โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน

ดัชนี ทอมัส เจฟเฟอร์สัน

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson) (เกิดวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1743 - วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1826)The birth and death of Thomas Jefferson are given using the Gregorian calendar.

67 ความสัมพันธ์: ชาวอังกฤษอเมริกันชาวอเมริกันบิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐชีวิต เสรีภาพ และการเสาะแสวงหาความสุขพ.ศ. 2344พ.ศ. 2345พ.ศ. 2346พ.ศ. 2347พ.ศ. 2348พ.ศ. 2349พ.ศ. 2350พ.ศ. 2351พ.ศ. 2484พรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)พรรคเดโมแครต (สหรัฐ)พระเจ้าอัลเฟรดมหาราชการวิจัยการซื้อลุยเซียนามหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียมาร์ธา เจฟเฟอร์สัน แรนโดล์ฟยุทธการที่วุร์สเตอร์ยุคเรืองปัญญาระบบหอสมุดรัฐสภารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐรัฐเวอร์จิเนียรัฐเซาท์ดาโคตารายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียงรายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐรายนามประธานาธิบดีสหรัฐว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐศาลาสวนสหรัฐสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอสถาปนิกสงครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาเจย์ส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐหอสมุดรัฐสภาอุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติอินดิเพนเดนซ์อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตันฌัก ปีแยร์ บรีโซฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ตจอร์จ วอชิงตันจอห์น แอดัมส์จิตวิทยาเชิงบวกทำเนียบขาวดอลลาร์สหรัฐความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐความจำ...คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกาฆราวาสนิยมตุลาการภิวัตน์ประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สันประวัติศาสตร์สหรัฐประเภทของประชาธิปไตยปริศนาสมบัติอัจฉริยะเบนจามิน แฟรงคลินเส้นทางธารน้ำตาเส้นเวลาของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาเอดการ์ แอลลัน โพเจมส์ แมดิสันเจ้าหน้าที่การทูต13 เมษายน31 ตุลาคม4 กรกฎาคม4 มีนาคม ขยายดัชนี (17 มากกว่า) »

ชาวอังกฤษอเมริกัน

วอังกฤษอเมริกัน หรือ ชาวแองโกลอเมริกัน (English Americans หรือ Anglo-Americans) คือประชาชนชาวอเมริกันที่มาจากอังกฤษหรือสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษที่เป็นชาวอังกฤษ จากการสำรวจสำมะโนประชากรในปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและชาวอังกฤษอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกัน

วอเมริกัน หรือ ประชากรของสหรัฐอเมริกา (People of the United States หรือ U.S. Americans หรือ Americans หรือ American people) คือประชาชนของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่ประกอบด้วยกลุ่มชนจากหลายชาติพันธุ์และเชื้อชาติ ซึ่งทำให้ชาวอเมริกันบางคนไม่ถือว่าอเมริกันเป็น "ชาติพันธุ์" (ethnicity) และจะบ่งตนเองโดยเชื้อชาติ (nationality) และชาติพันธุ์ดั้งเดิม (ancestral origin) เช่นชาวฮังการีอเมริกันเป็นต้น นอกไปจากชาวอเมริกันอินเดียนแล้ว ชาวอเมริกันเกือบทั้งหมดหรือบรรพบุรุษก็เป็นผู้ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในช่วงระยะเวลาห้าร้อยปีที่ผ่านมา การที่ชาวอเมริกันมาจากหลายชาติพันธุ์ทำให้เป็นชาติที่มีธรรมเนียม และคุณค่าที่แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและชาวอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

บิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ

การลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐฉบับแรก บิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ (Founding Fathers of the United States) หมายถึง ผู้นำทางการเมืองที่ได้ลงนามในคำประกาศอิสรภาพในช่วงปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและบิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิต เสรีภาพ และการเสาะแสวงหาความสุข

"ชีวิต เสรีภาพ และการเสาะแสวงหาความสุข" (life, liberty and the pursuit of happiness) เป็นหนึ่งในวลีที่โด่งดังที่สุดในเอกสารคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา และบางส่วนยกย่องให้เป็นหนึ่งในประโยคที่ประดิษฐ์ขึ้นมาดีที่สุดและมีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์ภาษาอังกฤษ มุมมองทั้งสามด้านนี้ถูกระบุไว้ว่าเป็น "สิทธิที่ไม่อาจโอนให้กันได้".

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและชีวิต เสรีภาพ และการเสาะแสวงหาความสุข · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2345 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2346

ทธศักราช 2346 ตรงกับคริสต์ศักราช 1803 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2346 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2348

ทธศักราช 2348 ตรงกับคริสต์ศักราช 1805 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2348 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2349

ทธศักราช 2349 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2349 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2350

ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2350 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2351 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)

รรคริพับลิกัน (Republican Party หรือ Grand Old Party, อักษรย่อ: GOP) เป็นพรรคการเมืองอนุรักษนิยม ซึ่งเป็นหนึ่งในสองพรรคของสหรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (อีกพรรคหนึ่งคือ พรรคเดโมแครต) ประธานาธิบดีจากพรรคนี้คนล่าสุดคือ ดอนัลด์ ทรัมป์ ถ้านับตั้งแต่ ค.ศ. 1856 พรรคริพับลิกันส่งผู้สมัครลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีทั้งหมด 39 ครั้ง ชนะ 24 ครั้ง.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพรรคริพับลิกัน (สหรัฐ) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเดโมแครต (สหรัฐ)

รรคเดโมแครต (Democratic Party) เป็นหนึ่งในสองพรรคการเมืองใหญ่ของสหรัฐ (อีกพรรคหนึ่งคือ ริพับลิกัน).

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพรรคเดโมแครต (สหรัฐ) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

ระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (Alfred the Great; Ælfrēd) (ค.ศ. 849 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 899) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ในสมัยราชวงศ์เวสเซ็กซ์ เสด็จพระราชสมภพที่เวนเทจ บาร์กเชอร์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟแห่งเวสเซกซ์และออสเบอร์กา ทรงเสกสมรสกับเอลสวิธ และทรงราชย์เป็นกษัตริย์ของชนแองโกล-แซ็กซอนภายใต้ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 871 พระเจ้าอัลเฟรดทรงมีชื่อเสียงในการป้องกันราชอาณาจักร จากการรุกรานของชาวไวกิงจากเดนมาร์ก และเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษพระองค์เดียวที่รับสมญานามว่า “มหาราช” พระเจ้าอัลเฟรดทรงเป็นกษัตริย์แห่งแซกซันตะวันตกพระองค์แรก ที่ทรงแสดงพระองค์ว่าเป็นกษัตริย์แห่งชาวแองโกล-แซกซัน ทรงเป็นผู้มีการศึกษาดี และทรงส่งเสริมการศึกษาและปรับปรุงทางด้านกฎหมายในราชอาณาจักรและระบบการทหาร พระราชประวัติของพระองค์ถูกกล่าวถึงในงานเขียนของแอสเซอร์ (Asser) นักปราชญ์ชาวเวล.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

การวิจัย

อลิน เลวี วอร์เนอร์ (Olin Levi Warner) การวิจัยชูคบเพลิงแห่งความรู้ (พ.ศ. 2439) ห้องสมุดรัฐสภาสหรัฐฯ อาคารโทมัส เจฟเฟอร์สัน, วอชิงตัน ดีซี การวิจัย (research) หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพื่อค้นหาความจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระทำด้วยพื้นฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาล การวิจัยอาจต้องใช้หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้แรงผลักดันจากความอยากรู้อยากเห็น การวิจัยเป็นตัวสร้างข้อมูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และทฤษฎีที่มนุษย์นำมาใช้ในการอธิบายธรรมชาติและคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่าง ๆ มีความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่มเอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่าง ๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชาเฉพาะทาง คำว่าการวิจัยยังใช้หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวิชาการบางสาขาอีกด้ว.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

การซื้อลุยเซียนา

การซื้อลุยเซียนา (Louisiana Purchase) หรือ การขายลุยเซียนา (Vente de la Louisiane) คือการที่สหรัฐได้ดินแดนลุยเซียนา (พื้นที่ 828,000 ตารางไมล์ หรือ 2.14 ล้านตารางกิโลเมตร) มาเป็นส่วนหนึ่งของตนด้วยการซื้อจากฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและการซื้อลุยเซียนา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย

อย่าสับสนกับ มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทค มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย (University of Virginia หรือเรียกย่อๆว่า UVA หรือ U.Va.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย โทมัส เจฟเฟอร์สัน ในเมืองชาร์ลอตส์วิลล์(Charlottesville) ในรัฐเวอร์จิเนีย ในปี พ.ศ. 2362 (ค.ศ. 1819) ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียมีนักศึกษาประมาณ 18,000 คน มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียมีชื่อเสียงในด้าน กฎหมาย สถาปัตยกรรมศาสตร์ ปรัชญา ดาราศาสตร์ นอกจากนี้ในตัวมหาวิทยาลัยยังถูกกำหนดให้เป็นมรดกโลกโดยองค์กรยูเนสโกอีกด้ว.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ธา เจฟเฟอร์สัน แรนโดล์ฟ

มาร์ธา เจฟเฟอร์สัน แรนโดล์ฟ (Martha Jefferson Randolph) เป็นบุตรสาวของ โธมัส เจฟเฟอร์สัน ประธานาธิบดี คนที่ 3 ของ สหรัฐ เกิดเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1772 ที่ เมืองมอนติเซลโล เวอร์จิเนีย ได้ขึ้นเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งเมื่อปี ค.ศ. 1801 แทนมารดาที่เสียชีวิตไปแล้วโดยเธอทำหน้าที่นี้ถึง 2 สมัยก่อนจะลงจากตำแหน่งในปี ค.ศ. 1809 และถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1836 ขณะอายุได้ 64 ปี หมวดหมู่:สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเวอร์จิเนีย.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและมาร์ธา เจฟเฟอร์สัน แรนโดล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่วุร์สเตอร์

ทธการที่วุร์สเตอร์ (Battle of Worcester) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ที่วุร์สเตอร์ในอังกฤษและเป็นยุทธการสุดท้ายของสงครามกลางเมืองอังกฤษ ที่ฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายนิยมกษัตริย์ (Royalist) ที่นำโดยพระเจ้าชาลส์ที่ 2 โดยทั่วไปเป็นกองกำลังสกอตแลนด์ กองกำลังเพียง 16,000 คนของกองกำลังฝ่ายนิยมกษัตริย์ไม่สามารถต่อสู้กับกองกำลังที่มีจำนวนเหนือกว่ามาก 28,000 คนของ "กองทัพตัวแบบใหม่" (New Model Army) ของครอมเวลล์ได้จนในที่สุดก็จำต้องพ่ายแพ้.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและยุทธการที่วุร์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเรืองปัญญา

ฌ็อง-ฌัก รูโซ บุคคลสำคัญจากยุคเรืองปัญญา ยุคเรืองปัญญา (Age of Enlightenment; Siècle des Lumières) คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนำให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล ยุคเรืองปัญญาเริ่มตั้นขึ้นในช่วงประมาณปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและยุคเรืองปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบหอสมุดรัฐสภา

ระบบหอสมุดรัฐสภา (Library of Congress Classification, ย่อ: LCC) เป็นระบบการจัดหมู่ของห้องสมุดที่หอสมุดรัฐสภาพัฒนาขึ้น หอสมุดวิจัยและวิชาการส่วนมากในสหรัฐและอีกหลายประเทศใช้ระบบดังกล่าว ในประเทศเหล่านี้ ห้องสมุดสาธารณะส่วนมากและห้องสมุดวิชาการขนาดเล็กยังใช้การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ที่เก่ากว่า เฮอร์เบิร์ต พัทนัม (Herbert Putnum) ประดิษฐ์การจำแนกนี้ใน..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและระบบหอสมุดรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหรัฐ (United States Secretary of State.) เป็นตำแหน่งเจ้าหน้าที่อาวุโสของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกาซึ่งบังคับบัญชากระทรวงการต่างประเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบและพิจารณาการดำเนินการด้านกิจการต่างประเทศของรัฐบาลสหรัฐ รัฐมนตรีต่างประเทศได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีสหรัฐและโดยการรับรองของวุฒิสภา ตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในสี่ตำแหน่งสำคัญที่สุดของคณะรัฐบาล อันได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และอัยการสูงสุด รัฐมนตรีต่างประเทศคนปัจจุบันคือ ไมก์ ปอมเปโอ อดีตผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ คนที่6 เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐคนที่ 70 นับตั้งแต่สถาปนาตำแหน่งนี้ม.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐเทนเนสซี ทางทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเคนทักกี และ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ทางทิศตะวันตก เวอร์จิเนียประกอบไปด้วย 95 เคาน์ตี และ 39 เมืองอิสระ จุดสูงสุดในรัฐคือ เมาต์โรเจอส์ และจุดต่ำสุดในรัฐคือมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐเวอร์จิเนีย ตั้งตามชื่อของ สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์ (The Virgin Queen) รัฐเวอร์จิเนียเป็นบ้านเกิดของประธานาธิบดี 8 คน ซึ่งรวมถึง จอร์จ วอชิงตัน และ โทมัส เจฟเฟอร์สัน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและรัฐเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเซาท์ดาโคตา

รัฐเซาท์ดาโคตา (South Dakota) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของประเทศ ชื่อของรัฐตั้งชื่อตาม ลาโคตาและดาโคตา อินเดียนแดงเผ่าซู เมืองหลวงของรัฐเซาท์ดาโคตา คือเมือง ปิแอร์ เมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ซู ฟอลส์ และ แรพิดซิตี สถานท่องเที่ยวสำคัญของรัฐคือ เมานต์รัชมอร์ อนุสรณ์สถานแห่งชาติตั้งอยู่ใกล้เมือง คีย์สโตน โดยบริเวณหน้าผามีรูปแกะสลักประธานาธิบดี 4 คน ของสหรัฐ ได้แก่ จอร์จ วอชิงตัน, โทมัส เจฟเฟอร์สัน, ทีโอดอร์ รูสเวลต์, และ อับราฮัม ลิงคอล์น และเป็นที่มาของชื่อเล่นของรัฐคือ "รัฐเมานต์รัชมอร์".

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและรัฐเซาท์ดาโคตา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง

ในการตั้งชื่อทางชีววิทยา สิ่งมีชีวิตมักได้รับชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคล ชั้นอนุกรมวิธาน (taxon) (ตัวอย่างเช่น สปีชีส์ หรือ สกุล) ที่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่สิ่งอื่นอื่นเรียกว่า eponymous taxon ส่วนชื่อที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลใดบุคคลนึง หรือกลุ่มคน เรียกว่า patronymic ปกติแล้วชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการในวารสารที่มีการตรวจสอบโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ โดยมีคำบรรยายชื่อชั้นอนุกรมวิธานและวิธีบอกความแตกต่างกับชั้นอนุกรมวิธานอื่น ตามกฎของไวยากรณ์ภาษาละตินชื่อสปีชีส์หรือชนิดย่อยที่มาจากชื่อผู้ชายส่วนใหญ่ลงท้ายด้วย -i หรือ -ii หากตั้งชื่อตามคนบุคคลและ -orum หากตั้งชื่อตามกลุ่มผู้ชายหรือชายหญิง เช่น ครอบครัว ในทางคล้ายกัน ชื่อที่ตั้งตามผู้หญิงล้วนลงท้ายด้วย -ae หรือ -arum สำหรับผู้หญิงสองคนหรือมากกว่า รายชื่อนี้มีสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามบุคคลหรือคณะที่มีชื่อเสียง (รวมไปถึงวงดนตรี และคณะนักแสดง) แต่ไม่รวมบริษัท สถาบัน กลุ่มชาติพันธุ์หรือชาติ และสถานที่ซึ่งมีคนอยู่มาก ไม่รวมถึงสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามตัวละครในนวนิยาย นักชีววิทยา หรือนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ หรือคนในครอบครัวของนักวิจัยที่อาจไม่เป็นที่รู้จัก ชื่อวิทยาศาสตร์อยู่ในรูปแบบที่บรรยายไว้ดั้งเดิม.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ

รายนาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและรายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ

ตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ (First Lady of the United States) เป็นตำแหน่งอย่างไม่เป็นทางการของผู้ดูแลทำเนียบขาว โดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว ตำแหน่งนี้จะเป็นของภรรยาของประธานาธิบดีสหรัฐคนปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในบางครั้งมีสตรีอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาของประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งนี้ ในกรณีที่ประธานาธิบดีนั้นยังไม่ได้แต่งงานหรือเป็นหม้าย ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ดำรงตำแหน่งจะเป็นญาติหรือเพื่อนผู้หญิงของประธานาธิบดี ปัจจุบันยังไม่มีประธานาธิบดีที่เป็นสตรี ดังนั้นจึงไม่มีคำเรียกสามีของประธานาธิบดีซึ่งจะเป็นผู้ดูแลทำเนียบขาว แต่ปัจจุบันมีสตรีที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแล้วหลายคน สามีของสตรีเหล่านี้จะถูกเรียกว่า สุภาพบุรุษหมายเลขหนึ่ง (First Gentlemen) สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งคนปัจจุบันคือเมลาเนีย ทรัมป์และมีอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งที่ยังมีชีวิตอยู่ 4 คน ได้แก่ โรซาลีนน์ คาร์เตอร์, บาร์บารา บุช, ฮิลลารี คลินตัน,ลอรา บุช และ มิเชล โอบาม.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสหรัฐ

ทำเนียบขาวเป็นสถานที่ทำงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประธานาธิบดีสหรัฐ เป็นตำแหน่งประมุขในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าของทุกสาขาของรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ โดยมีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เขียนโดยสภาคองเกรสมาตราที่ 2 ของรัฐธรรมนูญนั้นบัญญัติว่า ประธานาธิบดีต้องเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังทหาร และกระจายอำนาจที่เป็นของประธานาธิบดีออกไป รวมไปถึงอำนาจเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างกฎหมาย ที่ผ่านมาจากสภาคองเกรส นอกจากนั้น ประธานาธิบดียังมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นที่ปรึกษาและอำนาจในการลดโทษหรือให้รอลงอาญาได้ ท้ายที่สุดแล้ว หากประธานาธิบดีได้รับคำแนะนำและการยอมรับจากวุฒิสภา แล้วจะมีอำนาจในการทำสนธิสัญญา, แต่งตั้งเอกอัครราชทูตและศาลตัดสินของประเทศ รวมไปถึงศาลสูงสุดด้วย การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 22 กำหนดให้สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้ไม่เกินสองสมัย รายนามนี้รวมเฉพาะบุคคลที่ได้สาบานตนเป็นประธานาธิบดีตามการลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและรายนามประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐ

ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐ (President-elect of the United States) คือตำแหน่งของผู้ที่ชนะการเลือกตั้งและเตรียมที่จะเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ ในวันที่ 20 มกราคม.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาสวน

ลาสวนในสวนพฤกชาติที่สิงคโปร์ ศาลาสวน หรือ ศาลากาซีโบ (Gazebo) หมายถึงสิ่งก่อสร้างที่มักจะเป็นทรงแปดเหลี่ยมหรือกลมที่มักจะสร้างในอุทยาน, สวนสารธารณะ, สวน หรือบริเวณที่เป็นที่สาธารณะ ศาลาสวนอาจจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นอิสระหรือสิ่งก่อสร้างที่สร้างติดกำแพงสวนที่มีหลังคาและเปิดรอบด้าน ที่ใช้เป็นที่หลบแดดหลบฝน, ที่พักผ่อน, ที่พักอาศัยอย่างง่ายๆ หรือสิ่งตกแต่งสวน ศาลาสวนบางศาลาก็ใหญ่พอที่ใช้สำหรับกลุ่มนักดนตรีผู้เล่นดนตรีสำหรับผู้ที่มานั่งชมหรือเดินผ่านไปมา โดยเฉพาะในเมืองน้ำแร่เช่นในสาธารณรัฐเช็ก.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและศาลาสวน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ

หาสน์ที่ต่อเติมมุขด้านหน้าจากเล่ม 4 ของ "หนังสือสี่เล่มเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม" (I Quattro Libri dell'Architettura) ที่พิมพ์ในลอนดอนในปี ค.ศ. 1736 อาคารกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นอาคารในรูปแบบปัลลาดีโอ สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ (Palladian architecture) หมายถึงลักษณะของสถาปัตยกรรมตะวันตกที่มาจากการออกแบบโดยอันเดรอา ปัลลาดีโอ (ค.ศ. 1508-1580) สถาปนิกชาวเวนิส คำว่า "แบบปัลลาดีโอ" โดยทั่วไปแล้วมักจะหมายถึงลักษณะของสิ่งก่อสร้างที่ได้รับอิทธิพลมาจากการออกแบบของปัลลาดีโอเอง สิ่งก่อสร้างในปัจจุบันที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาปัตยกรรมลักษณะนี้วิวัฒนาการมาจากปรัชญาการออกแบบของปัลลาดีโอ งานของปัลลาดีโอมีพื้นฐานมาจากความสมมาตร ความมีทัศนมิติ และคุณค่าของสถาปัตยกรรมการก่อสร้างวัดของกรีกและโรมันโบราณ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 การตีความหมายของสถาปัตยกรรมคลาสสิกกลายมาเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า "คตินิยมปัลลาดีโอ" (Palladianism) ลักษณะนี้วิวัฒนาการต่อมาจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 "คตินิยมปัลลาดีโอ" กลายเป็นนิยมกันอยู่ระยะหนึ่งในบริเตนระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ลักษณะนี้ก็หวนกลับมาเป็นที่นิยมไม่แต่ในอังกฤษแต่ยังในหลายประเทศทางตอนเหนือของยุโรปด้วย ต่อมาก็ลดความนิยมลงในยุโรป แต่ไปนิยมกันในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะในสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยทอมัส เจฟเฟอร์สัน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอยังคงเป็นที่นิยมกันทั่วไปในยุโรปตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 มักจะในการออกแบบสิ่งก่อสร้างทางราชการหรือทางสารธารณะ ตั้งแต่ครึ่งหลังของ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็มีสถาปัตยกรรมการฟื้นฟูกอทิกเข้ามาเป็นคู่แข่ง ลักษณะหลังนี้สนับสนุนโดยสถาปนิกเช่นออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin) ที่คำนึงถึงที่มาจากวัดโบราณที่ถือว่าเป็นลักษณะ "นอกศาสนา" เกินไปสำหรับผู้นับถือโปรเตสแตนต์และแองโกล-คาทอลิก แต่กระนั้นสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอก็ยังคงเป็นที่นิยมและวิวัฒนาการตลอดมา ซึ่งจะเห็นได้จากการการออกแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในปัจจุบันในลักษณะหน้าจั่ว ความสมมาตร และความได้สัดส่วน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอมีลักษณะหนา ดูทึบทึม อาคารหลายแห่งในประเทศไทยที่มีสถาปัตยกรรมรูปแบบนี้ ได้แก่ กระทรวงกลาโหม, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน, อาคารศุลกสถาน เป็นต้น.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปนิก

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม".

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและสถาปนิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่ง

งครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 1801-1805) หรือสงครามชายฝั่งบาร์บารี หรือสงครามทริโปลีตัน คือสงครามระหว่างสหรัฐอเมริกา (และกองเรือสวีเดนที่เข้ามาร่วมด้วยในระยะเวลาหนึ่ง) กับกลุ่มรัฐทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา เป็นที่รู้จักในนามว่า กลุ่มรัฐบาร์บารี ซึ่งประกอบด้วยรัฐสุลต่านโมร็อกโคและดินแดนอัลเจียร์ส, ตูนิสและทริโปลีที่มีผู้แทนจากจักรวรรดิออตโตมานเป็นผู้สำเร็จราชการในนาม แต่มีสถานะเป็นรัฐเอกราชโดยพฤตินัย สงครามมีสาเหตุมาจากการที่โจรสลัดบาร์บารีโจมตีเรือพาณิชย์อเมริกัน เพื่อจับลูกเรือมาเป็นตัวประกันเพื่อเรียกค่าไถ่ และเรียกร้องบรรณาการเป็นค่าคุ้มครองไม่ให้เกิดการโจมตีขึ้นอีก ไม่ต่างจากที่ปฏิบัติต่อเรือพาณิชย์ของชาติยุโรปอื่น.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและสงครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเจย์

นธิสัญญาเจย์ หรือ สนธิสัญญาบริติช หรือ สนธิสัญญาลอนดอน..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและสนธิสัญญาเจย์ · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดี มีส่วนสูงที่เติบโตอย่างก้าวกระโดด ซึ่งใช้การคาดการณ์แนวโน้มเชิงเส้น การบันทึกสถิติส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับการประเมินการว่ามีบทบาทอะไร, ถ้ามี, ส่วนสูงเล่นในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ผู้สังเกตการณ์บางคนตั้งข้อสังเกตว่าผู้สมัครของพรรคใหญ่สองพรรคมีแนวโน้มที่จะมีชัยในการเลือกตั้งเพราะประชาชนต้องการผู้ชิงที่มีส่วนสูงที่สูง ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาที่มีส่วนสูงมากที่สุด คือ อับราฮัม ลินคอล์น (6 ฟุต 4 นิ้ว, 193 เซนติเมตร) และประธานาธิบดีที่มีส่วนสูงน้อยที่สุด คือ เจมส์ แมดิสัน (5 ฟุต 4 นิ้ว, 163 เซนติเมตร).

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดรัฐสภา

หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หอสมุดรัฐสภา (Library of congress) สถาบันด้านวัฒนธรรมที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกาและเป็นหอสมุดแห่งชาติ ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและหอสมุดรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติอินดิเพนเดนซ์

right อุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติอินดิเพนเดนซ์ (Independence National Historical Park) ตั้งอยู่ในเมืองฟิลาเดลเฟีย เป็นสถานที่สำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งของสหรัฐอเมริกา หอเอกราช ซึ่งเป็นสถานที่ประกาศอิสรภาพตั้งอยู่ในสวนที่เมืองฟิลาเดลเฟีย ซึ่งได้ประกาศเอกราชไว้ในปี.ศ 1776 คำประกาศเขียนโดยโธมัส เจฟเฟอร์สัน แถลงว่าอาณานิคมอเมริกา 13 แห่งขอแยกตัวจากอังกฤษ ระฆังเสรี ที่ได้ลั่นเมื่อวันประกาศก็อยู่ที่ส่วนสาธารณะแห่งนี้ด้วย มลรัฐเดลาแวร์.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและอุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติอินดิเพนเดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน

อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน (Alexander Hamilton) เกิดในวันที่ 11 มกราคม..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก ปีแยร์ บรีโซ

ัก ปีแยร์ บรีโซ (Jacques Pierre Brissot) เป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคฌีรงแด็ง กลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศฝรั่งเศสระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสและเป็นได้รองประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายตรงข้ามเขาได้ใช้กำลังอาวุธเข้าบีบบังคับสภาให้ปลดและจับกุมตัวเขาตลอดจนสมาชิกฌีรงแด็งคนอื่น ๆ ท้ายที่สุดเขาถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและฌัก ปีแยร์ บรีโซ · ดูเพิ่มเติม »

ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต

มารี-ฌอแซ็ฟ ปอล อีฟว์ ร็อก ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย, มาร์กี เดอ ลา ฟาแย็ต (Marie-Joseph Paul Yves Roch Gilbert du Motier, Marquis de Lafayette; 6 กันยายน ค.ศ. 1757 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1834) เป็นขุนนางทหารชาวฝรั่งเศส ผู้ช่วยเหลือชาวอเมริกันทำสงครามปฏิวัติ เป็นเพื่อนสนิทของจอร์จ วอชิงตัน อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน และทอมัส เจฟเฟอร์สัน นอกจากนี้ยังมีบทบาทในการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ลาฟาแย็ตเกิดในตระกูลขุนนางมั่งคั่งในจังหวัดโอแวร์ญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศส และได้รับราชการทหารตามครอบครัวตั้งแต่อายุได้ 13 ปี ต่อมาได้เข้าร่วมสงครามปฏิวัติอเมริกาและได้รับยศพลตรีตั้งแต่อายุเพียง 19 ปี เมื่อได้รับบาดเจ็บในยุทธการที่แบรนดีไวน์ ลาฟาแย็ตยังสามารถจัดถอยทัพได้อย่างเป็นระเบียบ และมีผลงานในยุทธการที่โรดไอแลนด์ ในช่วงกลางสงคราม เขากลับฝรั่งเศสเพื่อขอให้รัฐบาลเพิ่มงบประมาณสนับสนุน เขากลับอเมริกาอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและจอร์จ วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แอดัมส์

อห์น แอดัมส์ (John Adams) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นบิดาของประธานาธิบดีคนที่ 6 ของสหรัฐอเมริกา จอห์น ควินซี แอดัมส์ จอห์นเกิดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและจอห์น แอดัมส์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตวิทยาเชิงบวก

ตวิทยาเชิงบวก (Positive psychology) เป็นสาขาย่อยใหม่ของจิตวิทยาที่ใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และการแทรกแซงที่มีประสิทธิผล เพื่อช่วยให้บุคคลมีชีวิตที่น่าพอใจ โดยสร้างความเจริญก้าวหน้าสำหรับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และค้นหาเสริมสร้างอัจฉริยภาพกับความสามารถเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขมากยิ่งขึ้น ศาสตร์นี้เพ่งความสนใจไปที่การพัฒนาตนเองแทนที่การรักษาโรค ซึ่งมักจะเป็นจุดสนใจของจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ เป็นวิทยาการที่ค่อนข้างใหม่ งานประชุมครั้งแรกเกี่ยวกับศาสตร์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและจิตวิทยาเชิงบวก · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบขาว

ทำเนียบขาว (White House) เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการและสถานที่ทำงานหลักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1600 ถนนเพนซิลเวเนีย เขตตะวันตกเฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี. โดยเป็นสถานที่พำนักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาทุกคนตั้งแต่ประธานาธิบดีจอห์น แอดัมส์ ในปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและทำเนียบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความจำ

ประเภทและกิจหน้าที่ของความจำในวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ในจิตวิทยา ความจำ (memory) เป็นกระบวนการที่ข้อมูลต่าง ๆ รับการเข้ารหัส การเก็บไว้ และการค้นคืน เนื่องจากว่า ในระยะแรกนี้ ข้อมูลจากโลกภายนอกมากระทบกับประสาทสัมผัสต่าง ๆ (มีตาเป็นต้น) ในรูปแบบของสิ่งเร้าเชิงเคมีหรือเชิงกายภาพ จึงต้องมีการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งก็คือการเข้ารหัส เพื่อที่จะบันทึกข้อมูลไว้ในความจำได้ ระยะที่สองเป็นการเก็บข้อมูลนั้นไว้ ในสภาวะที่สามารถจะรักษาไว้ได้เป็นระยะเวลาหนึ่ง ส่วนระยะสุดท้ายเป็นการค้นคืนข้อมูลที่ได้เก็บเอาไว้ ซึ่งก็คือการสืบหาข้อมูลนั้นที่นำไปสู่การสำนึกรู้ ให้สังเกตว่า การค้นคืนความจำบางอย่างไม่ต้องอาศัยความพยายามภายใต้อำนาจจิตใจ จากมุมมองเกี่ยวกับกระบวนการประมวลข้อมูล มีระยะ 3 ระยะในการสร้างและค้นคืนความจำ คือ.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและความจำ · ดูเพิ่มเติม »

คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา

วาดคณะกรรมการร่างคำประกาศอิสรภาพยื่นร่างให้กับรัฐสภาอเมริกา โดยภาพนี้พบได้ในธนบัตรสองดอลลาร์ด้วย คำประกาศอิสรภาพแห่งสหรัฐ (United States Declaration of Independence) เป็นแถลงการณ์ซึ่งสภาภาคพื้นทวีปลงมติยอมรับเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ฆราวาสนิยม

ราวาสนิยม (secularism) คือ แนวปรัชญาที่ว่าสถาบันการปกครองหรือสถาบันการเมือง หรือ สถาบันในรูปอื่นควรจะดำเนินการปกครองที่เป็นอิสระจากการอำนาจการควบคุมของสถาบันศาสนา และหรือความเชื่อทางศาสนา ในแง่หนึ่งสถาบันที่ดำเนินนโยบาย “ฆราวาสนิยม” จะเป็นสถาบันที่ยึดนโยบายดำรงความเป็นกลางในทางด้านความเชื่อทางศาสนาของประชาชนและ/หรือผู้อยู่ใต้การปกครอง, ดำเนินการปกครองที่เป็นอิสระจากกฎและคำสอน หรือ ความเชื่อทางศาสนา, ไม่ใช้อำนาจตามหลักความเชื่อทางศาสนาในการบังคับประชาชน และ ไม่มีการมอบอภิสิทธิพิเศษหรือให้การช่วยเหลือแก่สถาบันศาสนา ส่วนในอีกแง่หนึ่ง “ฆราวาสนิยม” หมายถึงมุมมองที่เกี่ยวกับกิจกรรมและการตัดสินใจของมนุษย์ โดยเฉพาะกิจกรรมและการตัดสินใจทางการเมือง ว่าควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงโดยปราศจากอคติอันเนื่องมาจากอิทธิพลทางศาสนา ฆราวาสนิยมในรูปแบบที่แท้จริงแล้วจะติเตียนความเป็นอนุรักษนิยมของศาสนา และมีความเห็นว่าศาสนาเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าของมนุษย์เพราะเป็นสิ่งที่เน้นความเชื่องมงาย และ สิทธันต์ (dogma) เหนือเหตุผลและกระบวนการในสิ่งที่พิสูจน์ได้ (scientific method) พื้นฐานของปรัชญาฆราวาสนิยมมาจากหลักการคิดของนักปรัชญากรีกและโรมันเช่นมาร์คัส ออเรลิอัส และ เอพิคารัส, จากผู้รู้รอบด้านของปรัชญามุสลิมของยุคกลาง เช่น อิบุน รัชด์, จากนักคิดของยุคเรืองปัญญา เช่น เดอนีส์ ดิเดอโรต์, วอลแตร์, จอห์น ล็อก, เจมส์ แมดิสัน, ทอมัส เจฟเฟอร์สัน และ ทอมัส เพน และ จากนักคิดเสรี (freethinkers), นักอไญยนิยม (Agnosticism) หรือ นักอเทวนิยม เช่น เบอร์ทรานด์ รัสเซิลล์ และ โรเบิร์ต อิลเกอร์โซลล.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและฆราวาสนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาการภิวัตน์

ตุลาการภิวัตน์ (judicial activism) ใช้เรียกกรณีที่อำนาจตุลาการต้องสงสัยว่าบังคับใช้กฎหมายตามความเชื่อส่วนบุคคลหรือการเมือง แทนที่จะอิงตามกฎหมายที่บัญญัติไว้ พจนานุกรมกฎหมายของแบล็ค ให้คำจำกัดความไว้ว่า "แนวคิดที่ตุลาการให้ความเชื่อส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน นอกเหนือไปจากปัจจัยอื่น ๆ มาชี้นำการตัดสินของตน" ("philosophy of judicial decision-making whereby judges allow their personal views about public policy, among other factors, to guide their decisions.") คำจำกัดความของตุลาการภิวัตน์นั้น สามารถสืบต้นกำเนิดไปได้ถึงทอมัส เจฟเฟอร์สันซึ่งวิจารณ์ตุลาการอย่างจอห์น มาร์แชลว่ามี "พฤติกรรมแบบเผด็จการ" (despotic behaviour) ส่วนผู้ใช้คำนี้เป็นคนแรกคืออาเธอร์ เชลสซิงเจอร์ จูเนียร์ โดยใช้วิจารณ์ศาลผ่านบทความชื่อ The Supreme Court: 1947. ในวารสารฟอร์ชูนฉบับมกราคม พ.ศ. 2490 คำว่าตุลาการตุลาการภิวัตน์นั้น ทำให้เกิดการถกเถียงมาแต่แรก โดย เครก กรีน ได้วิจารณ์เชลสซิงเจอร์ไว้ในบทความชื่อ An Intellectual History of Judicial Activism ว่า "การนำคำตุลาการภิวัตน์มาใช้ของเชลสซิงเจอร์นั้นกำกวมอย่างน่ากังขา ไม่เพียงแต่เขาจะอธิบายสิ่งที่เรียกว่าตุลาการภิวัฒน์ไม่ได้ แต่เขายังไม่ยอมบอกด้วยว่าสิ่งนี้ดีหรือเลว" กรณีที่ถูกกล่าวว่าเป็นตุลาการภิวัตน์อันมีชื่อเสียงก็คือในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2543 เมื่อศาลสูงสหรัฐอเมริกาให้ยุติการนับคะแนนใหม่ของรัฐฟลอริดา และทำให้จอร์จ ดับเบิลยู. บุชได้รับชัยชนะเหนืออัล กอร์ไปโดยปริยาย ส่วนในประเทศไทย ธีรยุทธ บุญมีบัญญัติศัพท์นี้หลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสในโอกาสที่พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ประธานศาลปกครองสูงสุด (อักขราทร จุฬารัตน) และประธานศาลฎีกา (ชาญชัย ลิขิตจิตถะ) นำตุลาการศาลปกครองสูงสุดและผู้พิพากษาประจำศาล สำนักงานศาลยุติธรรม เฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับตำแหน่งหน้าที่ ณ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล เมื่อวันที่ 25 เมษายน..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและตุลาการภิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สัน

แรมบรันด์ท พีล ค.ศ. 1800 ประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สัน (Jeffersonian democracy) เป็นประเด็นของจุดประสงค์ทางการเมืองต่างๆ ที่ตั้งตามชื่อประธานาธิบดีทอมัส เจฟเฟอร์สัน ประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สันมีอิทธิพลเป็นอันมากต่อการเมืองอเมริกันระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1800 จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1820 และเป็นแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับประชาธิปไตยแนวแจ็คสันที่มามีอิทธิพลต่อจากแนวเจฟเฟอร์สัน บุคคลสำคัญๆ ที่สนับสนุนรายละเอียดของประชาธิปไตยแนวนี้คือตัวเจฟเฟอร์สันเอง, แอลเบิร์ต กาลลาติน, จอห์น แรนดอล์ฟ โรอันโนค และ แนธาเนีย เมคอน หัวใจของประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สันมีลักษณะที่ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ข้างล่างที่กลุ่มเจฟเฟอร์สันได้ทำการเสนอในรูปของสุนทรพจน์และกฎหมายต่างๆ.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สหรัฐ

วันเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐมีการถกเถียงกันในหมู่นักประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและประวัติศาสตร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประเภทของประชาธิปไตย

ประเภทของประชาธิปไตย สามารถจำแนกได้ออกเป็นหลายประเภท โดยบางประเภทให้เสรีภาพและความมีสิทธิ์มีเสียงแก่พลเมืองมากกว่ารูปแบบอื่น ประเภทของประชาธิปไตย สามารถแบ่งได้ดังนี้.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและประเภทของประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ (The 39 Clues) เป็นวรรณกรรมแนวผจญภัยที่ผสมผสานกับเกมออนไลน์และการสะสมการ์ด ในสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอลาสทิก ส่วนฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เนมแอนด์โนเบิล ในเครือบันลือกรุ๊ป ซึ่งเป็นเครือเดียวกับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เป็นวรรณกรรมชุดที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน โดยมีริก ไรออร์แดน (ผู้เขียน เพอร์ซีย์ แจ็กสัน) เป็นผู้เขียนเล่มแรก หนังสือฉบับภาษาไทยตีพิมพ์มาแล้วทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย ผจญค่ายกลกระดูก, หนึ่งโน้ตมรณะ, จอมโจรจอมดาบ, ความลับสุสานฟาโรห์, วงล้อมทมิฬ, ปฏิบัติการทะเลใต้, บุกรังอสรพิษ, รหัสลับจักรพรรดิโลกไม่ลืม, ฝ่าพายุแคริบเบียน และมหันตภัยปลายทาง.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและปริศนาสมบัติอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน แฟรงคลิน

นจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) (– 17 เมษายน ค.ศ. 1790) เป็นหนึ่งในบิดาผู้สร้างชาติของสหรัฐอเมริกา เบนจามิน แฟรงคลิน เป็น ช่างพิมพ์ คนเรียงพิมพ์ นักเขียน นักปรัชญา นักการเมือง นักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ นักปฏิรูป และนักการทูต คนสำคัญในยุคแสงสว่างของสหรัฐอเมริกา ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ เขามีผลงานหลายอย่างในด้านฟิสิกส์ ผลงานที่สำคัญคือคิดค้นสายล่อฟ้า และผลงานอื่นเช่นแว่นไบโฟคอล เตาแฟรงคลิน และฮาร์โมนิกาแก้ว เขาเป็นผู้เริ่มก่อตั้งห้องสมุดแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา และก่อตั้งสถานีดับเพลิงแห่งแรกในรัฐเพนซิลเวเนีย ผลงานในฐานะนักการเมืองเขาเป็นนักเขียนและผู้นำการเคลื่อนไหวคนสำคัญไปสู่การแยกตัวออกจากอาณานิคมและร่วมก่อตั้งชาติสหรัฐอเมริกา ในฐานะนักการทูต เขาได้เป็นทูตคนสำคัญในช่วงปฏิวัติอเมริกาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนำไปสู่การแยกตัวของประเทศจากอาณานิคมของอังกฤษในที่สุด แฟรงคลินเริ่มต้นชีวิตจากการเป็นนักเรียงพิมพ์ในฟิลาเดลเฟีย ซึ่งสร้างความมั่งคั่งจากหนังสือ Poor Richard's Almanack และหนังสือพิมพ์เพนน์ซิลเวเนียแกเซตต์ (Pennsylvania Gazette) แฟรงคลินมีความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีชื่อเสียงในฐานะนักวิทยาศาสตร์ชื่อดังของโลกคนหนึ่ง นอกจากนี้เขาได้เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย และวิทยาลัยแฟรงคลินแอนด์มาร์แชลล์ เขายังได้รับเลือกให้เป็นประธานคนแรกของสมาคมปรัชญาอเมริกา จากผลงานของแฟรงคลินทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และการเมือง เขาได้ถูกยกย่องและกล่าวถึงในหลายด้าน เขาปรากฏในธนบัตรของสหรัฐอเมริกา (100 ดอลลาร์สหรัฐ) ชื่อของเขายังปรากฏเป็นชื่อ เมือง เคาน์ตี สถานศึกษา และผลงานอีกหลายด้านยังมีการกล่าวถึงตราบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและเบนจามิน แฟรงคลิน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางธารน้ำตา

แผนที่ “เส้นทางธารน้ำตา” เส้นทางธารน้ำตา (Trail of Tears) หมายถึงการบังคับการโยกย้ายถิ่นฐานของชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่รวมทั้งเชอโรคี, ชอคทอว์และอื่นจากดินแดนบ้านเกิดไปตั้งถิ่นฐานยังเขตสงวนอินเดียน (Indian Territory) ใหม่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกาที่ในปัจจุบันคือโอคลาโฮมา “เส้นทางธารน้ำตา” มาจากคำบรรยายการโยกย้ายของชาติชอคทอว์ (Choctaw Nation) ในปี ค.ศ. 1831 ชนพื้นเมืองอเมริกันที่โยกย้ายต้องเผชิญกับสภาวะอากาศ เชื้อโรค และความอดอยากระหว่างการเดินทางไปยังจุดหมาย อันเป็นผลให้มีผู้เสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก ที่รวมทั้งจำนวน 4,000 คนของจำนวน 15,000 คนของเชอโรคีที่ต้องย้ายถิ่นฐาน ในปี ค.ศ. 1831 เชอโรคี, ชิคาซอว์, ชอคทอว์, มัสคีกี (ครีค) และ เซมินโอเล (Seminole) (บางครั้งรวมกันเรียกว่าเผ่าวัฒนธรรมห้าเผ่า (Five Civilized Tribes)) ตั้งถิ่นฐานเป็นชาติอิสระในบริเวณที่เรียกว่าดีพเซาธ์ (Deep South) ของสหรัฐอเมริกา ขณะนั้นกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม (เสนอโดยจอร์จ วอชิงตัน และ เฮนรี น็อกซ์) ได้รับการสนับสนุนอย่างแพร่หลายขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มเชอโรคีและชอคทอว์ แอนดรูว์ แจ็คสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมริกาที่ใช้วิธีการโยกย้ายชาวพื้นเมืองอเมริกันตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน (Indian Removal Act of 1830) ในปี ค.ศ. 1831 ชอคทอว์เป็นชนกลุ่มแรกที่ถูกโยกย้ายและกลายเป็นกลุ่มตัวอย่างสำหรับการโยกย้ายกลุ่มอื่นๆ ต่อมา หลังจากชอคทอว์เซมินโอเลก็เป็นกลุ่มต่อมาที่ถูกโยกย้ายในปี ค.ศ. 1832, มัสคีกี (ครีค)ในปี ค.ศ. 1834, ชิคาซอว์ในปี ค.ศ. 1837 และ เชอโรคีในปี ค.ศ. 1838 เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1837 ชาวพื้นเมืองอเมริกัน 46,000 ก็ถูกโยกย้ายจากถิ่นฐานเดิมทางตอนใต้ที่ทำให้ที่ดินทั้งหมด 25 ล้านเอเคอร์กลายเป็นดินแดนสำหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวอเมริกันเชื้อสายยุโรปที่เข้ามาใหม.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและเส้นทางธารน้ำตา · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา

ตารางนี้แสดงถึงระยะเวลาที่ใช้ในการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ชีวิตก่อนที่จะเป็นประธานาธิบดี และ ช่วงหลังจากเป็นประธานาธิบดี ตั้งแต่ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนแรก จอร์จ วอชิงตัน ถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและเส้นเวลาของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

เอดการ์ แอลลัน โพ

อดการ์ แอลลัน โพ (Edgar Allan Poe; 19 มกราคม ค.ศ. 1809 – 7 ตุลาคม ค.ศ. 1849) เป็นนักเขียน กวี บรรณาธิการ และนักวิจารณ์วรรณกรรมชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดจากงานรหัสคดี และเรื่องสยองขวัญ โพเป็นนักเขียนคนแรก ๆ ที่เขียนเรื่องสั้นและได้รับการนับถือว่าเป็นผู้ริเริ่มเขียนเรื่องแต่งแนวสืบสวนสอบสวน เขายังได้รับการยอมรับว่ามีส่วนสำคัญในการพัฒนาเรื่องแนวนิยายวิทยาศาสตร์ซึ่งเพิ่งถือกำเนิดในช่วงนั้นอีกด้วย เขาเป็นนักเขียนชาวอเมริกันชื่อดังคนแรกที่พยายามหาเลี้ยงชีพด้วยการเขียนหนังสืออย่างเดียวเท่านั้น อันเป็นผลให้ชีวิตและอาชีพการงานของเขาเต็มไปด้วยปัญหาทางการเงิน เขาเกิดมาในชื่อ เอดการ์ โพ ที่เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ บิดามารดาของเขาเสียชีวิตตั้งแต่เขาอายุยังน้อย เขาได้รับการเลี้ยงดูโดยจอห์น (John) และฟรานเซส (Frances) แอลลัน แห่งเมืองริชมอนด์ รัฐเวอร์จิเนีย แต่ทั้งคู่ไม่ได้ทำเรื่องรับอุปการะเขาอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด หลังจากใช้เวลาสั้นๆในมหาวิทยาลัยแห่งเวอร์จิเนีย (University of Virginia) และพยายามไต่เต้าอาชีพการงานในกองทัพอยู่ระยะหนึ่ง โพก็แยกตัวจากครอบครัวแอลลัน อาชีพนักเขียนของเขาเริ่มต้นด้วยหนังสือรวมกวีนิพนธ์นิรนาม Tamerlane and Other Poems (1827) และใช้เพียงนามปากกาว่า “ชาวบอสตันคนหนึ่ง” โพหันเหความสนใจของเขาไปยังงานร้อยแก้วและใช้เวลาหลายปีหลังจากนั้นทำงานให้วารสารและนิตยสารวรรณกรรมจนเป็นที่รู้จักจากรูปแบบการวิจารณ์วรรณกรรมของเขาเอง การทำงานของเขาทำให้เขาต้องโยกย้ายไปมาระหว่างหลายเมือง ซึ่งรวมถึงบอลทิมอร์, ฟิลาเดลเฟีย และนครนิวยอร์ก ที่เมืองบอลทิมอร์ ปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและเอดการ์ แอลลัน โพ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แมดิสัน

มส์ แมดิสัน (James Madison) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสหรัฐอเมริกา เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1751 และเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1809 โดยเข้ารับตำแหน่งต่อจากโธมัส เจฟเฟอร์สัน ออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1817 ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1836 และยังเป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อตั้งประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและเจมส์ แมดิสัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหน้าที่การทูต

้าหน้าที่การทูต หรือ นักการทูต (diplomat) เป็นบุคคลที่รัฐแต่งตั้งให้ดำเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่นหรือองค์การระหว่างประเทศ หน้าที่หลักของนักการทูต คือ การเป็นผู้แทนเจรจาและปกป้องผลกระโยชน์ ตลอดจนปกป้องประเทศนั้น ๆ เช่นเดียวกับการสนับสนุนข้อมูลและความสัมพันธ์ฉันมิตร นักการทูตส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือกฎหมาย การใช้ทูต หรือนักการทูต ถือเป็นรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดของสถาบันนโยบายต่างประเทศของรัฐ โดยเกิดขึ้นก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และหน่วยงานรัฐบาลในรูปแบบของกระทรวงในสมัยปัจจุบันเป็นเวลาหลายศตวรรษ ในกรณีของประเทศไทย มีการใช้ทูตสื่อสารไปมาระหว่างกษัตริย์ต่อกษัตริย์มาแล้วอย่างน้อยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย หลายร้อยปีก่อนหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศจะได้มีการสถาปนาขึ้นตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่จะทรงจัดตั้งระบบบริหารราชการแผ่นดินแบบกระทรวง ในปี..

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและเจ้าหน้าที่การทูต · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและ31 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทอมัส เจฟเฟอร์สันและ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Thomas Jeffersonโธมัส เจฟเฟอร์สันโทมัส เจฟเฟอร์สัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »