก็อดรฺ (لیلة القدر&#x200E) มีความหมายว่า คืนแห่งการประทาน, คืนแห่งพลัง, คืนที่มีค่า, คืนแห่งโชคชะตา  เป็นคืนหนึ่งที่คนมุสลิมเชื่อว่าเป็นคืนที่โองการแรกของอัลกุรอ่านถูกประทานให้แก่ศาสดามุฮัมหมัด เป็นหนึ่งในคืนในสิบคืนสุดท้ายของเดือนรอมฎอน คนมุสลิมเชื่อว่าจะได้รับความเมตตาและพรจากอัลลอฮฺอย่างมากมาย ได้รับการอภัยโทษบาป การขอพรจะถูกตอบรับ และมีโองการในอัลกุรอ่านว่า จะมีเทวทูตลงมายังพื้นโลก โดยเฉพาะญิบรีล โดยกล่าวเป็น "วิญญาณอันบริสุทธ์" เพื่อทำภารกิจพิเศษที่มีคำสั่งโดยอัลลอ.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และลัยลัต อัล-ก็อดรฺ · ดูเพิ่มเติม »

วันหยุดในประเทศบรูไน

วันหยุดนักขัตฤกษ์ในบูรไน.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และวันหยุดในประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

วันอาชูรออ์

อาชูรออฺ แปลว่า วันที่ 10 ในที่นี้คือวันที่ 10 เดือนมุฮัรรอม(เดือนแรกของอิสลาม).

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และวันอาชูรออ์ · ดูเพิ่มเติม »

วันอีด

วันตรุษอีด หรือ วันอีด เป็นวันเฉลิมฉลองในศาสนาอิสลาม โดยในวันนี้จะมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น แต่งกายให้สะอาดเรียบร้อย ร่วมกันทำพิธีละหมาดวันอีดที่สนามหรือในมัสยิด เยี่ยมเยืยนญาติพี่น้อง รับประทานอาหารร่วมกัน เป็นต้น วันอีดมี 2 วันในแต่ละปีคือ.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และวันอีด · ดูเพิ่มเติม »

วันขึ้นปีใหม่

วันขึ้นปีใหม่ เป็นเวลาที่ปฏิทินปีใหม่เริ่มต้นและนับปีปฏิทินเพิ่มขึ้นหนึ่งปี วันขึ้นปีใหม่ในปฏิทินเกรโกเรียนที่ใช้กันทั่วโลกปัจจุบัน ตรงกับวันที่ 1 มกราคม อนึ่ง เทศกาลปีใหม่ อาจหมายถึงวันที่นับจากวันหยุดวันแรกในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนธันวาคมปีก่อน จนถึงวันหยุดสุดท้ายในสัปดาห์แรกของเดือนมกราคม สำหรับชาวคริสต์จะหยุดตั้งแต่คริสต์มาสไปจนถึงวันขึ้นปีใหม่ รวม 8 วัน.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และวันขึ้นปีใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ศักราช

ักราช (อังกฤษ: era) ช่วงเวลาที่จัดขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียกของบุคคลทั่วไป.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และศักราช · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี

รณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี (Sahrawi Arab Democratic Republic, SADR; الجمهورية العربية الصحراوية الديمقراطية; República Árabe Saharaui Democrática, RASD) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นจัดตั้งโดยแนวร่วมโปลีซารีโอเมื่อ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี · ดูเพิ่มเติม »

อภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม

ำศัพท์เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และอภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

อัซซิซตานีย์

อายะตุลลอฮฺ อัลอุซมา ซัยยิด อะลีย์ ฮุซัยนีย์ อัซซิซตานีย์ (นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "อายะตุลลอหฺ ซิซตานีย์" อาหรับ: السيد علي الحسيني السيستاني เปอร์เซีย: سید علی حسینی سیستانی) ผู้นำคนสำคัญที่สุดในโลกอิสลามชีอะหฺ เป็นมัรญิอฺตักลีดที่มีผู้ตามมากที่สุดในโลก และเริ่มเป็นที่รู้จักทั่วโลกหลังจากสหรัฐอเมริกาเข้ายึดครองอิรักในปี ค.ศ. 2003 ถือกำเนิดในปี ฮ.ศ. 1349 (ค.ศ. 1930) ในเมืองมัชฮัด ประเทศอิหร่าน ในครอบครัวของนักการศาสนาที่มีพื้นเพเดิมมาจากซิซตาน ในอิหร่าน ซึ่งสืบเชื้อสายจากนบีมุฮัมมัด หลังจากได้ศึกษาวิชาการศาสนาขั้นพื้นฐานจบเรียบร้อยแล้ว ได้ศึกษาวิชาปรัชญา และศาสนศาสตร์ต่อ และจบหลักสูตรการศึกษาในระดับสูงเกี่ยวกับกฎหมายอิสลาม (ฟิกหฺ) ที่เมืองมัชฮัด ประเทศอิหร่าน ซึ่งวิชาการส่วนมากท่านได้รับการถ่ายทอดจากท่านมิรฺซา มะหฺดีย์ อิศฟะฮานีย์ ในปี..

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และอัซซิซตานีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮัจญ์

การประกอบพิธีฮัจญ์ หรือ การทำหัจญ์ คือการเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจที่นครมักกะหฺในเดือนซุลฮิจญะหฺ ตามวันเวลา และสถานที่ต่าง ๆ ที่ทางศาสนาอิสลามกำหนดไว้ ซึ่งศาสนกิจข้อนี้เป็นหน้าที่สำหรับมุสลิมทั้งชายและหญิง ทุกคนที่มีความสามารถในด้านร่างกาย ทรัพย์สิน และการเดินทาง ที่จะต้องปฏิบัติ ในช่วงฮัจญ์ ชาวมุสลิมทั่วโลกจะเดินทางเข้าสู่อาระเบีย โดยก่อนอื่นจะมีการทำ อิหฺรอม นั่นคือการตั้งใจว่าจะทำพิธีฮัจญ์ ก่อนการเข้าไปในแผ่นดินหะรอม (แผ่นดินต้องห้าม) โดยจะปฏิบัติตามกฎของหัจญ์ อาทิเช่น การไม่สมสู่ การไม่ล่าสัตว์ในแผ่นดินหะรอม การไม่ตัดเล็บหรือผม การไม่เสริมสวยหรือใช้น้ำหอม ผู้ชายจะเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย มาสวมผ้าเพียงสองผืน แล้วต่างก็จะมาชุมนุมกันที่ ทุ่งอะร็อฟะหฺ ในตอนเช้าตรู่ของวันที่เก้าของเดือนซุลฮิจญะหฺ แล้วพอตกค่ำ ซึ่งตามปฏิทินฮิจญ์เราะหฺจะเป็นคืนที่สิบ เหล่านักแสวงบุญจะเดินทางผ่าน ทุ่งมุซดะลิฟะหฺ พักชั่วครู่หนึ่งก่อนที่จะมุ่งหน้าสู่ ทุ่งมีนา ก่อนเที่ยงของวันต่อไป ส่วนชาวมุสลิมทั่วโลกที่ไม่ได้ไปประกอบพิธีฮัจญ์ก็จะเฉลิมฉลองทำบุญเลี้ยงอาหารที่บ้าน เรียกวันนี้ว่าวันอีดิลอัฎฮา ทีเรียกว่าอัฎฮาเพราะมีการเชือดสัตว์พลีให้ผู้คนรับประทานในยามดุฮา คือยามสายหลังตะวันขึ้น แต่ก่อนเที่ยง หรือชาวไทยเชื้อสายมลายูในห้าจังหวัดภาคใต้เรียกว่าวันรายอ (รายาฮาญี) ซึ่งแปลเป็นไทยตามตรงก็คือ วันใหญ่ นั่นเอง นักแสวงบุญจะพักอยู่ที่ ทุ่งมีนา เป็นเวลาสามวัน เพื่อขอพรและบำเพ็ญตนตามพิธีฮัจญ์ หลังจากนั้นจึงเดินทางเข้ากรุงมักกะหฺ เพื่อฏอวาฟเวียนรอบ กะอฺบะฮฺ หรือที่เรียกว่า บัยตุลลอหฺ อันเป็นเสมือนเสาหลักของชุมทิศ ซึ่งตั้งอยู่ใน มัสยิด ฮะรอม (มัสยิดต้องห้าม) หลังจากนั้นผู้แสวงบุญก็จะเดินจากเนินเขาศอฟา สู่เนินเขามัรวะหฺ ซึ่งมีระยะทาง 450 เมตร ไปมาจนครบเจ็ดเที่ยว ระหว่างที่เดินก็จะกล่าวคำขอพรและคำวิงวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า เมื่อเสร็จพิธีนี้แล้วก็จะขริบผมหรือโกนหัว และผู้แสวงบุญก็จะหลุดพ้นจากภาวะ อิฮฺรอม การทำฮัจญ์เป็นพิธีกรรม ทางศาสนาที่เก่าแก่ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยศาสดาอิบรอฮีม การทำฮัจญ์เริ่มต้นขึ้นเมื่ออัลลอฮได้บัญชาให้ศาสดาอิบรอฮีม และศาสดาอิสมาอีล ผู้เป็นลูกชายร่วมกันทำนุบำรุง บัยตุลลอฮฺ ขึ้นมาเพื่อใช้เป็นสถานที่สำหรับการเคารพบูชาอัลลอฮ เมื่อซ่อมแซมเสร็จแล้ว พระองค์ก็ทรงบัญชาให้ศาสดาอิบรอฮีม เรียกร้องให้มนุษย์ชาติมาร่วมกันแสดงความจงรักภักดีต่อพระองค์ เมื่อกาลเวลาผ่านไป ชนรุ่นหลังได้อุตริรูปแบบการทำฮัจญ์ จนมันได้เปลี่ยนแปลงไปจากรูปแบบเดิมที่อัลลอหฺได้ทรงกำหนดไว้ เช่น มีการนำ เทวรูปต่าง ๆ มาตั้งรอบ ๆ กะอฺบะหฺ เพื่อบูชาในระหว่างการทำหัจญ์และมีการเปลือยกายในยามทำพิธีฏอวาฟ พร้อมกับกู่ร้องและปรบมือ จนกระทั่ง มาถึงสมัยของศาสดามุฮัมหมัด สิ่งแรกที่ท่านปฏิบัติก็คือการทุบทำลายเทวรูปและเจว็ดรอบข้างกะอฺบะหฺจนหมดสิ้น และท่านก็ได้แสดงแบบอย่างของการทำฮัจย์ที่ถูกต้องให้บรรดาผู้ศรัทธาได้ปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงวันนี้ หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และฮัจญ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิจเราะห์

หิจญเราะหฺ (هِجْرَة) เป็นการอพยพหรือการเดินทางของนบีมุฮัมมัดและผู้ติดตามจากเมกกะไปยังเมดินะ ตรงกับสากลศักราช 622 ในเดือนกันยายน 622 มุฮัมมัดได้รับคำเตือนว่ามีแผนจะลอบสังหารท่าน จึงได้เดินทางออกจากเมืองเมกกะอย่างลับ ๆ พร้อมด้วยอะบูบักรฺ อย่างไรก็ตามมีอยู่สองฮาดิส (hadith) ที่สรุปว่าอะบูบักรฺเป็นหนึ่งในบุคคลแรก ๆ ที่อพยพไปยังเมดินะ ก่อนการอพยพของมุฮัมมัด มุฮัมมัดและผู้ติดตามอพยพไปยังเมืองยาธริบ ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองเมกกะไปทางเหนือ 320 กิโลเมตร ยาธริบถูกเปลี่ยนชื่อเป็นมะดีนะตุนนบี ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งศาสดา" แต่คำว่า ตุนนบี ถูกกร่อนลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้นชื่อในภาษาอังกฤษจึงเหลือแต่เพียงเมดินะ ซึ่งหมายถึง "นคร"F.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และฮิจเราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัฟกานิสถาน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน แบบปัจจุบันนี้ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลชุดถ่ายโอนอำนาจของรัฐอิสลามของอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547) ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวตั้ง เป็นสีดำ-แดง-เขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน ในลักษณะภาพลายเส้นสีขาว ลักษณะของธงชาติยุคนี้ คล้ายคลึงกับธงชาติในสมัยราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน ช่วง พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2516 โดยมีความแตกต่างสำคัญที่มีการบรรจุภาพอักษรที่เรียกว่า ชะฮาดะฮ์ เป็นข้อความซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ข้าพเจ้านับถือว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากอัลลอหฺ และศาสดามุฮัมมัดคือ​ศาสนทูตแห่งอัลลอหฺ" ที่ตอนบนของภาพตรา วันที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการคือวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ในยุดก่อนสมัยการปกครองของกลุ่มตอลิบานและแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน ธงชาติในยุคนี้มีการใช้ภาพตราแผ่นดินแบบเดียวกับกับธงยุคปัจจุบัน แต่แถบสีนั้นเป็นแถบสีดำ-ขาว-เขียว เรืยงแถบสีธงตามแนวนอน ประเทศอัฟกานิสถาน ถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธงชาติในสมัยต่างๆ ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มากครั้งที่สุด มากกว่าชาติอื่นใดในโลกนี้.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และธงชาติอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ดวงจันทร์

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107).

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศักราช

ริสต์ศักราช (Anno Domini Nostri Iesu Christi Anno Domini: AD หรือ A.D. ส: คฺฤสฺตศกฺราช ป: คิตฺถสกฺกาช) เขียนย่อว.. หมายถึง ปีของพระเยซูคริสต์ โดยเริ่มนับจากปีที่เชื่อว่าพระเยซูทรงประสูติ เป็น..

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และคริสต์ศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ซุลกิอฺดะฮฺ

ซุลกิอฺดะฮฺ หรือ ซุลเกาะอฺดะฮฺ (ذو القعدة) คือเดือนที่ 11 ของของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์หรือปฏิทินอิสลาม เป็นเดือนที่มุสลิมเริ่มเตรียมตัวเพื่อเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ หมวดหมู่:ปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม sv:Dhu-l-Qa'dah.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และซุลกิอฺดะฮฺ · ดูเพิ่มเติม »

ซุลหิจญะฮฺ

ซุลหิจญะฮฺ (ذو الحجة) คือเดือนที่ 12 ในปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์เป็นเดือนที่ชาวมุสลิมเดินทางไปมักกะฮฺเพื่อประกอบพิธีหัจญ์ ในเดือนนี้มีวันสำคัญคือ วันอีดุลอัฏฮา นอกจากนี้สิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺยังเป็นช่วงเวลาที่มีความประเสริฐอย่างยิ่งสำหรับชาวมุสลิม ซึ่งอัลลอฮฺได้ตรัสไว้ในอัลกุรอานมีความหมายว่า “และจงประกาศแก่มนุษย์ทั่วไปเพื่อการทำหัจญ์ พวกเขาจะมาหาเจ้าโดยทางเท้าและโดยทางอูฐเพรียวทุกตัว จะมาจากทางไกลทุกทิศทาง เพื่อพวกเขาจะได้มาร่วมเป็นพยานในผลประโยชน์ของพวกเขา(ด้านโลกและด้านศาสนา) และกล่าวพระนามอัลลอฮ ในวันที่รู้กันอยู่แล้ว (คือวันเชือด) ตามที่พระองค์ทรงประทานปัจจัยยังชีพแก่พวกเขาจากสัตว์สี่เท้า ดังนั้นพวกเธอจงกินเนื้อของมัน และจงให้อาหารแก่ผู้ยากจนขัดสน” (ซูเราะฮฺอัลหัจญ์ อายะฮฺ 27-28) และในการบันทึกของอิมามบุคอรีย์และอบูดาวูด รายงานโดยท่านอิบนุอับบาสจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “ไม่มีวันใดๆ การกระทำอันดีงามที่อัลลอฮฺโปรดจะถูกกระทำในวันนั้นดีกว่าการกระทำสิ่งดีๆในบรรดาวันนี้(คือสิบวันแรกของซุลหิจญะฮฺ)” ศ่อฮาบะฮฺได้กล่าวว่า “แม้กระทั่ง(ดีกว่า)การทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺกระนั้นหรือ” ท่านนบีตอบว่า “แม้กระทั่งการทำญิฮาด(หมายถึงจะไม่ดีกว่าการทำความดีในสิบวันแรกของซุลหิจญะฮฺ) เว้นแต่ชายคนหนึ่งออก(จากบ้าน)ด้วยชีวิตและทรัพย์สิน(เพื่อทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ) และไม่มีสิ่งใดจากนั้น(ชีวิตและทรัพย์สิน)ได้กลับมาเลย” ท่านหญิงอาอิชะฮฺรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า "ไม่มีวันใดที่อัลลอฮฺทรงปลดปล่อยบรรดาบ่าวของพระองค์จากนรกมากกว่าวันอะรอฟะฮ(วันที่ 9 ซุลหิจญะฮฺ) และแท้จริงพระองค์จะทรงอยู่ใกล้ชิดและทรงภูมิใจ(ด้วยการขยันทำความดีของบ่าวของพระองค์)ต่อมะลาอิกะฮฺ โดยพระองค์จะตรัส(ด้วยความภูมิใจ)ว่า คนเหล่านี้ประสงค์อะไรกัน(หมายถึงกล่าวถึงความปรารถนาอันทรงเกียรติของบ่าวของอัลลอฮฺที่แสวงบุญในวันอะรอฟะฮฺ)” บันทึกโดยอิมามมุสลิม การทำความดีในสิบวันแรกของซุลหิจญ.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และซุลหิจญะฮฺ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทิน

ปฏิทินโบราณของฮินดู ปฏิทิน คือระบบที่ใช้ในการเรียกชื่อช่วงระยะเวลา เช่น วัน เป็นต้น วันจะขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่วัตถุทางดาราศาสตร์ เราสามารถแสดงปฏิทินได้ในหลายรูปแบบ ส่วนมากมักเป็นกระดาษ เช่น แบบฉีก แบบแขวน แบบตั้งโต๊ะ เป็นต้น.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และปฏิทิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และปฏิทินสุริยคติ · ดูเพิ่มเติม »

เชาวาล

วาล (شوال | Shawwal) เดือนที่ 9 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮฺ หรือปฏิทินอิสลาม.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเชาวาล · ดูเพิ่มเติม »

เราะญับ

ราะญับ หรือสะกด รอญับ (رجب) เป็นชื่อของเดือนที่ 7 ของปฏิทินฮิจญ์เร.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเราะญับ · ดูเพิ่มเติม »

เราะมะฎอน

ี้ยวของรอมฎอน เราะมะฎอน (رمضان; Ramadan) หรือสะกด "รอมะฎอน" หรือ "รอมฎอน" คือเดือนที่ 9 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ในศาสนาอิสลาม เป็นเดือนที่มุสลิมถือศีลอดทั้งเดือน ด้วยเหตุนี้จึงเรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "เดือนบวช" และถือว่าเป็นเดือนที่สำคัญที่สุดเดือนหนึ่ง มุสลิมจะต้องอดอาหารเพื่อที่จะได้เข้าถึงอัลลอฮ์ และเพื่อให้มีความอดทน (ตบะ), การอุทิศส่วนกุศล ระลึกถึงภาวะขาดแคลนอาหาร และผู้ที่ไม่ได้รับการดูแลจากสังคม เช่น คนยากจน เป็นต้น เดือนนี้ยังเป็นเดือนที่อัลกุรอานได้ถูกประทานลงมาเป็นทางนำให้กับมนุษย์ มุสลิมจึงต้องอ่านอัลกุรอาน เพื่อศึกษาถึงสิ่งที่พระเจ้าต้องการให้มนุษย์รู้ว่าการเป็นอยู่ในโลกนี้ และโลกหน้าจะเป็นอย่างไร จะต้องปฏิบัติธรรมะเพื่อตนเองอย่างไรบ้าง กิจกรรมพิเศษของมุสลิมนิกายซุนนี คือการละหมาดตะรอเวียะฮ์ในยามค่ำของเดือนนี้ เมื่อสิ้นเดือนเราะมะฎอนแล้ว จะมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 1 เดือนเชาวาล เรียกว่า อีดุลฟิฏริ หรือ วันอีดเล็ก ในปี พ.ศ. 2549 เดือนเราะมะฎอน (ฮ.ศ. 1426) เริ่มเมื่อวันที่ 21 กันยายน (ซาอุดีอาระเบีย อ่าวเปอร์เซีย และบางส่วนของในตะวันออกกลาง) และวันที่ 24 กันยายน ในที่อื่น ๆ (รวมทั้งส่วนอื่น ๆ ของตะวันออกกลาง) โดยมีกำหนดถึงวันที่ 21 ตุลาคม.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเราะมะฎอน · ดูเพิ่มเติม »

เศาะฟัร

เศาะฟัร (صفر) คือเดือนที่ 2 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์หรือปฏิทินอิสลาม หมวดหมู่:ปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเศาะฟัร · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของอนาคตอันใกล้

้นเวลาของอนาคตอันใกล้ นี้เป็นการคาดเดาหรือคำนวณไว้จากปัจจุบันจนถึงสิ้นคริสต์ศตวรรษที่ 23.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเส้นเวลาของอนาคตอันใกล้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของอนาคตไกล

ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเส้นเวลาของอนาคตไกล · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอม

หตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอม เกิดขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม..1979 เมื่อกลุ่มหัวรุนแรงต้องการที่จะโค่นราชวงค์ซะอู๊ด ยึดครองมัสยิด อัล-ฮะรอม ที่มักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย มูฮัมหมัด อับดุลลอฮ์ อัล-กอฮ์ตานีได้อ้างว่าตนเป็นมะฮ์ดี (ผู้ฟื้นฟูอิสลาม) แล้วเรียกให้มุสลิมทุกคนเชื่อฟังเขา โดยประมาณสองสัปดาห์ กองกำลังพิเศษของซาอุดีอาระเบียได้รับสนับสนุนกองทัพจากปากีสถานและฝรั่งเศส แล้วสู้เพื่อยึดมัสยิดกลับคืนมา เรื่องนี้ทำให้โลกอิสลามตกใจ เพราะมีการยึดสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลาม, นำตัวประกันจากผู้แสวงบุญ และการตายของผู้ก่อการร้าย, กองกำลังรักษาความปลอดภัย และตัวประกันมากกว่าร้อยชีวิต การยึดได้สิ้นสุดลงภายในสองสัปดาห์และมัสยิดได้ถูกทำความสะอาดให้เรียบร้อย อัล-กอฮ์ตานีถูกฆ่าในระหว่างการจับกุม แต่ญุฮัยมานและผู้ติดตามอีก 67 คนถูกจับแล้วถูกประหารชีวิตโดยการตัดหัว.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเหตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอม · ดูเพิ่มเติม »

เดือน

ือน คือชื่อเรียกดวงจันทร์ เช่นเดือนหงาย หรือเดือนดับ หรือเป็นหน่วยวัดระยะเวลา เท่ากับระยะเวลาที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก ซึ่งมีระยะประมาณ 29.53 วัน โดยปกติ หนึ่งเดือน หมายถึงช่วงเวลาประมาณ 30 วัน เดือนมีวิธีการนับต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และเดือน · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปฏิทินฮิจเราะห์และ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฮิจญ์เราะหฺศักราชฮิจญ์เราะห์ศักราชฮิจเราะห์ศักราชปฏิทินอิสลามปฏิทินฮิจญ์เราะหฺปฏิทินฮิจญ์เราะฮฺปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์เดือนอิสลาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »