โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ธรรมบาล

ดัชนี ธรรมบาล

นาพุทธในประเทศจีนนับอดีตกาลมา นับถือกันว่า ธรรมบาลยี่สิบสี่พระองค์ คือเหล่าพระโพธิสัตว์กลุ่มหนึ่งตั้งจิตปรารถนาให้ปวงสรรพสัตว์ได้บำเพ็ญบารมีโดยสะดวก จึงพร้อมกันตั้งปณิธานเป็นผู้คุ้มครองอารักขาพระธรรมแห่งพระองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเหล่าพุทธบริษัทผู้ดำเนินตามพระรัตนตรัย พระโพธิสัตว์ผู้เป็นธรรมบาลคุ้มครองพระศาสนาเหล่านี้ มีปรากฏพระนามอยู่ในสุวรรณประภาโสตตมราชาสูตร(กิมกวงเม้งจุ้ยเส่งอ้วงเก็ง) ฝ่ายมหายาน พระสูตรนี้ กล่าวถึงเหล่าพระโพธิสัตว์ ท้าวจตุโลกบาลและเหล่าทวยเทพทั้งหลายซึ่งปรากฏชื่อทั้งหมดมี 24 พระองค์ พร้อมกันตั้งปณิธานต่อเบื้องหน้าพระพักตร์แห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอถึงรัตนตรัยเป็นที่พึ่งและประกาศตนเป็นธรรมบาลคุ้มครองพระสัทธรรมและเหล่าพุทธบริษัท ให้บำเพ็ญบุญบารมีโดยยิ่งขึ้น พระสูตรนี้จึงเป็นที่มาของพิธีบูชาเทพธรรมบาลโพธิสัตว์ (พิธีก้งจูเทียน)ในปัจจุบัน.

7 ความสัมพันธ์: พระพรหม (ศาสนาพุทธ)พระนางวสุนธาราโพธิสัตว์พระเวทโพธิสัตว์มหากาฬรายพระนามเทวดาจีนรายนามพระโพธิสัตว์ท้าวสักกะ

พระพรหม (ศาสนาพุทธ)

ในศาสนาพุทธ พระพรหม เป็นชาวสวรรค์ชั้นสูงกว่าเทวดาในฉกามาพจร และยังเวียนว่ายตายเกิดด้วยอำนาจกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ แต่ในภพชาติก่อนจุติและปฏิสนธิเป็นพรหมมีกุศลมาก มีฌาณสมาบัติเป็นอารมณ์ เมื่อตายจึงไปเกิดที่สวรรค์ชั้นนี้) อยู่ในสวรรค์ที่เรียกว่าพรหมภูมิ (หรือพรหมโลก) พระพรหมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พรหมที่มีรูป เรียกว่า "รูปพรหม" มีทั้งหมด 16 ชั้น และพรหมที่ไม่มีรูป เรียกว่า "อรูปพรหม" มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยอรูปพรหมจะสูงกว่ารูปพรหม.

ใหม่!!: ธรรมบาลและพระพรหม (ศาสนาพุทธ) · ดูเพิ่มเติม »

พระนางวสุนธาราโพธิสัตว์

ติพุทธศาสนามหายาน ศิลปะเนปาล พระนางวสุนธาราโพธิสัตว์ (坚牢地神Vasudhārā bodhisattva.)เป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายหญิงตามความเชื่อของพุทธศาสนามหายาน พุทธศาสนาวัชรยานและศาสนาเต๋า โดยนับถือว่าพระโพธิสัตว์พระองค์หนึ่ง โดยตรงกับพระแม่ธรณีในพุทธศาสนาเถรวาทและพระแม่ปฤถวีหรือพระแม่ภูมี ในศาสนาฮินดู ในประเทศจีนและได้รับการนับถือมากและปรากฎร่วมกันในคณะเทพธรรมบาล.

ใหม่!!: ธรรมบาลและพระนางวสุนธาราโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเวทโพธิสัตว์

ระเวทโพธิสัตว์ เป็นเทพธรรมบาลผู้ปกป้องพุทธศาสนาตามความเชื่อของชาวพุทธมหายานในจีน ตรงกับพระขันธกุมารของศาสนาฮินดู มีหน้าที่กำราบผู้จะทำให้ศาสนาเสื่อมเสีย คอยดูแลวัดวาอารามต่างๆ ลักษณะของพระองค์จะแต่งกายแบบนักรบจีน ในมือถือคทา โดยในสมัยโบราณ ผู้เดินทางที่จะไปค้างคืนตามวัดจะสังเกตรูปปั้นของพระเวทโพธิสัตว์ในวัดว่าถือคทาอย่างไร ถ้าถือไว้ในมือหรือประนมมือแสดงว่าอนุญาตให้เข้าพักได้ แต่ถ้าถือจรดพื้นแสดงว่าไม่อนุญาตให้เข้าพัก ในคัมภีร์ปัจจุบันสมัยภัทรกัลป์สหัสพุทธนามสูตร ได้ระบุว่าพระเวทโพธิสัตว์จะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าองค์สุดท้ายในกัปป์ปัจจุบันคือภัทรกัปปป์ มีพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วว่า พระรุจิพุทธเจ้.

ใหม่!!: ธรรมบาลและพระเวทโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

มหากาฬ

มหากาฬ มหากาฬ เป็นยิดัมและธรรมบาลตามความเชื่อของชาวพุทธในทิเบต สังกัดรัตนโคตรของพระรัตนสัมภวะพุทธะ มีลักษณะคล้ายเหรุกะ ภาคดุร้ายมี 16 แขน มือถือหัวกะโหลกและกริช มีเปลวไฟพวยพุ่งรอบกาย สวมมงกุฏกระโหลก มีมาลัยร้อยด้วยศีรษะมนุษย์ มีงูพันรอบกาย บางท้องที่เชื่อว่าท่านเป็นเจ้าแห่งนาค ปกครองนาคที่ดูแลทรัพย์สมบัติเบื้องล่าง จึงถือเป็นเทพเจ้าแห่งความมั่งคั่งองค์หนึ่ง ในจีนและญี่ปุ่นถือเป็นเทพเจ้าแห่งโชค บางแห่งถือว่าท่านเป็นเทพแห่งการพักแรม ในอินเดียถือว่าท่านเป็นเทพองค์เดียวกับท้าวกุเวร.

ใหม่!!: ธรรมบาลและมหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเทวดาจีน

ทความนี้รวบรวมเทพเจ้าของจีนต่าง.

ใหม่!!: ธรรมบาลและรายพระนามเทวดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามพระโพธิสัตว์

ระโพธิสัตว์ คือบุคคลที่บำเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พระโพธิสัตว์สำคัญตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายานมีดังนี้ พระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์ พระจันทรประภาโพธิสัตว์ และพระสุริยประภาโพธิสัตว์ พระจุนทีโพธิสัตว์ พระนางตารา พระนาคารชุนะ พระปัทมสัมภวะ พระนางปรัชญาปารมิตา พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ นางวสุธระ พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ พระศรีอริยเมตไตรย พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระอากาศครรภโพธิสัตว.

ใหม่!!: ธรรมบาลและรายนามพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสักกะ

การดำเนินตามทางสายกลางน่าจะเป็นทางที่จะทำให้ตรัสรู้ได้มากกว่าการทรมานตนเอง สักกะ (สกฺก) หรือ ศักระ (शक्र ศกฺร; ความหมาย: ผู้องอาจ ผู้สามารถ) เป็นชื่อของเทพผู้ปกครองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในจักรวาลวิทยาของศาสนาพุทธ ปรากฏนามในภาษาบาลีว่า สกฺโก เทวานํ อินฺโท (शक्रो देवानं इन्द्रः ศกฺโร เทวานํ อินฺทฺรห์) หมายถึง "สักกะผู้เป็นใหญ่เหนือทวยเทพทั้งหลาย" ในคัมภีร์ทางศาสนาพุทธ คำว่า "สักกะ" ถือเป็นวิสามานยนาม ไม่อาจใช้เรียกเทพองค์อื่นได้ ในทางตรงกันข้าม คำว่า อินฺท (ภาษาบาลี) หรือ อินฺทฺร (ภาษาสันสกฤต) ซึ่งมีความหมายว่า "ผู้เป็นใหญ่" ใช้หมายถึงท้าวสักกะอยู่บ่อยครั้ง เทพสักกะมักเรียกขานว่า "ท้าวสักกเทวราช" หรือย่อว่า "ท้าวสักกะ" ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก ท้าวสักกะเป็นที่รู้จักในนาม "ตี้ซื่อเทียน" (帝釋天) หรือ "ซื่อถีหฺวันอิน" (釋提桓因) ในภาษาจีน และ "ไทชะกุเท็น" (帝釈天) ในภาษาญี่ปุ่น สำหรับในประเทศจีนแล้ว บางครั้งมีการเปรียบเทียบว่าท้าวสักกะคือเง็กเซียนฮ่องเต้ (玉皇大帝) หรือจักรพรรดิหยกในลัทธิเต๋า ด้วยถือว่าเทพทั้งสององค์นี้มีวันประสูติเป็นวันเดียวกัน คือ ในวันที่ 9 เดือนที่ 1 ตามปฏิทินจันทรคติจีน (โดยปกติจะอยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ตามปฏิทินสุริยคติ) ในฤคเวท อันเป็นวรรณคดีภาษาสันสกฤตในศาสนาฮินดู คำว่า "ศักระ" อันเป็นนามของท้าวสักกะในภาษาสันสกฤตนั้น ใช้แทนตัวเทพอินทระหรือพระอินทร์อยู่บ่อยครั้ง แต่ในศาสนาพุทธ ตำนานและบุคลิกลักษณะของท้าวสักกะแตกต่างไปจากพระอินทร์ในพระเวทอย่างสิ้นเชิง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งเป็นที่สถิตของท้าวสักกะตั้งอยู่เหนือยอดเขาพระสุเมรุ ซึ่งตามคติเรื่องไตรภูมิ ถือว่าภูเขาแห่งนี้เป็นศูนย์กลางของโลก อันมีพระอาทิตย์และพระจันทร์เวียนโคจรโดยรอบ สวรรค์ชั้นนี้นับเป็นสวรรค์ชั้นที่สูงที่สุดที่เชื่อมต่อกับมนุสสภูมิ (โลกมนุษย์) โดยตรง ท้าวสักกะมีชีวิตที่ยาวนานเช่นเดียวกับเทพทั้งหลาย หากแต่ก็มีวาระที่จะหมดอายุขัยตามแรงบุญของตนเองเช่นกัน ในยามที่ท้าวสักกะจะต้องจุติ (ตาย) เมื่อจิตดับไปแล้ว จะบังเกิดท้าวสักกะองค์ใหม่ (ซึ่งอาจเป็นเทพองค์อื่น) ขึ้นแทนที่ท้าวสักกะองค์เดิมทันที เรื่องราวของท้าวสักกะในทางพระพุทธศาสนาทั้งไม่ว่าจะในอดีตหรือในปัจจุบัน (ในช่วงที่บันทึกพระไตรปิฎก) ปรากฏอยู่ในชาดกและพระสูตรต่าง ๆ ซึ่งโดยมากจะอยู่ในหมวดสังยุตตนิกาย ชื่อท้าวสักกะปรากฏในพระสูตรหลายตอน และมักมีบทบาทเป็นผู้กราบทูลขอคำปรึกษาจากพระโคดมพุทธเจ้าในปัญหาธรรมต่าง ๆ ถือกันว่าพระองค์เป็นธรรมบาล (ผู้คุ้มครองธรรม) ในพุทธศาสนาร่วมกับเหล่าพรหมทั้งหล.

ใหม่!!: ธรรมบาลและท้าวสักกะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ธรรมบาลยี่สิบสี่พระองค์เทพธรรมบาลจีน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »