โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถั่วเหลือง

ดัชนี ถั่วเหลือง

ั่วเหลือง เป็นพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสำหรับปลูกสลับกับการปลูกข้าว ได้มีรายงานการปลูกถั่วเหลืองในประเทศจีนเมื่อเกือบ 5,000 ปีมาแล้ว แต่ก็ยังไม่แน่ชัดว่าส่วนใดของประเทศจีนเป็นถิ่นกำเนิดที่สันนิษฐานและยอมรับกันโดยทั่วไปคือบริเวณหุบเขาแม่น้ำเหลือง (ประมาณเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ) เพราะว่าอารยธรรมของจีนได้ถือกำเนิดที่นั่น และประกอบกับมีการจารึกครั้งแรกเกี่ยวกับถั่วเหลือง เมื่อ 2295 ปีก่อนพุทธกาล ที่หุบเขาแม่น้ำเหลือง จากนั้นถั่วเหลืองได้แพร่กระจายสู่ประเทศเกาหลีและญี่ปุ่น เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล แล้วเข้าสู่ยุโรปในช่วงหลัง..

66 ความสัมพันธ์: AspergillusAspergillus oryzaeพืชไร่กวยจั๊บการหมักเชิงอุตสาหกรรมการขาดธาตุเหล็กการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยงภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็กมิโซะมีเรอบุซมดคันไฟอิวิคต้ารัฐไอโอวาลิวซีนลนตงวิกฤติราคาอาหารโลก (พ.ศ. 2550–2551)วิตามินบี12วิตามินบี6วงธัญพืชสหรัฐสารยับยั้งกำเนิดหลอดเลือดอาหารอาหารฟิลิปปินส์อาหารกับโรคมะเร็งอาหารมังสวิรัติอาหารอินโดนีเซียอาหารนาคาอำเภอวังโป่งผัดไทยถั่วถั่วพูถั่วดาลถั่วงอกถั่วเน่าที่ดินบราวน์ฟิลด์ขนมถั่วแปบขนมเขียวข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2คอฟฟีเมต (ตราสินค้า)คาร์นิทีนคาร์โบฟูแรนตั้ว ลพานุกรมซอสถั่วเหลืองซาโปนินซูเปอร์เทสเตอร์ประเทศญี่ปุ่นประเทศเกาหลีใต้นมข้าวนัตโตน้ำมันพืชไทย...แป้งทอด (อาหารจีน)ไฟเตตไกลโฟเสตไรโซเบียมเชื้อเพลิงชีวภาพเพกทินเกษตรกรรมเลซิทินเศรษฐกิจไทยเต็มเปเต้าหู้เต้าหู้ยี้เนยเทียมเนื้อสัตว์เทียมRhizopus oligosporusTrypticase soy agar ขยายดัชนี (16 มากกว่า) »

Aspergillus

Aspergillus เป็นสกุลของรามีสมาชิกประมาณ 200-300 ชนิดในธรรมชาติ Aspergillus พบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและAspergillus · ดูเพิ่มเติม »

Aspergillus oryzae

Aspergillus oryzae เป็นเชื้อรา (mold) ประเภทที่มีเส้นใย อยู่ในสกุล Aspergillus ซึ่งใช้ประโยชน์ในการหมักอาหาร โดยราชนิดนี้จะนิยมใช้ในอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่นสำหรับการหมักซีอิ๊วจากถั่วเหลือง โดยเตรียมอยู่ในรูปของโคจิ (koji) ซึ่งเป็นหัวเชื้อที่ใช้เพื่อการหมัก นอกจากนั้นยังใช้กับกระบวนการ Saccharify (กระบวนการเปลี่ยนแป้งให้เป็นน้ำตาล) ในข้าว ธัญพืช และมันฝรั่งในการทำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น huangjiu, สาเก, มักก็อลลี และ shōchū ซึ่งการนำ A. oryzae มาใช้นั้นมีมาตั้งแต่ 2,000 ปีที่ผ่านมา ซึ่งใช้ในการทำน้ำส้มสายชูที่หมักจากข้าว Dr.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและAspergillus oryzae · ดูเพิ่มเติม »

พืชไร่

ืชไร่ เป็นไม้ประเภทไม้ล้มลุกและไม้ทนแล้ง ต้องการน้ำน้อย มีอายุการปลูกและการเก็บเกี่ยวไม่นาน และเมื่อให้ผลผลิตแล้วลำต้นก็จะตาย พืชไร่ถือเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรของประเทศไทย พืชไร่ที่จัดเป็นพืชเศรษฐกิจนำรายได้มาสู่ประเทศไทยอย่างมาก เช่น อ้อย เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตน้ำตาลทราย, ข้าวโพด เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารสัตว์, มันสำปะหลัง เป็นวัตถุดิบในการผลิตแป้งและอาหารสัตว์ ซึ่งวิทยาลัยเกษตรกรรมได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชไร่อย่างมีคุณภาพ เช่น ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกมันสำปะหลังพันธุ์ห้วยบง 60 ซึ่งให้ผลผลิตสูง ทนโรค ส่งเสริมการปลูกสับปะรดพันธุ์เพชรบุรี ซึ่งมีคุณสมบัติหวานกรอบ เป็นต้น 150 px 150 px 150 px 150 px.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและพืชไร่ · ดูเพิ่มเติม »

กวยจั๊บ

กวยจั๊บน้ำใส กวยจั๊บ เป็นก๋วยเตี๋ยวชนิดหนึ่งที่ค่อนข้างแตกต่างจากก๋วยเตี๋ยวชนิดอื่นมากพอสมควร เพราะต้องใช้เส้นก๋วยเตี๋ยวชนิดหนึ่งที่เรียกว่าเส้นกวยจั๊บสดปรุง แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ กวยจั๊บน้ำข้น และ กวยจั๊บน้ำใส นอกจากนี้แล้ว ยังมีเส้นกวยจั๊บประเภทหนึ่ง เรียกว่า กวยจั๊บเซี่ยงไฮ้ มีลักษณะเส้นใส ทำมาจากถั่วเหลือง นิยมใช้ทำกวยจั๊บน้ำใส หรือนำไปปรุงเป็นอาหารอย่างอื่นได้ เช่น ยำ หรือ ผัดขี้เมา เป็นต้น กวยจั๊บ เป็นอาหารดั้งเดิมของแต้จิ๋ว ในภาษาจีนแต้จิ๋วมีสองคำที่ออกเสียงเหมือนกันและใช้แทนกันได้คือ แปลว่า ซุปเส้นข้าว หรืออีกนัยหนึ่งว่า แปลว่า เส้นข้าวผสม.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและกวยจั๊บ · ดูเพิ่มเติม »

การหมักเชิงอุตสาหกรรม

การหมักเชิงอุตสาหกรรม (Industrial fermentation) เป็นการหมักจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียและเห็ดรา ที่ทำโดยตั้งใจเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์ ที่สามารถใช้เป็นอาหารหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในอุตสาหกรรม สารเคมีที่มีขายทั่วไปบางอย่าง เช่น กรดน้ำส้ม กรดซิตริก และเอทานอล ล้วนผลิตโดยวิธีการหมัก ความช้าเร็วของกระบวนการหมักขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของจุลินทรีย์ เซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ เอนไซม์ รวมทั้งอุณหภูมิและค่ากรด และสำหรับการหมักบางชนิด ออกซิเจน กระบวนการสกัดผลิตภัณฑ์ออกมา บ่อยครั้งต้องเพิ่มความเข้มข้นของสารละลายที่เจือจางนั้น เอนไซม์ที่ผลิตขายทั้งหมด เช่น lipase, invertase, และ rennet จะทำโดยการหมักที่ใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในบางกรณี มวลชีวภาพของจุลินทรีย์นั่นแหละเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ยีสต์ขนมอบ (Saccharomyces cerevisiae) และแบคทีเรียที่เปลี่ยนแล็กโทสเป็นกรดแล็กติกที่ใช้ในการผลิตชีส โดยทั่วไปแล้ว สามารถแบ่งการหมักได้ออกเป็น 4 จำพวก คือ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและการหมักเชิงอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

การขาดธาตุเหล็ก

การขาดธาตุเหล็ก หรือ ภาวะขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency) เป็นการขาดสารอาหารที่สามัญที่สุดในโลก ธาตุเหล็กมีอยู่ในเซลล์ทั้งหมดของร่างกายมนุษย์และมีหน้าที่สำคัญมากหลายอย่าง เช่น การนำเอาออกซิเจนไปยังอวัยวะต่าง ๆ จากปอด โดยเป็นองค์ประกอบกุญแจสำคัญของโปรตีนเฮโมโกลบินในเลือด, การเป็นสื่อนำอิเล็กตรอนภายในเซลล์ในรูป cytochrome, การอำนวยการใช้และการเก็บออกซิเจนภายในกล้ามเนื้อโดยเป็นส่วนของไมโยโกลบิน, และเป็นสิ่งที่จำเป็นในปฏิกิริยาของเอนไซม์ในอวัยวะต่าง ๆ การมีธาตุเหล็กน้อยเกินไปสามารถรบกวนหน้าที่จำเป็นต่าง ๆ เหล่านี้ โดยทำให้เกิดโรค และอาจให้ถึงตายได้ ปริมาณธาตุเหล็กทั้งหมดในร่างกายมีประมาณ 3.8 ก. ในชาย และ 2.3 ก. ในหญิง ส่วนในน้ำเลือด เหล็กจะเวียนไปกับเลือดโดยยึดกับโปรตีน transferrin อย่างแน่น มีกลไกหลายอย่างที่ควบคุมเมแทบอลิซึมของเหล็กในมนุษย์ และป้องกันไม่ให้ขาด กลไกควบคุมหลักอยู่ในทางเดินอาหาร แต่ถ้าการสูญเสียเหล็กไม่สามารถชดเชยได้จากการทานอาหาร ภาวะขาดเหล็กก็จะเกิดขึ้นในที่สุด และถ้าไม่รักษา ก็จะลามไปเป็นภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเหล็ก (iron deficiency anemia) แต่ก่อนจะถึงภาวะโลหิตจาง ภาวะการขาดธาตุเหล็กโดยที่ยังไม่ถึงภาวะโลหิตจางเรียกว่า Latent Iron Deficiency (LID) หรือ Iron-deficient erythropoiesis (IDE) การขาดธาตุเหล็กที่ไม่รักษาอาจนำไปสู่ภาวะโลหิตจากเหตุขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นภาวะโลหิตจางที่สามัญ โดยมีเม็ดเลือดแดง (erythrocytes) หรือเฮโมโกลบิน ไม่พอ คือ ภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเหล็กจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายมีเหล็กไม่พอ มีผลลดการผลิตโปรตีนเฮโมโกลบิน ซึ่งเป็นตัวจับออกซิเจนและทำให้เม็ดเลือดแดงสามารถส่งออกซิเจนให้กับอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย เด็ก หญิงช่วงวัยเจริญพันธุ์ และบุคคลที่มีอาหารไม่สมบูรณ์เสี่ยงต่อโรคมากที่สุด กรณีโดยมากของภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเล็กไม่รุนแรง แต่ถ้าไม่รักษาก็อาจสามารถสร้างปัญหาเช่นหัวใจเต้นเร็วหรือไม่ปกติ ปัญหาระหว่างการตั้งครรภ์ การโตช้าสำหรับทารกหรือเด็ก 75-381 refend more than 1000 refend.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและการขาดธาตุเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (หรือ การทำให้เชื่อง) หรือ การปรับตัวเป็นไม้เลี้ยง (domestication, domesticus) เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างพืชหรือสัตว์ กับมนุษย์ผู้มีอิทธิพลในการดูแลรักษาและการสืบพันธุ์ของพวกมัน เป็นกระบวนการที่ประชากรสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมผ่านรุ่นโดยการคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) เพื่อเน้นลักษณะสืบสายพันธุ์ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยมีผลพลอยได้เป็นความเคยชินของสิ่งมีชีวิตต่อการพึ่งมนุษย์ ทำให้พวกมันสูญเสียความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ ชาลส์ ดาร์วินเข้าใจถึงลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จำนวนไม่มากจำนวนหนึ่ง ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงต่างจากบรรพบุรุษพันธุ์ป่า เขายังเป็นบุคคลแรกที่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการคัดเลือกพันธุ์แบบตั้งใจ ที่มนุษย์เลือกลักษณะสืบสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยตรงเพื่อจะได้ลักษณะตามที่ต้องการ กับการคัดเลือกที่ไม่ได้ตั้งใจ ที่ลักษณะมีวิวัฒนาการไปตามการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือตามการคัดเลือกอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงจะต่างจากสิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าทางพันธุกรรม และในบรรดาสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ก็ยังมีความแตกต่างกันระหว่างลักษณะสืบสายพันธุ์ที่นักวิจัยเชื่อว่า จำเป็นในระยะต้น ๆ ของกระบวนการปรับนำมาเลี้ยง (domestication trait) และลักษณะที่พัฒนาขึ้นต่อ ๆ มาหลังจากที่สิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าและพันธุ์เลี้ยงได้แยกออกจากกันแล้ว (improvement trait) คือลักษณะที่จำเป็นโดยทั่วไปมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงทั้งหมด และเป็นลักษณะที่คัดเลือกในระยะต้น ๆ ของกระบวนการ ในขณะที่ลักษณะที่พัฒนาต่อ ๆ มาจะมีอยู่ในบางพวกของสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ถึงแม้ว่าอาจจะมีแน่นอนในพันธุ์ (breed) ใดพันธุ์หนึ่งโดยเฉพาะ หรือในกลุ่มประชากรในพื้นที่โดยเฉพาะ การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (domestication) ไม่ควรสับสนกับการทำสัตว์ให้เชื่อง (taming) เพราะว่า การทำให้เชื่องเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของสัตว์ป่า ให้กลัวมนุษย์น้อยลงและยอมรับการมีมนุษย์อยู่ใกล้ ๆ ได้ แต่ว่าการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง เป็นการเปลี่ยนพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ที่นำมาเลี้ยงอย่างถาวร เป็นการเปลี่ยนความรู้สึกของสัตว์ต่อมนุษย์โดยกรรมพันธุ์ สุนัขเป็นสิ่งมีชีวิตแรกที่ปรับนำมาเลี้ยง และแพร่หลายไปทั่วทวีปยูเรเชียก่อนการสิ้นสุดสมัยไพลสโตซีน ก่อนการเกิดขึ้นของเกษตรกรรม และก่อนการนำสัตว์อื่น ๆ ต่อ ๆ มามาเลี้ยง ข้อมูลทั้งทางโบราณคดีและทางพันธุกรรมแสดงนัยว่า การแลกเปลี่ยนยีน (gene flow) ที่เป็นไปทั้งสองทางระหว่างสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงกับพันธุ์ป่า เช่น ลา ม้า อูฐทั้งพันธุ์โลกเก่าและโลกใหม่ แพะ แกะ และหมู เป็นเรื่องสามัญ และเพราะความสำคัญของการนำสิ่งมีชีวิตมาเลี้ยงต่อมนุษย์ และคุณค่าของมันโดยเป็นแบบจำลองของกระบวนการวิวัฒนาการและของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีนี้ จึงดึงดูดความสนใจของนักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ รวมทั้งโบราณคดี บรรพชีวินวิทยา มานุษยวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสาขาต่าง ๆ สุนัขและแกะเป็นสิ่งมีชีวิตพันธุ์แรก ๆ ที่มนุษย์ปรับนำมาเลี้ยง.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก

วะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

มิโซะ

มิโซะ มิโซะ เป็นผลิตภัณฑ์อาหารญี่ปุ่น หมักจากข้าว ข้าวบาร์เลย์ หรือถั่วเหลืองกับเกลือและราโคจิกิง (麹菌) ซึ่งมิโซะส่วนมากจะเป็นมิโซะจากถั่วเหลือง มีลักษณะนิ่ม (paste) รสเค็ม และมีกลิ่นคล้ายเนื้อ มีโปรตีนสูง มีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้ำตาลเข้ม มักนำมาประกอบอาหาร ทำซุปโดยละลายมิโซะในน้ำ เติมผัก เต้าหู้ เห็ดหรือสาหร่าย หรือทำเป็นเครื่องจิ้มปรุงรส สำหรับอาหารประเภทเนื้อ ปลา หอยและผัก.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและมิโซะ · ดูเพิ่มเติม »

มีเรอบุซ

มีเรอบุซ (mi rebus, mee rebus, "บะหมี่ต้ม") เป็นอาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวที่เป็นที่นิยมในมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ทำจากหมี่เหลืองชนิดเดียวที่ใส่ในฮกเกี้ยนหมี่ กินกับน้ำราดรสเผ็ด หวานเล็กน้อย น้ำราดทำจากมันฝรั่ง ผงกะหรี่ น้ำ ถั่วเหลืองหมัก กุ้งแห้ง และถั่วลิสง เครื่องปรุงอื่นจะใส่ไข่ต้ม มะปี๊ด หัวหอม ขึ้นฉ่าย พริก ฟองเต้าหู้ หอมเจียว และถั่วงอก บางครั้งใส่เนื้อวัว หรือนำหมี่ไปคลุกกับซีอิ๊วดำก่อนเสิร์ฟ นิยมรับประทานกับสะเต๊ะ ในบางพื้นที่จะเรียกมีเรอบุซว่า มีจาวา หรือ บะก์มีจาวา (mi Jawa, mee Jawa, bakmi Jawa, "บะหมี่ชวา") แต่สำหรับชาวชวาแล้ว บะก์มีจาวาเป็นอาหารอีกชนิดที่ต่างกับมีเรอบุซเล็กน้อย อาหารที่ใกล้เคียงกับมีเรอบุซในอินโดนีเซียเรียก มีเจโลร์ และเป็นที่นิยมในปาเล็มบัง.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและมีเรอบุซ · ดูเพิ่มเติม »

มดคันไฟอิวิคต้า

มดคันไฟอิวิคต้า (Red imported fire ant) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solenopsis invicta; invicta เป็นภาษาละตินแปลว่า "ไม่อาจเอาชนะได้"อยู่ในวงศ์ Formicidae มดคันไฟอิวิคต้า ถูกตีพิมพ์โดยบูเรน(Buren) ในปี..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและมดคันไฟอิวิคต้า · ดูเพิ่มเติม »

รัฐไอโอวา

อโอวา (Iowa) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา อาณาเขตติดต่อกับรัฐอิลลินอยส์ทางด้านตะวันออก รัฐเนแบรสกาทางด้านตะวันตก รัฐมิสซูรีทางด้านใต้ รัฐมินนิโซตา รัฐวิสคอนซิน และรัฐเซาท์ดาโคตา ทางด้านเหนือ ไอโอวาเป็นที่รู้จักเป็นแหล่งผลิตที่สำคัญของข้าวโพด หมู และน้ำมันเอทานอล มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของรัฐไอโอวาได้แก่ มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต มหาวิทยาลัยไอโอวา และ มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นไอโอวา ไอโอวาจะได้รับการสนใจในช่วงเลือกตั้งประธานาธิบดี เนื่องจากเป็นรัฐแรกที่มีการคอคัส ชื่อรัฐไอโอวาตั้งชื่อตาม ชาวอินเดียแดง เผ่าไอโอว.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและรัฐไอโอวา · ดูเพิ่มเติม »

ลิวซีน

ลิวซีน (leucine, Leu, L) คือกรดอะมิโนชนิดหนึ่งซึ่งจัดเป็นกรดอะมิโนจำเป็นที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นเองได้ จึงต้องได้รับจากการรับประทานอาหาร มีสูตรโครงสร้างทางเคมีคือ HO2CCH(NH2)CH2CH(CH3)2.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและลิวซีน · ดูเพิ่มเติม »

ลนตง

ลนตง (Lontong) เป็นอาหารที่ทำจากข้าวห่อเป็นทรงกระบอกด้วยใบตอง พบทั่วไปในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ ข้าวที่ห่อแล้วจะนำไปต้มให้สุก แล้วนำมาหั่นเป็นชิ้นกินเป็นอาหารหลักแทนข้าวสวย ในมาเลเซียเรียกนาซิ ฮิมปิต (nasi himpit) ลนตงขนาดเล็กจะใส่ไส้ผักเช่นแครอท ถั่ว และมันฝรั่ง บางครั้งใส่ไส้เนื้อสัตว์และกินเป็นอาหารว่าง ลักษณะคล้ายเกอตูปัต ต่างกันที่เกอตูปัตห่อด้วยใบมะพร้าวอ่อนหรือยานุร ส่วนลนตงใช้ใบตอง.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและลนตง · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤติราคาอาหารโลก (พ.ศ. 2550–2551)

กราฟแสดงปริมาณค้าขายทั่วโลกของข้าวสาลี ธัญพืช และถั่วเหลือง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึง 2551 และปริมาณคาดการณ์ถึง พ.ศ. 2559 โดยกระทรวงเกษตรแห่งสหรัฐอเมริกา 2551 กราฟแสดงอัตราสินค้าคงคลังต่อความต้องการของถั่วเหลือง ข้าวโพด และข้าวสาลี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 ถึง 2550 และปริมาณคาดการณ์ถึง พ.ศ. 2559 โดยกระทรวงเกษตรแห่งสหรัฐอเมริกา 2550 วิกฤติราคาอาหารโลก ที่เกิดขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2550 - 2551 เป็นภาวะที่ราคาอาหารเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นอย่างมาก จนทำให้เกิดความไม่มั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงความวุ่นวายในสังคมทั้งในประเทศที่ยากจนและประเทศพัฒนาแล้ว สาเหตุหลักของราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกนั้นยังเป็นประเด็นที่ยังคงถกเถียงกันอยู่ สาเหตุแรกเริ่มที่ทำให้ราคาพุ่งสูงขึ้นในปล..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและวิกฤติราคาอาหารโลก (พ.ศ. 2550–2551) · ดูเพิ่มเติม »

วิตามินบี12

วงแหวง corrin ที่เป็นโครงสร้างประกอบของวิตามิน methylcobalamin (ดังที่แสดง) เป็นรูปแบบของวิตามินบี12 อย่างหนึ่ง แต่ก็ยังคล้ายกับรูปแบบอื่น ๆ ของวิตามิน ปรากฏเป็นผลึกสีแดงซึ่งละลายน้ำเป็นสีแดงเข้ม วิตามินบี12 (12, cobalamin) เป็นวิตามินละลายน้ำได้ที่เป็นกุญแจสำคัญในการทำงานเป็นปกติของสมองกับระบบประสาท และการสร้างเม็ดเลือดแดง เป็นรูปแบบหนึ่งของวิตามินบี 8 อย่าง ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมในเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายมนุษย์ โดยมีผลเฉพาะต่อการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ เมแทบอลิซึมของกรดไขมันและกรดอะมิโน ไม่มีเห็ดรา พืช หรือสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) ที่สามารถสร้างวิตามินบี12ได้ มีแต่สิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรียและอาร์เคียที่มีเอนไซม์เพื่อสังเคราะห์มันได้ แหล่งของวิตามินที่ได้พิสูจน์แล้วเป็นผลิตภัณฑ์สัตว์รวมทั้งเนื้อ ปลา ผลิตภัณฑ์นม และอาหารเสริม แต่ก็มีงานวิจัยที่แสดงว่า ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่มาจากสัตว์บางอย่างอาจเป็นแหล่งธรรมชาติของวิตามินได้ เพราะอยู่ร่วมกับแบคทีเรีย (bacterial symbiosis) วิตามินบี12 เป็นวิตามินที่ใหญ่ที่สุด มีโครงสร้างซับซ้อนที่สุด และสามารถสังเคราะห์โดยหมักแบคทีเรีย (bacterial fermentation-synthesis) แล้วใช้เสริมอาหารและเป็นวิตามินเสริม วิตามินบี12 เป็นกลุ่มสารประกอบที่มีโครงสร้างเคมีเกี่ยวข้องกัน (หรือที่เรียกว่า vitamer) ซึ่งมีฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีธาตุโคบอลต์ (Co) ที่ไม่สามัญทางเคมี-ชีวภาพ อยู่ตรงกลางวงแหวนเชิงระนาบแบบ tetra-pyrrole ที่เรียกว่าวงแหวน corrin (ดูรูป) ซึ่งสามารถผลิตได้โดยแบคทีเรีย hydroxocobalamin แต่ร่างกายสามารถแปรรูปแบบวิตามินไปในแบบต่าง ๆ ได้ วิตามินค้นพบโดยความสัมพันธ์ของมันกับโรคภาวะเลือดจางเหตุขาดวิตามินบี12 (pernicious anemia) ซึ่งเป็นโรคภูมิต้านตนเอง และมีผลทำลายเซลล์ผนัง (parietal cell) ที่มีหน้าที่หลั่งไกลโคโปรตีน คือ intrinsic factor ในกระเพาะอาหาร เซลล์เหล่านี้ยังมีหน้าที่หลั่งกรดย่อยอาหารในกระเพาะอีกด้วย เพราะว่า intrinsic factor จำเป็นต่อการดูดซึมวิตามินตามปกติ การขาดโปรตีนนี้เพราะโรค จึงทำให้ขาดวิตามินบี12 ยังมีรูปแบบการขาดวิตามินแบบเบากว่าอื่น ๆ ที่ผลติดตามทางชีวเคมีก็ปรากฏชัดแล้ว.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและวิตามินบี12 · ดูเพิ่มเติม »

วิตามินบี6

วิตามินบี6 (Vitamin B6) เป็นวิตามินชนิดที่ละลายในน้ำได้ ซึ่งมักใช้ร่วมกับบี1 และบี12 ซึ่งวิตามินบี1 ทำงานกับคาร์โบไฮเดรตส่วนวิตามินบี6 และบี12 ทำงานร่วมกับโปรตีนและไขมัน ร่างกายมนุษย์ต้องการวิตามินบี6 ประมาณ 1.5 มิลลิกรัม.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและวิตามินบี6 · ดูเพิ่มเติม »

วงธัญพืช

วงข้าวโพดล้ม หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า ครอปเซอร์เคิล วงธัญพืช หรือ วงข้าวโพดล้ม หรือ ครอปเซอร์เคิล (crop circle) เป็นคำที่ใช้อธิบายถึงรูปแบบพืชที่ล้มลง ซึ่งเริ่มต้นจาก ข้าวโพด โดยคำนี้รวมถึง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ถั่วเหลือง วงข้าวโพดล้มนี้พบได้หลายแห่งทั่วโลก.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและวงธัญพืช · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สารยับยั้งกำเนิดหลอดเลือด

รยับยั้งกำเนิดหลอดเลือ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและสารยับยั้งกำเนิดหลอดเลือด · ดูเพิ่มเติม »

อาหาร

อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาหารฟิลิปปินส์

อาหารฟิลิปปินส์ อาหารฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยอาหาร วิธีการเตรียมและประเพณีการรับประทานอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของประเทศฟิลิปปินส์ รูปแบบของการทำอาหารและอาหารที่เกี่ยวข้องมีการพัฒนาตลอดระยะหลายศตวรรษจากวัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่มชนที่พูดภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนผสมกับอาหารสเปนและโปรตุเกส จีน อเมริกัน และอาหารอื่น ๆ ในเอเชียที่ปรับให้เข้ากับส่วนผสมพื้นเมืองและความนิยมในท้องถิ่น อาหารมีตั้งแต่ง่ายมากเช่นปลาทอดเค็มและข้าวและอาหารที่มีความประณีต อาหารยอดนิยมฟิลิปปินส์ยอดนิยมได้แก่ เลชอน (lechón หมูย่างทั้งตัว), ลองกานิซา (longganisa ไส้กรอกฟิลิปปินส์), ตาปา (tapa ทำจากเนื้อวัว), ตอร์ตา (torta ไข่เจียว), อาโดโบ (adobo ไก่และ/หรือหมูต้มในกระเทียม น้ำส้มสายชู น้ำมัน และซอสถั่วเหลืองเคี่ยวจนแห้ง), กัลเดเรตา (kaldereta สตูเนื้อในซอสมะเขือเทศ), เมชาโด (mechado เนื้อปรุงกับถั่วเหลืองและซอสมะเขือเทศ), โปเชโร (pochero กล้วยและเนื้อในซอสมะเขือเทศ), อาฟริตาดา (afritada ไก่หรือหมูในซอสมะเขือเทศกับผัก), การี-กาเร (kari-kare หางวัว และผักสุกในซอสถั่วลิสง), ปาตากรอบ (ขาหมูทอด), ฮาโมนาโด (hamonado หมูหวานในซอสสับปะรด), อาหารทะเลในน้ำซุปรสเปรี้ยว, ปันสิต (pancit ก๋วยเตี๋ยว) และลุมเปีย (lumpia ปอเปี๊ยะสดหรือทอด).

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและอาหารฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารกับโรคมะเร็ง

ษณานี้เสนอว่า อาหารที่ถูกสุขภาพจะช่วยป้องกันโรคมะเร็ง อาหารมีผลสำคัญต่อความเสี่ยงโรคมะเร็ง โดยอาหารบางอย่างอาจเพิ่มและบางอย่างอาจลดความเสี่ยง และโดยรวม ๆ แล้ว ปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งอาหาร การไม่ออกกำลังกาย และโรคอ้วนอาจจะสัมพันธ์กับความตายจากมะเร็งในอัตราถึง 30-35% แต่ก็มีงานทบทวนวรรณกรรมปี 2554 ที่เสนอว่า พลังงานจากอาหารที่บริโภคมีอิทธิพลต่ออุบัติการณ์ของมะเร็ง และอาจมีผลต่อการเติบโตของมะเร็งด้วย ไม่ใช่อาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ แม้ว่าจะมีคำแนะนำมากมายหลายอย่างเกี่ยวกับอาหารเพื่อลดความเสี่ยงต่อมะเร็ง แต่มีน้อยอย่างที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ดี แต่ทั้งโรคอ้วนและการดื่มเหล้า มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นเหตุของมะเร็ง ดังนั้น รายงานปี 2557 ขององค์การอนามัยโลก จึงแนะนำให้ลดการบริโภคเครื่องดื่มหวาน ๆ เพื่อแก้ปัญหาโรคอ้วน แม้ว่าอาหารที่มีผักผลไม้น้อยและมีเนื้อแดงมากอาจเป็นปัจจัยเสี่ยง แต่ก็ยังไม่มีการยืนยันที่ชัดเจน และอาจมีผลน้อยต่อบุคคลที่ทานอาหารสมบูรณ์และมีน้ำหนักที่เหมาะสม แต่ก็มีอาหารบางประเภทโดยเฉพาะ ที่สัมพันธ์กับมะเร็งบางอย่าง คือ มีงานศึกษาที่สัมพันธ์การบริโภคเนื้อแดง หรือเนื้อที่ผ่านกรรมวิธีการผลิตเพื่อเพิ่มรสชาติหรือเพื่อให้เก็บได้นาน (processed meat) กับการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งตับอ่อน ซึ่งอธิบายเป็นบางส่วนได้ว่าเป็นเพราะมีสารก่อมะเร็งที่เกิดขึ้นเพราะผ่านความร้อนสูง และเพราะมีอะฟลาทอกซินที่เป็นสารปนเปื้อนสามัญและทำให้เกิดมะเร็งตับ ส่วนการดื่มกาแฟสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งตับที่ต่ำกว่า การเคี้ยวหมากก่อให้เกิดมะเร็งปาก และการบริโภคอาหารที่ต่าง ๆ กันอาจอธิบายอุบัติการณ์ของมะเร็งที่ต่าง ๆ กันในประเทศต่าง ๆ ได้โดยบางส่วน ยกตัวอย่างเช่น มะเร็งกระเพาะอาหารเป็นเรื่องสามัญกว่าในประเทศญี่ปุ่นเพราะทานอาหารที่เค็มกว่า และมะเร็งลำไส้ใหญ่เกิดขึ้นอย่างสามัญกว่าในสหรัฐอเมริกา ผู้ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมักจะเกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเหมือนกับคนพื้นเมือง บางครั้งแม้ภายในชั่วยุคคนเดียว ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างอาหารกับมะเร็ง คำแนะนำทางอาหารเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปกติจะรวมการรักษาน้ำหนักตัว การรับประทานพืชผักผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี และปลา เป็นหลัก และการลดการบริโภคเนื้อแดง ไขมันสัตว์ และน้ำตาล.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและอาหารกับโรคมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

อาหารมังสวิรัติ

อาหารมังสวิรัติ อาหารมังสวิรัติ คืออาหารจำพวกผักและผลไม้ ซึ่งทำให้ได้รับกากใยอาหาร อาหารมังสวิรัตินั้นจะไม่มีเนื้อสัตว์เลย อาหารที่ผู้ถือมังสวิรัตินิยมรับประทานกัน ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว หรือผลิตภัณฑ์จากถั่ว เช่น เต้าหู้ หรือเมล็ด เช่น เมล็ดฟักทอง เมล็ดทานตะวัน เป็นต้น อาหารมังสวิรัตินั้น แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและอาหารมังสวิรัติ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารอินโดนีเซีย

ตัวอย่างของอาหารซุนดาหนึ่งมื้อ; ''อีกันบาการ์'' (ปลาย่าง), ''นาซีติมเบ็ล'' (ข้าวห่อใบตอง), ''อายัมโกเร็ง'' (ไก่ทอด), ''ซัมบัล'', ''เต็มเปทอด'' และเต้าหู้, และ ''ซายูร์อาเซ็ม''; ชามใส่น้ำและมะนาวคือโกโบกันใช้ล้างมือ สะเต๊ะในอินโดนีเซีย อาหารอินโดนีเซีย (Masakan Indonesia) เป็นอาหารทีมีความหลากหลายทางด้านรูปลักษณ์และสีสันเพราะประกอบด้วยประชากรจากเกาะต่าง ๆ ที่มีคนอยู่อาศัยประมาณ 6,000 เกาะจากทั้งหมด 18,000 เก.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและอาหารอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาหารนาคา

อาหารนาคา อาหารของชาวเผ่านาคาเป็นที่รู้จักกันสำหรับการใช้เนื้อสัตว์ที่แปลก แต่ละเผ่าย่อยจะมีอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของตน ส่วนผสมที่มีความเรียบง่ายและรสจัด เนื้อสัตว์และปลาส่วนใหญ่เป็นอาหารรมควัน บางส่วนเป็นเนื้อแห้งหรือหมัก อาหารส่วนใหญ่เป็นหน่อไม้หมักกับปลาหรือหมู อาหารที่ทำจากใบและถั่วเหลือง.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและอาหารนาคา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังโป่ง

อำเภอวังโป่ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและอำเภอวังโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

ผัดไทย

ผัดไทย (ผัดไท เป็นตัวสะกดผิดที่พบได้บ่อย) เป็นอาหารไทยที่สามารถหารับประทานได้ทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะในภาคกลาง และอาจพบได้ในร้านอาหารไทยในต่างประเทศบางแห่ง.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและผัดไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถั่ว

อัลมอนด์ ถั่ว คือ พืชที่อยู่ในวงศ์ Fabaceae จัดแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและถั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วพู

ั่วพู เป็นพืชล้มลุก ดอกสีขาวอมม่วง ผลเป็นฝักแบนยาวมี 4 ปีก ความยาวของฝักประมาณ 3-4 นิ้ว ภายในมีเมล็ดกลมเรียบ นิยมนำถั่วพูมาประกอบอาหารประเภทยำหรือกินสด ถั่วพูเป็นผักที่เสียเร็ว เหี่ยวง่ายและเกิดสีน้ำตาลเร็ว เก็บได้ไม่นาน คุณค่าทางอาหาร ถั่วพูมีคาร์โบไฮเดรต เส้นใย โปรตีน ไขมัน แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส วิตามินเอ ซี อี บี1 บี2 ไนอะซิน สรรพคุณทางยาบำรุงกำลัง แก้อ่อนเพลีย บรรเทาอาการปวดเมื่อย แก้ตัวร้อน ลดไข้ ในอาหารไทยนำฝักอ่อนมาลวก กินกับน้ำพริก ยำ หั่นใส่ในแกงส้ม แกงป่าหรือกินกับขนมจีน หั่นผสมในทอดมัน ยอดอ่อนและดอกใช้จิ้มน้ำพริก ใบอ่อนทำสลัดหรือใส่ในแกงจืด เมล็ดแก่คั่วให้สุกรับประทานได้ หัวแก่ใช้เชื่อมเป็นของหวานหรือเผารับประทานเช่นเดียวกับมันเทศหรือมันสำปะหลัง ในพม่า นำหัวถั่วพูไปต้มจิ้มน้ำจิ้ม กินเป็นอาหารว่าง ใบอ่อนกินเป็นสลัด ในปาปัวนิวกินีนำหัวถั่วพูไปห่อใบตองหรือใบไผ่แล้วย่างรับประทาน ในอินโดนีเซียนำเมล็ดถั่วพูไปทำเทมเป้เช่นเดียวกับถั่วเหลือง หัวถั่วพูนำมาสับ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชงน้ำดื่มต่างน้ำ เป็นยาบำรุงกำลัง ในทางสิ่งแวดล้อม ถั่วพูสามารถส่งเสริมการย่อยสลายแอนทราซีนและฟลูออรีนในไรโซสเฟียร์ได้ดี.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและถั่วพู · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วดาล

ลมาซูร์ ทำจากถั่วเลนทิลแดง.http://www.sinfulcurry.com/simple-masoor-dal-indian-lentils-recipe/ Simple Masoor Dal – Indian Lentils Recipe ดาล มขานี อาหารของชาวปัญจาบ ดาล (दाल Dāl, दाल Daal, ডাল Dāl, ಬೇಳೆ Bēḷe, दाळ, Dāl, -ml Parippu, डाळ Ḍāḷ, ଡାଲି Daali, பருப்பு Paruppu, పప్పు Pappu, Dāl, دال, ภาษาคุชราต: દાળ) เป็นคำที่ชาวอินเดียใช้เรียกถั่วกระเทาะซีก ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในอาหารอินเดีย คำว่าดาล มาจากภาษาสันสกฤตแปลว่าแยกออก ดาลเป็นการเตรียมอาหารจากถั่วแห้ง ซึ่งเอาเปลือกชั้นนอกออกและยังหมายถึงสตูว์เนื้อสัตว์ที่ใช้ดาลเป็นส่วนประกอบสำคัญ พบในอาหารอินเดีย อาหารเนปาล อาหารปากีสถาน อาหารศรีลังกาและอาหารบังคลาเทศ นิยมกินกับข้าวและผักในภาคใต้ของประเทศอินเดียและนิยมกินกับข้าวและโรตีทางภาคเหนือของอินเดียและปากีสถาน ดาลเป็นแหล่งของโปรตีนสำหรับอาหารที่มีเนื้อน้อยหรือไม่มีเลย ดาลในอาหารศรีลังกาคล้ายกับอาหารอินเดียใต้ ในอินเดียใต้ นิยมใช้ดาลทำอาหารที่เรียกว่า sambar Dal ซึ่งเป็นต้มยำของเม็ดถั่วแดงและผักสุกกับมะขามและผักบางชนิด กินกับข้าว.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและถั่วดาล · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วงอก

ั่วงอกชนิดต่าง ๆ ถั่วงอก คือ ต้นถั่วที่มีรากงอกจากเมล็ด เช่น ถั่วเขียว ถั่วดำ ถั่วเหลือง (ถั่วงอกหัวโต) ถั่วลันเตา (โต้วเหมี่ยว) เป็นต้น ถั่วงอกเป็นผักชนิดหนึ่งและมีคุณค่าทางอาหารสูง ได้แก่ โปรตีน วิตามินบี วิตามินซี ใยอาหาร เหล็ก (1.6 กรัมต่อ 1 ถ้วยตวง) และเกลือแร่ สืบค้นวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและถั่วงอก · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเน่า

ั่วเน่า เป็นเครื่องปรุงสำคัญในอาหารไทยภาคเหนือ ทำจากถั่วเหลือง ใช้แทนกะปิได้ ได้รับอิทธิพลจากชาวไทลื้อและชาวไทใหญ่ ใกล้เคียงกับนัตโตะ (natto) ซึ่งเป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศญี่ปุ่น ส่วนอาหารพื้นเมืองของประเทศอื่นที่มีลักษณะคล้ายถั่วเน่า คือคีเนมา (kenema) ซึ่งเป็นอาหารพื้นเมืองของชาวเนปาลและอินเดีย และ chungkookjang ซึ่งใช้เป็นเครื่องปรุงรสของประเทศเกาหลี จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องและมีบทบาทสำคัญในการหมักถั่วเน่าคือแบคทีเรียในกลุ่มบาซิลลัส (Bacillus sp.)ที่มากับวัตถุดิบหรือจากสิ่งแวดล้อม แบคทีเรียนี้มีรูปร่างเป็นท่อนเห็นต่อกันเป็นสาย เป็นอาหารหมักที่ไม่เติมเกลือระหว่างหมัก เป็นแหล่งของอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงแต่ราคาถูก แต่ถั่วยังมีปัญหาขาดวิตามินบี 12 ซึ่งจะทำปัญหาเกิดโรคโลหิตจางและโรคเกี่ยวกับระบบประสาท ฯ ถั่วเน่าที่นิยมบริโภคกันมี 2 แบบคือ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและถั่วเน่า · ดูเพิ่มเติม »

ที่ดินบราวน์ฟิลด์

ที่ดินบราวน์ฟิลด์ (Brownfield land) คือที่ดินที่มีหรือเคยมีอสังหาริมทรัพย์ประเภทพาณิชยกรรมหรืออุตสาหกรรมที่ถูกปล่อยปละละเลย ใช้งานไม่สมค่าหรือถูกทิ้งร้างและเป็นเหตุให้การขยาย การฟื้นฟูหรือการพัฒนาเมืองต้องประสบความยุ่งยาก หรือในแง่ของสิ่งแวดล้อมถือเป็นที่ดินที่ยังมีมลภาวะหรือมีมลพิษตกค้าง ในการผังเมืองที่ดินบราวน์ฟิลด์ในสหรัฐฯ หมายถึงที่ดินที่เคยใช้ด้านการอุตสาหกรรมหรือด้านพาณิชยกรรมเฉาะด้านอย่างใดอย่างหนึ่งมาก่อน และเป็นที่ดินที่อาจแปดเปื้อนด้วยของเสีย หรือจากมลพิษที่ไม่เข้มข้นมากนัก และเป็นที่ดินที่มีศักยภาพที่จะนำกลับมาใช้ใหม่ได้หลังการทำความสะอาดแล้ว ที่ดินที่แปดเปื้อนของเสียหรือมลพิษที่มีความเข้มสูงมาก เช่นที่ดินที่ประกาศเป็นพื้นที่หายนะทางมลพิษโดยกฎหมายสิ่งแวดล้อม (ของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า “Superfund” –ที่ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการแก้ไข) หรือเป็นที่ดินที่มีของเสียเป็นพิษตกค้างด้วยความเข้มสูงมากๆ ไม่จัดอยู่ในประเภทของการเป็นที่ดินบราวน์ฟิลด์ สำหรับประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย คำว่าที่ดินบราวน์ฟิลด์มีความหมายเพียงการเป็นที่ดินที่เคยถูกใช้งานมาก่อนเท่านั้น คำว่า “บราวน์ฟิลด์” ซึ่งแปลตรงๆ เป็นภาษาไทยได้ว่า “ทุ่งสีน้ำตาล” (ซึ่งไม่ตรงความหมาย –จึงเรียกว่าบราวน์ฟิลด์ทับศัพท์ไปก่อน) คำนี้มีผู้นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและที่ดินบราวน์ฟิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ขนมถั่วแปบ

บทความที่เป็นพืชดูที่ ถั่วแปบ ขนมถั่วแปบเป็นขนมไทยชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวห่อไส้ที่เป็นถั่วเหลือง มะพร้าวขูด แล้วนำไปนึ่ง ขนมที่มีลักษณะใกล้เคียงกับขนมถั่วแปบคือขนมเขียว มีไส้เป็นแบบเดียวกัน หมวดหมู่:ขนมไทย หมวดหมู่:อาหารประเภทข้าวเหนียว.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและขนมถั่วแปบ · ดูเพิ่มเติม »

ขนมเขียว

นมเขียว เป็นขนมพื้นบ้านของจังหวัดปราจีนบุรี ต้นกำเนิดอยู่ที่อำเภอนาดี เป็นขนมลูกผสมระหว่างข้าวเกรียบปากหม้อกับขนมถั่วแปบ เปลือกที่ใช้ห่อข้างนอกใช้แป้งข้าวเจ้าที่เป็นแป้งโม่ โดยผสมข้าวเจ้าแข็ง น้ำปูนใส ใบเตยสับนำไปโม่ด้วยเครื่องโม่จนได้น้ำแป้งสีเขียว นำไปผสมกับแป้งข้าวเจ้าชนิดและแป้งมัน นำไปละเลงบนผ้าขาวบางที่คลุมอยู่บนปากหม้อที่ตั้งน้ำไว้จนเดือด พอสุกแคะใส่จาน ตักไส้ที่ประกอบด้วยถั่วเหลือง มะพร้าวขูด น้ำตาลทราย และเกลือ พับครึ่ง ตักใส่จาน ขนมนี้ต่างจากข้าวเกรียบปากหม้อที่ไม่ต้องกินกับผัก และไม่ต้องกินกับน้ำตาลทรายโรยเกลือเหมือนขนมถั่วแป.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและขนมเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2

อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย 2 (The Amazing Race Asia 2) เป็นปีที่สองของรายการเรียลลิตี้โชว์ทางโทรทัศน์ที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขัน 10 ทีม ทีมละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ สำหรับซีซั่นนี้เริ่มออกอากาศตอนแรกทางช่องเอเอกซ์เอ็น ในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เวลา 21 นาฬิกา (เวลา UTC+8) และตอนสุดท้ายออกอากาศในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เวลา 21 นาฬิกา (เวลา UTC+8).

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2 · ดูเพิ่มเติม »

คอฟฟีเมต (ตราสินค้า)

อฟฟีเมตรสเฟร้นช์วานิลลาและเฮเซิลนัต คอฟฟีเมต (Coffee-Mate) เป็นครีมเทียมที่ผลิตโดยบริษัทเนสท์เล่ มีทั้งแบบผงแบบน้ำและแบบเข้มข้น เริ่มจำหน่ายขายมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและคอฟฟีเมต (ตราสินค้า) · ดูเพิ่มเติม »

คาร์นิทีน

ร์นิทีน เป็นสารประกอบจตุรภูมิของแอมโมเนียมที่สังเคราะห์ได้จากกรดอะมิโนสองชนิดคือ ไลซีนและเมธไทโอนีน ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตคาร์นิทีนจะลำเลียงกรดไขมันจากไซโตซอลเข้าสู่ไมโทคอนเดรียระหว่างการสลายของลิพิด (ไขมัน) เพื่อใช้ในการเผาผลาญพลังงาน คาร์นิทีนถูกใช้เป็นอาหารเสริมกันอย่างกว้างขวาง เดิมคาร์นิทีนพบว่าเป็นปัจจัยในการเจริญเติบโตของหนอนนกและมีอยู่บนฉลากวิตามินบี คาร์นิทีนมีอยู่ 2 stereoisomers: Active form คือ L-carnitine ขณะที่ inactive form คือ D-carnitine.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและคาร์นิทีน · ดูเพิ่มเติม »

คาร์โบฟูแรน

ร์โบฟูแรน (Carbofuran) เป็นยาฆ่าแมลงประเภทคาร์บาเมต มีลักษณะเป็นเม็ดคล้ายทรายหยาบสีม่วง วางจำหน่ายในชื่อการค้าว่า ฟูราดาน (Furadan) โดยบริษัท เอฟเอ็มซี คอร์ปอเรชัน และชื่อการค้า คูราแทร์ (Curater) นิยมใช้กำจัดศัตรูพืชหลายชนิด ทั้ง มันฝรั่ง ข้าวโพด ถั่วเหลือง ข้าว คาร์โบฟูแรนเป็นยาฆ่าแมลงชนิดดูดซึมเข้าสู่ราก ลำต้น และใบ มีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของระบบประสาทที่รวดเร็วและรุนแรง มีฤทธิ์การทำลายสูง มีค่า LD50 สำหรับหนู ประมาณ 8-14 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สำหรับสุนัข ประมาณ 19 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ปัจจุบันคาร์โบฟูแรนถูกห้ามใช้ในหลายประเท.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและคาร์โบฟูแรน · ดูเพิ่มเติม »

ตั้ว ลพานุกรม

รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและตั้ว ลพานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

ซอสถั่วเหลือง

ซอสถั่วเหลือง เป็นเครื่องปรุงอาหารที่ทำจากถั่วเหลืองหมัก, เมล็ดข้าวย่าง, น้ำเกลือ และเชื้อรา Aspergillus oryzae หรือ Aspergillus sojae ซอสถั่วเหลืองมีการคิดค้นมาราว 2,200 ปี ในช่วงราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ของจีนโบราณ และแพร่ขยายไปทั่วเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้เป็นเครื่องปรุงอาหาร.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและซอสถั่วเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ซาโปนิน

รงสร้างทางเคมีของโซลานีน ซาโปนิน (saponin) เป็นสารกลุ่มไกลโคไซด์ที่มีสมบัติเป็นแอมฟิฟิล (amphiphile) สามารถละลายได้ทั้งในน้ำและไขมัน จะเกิดเป็นฟองเมื่อนำมาผสมกับสารละลายในน้ำ สารกลุ่มซาโปนินมักมีโครงสร้างเป็นไกลโคไซด์ชนิดไฮโดรฟิลิก (ละลายน้ำ) จับกับสารอนุพันธ์ไตรเทอร์พีนชนิดไลโพฟิลิก (ละลายในไขมัน).

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและซาโปนิน · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์เทสเตอร์

ซูเปอร์เทสเตอร์ ให้ใช้ศัพท์ต่างประเทศของคำว่า super และ taster แทนคำไทยได้, วิธีถอดอักษรโรมันเป็นไทยของราชบัณฑิตยสถานจะเขียนว่า "ซุปเป้อร์เท้สเต้อร์" (supertaster แปลอย่างหนึ่งได้ว่า สุดยอดคนชิมอาหาร) เป็นบุคคลผู้ที่สามารถรับรสของสิ่งที่อยู่ที่ลิ้น ในระดับที่เข้มข้นมากกว่าคนอื่นโดยเฉลี่ย ในประชากรทั้งหมด ผู้หญิง 35% และผู้ชาย 15% เป็นซูเปอร์เทสเตอร์ และมีโอกาสที่จะสืบเชื้อสายมาจากคนเอเซีย คนอัฟริกา และคนอเมริกาใต้มากกว่าคนเชื้อชาติอื่น ๆ BBC เหตุของระดับการตอบสนองที่สูงขึ้นเช่นนี้ยังไม่ชัดเจน ถึงแม้จะเชื่อกันว่า มีเหตุเกี่ยวข้องกับการมียีน TAS2R38 ซึ่งทำให้สามารถรับรสของสาร PropylthiouracilPropylthiouracil เป็นยาที่แปลงมาจากสาร Thiouracil ใช้ในการรักษาโรคไทรอยด์รวมทั้งโรคคอพอกตาโปนโดยลดฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ และ PhenylthiocarbamidePhenylthiocarbamide หรือเรียกว่า phenylthiourea เป็นสารประกอบประเภท organosulfur thiourea มีวงแหวนแบบ phenyl เป็นสารมีคุณสมบัติพิเศษที่มีรสชาติอาจจะเป็นขมมากหรือไม่มีรสอะไรเลย ขึ้นอยู่กับยีนของผู้ลิ้มรส ได้ และโดยส่วนหนึ่ง มีเหตุจากมีปุ่มรูปดอกเห็ด (fungiform papillae ที่ประกอบด้วยเซลล์รับรส) บนลิ้นที่มากกว่าปกติ การได้เปรียบของความสามารถนี้ในวิวัฒนาการไม่ใชัดเจน ในสิ่งแวดล้อมบางประเภท การตอบสนองทางรสชาติในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะต่อรสขม อาจจะเป็นความได้เปรียบที่สำคัญใช้ในการหลีกเลี่ยงสารแอลคาลอยด์ที่อาจเป็นพิษในพืช แต่ในสิ่งแวดล้อมอื่น การตอบสนองในระดับที่สูงขึ้นอาจจะจำกัดอาหารที่ทานแล้วรู้สึกอร่อย fungiform papillae ที่ลิ้นปรากฏเพราะสีอาหารสีน้ำเงิน คำนี้บัญญัติโดยนักจิตวิทยาเชิงทดลองชื่อว่า ลินดา บาร์โทชัก ซึ่งทำงานวิจัยเป็นอาชีพเป็นเวลานานเกี่ยวกับความแตกต่างในยีนของการรับรู้รส ในต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ดร.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและซูเปอร์เทสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

นมข้าว

นมข้าวในแก้ว นมข้าว เป็นเครื่องดื่มที่ได้จากข้าว โดยมากทำมาจากข้าวกล้อง ความหวานของนมข้าวจะแตกต่างกันไปตามกระบวนการย่อยคาร์โบไฮเดรตเป็นกลูโคสในธรรมชาติ เมื่อเทียบกับนมวัวแล้ว นมข้าวจะมีคาร์โบไฮเดรตสูงกว่า แต่ไม่มีแคลเซียมหรือโปรตีนในปริมาณสำคัญ นอกจากนี้นมข้าวยังไม่มีคอเลสเตอรอลและแล็กโทส จึงเหมาะกับผู้ที่แพ้ถั่วเหลือง, เป็นโรคฟีนิลคีโตนูเรีย หรือมีภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส และยังใช้แทนผลิตภัณฑ์นมในกลุ่มมังสวิรัติเคร่งครัด (vegan) อีกด้วย แต่ด้วยการที่มีโปรตีนน้อยและไม่มีสารอาหารที่จำเป็นต่อเด็ก ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจึงไม่แนะนำให้ผู้ปกครองให้นมข้าวแก่เด็กอายุต่ำกว่าสองปี เพราะวัยนี้ยังต้องการสารอาหารที่จำเป็นอยู่มาก.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและนมข้าว · ดูเพิ่มเติม »

นัตโต

นัตโตบนข้าว นัตโต เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศญี่ปุ่น ทำจากถั่วเหลือง หมักด้วยเชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis สายพันธุ์ natto นิยมรับประทานเป็นอาหารเช้า นัตโตอุดมไปด้วยโปรตีน เช่นเดียวกับมิโซะ ทำให้เป็นแหล่งโภชนาการที่สำคัญของญี่ปุ่นมาช้านานและคุณค่าทางโปรตีนที่สูงทำให้สามารถใช้แทนเนื้อสัตว์ได้ แต่เนื่องจากนัตโตมีกลิ่นแรงและมีลักษณะเป็นเมือกซึ่งเกิดจากการย่อยโปรตีนระหว่างการหมัก ดังนั้นจึงทำให้มีทั้งผู้ที่ชอบและไม่ชอบ ในญี่ปุ่นนิยมรับประทานกันในแถบภาคตะวันออก เช่น คันโต โทโฮะกุและฮกไกโด นัตโต ปรุงแต่งด้วยต้นหอม มัสตาร.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและนัตโต · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมันพืชไทย

ริษัท น้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) (THAI VEGETABLE OIL PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:TVO) บริษัทดำเนินกิจการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการเกษตร สินค้าหลักที่บริษัทผลิตได้แก่ น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันทานตะวัน กากทานตะวัน กากถั่วเหลืองเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตอาหารสัตว์ วัตถุดิบเพื่อใช้ผสมอาหารเพื่อเลี้ยงลูกสุกรและไก่ เป็นต้น.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและน้ำมันพืชไทย · ดูเพิ่มเติม »

แป้งทอด (อาหารจีน)

ระวังสับสนกับ: แป้งทอด (อาหารญี่ปุ่น) แป้งทอด หรือ ขนมเปี๊ยะสด (เซาปิ่ง; "ฮวงกั๊วะเปี๊ยะ") เป็นขนมโบราณของคนจีน ทำจากแป้งหรือเป็นแป้งผสมมันเทศบด ยัดไส้ด้วยถั่วเหลือง หรือเผือก กดให้แบนแล้วนำไปทอด อาจโรยงาด้วยก็ได้ การที่ชาวจีนเรียกขนมแป้งทอดว่า "ฮวงกั๊วะเปี๊ยะ" (火燒) เนื่องจากการทำขนมต้องใช้มันเทศเป็นส่วนผสม เพราะชาวจีนปลูกมันเทศเป็นจำนวนมาก จึงนำมาทำอาหารและขนม.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและแป้งทอด (อาหารจีน) · ดูเพิ่มเติม »

ไฟเตต

ฟเตต (phytate) หรือ Phytic acid พบมากในพืชตระกูลถั่วโดยเฉพาะถั่วเมล็ดแห้ง เช่น ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว และงา มีฤทธิ์ในการยั้บยั้งการดูดซึมของแร่ธาตุบางชนิด ได้แก่ ธาตุเหล็ก สังกะสี แคลเซียม ฟอสฟอรัส ซึ่งมีอยู่ในอาหารที่เรารับประทานเข้าไป หากร่างกายได้รับเข้าไปในปริมาณมากจะทำให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมแร่ธาตุเหล่านั้นได้ตามปกติ ไฟเตตสามารถสลายไปได้โดยการใช้ความร้อน ดังนั้น ควรปรุงให้สุกก่อนรับประทาน.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและไฟเตต · ดูเพิ่มเติม »

ไกลโฟเสต

กลโฟเสต (Glyphosate) หรือ N-(ฟอสโฟโนเมทิล) ไกลซีน เป็นยากำจัดวัชพืชโดยวิธีฉีดพ่นและดูดซึมทางใบ, วิธีฉีดเข้าลำต้น หรือหยอดที่ยอด เป็นยากำจัดวัชพืชที่มีปริมาณการใช้งานมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาUS EPA 2000–2001 Pesticide Market Estimates, ทั้งในการจัดการเกษตร และการตกแต่งสวนหย่อม ไกลโฟเสตถือสิทธิบัตรและผลิตจำหน่ายในสหรัฐอเมริกามาตั้งแต่ทศวรรษ 1970 โดยบริษัทมอนซานโต้ ในชื่อการค้า ราวด์อัพ (Roundup) ในปัจจุบันมอนซานโตได้พัฒนาพืชผลที่ผ่านการตัดแต่งพันธุกรรมให้สามารถทนทานต่อไกลโฟเสต เช่น ถั่วเหลือง ข้าวโพด ถั่วอัลฟัลฟา ข้าวฟ่าง คาโนลา ทำให้สามารถฉีดพ่นไกลโฟเสตเพื่อทำลายวัชพืชโดยไม่ทำลายพืชผล เพิ่มความสะดวกและลดค่าใช้จ่ายในการจัดการ ใช้ชื่อการค้าว่า พืชราวด์อั้พ เรดดี้ (Roundup Ready Trait) สิทธิบัตรที่บริษัทมอนซานโตได้รับนั้น มีผลคุ้มครองถึงปี..

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและไกลโฟเสต · ดูเพิ่มเติม »

ไรโซเบียม

รโซเบียม (Rhizobium) เป็นจีนัสของแบคทีเรียที่อยู่ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตลอดวงชีวิต แหล่งพลังงานของไรโซเบียมได้แก่ มอลโตส ซูโครส กลูโคสและแมนนิทอลแต่ไม่สามารถใช้เซลลูโลส แป้งและเพกตินเป็นแหล่งพลังงานได้ สมศักดิ์ วังใน.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและไรโซเบียม · ดูเพิ่มเติม »

เชื้อเพลิงชีวภาพ

ื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) เป็น เชื้อเพลิง ที่ได้จาก ชีวมวล หรือ มวลชีวภาพ ซึ่งเป็นผลผลิตจากสิ่งมีชีวิต หรือ ผลิตผลจากการสร้างและสลายของสิ่งมีชีวิต (metabolic byproducts) เช่นมูลสัตว์ ซึ่งเป็น พลังงานทดแทน (Alternative energy) และเป็นพลังงานสะอาด (clean energy)ไม่เหมือนพลังงานจาก แหล่งธรรมชาติ อื่น เช่น ปิโตรเลียม ถ่านหิน และ เชื้อเพลิง นิวเคลียร.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเชื้อเพลิงชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เพกทิน

รงสร้างทางเคมีของเพกทิน เพกทิน (pectin) เป็นพอลิเมอร์ชีวภาพ (biopolymer) หรือพอลิเมอร์ธรรมชาติ (natural polymer) ที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมาช้านานโดยใช้เป็นสารเพิ่มความข้นหนืด สารก่อเจล ในผลิตภัณฑ์แยม เจลลี่ และสารเพิ่มความคงตัวของระบบคอลลอยด์ในเครื่องดื่มน้ำผลไม้และผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเนื้อคล้ายเยลลี่ ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมามีการนำเพกทินมาใช้ในทางเภสัชกรรมและอุตสาหกรรมยาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเพกทินมีสมบัติเฉพาะที่ทำให้สามารถนำมาใช้เก็บกักหรือนำส่งยา โปรตีน และเพปไทด์ เป็นต้น พรศักดิ์ ศรีอมรศัก.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเพกทิน · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เลซิทิน

ตัวอย่างโครงสร้างทางเคมีของสารประกอบกลุ่มเลซิทิน เลซิทิน (lecithin) เป็นไขมันชนิดฟอสโฟไลปิค (phospholipid) ที่มีความจำเป็นต่อเซลล์ทุกชนิดในร่างกาย เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุมการเข้าออกของสารอาหาร ถ้าไม่มีเลซิทินจะมีลักษณะแข็งและขาดความยืดหยุ่น นอกจากนี้ยังพบว่าเลซิทินเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มสมอง กล้ามเนื้อ และเซลล์ประสาท เลซิทินยังมีคุณสมบัติเป็น emulsifier หรือสารที่ทำให้น้ำกับน้ำมันเข้ากันได้ ดังนั้นจะพบว่าได้มีการนำมาใช้ในการควบคุมโคเลสเทอรอลในเลือดอย่างแพร่หลาย เลซิทินพบได้มากในถั่วเหลือง แต่แหล่งอาหารอื่น ๆ ที่ให้เลซิทินยังมีอีกมากมาย อาทิ ไข่แดง ตับ ข้าวโอ๊ต กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก เนื้อสัตว์ ปลา บริวเวอร์ยีสต์ และพืชบางชนิด ทั้งนี้อาจจะรวมถึงผลิตภัณฑ์ Multi-Vitamin ที่มีเลซิทินผสมอยู่ด้วย เลซิทินที่วางจำหน่ายในท้องตลาดมีอยู่สองชนิด คือ แกรนูล และแคปซูล ชนิดแกรนูลนิยมรับประทาน โดยผสมกับเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ เช่น นม นมเปรี้ยว น้ำผลไม้ ฯลฯ และยังนิยมให้ผสมหรือโปรยบนอาหารประเภทต่าง ๆ อีกด้วย สารสำคัญที่พบในเลซิทิน ได้แก่ ฟอสฟาทิดิลโคลีน (phosphatidylcholine) เป็น ซึ่งสารนี้จะให้วิตามินบีชนิดหนึ่ง เรียกว่า โคลีน สารโคลีนเป็นสารต้นตอในการสังเคราะห์สารสื่อประสาท อะซีทิลโคลีน (acetylcholine) ส่วนประกอบอื่น ๆ ของเลซิทิน ได้แก่ ฟอสฟาทิดิลอิโนซิทอล ฟอสฟาทิดิลเอททาโนลามีน กรดไลโนเลอิก ฯลฯ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเลซิทิน · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจไทย

รษฐกิจไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานว่า ประเทศไทยมีจีดีพี 11.375 ล้านล้านบาท มีอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ 3.02% ประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงินเป็นอันดับที่ 29 ของโลก และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อเป็นอันดับที่ 24 ของโลก ในปี 2556 เศรษฐกิจไทยเติบโต 2.9% จีดีพีมาจากการใช้จ่ายของครัวเรือน 54.4% การใช้จ่ายของรัฐบาล 13.8% การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร 26.7%.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเศรษฐกิจไทย · ดูเพิ่มเติม »

เต็มเป

ต็มเปสดในตลาดในกรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย ห่อด้วยใบตอง เต็มเป (tempe; ชวา: témpé) เป็นผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองแบบพื้นบ้านของอินโดนีเซีย เป็นอาหารที่เตรียมด้วยการหมักจนถั่วเหลืองกลายเป็นแท่งคล้ายเค้ก เป็นอาหารหมักจากถั่วเหลืองเพียงชนิดเดียวที่อยู่นอกอิทธิพลของจีน จุดกำเนิดของเต็มเปอยู่ที่บริเวณที่เป็นประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน และเป็นที่นิยมในเกาะชวา เป็นแหล่งของโปรตีนเช่นเดียวกับเต้าหู้ แต่มีลักษณะ สารอาหาร และคุณภาพของเนื้อสัมผัสต่างไป กระบวนการหมักเต็มเปและการที่ยังคงรูปถั่วเหลืองไว้ทำให้ยังมีปริมาณโปรตีน เส้นใย และวิตามินสูง เมื่อเก็บไว้นานจะมีกลิ่นเหมือนดินแรงขึ้น เพราะมีคุณค่าทางอาหารสูง เต็มเปจึงเป็นที่นิยมในบรรดาผู้ที่รับประทานมังสวิรัติ โดยใช้แทนเนื้อสัตว.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเต็มเป · ดูเพิ่มเติม »

เต้าหู้

ต้าหู้ (''Kinugoshi tōfu'') เต้าหู้ กำเนิดมากว่า 2,000 ปีในจีนแผ่นดินใหญ่ คนจีนบางกลุ่มถือว่าเต้าหู้เป็นอาหารที่มีคุณค่าสูงที่อยู่ในความธรรมดาสามัญ คนไทยเรียกเต้าหู้เพี้ยนมาจากภาษาจีนว่า 豆腐 อ่านว่า โตวฟู คนฮกเกี้ยนเรียกว่า ต๋าวหู คนญี่ปุ่นเรียกกันว่า โทฟุ (tofu) คนอังกฤษเรียก bean curd หรือบางครั้งก็เรียกทับศัพท์ว่า tofu เช่นกัน ส่วนชาวฝรั่งเศสเรียกว่า fromage de soja (ชีสถั่วเหลือง).

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเต้าหู้ · ดูเพิ่มเติม »

เต้าหู้ยี้

__notoc__ เต้าหู้ยี้ เต้าหู้ยี้บรรจุขวด เต้าหู้ยี้ เป็นอาหารจีนชนิดหนึ่ง ได้จากการหมักเต้าหู้ขาวกับเกลือและเครื่องปรุงรสต่างๆ มีคุณค่าโปรตีนจากถั่วเหลืองที่นำมาทำเต้าหู้ขาว มีลักษณะเป็นก้อนเต้าหู้เนื้อแน่น มีรสเค็ม นำมารับประทานโดยตรงหรือนำไปประกอบเป็นอาหารอื่นได้หลากหลาย ชาวจีนรู้จักวิธีทำเต้าหู้มานานหลายศตวรรษ เต้าหู้ยี้มีชื่อเรียกในภาษาจีนหลายชื่อ เช่น เต้าฟูรู โทฟูรู ทูซูฟู ซูฟู (sufu) และ ต้าวยู่ (豆乳)(สำเนียงฮกเกี้ยน) เป็นต้น ซึ่งคำว่า ซูฟู หมายถึงก้อนที่มีราขึ้น (milk mold) ราชนิดนี้เป็นราที่กินได้ เต้าหู้ยี้ยังมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษอีกชื่อหนึ่งว่า Chinese Cheese.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเต้าหู้ยี้ · ดูเพิ่มเติม »

เนยเทียม

นยเทียม มาการีน คืออาหารสังเคราะห์อย่างหนึ่งเพื่อใช้แทนเนย ผลิตขึ้นจากไขมันชนิดอื่นที่ไม่ได้มาจากนมวัว เนยเทียมทำยอดขายได้ดีสำหรับแบบที่ใช้ทาขนมปัง ถึงแม้ว่าเนยธรรมดาและน้ำมันมะกอกก็ยังครองตลาดส่วนใหญ่อยู่ เนยเทียมสามารถนำมาใช้ประกอบอาหารแทนเนยธรรมดาได้ ในบางประเทศมีกฎหมายว่าไม่ให้อ้างถึงเนยเทียมว่าเป็น "เนย".

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเนยเทียม · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อสัตว์เทียม

ปรตีนเกษตร เนื้อสัตว์เทียม คือวัตถุดิบประกอบอาหาร ทำจากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ใช้ประกอบอาหารแทนเนื้อสัตว์ เนื้อสัตว์เทียมมักใช้เป็นส่วนผสมในอาหารมังสวิรัติหรืออาหารเจ โดยมีชนิดย่อยต่างๆ คือ.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและเนื้อสัตว์เทียม · ดูเพิ่มเติม »

Rhizopus oligosporus

Rhizopus oligosporus เป็นราในวงศ์ Mucoraceae ที่นิยมใช้เป็นหัวเชื้อสำหรับการทำเต็มเปที่เป็นอาหารพื้นบ้านของอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นการหมักราสีขาวกับถั่วเหลือง จนนิ่มและกินได้ Rhizopus oligosporus สร้างยาปฏิชีวนะที่ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียแกรมบวก รวมทั้งเชื้อที่เป็นอันตราย เช่น Staphylococcus aureus และเป็นประโยชน์ เช่น Bacillus subtilis Rhizopus oligosporus มีอีกชื่อหนึ่งคือ Rhizopus microsporus var.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและRhizopus oligosporus · ดูเพิ่มเติม »

Trypticase soy agar

Trypticase soy agar (TSA) เป็นอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย ประกอบด้วยเคซีนและถั่วเหลืองที่ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ซึ่งเป็นแหล่งของกรดอะมิโนและธาตุอาหารอื่นๆ มีเดกซ์โตสเป็นแหล่งคาร์บอน มีโซเดียมคลอไรด์เพื่อรักษาแรงดันออสโมติก และไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเป็นบัฟเฟอร์ อาหารนี้อาจจะเพิ่มเลือดหรือยาปฏิชีวนะตามแต่ความต้องการในการเลี้ยงเชื้อ อาหาร 1 ลิตรประกอบไปด้วย.

ใหม่!!: ถั่วเหลืองและTrypticase soy agar · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Glycine maxSoy

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »