โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทะเลเบริง

ดัชนี ทะเลเบริง

ทะเลเบริง (Берингово мо́ре; Bering Sea) ตั้งอยู่ทางมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางใต้ช่องแคบแบริ่งที่กั้นระหว่างประเทศรัสเซียและสหรัฐอเมริกา ทางใต้มีหมู่เกาะคอมมานเดอร์กั้นระหว่างทะเลกับมหาสมุทรแปซิฟิค ทะเลแบริ่งมีความลึกมากเพราะใต้ทะเลมีหุบเหว ทะเลแห่งนี้มีความลึกโดยเฉลี่ย 1,600 เมตร จุดที่ลึกที่สุดมีความลึก 4,151 เมตร แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลลงสู่ทะเลแห่งนี้คือแม่น้ำอะนาดึร ที่ทะเลแห่งนี้เป็นแหล่งการประมงหลากหลายชนิด เช่น ปลาในตระกูลปลาแซลมอน ปลาในตระกูลปลาซาดีน และปูอลาสก้า หมวดหมู่:ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ทะเลในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ทะเลเบริง หมวดหมู่:รัฐอะแลสกา หมวดหมู่:เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ.

60 ความสัมพันธ์: บรอบ์ดิงแนกช่องแคบเบริงการสำรวจมหาสมุทรแปซิฟิกรัฐอะแลสการายชื่อทะเลหมู่เกาะรูปโค้งหมู่เกาะอะลูเชียนหมู่เกาะคอมมานเดอร์ทะเลชุกชีทะเลญี่ปุ่นคาบสมุทรอะแลสกาคาบสมุทรซูเอิร์ดประเทศรัสเซียปลาแซลมอนแปซิฟิกแบริ่งเส้นขนานที่ 55 องศาเหนือเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก...เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาเขตชีวภาพพาลีอาร์กติก ขยายดัชนี (10 มากกว่า) »

บรอบ์ดิงแนก

รอบ์ดิงแนก (อังกฤษ: Brobdingnag) เป็นดินแดนสมมติของ กัลลิเวอร์ผจญภัย แต่งโดย โจนาธาน สวิฟต์ ประเทศของยักษ์ เลอมูเอล กัลลิเวอร์ ค้นพบมัน หลังจากที่เรือของเขาพลิกคว่ำลง และได้ผจญภัยในดินแดนประหลาดแห่งนี้ คำว่า บรอบ์ดิงแนกเกียน (ชาวบรอบ์ดิงแนก) มีความหมายที่บรรยายถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มาก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและบรอบ์ดิงแนก · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบเบริง

ทางอากาศของช่องแคบเบริง ช่องแคบเบริง (Bering Strait; Берингов пролив Beringov proliv) เป็นช่องทะเลเล็ก ๆ ระหว่างแหลมเดจเนฟ ประเทศรัสเซีย จุดตะวันออกสุดของทวีปเอเชีย (169°43' ตะวันตก) กับแหลมพรินซ์ออฟเวลส์ รัฐอะแลสกา จุดที่อยู่ตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ (168°05' ตะวันตก) อยู่ค่อนมาทางใต้เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลเล็กน้อย เป็นหนึ่งในช่องแคบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ชื่อของช่องแคบได้มาจากชื่อนักสำรวจชาวเดนมาร์ก นามว่าไวทัส เบริง นักสำรวจชาวเดนมาร์กในกองทัพเรือรัสเซีย ซึ่งเดินทางข้ามช่องแคบในปี..

ใหม่!!: ทะเลเบริงและช่องแคบเบริง · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจ

นักสำรวจ คาซิเมียร์ โนวัก การสำรวจ (Exploration) คือการค้นหาเพื่อบรรลุเป้าหมายของการค้นพบหรือทรัพยากร การสำรวจเกิดขึ้นในทุกสิ่งมีชีวิตที่มีการเคลื่อนไหวรวมถึงมนุษย์ ในประวัติศาสตรของมนุษย์การสำรวจที่มีอิทธิพลมากที่สุดอยู่ในช่วงยุคแห่งการค้นพบเมื่อนักสำรวจชาวยุโรปแล่นเรือและเขียนแผนที่ในพื้นที่ส่วนที่เหลือของโลกด้วยเหตุผลหลายประการ ตั้งแต่นั้นมาการสำรวจครั้งใหญ่หลังยุคแห่งการสำรวจเกิดขึ้นจากการค้นพบข้อมูลสำคัญเป็นเหตุผลส่วนใหญ่ ในระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจเป็นหนึ่งในสามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประจักษ์ (อีกสองอย่างคือการพรรณาและการอธิบาย).

ใหม่!!: ทะเลเบริงและการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอะแลสกา

รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".

ใหม่!!: ทะเลเบริงและรัฐอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทะเล

ทะเลคือพื้นที่น้ำเกลือที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทร หรือทะเลขนาดใหญ่ที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล (เช่น ทะเลแคสเปียน และทะเลเดดซี) .

ใหม่!!: ทะเลเบริงและรายชื่อทะเล · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะรูปโค้ง

หมู่เกาะรูปโค้ง (island arc) เป็นหมู่เกาะประเภทหนึ่งเกิดขึ้นจากเพลตเทคโทนิกด้วยแผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรมุดตัวลงใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่งทำให้เกิดหินหนืด (magma) หมู่เกาะรูปโค้งที่เกิดขึ้นตามขอบของแผ่นเปลือกทวีป (เช่น ส่วนใหญ่ของแอนดีส อเมริกากลาง แนวเทือกเขาแคนา) อาจเรียกว่า volcanic arc การสูญเสียของสารระเหยของแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัวในเขตมุดตัวของเปลือกโลกทำให้สิ่งหลอมเหลวบางส่วนของเนื้อโลกด้านบนเกิดเป็นหินหนืดของแคลซ์-อัลคาไลน์ที่มีความหนาแน่นต่ำจึงเบาตัวดันแทรกซอนขึ้นมาผ่านแผ่นชั้นธรณีภาคที่อยู่ด้านบน ผลได้ทำให้เกิดเป็นแนวภูเขาไฟเรียงรายยาวขนานไปกับขอบเขตรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นที่กำลังเคลื่อนที่ลู่เข้าหากันและโค้งออกด้านนอกเข้าหาแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัว ลักษณะนี้เป็นผลเนื่องมาจากหลักเรขาคณิตของการย่นตัวของแผ่นเปลือกโลกเป็นรูปทรงกลมไปตามแนวบนผิวทรงกลมหนึ่งๆ ด้านที่กำลังมุดตัวของหมู่เกาะรูปโค้งจะเป็นร่องลึกก้นสมุทรที่แคบและลึกซึ่งเป็นร่องรอยบนพื้นผิวโลกที่แสดงถึงขอบเขตรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัวกับแผ่นเปลือกโลกที่วางขี่ทับอยู่ด้านบน แนวร่องลึกนี้เกิดขึ้นจากการดึงโดยแรงโน้มถ่วงของแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัวซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าลากดึงลงไป มีการเกิดแผ่นดินไหวตามแนวขอบเขตการมุดตัวนี้โดยมีจุดไฮโปเซนเตอร์ของการไหวสะเทือนอยู่ที่ระดับที่ลึกลงไปใต้แนวหมู่เกาะรูปโค้งนี้ เรียกแนวการเกิดไหวสะเทือนนี้ว่าแนววาดาติ-เบนนิออฟ (Wadati-Benioff) แอ่งมหาสมุทรที่กำลังลดขนาดลงด้วยการมุดตัวนี้เรียกว่า ‘มหาสมุทรส่วนที่เหลือ’ (remnant ocean) ด้วยมันกำลังหดตัวลงอย่างช้าๆและบดขยี้จากการชนกันของแผ่นเปลือกโลก กระบวนการนี้เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่าตลอดประวัติทางธรณีวิทยาของโลกใบนี้.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและหมู่เกาะรูปโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะอะลูเชียน

หมู่เกาะอะลูเชียน (Aleutian Islands) เป็นหมู่เกาะในสหรัฐอเมริกา ครอบคลุมพื้นที่ 6,821 ตร.ไมล์ (17,666 กม²) ทอดตัวไปทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอะแลสกายาว 1,200 ไมล์ (1,931 กม.) สหรัฐอเมริกาซื้อหมู่เกาะนี้จากรัสเซีย เมื่อ..

ใหม่!!: ทะเลเบริงและหมู่เกาะอะลูเชียน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะคอมมานเดอร์

แผนที่แสดงตำแหน่งของเกาะคอมมานเดอร์ เกาะใหญ่สุดทางตะวันตกคือเกาะเบริง เกาะเล็กกว่าคือเกาะเมดนี หมู่เกาะคอมมานเดอร์ (Commander Islands) หรือ หมู่เกาะคอมันดอร์สกี หรือ คอมันดอร์สกีเยอออสโตรวา (Командо́рские острова́, Komandorskiye ostrova) เป็นหมู่เกาะในประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของคาบสมุทรคัมชัตคา ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเบริง เป็นส่วนหนึ่งของคาบารอฟสค์ไคร ประกอบด้วยเกาะเบริง (ยาว 95 กิโลเมตร กว้าง 15 กิโลเมตร), เกาะเมดนี (ยาว 55 กิโลเมตร กว้าง 5 กิโลเมตร) และอีก 15 เกาะเล็ก หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและหมู่เกาะคอมมานเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลชุกชี

แผนที่ตั้งทะเลชุกชี นักวิทยาศาสตร์บนน้ำแข็งในทะเลชุกชี ทะเลชุกชี (Чукотское мо́ре; Chukchi Sea) ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของทะเลทั้งหมดในประเทศรัสเซีย ทางตะวันออกติดกับอะแลสกา ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดกับทะเลเบริง กิจกรรมที่สำคัญบริเวณทะเลแห่งนี้คือการล่าแมวน้ำเพื่อการประมง และการล่าปลาคอร์ท.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและทะเลชุกชี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลญี่ปุ่น

ทะเลญี่ปุ่น เป็นทะเลชายอาณาเขตทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างแผ่นดินใหญ่เอเชีย หมู่เกาะญี่ปุ่น และเกาะซาฮาลิน ล้อมรอบด้วยประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ และรัสเซีย เป็นผืนน้ำที่ถูกปิดกั้นจากมหาสมุทรแปซิฟิกเกือบสมบูรณ์ ทำให้แทบไม่มีปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลง ซึ่งคล้ายกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และความโดดเดี่ยวเช่นนี้ยังทำให้จำนวนชนิดพันธุ์สัตว์และความเค็มของน้ำมีน้อยกว่าในมหาสมุทร ภายในพื้นที่ไม่มีเกาะ อ่าว หรือแหลมขนาดใหญ่ สมดุลของน้ำได้รับอิทธิพลอย่างมากจากกระแสน้ำที่ไหลเข้าและออกผ่านช่องแคบต่างๆ ที่เชื่อมต่อกับทะเลรอบข้างและมหาสมุทรแปซิฟิก ขณะที่แม่น้ำที่ไหลลงสู่ทะเลแห่งนี้มีจำนวนน้อย จึงมีผลต่อปริมาตรน้ำในทะเลเพียงไม่เกินร้อยละ 1 น้ำในทะเลญี่ปุ่นมีความเข้มข้นของออกซิเจนละลายอยู่สูง ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ทางชีวภาพ การประมงจึงมีความสำคัญทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ และการขนส่งทางเรือในทะเลญี่ปุนกำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออก แม้ว่าในอดีตจะไม่คับคั่งนักเนื่องด้วยประเด็นปัญหาทางการเมือง ขณะที่ชื่อของผืนน้ำแห่งนี้ยังคงเป็นประเด็นขัดแย้ง เนื่องจากเกาหลีใต้พยายามเรียกร้องให้ใช้ชื่อว่า ทะเลตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและทะเลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรอะแลสกา

มุทรอะแลสกา คาบสมุทรอะแลสกา (Alaska Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่มีความยาวราว 800 กม.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและคาบสมุทรอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรซูเอิร์ด

คาบสมุทรซูเอิร์ด คาบสมุทรซูเอิร์ด (Seward Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางฝั่งตะวันตกของรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ระหว่างอ่าวคอตเซบิวซาวนด์ทางตอนเหนือกับอ่าวนอร์ตันซาวนด์ทางตอนใต้ ยาว 330 กิโลเมตร กว้าง 145-225 กิโลเมตร แหลมพรินซ์ออฟเวลส์ซึ่งอยู่ทางตอนปลายสุดด้านตะวันตกของคาบสมุทรยื่นออกไปในทะเลเบริง ถือเป็นจุดตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:คาบสมุทร.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและคาบสมุทรซูเอิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ทะเลเบริงและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนแปซิฟิก

ปลาแซลมอนแปซิฟิก (Pacific salmon) เป็นสกุลของปลาเศรษฐกิจสกุลหนึ่ง จำพวกปลาแซลมอน ใช้ชื่อสกุลว่า Oncorhynchus จัดอยู่ในวงศ์ Salmonidae อันดับ Salmoniformes โดยที่คำว่า Oncorhynchus มาจากภาษากรีกคำว่า nkos หมายถึง "ตะขอ" และ rynchos หมายถึง "จมูก" ซึ่งมาจากการที่ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้ม และมีส่วนปลายปาก (จมูก) งองุ้มเป็นดั้งขอ เป็นปลาแซลมอนที่กระจายพันธุ์อยู่ในตอนเหนือของแคลิฟอร์เนียตลอดแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอาร์กติก และมหาสมุทรแอตแลนติก พบได้ตั้งแต่อาร์กติก, อลาสกา, ทะเลเบริง, สหรัฐอเมริกา, เม็กซิโก จนถึงญี่ปุ่น เป็นปลาที่กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง แต่เป็นปลาที่ต้องการแหล่งน้ำที่สะอาด มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง น้ำมีอุณหภูมิเย็นและไหลแรงซึ่งมักพบตามปากแม่น้ำต่าง ๆ ขณะที่ปลาเมื่ออยู่ในทะเลหรือมหาสมุทรก็มักจะว่ายตามผิวน้ำ และเช่นเดียวกับปลาแซลมอนสกุลและชนิดอื่น ๆ ที่เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ จะว่ายกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่ในแหล่งน้ำจืด อันเป็นถิ่นกำเนิดดั้งเดิม แม้จะไกลแค่ไหนก็ตาม โดยแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาการวางไข่และเติบโตต่างกัน บางชนิดลูกปลาอาจใช้เวลา 5-7 เดือน ขณะที่บางชนิดอาจต้องใช้เวลานานถึง 1 ปี ในการอาศัยในแหล่งน้ำจืด จึงจะว่ายกลับไปยังทะเล และใช้ระยะเวลาการเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 2-4 ปี แต่ทั้งหมดก็ต้องอาศัยการวางไข่ในแหล่งน้ำที่สะอาดเหมือนกัน เป็นปลาแซลมอนที่นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด ที่เป็นชนิดที่สำคัญ.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและปลาแซลมอนแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

แบริ่ง

แบริ่ง แบริง (Bering, Bearing) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและแบริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ

้นขนานที่ 55 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

้นขนานที่ 60 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 18 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 5 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ

้นขนานที่ 65 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 65 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 22 ชั่วโมง 2 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 3 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 163 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 164 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 166 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 167 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 168 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 169 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 11 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 11 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 170 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 10 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 9 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 9 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 8 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 8 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 7 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 7 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 6 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 6 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 5 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 5 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 4 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 4 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 3 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 3 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 1 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 1 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา

'''เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา''' เส้นแบ่งเขตวันสากลจะซิกแซกอยู่รอบ ๆ เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา หรือ แอนติเมริเดียน คือเส้นเมริเดียนซึ่งอยู่ ณ ตำแหน่ง 180° ตะวันออกหรือตะวันตกของเส้นเมริเดียนแรก ซึ่งใช้เป็นเส้นหลักของเส้นแบ่งเขตวันสากลเพราะส่วนใหญ่ของเส้นลากผ่านมหาสมุทรแปซิฟิก อย่างไรก็ตามเส้นเมริเดียนนี้ยังลากผ่านรัสเซียและฟิจิ รวมทั้งแอนตาร์กติกาด้วย เส้นนี้เริ่มต้นจากขั้วโลกเหนือมุ่งหน้าลงไปทางใต้สู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาลากผ่านพื้นที่ดังนี้ ! Width.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา · ดูเพิ่มเติม »

เขตชีวภาพพาลีอาร์กติก

ตชีวภาพพาลีอาร์กติก (Palearctic, Palaearctic ecozone) เป็นหนึ่งในแปดเขตชีวภาพของโลก ในทางกายภาพแล้ว พาลีอาร์กติกเป็นเขตชีวภาพที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งกินอาณาบริเวณภาคนิเวศยุโรป ทวีปเอเชียที่อยู่เหนือตีนเทือกเขาหิมาลัย แอฟริกาเหนือ ทางตอนเหนือและตอนกลางของคาบสมุทรอาหรั.

ใหม่!!: ทะเลเบริงและเขตชีวภาพพาลีอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ทะเลแบริง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »