โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตา

ดัชนี ตา

ม่านตา (iris) คือ ส่วนที่มีสีต่างๆกัน thumb ตา คือส่วนรับแสงสะท้อนของร่างกาย ทำให้สามารถมองเห็น และรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวได้ ตาของสัตว์ต่างๆ มีรูปแบบที่ต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นตาของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์ปีก, สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์น้ำ โดยดวงตาของสัตว์ที่พัฒนาแล้ว มักจะมีเพียง 2 ดวง และ อยู่ด้านหน้าของใบหน้า เพื่อการมองเห็นแบบ 3 มิติ ตา คือ อวัยวะที่ทำหน้าที่รับแสง โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีอวัยวะรับแสงที่แตกต่างกัน ตาที่เรียบง่ายที่สุดจะไม่สามารถทำอะไรได้เลยเว้นแต่การรับรู้ว่าสิ่งแวดล้อมนั้นมืดหรือสว่างเพื่อให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ เช่น กลางวันหรือกลางคืน เป็นต้น แต่จะไม่สามารถรับรู้ออกมาเป็นภาพได้ ตาที่ซับซ้อนกว่าจะมีรูปทรงและสีที่เป็นเอกลักษณ์ ในระบบตาที่ซับซ้อน ตาแต่ละดวงจะสามารถรับภาพที่มีบริเวณที่ซ้อนทับกันได้ เพื่อให้สมองสามารถรับรู้ถึงความลึก หรือ ความเป็นสามมิติของภาพ เช่น ระบบตาของมนุษย์ อย่างไรก็ตาม ตาของสัตว์บางชนิด เช่น กระต่ายและกิ้งก่า ได้ถูกออกแบบมาให้มีส่วนของภาพที่ซ้อนทับกันน้อยที่สุด เลนส์ ที่อยู่ส่วนข้างหน้าของตาทำหน้าที่เช่นเดียวกับเลนส์ของกล้อง เมื่อคนเราแก่ตัวลง ตาของคนแก่จะไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และต้องใช้แว่น หรือคอนแทคท์เลนส์ จึงจะสามารถมองเห็นชัดเจนได้.

289 ความสัมพันธ์: ชั้นสแคโฟโปดาบาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติชุ่ย ผิงบ้านนี้ต้องมีเหมียวพระพุทธสุรินทรมงคลพระกุมารกัสสปะพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอากบมะเขือเทศมาดากัสการ์กระรอกสีสวยกระจกตากราวเขียวกลุ่มอาการหลงผิดว่าตายังคงอยู่กล้องดีเอสแอลอาร์กล้องปริทรรศน์กล้ามเนื้อดีเพรสเซอร์ ซูเปอร์ซิลิไอกล้ามเนื้อไอริส สฟิงคเตอร์กล้ามเนื้อไอริส ไดเลเตอร์กะโหลกศีรษะกะโหลกศีรษะมนุษย์กั้งการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติการรับรู้ความใกล้ไกลการรักษาตาเหล่การปรับตัวของประสาทการปรับตาดูใกล้ไกลการแข่งจ้องตาการแปลสัมผัสผิดการเห็นภาพซ้อนการเห็นด้วยตาเดียวการเห็นเป็น 3 มิติการเข้ารหัสทางประสาทกาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์กุ้งยิงภาพยนตร์ภาพเคลื่อนไหวติดตาภาวะเสียการระลึกรู้ทางตาภาวะเสียการอ่านเข้าใจมิถุนายน พ.ศ. 2549มนุษย์นกฮูกม้าน้ำเหลืองยาทาเล็บยาไอซ์รอยบุ๋มจอตาระบบการทรงตัวระบบการเห็นระบบรับความรู้สึกรังสีอัลตราไวโอเลตรันชูรายชื่อกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์...รายชื่อตัวละครในแฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหารรายชื่อโครงสร้างทางกายวิภาคมนุษย์รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รูม่านตาขยายลักษณะปรากฏลานสายตาลิงลมลิงสามตัวลีดส์อิชธีส์วัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ววันวิสาขบูชาวิระยา ชวกุลวิวัฒนาการของตาวิถีประสาทวิทยาการอำพรางข้อมูลวงศ์กบมีหางวงศ์ปลากระบอกวงศ์ปลามังกรน้อยวงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกันวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้ายวงศ์ปลาลิ้นเสือวงศ์ปลาวัววงศ์ปลาสตาร์เกเซอร์วงศ์ปลาหมอช้างเหยียบวงศ์ปลาผีเสื้อวงศ์ปลาตาเหลือกยาววงศ์ปลาแมววงศ์ปลาเฉี่ยววงศ์ปูบกวงศ์นกแสกวงศ์นกเค้าแมวสกุลมีสทัสสกุลดีอานีม่าสกุลไซโนกลอสซัสสกุลไซเลอร์อัสสภาพพลาสติกข้ามระบบประสาทสภาวะเห็นทั้งบอดสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกสารต้านฮิสตามีนสิงห์จีนสุริยุปราคาสีสตาร์เกเซอร์ (แก้ความกำกวม)สเปกตรัมมองเห็นได้หมาหริ่งหัวโขนหงส์ขาวคอดำอวัยวะอวตาร (ภาพยนตร์)อันดับบ่างอันดับปลาตาเหลือกอันดับปลาฉลามครุยอันดับปลาโรนันอันดับปลาไหลนาอายตนะอายไลเนอร์อิบน์ อัลบัยฏอรอินทรีทะเลหัวนวลอีนิด ไบลตันผึ้งผีไม่มีหน้าจอตาจอตาลอกจักษุวิทยาจิ้งเหลนจระเข้ตาแดงจุดภาพชัดเสื่อมจุดมืดดวงอาทิตย์ทัวทาราทีมฟอร์เทรส 2ขอบฟ้าณเดชน์ คูกิมิยะดวงตา (แก้ความกำกวม)ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตดาราศาสตร์ดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionáriaคราฟมากาความบอดการเห็นเป็น 3 มิติความละเอียดเชิงมุมความดันโลหิตสูงความต่างที่สองตาความเจ็บปวดคอร์เนียล ลิมบัสงูหางกระดิ่งงูอนาคอนดาเขียวงูแมมบาตะพาบแก้มแดงตัวกินมดซิลกี้ตัวรับโดปามีนตา (แก้ความกำกวม)ตาบอดสีตามัวตามนุษย์ตาที่สามตาโปนตาเหล่ตุ่นต่อมน้ำตาอักเสบต้อกระจกต้อหินต้อเนื้อซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่นปรากฏการณ์ที่เกิดในตาปลาชะโอนหินปลาชะโอนถ้ำปลาบู่กล้วยปลาบู่กล้วย (สกุล)ปลาบู่หมาจูปลาช่อนจุดอินโดปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)ปลากระดี่ยักษ์ปลากระเบนหางปีกปลากระเบนจุดฟ้าปลากระเบนไฟฟ้าปลากะพงเขียวปลากัด (สกุล)ปลาการ์ตูนแดงปลาก้างอินเดียปลาวัวจมูกยาวปลาวัวปิกัสโซเรดซีปลาสิงโตปีกเข็มปลาสินสมุทรจักรพรรดิปลาสีขนปลาสเตอร์เจียนปลาสเตอร์เจียนยุโรปปลาหมอฟลามิงโก้ปลาหมอมาคูลิคัวด้าปลาหมอริวูเลตัสปลาหมอสีไซไพรโครมิสปลาหมอออสเซลาริสปลาหมอแคระแรมโบลิเวียปลาหัวตะกั่วปลาหางไหม้ปลาอมไข่ครีบยาวปลาออสการ์ปลาผีตุ่นปลาผีเสื้อนกกระจิบปลาจาดปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่างปลาจิ้งจกปลาทาทูเอียปลาตองปลาตองลายแอฟริกาปลาตองแอฟริกาปลาตาเดียวปลาฉลามหัวค้อนปลาฉลามครุยปลาซิวหนวดยาวปลาซิวข้างเหลืองปลาซิวใบไผ่ปลาซิวใบไผ่ใหญ่ปลาปอดออสเตรเลียปลาปักเป้าคองโกปลาปักเป้าตาแดงปลาปักเป้าแคระปลาน้ำฝายปลาแพะเขียวปลาแขยงทองปลาแขยงดานปลาแป้นเขี้ยวปลาแนนดัสปลาใบไม้อเมริกาใต้ปลาโลมาน้อยปลาโนรีหน้าหักปลาโนรีเกล็ดปลาไบเคอร์เซเนกัลปลาไหลมอเรย์ตาขาวปลาไซเชเดลิกาปลาเบลนนี่ปลาเวลส์ปลาเสือหกขีดปลาเฉี่ยวหินปวดศีรษะปางทรงพยากรณ์ปิน็อกกีโอปูจั๊กจั่นนกอินทรีสีน้ำตาลนกทึดทือมลายูนกแสกแดง (สกุล)นกเค้าเหยี่ยวนาคนิติเวชกีฏวิทยาน้ำตาแบบสิ่งเร้าแบล็ก แอนนิสแก้มแมงสี่หูห้าตาแว่นตาแอมฟิอูมาสองนิ้วแอมโมเนียมไบคาร์บอเนตแอนทิโลปแจ็ค ข้อเท้าสปริงแทนาทอสแซนโทฟิลล์โกโช อาโอยามะโยฮันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์โรคจอตามีสารสีโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยาโรงพยาบาลขอนแก่นโขนโดะงูไบโอตินไอโนะทะเนะไฮโดรเจนคลอไรด์ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ไทรออปส์เบวะซิซิวแมบเบียร์ดดราก้อนเกลือแร่เก้งเยื่อตาเยื่อตาอักเสบเรือรบอวกาศยามาโตะเลนส์เหยี่ยวนกเขาชิคราเหยี่ยวแคระแอฟริกันเฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิเจนตามัยซินเจ้าหญิงปีศาจเทียนนกแก้วเขียดงูเตตราโครมาซีเต่าญี่ปุ่นเต่าอัลลิเกเตอร์เต่านาอีสานเซลล์รูปแท่งเปลือกสมองส่วนรู้รสเปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2เนซิออนICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซมICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอกICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตายICD-10 บทที่ 2: เนื้องอกICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาOrthopticsRetinal ganglion cellSuperior colliculus ขยายดัชนี (239 มากกว่า) »

ชั้นสแคโฟโปดา

ั้นสแคโฟโปดา (ชั้น: Scaphopoda) เป็นหนึ่งในชั้นของไฟลัมมอลลัสคาที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนปัจจุบัน ซึ่งสัตว์ในชั้นนี้พบมีอยู่มายาวนานกว่า 240 ล้านปีมาแล้ว โดยพบหลักฐานในซากดึกดำบรรพ์ ปัจจุบันพบแล้วประมาณ 1,000 ชนิด ซึ่งเรียกกันในชื่อสามัญว่า หอยงาช้าง หรือ หอยฟันช้าง(Tusk Shell) ทุกชนิดจะอาศัยอยู่ภายใต้พื้นทรายใต้ทะเล มีรูปร่างโดยรวม คือ เปลือกมีรูปร่างคล้ายฝักดาบซามูไรหรืองาของช้าง มีลักษณะเรียวยาว โค้งตรงกลางเล็กน้อย หน้าตัดเป็นทรงค่อนข้างกลม มีช่องเปิดที่ปลายสุดของทั้งสองด้านซึ่งด้านหนึ่งจะใหญ่กว่าอีกด้านเสมอ มีขนาดตั้งแต่ 5 มิลลิเมตรจนถึง 15 เซนติเมตร ศัพท์คำว่า Scaphopoda นั้น สามารถแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า "เท้าเป็นจอบ" (shovel-footed) มีลักษณะโครงสร้างคือ ไม่มีตา ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีแม้กระทั่งอวัยวะสำคัญอย่าง หัวใจ โดยเลือดจะถูกสูบโดยแรงดันน้ำภายในเนื้อเยื่อจากการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อเท้าที่มีรูปร่างคล้ายจอบ ที่ใช้ขุดเจาะเพื่อแทรกเปลืองลงวางตัวดิ่งในพื้นทราย มีอวัยวะพิเศษคล้ายหนวดเล็ก ๆ รอบ ๆ ปากด้านล่างเรียกว่า "captacula" ทำหน้าที่ดักจับอาหารเข้าสู่ปากเพื่อบดเคี้ยวและย่อยสลาย แล้วพ่นทิ้งออกอีกทางเป็นของเสีย เปลือกของหอยงาช้าง นั้น ผู้หญิงในอินเดียนแดงเผ่าลาโคตาใช้ทำเครื่องประดับสำหรับตกแต่งเสื้อผ้าหรือชุดที่สวมใส่เช่นเดียวกับขนของเม่น.

ใหม่!!: ตาและชั้นสแคโฟโปดา · ดูเพิ่มเติม »

บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ

กัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งนำตัวของเล่นบาคุกัน ที่จำหน่ายโดยเซก้า มาดัดแปลงเนื้อเรื่องและสร้างเป็นอะนิเมะ ออกอากาศเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2551 มีความยาวทั้งหมด 51 ตอน, tv-tokyo.co.jp, เรียกข้อมูลเมื่อ 25 มี..

ใหม่!!: ตาและบาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ชุ่ย ผิง

ผิง (Tsui Ping) เป็นนักร้องหญิงชาวฮ่องกง มีชื่อเสียงในฐานะนักร้องเพลงป็อปภาษาจีนกลาง ระหว่างช่วงทศวรรษ 1950 ถึงต้นทศวรรษ 1970 เป็นเจ้าของสมญา "ปลาทอง" (Goldfish Beauty, 金魚美人) เนื่องจากมีนัยน์ตากลมโตงดงาม ครอบครัวของชุ่ย ผิง เป็นชาวมณฑลเจียงซู แต่เธอเกิดที่ฮาร์บินระหว่างที่บิดาเดินทางไปติดต่อธุรกิจที่นั่น ต่อมาครอบครัวย้ายไปอาศัยที่ฮ่องกง เธอเริ่มอาชีพนักร้องหลังจากได้ร้องเพลงในงานสังสรรค์แห่งหนึ่งเมื่ออายุ 15 ปี และสะดุดตานักแต่งเพลงชื่อ Wong Fuk Lin (王福齡) ซึ่งเป็นผู้แนะนำให้เธอเข้าทดสอบร้องเพลงและแสดงนำในภาพยนตร์ของบริษัทชอว์บราเดอส์ เธอได้รับเลือกให้รับบทนำในภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่ได้ตัดสินใจยึดอาชีพนักร้องเป็นหลัก Wong Fuk Lin ได้แต่งเพลงให้ชุ่ย ผิงร้องหลายเพลง เพลงที่ได้รับความนิยม ได้แก่ "This Precious Night" (今宵多珍重) และ "Nang Ping Evening Bells" (南屏晚鐘) ชีวิตส่วนตัว เธอสมรสกับ เจียง หง (江宏, Jiang Hong) นักร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ของชอว์บราเดอส์ จนกระทั่งเขาเสียชีวิตในปี 1995 ชุ่ย ผิงประกาศอำลาวงการในปี 1971 แต่ยังกลับมาร้องเพลงในคอนเสิร์ตรอบพิเศษในปี 1997 และปรากฏตัวเป็นแขกรับเชิญรายการโทรทัศน์ในปี 2004.

ใหม่!!: ตาและชุ่ย ผิง · ดูเพิ่มเติม »

บ้านนี้ต้องมีเหมียว

ี้ ในแบบอะนิเมะ บ้านนี้ต้องมีเหมียว (Chi's Sweet Home, チーズスイートホーム, โรมะจิ: chīzu suīto hōmu, 奇奇的異想世界, 甜甜私房貓) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวเซเน็น ซึ่งมีทั้งมังงะและอะนิเมะ สร้างสรรค์โดย คานาตะ โคนามิ ออกเป็นครั้งแรกเป็นมังงะในวีคลี่ มอร์นิ่ง ในปี พ.ศ. 2550 ในประเทศไทยตีพิมพ์และจัดจำหน่ายโดย สยามอินเตอร์คอมิกส์ เป็นเรื่องราวของ จี้ ซึ่งเป็นตัวละครเอกในเรื่อง เป็นลูกแมวลายสีขาว-เทา ตาโต ที่หลงกับแม่ มาอยู่กับครอบครัว ยามาดะ ที่อพาร์ตเมนต์แห่งหนึ่งที่ไม่อนุญาตให้เลี้ยงสัตว์เลี้ยง ครอบครัวยามาดะ ประกอบไปได้วย พ่อ ที่เป็นนักสร้างสรรค์โฆษณา แม่ ที่เป็นแม่บ้าน และ โยเฮ ลูกชายตัวเล็ก ๆ อายุ 4 ขวบ ของทั้งคู่ ที่เป็นเพื่อนเล่นของจี้ จี้มีนิสัยชอบกินและนอน และเล่นกับโยเฮหรือของใช้ในบ้านต่าง ๆ กลัวฟ้าผ่า, สุนัขหรือแมวตัวใหญ่กว่า บ้านนี้ต้องมีเหมียว ได้รับการสร้างเป็นอะนิเมะในปี พ.ศ. 2552 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โตเกียวและสถานีโทรทัศน์โอซะกะ ด้วยตอนสั้น ๆ เพียงตอนละ 3 นาทีเท่านั้น จนถึงปัจจุบันนี้ออกอากาศมาแล้ว 2 ปี ในประเทศไทย บ้านนี้ต้องมีเหมียวฉบับอะนิเมะออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี, ดีวีดี โดยเดกซ์ และเคยออกอากาศทางช่องทรู สปาร์ค ต่อมาได้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 18.45 น. เริ่มตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: ตาและบ้านนี้ต้องมีเหมียว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธสุรินทรมงคล

ระพุทธสุรินทรมงคล เป็นพระพุทธรูปปางประทานพร ตั้งอยู่ในวนอุทยานพนมสวาย เขาชาย จังหวัดสุรินทร์ หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก มีหน้าตักกว้าง 15 เมตร สูง 25 เมตร ชื่อพระพุทธรูปนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานไว้.

ใหม่!!: ตาและพระพุทธสุรินทรมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระกุมารกัสสปะ

ระกุมารกัสสปเถระ เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า นับเนื่องในพระอสีติมหาสาวก 80 องค์สำคัญในสมัยพุทธกาล พระกุมารกัสสปเถระ มีนามเดิมว่า กัสสปะ เป็นนามที่พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงตั้งให้ ต่อมาท่านบวชในพระพุทธศาสนา เวลาพระโคตมพุทธเจ้าตรัสเรียกภิกษุชื่อกัสสปะ จะถูกทูลถามว่ากัสสปะไหน จึงตรัสว่า กุมารกัสสปะ เพราะท่านบวชมาตั้งแต่ยังเด็ก บิดาและมารดาไม่ปรากฏชื่อ เป็นชาวเมืองสาวัตถี มารดาของท่านศรัทธาจะบวชตั้งแต่ยังไม่ได้แต่งงาน แต่บิดาและมารดาไม่อนุญาต หลังจากแต่งงานแล้วขออนุญาตสามี ในที่สุดสามีอนุญาตให้บวช เธอจึงบวชเป็นภิกษุณีโดยไม่รู้ตัวว่าตั้งครรภ์ ครั้นอยู่มาครรภ์ได้ใหญ่ขึ้น ภิกษุณีทั้งหลายรังเกียจเธอ จึงนำไปให้พระเทวทัตตัดสิน พระเทวทัตตัดสินว่า เธอศีลขาด แม้เธอจะชี้แจงเหตุผลอย่างไรก็ไม่ยอมรับฟัง ภิกษุณีทั้งหลายจึงพาไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ทรงมอบหมายให้พระอุบาลีเถระตัดสิน พระอุบาลีเถระเชิญตระกูลใหญ่ๆ ชาวสาวัตถีและนางวิสาขามาพิสูจน์ได้ว่า นางตั้งครรภ์มาก่อนบวช ศีลของนางบริสุท.

ใหม่!!: ตาและพระกุมารกัสสปะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: ตาและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา

ประติมากรรมเศียรของพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา (กรีก: Φίλιππος Β' ὁ Μακεδών-มีความหมายว่า- φίλος (phílos) "เพื่อน" + ἵππος (híppos) "ม้า") กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรมาเกโดนีอา มีรัชสมัยอยู่ระหว่าง 359– 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นพระบิดาของอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา หรือที่รู้จักดีในนาม อเล็กซานเดอร์มหาราช พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีพระเนตรที่ใช้การได้เพียงข้างเดียว เป็นกษัตริย์นักรบแห่งมาเกโดนีอา ที่ทำการรบเอาชนะนครรัฐต่าง ๆ ของกรีซโบราณได้หลายแห่ง ทั้ง ธีบส์, เอเธนส์ หรือสปาร์ตา เมื่อพระองค์ทำการยึดครองนครรัฐเอเธนส์ซึ่งเสมือนเป็นศูนย์กลางของกรีซโบราณได้แล้ว ทำให้ชาวกรีกในนครรัฐต่าง ๆ ต้องเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อชาวมาเกโดนีอาใหม่ จากที่เคยมองว่าเป็นเพียงชนเผ่าที่เหมือนเป็นเผ่าป่าเถื่อน ไร้อารยธรรมทางเหนือของอาณาจักรเท่านั้น เมื่อพระองค์ไม่ได้ทำลายสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ หรือทำลายอารยธรรมของชาวเอเธนส์ หากแต่พระองค์ได้พยายามเรียนรู้และผสมรวมกันกับอารยธรรมของมาเกโดนีอา และพระองค์ยังได้ส่งเสริมนักวิชาการ นักปราชญ์ชาวเอเธนส์ต่าง ๆ ด้วยว่าจ้างให้ไปเผยแพร่ความรู้ยังมาเกโดนีอา และเป็นอาจารย์สอนวิทยาการต่าง ๆ ให้แก่ชาวมาเกโดนีอา เช่น อริสโตเติล ซึ่งอเล็กซานเดอร์ เมื่อครั้งยังเยาว์วัย ก็เป็นลูกศิษย์ของอริสโตเติลด้วยเช่นกัน ในการสงคราม พระองค์ได้ปรับปรุงยุทธวิธีการรบแบบใหม่ ทรงพัฒนากองทัพมาเกโดเนียโบราณขึ้นจนถึงจุดสมบูรณ์แบบ โดยใช้การผสมระหว่างกองทหารราบและกองทหารม้าเข้าไว้ด้วยกัน ใช้อาวุธแบบใหม่ คือ ทวนที่มีความยาวกว่า 5 เมตร โดยการใช้กองทหารตั้งแถวหน้ากระดานเดินบุกขึ้นหน้า และใช้ทวนยาวนี้พุ่งทะลุแทงข้าศึก ซึ่งรูปแบบการรบที่ใช้กันต่อมาอย่างยาวนานของกรีซโบราณ อีกทั้งยังประดิษฐ์หน้าไม้ที่มีอานุภาพยิงได้ระยะไกล และทะลวงเข้าถึงเกราะหรือโล่ของข้าศึกได้อีกด้วย พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีประสงค์ที่จะทำสงครามกับอาณาจักรเปอร์เซีย ที่เสมือนเป็นคู่สงครามกับชาวกรีกมาตลอด แต่ประสงค์ของพระองค์มิทันได้เริ่มขึ้น เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ลงก่อนเมื่อเดือนตุลาคม 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช ขณะที่มีพระชนมายุได้ 46 ปี จากการลอบสังหารด้วยมีดปักเข้าที่พระอุระของมือสังหารที่เดินตามหลังพระองค์ ขณะที่พระองค์อยู่ในงานเฉลิมฉลอง ซึ่งไม่มีใครทราบถึงสาเหตุของการลอบสังหารครั้งนี้ เพราะมือสังหารได้ถูกสังหารโดยทหารองครักษ์ลงก่อนที่จะไต่สวนใด ๆ ได้มีการสันนิษฐานต่าง ๆ เช่น อาจเป็นการว่าจ้างของกษัตริย์เปอร์เซียด้วยทองคำ เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา · ดูเพิ่มเติม »

กบมะเขือเทศมาดากัสการ์

กบมะเขือเทศมาดากัสการ์ หรือ อึ่งมะเขือเทศมาดากัสการ์ (Tomato frog, Madagascar tomato frog) สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ในอันดับกบชนิดหนึ่ง ในวงศ์อึ่งอ่าง (Microhylidae) มีผิวหนังเรียบลื่นเป็นมัน สีแดงเข้มเหมือนมะเขือเทศ จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีรอยย่นสีดำที่ตาและมีดวงตาสีเขียว ปากแคบ มีสันนูนเป็นรอยย่นขึ้นมาบนปาก ใต้ท้องสีเหลือง ช่องคอเป็นสีดำ ลำตัวอ้วนสั้น ขนาดเมื่อโตเต็มที่ตัวผู้จะมีสีส้มยาวประมาณ 2.5 นิ้ว หนัก 40 กรัม ขณะที่ตัวเมียจะมีสีแดง และมีขนาดใหญ่กว่า คือ ยาว 4 นิ้ว หนัก 227 กรัม เมื่อยังเป็นวัยอ่อนสีสันจะยังไม่ฉูดฉาดเหมือนตัวเต็มวัย กระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำจืดบนเกาะมาดากัสการ์ ทางแอฟริกาตะวันออก ว่ายน้ำได้ไม่เก่ง แต่กินอาหารไม่เลือก ได้แก่ แมลงขนาดใหญ่, ตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่นหนอน, จิ้งหรีด, หนอนผึ้ง ตลอดจนสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทั้งในน้ำและบนบก กบมะเขือเทศมาดากัสการ์มีพิษที่รุนแรงบนผิวหนัง เมื่อตกใจหรือเครียด จะปล่อยสารเคมีสีขาวขุ่นเหมือนกาวเพื่อใช้ในการป้องกันตัว ซึ่งสารนี้สามารถเกาะติดกับลำตัวของศัตรูที่มาคุกคามได้นานถึง 2 วัน แม้แต่ขนาดงูพิษยังไม่อาจจะกินได้ ขยายพันธุ์ในช่วงฤดูฝน ตัวผู้จะส่งเสียงเรียกตัวเมีย ภายหลังการผสมพันธุ์แล้ว ตัวเมียจะนำไข่ซึ่งมีทั้งสีขาวและสีดำ ประมาณ 1,000-1,500 ฟอง ปล่อยลงสู่ผิวน้ำ ไข่จะฟักเป็นลูกอ๊อดในเวลา 2 วัน ใช้เวลาพัฒนาเหมือนตัวเต็มวัย 1 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 10 ปี กบมะเขือเทศมาดากัสการ์ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และมีแสดงตามสวนสัตว์ต่าง ๆ อาทิ เขาดินวน.

ใหม่!!: ตาและกบมะเขือเทศมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกสีสวย

กระรอกสีสวย (Beautiful squirrels) เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะ จำพวกกระรอก ในสกุล Callosciurus (/คาล-โล-ซิ-อู-รัส/) มีลักษณะโดยทั่วไป คือ หัวกลม ใบหูกลม ตาโต ขนหางฟูเป็นพวง มีความยาวโดยเฉลี่ยส่วนหัวและลำตัว 13-27 เซนติเมตร (5.1-11 นิ้ว) ความยาวหางประมาณ 13-27 เซนติเมตร (5.1-11 นิ้ว) เช่นกัน ส่วนใหญ่มีสีเขียวมะกอกหรือสีเทา มีลายขีดหรือลายแถบสีคล้ำบริเวณด้านข้างลำตัว ส่วนท้องเป็นสีขาวหรือสีเหลืองนวล แต่ส่วนใหญ่มักจะมีสีสันที่หลากหลายมาก เช่น อาจจะมีสีขาว, สีแดงสด หรือสีน้ำตาล บริเวณด้านข้างลำตัวได้ หรืออาจจะเป็นสีขาวล้วนทั้งตัวก็ได้ เป็นกระรอกที่แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ จนถึงตอนใต้ของจีน และเกาะไต้หวัน แพร่กระจายพันธุ์ไปในหลายภูมิประเทศตั้งแต่ป่าดิบทึบ จนถึงสวนสาธารณะในชุมชนเมือง ส่วนใหญ่จะหากินตามลำพังเพียงตัวเดียว หากินบนต้นไม้ในเวลากลางวันเป็นหลัก กินผลไม้, ลูกไม้, ยอดอ่อนของต้นไม้ หรือใบไม้ต่าง ๆ เป็นหลัก และอาจกินแมลง, หนอน, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก หรือขโมยไข่นกเป็นอาหารได้ด้วย สร้างรังบนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 1-5 ตัว ตัวเมียมีเต้านม 2-3 คู่ แบ่งออกได้เป็น 15 ชนิด และหลากหลายมากมายชนิดย่อยและสีสัน โดยมีกระรอกสามสี เป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุด และกระรอกหลากสี มีความหลากหลายทางสีสันจึงแบ่งเป็นชนิดย่อยมากที.

ใหม่!!: ตาและกระรอกสีสวย · ดูเพิ่มเติม »

กระจกตา

กระจกตา เป็นส่วนโปร่งใสด้านหน้าของตาซึ่งคลุมอยู่หน้าม่านตา, รูม่านตา, และห้องหน้า (anterior chamber) กระจกตาทำหน้าที่หักเหแสงร่วมกับเลนส์ตา (lens) และช่วยในการโฟกัสภาพ โดยกระจกตามีส่วนเกี่ยวกับกำลังการรวมแสง (optical power) ของตาถึง 80%Cassin, B. and Solomon, S. Dictionary of Eye Terminology.

ใหม่!!: ตาและกระจกตา · ดูเพิ่มเติม »

กราวเขียว

กราวเขียว หรือ ตะพาบหัวกบ (Asian giant softshell turtles) เป็นสกุลของตะพาบจำพวกหนึ่ง พบกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pelochelys มีด้วยกันทั้งสิ้น 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ตาและกราวเขียว · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มอาการหลงผิดว่าตายังคงอยู่

กลุ่มอาการหลงผิดว่าตายังคงอยู่ (Phantom eye syndrome, ตัวย่อ PES) รวมความเจ็บปวดที่ตาและการเกิดประสาทหลอนทางตา หลังจากที่เอาตาข้างใดข้างหนึ่งออกโดยการควักลูกตา (enucleation) หรือการควักเนื้อในลูกตา (evisceration).

ใหม่!!: ตาและกลุ่มอาการหลงผิดว่าตายังคงอยู่ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องดีเอสแอลอาร์

ตัวอย่างกล้อง D-SLR (Canon EOS 5D) กล้องดีเอสแอลอาร์ (D-SLR) เป็นกล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยวด้วยระบบดิจิทัล มีลักษณะเหมือนกล้องที่ใช้ฟิล์ม เพียงแต่ใช้เซ็นเซอร์ในการรับภาพแทนฟิล์ม.

ใหม่!!: ตาและกล้องดีเอสแอลอาร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องปริทรรศน์

แสดงการทำงานของกล้องปริทรรศน์ โดยด้านซ้ายเป็นกล้องที่ทำจากกระจกเงา ด้านขวาเป็นกล้องที่ทำจากปริซึม '''a''' กระจกเงา '''b''' ปริซึม '''c''' ตาของผู้สังเกต กล้องปริทรรศน์, กล้องตาเรือ หรือ กล้องดูแห่ (periscope) คือกล้องรูปร่างแท่งสี่เหลี่ยมหรือทรงกระบอก ด้านในประกอบด้วยกระจกเงาสองแผ่นติดอยู่ที่ปลายแต่ละด้านของกล้อง โดยให้ด้านเงาเอียงขนานเข้าหากัน ทำมุม 45 องศากับลำกล้อง และปลายกล้องสองด้านจะเจาะรูด้านข้างให้แสงส่องถึงด้านเงาของกระจก โดยให้ช่องที่ปลายด้านหนึ่งเป็นช่องแสงเข้า ช่องที่ปลายอีกด้านหนึ่งเป็นช่องสำหรับมอง คำว่า "ปริทรรศน์" (ปะ-ริ-ทัด) มาจากคำภาษาสันสกฤต ว่า ปริ กับ ทรฺศน แปลว่า การสำรวจ หรือ การดูไปรอบ ๆ ภาพแสดงการประยุกต์ใช้กล้องปริทรรศน์ ที่ทำจากกระจกเงา เมื่อนำไปใช้ แสงจากวัตถุจะเข้าทางช่องแสงเข้า สะท้อนกระจกบานแรกลงมาตามลำกล้อง และสะท้อนกระจกบานที่สอง เข้าสู่ตาของผู้สังเกต ทำให้ผู้สังเกตสามารถเห็นวัตถุที่อยู่สูงกว่าระดับสายตา หรือถูกสิ่งกีดขวางบังอยู่เช่นกำแพงหรือฝูงชนได้.

ใหม่!!: ตาและกล้องปริทรรศน์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อดีเพรสเซอร์ ซูเปอร์ซิลิไอ

กล้ามเนื้อดีเพรสเซอร์ ซูเปอร์ซิลิไอ (Depressor Supercilii) เป็นกล้ามเนื้อตาของร่างกายมนุษย์ ธรรมชาติของกล้ามเนื้อนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในปัจจุบัน ตำราทางกายวิภาคศาสตร์บางเล่มนับกล้ามเนื้อนี้เป็นกล้ามเนื้อมัดหนึ่ง (เช่น Netter, et al) แต่ผู้เขียนส่วนใหญ่นับกล้ามเนื้อนี้เป็นส่วนหนึ่งของกล้ามเนื้อหลับตา (orbicularis oculi) ในทางตรงกันข้าม ตจแพทย์, จักษุแพทย์, และศัลยแพทย์พลาสติกจำนวนมากนับกล้ามเนื้อดีเพรสเซอร์ ซูเปอร์ซิลิไอเป็นกล้ามเนื้อมัดหนึ่งแยกออกมา และทำหน้าที่เฉพาะในการเคลื่อนไหวคิ้วและผิวหนังบริเวณแสกหน้.

ใหม่!!: ตาและกล้ามเนื้อดีเพรสเซอร์ ซูเปอร์ซิลิไอ · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อไอริส สฟิงคเตอร์

กล้ามเนื้อไอริส สฟิงคเตอร์ (iris sphincter muscle, pupillary sphincter, circular muscle of iris, circular fibers) เป็นกล้ามเนื้อในส่วนม่านตา อยู่รอบดวงตาและทำหน้าที่คล้ายหูรูดในการหดหรี่ม่านตา กล้ามเนื้อนี้พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ในชั้นเซฟาโลโปดา (cephalopoda) บางชนิด ในมนุษย์ กล้ามเนื้อนี้ทำหน้าที่หดหรี่ม่านตาเมื่อภาพที่รับมีแสงจ้า (รีเฟล็กซ์ม่านตา (pupillary reflex)) หรือในรีเฟล็กซ์ปรับสายตา (accommodation reflex) ขนาดของกล้ามเนื้อนี้กว้างประมาณ 0.75 มม.

ใหม่!!: ตาและกล้ามเนื้อไอริส สฟิงคเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อไอริส ไดเลเตอร์

กล้ามเนื้อไอริส ไดเลเตอร์ (iris dilator muscle, pupil dilator muscle, pupillary dilator, radial muscle of iris, or radiating fibers) เป็นกล้ามเนื้อเรียบของตา วิ่งในแนวรัศมีของม่านตาทำหน้าที่ขยายรูม่านตา เลี้ยงโดยระบบประสาทซิมพาเทติก ซึ่งสั่งการโดยการหลั่งสารสื่อประสาทนอร์อะดรีนาลีน (noradrenaline) ซึ่งจับกับตัวรับชนิดแอลฟา-1 (α1-receptors) Page 163 ดังนั้นเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นการตอบสนองแบบต่อสู้หรือหนี (fight-or-flight) ระบบประสาทซิมพาเทติกจะกระตุ้นกล้ามเนื้อมัดนี้ให้ทำหน้าที่ขยายรูม่านตา เพื่อให้มีแสงตกเข้าสู่เรตินามากขึ้น.

ใหม่!!: ตาและกล้ามเนื้อไอริส ไดเลเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กะโหลกศีรษะ

วาดแสดงมุมมองจากทางด้านหน้าของกะโหลกศีรษะของมนุษย์ กะโหลกศีรษะ เป็นโครงสร้างของกระดูกที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างที่สำคัญของส่วนศีรษะในสัตว์ในกลุ่มเครนิเอต (Craniate) หรือสัตว์ที่มีกะโหลกศีรษะ ซึ่งรวมทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด กะโหลกศีรษะทำหน้าที่ปกป้องสมองซึ่งเป็นศูนย์กลางของระบบประสาท รวมทั้งเป็นโครงร่างที่ค้ำจุนอวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ทั้งตา หู จมูก และลิ้น และยังทำหน้าที่เป็นทางเข้าของทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ การศึกษาเกี่ยวกับกะโหลกศีรษะมีประโยชน์อย่างมากหลายประการ โดยเฉพาะการศึกษาในเชิงกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบระหว่างสัตว์ชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ด้านบรรพชีวินวิทยาและความเข้าใจถึงลำดับทางวิวัฒนาการ นอกจากนี้การศึกษาลงไปเฉพาะกะโหลกศีรษะมนุษย์ก็มีประโยชน์อย่างมากในการศึกษาด้านนิติเวชศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวมทั้งมานุษยวิทยาและโบราณคดี.

ใหม่!!: ตาและกะโหลกศีรษะ · ดูเพิ่มเติม »

กะโหลกศีรษะมนุษย์

กะโหลกศีรษะมนุษย์ เป็นโครงสร้างของกระดูกที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างที่สำคัญศีรษะของมนุษย์ กะโหลกศีรษะทำหน้าที่ปกป้องสมองซึ่งเป็นศูนย์กลางของระบบประสาท รวมทั้งเป็นโครงร่างที่ค้ำจุนอวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ทั้งตา หู จมูก และลิ้น และยังทำหน้าที่เป็นทางเข้าของทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ เมื่อแรกเกิดกะโหลกศีรษะจะประกอบด้วยกระดูกหลายชิ้นซึ่งเมื่อเจริญเติบโตขึ้นกระดูกเหล่านี้จะเกิดการสร้างเนื้อกระดูกและเชื่อมรวมกัน แม้ว่ากะโหลกศีรษะจะเป็นโครงสร้างที่มีความแข็งแรงก็ตาม การกระทบกระเทือนที่ศีรษะอย่างแรงก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เสียชีวิตและพิการได้ ทั้งจากการบาดเจ็บจากเนื้อสมองโดยตรง การตกเลือดในสมอง และการติดเชื้อ การศึกษาเกี่ยวกับกะโหลกศีรษะของมนุษย์มีประโยชน์อย่างมากในการศึกษาด้านมานุษยวิทยาและโบราณคดี ซึ่งเป็นข้อมูลที่สำคัญทางบรรพชีวินวิทยา และยังช่วยให้เข้าใจถึงลำดับทางวิวัฒนาการ นอกจากนี้ในทางนิติเวชศาสตร์ กะโหลกศีรษะยังมีความสำคัญในการตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลและการแยกความแตกต่างระหว่างเพศชายและหญิง ซึ่งมีประโยชน์ในการสืบสวนสอบสวนคดีอีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและกะโหลกศีรษะมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

กั้ง

กั้ง (Mantis shrimps, Stomatopods) คือสัตว์น้ำจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในทะเล ในไฟลัมครัสตาเซียน ในอันดับสโตมาโตโพดา (Stomatopoda) ซึ่งมีอยู่หลากหลายสกุลและหลากหลายชนิด กั้ง โดยทั่วไปมีรูปร่างคล้ายกุ้งผสมกับตั๊กแตนตำข้าว ลำตัวยาวคล้ายตะขาบ หายใจด้วยเหงือกเช่นเดียวกับกุ้ง ลำตัวมีรูปร่างแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 5 แต่ไม่ถึงปล้องที่ 8 กรีมีลักษณะแบนราบ มีขาทั้งหมด 3 คู่ เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกตั้งแต่ 400 ล้านปีก่อน มักอาศัยอยู่ในทะเลโคลน หรือ บริเวณปากแม่น้ำ หรือตามแนวปะการัง และพบได้ถึงระดับความลึกกว่า 1,500 เมตร กั้งเป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดในโลกนี้มาก่อนกุ้ง มีจุดเด่น คือ มีดวงตาขนาดใหญ่ สามารถใช้สแกนมองภาพได้ดี โดยสามารถมองเห็นภาพชัดลึกได้ดี ตาแต่ละข้างของกั้งสามารถมองเห็นได้ 3 ตา และตาแต่ละดวงมองเห็นภาพได้ 3 ภาพ และสามารถกะระยะได้ดีมากเพื่อใช้ในการล่าเหยื่อ กั้งมีแก้วตาหลายพันชิ้น และสามารถมองเห็นสีได้ในระดับที่ซับซ้อน โดยถือว่าเป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีระบบการมองเห็นภาพดีที่สุดในอาณาจักรสัตว์โลก ไม่มีก้ามหนีบ แต่มีระยางค์ส่วนอกคู่ที่ 2 มีลักษณะเป็นก้ามสับขนาดใหญ่พับได้คล้ายมีดโกน และมีซี่ฟันแหลมคมเรียงกันเป็นแถวคล้ายหวี ใช้สำหรับฆ่าเหยื่อหรือป้องกันตัว ซึ่งสามารถใช้สับน้ำให้เกิดเป็นแรงขนาดมากได้ จนอาจถึงทำร้ายสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น มนุษย์ให้ได้รับบาดเจ็บได้ กั้งถูกค้นพบแล้วกว่า 450 ชนิด ในประเทศไทยมีรายงานพบแล้วอย่างน้อย 61 ชนิด กั้งนิยมนำมารับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับกุ้ง โดยปกติแล้วจะมีราคาสูงกว่ากุ้งธรรมดาหรือปู ในบางชนิดนิยมนำมาแช่กับน้ำปลารับประทานกับข้าวต้ม.

ใหม่!!: ตาและกั้ง · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ

การปิดตาอาจจะช่วยทำให้ตาที่ปิดแข็งแรงดีขึ้น แต่ก็ไม่ช่วยทำให้เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาและเห็นเป็น 3 มิติ แต่บางครั้งก็อาจรักษาได้ด้วยวิธีอื่น ๆ การฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ (Stereopsis recovery, recovery from stereoblindness) เป็นปรากฏการณ์ที่ผู้บอดไม่เห็นเป็น 3 มิติจะได้คืนสมรรถภาพการเห็นเป็น 3 มิติอย่างเต็มตัวหรือโดยส่วนหนึ่ง การรักษาคนไข้ที่มองไม่เห็นเป็น 3 มิติมีเป้าหมายให้ได้คืนสมรรถภาพนี้ให้มากที่สุด เป็นเป้าหมายที่มีในการแพทย์มานานแล้ว การรักษาจะมุ่งให้เห็นเป็น 3 มิติในทั้งเด็กเล็ก ๆ และคนไข้ที่เคยเห็นเป็น 3 มิติผู้ต่อมาเสียสมรรถภาพไปเนื่องจากภาวะโรค โดยเปรียบเทียบกันแล้ว การรักษาโดยจุดมุ่งหมายนี้ จะไม่ใช้กับคนไข้ที่พลาดระยะการเรียนรู้การเห็นเป็น 3 มิติในช่วงต้น ๆ ของชีวิตไป เพราะการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาและการเห็นเป็น 3 มิติ ดั้งเดิมเชื่อว่า เป็นไปไม่ได้ยกเว้นจะได้สมรรถภาพนี้ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ (critical period) คือในช่วงวัยทารกและวัยเด็กต้น ๆ แต่สมมติฐานนี้ก็ไม่ได้สอบสวนและได้กลายเป็นรากฐานของวิธีการรรักษาโรคการเห็นด้วยสองตาเป็นทศวรรษ ๆ จนกระทั่งเร็ว ๆ นี้ที่เกิดข้อสงสัย เพราะงานศึกษาเรื่องการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติที่ได้ปรากฏในวารสารวิทยาศาสตร์และได้ปรากฏต่อสาธารณชนต่อมาว่า นักประสาทวิทยาศาสตร์ ดร.

ใหม่!!: ตาและการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้ความใกล้ไกล

ลักษณะต่าง ๆ รวมทั้งทัศนมิติแบบต่าง ๆ ขนาดโดยเปรียบเทียบ วัตถุที่บังกัน และอื่น ๆ ล้วนมีส่วนทำให้เห็นภาพถ่ายสองมิตินี้เป็น 3 มิติได้ การรับรู้ความใกล้ไกล เป็นสมรรถภาพทางการเห็นในการมองโลกเป็น 3 มิติ และการเห็นว่าวัตถุหนึ่งอยู่ใกล้ไกลแค่ไหน แม้เราจะรู้ว่าสัตว์ก็สามารถรู้สึกถึงความใกล้ไกลของวัตถุ (เพราะสามารถเคลื่อนไหวอย่างแม่นยำหรืออย่างสมควรตามความใกล้ไกล) แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ไม่รู้ว่า สัตว์รับรู้ความใกล้ไกลทางอัตวิสัยเหมือนกันมนุษย์หรือไม่ ความใกล้ไกลจะรู้ได้จากตัวช่วย (cue) คือสิ่งที่มองเห็นต่าง ๆ ซึ่งปกติจะจัดเป็น.

ใหม่!!: ตาและการรับรู้ความใกล้ไกล · ดูเพิ่มเติม »

การรักษาตาเหล่

การรักษาตาเหล่ อาจรวมการใช้ยาหรือการผ่าตัดเพื่อแก้ปัญหาตาเหล่ ตาเหล่เป็นอาการที่ตาทั้งสองไม่ได้มองไปที่เดียวกัน ซึ่งอาจมีผลเป็นตามัว (amblyopia หรือตาขี้เกียจ) หรือความบกพร่องในการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา (binocular vision) ยาที่ใช้รวมยาเช่นโบทูลินั่ม ท็อกซินที่ทำให้กล้ามเนื้อตาอัมพาต ยาเฉพาะที่ (topical) ซึ่งใช้ในระบบประสาทอิสระเพื่อเปลี่ยนดรรชนีหักเหของตา และยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทกลางเพื่อแก้ตามัว.

ใหม่!!: ตาและการรักษาตาเหล่ · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัวของประสาท

การปรับตัวของประสาท หรือ การปรับตัวรับความรู้สึก (Neural adaptation, sensory adaptation) เป็นการเปลี่ยนการตอบสนองของระบบรับความรู้สึกตามกาลเวลาเนื่องจากสิ่งเร้าที่คงอยู่อย่างต่อเนื่อง โดยจะรู้สึกเหมือนกับสิ่งเร้าได้เปลี่ยนไป ยกตัวอย่างเช่น ถ้าวางมือลงที่โต๊ะ ก็จะรู้สึกถึงผิวโต๊ะได้ทันที แต่ภายในไม่กี่วินาที ก็จะเริ่มไม่รู้สึกถึงผิวของโต๊ะ เพราะในเบื้องต้น เซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าคือผิวโต๊ะโดยทันที แล้วก็จะตอบสนองน้อยลง ๆ จนอาจไม่ตอบสนองเลย นี่เป็นตัวอย่างการปรับตัวของระบบประสาท ระบบรับความรู้สึกและระบบประสาททั้งหมดจะมีรูปแบบการปรับตัวบางอย่าง เพื่อให้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมได้อย่างต่อเนื่อง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่รับและประมวลข้อมูลความรู้สึก จะเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลาเพื่อตรวจจับความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในสิ่งแวดล้อม ตัวการสำคัญของการปรับตัวในระบบประสาทหลายอย่างอาศัยไอออน Ca2+ ที่ส่งผลป้อนกลับเชิงลบผ่านกระบวนการ second messenger pathway ซึ่งทำให้เซลล์ประสาทรับความรู้สึกสามารถเปิดปิดช่องไอออนตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของการไหลเข้าออกของไอออน มีระบบรับความรู้สึกแบบแรงกลบางอย่างที่ใช้การไหลเข้าของแคลเซียม เพื่อสร้างผลทางกายภาพต่อโปรตีนบางอย่างแล้วทำให้พวกมันเปิดปิดช่องไอออน เป็นไปได้สูงว่าการปรับตัวอาจเพิ่มพิสัยการตอบสนองที่จำกัดของนิวรอน เพื่อเข้ารหัสสิ่งเร้าซึ่งมีพิสัยเชิงพลวัตที่กว้างกว่า โดยปรับพิสัยการตอบสนองของประสาทสัมผัสต่อความเบาแรงของสิ่งเร้า Introduction, pp.

ใหม่!!: ตาและการปรับตัวของประสาท · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตาดูใกล้ไกล

การปรับตาดูไกลและใกล้ '''Lens'''.

ใหม่!!: ตาและการปรับตาดูใกล้ไกล · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งจ้องตา

เส้นการจ้องตาในการแข่งจ้องตา การแข่งจ้องตา หรือ การแข่งไม่กะพริบตา เป็นเกมซึ่งคนสองคนจะจ้องเข้าไปในดวงตาของอีกฝ่ายหนึ่งและพยายามรักษาการสบตาให้ได้นานกว่าคู่แข่ง เกมจะจบลงเมื่อผู้แข่งขันคนใดคนหนึ่งเบือนหน้าหลบไปไม่ว่าโดยเจตนาหรือไม่เจตนาก็ตาม รูปแบบที่ได้รับความนิยมของการแข่งจ้องตากันคือ ผู้แข่งไม่เพียงแต่จะต้องรักษาการสบตาอีกฝ่ายหนึ่งเท่านั้น หากแต่ต้องไม่กะพริบตาก่อนคู่แข่งอีกด้วย ทำให้เกิดความท้าทายทางกายภาพเช่นเดียวกับทางจิตวิยา รูปแบบของการแข่งจ้องตาอื่น ๆ มุ่งไปยังจุดประสงค์ที่จะรักษาการสบตาหรือการไม่กะพริบตาอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยบางรูปแบบกำหนดให้หยุดกิจกรรมทั้งหมดให้เหลือเพียงการจ้องตาเท่านั้น (ยิ้ม ทำหน้า เขม่นตา พยักหน้า พูดคุย สัมผัสหรือผงกศีรษะ เป็นต้น) และบางรูปแบบกำหนดให้มีการใช้การกระทำเหล่านี้เพื่อบีบคู่แข่งให้แพ้ไป หมวดหมู่:เกม en:Big Train#Stare-Out.

ใหม่!!: ตาและการแข่งจ้องตา · ดูเพิ่มเติม »

การแปลสัมผัสผิด

การแปลสัมผัสผิด หรือ สัมผัสลวง หรือ การแปลสิ่งเร้าทางสัมผัสผิด (Tactile illusion) เป็นการแปลสิ่งเร้าผิดของระบบประสาทรับรู้สัมผัส การแปลสัมผัสผิดบางอย่างจะต้องขยับนิ้วหรือมือ และบางอย่างก็เกิดได้โดยไม่ต้องขยับ (เช่น มีสิ่งเร้าภายนอกมาสัมผัสกับผิวหนัง) ในหลายปีที่ผ่านมา นักวิจัยที่ศึกษาเรื่องการรับรู้ได้สนใจเรื่องนี้เพิ่มขึ้น ทำให้ได้ค้นพบสัมผัสลวงแบบใหม่ ๆ และมีการกล่าวถึงพวกมันในวรรณกรรมวิทยาศาสตร์ประชานิยม สัมผัสลวงบางอย่างจะคล้ายกับภาพลวงหรือเสียงลวง ซึ่งแสดงนัยว่า ระบบรับความรู้สึกต่าง ๆ อาจแปลผลคล้าย ๆ กัน แต่สัมผัสลวงอย่างอื่น ๆ ก็ไม่มีอะไรที่คล้ายกันทางตาหรือทางหู.

ใหม่!!: ตาและการแปลสัมผัสผิด · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นภาพซ้อน

การเห็นภาพซ้อน หรือ การเห็นซ้อนสอง (Diplopia, double vision) เป็นการเห็นภาพสองภาพของวัตถุเดียวกัน ที่อาจซ้อนกันตามแนวนอน แนวตั้ง แนวเฉียง หรือแนวหมุน และปกติเป็นผลของความพิการของกล้ามเนื้อตา (extraocular muscles, EOMs) คือตาทั้งสองทำงานได้ดีแต่ไม่สามารถหันไปที่เป้าหมายได้อย่างถูกต้อง โดยกล้ามเนื้อตาอาจมีปัญหาทางกายภาพ มีโรคที่แผ่นเชื่อมประสาทสั่งการและกล้ามเนื้อ (neuromuscular junction) มีโรคที่เส้นประสาทสมอง (เส้น 3, 4, และ 6) ที่สั่งการกล้ามเนื้อ และเป็นบางครั้ง มีปัญหาเกี่ยวกับวิถีประสาท supranuclear oculomotor หรือการบริโภคสิ่งที่เป็นพิษ การเห็นภาพซ้อนอาจเป็นอาการปรากฏแรก ๆ ของโรคทั่วร่างกาย โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและประสาท และอาจทำการทรงตัวของร่างกาย การเคลื่อนไหว และการอ่านหนังสือ ให้พิการ.

ใหม่!!: ตาและการเห็นภาพซ้อน · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นด้วยตาเดียว

การเห็นด้วยตาเดียว (Monocular vision) เป็นการมองเห็นที่ใช้ตาแต่ละข้างต่างคนต่างมอง การใช้ตาเช่นนี้ เทียบกับการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา ขอบเขตภาพจะใหญ่ยิ่งขึ้น ในขณะที่การรับรู้ความใกล้ไกลจะจำกัด ตาของสัตว์ที่เห็นด้วยตาเดียวปกติจะอยู่ที่ด้านข้างของศีรษะ ทำให้สามารถเห็นภาพจากข้างทั้งสองพร้อม ๆ กัน คำภาษาอังกฤษว่า monocular มาจากคำภาษากรีกว่า mono ซึ่งแปลว่า หนึ่ง และคำภาษาละตินว่า oculus ซึ่งแปลว่า ต.

ใหม่!!: ตาและการเห็นด้วยตาเดียว · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นเป็น 3 มิติ

การเห็นเป็น 3 มิติ (Stereopsis มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า στερεο- คือ stereo- แปลว่า "แข็ง/มี 3 มิติ" และ ὄψις คือ opsis แปลว่า "การปรากฏ การมองเห็น") เป็นคำที่ใช้บ่อยที่สุดโดยหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลและการรับรู้โครงสร้างและวัตถุที่มี 3 มิติ โดยอาศัยข้อมูลจากตาทั้งสองของบุคคลผู้มีพัฒนาการทางการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาที่เป็นปกติ " เพราะตาของมนุษย์และของสัตว์มากมายอื่น ๆ อยู่ในตำแหน่งตามแนวนอนที่ต่างกันบนศีรษะ การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาจะเป็นผลจากภาพสองภาพซึ่งต่างกันเล็กน้อยที่ฉายตกลงที่จอตาทั้งสอง และภาพจะแตกต่างโดยหลักเป็นตำแหน่งที่ต่างกันของวัตถุต่าง ๆ ตามแนวนอน ความแตกต่างเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า horizontal disparities (ความต่างตามแนวนอน) หรือโดยคำที่กว้างกว่าคือ binocular disparities (ความต่างที่สองตา) โดยเปลือกสมองส่วนการเห็นจะแปลความต่างเช่นนี้ให้เป็นการรับรู้ความใกล้ไกล (depth perception) แม้ความต่างที่เห็นด้วยสองตาจะมีอยู่ตามธรรมชาติเมื่อมองทัศนียภาพด้วยสองตา แต่ก็สามารถสร้างขึ้นโดยแสดงภาพ 2 มิติที่ต่างกันสองภาพต่อแต่ละตาต่างหาก ๆ โดยเทคนิคที่เรียกว่า stereoscopy (ภาพ 3 มิติ) ความใกล้ไกลที่รับรู้จากเทคนิคเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า stereoscopic depth (ความใกล้ไกลจากภาพ 3 มิติ) แต่การรับรู้ความใกล้ไกลและโครงสร้างวัตถุ 3 มิติ ก็เป็นไปได้ด้วยข้อมูลจากแค่ตาเดียว เช่น ขนาดของวัตถุที่ต่างกัน และพารัลแลกซ์เนื่องกับการเคลื่อนไหว (motion parallax) ซึ่งเป็นความแตกต่างของวัตถุหนึ่ง ๆ เมื่อเวลาผ่านไปถ้าผู้มองกำลังเคลื่อนที่อยู่" แม้ความรู้สึกใกล้ไกลในกรณีเช่นนี้ จะไม่ชัดเท่ากับที่ได้จากความต่างที่เห็นด้วยสองตา" ดังนั้น คำภาษาอังกฤษว่า stereopsis หรือ stereoscopic depth บางครั้งจึงหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลด้วยการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาโดยเฉพาะ ๆ คือหมายถึงเมื่อเรา "เห็นเป็น 3 มิติ" -->.

ใหม่!!: ตาและการเห็นเป็น 3 มิติ · ดูเพิ่มเติม »

การเข้ารหัสทางประสาท

การยิงศักยะงานเป็นขบวนหรือเป็นลำดับ ๆ ของเซลล์ประสาท การเข้ารหัสทางประสาท (Neural coding) เป็นการศึกษาทางประสาทวิทยาศาสตร์ เพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองของเซลล์ประสาทเดี่ยว ๆ หรือของกลุ่มเซลล์ประสาท และความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานทางไฟฟ้าของเซลล์ประสาทในกลุ่ม โดยอาศัยทฤษฎีว่า การทำงานของเครือข่ายเซลล์ประสาทในสมองจะเป็นตัวแทนข้อมูลทางประสาทสัมผัสและข้อมูลอื่น ๆ นักวิชาการจึงเชื่อว่า เซลล์ประสาทสามารถเข้ารหัสข้อมูลเป็นทั้งแบบดิจิตัลและแบบแอนะล็อก.

ใหม่!!: ตาและการเข้ารหัสทางประสาท · ดูเพิ่มเติม »

กาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์

แสดงต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลังทำใน ปี ค.ศ. 1879 (ของ Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ ได้รับการพรรณนาว่าเป็นต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขาต่าง ๆ มากมายแยกออกจากลำต้นต้นเดียว แม้ว่าข้อมูลที่ใช้สร้างต้นไม้นี้จะล้าสมัยแล้ว แต่ก็ยังแสดงหลักการบางอย่างที่ต้นไม้ที่ทำขึ้นในปัจจุบันอาจจะทำให้เห็นได้ไม่ชัดเจน "พุ่มไม้" ด้านบนขวาสุดเป็นพวกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมรวมทั้งมนุษย์ กาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์ (timeline of human evolution) แสดงเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ในกระบวนการวิวัฒนาการของมนุษย์และของบรรพบุรุษมนุษย์ ซึ่งรวมคำอธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับสัตว์บางประเภท บางสปีชีส์ หรือบางสกุล ซึ่งอาจจะเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ บทความไม่มุ่งจะแสดงกำเนิดของชีวิตซึ่งกล่าวไว้ในบทความกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต แต่มุ่งจะแสดงสายพันธุ์ที่เป็นไปได้สายหนึ่งที่ดำเนินมาเป็นมนุษย์ ข้อมูลของบทความมาจากการศึกษาในบรรพชีวินวิทยา ชีววิทยาพัฒนาการ (developmental biology) สัณฐานวิทยา และจากข้อมูลทางกายวิภาคและพันธุศาสตร์ การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์เป็นส่วนสำคัญของมานุษยวิท.

ใหม่!!: ตาและกาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งยิง

กุ้งยิง (stye หรือ hordeolum) คือการอักเสบของต่อมไขมันบริเวณฐานของขนตา (ใต้เปลือกตา) โดยมีอาการบวม แดง ร้อน และอาจมีอาการปวด แต่ไม่เป็นอันตรายต่อนัยน์ตา รักษาได้ด้วยยาหยอดตาหรือยาป้ายตา หรือรับประทานยาปฏิชีวน.

ใหม่!!: ตาและกุ้งยิง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: ตาและภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเคลื่อนไหวติดตา

ลิปตัวอย่างที่สร้างภาพลวง หลังจากดูมันแล้ว ให้จ้องดูที่อื่นนิ่ง ๆ ต่อ ภาพเคลื่อนไหวติดตา หรือ ผลหลังจากเห็นการเคลื่อนไหว (motion aftereffect, MAE) เป็นภาพลวงตาที่ประสบหลังจากมองสิ่งเร้าทางตาซึ่งกำลังเคลื่อนที่ด้วยตาที่มองนิ่ง ๆ สักระยะหนึ่ง (จากเป็นสิบ ๆ มิลลิวินาทีจนเป็นนาที ๆ) แล้วต่อจากนั้นหันไปจ้องวัตถุที่อยู่นิ่ง ๆ สิ่งเร้าที่อยู่นิ่ง ๆ ซึ่งมองต่อมา จะดูเหมือนกำลังเคลื่อนไปทางตรงกันข้ามกับวัตถุแรกซึ่งเคลื่อนที่จริง ๆ เป็นปรากฏการณ์ที่เชื่อว่า เป็นผลของการปรับตัวทางประสาทต่อการเคลื่อนไหว ตัวอย่างที่อาจเกิดจริง ๆ ก็คือ ถ้าดูน้ำตกประมาณนาทีหนึ่ง แล้วดูหินข้าง ๆ ที่อยู่นิ่ง ๆ หินจะดูเหมือนกำลังเคลื่อนที่ขึ้นข้างบนอย่างน้อย ๆ การเคลื่อนที่ขึ้นที่เป็นภาพลวงเป็นภาพเคลื่อนไหวติดตา ตัวอย่างนี้เรียกเป็นภาษาอังกฤษโดยเฉพาะว่า waterfall illusion (ภาพลวงตาเหตุน้ำตก) อีกตัวอย่างก็คือ เมื่อมองตรงกลางวงก้นหอยที่กำลังหมุนเป็นเวลาหลายวินาที ก้นหอยอาจจะดูหมุนเข้าในหรือหมุนออกนอก ต่อมาเมื่อมองอะไรที่อยู่นิ่ง ๆ มันก็จะหมุนกลับไปในทิศตรงกันข้าม ตัวอย่างนี้เรียกในภาษาอังกฤษโดยเฉพาะว่า spiral aftereffect (ผลหลังจากเห็นก้นหอย).

ใหม่!!: ตาและภาพเคลื่อนไหวติดตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา

วะเสียการระลึกรู้ทางตา หรือ ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น (visual agnosia) เป็นความบกพร่องในการรู้จำวัตถุที่ปรากฏทางตา ไม่ใช่เป็นความบกพร่องในการเห็น (ไม่ใช่ความบกพร่องเป็นต้นว่า ความชัดเจน ลานสายตา หรือการมองกวาด) ในภาษา ในระบบความทรงจำ หรือเพราะมีเชาวน์ปัญญาต่ำ ภาวะนี้มีสองอย่าง คือแบบวิสัญชาน (apperceptive) และแบบสัมพันธ์ (associative) การรู้จำวัตถุที่เห็นเกิดขึ้นที่ในระดับหลักๆ 2 ระดับในสมอง ในขั้นวิสัญชาน มีการนำลักษณะต่างๆ ของข้อมูลทางตาจากเรตินา มารวมกันเพื่อสร้างแบบแทนของวัตถุเพื่อการรับรู้ และเมื่อถึงขั้นสัมพันธ์ จึงมีการรวม ความหมายของวัตถุเข้าไปกับแบบแทนของวัตถุ แล้วจึงจะสามารถ บ่งชี้ว่าวัตถุนั้นคืออะไรได้ ถ้าบุคคลหนึ่งไม่สามารถรู้จำวัตถุได้เพราะไม่สามารถรับรู้รูปแบบที่ถูกต้องของวัตถุ แม้ว่า ความรู้เกี่ยวกับวัตถุเหล่านั้นจะไม่มีปัญหาอย่างไร นั่นเป็นการเสียการระลึกรู้แบบวิสัญชาน (เพราะไม่สามารถรับรู้รูปแบบของวัตถุนั้นอย่างถูกต้อง) ถ้าบุคคลสามารถรับรู้รูปแบบที่ถูกต้องของวัตถุได้ และมีความรู้เกี่ยวกับวัตถุเหล่านั้นด้วย แต่ว่า ไม่สามารถบ่งชี้วัตถุว่าคืออะไรได้ นั่นเป็นการเสียการระลึกรู้แบบสัมพันธ์ (เพราะสามารถรับรู้รูปแบบของวัตถุอย่างถูกต้อง แต่ไม่สามารถสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับวัตถุนั้นกับวัตถุ จึงไม่สามารถบ่งชี้ว่าวัตถุนั้นคืออะไร) ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตามักจะเกิดขึ้นเพราะความเสียหายในซีกสมองทั้งสองข้างของสมองกลีบท้ายทอยด้านหลัง และ/หรือ สมองกลีบขมั.

ใหม่!!: ตาและภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ

วะเสียการอ่านเข้าใจ หรือ ภาวะเสียการอ่านรู้ความ หรือภาวะอ่านไม่เข้าใจ (dyslexia) เป็นความพิการทางการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาทั้งความคล่องแคล่วและความแม่นยำในการอ่าน การพูด และการสะกดคำ ซึ่งอาจแสดงอาการเป็นความยากลำบากในการรับรู้เสียง การถอดรหัสเสียง การเข้าใจตัวอักษร ความจำเสียงระยะสั้น และ/หรือการเรียกชื่อสิ่งของ ซึ่งไม่เหมือนกันกับภาวะอ่านลำบากที่เกิดจากสาเหตุอื่น เช่นความพิการทางตาหรือการได้ยินหรือจากการไม่ได้เรียนรู้วิธีอ่านหนังสือ เชื่อว่ามีผู้ที่มีภาวะอ่านไม่เข้าใจอยู่ 5-10% ของประชากรหนึ่งๆ แม้จะยังไม่มีการศึกษาวิจัยหาความชุกที่แท้จริงของภาวะนี้ก็ตาม.

ใหม่!!: ตาและภาวะเสียการอ่านเข้าใจ · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ตาและมิถุนายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์นกฮูก

มิวนาน สถานที่พบเห็น มนุษย์นกฮูก (Owlman) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่มีผู้อ้างว่าพบเห็นในประเทศอังกฤษ ในยุคทศวรรษที่ 70 ที่มีรูปร่างคล้ายมนุษย์ผสมกับนกฮูกหรือนกเค้าแมวขนาดใหญ่ คล้ายกับมอธแมน ในเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา บางครั้ง มนุษย์นกฮูก ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น มนุษย์นกฮูกคอร์นิช (Cornish Owlman) หรือ มนุษย์นกฮูกแห่งมิวนาน (Owlman of Mawnan).

ใหม่!!: ตาและมนุษย์นกฮูก · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำเหลือง

ม้าน้ำเหลือง (Barbour's seahorse) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกม้าน้ำ ม้าน้ำเหลืองมีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่แล้วลำตัวจะมีหนามแต่สั้น และไม่แหลมเหมือนม้าน้ำหนาม (H. spinosissimus) ส่วนใหญ่แล้วมักจะมีลำตัวสีเหลือง ลักษณะเด่น คือ จะมีลายบริเวณรอบดวงตาจนถึงปลายปาก ไม่พบในน่านน้ำไทย แต่จะพบในทะเลแถบอินโดนีเซีย, ฟิลิปปิน และบางส่วนในประเทศมาเลเซีย เป็นม้าน้ำชนิดหนึ่งที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยลูกม้าน้ำวัยอ่อนเป็นชนิดที่อนุบาลได้ง่าย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและม้าน้ำเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ยาทาเล็บ

ทาเล็บที่บรรจุใส่ขวดยี่ห้อหนึ่ง ยาทาเล็บ (Nail polish; Nail varnish) คือเครื่องสำอางประเภทหนึ่งที่ใช้ตกแต่งเล็บของมนุษย์ ให้มีความสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและยาทาเล็บ · ดูเพิ่มเติม »

ยาไอซ์

อซ์ เป็นสารเสพติดในกลุ่มแอมเฟตามีน อนุพันธ์หนึ่งของยาบ้า จัดเป็นยาเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ..

ใหม่!!: ตาและยาไอซ์ · ดูเพิ่มเติม »

รอยบุ๋มจอตา

รอยบุ๋มจอตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" (fovea, fovea centralis, แปลตามศัพท์ว่าหลุม) เป็นส่วนของตามนุษย์ อยู่ที่ตรงกลางของจุดภาพชัด (macula) ในเรตินา"Relation Between Superficial Capillaries and Foveal Structures in the Human Retina" - (with nomenclature of fovea terms), Masayuki Iwasaki and Hajime Inomara, - Investigative Ophthalmology & Visual Science (journal), - volume 27, pages 1698-1705, 1986, IOVS.org, webpage: -. รอยบุ๋มจอตาเป็นเหตุให้เห็นได้ชัดตรงกลางลานสายตา ซึ่งจำเป็นในการอ่านหนังสือ ขับรถ หรือทำกิจอื่น ๆ ที่ต้องอาศัยการเห็นที่ชัด รอยบุ๋มจอตาล้อมด้วยบริเวณรูปวงแหวนที่เรียกว่า parafovea (แปลว่า ติดกับรอยบุ๋มจอตา) และ perifovea (แปลว่า รอบรอยบุ๋มจอตา) ที่อยู่เถิบออกไปอีก parafovea เป็นวงแหวนรอบตรงกลาง ที่ชั้น ganglion cell layer ของเรตินา ประกอบด้วยแถวของเซลล์ retinal ganglion cell (RGC) มากกว่า 5 แถว และมีเซลล์รูปกรวยที่หนาแน่นมากที่สุด ส่วน perifovea เป็นวงแหวนเถิบต่อไปอีกที่ชั้น ganglion cell layer ประกอบด้วยแถวของเซลล์ RGC 2-4 แถว เป็นเขตที่ระดับความชัดของการเห็นเริ่มลดลงจากระดับที่ชัดที่สุด และมีเซลล์รูปกรวยในระดับที่หนาแน่นน้อยลง คือ มี 12 เซลล์ต่อ 100 ไมโครเมตร เทียบกับ 50 เซลล์ต่อ 100 ไมโครเมตรที่ตรงกลางของรอยบุ๋มจอตา วงแหวน perifovea นี้ก็ล้อมด้วยเขตรอบนอก (peripheral) ที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งส่งข้อมูลที่มีการบีบอัดสูงมีความชัดต่ำ ประมาณ 50% ของเส้นประสาทตาส่งข้อมูลจากรอยบุ๋มจอตา ในขณะที่อีก 50% ส่งข้อมูลจากส่วนที่เหลือของเรตินา เขตของ parafovea ไปสุดที่ประมาณ 1¼ มิลลิเมตร จากตรงกลางของรอยบุ๋มจอตา และเขตของ perifovea ไปสุดที่ 2¾ มิลลิเมตร แม้ว่า ขนาดของรอยบุ๋มจอตาจะเล็กเทียบกับส่วนที่เหลือของเรตินา แต่รอยบุ๋มจอตาเป็นเขตเดียวที่สามารถเห็นชัดได้ในระดับ 20/20 และเป็นส่วนที่สำคัญยิ่งในการเห็นรายละเอียดและสี.

ใหม่!!: ตาและรอยบุ๋มจอตา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการทรงตัว

ห้องหูชั้นใน (labyrinth of the inner ear) ของหูด้านขวา ประกอบด้วย '''คอเคลีย''' (cochlea) เป็นอวัยวะปลายประสาทของระบบการได้ยิน ส่วนอวัยวะรับความรู้สึกของระบบการทรงตัวรวมทั้ง '''หลอดกึ่งวงกลม''' (semicircular ducts) ซึ่งทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน (คือความเร่งเชิงมุม) '''saccule''' และ '''utricle''' ทำหน้าที่รับรู้ความเร่งเชิงเส้น คอเคลียและ vestibular system ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมาก ระบบการทรงตัว (vestibular system) เป็นระบบรับความรู้สึกที่ให้ข้อมูลสำคัญที่สุดเกี่ยวกับการกำหนดรู้การทรงตัว (equilibrioception หรือ sense of balance) และการรู้ทิศทางของร่างกายภายในปริภูมิ (spatial orientation) ระบบการทรงตัวพร้อมกับคอเคลียซึ่งเป็นส่วนของระบบการได้ยิน เป็นส่วนประกอบของห้องหูชั้นใน (labyrinth of the inner ear) สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมาก เพราะการเคลื่อนไหวร่างกายมีทั้งแบบหมุนและแบบเลื่อน ระบบการทรงตัวจึงมีส่วนประกอบสองอย่างเหมือนกัน คือ ระบบหลอดกึ่งวงกลม (semicircular canal) ซึ่งบอกการเคลื่อนไหวแบบหมุน และระบบ otoliths ซึ่งบอกความเร่งในแนวเส้น ระบบการทรงตัวโดยหลักจะส่งข้อมูลไปยังโครงสร้างประสาทที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของตา เช่นการเคลื่อนไหวแบบ vestibulo-ocular reflex ซึ่งจำเป็นในการเห็นที่ชัดเจน และไปยังกล้ามเนื้อที่ทำให้สามารถทรงตัวไว้ได้ ระบบการทรงตัวมีบทบาทในเรื่อง.

ใหม่!!: ตาและระบบการทรงตัว · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการเห็น

ังไม่มี เผื่ออนาคต mammalian visual systemsEye -refined.svg||thumb|200px|ระบบการเห็นประกอบด้วตา และ วิถีประสาทที่เชื่อมตากับpostscript.

ใหม่!!: ตาและระบบการเห็น · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรับความรู้สึก

ระบบรับความรู้สึก (sensory system, organa sensuum) เป็นส่วนประกอบของระบบประสาทมีหน้าที่ประมวลข้อมูลความรู้สึก โดยหลัก ประกอบด้วยตัวรับความรู้สึก (sensory receptor) วิถีประสาท (neural pathway) และส่วนอื่น ๆ ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ความรู้สึก ระบบรับความรู้สึกที่รู้จักกันดีประกอบด้วยระบบการเห็น ระบบการได้ยิน ระบบรับความรู้สึกทางกาย (somatosensory system) ระบบการลิ้มรส ระบบการได้กลิ่น และระบบการทรงตัว (vestibular system) โดยหน้าที่ ระบบรับความรู้สึก.

ใหม่!!: ตาและระบบรับความรู้สึก · ดูเพิ่มเติม »

รังสีอัลตราไวโอเลต

แสงออโรราจากดาวพฤหัสบดีในช่วงรังสีอัลตราไวโอเลต ถ่ายโดยองค์การนาซา รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสียูวี (ultraviolet) หรือในชื่อภาษาไทยว่า รังสีเหนือม่วง เป็นช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงที่มองเห็น แต่ยาวกว่ารังสีเอกซ์อย่างอ่อน มีความยาวคลื่นในช่วง 400-10 นาโนเมตร และมีพลังงานในช่วง 3-124 eV มันได้ชื่อดังกล่าวเนื่องจากสเปกตรัมของมันประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นที่มนุษย์มองเห็นเป็นสีม่วง.

ใหม่!!: ตาและรังสีอัลตราไวโอเลต · ดูเพิ่มเติม »

รันชู

รันชู รันชู หรือ รันจู (ランチュウ; Ranchu) เป็นสายพันธุ์ของปลาทองสายพันธุ์หนึ่ง ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม รันชู ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ขึ้นมา ในราวปี ค.ศ. 1700 ที่ประเทศญี่ปุ่น หลังจากการเกิดขึ้นมาของปลาทองสายพันธุ์สิงห์จีน โดยชาวญี่ปุ่นได้นำปลาทองสิงห์ญี่ปุ่นมาพัฒนาจนได้เป็นปลาทองสายพันธุ์ใหม่ที่แตกต่างไปจากปลาทองสิงห์ญี่ปุ่นที่มีอยู่ และเรียกชื่อปลาทองสายพันธุ์นี้ว่า "รันชู" หรือ "รันจู" ปลาทองรันชูเป็นปลาทองที่มีลักษณะคล้ายกับปลาทองสิงห์ญี่ปุ่นมาก โดยเป็นปลาทองที่มีลำตัวอ้วนหนา บึกบึน ไม่มีครีบหลัง ลักษณะของปลาทองรันชูที่สวย ได้มาตรฐาน คือ ต้องมีช่วงหลังโค้งลาดลงได้สัดส่วน ไม่นูนไปข้างหน้าหรือข้างหลังจนเกินไป ความโค้งของหลังไม่ตื้นหรือลึกเกินไป ไม่จำเป็นต้องมีหลังที่โค้งเรียบ ส่วนท้องด้านข้างควรโป่งพอง แนวลำตัวเริ่มจากจะงอยปากจนถึงปลายหางต้องอยู่ในแนวเส้นตรงไม่บิดเบี้ยวหรือโค้งงอ เกล็ดควรมีความสม่ำเสมอเรียงตัวกันเป็นระเบียบจากต้นคอจนถึงโคนหาง และเป็นเงางามแลดูสดใสแวววาว โคนหางใหญ่ บึกบึน แลดูมีพละกำลัง ส่วนหลังดูเมื่อมองจากด้านบนจะแลดูคล้ายเหรียญโคบัน (小判) ครีบหางต้องแผ่กว้าง สมดุลกันทั้งด้านซ้ายและขวา ไม่บิดโค้งงอ มีขนาดที่เหมาะสมกับลำตัว ลักษณะของครีบหางมีสองแบบ คือ หางสามแฉก และสี่แฉก มุมยกของหางควรทำมุมไม่เกิน 45 องศา กับแผ่นหลัง ไหล่หางงุ้มมาข้างหน้าเล็กน้อย ส่วนปลายของหางไม่ควรยกสูงกว่าแนวของสันหลัง สีของปลาทองรันชู มีสีขาว, แสด, แดง หรือแม้กระทั่งดำ เป็นสีเดียวตลอดทั้งตัว หรือจะเป็นหลายสีผสมกันก็ได้ แต่ไม่ว่าจะเป็นสีในโทนเข้มหรืออ่อน ควรมีความเงางามของเกล็ดและเรียงเป็นระเบียบสวยงาม มีรูปทรงลำตัวที่ดี ขณะว่ายน้ำไม่เชิดหัวขึ้นหรือก้มหัวจนต่ำเกินไป มีพละกำลังในการว่ายน้ำ พริ้วสวยไม่อืดอาด มีการสะบัดสะโพกที่สวยงาม ครีบทวารหรือครีบก้น ต้องมี จะมีเดี่ยวหรือมีคู่ก็ได้ หากมีควรมีคู่กัน ส่วนครีบอื่น ๆ ไม่มีครีบหลัง มีครีบอก และครีบท้องอย่างละหนึ่งคู่ มีขนาดเท่ากัน ส่วนหัว มีช่องของดวงตาห่างและมีระยะห่างช่วงริมฝีปากจนถึงนัยน์ตาควรจะยาว กลุ้มวุ้นบนหัวทั้งสามส่วนไม่กำหนดลักษณะที่แน่นอน เพียงแต่ให้แลดูแล้วสมดุลกลมกลืนเหมาะสมกับช่วงลำตัว ส่วนของหัววุ้นบนหัว ต้องปิดทั้งแผ่นปิดเหงือก, ข้างแก้มไปจนถึงริมฝีปาก และบนส่วนหัว แต่ต้องไม่มีขนาดเหมือน ชิชิ คาชิร.

ใหม่!!: ตาและรันชู · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์

รายชื่อกล้ามเนื้อของร่างกายมนุษย์ โดยทั่วไปร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยกล้ามเนื้อโครงร่างประมาณ 640 มัด อย่างไรก็ตาม ตัวเลขจำนวนกล้ามเนื้อที่แน่นอนก็ยังไม่แน่ชัดเพราะแต่ละแหล่งข้อมูลก็มีการจัดกลุ่มกล้ามเนื้อแตกต่างกัน ทำให้จำนวนกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์มีตั้งแต่ 640-850 มัด ซึ่งตารางนี้มีรายชื่อกล้ามเนื้อประมาณ 320 มัด หน้าที่ของกล้ามเนื้อในตารางนี้เป็นหน้าที่มาตรฐานเมื่อร่างกายอยู่ในตำแหน่าค (anatomical position) ในตำแหน่งร่างกายอื่นๆ กล้ามเนื้ออาจมีหน้าที่ที่ต.

ใหม่!!: ตาและรายชื่อกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในแฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหาร

ต่อไปนี้คือ "รายชื่อตัวละครใน แฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหาร"ผลงานการ์ตูนของ ซึ่งประกอบไปด้วย ตัวละครมากมายต่างออกไป ทั้งในโทรทัศน์ และ อะนิเม.

ใหม่!!: ตาและรายชื่อตัวละครในแฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโครงสร้างทางกายวิภาคมนุษย์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ตาและรายชื่อโครงสร้างทางกายวิภาคมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: ตาและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: ตาและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: ตาและรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รูม่านตาขยาย

รูม่านตาขยาย หรือ ม่านตาขยาย (mydriasis) คือภาวะซึ่งมีการขยายของรูม่านตา ส่วนใหญ่นิยามนี้เมื่อเป็นการขยายของรูม่านตาที่ไม่ใช่ภาวะปกติ (non-physiologic) แต่บางครั้งก็นิยามรวมถึงภาวะซึ่งอาจจะเป็นการตอบสนองปกติของรูม่านตาก็ได้ สาเหตุซึ่งไม่ใช่สาเหตุทางสรีรวิทยา (ปกติ) ของการมีม่านตาขยายอาจมาจากโรค การบาดเจ็บ หรือยาบางอย่าง ปกติแล้วรูม่านตาจะขยายเมื่ออยู่ในที่มืด และหดตัวเมื่ออยู่ในที่สว่าง เพื่อปรับแสงที่เข้าสู่ตาให้เหมาะสมกับการมองเห็น และไม่เป็นอันตรายต่อจอตา ในภาวะม่านตาขยายนี้ รูม่านตาจะขยาย แต่ม่านตาจะห.

ใหม่!!: ตาและรูม่านตาขยาย · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณะปรากฏ

ตาสีเทาแท้ ในสิ่งมีชีวิต ลักษณะปรากฏ หรือ ฟีโนไทป์ หรือ ลักษณะสืบสายพันธุ์ (phenotypic trait, trait) เป็นรูปแบบฟิโนไทป์หนึ่งโดยเฉพาะที่สามารถสังเกตเห็นได้ ซึ่งกำหนดโดยปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างยีนกับสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต ยกตัวอย่างเช่น สีตาเป็นลักษณะหนึ่ง (character) ของสิ่งมีชีวิต ในขณะที่ตาสีดำ สีฟ้า สีน้ำตาล เป็นต้น จะเป็น "ลักษณะปรากฏ/ลักษณะสืบสายพันธุ์" (trait) กล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นลักษณะปรากฏทางกายหรือทางพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างจีโนไทป์และสิ่งแวดล้อมในช่วงพัฒนาการ.

ใหม่!!: ตาและลักษณะปรากฏ · ดูเพิ่มเติม »

ลานสายตา

ำว่า ลานสายตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" (visual field) มักใช้เป็นคำไวพจน์ของคำว่า ขอบเขตภาพ (field of view) แม้ว่าบททั้งสองจริง ๆ มีความหมายไม่เหมือนกัน คือ ลานสายตามีความหมายว่า "ความรู้สึกทางตาเป็นแถวตามลำดับพื้นที่ที่สามารถสังเกตการณ์ได้ในการทดลองทางจิตวิทยาด้วยการพินิจภายใน (โดยบุคคลนั้น)" ในขณะที่คำว่า ขอบเขตภาพ "หมายถึงวัตถุทางกายภาพและต้นกำเนิดแสงในโลกภายนอกที่เข้ามากระทบกับจอตา" กล่าวโดยอีกนัยหนึ่งก็คือ ขอบเขตภาพก็คือสิ่งที่เป็นต้นกำเนิดของแสงที่มากระทบกับจอตา ซึ่งเป็นข้อมูลเข้าของระบบสายตาในสมอง เป็นระบบที่แปลผลเป็นลานสายตาเป็นข้อมูลออก ลานสายตานั้นมีด้านซ้ายขวาบนล่างที่ไม่สมดุลกัน ระดับความชัดก็ไม่เสมอกัน คือมีการเห็นได้ชัดที่สุดที่กลางลานสายตา บทนี้มักใช้บ่อย ๆ ในการวัดสายตา (optometry) และในจักษุวิทยา ที่มีการตรวจลานสายตาเพื่อกำหนดว่า มีความเสียหายจากโรคที่เป็นเหตุแก่ดวงมืดในลานเห็น (scotoma) หรือจากการสูญเสียการเห็น หรือจากการลดระดับความไวในการเห็น หรือไม.

ใหม่!!: ตาและลานสายตา · ดูเพิ่มเติม »

ลิงลม

ลิงลม หรือ นางอาย หรือ ลิงจุ่น (Slow lorises, Lorises; อินโดนีเซีย: Kukang) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Lorisidae ในอันดับไพรเมต (Primates) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nycticebus (/นิค-ติ-ซี-บัส/).

ใหม่!!: ตาและลิงลม · ดูเพิ่มเติม »

ลิงสามตัว

แกะสลักลิงสามตัวบนประตูของศาลเจ้านิกโกโทโช ลิงสามตัว (三猿 san'en ซันเอ็ง หรือ sansaru ซันซะรุ; 三匹の猿 sanbiki no saru ซันบิกิโนะซะรุ) คือภาพปริศนาธรรมที่มีใจความสำคัญหลักว่าด้วย "การไม่รับรู้โดยการมองในสิ่งที่ไม่ดี การไม่ฟังในสิ่งที่ไม่ดี และการไม่กล่าววาจาในสิ่งที่ไม่ดี" ในบรรดาลิงสามตัว ตัวที่หนึ่งเรียกว่า มิซะรุ (見猿 / 見ざる) มีลักษณะใช้มือปิดตา หมายถึงการไม่รับรู้โดยการมองในสิ่งไม่ดี ตัวที่สอง คิกะซะรุ (聞か猿 / 聞かざる) ใช้มือปิดหู หมายถึงการไม่ฟังในสิ่งที่ไม่ดี ตัวสุดท้าย อิวะซะรุ (言わ猿 / 言わざる) ใช้มือปิดปาก บ่งบอกถึงการไม่กล่าววาจาในสิ่งที่ไม่ดี ในบางโอกาส สามารถกล่าวได้ว่ามีการเพิ่มลิงตัวที่สี่เข้ามาเกี่ยวข้อง ลิงตัวที่สี่นั้นมีนามว่า ชิซะรุ (し猿) บ่งบอกถึงใจความสำคัญของการไม่กระทำสิ่งที่ไม่ดี ลักษณะของลิงตัวนี้คือใช้มือทั้งสองข้างปิดบริเวณท้องหรืออวัยวะเพศ หรือในบางครั้งมีลักษณะนำมือทั้งสองข้างไขว้กัน ความหมายของลิงสามตัวนี้มีการเพิ่มเติมและแปลตามลักษณะโวหารเกี่ยวข้องกับการคิดดี พูดดี และกระทำดี ในโลกตะวันตกประโยคของลิงสามตัวหมายถึงความไม่ประมาทโดยการมองในอีกมุมหนึ่ง ได้แก่การไม่ยอมรับหรือไม่รับรู้ในสิ่งนั้นๆ หรือการแสร้งที่จะไม่รับรู้ ต้นกำเนิดของภาพปริศนาธรรมอันโด่งดังนี้มีที่เริ่มมาจากลักษณะภาพแกะสลักบนประตูของศาลเจ้านิกโกโทโช จังหวัดโทะชิงิ ประเทศญี่ปุ่น ย้อนหลังไปถึงศตวรรษที่ 17 อย่างไรก็แล้วแต่ตัวปรัชญาของปริศนาธรรมนั้นน่าจะมาพร้อมกับตำนานของ ศาสนาพุทธนิกายเทียนไท้ ซึ่งเชื่อกันว่ามาจากประเทศจีนในศตวรรษที่ 8 (ยุคนะระ) ในภาษาจีนนั้น ประโยคคล้ายกับเรื่องลิงสามตัวนี้สามารถอ่านเจอในคัมภีร์ของหลักขงจื๊อ ถอดความได้ว่า "ไม่มองในสิ่งที่ค้านกับความเหมาะสม ไม่ฟังในสิ่งที่ค้านกับความเหมาะสม และไม่กระทำ (เคลื่อนไหว) ในสิ่งที่ไม่เหมาะสม" จากที่กล่าวมาในประโยคข้างต้นนั้นสามารถกล่าวได้ว่าเมื่อปรัชญานี้มาถึงญี่ปุ่น ตัวปรัชญาเองนั้นถูกทำให้กระชับและได้ใจความขึ้น ถึงแม้ว่าคำสอนนี้จะไม่เกี่ยวข้องกับลิงทั้งสามตัว แต่วิธีการคิดนั้นมาจากการเล่นคำ คำในภาษาญี่ปุ่นคือ "มิซะรุ" (見ざる), "คิคะซะรุ" (聞かざる), "อิวะซะรุ" (言わざる) นั่นคือ "การไม่รับรู้โดยการมองในสิ่งที่ไม่ดี การไม่ฟังในสิ่งที่ไม่ดี และการไม่กล่าววาจาในสิ่งที่ไม่ดี" นอกจากนี้คำว่า "ชิซะรุ" ยังเขียนอีกอย่างว่า し猿 หมายถึง ไม่ทำในสิ่งที่ไม่ดี และในภาษาญี่ปุ่น ซารุ (zaru) นั้นคือการออกเสียงส่วนที่ต่อท้ายคำสำหรับ saru ที่หมายถึงลิงนั้น (มีคำหนึ่งคือ 猿 ซึ่งเป็น kanji สำหรับคำว่าลิง) ดังนั้นเราจะเห็นได้ชัดว่าคำว่า ลิง นั้น อาจจะเริ่มต้นมาจากการเล่นคำขำขัน โดยมากแล้วชื่อของลิงในภาษาอังกฤษนั้นจะมี มิซารุ (Mizaru), มิคะซารุ (Mikazaru), และ มาซารุ (Mazaru).

ใหม่!!: ตาและลิงสามตัว · ดูเพิ่มเติม »

ลีดส์อิชธีส์

ลีดส์อิชธีส์ (Leedsichthys) เป็นชื่อปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว ลีดส์อิชธีส์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Leedsichthys problematicus อยู่ในวงศ์ Pachycormidae อาศัยอยู่ในทะเลในกลางยุคจูราสสิค (185-155 ล้านปีก่อน) พบฟอสซิลในชั้นหินในยุคนี้ โดยที่ชื่อ Leedsichthys ตั้งตามผู้ค้นพบคือ อัลเฟรด นิโคลสัน ลีดส์ นักสะสมซากดึกดำบรรพ์ชาวอังกฤษ มีความหมายว่า "ปลาของลีดส์" โดยพบในพื้นที่ใกล้เขตเมืองปีเตอร์โบโรห์เมื่อปี ค.ศ. 1886 ในสภาพเป็นเศษกระดูกจนยากจะคาดเดาว่าเป็นปลาชนิดใด หลังจากนั้นมีผู้ค้นพบในอีกหลายพื้นที่เช่น ในเมืองคอลโลเวียน ของอังกฤษ ทางภาคเหนือของเยอรมนีและฝรั่งเศส เมืองออกซ์ฟอร์เดียนของชิลีและเมืองคิมเอริดเกียน ของฝรั่งเศส โดยรวมแล้วพบประมาณ 70 ตัว แต่ไม่สามารถบอกขนาดตัวได้ จนอาร์เธอร์ สมิธ วูดวาร์ดพบตัวอย่างใน ค.ศ. 1889 ประเมินว่ามีขนาดตัวยาว 30 ฟุต หรือราว 9 เมตร โดยเปรียบเทียบหางของลีดส์อิชธีส์กับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันคือฮิพโซคอร์มัส ต่อมาการประเมินจากเอกสารการค้นพบในระยะหลัง รวมถึงตัวอย่างที่สมบูรณ์ในพื้นที่สตาร์ พิท ใกล้เขตวิทเทิลซีย์ เมืองปีเตอร์โบโร ได้ค่าใกล้เคียงกับของวูดวาร์ด ซึ่งอยู่ที่ 30-33 ฟุต และเป็นไปว่าตอนอายุ6-12ลำตัวยาวได้มากกว่า 54 ฟุต หรือ 16 เมตร แต่ถ้าโตเต็มวัยยาวได้ถึง 24.2-26 เมตรและอาจยาวได้สูงสุดคือ 28 เมตร จึงเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา นอกจากนี้ลีดส์อิชธีส์เป็นปลาใหญ่ที่สุดในประวัติศาตร์และครองตำแหน่งปลายักษ์มาแล้วมากกว่า 125 ปี ลีดส์อิชธีส์มีตาขนาดเล็กและด้วยขนาดตัวที่ใหญ่โตทำให้ว่ายน้ำช้า ใช้ชีวิตคล้ายคลึงกับปลาใหญ่ในยุคปัจจุบันอย่างปลาฉลามวาฬหรือปลาฉลามอาบแดด โดยใช้ฟันซี่เรียวกว่า 40,000 ซี่กรองกินสัตว์เล็กสัตว์น้อยและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร แม้ว่ามันจะมีลำตัขนาดใหญ่มาก แต่เชื่อว่าลีดส์อิชธีส์ก็ยังตกเป็นเหยื่อของปลากินเนื้อขนาดใหญ่รวมถึงสัตว์เลื้อยคลานทะเลยุคเดียวกันด้วย เช่น ไลโอพลัวเรอดอน เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและลีดส์อิชธีส์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว

วัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว เป็นวัดในจังหวัดเชียงราย ตั้งอยู่บนดอยแห่งหนึ่งบริเวณเส้นทางไปดงมะดะ บนยอดดอยเป็นจุดชมวิวทิวทัศน์รอบ ๆ ตัวเมืองของจังหวัดเชียงราย ซึ่งสวยงามและกลางวันและกลางคืน เป็นวัดที่เก่าแก่ ถูกสร้างขึ้นในสมัยพุทธกาลราว 1,000 กว่าปี มีตำนานเก่าแก่เรื่อง แมงสี่หูห้าตา และ ควายเผือกแก้วเขาแสง ในเจดีย์ได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าและเขาของควายเผือกแก้วเขาแสงอีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: ตาและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วิระยา ชวกุล

ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล (ชื่อเล่น: น้อย; เกิด: 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นกรรมการของมูลนิธิในพระราชินูปถัมภ์หลายแห่ง และปรากฏบทบาททางการเมือง.

ใหม่!!: ตาและวิระยา ชวกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของตา

วิวัฒนาการของตา (evolution of the eye) เป็นประเด็นการศึกษาที่ดึงดูดความสนใจ เพราะเป็นตัวอย่างพิเศษที่แสดงวิวัฒนาการเบนเข้าของอวัยวะที่สัตว์กลุ่มต่าง ๆ มากมายมี คือตาที่ซับซ้อนและทำให้สามารถมองเห็นได้วิวัฒนาการเกิดขึ้นอย่างเป็นอิสระกว่า 50-100 ครั้ง ตาที่ซับซ้อนดูเหมือนจะวิวัฒนาการขึ้นภายในไม่กี่ล้านปีในช่วง Cambrian explosion (เหตุการณ์ระเบิดสิ่งมีชีวิตยุคแคมเบรียน) ที่สิ่งมีชีวิตได้เกิดวิวัฒนาการอย่างรวดเร็ว หลักฐานว่าตาได้วิวัฒนาการขึ้นก่อนยุคแคมเบรียนยังไม่มี แต่มีอย่างหลากหลายในชั้นหิน/สิ่งทับถม Burgess shale (ในเทือกเขาร็อกกีของประเทศแคนาดา) ในกลางยุคแคมเบรียน และในหมวดหิน Emu Bay Shale ในออสเตรเลียซึ่งเก่าแก่กว่าเล็กน้อย ตาได้ปรับตัวอย่างหลายหลากตามความจำเป็นของสัตว์ ความต่างกันรวมทั้งความชัด (visual acuity) พิสัยความยาวคลื่นแสงที่สามารถเห็น ความไวในแสงสลัว ๆ สมรรถภาพในการตรวจจับการเคลื่อนไหวหรือการแยกแยะวัตถุ และการเห็นเป็นสี.

ใหม่!!: ตาและวิวัฒนาการของตา · ดูเพิ่มเติม »

วิถีประสาท

วิถีประสาทจะเชื่อมส่วนหนึ่งของระบบประสาทไปยังอีกส่วนหนึ่งโดยใช้มัดแอกซอนที่เรียกว่า ลำเส้นใยประสาท (tract) ลำเส้นใยประสาทตาเป็นตัวอย่างหนึ่งของวิถีประสาทที่เชื่อมตากับสมอง วิถีประสาท (neural pathway) เป็นเซลล์ประสาท (นิวรอน) ที่เชื่อมต่อกันเป็นทอด ๆ เพื่อส่งกระแสประสาทจากส่วนหนึ่งของระบบประสาทไปยังอีกส่วนหนึ่ง นิวรอนอาจจะเชื่อมต่อกันโดยใยประสาทเพียงเส้นเดียว หรือโดยมัดใยประสาทที่เรียกว่า ลำเส้นใยประสาท (tract) วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ห่างไกลกันในสมองหรือระบบประสาท จะเป็นมัดใยประสาทที่เรียกรวม ๆ กันว่า เนื้อขาว (white matter) วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ใกล้ ๆ กัน เช่น ในระบบประสาทที่ใช้สารสื่อประสาทโดยเฉพาะ ๆ (neurotransmitter system) มักจะเรียกว่า เนื้อเทา (grey matter) ตัวอย่างเช่น ฮิปโปแคมปัสมีวิถีประสาทหลายวิถีรวมทั้ง perforant pathway ที่เชื่อม entorhinal cortex กับส่วนต่าง ๆ ของ hippocampal formation รวมทั้ง dentate gyrus, CA fields ทั้งหมด (รวมทั้ง CA1), และ subiculum ส่วนวิถีประสาทสั่งการที่ออกจากสมอง จะวิ่งจากเปลือกสมองไปถึงส่วนล่างของไขสันหลัง.

ใหม่!!: ตาและวิถีประสาท · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการอำพรางข้อมูล

ต้นไม้ที่มีการอำพรางข้อมูล ถ้าหากนำบิตอื่น ๆ ของ RGB ออกไปยกเว้น 2 บิตสุดท้ายของแต่ละสี ซึ่งภาพที่ได้จะเป็นโทนสีเกือบดำ แล้วเพิ่มความสว่าง 85 เท่า จึงจะปรากฏรูปภาพด้านล่าง ภาพแมวที่ถูกอำพรางเอาไว้ วิทยาการอำพรางข้อมูล (อังกฤษ: Steganography) หมายถึงศาสตร์ในการซ่อนข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักในการปกปิด ทำให้ดูเหมือนว่าไม่มีการซ่อนข้อมูลลับใด ๆ ในสื่อเป้าหมาย หากมองโดยผิวเผินแล้ว วิทยาการอำพรางข้อมูลมีลักษณะใกล้เคียงกับวิทยาการเข้ารหัสลับ (Cryptography) แต่ความแตกต่างของศาสตร์ทั้งสองคือ การเข้ารหัสมีจุดประสงค์ในการทำให้ข้อความไม่สามารถอ่านเข้าใจได้ แต่การอำพรางข้อมูลมีจุดประสงค์ในการซ่อนข้อมูล ทำให้คนทั่วไปไม่รู้ว่ามีการซ่อนข้อมูลลับอยู่ ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่สายลับมีการส่งจดหมายติดต่อไปยังหน่วยงานของตน สมมติจดหมายที่ถูกส่งไปนั้นถูกเปิดตรวจสอบระหว่างทาง หากข้อความถูกเข้ารหัสไว้ก็อาจก่อให้เกิดความสงสัยแก่ผู้ตรวจสอบว่า จดหมายนี้อาจมีข้อความที่เป็นความลับอยู่ แต่หากในจดหมายนั้นใช้วิธีการอำพรางข้อมูล ในการซ่อนข้อความแล้ว ข้อความในจดหมายนั้นก็เสมือนกับจดหมายทั่วไป ไม่มีสิ่งที่เป็นจุดน่าสงสั.

ใหม่!!: ตาและวิทยาการอำพรางข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กบมีหาง

กบมีหาง (Tailed frogs) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับกบ (Anura) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ascaphidae กบในวงศ์นี้ มีลักษณะสำคัญคือ ตัวผู้มีอวัยวะถ่ายอสุจิรูปร่างคล้ายหาง อยู่ทางด้านท้ายของห้องทวารร่วม อวัยวะส่วนนี้ได้รับการค้ำจุนด้วยแท่งกระดูกอ่อนที่เจริญมาจากกระดูกเชิงกราน ภายในมีเส้นเลือดฝอยจำนวนมาก ขณะที่ตัวผู้กอดรัดตัวเมียจะงอหางไปข้างหน้าและสอดเข้าไปในช่องทวารร่วมของตัวเมียเพื่อถ่ายอสุจิ การงอหางเกิดจากการหดตัวของอสุจิ นอกจากนี้แล้วยังมีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบจำนวน 9 ปล้อง ซึ่งนับว่ามีมากกว่ากบวงศ์อื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีกระดูกอิพิพิวบิสอยู่ด้านหน้ากระดูกพิวบิส ลูกอ๊อดมีช่องปากมีจะงอยปากและมีตุ่มฟัน กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของแอมฟิซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของอาร์กซิฟเอรัล กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแคลลาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะส่วนต้นและส่วนปลาย ไม่มีกระดูกแทรกระหว่างระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย ช่องเปิดของห้องเหงือกมีช่องเดียวอยู่ในแนวตรงกลางลำตัว จึงเป็นข้อสันนิษฐานว่า กบในวงศ์นี้เป็นบรรพบุรุษของกบวงศ์อื่น ๆ ทั้งหมด มีขนาดลำตัวขนาดเล็กประมาณ 3.5-5 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลาในลำธารที่มีกระแสน้ำแรงและเย็นจัด ตัวผู้ไม่มีแผ่นเยื่อแก้วหูและไม่ส่งเสียงร้องแต่ใช้ตารับภาพเพื่อเสาะหาตัวเมีย การผสมพันธุ์เกิดขึ้นในน้ำโดยตัวผู้กอดรัดตัวเมียในบริเวณเอว กบตัวเมียจะเก็บอสุจิไว้ในท่อนำไข่นาน 9 เดือน ต่อจากนั้นจึงวางไข่จำนวน 40-80 ฟองติดไว้ในก้อนหินใต้ลำธาร ไข่มีขนาดใหญ่และเอ็มบริโอเจริญอยู่ภายในไข่เป็นระยะเวลานาน ลูกอ๊อดมีอวัยวะใช้ยึดเกาะก้อนหินเจริญขึ้นมาบริเวณปาก และลดรูปครีบหางซึ่งปรับตัวเพื่ออาศัยในลำธารกระแสน้ำไหลแรง และลูกอ๊อดใช้ระยะเวลานานถึง 2-3 ปี จึงเจริญเป็นตัวเต็มวัย กบในวงศ์กบมีหางนี้ มีเพียงสกุลเดียว คือ Ascaphus มีเพียง 2 ชนิด แพร่กระจายพันทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา อาศัยอยู่บริเวณแนวฝั่งลำธารที่น้ำใสและเย็นจัดบนภูเขาที่มีความสูงกว่า 2,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: ตาและวงศ์กบมีหาง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระบอก

วงศ์ปลากระบอก (วงศ์: Mugilidae (/มู-จิ-ลิ-ดี/)) เป็นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ที่อยู่ในอันดับ Mugiliformes นับเป็นวงศ์เดียวที่อยู่ในอันดับนี้ ปลากระบอกมีรูปร่างโดยรวมเรียวยาวค่อนข้างกลมเป็นทรงกระบอก ปากเล็ก มีครีบหลัง 2 ตอน เป็นปลาที่พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล มีตาทรงกลมโต พบทั่วไปในทั้งในทวีปยุโรป, อเมริกาเหนือ และทวีปเอเชีย เช่น อินโด-แปซิฟิก, ฟิลิปปิน และออสเตรเลีย มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูง มีความปราดเปรียวว่องไว เกล็ดโดยมากเป็นสีเงินเหลือบเขียวหรือเทาขนาดใหญ่ ปลากระบอก สามารถแบ่งออกได้เป็นสกุล 17 สกุล ประมาณ 80 ชนิด โดยมีชนิดที่สำคัญ ๆ เป็นที่รู้จักกันดี อาทิ ปลากระบอกท่อนใต้ (Liza vaigiensis), ปลากระบอกดำ (L. parsia), ปลากระบอกขาว (L. seheli) เป็นต้น เป็นปลาที่เป็นที่นิยมในการตกปลา และเป็นปลาเศรษฐกิจ มีการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ในในเชิงการประมง.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลากระบอก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลามังกรน้อย

วงศ์ปลามังกรน้อย (Dragonet, Scotter blenny, ชื่อวิทยาศาสตร์: Callionymidae) เป็นวงศ์ปลาทะเลขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ซึ่งอยู่ในอันดับเดียวกัน แต่วงศ์ปลามังกรน้อยไม่จัดอยู่ในวงศ์ปลาบู่ แต่กลับมีความใกล้เคียงกับปลาในวงศ์ปลามังกรน้อยลาด (Draconettidae) มากกว่า โดยคำว่า "Callionymidae" ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "Kallis" ซึ่งแปลว่า "สวย" และ "onyma" แปลว่า "ชื่อ" เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ราว 10 เซนติเมตร โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด 17 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นของอินโด-แปซิฟิก หากินโดยใช้ปากที่มีขนาดเล็กคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหากินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยจะหากินในเวลากลางคืนเริ่มตั้งแต่พลบค่ำ ตามแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ มีรูปร่างโดยรวม คือ มีส่วนหัวขนาดโต ดวงตากลมมีขนาดใหญ่ มีครีบต่าง ๆ ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะครีบหางและครีบท้อง ซึ่งแข็งแรงมาก มีพฤติกรรมใช้ครีบท้องนี้คืบคลานหาอาหารตามพื้นทรายมากกว่าจะว่ายน้ำ โดยมีครีบหางเป็นเครื่องบังคับทิศทาง มีเงี่ยงครีบหลัง 4 ก้าน มีก้านครีบอ่อน 6-11 ก้าน ก้านครีบก้น 4-10 ก้าน มีเส้นข้างลำตัว มีกระดูกเรเดียส 3 ชิ้น ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือ ตัวผู้มีกระโดงครีบหลังชี้ยาวออกมาเห็นเป็นจุดเด่น ขณะที่ตัวเมียไม่มี โดยมากแล้วมีสีสันและลวดลายสดใสสวยงามมาก มีพฤติกรรมการวางไข่ โดยตัวผู้จะว่ายน้ำไปรอบ ๆ ตัวเมีย พร้อมเบ่งสีและครีบต่าง ๆ เพื่อเกี้ยวพา เมื่อตัวเมียปล่อยไข่ออกมาแล้ว ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสมทันที ไข่จะลอยไปตามกระแสน้ำ ตัวอ่อนใช้ชีวิตเบื้องต้นเป็นเหมือนแพลงก์ตอน ในบางชนิดมีรายงานว่ามีพิษด้วย ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานแล้ว 18 สกุล (ดูในตาราง) ราว 130 ชนิด และเนื่องจากเป็นปลาสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามในตู้ปะการัง ซึ่งบางชนิดสามารถเพาะเลี้ยงในที่เลี้ยงได้แล้ว อาทิ ปลาแมนดาริน (Synchiropus splendidus), ปลาแมนดารินจุด (S. picturatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลามังกรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกัน

วงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกัน (วงศ์: Achiridae, American Sole) เป็นปลาลิ้นหมาวงศ์หนึ่ง โดยมีความคล้ายคลึงกับปลาลิ้นหมาในวงศ์ Soleidae มีรูปร่างที่แตกต่างไปจากปลาในอันดับเดียวกันนี้วงศ์อื่น ๆ คือ ดวงตาทั้งสองข้างจะอยู่บนลำตัวซีกขวาและอยู่ชิดกันมาก ตาข้างหนึ่งอยู่ต่ำกว่าปากอย่างเห็นได้ชัด ปากเชิดขึ้น มีฟันเพียงเล็กน้อยหรืออาจไม่มีเลย เกือบทั้งหมดจะมีลำตัวกลมหรือกลมรี บริเวณข้างลำตัวมีขนาดกว้าง มีเส้นข้างลำตัวเหนือบริเวณข้างลำตัวด้านบน ครีบหลังและครีบทวารจะแยกออกจากครีบหาง ครีบอกมีขนาดเล็กหรืออาจจะไม่มีเลย อาศัยอยู่ในเขตอากาศอบอุ่น เขตน้ำตื้นที่มีพื้นทรายหรือโคลนเลน กินพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยแพร่กระจายพันธุ์ทั้งในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำเค็ม ของชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือไปจนถึงทวีปอเมริกาใต้ มีทั้งหมด 9 สกุล 28 ชนิด บางชนิดมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่น Catathyridium jenynsii.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาลิ้นหมาอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย (Lefteye flounder, Turbot) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Bothidae (/โบ-ทิ-ดี/) ปลาลิ้นหมาในวงศ์นี้ มีรูปร่างคล้ายปลาลิ้นหมาในวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) และวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา (Pleuronectidae) แต่ว่าปลาในวงศ์นี้ เมื่อโตขึ้นมา ตาทั้งคู่จะอยู่ทางซีกซ้ายของหัว เหมือนปลาในวงศ์ปลาลิ้นเสือ (Paralichthyidae) และวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีแกนครีบ ครีบหลังเริ่มที่เหนือบริเวณตา ครีบหลังและครีบทวาร แยกจากครีบหาง ขณะที่พื้นลำตัวส่วนมากเป็นสีน้ำตาลและส่วนมากมีจุดประสีเข้ม เป็นวงกลมคล้ายวงแหวนดูเด่น ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานแบ่งไว้ทั้งหมด 20 สกุล (ดูในตาราง) พบประมาณ 158 ชนิด และพบได้เฉพาะในทะเลและมหาสมุทรเท่านั้น พบได้ทั้งในเขตร้อน, เขตอบอุ่น และเขตหนาว จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นเสือ

วงศ์ปลาลิ้นเสือ หรือ วงศ์ปลาลิ้นหมาฟันใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralichthyidae) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในทะเล ชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหาได้ยากมาก ลำตัวด้านขวาจะราบไปกับพื้นน้ำ ตาทั้งสองข้างอยู่ด้านซ้ายของลำตัวบริเวณส่วนหัวเหมือนกับวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย (Bothidae) ลักษณะเด่น คือ ไม่มีก้านครีบบริเวณครีบอกและครีบเชิงกราน ฐานครีบเชิงกรานจะสั้นและเกือบจะสมมาตร โดยมากจะพบได้ในเขตอบอุ่นหรือเขตร้อน มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและตกปลาในเชิงการกีฬา อาทิ ปลาแฮลิบัตญี่ปุ่น (Paralichthys olivaceus) ขณะที่ในน่านน้ำไทย มีหลายชนิด ชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ปลาลิ้นเสือ (Pseudorhombus arsius) ปัจจุบัน มีการจำแนกไว้ทั้งหมด 14 สกุล (ดูในตาราง) 115 ชนิด โดยที่คำว่า Paralichthyidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีก paralia หมายถึง "ด้านข้างทะเล", coast บวกกับภาษากรีกคำว่า ichthys หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาลิ้นเสือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัว

วงศ์ปลาวัว หรือ วงศ์ปลางัว หรือ วงศ์ปลากวาง (วงศ์: Balistidae, Triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวกว้างแบนเป็นทรงกลมรีคล้ายรูปไข่ ข้างตำแหน่งตาอยู่สูงบริเวณด้านบนของหัว ที่ครีบหลังอันแรกจะมีหนามแข็ง 3 อัน สามารถพับเก็บได้ และจะตั้งขึ้นได้เพื่อใช้ในการข่มขู่ศัตรู มีก้านครีบหางจำนวน 12 ก้าน และ 18 ก้านครีบที่ครีบหลัง มีเกล็ดที่ใหญ่แข็งและหนังหนา ส่วนของใบหน้ายาวและยื่นแหลมออกมา ปากมีขนาดเล็ก ภายในมีฟัน 4 ซี่ที่ด้านนอก และด้านในอีก 3 ซี่ ที่แหลมคมมาก ใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ กินเป็นอาหาร รวมถึงฟองน้ำ, ปะการัง, สาหร่าย หรือเม่นทะเลด้วย เช่นเดียวกับปลาปักเป้า อันเป็นปลาในอันดับเดียวกัน แต่อยู่ต่างวงศ์กัน พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น เช่น อินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะฮาวาย, ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลฟิลิปปิน และมหาสมุทรแอตแลนติก ตาของปลาวัวสามารถกลอกกลิ้งไปมาได้ อันเป็นลักษณะเฉพาะ โดยปกติแล้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้าวก้าวร้าวมาก มักไล่กัดปลาอื่นหรือแม้แต่พวกเดียวกันเองที่รุกล้ำเข้ามาในถิ่นที่อยู่อาศัย เป็นปลาที่จะหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการัง มีพฤติกรรมหากินโดยซอกซอนหากินเอาในแนวปะการังในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้รวดเร็วมากโดยใช้ครีบหลัก ๆ ทั้ง 2 ครีบในด้านบนและด้านล่างของลำตัว ขณะที่ครีบหางใช้เป็นตัวควบคุมทิศทาง เป็นปลาที่มีพฤติกรรมผสมพันธุ์วางไข่ โดยวางไข่ตามพื้นในรังซึ่งตัวผู้จะทำหน้าที่เฝ้าระวัง ซึ่งบางชนิดจะมีนิสัยดุร้ายมากในช่วงนี้ โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามสดใสมาก จึงเป็นที่นิยมมากของนักดำน้ำและนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่ว่าเป็นปลาที่ดุร้ายมาก สามารถพุ่งเข้ากัดจนเป็นแผลเหวอะหรือไล่มนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์ที่ใหญ่กว่ามากได้อย่างไม่เกรงกลัว มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 25-50 เซนติเมตร โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาวัวไททัน (Balistoides viridescens) ที่ใหญ่ได้ถึง 75 เซนติเมตร หรือราว 1 เมตร และนับเป็นชนิดที่อันตรายมาก เพราะมีรายงานการกัดและไล่นักดำน้ำมาแล้วในหลายที.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาวัว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสตาร์เกเซอร์

ปลาสตาร์เกเซอร์ (Stargazer) เป็นปลาทะเลน้ำลึกในวงศ์ Uranoscopidae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) แบ่งออกเป็นประมาณ 50 ชนิด 8 สกุล พบอยู่ตามร่องน้ำลึกทั่วโลก มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวยาว กลมหรือแบนลงเล็กน้อย ส่วนหัวแบนลง มองคล้ายเป็นสี่เหลี่ยม ส่วนหางแบนข้าง ตามีขนาดเล็กอยู่ทางด้านบนของส่วนหัว ปากเชิดอยู่ในแนวดิ่ง ฟันมีขนาดเล็กปลายแหลม บนขากรรไกร เกล็ดเป็นแบบขอบบางเรียบ ขนาดเล็กฝังอยู่ใต้ผิวหนัง ครีบหลังมีก้านครีบแข็งสั้น แต่แข็งแรง ส่วนฐานของก้านครีบอ่อนของครีบหลัง และครีบก้นยาว ครีบอกกว้างฐานครีบท้องอยู่ชิดกัน และอยู่หน้าครีบอกตำแหน่งจูกูลาร์ ส่วนหัวไม่มีเกล็ดแต่มี โบนี่ แพลท ปกคลุม ครีบหางตัดตรงหรือมนเล็กน้อย ปลาสตาร์เกเซอร์มีลักษณะพิเศษคือ มีดวงตาอยู่บนส่วนยอดของหัว ปากขนาดใหญ่ มีครีบที่มีพิษใช้ป้องกันตัว และอาจป้องกันตัวเองด้วยกระแสไฟฟ้า มักฝังตัวอยู่ใต้พื้นทรายเพื่อคอยดักจับเหยื่อ ในบางชนิดจะมีระยางค์รูปร่างคล้ายหนอนยื่นออกมาจากปากเพื่อล่อเหยื่อ มีขนาดลำตัวยาวตั้งแต่ 18 เซนติเมตร ถึง 90 เซนติเมตร.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาสตาร์เกเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ

วงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ (Asian leaffish, Banded leaffish) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pristolepididae มีลักษณะสำคัญ คือ มีรูปร่างแบนข้างมากเป็นรูปไข่หรือวงรี เกล็ดสาก เส้นข้างลำตัวขาดตอนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน มีปากเล็ก มุมปากยาวถึงนัยน์ตา ดวงตากลมโต หนังขอบกระดูกแก้มติดต่อกันถึงส่วนใต้ปาก ริมกระดูกแก้มชิ้นกลางเป็นหนามแหลม 2 ชิ้น มีเพียงสกุลเดียว คือ Pristolepis จำแนกออกได้ทั้งหมด 6 ชน.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาหมอช้างเหยียบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาผีเสื้อ

วงศ์ปลาผีเสื้อ (วงศ์: Chaetodontidae, Butterflyfish, Bannerfish, Coralfish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลจำพวกหนึ่ง ในชั้นปลากระดูกแข็ง อันดับปลากะพง (Perciformes) ประกอบไปด้วยสมาชิกแบ่งออกเป็นสกุลต่าง ๆ ได้ 10 สกุล พบประมาณ 114 ชนิด มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวสั้น แบนด้านข้าง ปากมีขนาดเล็กอาจยืดหดได้ ภายในปากมีฟันละเอียด ครีบหลังมีอันเดียว ประกอบด้วยก้านครีบแข็งอยู่ส่วนหน้าและก้านครีบอ่อนอยู่ถัดไป ครีบทวารมีก้านครีบแข็ง 3 อัน และแผ่นยื่นรับกับครีบหลัง มีนิสัยเฉื่อยชา ว่ายน้ำหรือเคลื่อนไหวไปอย่างช้า ๆ ไม่ว่องไว มีสีสันและลวดลายที่สดใสสวยงาม มีพฤติกรรมอาศัยเป็นฝูงหรือเป็นคู่ในแนวปะการัง พบแพร่กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค เป็นปลาที่ออกหากินในเวลากลางวัน โดยอาศัยการแทะกินสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ตามแนวปะการัง ส่วนในเวลากลางคืนจะอาศัยหลับนอนตามโพรงหินหรือปะการัง และจะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้มขึ้นเพื่ออำพรางตัวจากศัตรู ซึ่งในหลายชนิดและบางสกุล จะมีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่คล้ายดวงตาอยู่บริเวณท้ายลำตัวเพื่อล่อหลอกให้ศัตรูสับสนได้อีกด้วยคล้ายกับผีเสื้อที่เป็นแมลง มีการสืบพันธุ์วางไข่โดยการปล่อยไข่ให้ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ก่อนจะรอวันให้ลูกปลาฟักออกมาเป็นตัวและกลับไปอาศัยในแนวปะการังต่อไป ลูกปลาผีเสื้อแทบทุกชนิดมีรูปร่างหน้าตาแทบจะเหมือนกับตัวเต็มวัย โดยมักจะมีจุดบริเวณครีบหลัง และเมื่อลูกปลาโตขึ้นจุดที่ว่านี้ก็จะหายไปเช่นเดียวกับปลาในแนวปะการังอื่น ๆ อีกหลายชนิด ด้วยความสวยงามและรูปร่างที่น่ารัก จึงทำให้นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในบางชนิดสามารถฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ หลายชนิดเลี้ยงได้ไม่ยากนัก ขณะที่บางชนิดที่เลี้ยงได้ยาก สำหรับในน่านน้ำไทยพบปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนี้ไม่ต่ำกว่า 40 ชนิด อาทิ ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Chelmon rostratus), ปลาผีเสื้อทอง (Chaetodon semilarvatus), ปลาผีเสื้อจมูกยาวขอบตาขาว (Forcipiger flavissimus), ปลาโนรีเกล็ด (Heniochus diphreutes) เป็นต้น โดยจะพบในด้านทะเลอันดามันมากกว่าอ่าวไทย ซึ่งปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนั้น ในอดีตเมื่อเริ่มมีการอนุกรมวิธาน ด้วยลักษณะปากที่ยื่นยาวทำให้มีความเข้าใจผิดว่า สามารถพ่นน้ำจับแมลงได้เหมือนเช่น ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) ซึ่งเป็นปลาน้ำจืด โดยความผิดพลาดเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1764 เมื่อมีการส่งตัวอย่างปลาในยังกรุงลอนดอนเพื่อลงรูปตีพิมพ์ลงในหนังสือ ปรากฏเป็นภาพของปลาผีเสื้อนกกระจิบ และถูกบรรยายว่าสามารถพ่นน้ำจับแมลงกินเป็นอาหารได้ จึงถูกกล่าวอ้างต่อมาอย่างผิด ๆ อีกนาน.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาผีเสื้อ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตาเหลือกยาว

วงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Ladyfish, Tenpounder, Bigeyed herring, Tarpon, วงศ์: Elopidae) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลาตาเหลือก (Elopiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Elopidae เป็นปลาที่มีลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาตาเหลือก (Megalopidae) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในอันดับเดียวกัน กล่าวคือ มีรูปร่างเพรียวยาว ปลายหางแฉกเป็นสองแฉกเว้าลึก แบนข้าง เกล็ดมีสีเงินแวววาว ตามีความกลมโต ปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกขากรรไกรล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น เหมือนกัน แต่มีลำยาวยาวกว่า และที่ก้านครีบหลังก้านสุดท้ายไม่มีเส้นครีบยื่นยาวออกมา เป็นปลาขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1 เมตร น้ำหนักเต็มที่ประมาณ 10 กิโลกรัม มีความปราดเปรียวว่องไว หากินโดยกินปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบเขตร้อนและเขตอบอุ่น และสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ มีทั้งหมด 1 สกุล 7 ชน.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาตาเหลือกยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแมว

วงศ์ปลาแมว หรือ วงศ์ปลากะตัก หรือ วงศ์ปลาหางไก่ (Anchovy) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็ง ในอันดับ Clupeiformes อันเป็นอันดับเดียวกับวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Engraulidae.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาแมว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเฉี่ยว

วงศ์ปลาเฉี่ยว (วงศ์: Monodactylidae) เป็นวงศ์ปลาจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) เป็นปลาที่มีรูปร่างโดยรวมคือ แบนข้างมากเป็นรูปสี่เหลี่ยม หัวเล็ก ปากมีขนาดเล็ก ครีบหลังและครีบท้องคม ครีบอกและครีบหางสั้น มีลายพาดสีดำบริเวณหางและช่องปิดเหงือก ตากลมโต เกล็ดเล็กละเอียดมาก ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยเป็นปลาขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ที่สุดไม่เกินฝ่ามือของมนุษย์ อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลหรือปากแม่น้ำ สามารถปรับตัวให้อาศัยได้ทั้งน้ำเค็ม-น้ำกร่อย-น้ำจืด ได้เป็นอย่างดี แพร่พันธุ์โดยการวางไข่ในบริเวณที่เป็นน้ำจืดหรือมีปริมาณความเค็มน้อย โดยปลาตัวเมียจะวางไข่ก่อนที่ปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อผสม ก่อนที่ลูกปลาจะค่อย ๆ เติบโตและอพยพไปอยู่ในบริเวณที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำเค็มมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง พบในทะเลแถบเขตร้อนอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงออสเตรเลีย มีทั้งหมด 2 สกุล 6 ชน.

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปลาเฉี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปูบก

ปูบก (Land crab) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกปูวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gecarcinidae ปูในวงศ์ปูบก มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายกับปูทั่วไป เพียงแต่จะไม่มีหนามรอบกระดอง และรอบดวงตา มีขาเดินที่แข็งแรง และมีกรงเล็บขนาดใหญ่ เนื่องจากดำรงชีวิตอยู่บนบก จึงมีอวัยวะช่วยหายใจแตกต่างไปจากปูวงศ์อื่น โดยจะหายใจจากอากาศโดยตรง จึงมีเหงือกเป็นขุย มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงจำนวนมากคล้ายกับถุงลมในสัตว์บก และมีระบบขับถ่ายที่แตกต่างไปจากปูวงศ์อื่น คือ มีกระบวนการเปลี่ยนของเสียจากแอมโมเนีย ให้กลายเป็นกรดยูริก เก็บไว้ในเนื้อเยื่อ แตกต่างไปจากปูทั่วไปที่จะถ่ายลงน้ำ แต่การขยายพันธุ์ ปูตัวเมียก็จะไปวางไข่ทิ้งไว้ในน้ำ และลูกปูจะเลี้ยงตัวเองและพัฒนาตัวในน้ำในระยะต้น ก่อนที่จะขึ้นมาใช้ชีวิตอยู่บนบก ปูบก ดำรงชีวิตอยู่ในป่า หรือป่าชายหาดใกล้ชายหาด กินเศษซากอินทรีย์วัตถุต่าง ๆ รวมถึง ใบไม้และสัตว์ขนาดเล็กเป็นอาหารได้ด้วย ปูบก สามารถแบ่งได้เป็นสกุลต่าง ๆ ได้ 6 สกุล ดังนี้ (บางข้อมูลแบ่งเพียง 3).

ใหม่!!: ตาและวงศ์ปูบก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกแสก

วงศ์นกแสก (Barn-owl, วงศ์: Tytonidae) เป็นวงศ์ของนกล่าเหยื่อในอันดับนกเค้าแมว (Strigiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Tytonidae นับเป็นวงศ์ของนกเค้าแมววงศ์หนึ่ง นอกเหนือจากวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนาดใหญ่กว่านกในวงศ์นกเค้าแมว ใบหน้ากลมแบน มีขนสีขาวเต็มหน้า ทำให้คล้ายรูปหัวใจ ตามีสีดำ อยู่ด้านหน้า และมีขนาดเล็กกว่าวงศ์นกเค้าแมว ปากเป็นจะงอยงุ้ม สีเหลืองเทา ชมพู หลังและปีกสีน้ำตาลอ่อน มีสีน้ำตาลเทาเป็นส่วน ๆ คอ อก ท้อง สีขาว ขาวนวล มีจุดสีน้ำตาลเข้มทั่วไป ปีกยาว หางสั้น ขนปีกและหางมีลายขวางสีเหลืองสลับน้ำตาลอ่อน ขาใหญ่ มีขนคลุมขา ตีนสีชมพู นิ้วมีเล็บยาว รูปร่างลักษณะตัวผู้และตัวเมียจะคล้ายกัน โดยตัวเมียจะโตกว่าเล็กน้อย ลำตัวตั้งตรง มีพฤติกรรมการหากินและเป็นอยู่คล้ายกับนกในวงศ์นกเค้าแมว โดยแบ่งออกได้เป็น 2 สกุล 16 ชนิด และยังมีอีก 4 สกุล ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ในหลายภูมิประเทศ ทั้งในป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล จนถึงชุมชนเมืองของมนุษย์ สำหรับในประเทศไทย พบได้ 3 ชนิด คือ นกแสก (Tyto alba) นกแสกทุ่งหญ้า (Tyto capensis) และนกแสกแดง (Phodilus badius) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า และพบได้เฉพาะในป่าเท่านั้น.

ใหม่!!: ตาและวงศ์นกแสก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกเค้าแมว

วงศ์นกเค้าแมว หรือ วงศ์นกเค้าแมวแท้ (True owl, Typical owl, วงศ์: Strigidae) เป็นวงศ์ของนกล่าเหยื่อในอันดับ Strigiformes หรือนกเค้าแมว ใช้ชื่อวงศ์ว่า Strigidae ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ (อีกวงศ์หนึ่ง นั่นคือ Tytonidae ซึ่งเป็นวงศ์ของนกแสก) มีลักษณะทั่วไปที่เป็นลักษณะเด่นชัด คือ มีตากลมโตสีเหลือง และมีตาอยู่ด้านหน้า ในบางสกุลหรือบางชนิด จะมีขนหูตั้งขึ้นต่อจากคิ้ว ตาสองข้างอยู่ด้านหน้า เหนือปาก เป็นเหมือนรูปจมูก มีเส้นสีที่แสดงเขตใบหน้าอย่างชัดเจน จะงอยปากงุ้มแหลมคม ปากงุ้มแหลม ปากและขาสีเนื้อ มีเล็บนิ้วยาวสำหรับฉีกเหยื่อที่จับได้ สีขนส่วนใหญ่ของหลัง-ปีก-อก และท้อง จะเป็นสีน้ำตาล-น้ำตาลเข้ม และมีลายน้ำตาลเข้ม-ดำ อก และท้องจะมีสีอ่อน กว่าหลังและปีก หางจะไม่ยาว แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ลวดลายของอกและท้องรวมทั้งสีขนจะแตกต่างกันในแต่ละชนิด นอกจากนี้แล้ว นกในวงศ์นี้ ยังสามารถหมุนคอได้เกือบรอบตัวได้ถึง 270 องศา เนื่องจากมีกระดูกสันหลังตรงคอ 14 ชิ้น ซึ่งมากกว่าสัตว์ชนิดใด ๆ ในโลก โดยมากแล้วเป็นนกที่หากินในเวลากลางคืน โดยอาหารหลักได้แก่ หนู และสัตว์ชนิดอื่น เช่น สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นต้น มีพฤติกรรมการกินอาหารที่มักกลืนเหยื่อเข้าไปทั้งตัว และจะสำรอกส่วนที่ย่อยไม่ได้เช่น กระดูกหรือก้อนขน ออกมาเป็นก้อนทีหลัง อาจมีบางชนิดที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ นกเค้าเอลฟ์ (Micrathene whitneyi) ที่มีน้ำหนักเพียง 40 กรัม ความยาวลำตัวเพียง 14 เซนติเมตร ความยาวปีก 20 เซนติเมตร จนถึง นกเค้าอินทรียูเรเชีย (Bubo bubo) ที่มีความยาวปีกยาวกว่า 75 เซนติเมตร น้ำหนัก 4.20 กิโลกรัม นับเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์และอันดับนี้ ปัจจุบัน พบทั้งหมดราว 200 ชนิด แบ่งได้เป็น 25 สกุล ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว 4 (ดูในตาราง) พบได้ทุกทวีปทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่บริเวณขั้วโลกเหนือ พบได้ในหลากหลายภูมิประเทศ ตั้งแต่ในป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 200 เมตร จนถึงชุมชนมนุษย์ในเมืองใหญ่ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั้งหมด 17 ชน.

ใหม่!!: ตาและวงศ์นกเค้าแมว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมีสทัส

กุลมีสทัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลากด (Bagridae) ในอันดับปลาหนัง (Siluformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Mystus (/มีส-ทัส/) เดิมทีสกุลนี้มิได้มีการกำหนดชนิดต้นแบบไว้ ต่อมาภายหลัง ได้มีการการกำหนดให้ Bagrus halapenesis เป็นต้นแบบ แต่อย่างไรก็ตาม ได้มีนักมีนวิทยาหลายท่านได้ให้การรับรองและนำมาตั้งเป็นชื่อปลาที่ตนเองค้นพบ เช่น เค.ซี. จารายาม ในปี ค.ศ. 1977, ค.ศ. 1978 และค.ศ. 1981, มัวรีซ คอทเทเลท ในปี ค.ศ. 1985, ดับเบิลยู.อี. เบอร์เกส ในปี ค.ศ. 1989 และไทสัน โรเบิร์ตส์ ในปี ค.ศ. 1989 และค.ศ. 1992 เป็นต้น มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาว ผิวหนังเรียบ หัวแบน นัยน์ตาเล็ก ปากกว้าง รูปปากตัดตรง ขากรรไกรบนยาวกว่าขากรรไกรล่างเล็กน้อย ปากมีริมฝีปากโดยรอบ ฟันที่ขากรรไกรเป็นซี่เล็กละเอียด ฟันที่กระดูกเพดานเรียงเป็นแผ่นโค้งเล็กน้อย ช่องเหงือกกว้าง โดยเฉพาะด้านล่าง หนังริมกระดูกแก้มทั้งสองข้างแยกจากกันเป็นอิสระไม่ติดกับเอ็นคาง กระดูกกะโหลกบางชนิดไม่เรียบและมีร่องที่กึ่งกลางกะโหลก กระดูกท้ายทอยส่วนหลังยื่นยาวเป็นกิ่ง บางส่วนเปลือย และบางส่วนซ่อนอยู่ใต้ผิวหนัง มีหนวด 4 คู่ คือ หนวดขนาดเล็กและที่สั้นจมูก 1 คู่ หนวดที่ริมปากบนยาวเลยหัว 1 คู่ และมีหนวดที่คางสั้นกว่าความยาวหัว 1 คู่ ครีบหลังมีด้านครีบเดี่ยวที่ขอบจักเป็นฟันเลื่อย 1 ก้าน และครีบแขนง 6 ก้าน มีครีบไขมัน 1 ก้าน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยวเป็นเงี่ยงแข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย ปลายครีบยาวไม่ถึงฐานของครีบท้อง ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึกแยกเป็น 2 แฉก แต่ขนาดไม่เท่ากัน โดยปลายแฉกบนในบางชนิดแยกออกมาเป็นครีบเดี่ยวที่เรียวยาวเหมือนหางเปีย ในอดีต ปลากดในสกุลมิสทัสนี้เคยรวมอยู่เป็นสกุลเดียวกันกับ Bagrus, Hemibagrus และSperata แต่ต่อมาได้มีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่ามีความแตกต่างกันพอสมควร จึงมีการจับแยกกันในปัจจุบัน ซึ่งปลาในสกุลมีสทัสนี้ถือว่าเป็นปลาที่มีขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง ในภาษาไทยอาจเรียกชื่อสามัญได้ว่า "ปลาแขยง" พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์ โดยในปี..

ใหม่!!: ตาและสกุลมีสทัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลดีอานีม่า

กุลดีอานีม่า เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) ซึ่งเป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) โดยใช้ชื่อสกุลว่า Dianema มีรูปร่างเรียวยาวเป็นทรงกระบอก ส่วนหัวแหลม ปากแบนเล็ก มีหนวดบนปากสองเส้นและข้างปากอีกสองเส้น และริมฝีปากอีก 4 เส้น ใช้ในการสัมผัสหาอาหาร ลำตัวมีผิวหนังที่พัฒนาเป็นเกราะแข็งใช้สำหรับป้องกันตัว ส่วนหัวมีจุดสีดำกระจัดกระจายไปทั่ว มีแถบสีดำในแนวนอนลากยาวตั้งแต่จมูกจรดแผ่นปิดเหงือก ดวงตาอยู่ตรงขนานกับปาก ปลาตัวผู้มีหนามแข็งเล็ก ๆ ที่ก้านครีบอก ปลาตัวเมียมีลักษณะอ้วนป้อมกว่าหากมองจากด้านบน ตัวเมียเมื่อไข่สุกท้องจะขยายใหญ่ วางไข่ได้ถึงครั้งละ 500 ฟอง โดยปลาตัวผู้จะเป็นผู้ดูแลไข่ที่วางในหลุมพื้นน้ำที่ขุดขึ้น เป็นปลาขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 10-12 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ ไม่แรงเชี่ยว มีใบไม้หรือพืชน้ำทับถมกัน น้ำมีความเป็นกรดเล็กน้อย (pH ต่ำกว่า 7 ลงมาเล็กน้อย) ซึ่งมักเป็นแหล่งน้ำตื้น ๆ ไหลคดเคี้ยวในป่าดิบชื้น หากินเศษอาหารตามพื้นน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก แบ่งออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: ตาและสกุลดีอานีม่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไซโนกลอสซัส

กุลไซโนกลอสซัส (Tonguefishes) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็ง ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) ใช้ชื่อสกุล Cynoglossus (/ไซ-โน-กลอส-ซัส/) เป็นปลาที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์นี้ มีลักษณะคือ มีครีบท้องมีเฉพาะด้านซ้าย ครีบหลัง ครีบหาง และครีบก้นติดต่อรวมกัน มีเส้นข้างลำตัว 2 หรือ 3 เส้น อยู่ด้านเดียวกับนัยน์ตา ริมฝีปากทั้งสองข้างราบเรียบ ปากงุ้มเป็นตะขอ ช่องเปิดเหงือกอยู่ทางด้านซ้ายของลำตัว เป็นปลาที่พบได้ในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด ปกติจะฝังตัวอยู่ใต้พื้นทรายหรือโคลน พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิกตั้งแต่ ฟิลิปปิน, ทะเลแดง, อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน, ทะเลจีนใต้, คาบสมุทรมลายู, อ่าวเบงกอล และพบได้จรดถึงชายฝั่งแอฟริกา ในประเทศไทยพบได้หลายชนิด อาทิ ปลายอดม่วงเกล็ดใหญ่ (C. macrolepidotus) พบในน้ำจืด 2 ชนิด คือ ปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C. microlepis) และปลายอดม่วงลาย (C. feldmanni).

ใหม่!!: ตาและสกุลไซโนกลอสซัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลไซเลอร์อัส

กุลไซเลอร์อัส (Sheatfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Silurus (/ไซ-เลอร์-อัส/) โดยถือว่าเป็นปลาหนัง (Siluriformes) ที่มีขนาดใหญ่ อาจยาวได้ถึง 3 เมตร และหนักได้เป็นร้อยกิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปยุโรปและเอเชียตะวันออก เป็นปลาที่กินไม่เลือก และมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมาก มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาวแบนข้าง หัวมีขนาดเล็ก นัยน์ตาอยู่เหนือมุมปาก มีหนวด 2 คู่ ที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ ครีบหลังเล็กอยู่หน้าล้ำครีบท้อง ครีบอกสั้น และยาวไม่ถึงฐานของครีบท้อง มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลางอยู่รวมกัน 1 กลุ่ม ครีบหางตัดตรงหรือเว้าเล็กน้อย ครีบก้นยาวแต่ไม่ต่อรวมถึงครีบหาง.

ใหม่!!: ตาและสกุลไซเลอร์อัส · ดูเพิ่มเติม »

สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท

ลาสติกข้ามระบบประสาทสามารถก่อให้เกิดการจัดระเบียบใหม่ในการเชื่อมต่อกันระหว่างกลีบสมองหลักทั้ง 4 กลีบ เป็นการตอบสนองที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียความรู้สึกทางประสาทสัมผัส สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ plasticity ว่า "สภาพพลาสติก" (cross modal plasticity) หรือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงข้ามระบบประสาท เป็นการเปลี่ยนการจัดระเบียบของนิวรอนเพื่อรวมส่วนของระบบประสาทรับความรู้สึกหลายระบบมาทำหน้าที่เดียวกัน เป็นสภาพพลาสติกของระบบประสาท (neuroplasticity) ประเภทหนึ่งที่มักเกิดขึ้นเมื่อระบบประสาทขาดข้อมูลความรู้สึกที่มีเหตุจากโรคหรือความเสียหายในสมอง การจัดระเบียบใหม่ของเครือข่ายนิวรอนอยู่ในระดับที่สูงสุดถ้าภาวะขาดความรู้สึกเป็นแบบระยะยาว เช่นความบอดแต่กำเนิด หรือความหนวกก่อนรู้ภาษา ในกรณีเช่นนี้ สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาทเป็นเหตุให้ระบบประสาทอื่นที่ไม่เสียหายเช่นการเห็นและ/หรือการได้ยิน มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นทดแทนระบบประสาทที่เสียหาย การเพิ่มสมรรถภาพอย่างนี้เกิดจากการเชื่อมต่อทางประสาทใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นเชื่อมคอร์เทกซ์ที่ขาดข้อมูลความรู้สึกของตนไป.

ใหม่!!: ตาและสภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท · ดูเพิ่มเติม »

สภาวะเห็นทั้งบอด

วะเห็นทั้งบอด หรือ การเห็นทั้งบอด หรือ เห็นทั้งบอด หรือ บลายน์ดไซต์ (blindsight) เป็นความสามารถในการตอบสนองต่อตัวกระตุ้นทางตา ของผู้ที่มีความบอดเหตุสมอง (cortical blindness) ที่เนื่องมาจากรอยโรคในคอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม ทั้ง ๆ ที่ผู้นั้นไม่สามารถจะเห็นตัวกระตุ้นนั้น งานวิจัยของสภาวะเห็นทั้งบอดโดยมาก ได้ทำกับคนไข้ที่มีภาวะบอดของลานสายตาเพียงข้างเดียว หลังจากที่คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐมของคนไข้ถูกทำลายแล้วเพราะโรคหรือเหตุอย่างอื่น คือ นักวิจัยจะให้คนไข้ตรวจจับ หาตำแหน่ง และแยกแยะตัวกระตุ้นทางตาที่แสดงให้กับลานสายตาข้างที่คนไข้มองไม่เห็น โดยบอกให้คนไข้เดา และแม้ว่าคนไข้จะมองไม่เห็นตัวกระตุ้นนั้นจริง ๆ งานวิจัยกลับแสดงถึงความแม่นยำของการเดาในระดับหนึ่งที่น่าประหลาดใจ ความสามารถในการเดาด้วยความแม่นยำที่สูงกว่าความบังเอิญ ถึงลักษณะบางอย่างของตัวกระตุ้นทางตา เช่นตำแหน่ง หรือว่าชนิดของความเคลื่อนไหว ทั้ง ๆ ที่ไม่มีการรับรู้ในตัวกระตุ้นโดยประการทั้งปวง เรียกว่า สภาวะเห็นทั้งบอดแบบ 1 ส่วนสภาวะเห็นทั้งบอดแบบ 2 เป็นแบบที่คนไข้อ้างว่า รู้สึกว่ามีอะไรบางอย่างที่เปลี่ยนไปในลานสายตาข้างที่มองไม่เห็น ตัวอย่างเช่น การเคลื่อนไหว แต่ว่าไม่ใช่โดยการมองเห็นสิ่งเร้าทางตา สภาวะเห็นทั้งบอดท้าทายความเชื่อที่แพร่หลายว่า สิ่งเร้าต้องปรากฏต่อการรับรู้ จึงจะสามารถมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมได้ ปรากฏการณ์นี้แสดงว่า พฤติกรรมของเราสามารถเปลี่ยนไปเพราะข้อมูลการรับรู้ ที่ "เรา" ไม่ได้รับรู้ด้วยเลย สภาวะนี้สามารถพิจารณาว่าเป็นสภาวะตรงกันข้ามกันกับภาวะเสียสำนึกความพิการที่รู้จักกันว่า Anton-Babinski syndrome ที่คนไข้เสียการเห็นอย่างบริบูรณ์ แต่กลับการกุเหตุความจำเสื่อม (confabulation) ว่าเห็น.

ใหม่!!: ตาและสภาวะเห็นทั้งบอด · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

ัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Amphibia อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก มีลักษณะเฉพาะ คือ ผิวหนังมีต่อมเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปียกลื่นอยู่เสมอ ไม่มีเกล็ดตัวไม่แห้งหรือไม่มีขน หายใจด้วยเหงือก, ปอด, ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ โดยชั้นผิวหนังนั้นมีลักษณะพิเศษสามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เนื่องจากมีโครงข่ายหลอดเลือดฝอยจำนวนมาก เพื่อใช้ในการหายใจ สืบพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว สืบพันธุ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ออกลูกเป็นไข่อยู่ในน้ำ ไม่มีเปลือก วางไข่เป็นกลุ่มในน้ำมีสารเป็นวุ้นหุ้ม ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างคล้ายปลาเรียกว่า "ลูกอ๊อด" อยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่ต้องอยู่ใกล้น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรูปร่างอาศัยอยู่บนบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งในช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ส่วนใหญ่จะขุดรูจำศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผิวหนังแห้ง ถ้าผิวหนังแห้งจะหายใจไม่ได้และตายในที่สุด เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ำเมือกที่ผิวหนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต ระยะนี้จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่างกายอย่างช้า ๆ นิวต์และซาลามานเดอร์ก็เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกถือเป็นสัตว์เลือดเย็นเช่นเดียวกับสัตว์พวกปลา หรือแมลง หรือสัตว์เลื้อยคลาน ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานสัตว์ในชั้นแล้วกว่า 6,500 ชน.

ใหม่!!: ตาและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก · ดูเพิ่มเติม »

สารต้านฮิสตามีน

รต้านฮิสตามีน (antihistamine) หรือ ทั่วไปเรียกว่า ยาแก้แพ้ เป็น ยา ที่ใช้กำจัดหรือลดผลของ ฮิสตามีน (histamine) ซึ่งเป็นเป็นสารเคมีที่ถูกปลดปล่อยภายในร่างกายจาก ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (allergic reactions) โดยผ่านการกระทำที่ ตัวรับฮิสตามีน (histamine receptors) สารที่มีผลในการรักษาจะออกฤทธิ์ในการยับยั้งตัวรับฮีสทามีนนี้จึงถูกเรียกว่า สารต้านฮีสตามีน - สารอื่นที่มีผลต้านฮีสทามีนแต่ไม่ออกฤทธิ์ที่ ตัวรับฮิสตามีน จะไม่เป็นสารต้านฮีสทามีนที่แท้จริง โดยทั่วไป สารต้านฮีสตามีนจะหมายถึง ตัวรับปฏิปักษ์ H1 ซึ่งเรียกว่า สารต้านฮิสตามีน-H1 เราพบว่า สารต้านฮิสตามีน-H1เป็น ตัวทำการกลับ (inverse agonist) ที่ตัวรับฮิสตามีน-H1มากกว่าที่จะเป็น ตัวรับปฏิปักษ์ per se.

ใหม่!!: ตาและสารต้านฮิสตามีน · ดูเพิ่มเติม »

สิงห์จีน

งห์จีน สิงห์จีน (Lionhead, Chinese lionhead) เป็นปลาทองสวยงามสายพันธุ์หนึ่ง ที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม สิงห์จีนเป็นปลาทองที่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ขึ้นในประเทศจีน ในราวศตวรรษที่ 17 หรือ 18 โดยเรียกชื่อมาจาก ชีชี (石獅) หรือสิงโตหินรูปปั้นที่ทำหน้าที่ทวารบาลเฝ้าประตูต่าง ๆ ตามสถาปัตยกรรมแบบจีน สิงห์จีน เป็นปลาทองอีกสายพันธุ์หนึ่งที่มีลำตัวป้อม สั้น แลดูหนาบึกบึน ไม่มีครีบหลัง มีส่วนของวุ้นที่หัวมากกว่ารันชูหรือสิงห์ญี่ปุ่น ในบางตัวอาจมีวุ้นปกคลุมมิดทั้งดวงตาเลยก็ได้ มีส่วนคอที่สั้น ลักษณะของปลาทองสิงห์จีนที่ได้มาตรฐานว่า สวย คือ ส่วนหลังโค้ง หางบานออกพอประมาณต้องได้ฉาก ลำตัวไม่ว่าจะสั้นหรือยาวต้องได้สัดส่วน ถ้าเป็นปลาลำตัวยาวปลานั้นต้องอ้วนใหญ่ แกนสันหลัง หาง ครีบทวาร ครีบหน้า และบริเวณหัวต้องใหญ่ ได้สัดส่วนด้วย หากเป็นปลาลำตัวสั้นส่วนต่าง ๆไม่ว่าบริเวณสันหลัง ครีบต่าง ๆ และลำตัวต้องสั้นได้สัดส่วน.

ใหม่!!: ตาและสิงห์จีน · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา

ริยุปราคาเต็มดวง พ.ศ. 2542 สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาเรียงอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทร์มีดิถีตรงกับจันทร์ดับ เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทร์เคลื่อนเข้ามาบดบังดวงอาทิตย์ โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือบางส่วนก็ได้ ในแต่ละปีสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกได้อย่างน้อย 2 ครั้ง สูงสุดไม่เกิน 5 ครั้ง ในจำนวนนี้อาจไม่มีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแม้แต่ครั้งเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ครั้ง โอกาสที่จะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงสำหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นค่อนข้างยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งจะเกิดในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทร์พาดผ่านเท่านั้น สุริยุปราคาเต็มดวงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่สวยงาม น่าตื่นเต้น และสร้างความประทับใจแก่คนที่ได้ชม ผู้คนจำนวนมากต่างพากันเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกลเพื่อคอยเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์นี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ..

ใหม่!!: ตาและสุริยุปราคา · ดูเพิ่มเติม »

สี

วงล้อสี สี คือการรับรู้ความถี่ (ความกว้างคลื่นหรือความยาวคลื่น) ของแสง ในทำนองเดียวกันกับที่ระดับเสียง มนุษย์สามารถรับรู้สีได้เนื่องจากโครงสร้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา ซึ่งมีความสามารถในการรับรู้แสงในช่วงความถี่ที่ต่างกัน การรับรู้สีนั้นขึ้นกับปัจจัยทางชีวภาพ (คนบางคนตาบอดสี ซึ่งหมายถึงคนคนนั้นเห็นสีบางค่าต่างจากคนอื่นหรือไม่สามารถแยกแยะสีที่มีค่าความอิ่มตัวใกล้เคียงกันได้ หรือแม้กระทั่งไม่สามารถเห็นสีได้เลยมาแต่กำเนิด), ความทรงจำระยะยาวของบุคคลผู้นั้น, และผลกระทบระยะสั้น เช่น สีที่อยู่ข้างเคียง บางครั้งเราเรียกแขนงของวิชาที่ศึกษาเรื่องของสีว่า รงคศาสตร์ วิชานี้จะครอบคลุมเรื่องของการรับรู้ของสีโดยดวงตาของมนุษย์, แหล่งที่มาของสีในวัตถุ, ทฤษฎีสีในวิชาศิลปะ, และฟิสิกส์ของสีในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้.

ใหม่!!: ตาและสี · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์เกเซอร์ (แก้ความกำกวม)

''Uranoscopus sulphureus'' สตาร์เกเซอร์ (Stargazer) เป็นปลาน้ำลึกในวงศ์ Uranoscopidae ในอันดับปลากะพง มีลักษณะพิเศษคือ มีดวงตาอยู่บนส่วนยอดของหัว มีครีบที่มีพิษใช้ป้องกันตัว และอาจป้องกันตัวเองด้วยกระแสไฟฟ้า สตาร์เกเซอร์ ยังสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ตาและสตาร์เกเซอร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สเปกตรัมมองเห็นได้

การกระจายของแสงเมื่อเดินทางผ่านปริซึม สเปกตรัมมองเห็นได้ (visible spectrum) เป็นช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ด้วยดวงตาของมนุษย์ การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นนี้บางครั้งก็เรียกว่า "แสงที่ตามองเห็น" หรือ "แสง" เฉยๆ ความยาวคลื่นช่วงนี้อยู่ระหว่าง 380-750 นาโนเมตร สเปคตรัมของแสงไม่ได้มีสีทุกสีที่ตาและสมองของมนุษย์สามารถรับรู้ บางสีที่หายไปเช่นชมพู หรือม่วงอมแดง แต่สามารถเกิดขึ้นได้จากการผสมช่วงคลื่นที่มีความยาวคลื่นหลายแ.

ใหม่!!: ตาและสเปกตรัมมองเห็นได้ · ดูเพิ่มเติม »

หมาหริ่ง

ระวังสับสนกับ: หมูหริ่ง หมาหริ่ง หรือ หมาหรึ่ง (badger, ferret-badger; 鼬獾屬) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ในสกุล Melogale ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดเล็ก จัดเป็นแบดเจอร์สกุลหนึ่ง มีลำตัวยาวประมาณ 33-39 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 15-21 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม มีช่วงขาที่สั้น เล็บนิ้วกางแยกออกจากกันและมีกรงเล็บที่แหลมคม สีขนเป็นสีน้ำตาลแกมเทาจนถึงสีดำ ส่วนหัวมีสีเข้มกว่าลำตัว มีลายแถบสีขาวระหว่างตาแถบหนึ่ง ซึ่งเห็นได้ชัดเจน และมีแถบสีขาวข้างแก้มและเหนือตาจากผ่านตามแนวสันคอจรดถึงหัวไหล่ เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวรุนแรง เนื่องจากมีต่อมผลิตกลิ่นอยู่ที่อยู่ที่บริเวณใกล้ก้น ซึ่งจะผลิตกลิ่นเหม็นออกจากเมื่อถูกคุกคามหรือตกใจ จัดเป็นสัตว์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้หลากหลายประเภท ตั้งแต่ป่าดิบ, ทุ่งหญ้า, นาข้าว จนถึงพื้นที่เกษตรกรรมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในตอนกลางวันจะนอนหลับพักผ่อนในโพรงดินหรือโพรงไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน ซึ่งกินได้ทั้งพืชและสัตว์ต่าง ๆ อาทิ ผลไม้, ลูกไม้, สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดเล็ก, แมลง, หนู, หอยทาก เป็นต้น ซึ่งบางครั้งอาจปีนต้นไม้ขึ้นไปหากินได้ ฤดูผสมพันธุ์จะอยู่ในช่วงฤดูร้อน โดยจะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ตั้งท้องนานประมาณ 3 เดือน ออกลูกครั้งละ 1-3 ตัว ในราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ซึ่งในบางครั้งอาจพบอยู่ด้วยกันในโพรงเดียวประมาณ 4-5 ตัว พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์และเอเชียตะวันออก ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว ในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ตาและหมาหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หัวโขน

มงกุฏสามกลีบขององคต สีเขียว ปากหุบ ตาโพลง หัวโขน เป็นงานศิลปะชั้นสูง ใช้สำหรับสวมครอบศีรษะ ปิดบังส่วนหน้าของผู้แสดงโขนอย่างมิดชิด เป็นศิลปวัตถุประเภทประณีตศิลป์ และงานศิลปะที่ได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นอย่างวิจิตรตระการตาเช่นเดียวกับเครื่องแต่งกาย ประณีตบรรจงตามแบบช่างไทย มีรูปลักษณะสวยงาม ลักษณะคล้ายหน้ากาก แตกต่างตรงที่เป็นการสร้างจำลองรูปทรงใบหน้าและศีรษะทั้งหมด เจาะช่องเป็นรูกลมที่นัยน์ตาของหัวโขน ให้ตรงกับนัยน์ตาของผู้แสดงเพื่อการมองเห็น แบ่งเป็น 2 ประเภทคือหัวโขนสำหรับใช้ในการแสดง หมายความถึงหัวโขนที่สื่อถึงตัวละครนั้น ๆ เช่น พระ ยักษ์ เทวดา วานรและสัตว์ต่าง ๆ สร้างขึ้นด้วยกรรมวิธีแบบโบราณ ตามเอกลักษณ์ของหัวโขนที่ถูกต้องและสมบูรณ์แบบของศิลปะไทย และหัวโขนที่ใช้สำหรับเป็นของประดับตกแต่งหรือของที่ระลึก หมายความถึงหัวโขนที่ทำขึ้นโดยการหล่อ ปั้น ฉีดและขึ้นรูปด้วยพลาสติกหรือกรรมวิธีอื่น ๆ ลงรักปิดทอง ประดับกระจก.

ใหม่!!: ตาและหัวโขน · ดูเพิ่มเติม »

หงส์ขาวคอดำ

หงส์ขาวคอดำ หรือ หงส์คอดำ (Black-necked swan) เป็นสัตว์ปีกจำพวกหงส์ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) หงส์ขาวคอดำ มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับหงส์ชนิดอื่นทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ มีขนตามลำตัวสีขาวล้วนทั้งตัว เว้นแต่ส่วนลำคอขึ้นไปที่เป็นสีดำล้วน จนดูคล้ายกับเป็นลูกผสมระหว่างหงส์ขาวกับหงส์ดำ มีจะงอยปากสีเทาอมชมพูและมีปุ่มสีแดงสดที่ฐานของปาก ขณะที่ส่วนใบหน้ามีลายเส้นเล็ก ๆ สีขาวพาดผ่านตา มีถิ่นกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ โดยตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 6-7 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียจะมีน้ำหนักประมาณ 4-5 กิโลกรัม อายุขัยโดยเฉลี่ย 10 ปี และจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 1.5-2 ปี วางไข่ครั้งละประมาณ 5-6 ฟอง ทำรังโดยการเอากิ่งไม้หรือเศษใบไม้หรือฟางมาปูพื้น โดยลักษณะการทำรังจะเป็นไปอย่างมีระเบียบและอ่อนช้อยกว่านกชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกันมาก ระยะเวลาฟักไข่ประมาณ 30-33 วัน โดยจะผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงที่มีอุณหภูมิค่อนข้างเย็น เช่น ฤดูหนาวหรือฤดูฝน ทั้งตัวผู้และตัวอ่อนจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ซึ่งในช่วงนี้ จะมีนิสัยดุร้ายมาก เพราะต้องปกป้องลูกอ่อน ลูกที่เกิดมาใหม่ ขนจะยังไม่เป็นสีช่วงลำคอเหมือนตัวโต และจะยังบินไม่ได้ หากินตามแหล่งน้ำทั่วไป โดยกินได้ทั้งพืชน้ำและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เหมือนหงส์ชนิดอื่น ๆ และจับคู่เพียงตัวเดียวตลอดทั้งชีวิต หงส์ขาวคอดำ ในปัจจุบัน ได้รับความนิยมในการเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม โดยเฉพาะผู้มีฐานะ เนื่องจากมีราคาซื้อขายที่แพงมาก อีกทั้งต้องใช้สถานที่ค่อนข้างกว้างขวางในการเลี้ยง ซึ่งสายพันธุ์ของหงส์ขาวคอดำที่เป็นสัตว์เลี้ยงในปัจจุบันนั้น มาจากนักเพาะพันธุ์สัตว์ของประเทศเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ตาและหงส์ขาวคอดำ · ดูเพิ่มเติม »

อวัยวะ

อวัยวะ เป็นกลุ่มของเนื้อเยื่อที่มีหน้าที่คล้ายกัน พืชและสัตว์ต้องพึ่งอวัยวะหลายชิ้นในระบบอวัยวะ หน้าที่ของระบบอวัยวะมักจะมีหน้าที่ทับซ้อนกัน เช่น ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ทั้งในระบบประสาท (nervous system) และระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ทำให้การศึกษาทั้งสองระบบมักจะทำร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine system) เช่นเดียวกันกับ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (musculoskeletal system) ซึ่งเป็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) และ ระบบโครงกระดูก (skeletal system).

ใหม่!!: ตาและอวัยวะ · ดูเพิ่มเติม »

อวตาร (ภาพยนตร์)

อวตาร (/อะวะตาน/; Avatar) เป็นภาพยนตร์สามมิติแนวมหากาพย์วิทยาศาสตร์โดย เจมส์ คาเมรอน เข้าฉายในประเทศไทย วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และขึ้นแท่นอันดับภาพยนตร์ทั่วโลกที่ทำเงินได้มากที่สุดตลอดกาล แทนที่ไททานิกของผู้กำกับคนเดียวกัน เจมส์ คาเมรอน ที่ทำสถิติเดิมไว้และเป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่ทำรายได้เกิน 2 พันล้านดอลลาร์สหรั.

ใหม่!!: ตาและอวตาร (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับบ่าง

อันดับบ่าง (Colugo, Flying lemur) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในชั้นย่อยยูเทอเรีย (Eutheria) อันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dermoptera (/เดอ-มอป-เทอ-รา/ แปลว่า "ปีกหนัง") และถือเป็นอันดับที่อยู่ถัดมาจากอันดับโพรซีเมียน (Prosimian) ถือว่า บ่างเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใกล้เคียงกับสัตว์ในอันดับไพรเมต อันได้แก่ ทาร์เซีย, ลิงและเอป ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ด้วย และเชื่อกันว่า บ่างเป็นต้นบรรพบุรุษของค้างคาว ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงจำพวกเดียวที่บินได้ ซึ่งอยู่ในอันดับ Chiroptera ด้วย ลักษณะของสัตว์ในอันดับนี้ คือ มีรูปร่างคล้ายกับกระรอกบินหรือค้างคาวหรือลีเมอร์ แต่มีจุดเด่น คือ มีแผ่นหนังบาง ๆ ที่เชื่อมติดกันระหว่างคอ, ขาหน้า, ขาหลัง และหาง รวมถึงนิ้วทุกนิ้วอีกด้วย โดยที่ไม่มีหัวแม่มือ ซึ่งเมื่อกางออกจะเป็นแผ่นคล้ายว่าว ทำให้สามารถร่อนถลาได้เหมือนกระรอกบินหรือชูการ์ไกลเดอร์ ซึ่งเป็นสัตว์ต่างอันดับกัน บ่าง เป็นสัตว์ที่มีดวงตากลมโตสีแดง ส่วนจมูกและใบหน้าแหลม รวมทั้งมีสีขนที่เลอะ เพื่อแฝงตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ทำให้แลดูน่าเกลียดน่ากลัว แต่เป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร ได้แก่ ยอดไม้, ดอกไม้ รวมถึงแมลง และลูกไม้เนื้ออ่อน เป็นอาหาร มีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า มีส่วนหางที่สั้น มีเล็บที่นิ้วที่แหลมคมใช้สำหรับในการปีนต้นไม้และเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ รวมถึงสามารถห้อยหัวลงมาได้เหมือนค้างคาว บ่างจะหากินในเวลากลางคืนหรือโพล้เพล้ ส่วนในเวลากลางวันจะนอนหลับอยู่ตามโพรงไม้หรือคอมะพร้าว บ่าง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว เนื่องจากแม่บ่างสามารถรับน้ำหนักได้เพียงแค่นี้ ลูกบ่างจะเกาะติดกับหน้าอกแม่ดูดนมจากเต้านมแม่ซึ่งมี 2 คู่ แม้แต่เมื่อหากินหรือระหว่างร่อน ใช้เวลาโตเต็มที่ประมาณ 2-3 ปี บ่างแรกเกิดมักมีการพัฒนาไม่มากนักคล้ายสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้อง (Marsupialia) แม่บ่างจะเลี้ยงลูกไว้โดยให้เกาะที่ท้อง เวลาเกาะอยู่กับต้นไม้ โดยใช้ผังผืดระหว่างขาช่วงล่างสุดห่อคล้ายร่มหรือถุงเหมือนสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ในช่วงที่แม่บ่างเลี้ยงลูกจะยังไม่มีลูกใหม่ จนกว่าลูกตัวเดิมจะแยกตัวออกไปหากินเอง ซึ่งใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี แม่บ่างจะเลียฉี่และมูลของลูก ขณะที่ลูกบ่างจะกินมูลของแม่ด้วย ซึ่งภายในมีแบคทีเรียที่ช่วยในการย่อยอาหารซึ่งได้แก่ พืช ส่วนต่าง ๆ แต่พฤติกรรมการผสมพันธุ์ยังไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่ชัดบ่าง, "สีสันสัตว์โลก สเปเชี่ยล", สารคดีทางช่อง 9: 17 ธันวาคม 2556 บ่างอาศัยอยู่ในป่าดิบที่มีความอุดมสมบูรณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด ใน 2 สกุล และมีอีก 1 สกุล ซึ่งมี 2 ชนิด ที่ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว.

ใหม่!!: ตาและอันดับบ่าง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาตาเหลือก

อันดับปลาตาเหลือก (Tarpon, Ladyfish; อันดับ: Elopiformes) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Elopiformes มีรูปร่างโดยรวม คือ มีปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกกรามล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น เกล็ดมีสีเงินแวววาวตลอดทั้งลำตัว ตามีขนาดโต และมีเยื่อไขมันคลุมตาในบางชนิด เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร ในเมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน จะมีรูปร่างคล้ายกับปลาไหล ปัจจุบัน เหลือเพียง 2 วงศ์ 2 สกุล 9 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ตาและอันดับปลาตาเหลือก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาฉลามครุย

อันดับปลาฉลามครุย (อันดับ: Hexanchiformes, Frilled shark, Cow shark) เป็นอันดับของปลาในชั้นปลากระดูกอ่อนอันดับหนึ่ง ในชั้นย่อยปลาฉลาม ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hexanchiformes มีลักษณะแตกต่างจากปลาฉลามในอันดับอื่น คือ มีเหงือกและช่องเหงือก 6 หรือ 7 ช่องในแต่ละด้าน ซึ่งปลาฉลามที่ส่วนใหญ่มีเพียงแค่ 5 และไม่มีเยื่อหุ้มตา มีเพียงครีบหลังครีบเดียว เป็นปลาฉลามที่ถือกำเนิดมาจากในยุคจูราซซิค แบ่งออกเป็น 3 วงศ์ (ดูในตาราง) อาศัยอยู่ในเขตน้ำลึก ปัจจุบันเหลือเพียงแค่ 6 ชนิด เพราะได้สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีหลักฐานเป็นฟอสซิล ซึ่งปลาฉลามในอันดับนี้ที่ได้ปรากฏมาและเป็นที่ฮือฮาในเขตทะเลญี่ปุ่น คือ ปลาฉลามครุย (Chlamydoselachus anguineus) ที่มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหล และมีปากที่กว้างมาก.

ใหม่!!: ตาและอันดับปลาฉลามครุย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาโรนัน

อันดับปลาโรนัน (อันดับ: Rajiformes, Skate, guitarfish) เป็นอันดับย่อยของอันดับ Batoidea ซึ่งจัดอยู่ในชั้นปลากระดูกอ่อน ปลาที่อยู่ในอันดับนี้มีลักษณะโดยรวมที่แตกต่างไปจากปลาในอันดับ Batoidea อันดับอื่น คือ มีครีบอกที่ใหญ่กว่า แผ่ขยายมากกว่า และอยู่ใกล้กับส่วนหัวซึ่งแบนราบอย่างเห็นได้ชัด มีตาอยู่บนด้านบนของหัว และซี่เหงือกอยู่ด้านล่างเหมือนปลากระเบนทั่วไป มีฟันใช้สำหรับบดอาหาร จำพวก ครัสเตเชียนและหอยชนิดต่าง ๆ ส่วนใหญ่เมื่อให้กำเนิดลูก ตัวอ่อนจะพัฒนาในแคปซูลที่มีรูปร่างเหมือนเขาสัตว์ ที่ถูกเรียก "กระเป๋านางเงือก" (Mermaid's purse) ซึ่งปลาที่อยู่ในอันดับนี้ที่เป็นรู้จักเป็นอย่างดี คือ ปลาโรนัน และ ปลาโรนิน รวมถึงปลากระบาง ซึ่งอันดับนี้เคยรวมเป็นอันดับเดียวกับ อันดับปลากระเบน คือ ปลากระเบนทั่วไป และ Pristiformes หรือปลาฉนากมาก่อนด้วย โดยคำว่า Rajiformes นั้น มาจากภาษาลาตินคำว่า "raja" ที่หมายถึง ปลากระเบน กับคำว่า "forma" ที่หมายถึง แหลมคม.

ใหม่!!: ตาและอันดับปลาโรนัน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาไหลนา

อันดับปลาไหลนา (Swamp eel) เป็นอันดับของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยกระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Synbranchiformes มีรูปร่างโดยรวมเรียวยาวคล้ายปลาในอันดับปลาไหล (Anguilliformes) หรือปลาไหลแท้ ที่มีขนาดใหญ่กว่าและพบได้ในทะเลด้วย แต่ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็ก แบบบางเรียบ หรือบางชนิดไม่มีเกล็ด ขอบปากของขากรรไกรบนเจริญมาจากกระดูกพรีแม็กซิลลา และกระดูกแม็กซิลลา คู่ขนานกันกับกระดูกฮูเมอรัล อาร์คไม่สามารถยืดหดได้ มีฟันบนขากรรไกร และเพดานปาก ไม่มีครีบท้อง ช่องเปิดเหงือกมีขนาดเล็กอยู่ทางด้านล่างของส่วนหัว หรือบริเวณคอหอย มีกระดูกแกนเหงือก 3-4 อัน อาจมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ ครีบเดี่ยวอาจเสื่อมไป หรือมีหนังคลุม อาจมีหรือไม่มีครีบคู่ ไม่มีกระเพาะลม เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ แผ่นหนังหุ้มกระดูกกระพุ้งแก้มเชื่อมต่อกับคอคอด ตามีขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และที่เกาะบอร์เนียว โดยแบ่งออกได้เป็น 3 วงศ์ คือ.

ใหม่!!: ตาและอันดับปลาไหลนา · ดูเพิ่มเติม »

อายตนะ

อายตนะ (อ่านว่า อายะตะนะ) แปลว่า ที่เชื่อมต่อ, เครื่องติดต่อ หมายถึงสิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ.

ใหม่!!: ตาและอายตนะ · ดูเพิ่มเติม »

อายไลเนอร์

แสดงการวาดอายไลเนอร์สีน้ำตาล บริเวณใต้คิ้ว อายไลเนอร์ เป็นเครื่องสำอางที่ใช้สำหรับเน้นดวงตา จะใช้เขียนบริเวณรอบรูปทรงของตาเพื่อสร้างความหลากหลายในมุมมองของดวงตาที่จะทำให้ดูโตขึ้น แม้ว่าวัตถุประสงค์หลักจะมุ่งให้ผู้หญิงใช้ แต่ก็มีการขยายไปสู่ตลาดของกลุ่มผู้ชาย เรียกว่า กายไลเนอร์ (guy liner).

ใหม่!!: ตาและอายไลเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิบน์ อัลบัยฏอร

รูปปั้นอิบน์ อัลบัยฏอร ที่เมืองมาลากา ประเทศสเปน อิบน์ อัลบัยฏอร (ابن البيطار, Ibn al-Baitar; ค.ศ. 1197 – ค.ศ. 1248) เป็นเภสัชกร นักพฤกษศาสตร์ และแพทย์ชาวมุสลิม เกิดที่เมืองมาลากา (ในแคว้นอันดาลูซีอา ประเทศสเปนปัจจุบัน) เรียนวิชาพฤกษศาสตร์กับอะบู อัลอับบาส อันนะบาตี (Abu al-Abbas al-Nabati) นักพฤกษศาสตร์ผู้พัฒนาวิธีการจำแนกสมุนไพรแบบแรก ๆ ในปี..

ใหม่!!: ตาและอิบน์ อัลบัยฏอร · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีทะเลหัวนวล

อินทรีทะเลหัวนวล หรือ อินทรีหัวนวล (Pallas's fish eagle, Pallas's sea eagle, Band-tailed fish eagle) เป็นนกอินทรีชนิดหนึ่ง มีขนาดยาวลำตัวประมาณ 68-81 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน แต่ตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่า หัวมีสีน้ำตาลอ่อน ปีกกว้างมีสีน้ำตาลดำ ตามีแถบคาดขนาดใหญ่สีเทา กลางหางก็มีแถบสีขาวอยู่ 1 แถบ เมื่อยังเป็นตัวไม่เต็มจะมีขนสีอ่อนกว่า ที่หัวและคอมีสีน้ำตาลเข้มกว่า แถบคาดตาก็มีสีน้ำตาลดำ เป็นนกอินทรีทะเลชนิดหนึ่ง กินอาหาร จำพวก ปลาและสัตว์น้ำ กระจายพันธุ์อยู่ในเอเชียกลาง ระหว่างอ่าวเปอร์เซียและทะเลเหลือง จากคาซัคสถานและมองโกเลีย จนถึงแนวเทือกเขาหิมาลัย, บังกลาเทศ จนถึงอินเดีย ในช่วงฤดูหนาวจะมีการอพยพหนีหนาวมาสู่ภูมิภาคที่อุ่นกว่า เช่น ประเทศไทย เป็นต้น ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 อินทรีทะเลหัวนวล จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: ตาและอินทรีทะเลหัวนวล · ดูเพิ่มเติม »

อีนิด ไบลตัน

อีนิด แมรี ไบลตัน (Enid Mary Blyton) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีคนอ่านและแปลผลงานมากที่สุดในโลก ผลงานของเธอมีผู้นิยมอ่านตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงเด็กโตและผู้ใหญ่ หนังสือที่เธอแต่งได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือกว่า 700 เล่มและเรื่องสั้นกว่า 10000 เรื่อง ได้รับการแปลไปแล้วเกือบ 90 ภาษา ในกว่า 30 ประเทศทั่วโลก เรื่องที่เธอแต่งนั้น โด่งดังมาทั่วโลกกว่าครึ่งศตวรรษ.

ใหม่!!: ตาและอีนิด ไบลตัน · ดูเพิ่มเติม »

ผึ้ง

ำหรับผึ้งในความหมายอื่น ดูที่: ผึ้ง ผึ้ง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด จัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งอาศัยรวมกันอยู่เป็นฝูง โดยส่วนใหญ่จะออกหาอาหารเป็นน้ำหวานจากเกสรของดอกไม้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพืชในการผสมพันธุ์ ผึ้งทำงานกันเป็นระบบ มีผึ้งนางพญาเป็นหัวหน้าใหญ่ มนุษย์รู้จักผึ้งมานาน 7000 ปีแล้ว ฟาโรห์เมเนสของอียิปต์โปรดให้ผึ้งเป็นสัญลักษณ์แห่งอาณาจักรของพระองค์ คาดว่าผึ้งมีมากกว่า 30,000 ชนิด ซึ่งมากกว่ามนุษย์, ปลา และสัตว์เลื้อยคลานรวมกันเสียอีก ลักษณะทั่วไปของผึ้ง แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ.

ใหม่!!: ตาและผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ผีไม่มีหน้า

ผีไม่มีหน้า ผีไม่มีหน้า เป็นผีญี่ปุ่นอย่างหนึ่งที่ไม่มีใบหน้า มีแต่หน้าเกลี้ยงๆ คล้ายไข่ ซึ่งแม้แต่ตา จมูก ปาก ไม่มีบนใบหน้าเลย ผีตนนี้มักเที่ยวหลอกหลอนคนผ่านทางในเวลากลางคืน มีตำนานที่เล่าขานในจังหวัดอิวาเตะ ประเทศญี่ปุ่น บางครั้งก็เรียกผีตนนี้ว่า "มุจินะ".

ใหม่!!: ตาและผีไม่มีหน้า · ดูเพิ่มเติม »

จอตา

ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง เรตินา หรือ จอตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" หรือ จอประสาทตา (retina, พหูพจน์: retinae, จากคำว่า rēte แปลว่า ตาข่าย) เป็นเนื้อเยื่อมีลักษณะเป็นชั้น ๆ ที่ไวแสง บุอยู่บนผิวด้านในของดวงตา การมองเห็นภาพต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นได้โดยอาศัยเซลล์ที่อยู่บนเรตินา เป็นตัวรับและแปลสัญญาณแสงให้กลายเป็นสัญญาณประสาทหรือกระแสประสาท ส่งขึ้นไปแปลผลยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้เราสามารถมองเห็นภาพต่างๆได้ คือ กลไกรับแสงของตาฉายภาพของโลกภายนอกลงบนเรตินา (ผ่านกระจกตาและเลนส์) ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับฟิลม์ในกล้องถ่ายรูป แสงที่ตกลงบนเรตินาก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางเคมีและไฟฟ้าที่เป็นไปตามลำดับ ซึ่งนำไปสู่การส่งสัญญาณประสาทโดยที่สุด ซึ่งดำเนินไปยังศูนย์ประมวลผลทางตาต่าง ๆ ในสมองผ่านเส้นประสาทตา ในสัตว์มีกระดูกสันหลังในช่วงพัฒนาการของเอ็มบริโอ ทั้งเรตินาทั้งเส้นประสาทตามีกำเนิดเป็นส่วนหนึ่งของสมอง ดังนั้น เรตินาจึงได้รับพิจารณาว่าเป็นส่วนของระบบประสาทกลาง (CNS) และจริง ๆ แล้วเป็นเนื้อเยื่อของสมอง"Sensory Reception: Human Vision: Structure and function of the Human Eye" vol.

ใหม่!!: ตาและจอตา · ดูเพิ่มเติม »

จอตาลอก

จอตาลอก เป็นโรคของตาที่มีจอตาลอกออกจากชั้นเนื้อเยื่อข้างใต้ การลอกในช่วงแรกอาจจำกัดอยู่เฉพาะที่ แต่หากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงทีจอตาอาจลอกออกทั้งหมดทำให้การมองเห็นแย่ลงหรือตาบอดได้ ภาวะจอตาลอกเป็นภาวะเร่งด่วนทางจักษุวิทยา รองลงมาจากภาวะหลอดเลือดในจอประสาทตาอุดตันและสารเคมีเข้าตา ภาวะนี้ถูกพบเป็นครั้งแรกในต้นคริตศตวรรษที่ 17 โดย de Saint-Yves แต่การวินิจฉัยทางคลินิกยังไม่มีจนกว่า Helmholtz จะประดิษฐ์กล้องส่องตรวจในตาได้ในปี พ.ศ. 2394 หมวดหมู่:ความผิดปกติที่คอรอยด์และจอตา หมวดหมู่:ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์.

ใหม่!!: ตาและจอตาลอก · ดูเพิ่มเติม »

จักษุวิทยา

การใช้กล้องจักษุจุลทรรศน์ (Slit lamp) ตรวจตาในคลินิกจักษุวิทยา จักษุวิทยา (Ophthalmology) เป็นสาขาหนึ่งของแพทยศาสตร์ที่ศึกษากายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา และโรคของตา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยาเรียกว่า จักษุแพทย์ ซึ่งต้องผ่านการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และการศึกษาเป็นแพทย์ประจำบ้านด้านจักษุวิทยา และสอบผ่านวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาจักษุวิทยาจากราชวิทยาลัยจักษุแพท.

ใหม่!!: ตาและจักษุวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งเหลนจระเข้ตาแดง

้งเหลนจระเข้ตาแดง หรือ จิ้งเหลนจระเข้ตาส้ม หรือ จิ้งเหลนจระเข้ตาเหลือง (ตัวย่อ: Trib) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tribolonotus gracilis อยู่ในวงศ์ Scincidae หรือจิ้งเหลน มีผิวลำตัวเรียบลื่นเหมือนจิ้งเหลนทั่วไป แต่มีหนามแข็งคล้ายจระเข้ทั่วทั้งตัวจรดหาง หัวมีขนาดใหญ่ เป็นรูปทรงสามเหลี่ยม ลำตัวคล้ายทรงสี่เหลี่ยม มีสีน้ำตาลเข้มจนถึงสีดำ ดวงตามีขนาดกลมโต มีจุดเด่น คือ มีวงแหวนสีส้มหรือแดงรอบดวงตา บางตัวอาจเป็นสีน้ำตาลทอง ที่บริเวณใบหน้าและเท้า อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 7-10 นิ้ว โดยเป็นส่วนหัวและลำตัวประมาณ 3 นิ้ว และส่วนหาง 2 นิ้วเท่านั้น ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ซึ่งแตกต่างไปจากจิ้งเหลนชนิดอื่น ๆ ที่มักออกลูกเป็นตัว เมื่อแรกเกิดที่ฟักออกจากไข่จะมีขนาดราว 2 นิ้ว โตเต็มวัยเมื่อมีอายุประมาณ 6-8 เดือน ตั้งท้องนานประมาณ 20 วัน มีอายุยืนประมาณ 10-15 ปี มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ที่นิวกินี ในป่าดิบชื้น ที่มีความชื้นพอสมควร หากินตามพื้นดินไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ โดยกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น จิ้งหรีด, ทาก, ลูกกบ, หนอน, ตั๊กแตน, ไส้เดือน, หนู หรือแมลงปีกแข็ง เป็นต้น ปัจจุบัน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงแปลก ๆ หรือสัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย นิสัยไม่ดุร้าย ซึ่งนิยมเลี้ยงกันในตู้กระจก โดยจัดสภาพแวดล้อมให้คล้ายกับถิ่นที่อยู่ในธรรมชาติจริง.

ใหม่!!: ตาและจิ้งเหลนจระเข้ตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

จุดภาพชัดเสื่อม

ัดเสื่อม (macular degeneration) หรือ จุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (age-related macular degeneration ตัวย่อ AMD, ARMD) เป็นโรคที่ทำให้มองไม่ชัดหรือมองไม่เห็นที่กลางลานสายตา เริ่มแรกสุดบ่อยครั้งจะไม่มีอาการอะไร ๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไป บางคนจะมองเห็นแย่ลงเรื่อย ๆ ที่ตาข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง แม้จะไม่ทำให้ตาบอดโดยสิ้นเชิง การมองไม่เห็นในส่วนกลางก็จะทำให้กิจกรรมในชีวิตต่าง ๆ ทำได้ยากรวมทั้งจำหน้าคน ขับรถ อ่านหนังสือเป็นต้น การเห็นภาพหลอนอาจเกิดขึ้นโดยไม่ใช่เป็นส่วนของโรคจิต จุดภาพชัดเสื่อมปกติจะเกิดกับคนสูงอายุ ปัจจัยทางพันธุกรรมและการสูบบุหรี่ก็มีผลด้วย เป็นอาการเนื่องกับความเสียหายต่อจุดภาพชัด (macula) ที่จอตา การวินิจฉัยทำได้ด้วยการตรวจตา ความรุนแรงของอาการจะแบ่งออกเป็นระยะต้น ระยะกลาง และระยะปลาย ระยะปลายยังแบ่งออกเป็นแบบแห้ง (dry) และแบบเปียก (wet) โดยคนไข้ 90% จะเป็นแบบแห้ง การป้องกันรวมทั้งการออกกำลังกาย ทานอาหารให้ถูกสุขภาพ และไม่สูบบุหรี่ วิตามินต่อต้านอนุมูลอิสระและแร่ธาตุดูเหมือนจะไม่ช่วยป้องกัน ไม่มีวิธีแก้หรือรักษาการเห็นที่สูญไปแล้ว ในรูปแบบเปียก การฉีดยาแบบ anti-VEGF (Anti-vascular endothelial growth factor) เข้าที่ตา หรือการรักษาอื่น ๆ ที่สามัญน้อยกว่ารวมทั้งการยิงเลเซอร์ (laser coagulation) หรือ photodynamic therapy อาจช่วยให้ตาเสื่อมช้าลง อาหารเสริมรวมทั้งวิตามินและแร่ธาตุสำหรับคนไข้ที่มีโรคอาจช่วยชะลอความเสื่อมด้วย ในปี 2015 โรคนี้มีผลต่อคนไข้ 6.2 ล้านคนทั่วโลก ในปี 2013 มันเป็นเหตุให้ตาบอดเป็นอันดับสี่หลังต้อกระจก การเกิดก่อนกำหนด และต้อหิน มันเกิดบ่อยที่สุดในผู้มีอายุเกิน 50 ปีในสหรัฐอเมริกา และเป็นเหตุเสียการเห็นซึ่งสามัญที่สุดในคนกลุ่มอายุนี้ คนประมาณ 0.4% ระหว่างอายุ 50-60 ปีมีโรคนี้ เทียบกับ 0.7% ของคนอายุ 60-70 ปี, 2.3% ของคนอายุ 70-80 ปี, และ 12% ของคนอายุเกิน 80 ปี.

ใหม่!!: ตาและจุดภาพชัดเสื่อม · ดูเพิ่มเติม »

จุดมืดดวงอาทิตย์

มืดดวงอาทิตย์เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 แผนภาพจำนวนของจุดมืดในรอบ 400 ปี จุดมืดดวงอาทิตย์ หรือ จุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspot) คือ พื้นที่ส่วนหนึ่งบนชั้นโฟโตสเฟียร์ของดวงอาทิตย์ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ และมีสนามแม่เหล็กที่มีปั่นป่วนสูงมาก ซึ่งได้ทำให้เกิดการขัดขวางกระบวนการพาความร้อนบนพื้นผิวดวงอาทิตย์ เกิดเป็นพื้นที่ที่มีความเข้มของแสงต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ อย่างไรก็ตาม มันยังคงมีอุณหภูมิสูงถึง 3700-4000 เคลวิน เทียบกับบริเวณปกติโดยรอบที่มีอุณหภูมิประมาณ 5800 เคลวิน ถ้าเรานำจุดมืดออกมาจากดวงอาทิตย์มันจะสามารถเปล่งแสงสว่างได้มากกว่าแสงจากการเชื่อมเหล็ก เสียอีก จุดมืดยังเป็นสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์อีกมาก เช่น บ่วงโคโรนา (Coronal loop) และ การเชื่อมกันของสนามแม่เหล็ก (Magnetic reconnection) นอกจากนี้การระเบิดใหญ่บนดวงอาทิตย์ (Solar flare) และ การพ่นมวลโคโรนา (Coronal Mass Ejection) ก็ยังเกิดขึ้นในบริเวณสนามแม่เหล็กรอบๆ จุดมืดอีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและจุดมืดดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัวทารา

ทัวทารา (Tuatara) เป็นสัตว์เลื้อยคลานดึกดำบรรพ์ที่สืบเชื้อสายมาจากสัตว์เลื้อยคลานโบราณยุคเดียวกับไดโนเสาร์ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เมื่อกว่า 220 ล้านปีก่อน จัดเป็นสัตว์หายาก และอายุยืน สามารถปรับสภาพตัวเองจนอยู่รอดมาได้ถึงทุกวันนี้ คาดการณ์ว่าปัจจุบันมีจำนวนประชากรเหลืออยู่ในธรรมชาติราว 50,000 ตัว ทัวทารา จัดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสกุล Sphenodon พบเฉพาะบนเกาะเหนือ ของนิวซีแลนด์เพียงแห่งเดียวในโลกเท่านั้น มีทั้งหมด 3 ชนิด (สูญพันธุ์ไปแล้ว 1 ชนิด) เป็นสัตว์ที่สืบเผ่าพันธุ์มาจากไดโนเสาร์ที่อยู่ในอันดับ Sphenodontia ที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 200 ล้านปีก่อน ขนาดลำตัวของทัวทาราเล็กกว่าบรรพบุรุษมาก โดยมีความยาวจากหัวถึงหางแค่ 32 นิ้วเท่านั้น ตรงแนวสันหลังจะมีรอยหยักขึ้นมาแบบเดียวกับไดโนเสาร์ เป็นสัตว์ที่มีอายุยืนยาวได้ถึง 200 ปี และเคลื่อนไหวช้าเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งคำว่า "ทัวทารา" เป็นภาษาเมารี หมายถึง "รอยหยักตรงแนวสันหลัง" เชื่อว่า บรรพบุรุษของทัวทาราเดินทางมาสู่นิวซีแลนด์จากออสเตรเลียด้วยการเกาะกับของขยะลอยน้ำมากลางทะเลพร้อม ๆ กับการกำเนิดขึ้นมาของผืนดินนิวซีแลนด์เมื่อกว่า 60 ล้านปีก่อน ทัวทารา มีความแตกต่างจากกิ้งก่า ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานส่วนใหญ่ในปัจจุบัน พอสมควร โดยลักษณะที่สำคัญ คือ ไม่มีช่องเปิดของหูชั้นนอก และไม่มีอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศผู้ ใช้การผสมพันธุ์โดยให้ช่องเปิดใต้ท้องติดกัน และปล่อยน้ำเชื้อผ่านเข้าไป บนกลางหัวของทัวทารามีแผ่นหนังที่คล้ายกับดวงตา ที่ทำหน้าที่เหมือนกับดวงที่สาม เรียกว่า "ตาผนังหุ้ม" สามารถตรวจจับแสงและแรงสั่นสะเทือน รวมทั้งทำหน้าที่เหมือนกับตาของสัตว์ประเภทอื่น ๆ ได้ ทัวทารา ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์ที่ซุ่มโจมตีได้อย่างดีเยี่ยม ด้วยเป็นสัตว์ที่เคลื่อนไหวช้า จึงกินแมลงต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นดิน ด้วยการซุ่มนิ่ง ๆ รวมทั้งลูกไม้บางชนิดที่อยู่บนต้น และยังกินแม้แต่ลูกทัวทาราที่เพิ่งฟักจากไข่ใหม่ ๆ ด้วย ทัวทารา เติบโตเต็มที่เมื่ออายุได้ 70 ปี และเริ่มผสมพันธุ์ได้ตั้งแต่อายุ 20 ปี ซึ่งในปี ค.ศ. 2009 ที่สวนสัตว์ในประเทศอังกฤษ ทัวทาราเพศผู้ตัวหนึ่งอายุ 111 ปี ที่ถูกเลี้ยงในนั้นได้ผสมพันธุ์กับทัวทาราเพศเมีย และได้ไข่และฟักออกเป็นตัวทั้งหมด 11 ตัวด้วยกัน ทัวทาราเมื่อวางไข่เสร็จแล้ว จะไม่กลับมาดูแลหรือฟักไข่ แต่จะปล่อยให้ฟักเองโดยธรรมชาติ ไข่ของทัวทารามีลักษณะเปลือกหยุ่นคล้ายแผ่นหนัง และเมื่อฟักออกมาเป็นตัวแล้ว ทัวทาราขนาดเล็กซึ่งมีความยาวเพียง 3 นิ้ว จะรีบออกมาจากโพรงทันที มิเช่นนั้นจะตกเป็นเหยื่อของทัวทาราตัวโตกว่าได้ New Zealand ดินแดนแห่งนก, "Mutant Planet" ทางแอนิมอลแพลนเน็ต.

ใหม่!!: ตาและทัวทารา · ดูเพิ่มเติม »

ทีมฟอร์เทรส 2

ทีมฟอร์เทรส 2 (Team Fortress 2, ชื่อย่อ TF2) เป็นเกมแนวเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่งและเป็นวิดีโอเกมผู้เล่นหลายคนที่ถูกพัฒนาโดยวาล์วคอร์เปอร์เรชันที่โดยตัวเกมได้พัฒนามาจากทีมฟอร์เทรส คล.

ใหม่!!: ตาและทีมฟอร์เทรส 2 · ดูเพิ่มเติม »

ขอบฟ้า

อบฟ้า ยานอวกาศเอนดีวูร์ ค.ศ. 2002 ขอบฟ้า (horizon มาจากภาษากรีก orizein แปลว่า จำกัด) หมายถึงเส้นที่แบ่งระหว่างพื้นดิน (พื้นโลกหรือดาวอื่น) กับท้องฟ้า หรือเป็นเส้นที่เป็นจุดตัดระหว่างส่วนที่มองเห็นบนพื้นดินกับอีกด้านหนึ่งซึ่งมองไม่เห็น ในหลายจุดบนโลก ขอบฟ้าที่แท้จริง อาจถูกบดบังโดยต้นไม้ อาคาร ภูเขา ฯลฯ กลายเป็นเพียง ขอบฟ้าที่มองเห็น.

ใหม่!!: ตาและขอบฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ณเดชน์ คูกิมิยะ

ณเดชน์ คูกิมิยะ เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2534 เป็นนักแสดงและนายแบบลูกครึ่งไทย-ออสเตรีย มีชื่อเสียงจากผลงานแสดงทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเฉพาะละครเรื่อง "ดวงใจอัคนี, เกมร้ายเกมรัก" ซึ่งแสดงร่วมกับอุรัสยา เสปอร์บันด์ เป็นผู้นำเสนอภาพยนตร์โฆษณาสินค้าต่าง ๆ มากมาย เข้าร่วมในกิจกรรมรณรงค์ด้านสังคม งานการกุศล เช่น เป็นพรีเซ็นเตอร์ รณรงค์เชิญชวนชายไทยคัดเลือกทหาร ให้กับทางกองทัพบก การได้รับเลือกจากสภากาชาดไทย เป็นทูตรณรงค์เผยแพร่ความรู้ต้านภัยมะเร็งเต้านมในปี 2554-2555 ได้รับเลือกจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ให้เป็นทูตพระพุทธศาสนาวิสาขบูชานานาชาติ เป็นต้น มีผลงานการพากย์เสียงการ์ตูน และได้รับรางวัลผลงานดีเด่นในวงการบันเทิงมากมาย จากการที่ประชาชนพบเห็นณเดชน์ปรากฏตัวผ่านสื่อต่าง ๆ มากมายอยู่เป็นประจำ ไม่ว่าจะเป็น ละครโทรทัศน์, ภาพยนตร์, โฆษณา, นิตยสาร ฯลฯ ทำให้บางกอกโพสต์ เรียกณเดชน์ว่า "มิสเตอร์เอพวี่แวร์" ความสำเร็จในวงการบันเทิง อาทิเช่น ได้รับฉายา "ซุปตาร์พันธุ์ข้าวเหนียว" จากสมาคมนักข่าวบันเทิงในปี..

ใหม่!!: ตาและณเดชน์ คูกิมิยะ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงตา (แก้ความกำกวม)

วงตา สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ตาและดวงตา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต

ัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (ultraviolet index) หรือ ดัชนียูวี (UV Index) เป็นการวัดมาตรฐานระดับสากลในเรื่องของการเผาของแดดโดยการแผ่รังสี ของรังสีอัลตราไวโอเลต ในพื้นที่หรือเวลานั้น ๆ หน่วยวัดได้รับการพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวแคนาดาในปี..

ใหม่!!: ตาและดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ตาและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionária

อะเมซิ่ง เรซ: A Corrida Milionária (The Amazing Race: The Million Dollar Race; ดิ อะเมซิ่ง เรซ: การแข่งขันสู่เงินล้าน) เป็นเวอร์ชันบราซิลของรายการเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ โดยมีพิธีกรประจำรายการคือโรนี่ เซิร์ฟเวอร์โร่ รายการนี้มีการผลิตและออกอากาศเป็นอิสระ ในช่วงที่ต้องมีการซื้อเวลาของเครือข่ายโทรทัศน์บราซิล RedeTV! สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2550 และตอนสุดท้ายออกอากาศในวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ตาและดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionária · ดูเพิ่มเติม »

คราฟมากา

ราฟมากา (Krav Maga, קְרַב מַגָּע แปลว่า "การต่อสู้แบบปะทะ") เป็นศิลปะการต่อสู้จากอิสราเอล คิดค้นโดยอีมี ลิกเตนเฟลด์ (Imi Lichtenfeld) ชาวฮังการี-อิสราเอล เพื่อป้องกันตัวจากกลุ่มฟาสซิสต์ในเชโกสโลวาเกียช่วงทศวรรษ 1930 และต่อมานำมาใช้ฝึกในกองทัพอิสราเอล คราฟมากาเป็นการผสมผสานศิลปะการต่อสู้หลายแขนง เช่น มวย, มวยปล้ำ, มวยไทย, page 68, ยิวยิตสู, ไอกิโดและยูโด รวมถึงการฝึกการต่อสู้ในสถานการณ์จริง โดยจะเน้นการป้องกันตัวที่มีประสิทธิภาพ และการโจมตีกลับที่รุนแรง.

ใหม่!!: ตาและคราฟมากา · ดูเพิ่มเติม »

ความบอดการเห็นเป็น 3 มิติ

วามบอดการเห็นเป็น 3 มิติ หรือ ความไม่เห็นเป็น 3 มิติ (Stereoblindness, stereo blindness) เป็นความไม่สามารถเห็นเป็น 3 มิติ ทำให้ไม่สามารถรู้ความใกล้ไกลด้วยตาทั้งสองผ่านการรวมและเปรียบเทียบภาพจากตาทั้งคู่โดยสมอง บุคคลที่สามารถใช้ตาเพียงข้างเดียวจะมีภาวะนี้แน่นอน แต่ก็อาจเกิดเมื่อตาไม่สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างสมควร ผู้ที่ไม่เห็นเป็น 3 มิติแต่มีตาดีทั้งสองข้างก็ยังใช้การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาได้ในระดับหนึ่ง แม้จะน้อยกว่าคนปกติ งานศึกษาหนึ่งได้แสดงว่า เมื่อให้ตัดสินทิศทางการหมุนของรูปทรงกระบอกโปร่งใสแบบเสมือน ผู้ที่ไม่เห็นเป็น 3 มิติจะทำด้วยสองตาได้ดีกว่าใช้ตาข้างที่ถนัด และปรากฏว่า ตัดสินทิศทางของรูปที่หมุนในตาแต่ละข้างต่างหาก ๆ แล้วรวมการตัดสิน ไม่ได้อาศัยความต่างของรูปที่เห็นโดยตาสองข้าง (ที่คนปกติจะใช้) นอกจากนั้น สิ่งเร้าแบบเคลื่อนไหวที่เห็นด้วยสองตา ดูจะมีอิทธิพลต่อความรู้สึกว่าตัวเองเคลื่อนไหวของบุคคล อีกอย่างหนึ่ง ในบางกรณี ตาแต่ละข้างจะมีบทบาทในการมองเห็นรอบนอก (peripheral vision) ในแต่ละข้างของขอบเขต.

ใหม่!!: ตาและความบอดการเห็นเป็น 3 มิติ · ดูเพิ่มเติม »

ความละเอียดเชิงมุม

วามละเอียดเชิงมุม (Angular resolution) เป็นค่าที่บ่งบอกถึงระดับความละเอียดของอุปกรณ์ที่สร้างภาพแบบต่างๆ เช่น กล้องโทรทรรศน์วิทยุ กล้องไมโครสโคป กล้องถ่ายรูป หรือแม้แต่ดวงตาของมนุษย์ ระดับความละเอียด (Resolving power) เป็นความสามารถของอุปกรณ์สร้างภาพในการแยกแยะจุดแต่ละจุดของภาพวัตถุว่ามีมุมที่เหลื่อมล้ำกันอย่างไร คำว่า รีโซลูชั่น คือระยะทางน้อยที่สุดระหว่างวัตถุ (จุดหรือเส้น) ที่สามารถแยกภาพออกจากกันได้ แต่คำนี้ไม่ค่อยใช้กับกล้องไมโครสโคปหรือกล้องโทรทรรศน์เท่าใดนัก สำหรับในการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ คำว่า รีโซลูชั่น โดยมากจะหมายถึงความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดหรือเครื่องมือบันทึก (ในการบันทึกภาพหรือสเปกตรัม) มากกว.

ใหม่!!: ตาและความละเอียดเชิงมุม · ดูเพิ่มเติม »

ความดันโลหิตสูง

รคความดันโลหิตสูง (hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่ำสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลำดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่งพอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอกได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน อาหารและการเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยควบคุมความดันเลือดและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภาพ แม้การรักษาด้วยยายังมักจำเป็นในผู้ที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังไม่พอหรือไม่ได้ผล การรักษาความดันในหลอดเลือดแดงสูงปานกลาง (นิยามเป็น >160/100 มิลลิเมตรปรอท) ด้วยยาสัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพที่เพิ่มขึ้น ประโยชน์ของการรักษาความดันเลือดระหว่าง 140/90 ถึง 160/100 มิลลิเมตรปรอทไม่ค่อยชัดเจน บางบทปริทัศน์ว่าไม่มีประโยชน์ แต่บ้างก็ว่ามี.

ใหม่!!: ตาและความดันโลหิตสูง · ดูเพิ่มเติม »

ความต่างที่สองตา

รูป 1 - นิยามของความต่างที่สองตา (ทั้งไกลและใกล้) ความต่างที่สองตา (Binocular disparity) หมายถึงความแตกต่างของตำแหน่งวัตถุหนึ่ง ๆ ที่เห็นโดยตาซ้ายและตาขวาของมนุษย์ เพราะตาแยกห่างกันตามแนวนอน (ที่เรียกว่าพารัลแลกซ์) ในกระบวนการเห็นเป็น 3 มิติ สมองจะใช้ความต่างที่เห็นจากรูป 2 มิติซึ่งตกลงที่จอตาทั้งสองเพื่อดึงข้อมูลความใกล้ไกลของวัตถุ ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ Binocular disparity จะหมายถึงความต่างพิกัดของสิ่งที่เหมือนกันในภาพ 2 ภาพที่ถ่ายคู่กัน อุปกรณ์หาพิสัยโดยบรรจวบ (coincidence rangefinder) ก็ใช้เทคนิคคล้าย ๆ กันเพื่อกำหนดระยะทางและ/หรือความสูงของวัตถุเป้าหมาย ในดาราศาสตร์ ความต่างระหว่างตำแหน่งต่าง ๆ บนผิวโลกสามารถใช้กำหนดพารัลแลกซ์ของวัตถุท้องฟ้า และโคจรของโลกเองก็สามารถใช้กำหนดพารัลแลกซ์ดาว (stellar parallax).

ใหม่!!: ตาและความต่างที่สองตา · ดูเพิ่มเติม »

ความเจ็บปวด

วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว.

ใหม่!!: ตาและความเจ็บปวด · ดูเพิ่มเติม »

คอร์เนียล ลิมบัส

อร์เนียล ลิมบัส (corneal limbus) เป็นขอบของกระจกตา (cornea) ที่ต่อเนื่องกับเปลือกลูกตา (sclera) ลิมบัสเป็นบริเวณที่มักจะเกิดเนื้องอกของเยื่อบุกระจกตา (corneal epithelial neoplasms).

ใหม่!!: ตาและคอร์เนียล ลิมบัส · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่ง

งูหางกระดิ่ง (Rattlesnakes) เป็นชื่อสามัญของงูพิษจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์งูแมวเซา (Viperidae) จัดอยู่ใน 2 สกุล คือ Crotalus และ Sistrurus ในวงศ์ย่อย Crotalinae (Crotalus มาจากภาษากรีก มีความหมายว่า "Castanet" ส่วนคำว่า Sistrurus นั้นเป็นภาษาละตินที่มีความหมายในภาษากรีกว่า "Tail rattler" และมีความหมายตามรากศัพท์เดิมว่า "เครื่องดนตรี") งูหางกระดิ่ง มีลักษณะเด่น คือ เกล็ดที่ปลายหางที่เป็นสารประกอบเคอราติน ที่เป็นอวัยวะที่สามารถทำให้เกิดเสียงได้ โดยเสียงนั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนถี่ ๆ ของปล้องเกล็ดเป็นข้อ ๆ ที่หาง ซึ่งปล้องเกล็ดนี้พัฒนามาจากเกล็ดหางส่วนปลายนั่นเอง ทุกครั้งที่มีการลอกคราบปล้องเกล็ดนี้ก็จะเพิ่มจำนวนขึ้นด้วย 1 ปล้องต่อการลอกคราบ 1 ครั้ง การลอกคราบนั้นอาจเกิดขึ้นหลายครั้งใน 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับอาหารที่ได้รับและอัตราการเติบโต สำหรับลูกงูที่เกิดใหม่นั้นจะมีปล้องเกล็ดที่หาง 1 ปล้อง ซึ่งยังไม่สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ แต่เมื่อผ่านการลอกคราบครั้งแรกไปแล้วก็สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ การสั่นให้เกิดเสียงนั้นก็เพื่อเป็นการข่มขู่เมื่อพบศัตรูเข้ามาใกล้นั่นเองหน้า 410, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะิจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0 งูหางกระดิ่ง ปัจจุบันพบกว่า 30 ชนิด ทุกชนิดพบได้ในทวีปอเมริกาเหนือจนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก โดยมากจะอาศัยและหากินในที่ ๆ แห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย และหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขึ้นต้นไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยใช้การตรวจจับคลื่นความร้อนจากรังสีอินฟาเรดจากตัวเหยื่อด้วยอวัยวะรับคลื่นความร้อนที่เป็นแอ่งระหว่างช่องเปิดจมูกกับตา เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทำให้มนุษย์ที่ถูกกัดเสียชีวิตได้ สำหรับภูมิภาคอื่นที่ไม่มีงูหางกระดิ่ง แต่ก็มีงูบางชนิดในวงศ์เดีัยวกันนี้ ที่เกล็ดตามลำตัวสามารถเสียดสีทำให้เกิดเสียงดังได้เพื่อขู่ศัตรู เช่น งูพิษเกล็ดเลื่อย (Echis carinatus) ในประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและงูหางกระดิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดาเขียว

งูอนาคอนดาเขียว หรือ งูอนาคอนดาธรรมดา (Green anaconda, Common anaconda) เป็นงูขนาดใหญ่มากที่สุดในโลกที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Eunectes murinus อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) งูอนาคาคอนดาเขียวนับเป็นงูอนาคอนดา ชนิดที่ใหญ่ที่สุดและรู้จักดีที่สุด เมื่อโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 30 ฟุต และหนักได้ถึง 550 ปอนด์ มีผิวลำตัวสีเขียว มีลายเป็นวงกลมสีดำ ใต้ท้องเป็นสีขาว ตาเป็นสีดำ ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้มาก อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ป่าอเมซอน, บราซิล, โบลิเวีย, กายอานา ในหนองน้ำ หรือบึง โดยมักจะอาศัยอยู่ในน้ำหรือหมกตัวในโคลนมากกว่าจะเลื้อยมาอยู่บนบก เนื่องจากน้ำหนักตัวที่มากทำให้งุ่มง่ามเชื่องช้ามากเมื่ออยู่บนบก แต่จะว่องไวกว่าเมื่ออยู่ในน้ำ ว่ายน้ำได้เก่ง บางครั้งอาจใช้วิธีการลอยน้ำอยู่บริเวณผิวน้ำแล้วปล่อยให้กระแสน้ำไหลพัดไป แต่มักจะขึ้นมาอาบแดดเป็นบางครั้งด้วยการเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ริมน้ำ ล่าเหยื่อด้วยการใช้แอ่งรับความร้อนอินฟราเรดที่อยู่บริเวณหน้าผาก ในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้ง สัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่ ทั้ง คาปรีบารา, จระเข้ไคแมน, ปลา, กบ หรือแม้กระทั่งวัวหรือควาย หรือปศุสัตว์ต่าง ๆ ของชาวบ้าน โดยใช้วิธีการรัดเหยื่อด้วยลำตัวอย่างแน่น และกดลงไปในน้ำให้จมน้ำตายก่อนจะเขมือบกลืนเข้าไปทั้งตัว โดยเริ่มจากส่วนหัวก่อน ซึ่งอาจใช้เวลานานหลายชั่วโมง แต่กระนั้นก็จะทำให้ไม่ต้องกินอะไรอีกไปนานนับเดือน ในยามที่อาหารขาดแคลนเช่นในช่วงฤดูร้อน อาจอดอาหารได้นานถึง 7 เดือน หลังจากนั้นแล้วจะเร่งรีบกินเพื่อชดเชยพลังงานที่สูญเสียไปและผสมพันธุ์ โดยถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3-4 ปี ฤดูผสมพันธุ์จะตกอยู่ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ตัวเมียจะปล่อยกลิ่นเพื่อดึงดูดตัวผู้ให้มาผสมพันธุ์ โดยอาจผสมพันธุ์กับตัวผู้ได้มากถึง 2-12 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน 6 เดือน ตกลูกเป็นตัว ซึ่งอาจออกได้ครั้งละ 40 ตัวหรือมากกว่านั้น ลูกงูที่ออกมาใหม่จะมีความยาวราว 2 ฟุต และจะไม่ถูกดูแลโดยแม่ ซึ่งอาจจะตกเป็นเหยื่อของสัตว์ที่ใหญ่กว่าหรือแม้กระทั่งงูอนาคอนดาด้วยกันเองกินก่อนที่จะโตต่อไปในอนาคต งูอนาคอนดาเขียวเป็นงูที่มนุษย์ให้ความสนใจมาก ด้วยขนาดที่ใหญ่โตและพละกำลังที่มากมายมหาศาล ดังนั้น เมื่อมีการจับงูชนิดนี้ได้ในแต่ละครั้งมักปรากฏเป็นข่าวโด่งดัง และถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ อาทิ Anaconda เมื่อปี ค.ศ. 1997 ของฮอลลีวู้ด เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและงูอนาคอนดาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

งูแมมบา

งูแมมบา (Mambas) เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ตาและงูแมมบา · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบแก้มแดง

ตะพาบแก้มแดง (Malayan solf-shell turtle) เป็นตะพาบชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย จัดเป็นตะพาบขนาดเล็กที่สุดเป็นอันดับสองที่พบในประเทศไทย (เล็กที่สุด คือ ตะพาบหับพม่า (Lissemys scutata)) กระดองสีเทาเข้มมีจุดสีดำทั่วไป หัวสีเทานวลมีรอยเส้นสีดำตลอดตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงส่วนท้ายกระดอง มีสีแดงที่แก้มและข้างคอ เมื่อยังเล็กมีจุดสีดำคล้ายดวงตากระจายไปทั่วกระดองเห็นชัดเจน ตะพาบที่พบที่จังหวัดตากและกาญจนบุรีมีสีเข้มกว่าและไม่มีสีแดงที่แก้ม มีจมูกยาว หางสั้น และมีขาเล็ก จัดเป็นตะพาบเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dogania ขนาดโตเต็มที่กระดองยาวประมาณ 1 ฟุต หนักประมาณ 15 กิโลกรัม ถิ่นที่อยู่อาศัย พบในพม่า, มาเลเซีย, บรูไน, สุมาตรา, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ สำหรับประเทศไทยพบบ้างที่จังหวัดตาก, กาญจนบุรี และพบมากทางภาคใต้ แถบจังหวัดชุมพร และจังหวัดนครศรีธรรมราช ชอบอยู่ในห้วยหนอง คลองบึงทั่วไป และมีชุกชุมตามลำธารบนภูเขา การสืบพันธุ์ออกไข่ครั้งละ 3-7 ฟอง ปัจจุบันเป็นสัตว์น้ำคุ้มครองตามประกาศของกรมประมง และสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 โดยมีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "ปลาฝาดำ".

ใหม่!!: ตาและตะพาบแก้มแดง · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกินมดซิลกี้

ตัวกินมดซิลกี้ หรือ ตัวกินมดขนนุ่ม หรือ ตัวกินมดแคระ (Silky anteater, Pygmy anteater) เป็นตัวกินมดชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่่านั้นที่อยู่ในสกุล Cyclopes และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Cyclopedidae ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน เพราะอีกสกุลหนึ่ง คือ Palaeomyrmidon นั้นได้สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคไมโอซีนที่อาร์เจนตินา ตัวกินมดซิลกี้ เป็นตัวกินมดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก มีความยาวตั้งแต่ปลายปากจรดปลายหาง 35-40 เซนติเมตรเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในป่าของอเมริกากลาง จนถึงตอนเหนือของอเมริกาใต้ในหลายประเทศ แบ่งออกได้เป็น 7 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) พบได้ในหลายประเภทของป่า ตั้งแต่ป่าชายเลนในที่ราบต่ำ จนถึงที่ราบสูงที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,500 เมตร (4,900 ฟุต) ตัวกินมดซิลกี้ มีขนที่อ่อนนุ่มตลอดทั้งตัวสีเทาจนถึงสีเหลือง และมีสีที่หลากหลายออกไปตามแต่ละชนิดย่อย ตามีขนาดเล็กสีดำ มีกรงเล็บหน้าที่แหลมคมใช้สำหรับปีนป่ายต้นไม้ เนื่องจากเป็นตัวกินมดที่อาศัยและหากินบนต้นไม้เป็นหลัก โดยมักจะหากินบนปลา่ยยอดไม้สูง อาหารที่กินจะเป็น มด เป็นอาหารหลัก เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน ขณะที่เวลากลางวันจะนอนหลับด้วยการขดตัวเป็นวงกลมเหมือนลูกบอลบนต้นไม้ ตัวกินมดซิลกี้ สามารถใช้ปลายหางในการเกาะเกี่ยวต้นไม้เพื่อทรงตัวได้เป็นอย่างดี จึงสามารถป่ายปีนต้นไม้หรือกิ่งไม้ได้เป็นอย่างดี แม้กระทั้งตีลังกาห้อยหัวลงมา และสามารถที่จะยืนด้วยสองขาหลัง ชูขาหน้าและกรงเล็บได้ด้วยเพื่้อเป็นการป้องกันตัวAnteaters, "Nick Baker's Weird Creatures".สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: พุธที่ 10 เมษายน 2556.

ใหม่!!: ตาและตัวกินมดซิลกี้ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวรับโดปามีน

ปามีน ตัวรับโดปามีน (dopamine receptor) สารสื่อประสาทโดปามีนออกฤทธิ์ผ่านตัวรับโดปามีนซึ่งเป็นตัวรับที่จับอยู่กับโปรตีนจี ในยุคแรกๆ ได้แบ่งตัวรับโดปามีนออกเป็น 2 กลุ่มหลักโดยใช้ความสามารถในการกระตุ้นหรือยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อดีนิลิล ไซเคลส (adenylyl cyclase) เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่มซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น กลุ่มตัวรับโดปามีน 1 และ กลุ่มตัวรับโดปามีน 2.

ใหม่!!: ตาและตัวรับโดปามีน · ดูเพิ่มเติม »

ตา (แก้ความกำกวม)

ตา สามารถหมายถึงได้หลายอย่างเช่น.

ใหม่!!: ตาและตา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ตาบอดสี

ตาบอดสี (Color blindness) เป็นโรคชนิดหนึ่งของดวงตาเมื่อเป็นแล้วจะส่งผลให้การแปรภาพของสีต่าง ๆ ที่มองเห็นผิดเพี้ยนไป จากผู้อื่นที่เป็นตาปกติ ภาวะตาบอดสีนั้น เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและในสังคมมากพอสมควร.

ใหม่!!: ตาและตาบอดสี · ดูเพิ่มเติม »

ตามัว

ตามัว.

ใหม่!!: ตาและตามัว · ดูเพิ่มเติม »

ตามนุษย์

ตามนุษย์ เป็นอวัยวะที่ตอบสนองต่อแสงและแรงดัน ในฐานะเป็นอวัยวะรับความรู้สึก ตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทำให้สามารถเห็นได้ ช่วยให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเป็น 3 มิติ และปกติเห็นเป็นสีในช่วงกลางวัน เซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยในจอตาทำให้สามารถรับรู้แสงและเห็น รวมทั้งแยกแยะสีและรับรู้ความใกล้ไกล ตามนุษย์สามารถแยกแยะสีได้ประมาณ 10 ล้านสี และอาจสามารถตรวจจับโฟตอนแม้เพียงอนุภาคเดียวได้ เหมือนกับตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ เซลล์ปมประสาทไวแสง (photosensitive ganglion cell) ในจอตามนุษย์ซึ่งไม่ช่วยให้เห็นภาพ จะได้สัญญาณแสงซึ่งมีผลต่อการปรับขนาดรูม่านตา ควบคุมและระงับการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนิน และปรับตัวทางสรีรภาพและพฤติกรรมตามจังหวะรอบวัน (circadian rhythm).

ใหม่!!: ตาและตามนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตาที่สาม

ตามความเชื่อในรหัสยลัทธิและคุยหลัทธิ ตาที่สาม ไม่ใช่ตาเนื้อ แต่เป็นตาภายในที่ทำให้เห็นสิ่งเหนือปกติวิสัย แสดงถึงการรับรู้ระดับสูงในทางจิตวิญญาณ และเป็นสัญลักษณ์ของการรู้แจ้ง รวมถึงการหยั่งรู้พิเศษ เช่น การเห็นนิมิต ตาทิพย์ รู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ล่วงหน้า เป็นต้นLeadbeater, C.W. The Chakras Wheaton, Illinois, USA:1927 Theosophical Publishing House Page 79.

ใหม่!!: ตาและตาที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

ตาโปน

ตาโปน (exophthalmos, exophthalmus, ophthalmocele, ophthalmoptosis, proptosis, protopsis) คือ ตาโป่งออกนอกเบ้าตาทางด้านหน้า อาจเป็นสองข้าง (มักพบในโรคเกรฟส์) หรือข้างเดียวก็ได้ (พบในเนื้องอกเบ้าตา) การพลัดที่จากเบ้าตาอย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนอาจเกิดขึ้นได้จากการบาดเจ็บหรือการบวมของเนื้อเยื่อโดยรอบอันเนื่องจากการบาดเจ็บ ในกรณีโรคเกรฟส์ การพลัดที่ของตาเกิดขึ้นจากการสะสมเนื้อเยื่อเกี่ยวพันผิดปกติในเบ้าตาและกล้ามเนื้อนอกตา ซึ่งเห็นได้ด้วย CT หรือ MRI หากไม่ได้รับการรักษา ตาโปนสามารถทำให้หนังตาไม่สามารถปิดระหว่างนอนหลับทำให้กระจกตาแห้งและเสียหาย อาการแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้อีกอย่างหนึ่งอาจเป็นในรูปตาแดงหรือระคายเคือง เรียก "เยื่อบุตาและกระจกตาอักเสบลิมบิกบน" (superior limbic keratoconjunctivitis) ซึ่งพื้นที่เหนือกระจกตาอักเสบเนื่องจากการเสียดสีเพิ่มขึ้นเมื่อกระพริบตา กระบวนการซึ่งก่อการพลัดที่ของตายังอาจกดเส้นประสาทตาหรือหลอดเลือดแดงตา ทำให้ตาบอดได้ หมวดหมู่:โรคของหนังตา ระบบน้ำตาและเบ้าตา.

ใหม่!!: ตาและตาโปน · ดูเพิ่มเติม »

ตาเหล่

ตาเหล่ หรือ ตาเข (isbn) เป็นภาวะที่ตาทั้งสองไม่มองตรงที่เดียวกันพร้อม ๆ กันเมื่อกำลังจ้องดูวัตถุอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยตาข้างหนึ่งจะเบนไปในทางใดทางหนึ่งอย่างไม่คล้องจองกับตาอีกข้างหนึ่ง/หรือกับสิ่งที่มอง และตาทั้งสองอาจสลับเล็งมองที่วัตถุ และอาจเกิดเป็นบางครั้งบางคราวหรือเป็นตลอด ถ้ามีอาการเป็นช่วงเวลานานในวัยเด็ก ก็อาจทำให้ตามัวหรือเสียการรู้ใกล้ไกล แต่ถ้าเริ่มในวัยผู้ใหญ่ ก็มักจะทำให้เห็นภาพซ้อนมากกว่า อาการอาจมีเหตุจากการทำงานผิดปกติของกล้ามเนื้อตา สายตายาว ปัญหาในสมอง การบาดเจ็บ หรือการติดเชื้อ ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งการคลอดก่อนกำหนด อัมพาตสมองใหญ่ และประวัติการเป็นโรคในครอบครัว มีแบบต่าง ๆ รวมทั้ง เหล่เข้า (esotropia) ที่ตาเบนเข้าหากัน เหล่ออก (exotropia) ที่ตาเบนออกจากกัน และเหล่ขึ้น (hypertropia) ที่ตาสูงต่ำไม่เท่ากัน อาจเป็นแบบเหล่ทุกที่ที่มอง (comitant คือตาเหล่กลอกคู่) หรืออาจเหล่ไม่เท่ากันแล้วแต่มองที่ไหน (incomitant) การวินิจฉัยอาจทำโดยสังเกตว่าแสงสะท้อนที่ตาไม่ตรงกับกลางรูม่านตา มีภาวะอีกอย่างที่ทำให้เกิดอาการคล้าย ๆ กัน คือ โรคเส้นประสาทสมอง (cranial nerve disease) การรักษาจะขึ้นอยู่กับรูปแบบและเหตุ ซึ่งอาจรวมการใช้แว่นตาและการผ่าตัด มีบางกรณีที่มีผลดีถ้าผ่าตัดตั้งแต่ต้น ๆ เป็นโรคที่เกิดในเด็กประมาณ 2% คำภาษาอังกฤษมาจากคำกรีกว่า strabismós ซึ่งแปลว่า "เหล่ตา".

ใหม่!!: ตาและตาเหล่ · ดูเพิ่มเติม »

ตุ่น

ำหรับ ติ่ง ที่เป็นความหมายสแลงดูที่ ติ่งหู ตุ่น หรือ ติ่ง (Moles) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Talpidae ซึ่งครั้งหนึ่ง (หรือบางข้อมูล) จะจัดให้ตุ่นอยู่ในอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) ตุ่น มีลักษณะคล้ายหนูตะเภาตัวอ้วน ๆ ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ทว่าตุ่นมีอันดับแยกออกมาเองต่างหาก ซึ่งใกล้เคียงกับหนูผี (Soricidae) มากกว่า มีขนอ่อนนุ่ม สีคล้ำอย่างสีเทาหรือสีดำ ตลอดทั้งลำตัว ซึ่งขนนี้มีคุณลักษณะพิเศษที่สามารถบิดไปในทิศทางใดก็ได้ แตกต่างจากสัตว์ประเภทอื่น ๆ ส่วนหางสั้น ตุ่นอาศัยในโพรงใต้ดินตลอดเวลา จะไม่ขึ้นมาบนพื้นดิน หากไม่จำเป็น ดังนั้นจึงมีหูและตาเล็กมาก เพราะแทบไม่ได้ใช้ประโยชน์ และถูกเก็บซ่อนอยู่ใต้ขน เพื่อป้องกันมิให้ดินเข้าเวลาขุดดิน ในบางชนิดจะมีหนังพิเศษปิดเหนือตาด้วย ขาคู่หน้าของตุ่นซ่อนอยู่ใต้ขน ซึ่งจะยื่นออกมาแต่ส่วนปลายเป็นข้อมือที่มีเล็บที่แข็งแรง 5 เล็บ ซึ่งใช้ในการขุดโพรงดิน แต่จะใช้เดินบนพื้นดินไม่ได้เลย หากตุ่นขึ้นมาบนดินจะทำได้เพียงแค่คืบคลาน ในโพรงใต้ดินของตุ่น มีทางยาวมาก โดยมักจะขุดให้ลึกไปจากผิวดินราว 3 นิ้วครึ่งถึงครึ่งฟุต เป็นทางยาวขนานไปกับผิวดิน และลึกจากหน้าดินราวหนึ่งฟุตก็มีอีกโพรงหนึ่งเป็นคู่ขนานด้วยเช่นกัน ซึ่งทั้งสองสายนี้เชื่อมไว้ด้วยทางเชื่อมเล็ก ๆ ในแนวตามจุดต่าง ๆ เป็นระยะ ๆ แต่ในบางจุดอาจมีแนวดิ่งลึกลงไปถึง 4 ฟุต ผนังโพรงราบเรียบสม่ำเสมอกัน ที่ปลายสุดของโพรงจะใช้เป็นที่กลับตัว ซึ่งมีความกว้างเพียงขนาดเท่าตัวของตุ่น ดินที่ขุดขึ้นทำโพรงนั้นจะถูกอัดไปตามผนังโพรงเพื่อให้แน่นและแข็งแรง แต่บางส่วนก็จะถูกดันขึ้นไปเหนือพื้นดิน เห็นเป็นเนิน ๆ ซึ่งเรียกในภาษาไทยว่า "โขย" ตุ่น กินอาหารหลัก คือ ไส้เดือนดิน และก็สามารถกินอาหารอื่นได้ เช่น หนอน, หอยทาก และพืชประเภทหัว เช่น มัน หรือ แห้ว หลายชนิด ในวันหนึ่ง ๆ ตุ่นสามารถที่จะกินอาหารได้เท่ากับน้ำหนักตัว จึงเป็นสัตว์ที่ไม่อาจอดอาหารได้นาน ในฤดูแล้งที่อาหารขาดแคลน ตุ่นสามารถจะสะสมอาหารเป็นเสบียงได้ ในโพรงดินส่วนที่เป็นห้องเก็บอาหาร โดยมีรายงานว่า ตุ่นบางตัวเก็บหนอนไว้ในห้องเก็บอาหารนับร้อยตัว โดยที่หัวของหนอนเหล่านี้ถูกกัดจนหัวขาดแล้ว แต่ยังไม่ตาย ไม่อาจจะหนีไปไหนได้ ตามปกติ ตุ่นเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ลำพัง นอกจากในฤดูผสมพันธุ์ ซึ่งในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้ต้องต่อสู้แย่งชิงตัวเมียเสียก่อน ตัวเมียจะเป็นฝ่ายสร้างรั งขนาดลูกรักบี้ที่บุด้วยใบไม้และฟางหรือกิ่งไม้เล็ก ๆ โดยจะอยู่ลึกจากหน้าดินประมาณ 2 ฟุต หรือตื้นกว่านั้น มีทางแยกออกจากรังหลายทาง เพื่อที่จะเข้าออกได้หลายทาง เพื่อความสะดวกและปลอดภัย ซึ่งรังของตุ่นจะสะอาดสะอ้านอยู่เสมอ ตุ่นมักจะมีลูกครอกละ 2-7 ตัว ลูกอ่อนที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และขนจะเริ่มงอกเมื่อมีอายุได้สัก 10 วัน และลืมตาในเวลาต่อมา และจะออกจากรังเมื่อมีอายุได้ราว 5 สัปดาห์ มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ปี ตุ่นกระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ทั่วโลก ยกเว้นในเขตขั้วโลกและโอเชียเนีย สามารถแบ่งออกได้เป็น 17 สกุล และ 3 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง) พบประมาณ 44 ชนิด ซึ่งบางชนิดมีขนสีทอง บางชนิดมีส่วนหางยาว บางชนิดที่จมูกมีเส้นขนเป็นอวัยวะรับสัมผัสเป็นเส้น ๆ 22 เส้น ลักษณะคล้ายดาว และมีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่บนดินและว่ายน้ำได้เก่งอีกด้วย ขณะที่บางชนิดก็สามารถปีนต้นไม้ได้ และอาศัยอยู่เป็นฝูง สำหรับในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว คือ ตุ่นโคลส (Euroscaptor klossi).

ใหม่!!: ตาและตุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมน้ำตาอักเสบ

ต่อมน้ำตาอักเสบ (Dacryoadenitis) เป็นการอักเสบของต่อมน้ำตา หรืออาจเรียกว่าท่อน้ำตาอุดตัน.

ใหม่!!: ตาและต่อมน้ำตาอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

ต้อกระจก

ต้อกระจกเป็นโรคของตาอย่างหนึ่ง คือภาวะที่เกิดความขุ่นขึ้นที่เลนส์ตาหรือปลอกหุ้มเลนส์ตาซึ่งปกติจะมีความใส เมื่อขุ่นแล้วจะทำให้แสงผ่านได้แย่กว่าปกติ สาเหตุของการเกิดต้อกระจก การเกิดต้อกระจกนั้นส่วนใหญ่มีสาเหตุมาการเสื่อมของเลนส์ตา โดยส่วนมากโรคต้อกระจกนี้จะพบกับผู้ทีมีอายุ 65 ปีขึ้นไป บางรายอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสจากมารดาขณะตั้งครรภ์ หรือการที่กินยาสเตียรอยด์เป็นประจำก็เป็นสาเหตุของการเกิดต้อกระจกได้เช่นกัน.

ใหม่!!: ตาและต้อกระจก · ดูเพิ่มเติม »

ต้อหิน

ที่เห็นโดยคนเป็นโรคต้อหิน การมองเห็นจะน้อยลง ต้อหิน เป็นโรคที่ดวงตามองไม่เห็น เกิดจากการคั่งของน้ำภายในตา จึงทำให้ความดันตาสูงขึ้นและกดทำลายประสาทตาทีละน้อย โดยที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บปวด พบมากในผู้สูงอายุ โดยปกติคนวัย 65 ปีขึ้นไป จะเกิดโรคต้อหินได้ประมาณ 1 ในทุก 20 คน โรคต้อหินเป็นสาเหตุตาบอดอันดับที่สองของโลก โรคต้อหินพบทั่วโลกถึง 70 ล้านคน และประมาณ 10% ของผู้ป่วยหรือประมาณ 6.7 ล้านคน ต้องตาบอด หรือสูญเสียการมองเห็นอย่างสิ้นเชิง ในประเทศไทยมีผู้ป่วยประมาณ 2.5-3.8% หรือคิดเป็นจำนวนผู้ป่วยประมาณ 1.7-2.4 ล้านคน เมื่อไปตรวจตาถ้าความดันลูกตาเกิน 20.0 มิลลิเมตรปรอท มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นต้อหิน.

ใหม่!!: ตาและต้อหิน · ดูเพิ่มเติม »

ต้อเนื้อ

ต้อเนื้อ หมายถึงเนื้องอกของเยื่อตา (conjunctiva) ต้อเนื้อมักเจริญมาจาก ด้านใกล้กลาง (ด้านติดจมูก) ต้อเนื้อเชื่อกันว่ามีสาเหตุมาจากการได้รับรังสีอัลตราไวโอเล็ตเช่นจากแสงแดด อากาศแห้ง และจากฝุ่นละออง สาเหตุที่ต้อเนื้อมักเกิดบริเวณด้านใกล้กลางน่าจะเป็นเพราะแสงแดดผ่านจากด้านข้างของดวงตา ผ่านกระจกตา (cornea) แล้วเกิดการโฟกัสของแสงที่คอร์เนียล ลิมบัสด้านใกล้กลาง (medial limbus) ในทางกลับกันแสงที่มาจากอีกด้านจะมีจมูกช่วยบังแสงแดดที่จะเข้ามาและโฟกัสยังคอร์เนียล ลิมบัสด้านข้าง (temporal limbus).

ใหม่!!: ตาและต้อเนื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น

กะโหลกซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น (Japanese giant salamander; オオサンショウウオ, ハンザキ–โอซานโชอูโอ, ฮานซะกิ) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Andrias japonicus จัดอยู่ในวงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ (Cryptobranchidae).

ใหม่!!: ตาและซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์ที่เกิดในตา

ปรากฏการณ์ที่เกิดในตา (entoptic phenomena จาก ἐντός แปลว่า "ภายใน" และ ὀπτικός แปลว่า "เกี่ยวกับการเห็น") หมายถึงปรากฏการณ์ทางการเห็นที่มีกำเนิดภายในตาเอง ตาม.

ใหม่!!: ตาและปรากฏการณ์ที่เกิดในตา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโอนหิน

ปลาชะโอนหิน (Leaf catfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Silurichthys (/ไซ-เลอร์-อิค-ธีส/) มีลักษณะสำคัญ คือ นัยน์ตามีเยื่อเหมือนวุ้นคลุม ปลายของครีบหางแยกเป็นสองแฉกและยาวไม่เท่ากัน ครีบก้นยาวและติดต่อรวมกันกับครีบหาง ครีบหลังอยู่หน้าครีบท้อง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 7 ก้าน ฟันที่เพดานปากชิ้นกลางมีขนาดเล็กอยู่รวมกันเป็นกลุ่มกลม มีหนวดค่อนข้างยาว 2 คู่ ที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ มีสีลำตัวคล้ำ มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 14-15 เซนติเมตร พบในทวีปเอเชีย ในลำธารน้ำตกหรือพื้นที่ป่าพร.

ใหม่!!: ตาและปลาชะโอนหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโอนถ้ำ

ปลาชะโอนถ้ำ หรือ ปลาชะโอนถ้ำวังบาดาล (Cave sheatfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) เป็นปลาที่มีถิ่นอาศัยเพียงถิ่นเดียว มีลำตัวสีขาวเผือกอมเหลืองทั้งตัวคล้ายภาวะผิวเผือก ตามีขนาดเล็กมากและเป็นสีแดง โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มที่พบในถ้ำวังบาดาล ภายในอุทยานแห่งชาติเอราวัณ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งปลากลุ่มนี้จะมีลักษณะดังที่กล่าวข้างต้น และกลุ่มที่อยู่นอกถ้ำหรือพบในถ้ำอื่น จะมีลำตัวสีเทาอมน้ำตาลเท่านั้น มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ในถ้ำวังบาดาล ในอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งลักษณะของปากถ้ำเป็นช่องเขาขนาดเล็กบนเขา และวนลึกลงไปจนถึงระดับน้ำด้านล่าง ซึ่งเป็นแอ่งน้ำขนาดพื้นที่เท่าสนามเทนนิส ซึ่งคิดเป็นเพียงพื้นที่ไม่กี่ตารางเมตรเท่านั้น ปัจจุบัน ปลาชะโอนถ้ำ ถูกจำนวนลงมากสัมพันธ์กับปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ก้นถ้ำเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก จนไม่พอสำหรับมนุษย์ที่จะหายใจ ในปี พ.ศ. 2543 มีนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันได้เข้าไปสำรวจ และจับปลาได้เพียงไม่กี่ตัวเท่านั้น จากนั้นในปี พ.ศ. 2545 ได้มีคณะสำรวจชาวไทยเข้าไปสำรวจและจับปลามาได้ราว 10 ตัว จากนั้นก็ไม่เคยมีใครพบกับปลาชะโอนถ้ำนี้อีกเลย แม้จะมีความพยายามอื่นจากหลายคณะก็ตาม และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทสัตว์น้ำตามประกาศของกรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พื..

ใหม่!!: ตาและปลาชะโอนถ้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่กล้วย

ปลาบู่กล้วย หรือ ปลาบู่จุด (Knight goby, Spotted goby) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stigmatogobius sadanundio ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) มีลักษณะลำตัวค่อนข้างกลม หางแบน หัวโต นัยน์ตามีขนาดใหญ่ ลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง ลำตัวมีจุดแต้มสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม มีลักษณะเด่น คือ มีจุดประสีเข้มขนาดเล็กกระจายอย่างไม่เป็นระเบียบทั่วทั้งลำตัว ครีบหลังยาวแบ่งเป็นสองตอน ตอนหน้าเป็นเส้นยาว ตอนหลังแผ่กางมีจุดประสีดำกระจายทั่วอย่างเป็นระเบียบ ครีบหางใหญ่ปลายมนมีจุดประสีเข้มกระจายทั่ว ครีบท้องมีจุดประ ครีบอกใส ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งทะเลของมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า ไปจนถึงอินโดนีเซียและสิงคโปร์ สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดสนิทได้ มีอุปนิสัยอยู่อยู่รวมกันเป็นฝูงตามชายทะเลหรือชะวากทะเล ในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ชายทะเลฝั่งอ่าวไทยตั้งแต่จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นต้นไป นับเป็นปลาสวยงามชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันในตู้ปลา โดยเฉพาะกับตู้ที่ปลูกพืชไม้น้ำไว้ โดยปลาจะมีพฤติกรรมนอนนิ่ง ๆ กับพ้น ในบางครั้งจะแผ่ครีบกางออกอวดสีสันสวยงามแต่ทว่าเมื่อเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นแล้วจะมีนิสัยดุร้ายมาก จะไล่กัดปลาชนิดอื่นและกินปลาขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร หากเลี้ยงรวมควรเลี้ยงรวมกับปลาบู่กล้วยด้วยกันเอง ซึ่งจากพฤติกรรมดัวกล่าวนี้เองทำให้ได้อีกชื่อเรียกหนึ่งว่า "ปลากัดทะเล".

ใหม่!!: ตาและปลาบู่กล้วย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่กล้วย (สกุล)

ปลาบู่กล้วย (Spotted goby, Knight goby) เป็นสกุลของปลาขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Stigmatogobius (/สติก-มา-โท-โก-เบียส/) เป็นปลาบู่ขนาดเล็ก มีขนาดความยาวเต็มที่ไม่เกิน 6 เซนติเมตร มีลำตัวทรงกระบอก หัวมีขนาดใหญ่ มีเกล็ดตามแนวลำตัว 24-36 แถว ครีบหางกลม เกล็ดที่แนวสันหลังยื่นเข้ามาอยู่ระหว่างนัยน์ตา บนกระดูกแก้มมีเกล็ดปกคลุม จัดเป็นปลาทะเลที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งที่ติดต่อกับน้ำจืด เช่น ป่าชายเลน, ชะวากทะเล หรือบางครั้งพบในแอ่งน้ำขังชั่วคราวในช่วงน้ำขึ้นน้ำลง สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดสนิทได้ เป็นปลาที่มีความสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่มีพฤติกรรมลอยตัวหากินอยู่บริเวณกลางน้ำถึงผิวน้ำ พบมากในถิ่นที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม พบในประเทศไทย 2 ชน.

ใหม่!!: ตาและปลาบู่กล้วย (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่หมาจู

ปลาบู่หมาจู หรือ ปลาหมาจู (Bumblebee goby) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในสกุล Brachygobius (/บรา-ชี่-โก-บิ-อัส/) ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) มีลักษณะโดยรวม เป็นปลาที่มีขนาดเล็กมาก กล่าวคือ มีขนาดโดยเฉลี่ยราว 4-5 เซนติเมตร มีลำตัวเป็นทรงกระบอกคล้ายไม้เบสบอล หัวโต ตาโต ปากกว้าง มีอวัยวะพิเศษคือ มีครีบหนามอยู่ด้านหน้าครีบหลัง และมีการพัฒนาครีบหน้าไปเป็นอวัยวะที่มีรูปร่างคล้ายถ้วย ใช้สำหรับยึดเกาะกับวัตถุต่าง ๆ ใต้น้ำได้เป็นอย่างดี ไม่มีเส้นข้างลำตัว มีสีสันลำตัวเป็นสีเหลืองสลับดำหรือน้ำตาลเข้ม ครีบทุกครีบใสโปร่งแสง มีนิสัยชอบอยู่เป็นฝูง เป็นปลารักสงบ แต่ทว่ามีความก้าวร้าวกันในฝูงพอสมควร โดยจะหวงอาณาเขตตัวเองต่อเฉพาะปลาบู่ด้วยกัน กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็ก ปลาตัวผู้มีสีสันที่สดใสกว่า ส่วนตัวเมียจะมีขนาดลำตัวใหญ่กว่า วางไข่ประมาณ 150-200 ฟอง ภายในวัตถุต่าง ๆ ในน้ำ เช่น ขอนไม้, เปลือกหอย, หิน ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 4-5 วัน โดยที่ปลาตัวผู้จะเป็นผู้ดูแล พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย พบได้ในแม้กระทั่งร่องน้ำในสวนผลไม้ที่มีน้ำกร่อยไหลเข้ามาและแม่น้ำขนาดใหญ่ อย่าง แม่น้ำโขง มีทั้งหมด 9 ชนิด (บางข้อมูลแบ่งเป็น 8 ชนิด) พบในประเทศไทยราว 5 ชนิด เป็นปลาขนาดเล็กที่มีความสวยงามน่ารักจำพวกหนึ่ง จึงนิยมนำมาเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาบู่หมาจู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนจุดอินโด

ปลาช่อนจุดอินโด (Green spotted snakehead, Ocellated snakehead, Eyespot snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa pleurophthalma ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีรูปร่างเพรียวยาวในวัยอ่อน แต่เมื่อปลาโตขึ้นแล้วจะเปลี่ยนเป็นหัวแหลมแต่ส่วนลำตัวกลับป้อม คล้ายปลาชะโด (C. miropeltes) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน ปลาขนาดเล็กจะมีลำตัวสีเขียว, สีน้ำเงินหรือแกมน้ำตาลในบางตัว ส่วนท้องสีขาว เมื่อโตขึ้นจะมีลักษณะเด่น คือ มีจุดสีดำที่ล้อมด้วยวงสีส้มกลมคล้ายดวงตาขนาดใหญ่อันเป็นที่มาของชื่อ เรียงกันบริเวณข้างลำตัว โดยจุดแรกจะพบบนแก้มหรือกระดูกปิดเหงือก จุดสุดท้ายจะพบบริเวณคอดหาง โดยจะมีประมาณ 3-7 จุด ในปลาแต่ละตัวอาจมีไม่เท่ากัน หรือข้างสองก็ไม่เท่ากัน และเมื่อปลาโตเต็มวัยจุดเหล่านี้จะกลายเป็นกระจายเป็นจุดกระสีดำตามตัวแทน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา และยังพบในแถบตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบอร์เนียว และในจังหวัดกาลีมันตัน พบมีการบริโภคในท้องถิ่น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเป็นปลาที่เลี้ยงให้รอดได้ยาก เนื่องจากปลาขนาดเล็กมักจะปรับตัวให้กับสภาพน้ำในสถานที่เลี้ยงไม่ได้ เพราะเป็นปลาที่อยู่ในน้ำที่มีสภาพความเป็นกรดของน้ำค่อนข้างต่ำ.

ใหม่!!: ตาและปลาช่อนจุดอินโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)

ปลากระดี่ช็อกโกแลต เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Sphaerichthys ในวงศ์ Macropodusinae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาในปลากัด (Betta spp.) และปลากริม (Trichopsis spp.) โดยอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae รูปร่างโดยรวมของปลาในสกุลนี้ คือ มีลำตัวขนาดเล็ก มีรูปร่างบาง แบนข้าง ส่วนหัวแหลม ตากลมโตมีขนาดใหญ่ มีสีลำตัวออกไปทางสีน้ำตาลเข้มหรือสีน้ำตาลแดงเหมือนช็อกโกแลต อันเป็นที่มาของชื่อ โดยที่ปลาตัวผู้จะมีสีแดงสดกว่าตัวเมีย และที่สำคัญคือ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดคือ มีลายพาดขวางลำตัวเหมือนสร้อยสีขาว 3-4 ขีด (คำว่า Sphaerichthys ซึ่งเป็นชื่อสกุลหมายถึง วงกลม)ขนาดลำตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 6 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบได้ในมาเลเซีย, เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซียเท่านั้น พบทั้งสิ้น 4 ชนิดนี้.

ใหม่!!: ตาและปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ยักษ์

ปลากระดี่ยักษ์ (Giant gourami, Banded gourami, Striped gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trichogaster fasciata อยู่ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ Osphronemidae มีรูปร่างแบนข้างเหมือนปลาในสกุลเดียวกันนี้ชนิดอื่น มีสีสันสวยสะดุดตาเหมือนปลากระดี่แคระ (T. lalia) แต่มีขนาดของลำตัวยาวกว่า ลำตัวเป็นสีส้มอมเหลืองมีแถบสีฟ้าครามพาดเป็นแนวขวางลำตัวเรียงกันตั้งแต่ช่วงอกจนถึงช่วงหาง ขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้วจะยาวได้ประมาณ 12 เซนติเมตร ซึ่งนับได้ว่าใหญ่ที่สุดในสกุลนี้ จึงเป็นที่มาของชื่อว่ากระดี่ยักษ์ พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย, รัฐอัสสัม, บังกลาเทศ ไปจนถึงพม่า และเคยมีรายงานว่าพบในประเทศไทยและคาบสมุทรมลายูด้วย เป็นปลาที่มีนิสัยค่อนข้างเรียบร้อยไม่ก้าวร้าว โดยที่ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายก่อหวอด และเป็นผู้ดูแลไข่ ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 24 ชั่วโมง เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบัน มีการจำหน่ายและส่งออกไปทั่วโลก จนมีการแพร่กระจายพันธุ์แล้วในธรรมชาติของหลายพื้นที่ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ตาและปลากระดี่ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนหางปีก

ปลากระเบนหางปีก (Fintail stingrays) เป็นสกุลของปลากระเบนจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) ใช้ชื่อว่า Dasyatis (/ดา-ซิ-อา-ทิส/) ปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับปลาในสกุล Himantura แต่ปลาในสกุลนี้จะมีลำตัวรูปทรงออกไปทางห้าเหลี่ยมมากกว่า จะงอยปากไม่ยื่นแหลมเท่า มีส่วนของตาที่ปูนโปดกว่า และหางมีความยาวน้อยกว่า และอาจมีริ้วหนังบาง ๆ ในช่วงตอนปลายของหางด้วย นอกจากนี้แล้วยังมีอยู่ชนิดหนึ่ง คือ Neotrygon kuhlii ที่เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Neotrygon ก็ถูกจัดให้อยู่ในสกุลนี้เช่นกัน เนื่องจากสกุลนี้ถือเป็นสกุลต้นแบบของปลาในวงศ์ Dasyatidae โดยคำว่า Dasyatis นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "dasys" หมายถึง "หยาบ" หรือ "ฟัน" และ "batus" หมายถึง "ปลากระเบน".

ใหม่!!: ตาและปลากระเบนหางปีก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนจุดฟ้า

ระวังสับสนกับ: ปลากระเบนทอง ปลากระเบนจุดฟ้า (Bluespotted stingray, Bluespotted maskray) ปลากระดูกอ่อนน้ำเค็มชนิดหนึ่ง จำพวกปลากระเบน อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีจะงอยปากและปลายครีบอกเป็นมุมกว้าง ด้านหลังลำตัวเรียบ หางเรียวยาวกว่าลำตัวเล็กน้อย ตาโตอยู่ชิดกันและมีแถบสีคล้ำระหว่างดวงตา ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลอ่อนอมเทาหรือเหลือง มีจุดประสีฟ้าอ่อนและดำกระจาย ด้านท้องสีจาง ปลายหางมีสีดำ มีปล้องสีขาวอยู่ 1-2 ปล้อง มีขนาดความกว้างของลำตัวประมาณ 50 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่ง ตั้งแต่แนวปะการังไปจนถึงที่ลึกอย่างไหล่ทวีป ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย โดยพบได้ประปรายในทวีปแอฟริกา มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ฝังตัวอยู่ใต้พื้นทรายในที่ตื้น ๆ โดยกินสัตว์น้ำเช่น กุ้ง, ปู และหอย เป็นอาหาร ในเขตน่านน้ำไทยพบได้ชุกชุมในบางพื้นที่ และพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามันหน้า 101, คู่มือปลาทะเล โดย ชวลิต วิทยานนท์ ดร.

ใหม่!!: ตาและปลากระเบนจุดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนไฟฟ้า

ปลากระเบนไฟฟ้า (Electric rays, Numbfishes, Coffin rays, Sleeper rays, Crampfishes) เป็นปลากระเบนที่มีรูปร่างกลม จัดอยู่ในอันดับ Torpediniformes และมีอวัยวะคู่หนึ่งที่สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์รูปหกเหลี่ยมเรียงซ้อนกันเป็นกลุ่ม ตั้งอยู่ทางด้านข้างของตาถัดไปถึงครีบอก ภายในมีสารเป็นเมือกคล้ายวุ้น ทำหน้าที่ในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยความแรงมีตั้งแต่ระดับต่ำเพียง 8 โวลต์ไปจนถึง 220 โวลต์ ขึ้นอยู่กับชนิด กระแสไฟฟ้านี้ใช้เพื่อทำให้เหยื่อสลบหรือฆ่าเหยื่อ ปลากระเบนไฟฟ้าทั้งหมดมีรูปร่างแบนกลม ตามีขนาดเล็กมาก (มีอยู่ 4 ชนิดที่ตาบอด) ส่วนหางพัฒนาอย่างสมบูรณ์แข็งแรง และไม่มีเงี่ยงหางแหลมคมเหมือนปลากระเบนในอันดับอื่น มีลำตัวหนาและอ่อนนุ่ม มีครีบหลัง 2 ตอน หรือไม่มีเลย ปลากระเบนไฟฟ้ามีทั้งหมด 4 วงศ์ (ดูในตาราง) ประกอบด้วย 69 ชนิด 11 สกุล โดยทั้งหมดพบในทะเล พบในบริเวณอบอุ่นในเขตร้อนของมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ปลากระเบนไฟฟ้ามักหมกตัวอยู่ใต้พื้นทราย สามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้หากเหยียบไปถูกเข้า ซึ่งอาจทำให้เกิดเกิดอาการชาและจมน้ำเสียชีวิตได้ อวัยวะสร้างกระแสไฟฟ้าคู่ ปลากระเบนไฟฟ้าในภาษาไทยมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ปลาเสียว" โดยชนิดที่พบได้ในน่านน้ำไทย เช่น ปลากระเบนไฟฟ้าหลังเรียบ (Temera hardwickii), ปลากระเบนไฟฟ้าสีน้ำตาล (Narcine brunnea), N. indica และ Narke dipterygia ส่วนชนิดที่พบได้ในต่างประเทศและเป็นที่รู้จักดีได้แก่ ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก (Torpedo californica), ปลากระเบนไฟฟ้าตาบอด (Typhlonarke aysoni) เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและปลากระเบนไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงเขียว

ปลากะพงเขียว (Blue-gray snapper, Green jobfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างยาวเรียว ลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากยาวปลายมน นัยน์ตาโตและอยู่ใกล้ช่องเปิดเหงือก ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย มีฟันเป็นเขี้ยวที่แหลมคมท่อนหางยาวเรียว มีเกล็ดขนาดเล็กที่หัวและลำตัว ครีบหลังยาว ส่วนของก้านครีบแข็งและอ่อนติดเป็นแผ่นเดียวกัน ครีบหางเว้าเป็นแฉกกว้าง ปลายแฉกเรียวแหลม พื้นลำตัวมีสีเขียวปนน้ำเงิน ส่วนท้องเป็นสีขาวปนเทาจาง ๆ จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Aprion (มาจากภาษากรีกคำว่า "Aprion" หมายถึง "ปราศจาก" กับคำว่า "prion" หมายถึง "เลื่อย") มีความยาวประมาณ 60-80 เซนติเมตร ใหญ่ที่สุดพบยาวถึง 112 เซนติเมตร น้ำหนัก 15.4 กิโลกรัม เป็นปลาที่แพร่กระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่เกาะฮาวาย, แอฟริกาตะวันออก, ญี่ปุ่น จนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบมากที่ทะเลอันดามัน มักพบในหน้าดิน บริเวณเกาะ, แนวปะการัง ในระดับความลึกไม่เกิน 100 เมตร เป็นปลาเศรษฐกิจ ที่มีรสชาติดี มีความสำคัญในการทำประมง.

ใหม่!!: ตาและปลากะพงเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากัด (สกุล)

ปลากัด (Fighting fishes) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Betta (/เบ็ท-ทา/) ในวงศ์ย่อย Macropodinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae.

ใหม่!!: ตาและปลากัด (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนแดง

ปลาการ์ตูนแดง หรือ ปลาการ์ตูนแก้มหนาม (Maroon clownfish, Spine-cheeked clownfish) เป็นปลาน้ำเค็มขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Premnas biaculeatus จัดอยู่ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) วงศ์ย่อยปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) จัดเป็นปลาการ์ตูนเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Premnas ซึ่งแตกต่างไปจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ ที่อยู่ในสกุล Amphiprion สิ่งที่ทำให้ปลาการ์ตูนแดงมีความแตกต่างจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ คือ บริเวณแก้มหรือแผ่นปิดเหงือกมีหนามยื่นออกมาจากตรงกลาง อยู่เหนือริมฝีปากเล็กน้อยขึ้นไปจนถึงบริเวณใต้ดวงตา ซึ่งสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า มีลักษณะลำตัวแบนกว้าง มีโครงสร้างที่ค่อนข้างใหญ่กว่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ โดยเฉพาะปลาเพศเมียที่โดยปกติจะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้อยู่แล้ว และมีสีที่คล้ำกว่า ครีบอกมีขนาดใหญ่ ลำตัวมีสีแดงก่ำ บริเวณแผ่นปิดเหงือก กึ่งกลางลำตัว และโคนหาง มีแถบสีขาวพาด สีของปลาการ์ตูนแดงค่อนข้างหลากหลาย ในปลาขนาดเล็กจะมีตั้งแต่สีแดงสดจนถึงแดงก่ำ และจะค่อย ๆ เข้มขึ้นจนปลาเจริญเติบโตเต็มที่ ขณะที่บางตัวในขนาดเล็กจะมีแต้มสีดำบริเวณตามครีบต่าง ๆ และจะจางหายไปเมื่อปลาโตขึ้น จัดเป็นปลาการ์ตูนที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง โดยมีความยาวเต็มที่ประมาณ 17 เซนติเมตร มีอุปนิสัยก้าวร้าวห่วงถิ่นค่อนข้างมาก พบแพร่กระจายพันธุ์ในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิกจนถึงเกาะไต้หวัน เช่น เกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในออสเตรเลีย เป็นต้น โดยจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Entacmaea quadricolor เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ซึ่งปลาการ์ตูนแดงในเริ่มแรกที่มีการค้นพบและทำการอนุกรมวิธาน ถูกเข้าใจว่าเป็นปลาในวงศ์เดียวกับปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) โดยถูกจับได้ในปี ค.ศ. 1790 ที่อินดีสตะวันออก ซึ่งก็คือ ประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน หลังจากนั้นเมื่อมีการศึกษาเพิ่มเติมขึ้น ก็ถูกเปลี่ยนไปใช้สกุลใหม่และชื่อชนิดใหม่ไปมา จนกระทั่งมาใช้ชื่อสกุลอย่างในปัจจุบัน เมื่อปี ค.ศ. 1817 และชื่อเก่าก็กลายเป็นชื่อพ้องหรือยกเลิกใช้ไป นอกจากนี้แล้ว ปลาการ์ตูนแดงที่อาศัยอยู่บริเวณเกาะสุมาตรา จะมีอยู่กลุ่มหนึ่ง ที่มีลายสีเหลืองเจือด้วยสีฟ้าอ่อนแทนด้วยแถบสีขาว และแถบสีเหลืองนี้จะไม่จางหายไปเมื่อปลาที่พบในแหล่งอื่น ตรงกันข้าม เมื่อปลามีอายุมากขึ้นแถบดังกล่าวจะมีสีเข้มขึ้นด้วย ซึ่งปลาในลักษณะนี้ถูกเรียกกันในแวดวงปลาสวยงามว่า "ปลาการ์ตูนทอง" ซึ่งในปี ค.ศ. 1904 ปลาการ์ตูนทองเคยถูกแยกออกเป็นชนิดใหม่ในชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Premnas epigrammata ด้วย นอกจากนี้แล้วในธรรมชาติ ยังพบปลาการ์ตูนบางตัวที่คาดว่าเป็นลูกผสมระหว่างปลาการ์ตูนแดงกับปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (Amphiprion frenatus) ด้วยในบริเวณทะเลฟิลิปปิน โดยมีสีสันเหมือนปลาการ์ตูนแดงทุกประการ แต่มีครีบต่าง ๆ สั้นกว่ารวมถึงหนามบริเวณแก้มด้วย อนึ่ง ปลาการ์ตูนแดงในตู้เลี้ยงจะมีพฤติกรรมที่แตกต่างจากธรรมชาติ คือ ยอมรับดอกไม้ทะเลได้มากชนิดขึ้น เช่น Macrodactyla doreensis, Heteractis malu, H. magnifica, Crytodendrum adhaesivum แต่กระนั้นก็ขึ้นอยู่กับนิสัยปลาแต่ละตัวด้ว.

ใหม่!!: ตาและปลาการ์ตูนแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาก้างอินเดีย

ปลาก้างอินเดีย หรือ ปลากั๊งอินเดีย (Dwarf snakehead) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีรูปร่างและขนาดลำตัวคล้ายคลึงกับปลาก้าง (C. limbata) ที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์มาก แต่ทว่า ปลาก้างอินเดียนั้นจะมีลำตัวที่ป้อมสั้นกว่า มีจำนวนเกล็ดที่ใต้ขากรรไกรล่างทั้งสองข้างเกล็ดเดียว มีขอบใต้ดวงตาสีแดง และไม่มีครีบท้อง การแพร่ขยายพันธุ์ ปลาเพศผู้จะเป็นฝ่ายอมไข่ในปากจนกว่าลูกปลาจะฟักเป็นตัว และดูแลลูกปลาใกล้ชนิดคู่กับปลาเพศเมีย สีสันบนลำตัวนั้นมีหลากหลายเช่นเดียวกับปลาก้าง มีการกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้ โดยพบที่อินเดีย, รัฐอัสสัม, บังกลาเทศ, ปากีสถาน ไปจนถึงตอนใต้ของประเทศจีน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาก้าง และปลาช่อนเจ็ดสี (C. bleheri) ซึ่งเป็นปลาที่เป็นขนาดเล็กในวงศ์เดียวกันเช่นกัน อนึ่ง ปลาก้างที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์รวมถึงประเทศไทย โดยมากจะใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa gachua เช่นเดียวกับปลาก้างอินเดีย แต่ทว่าข้อเท็จจริงแล้วปลาทั้ง 2 ชนิดนั้นมีความแตกต่างกันพอสมควร แต่ทว่ายังไม่มีเอกสารหรือการยืนยันอย่างถูกต้องจากฝ่ายวิชาการ โดยในทัศนะของนักมีนวิทยาบางท่านเห็นว่า ปลาก้างชนิดที่พบในในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ สมควรใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa limbata (Cuvier, 1831) หรือ Channa aff.

ใหม่!!: ตาและปลาก้างอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวจมูกยาว

ปลาวัวจมูกยาว หรือ ปลาวัวจุดส้ม (Long-nose filefish, Orangespotted filefish, Harlequin filefish, Beaked leatherjacket) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oxymonacanthus longirostris อยู่ในวงศ์ปลาวัวจมูกยาว (Monacanthidae) มีรูปร่างเรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด มีจะงอยปากยื่นยาวคล้ายหลอดหรือท่อ ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนแรกมีเงี่ยงแข็งซึ่งสามารถตั้งชี้หรือกระดกได้เพื่อใช้ข่มขู่ผู้รุกรานหรือป้องกันตัวจากปลาที่ใหญ่กว่า เมื่อเวลาถูกกินเข้าปากจะถูกเงี่ยงนี้ทิ่มเอา ครีบท้องลดรูปลงไปทำให้เล็กและมีก้านครีบแข็งเช่นเดียวกับครีบหลัง สามารถพับเก็บได้ ครีบท้องยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีจุดกลมสีส้มกระจายอยู่ทั่วบนพื้นลำตัวสีเขียวอมฟ้า โดยที่ส่วนหน้าจะเป็นรอยขีดยาวตามดวงตา ที่ปลายครีบหางจะมีจุดสีดำขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ชายฝั่งของทวีปแอฟริกาฝั่งตะวันออกและใต้, โมซัมบิก, ทะเลแดง, ซามัว, หมู่เกาะริวกิวในทะเลจีนตะวันออก, นิวแคลิโดเนีย, ตองกา และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มักอยู่เป็นคู่ โดยจะพบมากที่สุดในแนวปะการัง เพราะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นหลัก พบได้ในความลึกตั้งแต่ 4-30 เมตร หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในเวลากลางคืนในแนวปะการังหรือกองหิน เป็นปลาที่เป็นที่ชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำเนื่องจากเป็นปลาที่สวยงามและไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: ตาและปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวปิกัสโซเรดซี

ปลาวัวปิกัสโซเรดซี (Arabian picasso triggerfish, Picasso triggerfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาวัวปิกัสโซ (R. aculeatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ว่าจะไม่มีลวดลายที่ลำตัว จะมีลวดลายที่บริเวณหน้า ดวงตาสีส้ม ข้อหางมีขีดสีดำพาดตรงจำนวน 3 ขีด บนพื้นสีเงิน มีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลอาหรับและทะเลแดง โดยที่ไม่พบในน่านน้ำไทย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าในประเทศไทย ถือเป็นปลาหาที่ยาก.

ใหม่!!: ตาและปลาวัวปิกัสโซเรดซี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโตปีกเข็ม

ปลาสิงโตปีกเข็ม หรือ ปลาสิงโตครีบขาว (White-lined lionfish, Clearfin turkeyfish, Radiata lionfish, Radial firefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแมงป่อง (Scorpaenidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาสิงโตชนิดอื่น แต่มีครีบอกที่ส่วนปลายเป็นเส้นเรียวเล็กคล้ายปลายเข็ม ครีบหลังมีก้านครีบสั้นกว่า มีติ่งที่ตายาว ลายบนลำตัวเป็นบั้งขนาดใหญ่และมีจำนวนน้อยกว่าปลาสิงโตชนิดอื่น และเป็นสีแดงเข้มหรือสีคล้ำสลับกับลายสีจาง ครีบต่าง ๆ เป็นสีใสปนแดง ปลายครีบอกสีขาว มีขนาดความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ขนาดใหญ่ที่สุด 23 เซนติเมตร เป็นปลากินเนื้อ กินกุ้งและปลาขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยอยู่ตามแนวปะการัง ของเขตอินโด-แปซิฟิก, แอฟริกาใต้, หมู่เกาะริวกิว, นิวแคลิโดเนีย ในน่านน้ำไทยจัดเป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อย โดยพบได้ที่ฝั่งทะเลอันดามันเท่านั้น เช่น หมู่เกาะสุรินทร์, หมู่เกาะสิมิลัน, หมู่เกาะอาดัง-ราวี เป็นต้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาสิงโตปีกเข็ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ

ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ (Emperor angelfish) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus imperator อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ กล่าวคือ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 40 เซนติเมตร มีลายสีเหลืองสลับสีน้ำเงินตามความยาวลำตัว ลำตัวเป็นรูปสี่เหลี่ยม และมีเงี่ยงที่บริเวณแผ่นปิดเหงือก มีแถบสีดำตัดด้วยเส้นสีน้ำเงินบาง ๆ ตั้งแต่บริเวณหน้าผากผ่านดวงตาลงมาและย้อนขึ้นไปตัดกับลายเส้นบนลำตัว ครีบและแก้มเป็นสีน้ำเงิน และปลายปากเป็นสีขาว มักพบในแหล่งที่น้ำใสของแนวปะการังที่สมบูรณ์ ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน แต่จะพบได้ในทะเลอันดามันมากกว่า เป็นปลาที่มักอยู่ลำพังตัวเดียวหรืออยู่เป็นคู่ ในความลึกตั้งแต่ 3-100 เมตร ในช่วงที่เป็นปลาวัยอ่อนนั้น จะมีสีน้ำเงิน มีเส้นลายสีขาวและมีลายก้นหอยบริเวณส่วนปลายของลำตัวใกล้โคนหาง และไม่มีสีเหลืองมาปะปน กระทั่งเติบโตขึ้น ครีบหางและครีบใต้ท้องด้านใกล้โคนหางก็จะเริ่มมีสีเหลืองและลวดลายของลำตัวก็จะเริ่มเปลี่ยนไป จนกระทั่งมีลวดลายและสีสันคล้ายกับปลาที่โตเต็มที่ขึ้นมาเรื่อย ๆ ตามวัย สันนิษฐานว่าเป็นไปเพื่อป้องกันตัวจากนักล่า เนื่องจากเป็นปลาที่ไม่ดูแลลูกอ่อน ปลาสินสมุทรจักรพรรดิเป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยจะต้องจับปลามาจากแหล่งกำเนิดในทะเล จัดว่าเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายชนิดหนึ่ง สามารถฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ไม่ยาก โดยต้องทำการเลี้ยงในตู้ที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 นิ้วขึ้นไป เนื่องจากเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งพฤติกรรมในที่เลี้ยง ปลาสินสมุทรจักรพรรดิเป็นปลาที่มีความก้าวร้าวต่อปลาชนิดเดียวกันหรือวงศ์เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน แต่มีความสุภาพต่อปลาในวงศ์อื่น ๆ ปลาสินสมุทรจักรพรรดิที่พบในอ่าวไทยหรือด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีความแตกต่างปลาสินสมุทรจักรพรรดิที่พบในทะเลอันดามัน หรือ มหาสมุทรอินเดีย คือ ไม่มี "เปีย" หรือชายครีบบนที่ยื่นยาวออกมาเป็นเส้นคล้ายกับปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน โดยปลาที่มีเปียยื่นยาวออกมาจะมีราคาซื้อขายที่แพงกว่าพวกที่ไม่มี.

ใหม่!!: ตาและปลาสินสมุทรจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสีขน

ปลาสีขน หรือ ปลาหางกิ่วหม้อ หรือ ปลากะมงตาแดง หรือ ปลากะมงตาโต (Bigeye trevally, Dusky jack, Great trevally) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีลำตัวค่อนข้างอ้วน ยาวเรียว หัวมีขนาดใหญ่และป้อม ปากกว้าง เกล็ดมีขนาดปานกลางบริเวณเส้นข้างลำตัวมีเกล็ดขนาดใหญ่แข็งคม โดยเฉพาะบริเวณโคนหาง ตามีขนาดใหญ่อยู่เกือบสุดปลายจะงอยปาก ครีบอกยาวเรียวแหลม ครีบหลังยาวแยกเป็นสองอัน อันที่เป็นก้านครีบแข็งสั้น อันอ่อนส่วนหน้ายกสูงขึ้นและมีขนาดใกล้เคียงกับครีบก้น ครีบท้องมีขนาดเล็กอยู่ใต้ครีบอก ครีบหางปลายเป็นแฉกลึก พื้นลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำเงินปนเขียว จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่อีกชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 120 เซนติเมตร หนัก 18 กิโลกรัม แต่ขนาดโดยเฉลี่ยราว 40-60 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรเขตร้อน ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย อย่างกว้างขวาง ตั้งแต่แคลิฟอร์เนีย, เอกวาดอร์, แอฟริกาใต้, ญี่ปุ่นทางตอนเหนือ จนถึงออสเตรเลียด้วย สำหรับในน่านน้ำไทยจะพบชุกชุมบริเวณช่องเกาะคราม, แสมสาร, เกาะเต่า ในฝั่งอ่าวไทย และฝั่งทะเลอันดามัน โดยมักจะอยู่รวมกันบางครั้งอาจพบได้ใต้โป๊ะ เป็นต้น และพบได้ถึงแหล่งน้ำจืด เป็นปลาที่มีรสชาติดี จึงนิยมบริโภคเป็นอาหาร และตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงามในน้ำจืด หรือน้ำกร่อย โดยเลี้ยงกันตั้งแต่ยังเล็ก ๆ เหมือนเช่นปลากะมงพร้าว (C. ignobilis) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า หน้า 123-128, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ คอลัมน์ Wild Ambition โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์, กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ.

ใหม่!!: ตาและปลาสีขน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียน

ปลาสเตอร์เจียน (Sturgeon, Oсетр, 鱘) ปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่ในวงศ์ Acipenseridae ในอันดับ Acipenseriformes อาศัยได้อยู่ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เมื่อยังเล็กจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ทะเลสาบหรือตามปากแม่น้ำ แต่เมื่อโตขึ้นจะว่ายอพยพสลงสู่ทะเลใหญ่ และเมื่อถึงฤดูวางไข่ก็จะว่ายกลับมาวางไข่ในแหล่งน้ำจืด ปลาสเตอร์เจียน เป็นปลาที่มนุษย์ใช้เป็นอาหารมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งไข่ปลา ที่เรียกว่า คาเวียร์ ซึ่งนับเป็นอาหารราคาแพงที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ปลาสเตอร์เจียน มีรูปร่างคล้ายปลาฉลาม มีหนามแหลมสั้น ๆ บริเวณหลัง หัว และเส้นข้างลำตัวไว้เพื่อป้องกันตัว มีหนวดทั้งหมด 2 คู่อยู่บริเวณปลายจมูก ปลายหัวแหลม ปากอยู่ใต้ลำตัว ลำตัวไม่มีเกล็ด ภายในปากไม่มีฟัน ตามีขนาดเล็ก ซึ่งหนวดของปลาสเตอร์เจียนนี้มีหน้าที่สัมผัสและรับคลื่นกระแสไฟฟ้าขณะที่ว่ายน้ำ เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่ด้านใต้ของลำตัว เพราะฉะนั้นหนวดเหล่านี้มีหน้าที่เหมือนมือที่คอยสัมผัสกับสิ่งของที่อยู่ข้างใต้ของตัวเอง หากินตามพื้นน้ำโดยอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ สเตอร์เจียนจะพบแต่เฉพาะซีกโลกทางเหนือซึ่งเป็นเขตหนาวเท่านั้น ได้แก่ ทวีปเอเชียตอนเหนือและตะวันออก, ทวีปยุโรปตอนเหนือ และทวีปอเมริกาเหนือตอนบน เช่น อะแลสกา, แคนาดา และบางส่วนในสหรัฐอเมริกา สถานะปัจจุบันของปลาชนิดนี้ในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์เต็มที แต่ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในบางชนิด ปลาสเตอร์เจียน มีทั้งหมด 27 ชนิด ใน 3 สกุล โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลาฮูโซ่ (Huso huso) พบในรัสเซีย สามารถโตเต็มที่ได้ถึง 5 เมตร หนักกว่า 900 กิโลกรัม และมีอายุยืนยาวถึง 210 ปี นับเป็นปลาที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลก เท่าที่มีการบันทึกมา และเป็นชนิดที่ให้ไข่รสชาติดีที่สุดและแพงที่สุดด้วย ส่วนชนิดที่เล็กที่สุดคือ ปลาสเตอร์เจียนแคระ (Pseudoscaphirhynchus hermanni) ที่โตเต็มที่มีขนาดไม่ถึง 1 ฟุตเสียด้วยซ้ำ นอกจากนี้แล้ว ปลาสเตอร์เจียนยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ในประเทศไทย ปลาสเตอร์เจียนชนิด ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย (Acipenser baerii) ได้มีการทดลองเลี้ยงในโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ดอยคำ อันเป็นโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่อำเภอเวียงแหง ที่หน่วยวิจัยประมงบนพื้นที่สูงดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผลการทดลองเป็นไปได้อย่างดี.

ใหม่!!: ตาและปลาสเตอร์เจียน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนยุโรป

ปลาสเตอร์เจียนยุโรป หรือ ปลาสเตอร์เจียนธรรมดา (Baltic sturgeon, Common sturgeon, European sturgeon) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสเตอร์เจียน (Acipenseridae) มีรูปร่างหนาตัวยาวเรียว มีเกล็ดซึ่งเรียงกันเป็นหนามอยู่ 5 แถวทำให้ลำตัวเป็นเหลี่ยม ส่วนหัวขนาดใหญ่ค่อนข้างยาวแบนลง ส่วนปลายสุดค่อน ข้างแหลมงอนขึ้นเล็กน้อย มีลักษณะคล้ายพลั่วตักดิน ตามีขนาดเล็กสีดำกลมกลืนกับ สีลำตัวที่ด้านหน้าตอนใต้ของตามีช่องเปิด 2 ช่อง ช่วยในการหายใจ และดมกลิ่น ปาก อยู่ด้านใต้ที่ส่วนหน้าของปากมีหนวด 4 เส้น ซึ่งเป็นประสาทสัมผัสที่ไวมาก ปากสามารถ ยืดหดออกมาเพื่อดูดอาหาร มีครีบ 7 ครีบ ครีบหลังอยู่ค่อนไปทางโคนหางมีขนาดเล็ก หน้าครีบหลังมีแถวหนามเรียงกัน โดยเริ่มตั้งแต่ด้านหลังส่วนหัวเป็นต้นไป ครีบหางเป็นแฉกเว้ายาวไม่เท่ากัน ครีบหางตอนบนจะยื่นยาวออกไปมากกว่าครีบหางตอนล่าง ซึ่งสั้นมากลักษณะคล้ายหางของปลาฉลาม ครีบท้องและครีบก้นอยู่ค่อนมาทางตอน ท้ายของลำตัว สีลำตัวเป็นสีเทาเข้ม หรือสีดำ ส่วนใต้ท้องมีสีขาวจาง มีความยาวโดยเฉลี่ย 1–2 เมตร พบใหญ่ที่สุดถึง 3.5 เมตร น้ำหนักโดยเฉลี่ย 150 กิโลกรัม พบหนักที่สุดถึง 315 กิโลกรัม อายุเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ในตัวเมียอยู่ที่ 16–18 ปี ขณะที่ตัวผู้อยู่ที่ 12–14 ปี มีอายุยืนได้ถึง 40 ปี พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น ทะเลสาบ, แม่น้ำ ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ยกเว้นทะเลดำ ปลาสเตอร์เจียนยุโรป เป็นปลาสเตอร์เจียนชนิดที่นิยมบริโภคและนำไข่ทำคาเวียร์ มากที่สุด อีกทั้งลูกปลาขนาดเล็กยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและปลาสเตอร์เจียนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอฟลามิงโก้

ปลาหมอฟลามิงโก้ หรือ ปลาหมอไมดาส (Red devil cichild, Midas cichlid) เป็นปลาชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ จัดเป็นปลาหมอสีที่มีรูปร่างใหญ่ เมื่อโตเต็มที่จะยาวได้ 25-30 เซนติเมตร มีลักษณะลำตัวค่อนข้างแบนกว้าง ส่วนหัวจะมีโหนกนูนอย่างเห็นได้ชัดเจนเมื่อโตเต็มที่ ริมฝีปากหนา ตาสีดำ ครีบอกแผ่กว้างปลายมนเล็กน้อย ครีบกระโดงหลังจะเรียวยาวแผ่กว้างไปทางด้านหลัง ครีบท้อง 2 อันเท่ากัน ขณะที่ครีบทวารจะแผ่กว้างคล้ายครีบกระโดงแต่ไม่ยาวมาก ครีบหางแผ่กว้างปลายมนเล็กน้อย ลำตัวมีสีหลากหลายทั้งสีส้ม, เหลือง, ขาว ปนอยู่ โดยมีแถบสีดำแซม ขึ้นอยู่กับที่การเปลี่ยนสี หรือ "การลอก" ในภาษาเฉพาะของวงการปลาสวยงามว่าจะออกมาเป็นอย่างไร ซึ่งปลาที่มีสีส้มหรือแดง นิยมเรียกว่า ปลาหมอเรดเดวิล หรือ ปลาหมอเรดอเมริกา ปลาหมอฟลามิงโก้เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าว หวงอาณาเขตเป็นปลาที่อยู่ตามลำพังเพียงตัวเดียว ชอบขุดคุ้ยซอกหิน ซอกไม้ ในการหลบซ่อนตัว โดยเฉพาะปลาตัวผู้ที่มีโหนกใหญ่บนหัวจะก้าวร้าวมาก ปลาหมอฟลามิงโก้ นั้นสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยงตั้งแต่ขนาด 24 นิ้วขึ้นไป โดยวางไข่ติดไว้กับพื้นหรือหิน ตัวเมียเมื่อมีความสมบูรณ์เต็มที่จะออกไข่ได้ครั้งละ 400-800 ฟอง ลักษณะไข่มีสีเหลืองนวล ไข่ใช้เวลา 3 วัน ในการฟักเป็นตัว แยกเพศโดยการสังเกตที่ส่วนท้อง ช่องเพศของตัวเมียจะมีลักษณะกลมใหญ่กว่า ขณะที่ตัวผู้จะยาวแหลมยื่นออกมา และมีลำตัวและส่วนหัวใหญ่กว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัด ปลาหมอฟลามิงโก้ ถือเป็นปลาชนิดที่เป็นต้นแบบของปลาหมอลูกผสม หรือที่เรียกกันว่า ครอสบรีด เช่น ปลาหมอฟลาวเวอร์ฮอร์น เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและปลาหมอฟลามิงโก้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอมาคูลิคัวด้า

ปลาหมอมาคูลิคัวด้า หรือ ปลาหมอเวียจา (Spotted cichlid, Blackbalt cichild) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นลำตัวสีน้ำตาลจางแกมเหลือง แต่อาจมีสีม่วงแซมอยู่บ้าง มีจุดเล็ก ๆ สีดำกระจายทั่วไปตั้งแต่กลางลำตัวไปจนถึงบริเวณหาง และมีแถบเส้นสีดำขนาดใหญ่พาดกลางลำตัวในแนวตั้งคล้ายคาดเข็มขัดเป็นจุดเด่น แลเห็นชัดเจน หัวมีลักษณะค่อนข้างกลม ปากใหญ่ ริมฝีปากค่อนข้างหนา แก้มและท้องมีสีแดงเรื่อ ๆ นัยน์ตามีสีเขียว ครีบอกใส ครีบกระโดงหลังแผ่กว้างบริเวณส่วนปลายครีบเรียวแหลม เช่นเดียวกับครีบทวารแต่สั้นกว่า ครีบหางมีขนาดใหญ่ ปลายมนกลม ทุกครีบ ยกเว้นครีบอกมีจุดสีดำกระจายทุกครีบโดยมีพื้นสีม่วงจาง ๆ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 35-40 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในภาคพื้นอเมริกากลางตั้งแต่ตอนใต้ของเม็กซิโก, นิคารากัว, ปานามา จนถึงทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปลาหมอมาคูลิคัวด้า จัดเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีนิสัย ก้าวร้าว หวงถิ่น เมื่อเทียบกับปลาหมอสีขนาดใหญ่ชนิดอื่น ๆ และมีนิสัยชอบขุดคุ้ยกรวดทรายบริเวณพื้นตู้ และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในตู้เลี้ยงได้ เมื่อปลาจับคู่ได้แล้ว โดยปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายเลือกมุมหนึ่งของตู้เพื่อสร้างรัง ด้วยการใช้ปากคาบกรวดไปทิ้งรอบ ๆ เป็นวงกลม และเชิญชวนปลาตัวเมียมาวางไข่ โดยที่จะปล่อยไข่ออกมาด้วยการใช้ท้องถูกับวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าปฏิสนธิ เมื่อปลาตัวเมียปล่อยไข่หมดแล้ว ก็จะเสร็จสิ้นการผสมพันธุ์ จากนั้นปลาทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่ โดยที่ไข่ใช้เวลาฟักประมาณ 2-3 วัน.

ใหม่!!: ตาและปลาหมอมาคูลิคัวด้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอริวูเลตัส

ปลาหมอริวูเลตัส (Green terror) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะเด่น คือ มีลวดลายสีฟ้าสะท้อนแสงที่หน้า เมื่อปลาโตเต็มที่ลวดลายดังกล่าวจะยิ่งแตกเป็นลายพร้อยมากขึ้น รวมถึงบริเวณริมฝีปากด้วย ขอบครีบหลังและครีบก้นมีขลิบสีแดงพาดยาวไปจนถึงความยาวสุดของครีบหลัง บริเวณลำตัวมีลายเหมือนตาข่ายและมีจุดสีดำขนาดใหญ่ที่กลางลำตัว ในบางตัวอาจจะเป็นลายยาว และบริเวณแผ่นปิดเหงือกจะมีแถบสีดำยาวตั้งแต่ตาไปจนถึงแก้ม แต่สีดังกล่าวจะซีดลงได้เมื่อปลาตกใจหรืออยู่ในภาวะเครียด ปลาหมอริวูเลตัส มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ราว 25-30 เซนติเมตร โดยเฉพาะในปลาตัวผู้จะมีสีสันและลำตัวขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก และมีส่วนหัวที่โหนก ขณะที่ตัวเมียมีความยาวได้แค่ครึ่งของตัวผู้ คือ ราว ๆ 12 เซนติเมตร และไม่มีโหนกที่ส่วนหัว แพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำต่าง ๆ บริเวณภาคตะวันตกของประเทศเอกวาดอร์ และทางตอนเหนือของเปรู ซึ่งปลาหมอริวูเลตัสในแต่ละแหล่งอาจมีสีและลักษณะต่าง ๆ แตกต่างกันได้ตามภูมิประเทศที่อาศัย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวมากนักเมื่อเทียบกับปลาหมอสีชนิดอื่น สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้จะมีสีสันและลวดลายต่าง ๆ สวยกว่าปกติ ช่องเพศจะขยายใหญ่ขึ้น รวมถึงปลาตัวเมียก็จะมีสีเข้มขึ้น และจะมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมากขึ้น โดยตัวเมียจะเป็นฝ่ายขุดหลุมและวางไข่ ซึ่งบางครั้งอาจวางไข่ติดกับวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ จากนั้นตัวผู้จะเข้าไปฉีดน้ำเชื้อปฏิสนธิ และทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่ ตัวเมียจะวางไข่ได้ครั้งละ 200-300 ฟอง ลูกปลาจะฟักเป็นตัวในวันที่ 3 และวันที่ 4 ก็จะเริ่มว่ายน้ำได้.

ใหม่!!: ตาและปลาหมอริวูเลตัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอสีไซไพรโครมิส

ปลาหมอสีไซไพรโครมิส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cyprichromis (/ไซ-ไพร-โคร-มิส/) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 5-6 นิ้ว โดยเฉลี่ยประมาณ 3.5 นิ้ว จัดเป็นปลาที่มีนิสัยรักสงบ มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ตั้งแต่หลักร้อยจนถึงหลักพัน มีรูปร่างเรียวยาว ตากลมโต ปลายปากยาว ตัวผู้มีสีสันที่สดใสสวยงาม มักมีสีต่าง ๆ เช่น ฟ้า, เหลือง, ดำ, ม่วง หรือมีเหลือบสีขาว และมีการพัฒนาการของสีตามช่วงวัย มักอาศัยอยู่ตามโขดหินหรือตามหลีบซอกของวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ หากินบริเวณกลางน้ำและผิวน้ำ กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอนและสัตว์น้ำขนาดเล็กที่ลอยตามกระแสน้ำ ขณะที่ปลาตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า พฤติกรรมเมื่อผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้ที่มีขนาดใหญ่สุดจะเป็นจ่าฝูง จะคอยกางครีบและขับสีออกมาเรียกร้องความสนใจจากตัวเมียภายในฝูง และข่มตัวผู้ตัวอื่น ๆ เมื่อผสมพันธุ์กัน ตัวผู้จะงอตัวและทำปากห่อ เพื่อกระตุ้นให้ตัวเมียปล่อยไข่ออกมา เมื่อไข่ถูกปล่อยออกมา ตัวเมียจะงับน้ำเชื้อจากตัวผู้ที่ปล่อยออกมา ให้ผสมกับไข่ที่อยู่ในปาก จำนวนของไข่ขึ้นอยู่กับขนาดของปลาตัวเมีย โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.3 เซนติเมตร จำนวนไข่ในแต่ละครั้งประมาณ 5-25 ฟอง โดยตัวเมียจะอมไข่จนกว่าไข่จะฟักเป็นตัวใช้เวลาประมาณ 18-20 วัน โดยไม่กินอะไรเลย ปลาในสกุลไซไพรโครมิสนี้พบกระจายพันธุ์ในส่วนต่าง ๆ ของทะเลสาบแทนกันยีกา ในตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมกันมาอย่างยาวนานแล้ว โดยมีชนิดที่ค้นพบใหม่ ๆ ขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีชนิดที่รู้จักกันดีที่สุด คือ ปลาหมอสีเลบโตโซม่า (C. leptosoma).

ใหม่!!: ตาและปลาหมอสีไซไพรโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอออสเซลาริส

ปลาหมอออสเซลาริส (Peacock cichlid, Butterfly peacock bass) ปลาน้ำจืดขนาดกลางค่อนไปทางใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างยาวปานกลาง ลำตัวแบนข้างเหมือนปลากะพง ริมฝีปากหนา มีกรามแข็งแรง ดวงตากลมโต เมื่อขนาดโตเต็มที่แล้วจะมีโหนกขึ้นบริเวณส่วนหัวด้านบน พื้นลำตัวมีสีเหลืองเขียวอมส้ม มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีดำที่ลำตัวและโคนหาง และมีจุดสีดำเหนือแผ่นปิดเหงือก และที่บริเวณครีบอก มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ถึง 75 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในหลายประเทศในทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลาที่กินปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร รวมถึงแมลงด้วย เป็นปลาที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา ใช้บริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปัจจุบันได้เพาะขยายพันธุ์ได้เป็นที่สำเร็จแล้ว จนกลายเป็นปัญหาทางสิ่งแวดล้อมในเรื่องชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเช่น สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น, สิงคโปร์, มาเลเซีย และประเทศไทย ซึ่งปลาสามารถที่จะปรับตัวและแพร่ขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ โดยตัวเมียสามารถวางไข่ได้ครั้งละ 5,000 ถึง 15,000 ฟอง.

ใหม่!!: ตาและปลาหมอออสเซลาริส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย

ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย หรือ ปลาหมอแรมโบลิเวีย (Bolivian butterfly cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mikrogeophagus altispinosus อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichildae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี (M. ramirezi) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่ทว่าปลาหมอแคระแรมโบลิเวียมีขนาดที่ใหญ่กว่า โดยมีความยาวได้ 8 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ มีพื้นลำตัวเป็นสีกากีอมเทาเล็กน้อย ช่วงแก้มและแผ่นปิดเหงือกจะมีสีเหลือบฟ้าและเขียวสะท้อนแสง ตรงช่วงหน้าจนถึงกลางลำตัวเป็นสีเหลืองหรือเหลืองเกือบเข้ม มีสีดำพาดผ่านดวงตาทั้งสองข้าง ตรงกลางลำตัวมีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่แลดูเด่น มีครีบอกที่แหลมยาวเป็นสีชมพู และในช่วงผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้จะมีสีที่เข้มและสวยกว่านี้ พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำมาโมเรและแม่น้ำกัวโปเร ในประเทศบราซิลและโบลิเวีย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาหมอแคระจำพวกอื่น ปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย เมื่อถูกค้นพบครั้งแรกได้ถูกตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crenicara altispinosa ซึ่งคำว่า "altispinosa" เป็นภาษาละติน แยกออกเป็น 2 คำคือ "Altus" แปลว่าสูง และ "Spinosus" แปลว่าลักษณะที่เป็นหนาม รวมสองคำแล้วแปลว่า "ปลาที่มีครีบกระโดงสูง".

ใหม่!!: ตาและปลาหมอแคระแรมโบลิเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหัวตะกั่ว

ระวังสับสนกับ ปลาซิวหัวตะกั่ว ปลาหัวตะกั่ว หรือ ปลาหัวเงิน หรือ ปลาหัวงอน (Blue panchax, Whitespot panchax) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aplocheilus panchax อยู่ในวงศ์ปลาหัวตะกั่ว (Aplocheilidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาซิวข้าวสาร (Adrianichthyidae) ซึ่งเป็นปลาต่างวงศ์กัน มีลำตัวกลมยาว หัวโตกว้าง มองด้านข้างเห็นปลายแหลม สันหัวแบน ปากซึ่งอยู่ปลายสุดเชิดขึ้น ตาโต และอยู่ชิดแนวสันหัว เกล็ดใหญ่ ครีบต่าง ๆ มีขอบกลม ครีบหลังมีขนาดเล็กอยู่ใกล้ครีบหาง พื้นลำตัวมีสีเทาอมเหลือง ครีบต่าง ๆ สีออกเหลือง โคนครีบหลังสีดำ มีจุดเด่น คือ มีจุดกลมสีเงินเหมือนสีของตะกั่วขนาดใหญ่โดดเด่นอยู่บนสันหัวระหว่างนัยน์ตา อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดยาวประมาณ 8 เซนติเมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 3-6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำจืดและน้ำกร่อยตั้งแต่อนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยพบกระจายอยู่ทุกภาค จัดเป็นปลาที่หาได้ง่าย และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในวงศ์นี้ที่พบได้ในประเทศ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินตัวอ่อนของแมลงน้ำ เช่น ลูกน้ำและแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร ตัวผู้มีขนาดตัวที่ใหญ่กว่าตัวเมีย ครีบใหญ่กว่าและสีสันต่าง ๆ ก็สดกว่า และมีนิสัยก้าวร้าวชอบกัดกันเองในฝูง ผู้คนในสมัยโบราณจึงนักนิยมจับมาเลี้ยงดูเพื่อการกัดกันเป็นการพนันเหมือนปลากัดหรือปลาเข็ม หลวงมัศยจิตรการและโชติ สุวัตถิ ได้กล่าวถึงปลาหัวตะกั่วเมื่อปี พ.ศ. 2503 ไว้ว่า ปลาหัวตะกั่วมีชื่อเรียกในภาษาใต้ว่า "หัวกั่ว" ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์กันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาหัวตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางไหม้

ปลาหางไหม้ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาฉลามหางไหม้ (Bala shark, Burn tail shark, Silver shark, Black tailed shark) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Balantiocheilos (/บา-แลน-ทิ-โอ-ไคล-ออส/) มีรูปร่างคล้ายปลาตามิน (Amblyrhynchichthys truncatus) มีรูปร่างและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา ใต้คางมีแผ่นหนังเป็นถุงเปิดออกด้านท้าย ก้านครีบแข็งก้านสุดท้ายของครีบหลังมีขนาดใหญ่ และมีขอบจักเป็นฟันเลื่อย จะงอยปากแหลม มีเยื่อไขมันเป็นวุ้นรอบนัยน์ตา ครีบท้องมีก้านครีบแขนงทั้งหมด 9 ก้าน ไม่มีหนวด มีลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลำตัว โดยเฉพาะครีบหางซึ่งเว้าเป็นแฉกลึก สีของลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ด้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นและครีบหางสีส้มแดงหรือสีเหลืองอมขาว และมีขอบเป็นแถบดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ว่ายน้ำได้ปราดเปรียวมาก และกระโดดขึ้นได้สูงจากน้ำมาก มีขนาดโตเต็มราว 20–30 เซนติเมตร.

ใหม่!!: ตาและปลาหางไหม้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอมไข่ครีบยาว

ปลาอมไข่ครีบยาว (Banggai cardinalfish, Longfin cardinalfish, Kaudern's cardinal) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาอมไข่ (Apogonidae) ถือเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pterapogon มีครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ส่วนจากกันชัดเจนและมีครีบที่ยาวมาก มีก้านครีบแข็ง 8 ก้าน ก้านครีบอ่อน 14 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 2 ก้าน และก้านครีบอ่อน 13 ก้าน ครีบหางยาวเป็นรูปส้อมชัดเจน ลำตัวมีสีขาวเงิน มีแถบสีดำพาดขวางผ่านลำตัว 3 แถบ คือ ที่ตา, ที่ครีบหลังอันที่ 1 และครีบหลังอันที่ 2 มีแถบดำตามความยาวของครีบหลัง ครีบก้น และครีบหางทั้งด้านบนและด้านล่าง มีจุดสีขาวกระจายทั่วลำตัวและครีบต่าง ๆ ยกเว้นครีบอก ที่มีลักษณะโปร่งแสง การเกิดจุดสีขาวของปลานี้จะแตกต่างกันไปเป็นเอกลักษณะเฉพาะตัว จัดเป็นปลาขนาดเล็กมีขนาดความยาวเต็มที่ 8 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไป คือ 4-5 เซนติเมตร เป็นปลาที่อยู่รวมกันเป็นฝูงตั้งแต่ไม่กี่ตัวจนถึงหลายร้อยตัวในแนวปะการังร่วมกับสิ่งมีชีวิตอย่างอื่น ปลาในวัยรุ่นมักหลบซ่อนอยู่ตามหญ้าทะเล, สาหร่าย, เม่นทะเล, ดาวขนนก, ปะการัง, ปะการังอ่อน โดยใช้เป็นที่ซ่อนภัยจากผู้ล่า อาศัยอยู่ในความลึกตั้งแต่ 0.5-6 เมตร แต่มักพบในความลึกประมาณ 1.5-2.5 เมตร ออกหากินในเวลากลางวัน โดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น แพลงก์ตอน, ครัสเตเชียนขนาดเล็ก เป็นต้น พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลแถบอินโด-แปซิฟิก แต่ไม่พบในน่านน้ำไทย แต่จะพบชุกชุมที่เกาะบังไก ประเทศอินโดนีเซีย ปลาอมไข่ครีบยาว เป็นปลาที่แพร่ขยายพันธุ์ได้ง่ายและไวมาก โดยการสำรวจเมื่อปี ค.ศ. 2005 พบมีประชากรอยู่ประมาณ 2.4 ล้านตัว แต่ถูกจับไปเลี้ยงเป็นปลาสวยงามถึงปีละ 700,000-900,000 ตัวต่อปี โดยอายุขัยโดยเฉลี่ยอยู่ได้ราว 2.5 ปี โดยพบที่อายุยืนสูงสุดถึง 4-5 ปี เป็นปลาที่ปัจจุบันเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยปลาตัวผู้จะอมใข่และกระทั่งลูกปลาฟักเป็นตัว และพัฒนากลายมาเป็นลูกปลา ซึ่งพ่อปลาจะดูแลลูกปลาจนกว่าจะเติบโตอย่างแข็งแรงที่จะเอาตัวรอด จึงปล่อยไป แต่ปลาที่มีขายกันในตลาดปลาสวยงามส่วนใหญ่ ยังเป็นปลาที่จับมาจากแหล่งน้ำในธรรมชาต.

ใหม่!!: ตาและปลาอมไข่ครีบยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาออสการ์

ปลาออสการ์ (Oscar fish, Red belvet, Velvet cichlid, Marbled cichlid, Peacock-eyed cichilld, Tiger oscar, Peacock cichilld) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาพันธุ์พื้นเมืองของลุ่มแม่น้ำโอริโนโก, แม่น้ำอะเมซอน และแม่น้ำลา พลาตา ในทวีปอเมริกาใต้อย่างกว้างขวาง เช่น ประเทศบราซิล, โคลอมเบีย, เปรู, เฟรนช์เกียนา, อุรุกวัย, เวเนซุเอลา และอาร์เจนตินา เป็นปลาที่หากินในบริเวณแหล่งน้ำที่เป็นน้ำตื้นทีมีพื้นท้องน้ำเป็นโคลนปนทรายหรือกรวดทราย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 45.7 เซนติเมตร คุณภาพของน้ำในแหล่งที่พบอาศัยมีอุณหภูมิระหว่าง 22-25 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ประมาณ 6.0-8.0 มีรูปร่างแบนข้างและลำตัวป้อม ส่วนหัวค่อนข้างใหญ่ ตาโต ปากกว้าง ริมฝีปากหนา ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเขียว ที่ขอบของแผ่นกระดูกปิดเหงือกและด้านล่างของลำตัวมีสีส้มอมแดงหรือส้มจาง ๆ ที่ด้านบนของคอดหางมีจุดกลมสีดำคล้ายลูกตาดำและมีวงสีส้มอมแดงล้อมรอบ เป็นปลาที่ว่ายน้ำช้า กินสัตว์อื่นเป็นอาหารได้หลากหลาย ทั้งสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ และแมลงด้วย ปลาออสการ์ เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในพื้นถิ่น โดยจะพบวางขายกันในตลาดสด มีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Acará-acu และเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะการเป็นปลาสวยงาม ซึ่งนิยมเลี้ยงกันมาอย่างยาวนาน จัดเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่เลี้ยงดูลูกอ่อน ทั้งเพศผู้และเพศเมีย ในราวต้นพุทธทศวรรษ 2500 ถือเป็นปลาหมอสีชนิดแรก ๆ ที่นำเข้ามาสู่ประเทศไทย ในฐานะปลาสวยงาม ซึ่งมีราคาซื้อขายแพงมาก โดยตกคู่ละ 500 บาท (ราคาทองคำแท่งในขณะนั้นบาทละ 400 บาท) ปัจจุบัน มีการเพาะเลี้ยงกันจนมีสีสันที่สวยงามกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมมาก เช่น ปลาเผือก, สีเหลืองสดหรือสีทองหรือสีแดงสดทั้งตัว รวมทั้งมีแบบที่มีครีบยาวกว่าปกติด้วย โดยชื่อ "ออสการ์" นั้นมาจากชื่อกลางของนักมีนวิทยาชาวสวีเดน สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ ที่ศึกษาโดยเฉพาะกับปลาในวงศ์ปลาหมอสี.

ใหม่!!: ตาและปลาออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีตุ่น

ปลาผีตุ่น (White knifefish, Oddball knifefish, White trumpet knifefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแบล็คโกสต์ (Apteronotidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Orthosternarchus โดยที่ปลาชนิดนี้ถูกค้นพบโดย จอร์จ อัลเบิร์ต บุลเลเยอร์ ในปี ค.ศ. 1880 โดยใช้ชื่อครั้งแรกว่า Sternarchus tamandu ซึ่งคำว่า tamandua ซึ่งเป็นชื่อชนิดนั้นมาจากภาษาตูเปียนคำว่า tamanduá ซึ่งหมายถึง "ตัวกินมด" เนื่องจากมีจมูกและปากที่ยาวเป็นท่อเหมือนกัน มีรูปร่างเหมือนกับปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน แต่มีจุดเด่นคือ มีลำตัวสีขาวซีดตลอดทั้งตัว โดยไม่มีสีอื่นแซม เหมือนภาวะผิวเผือก และตาได้ลดรูปลงจนมีขนาดเล็กมาก เป็นจุดเล็ก ๆ เหมือนปลาถ้ำ เนื่องจากไม่ได้ใช้ประโยชน์ และมีช่วงจมูกและปากที่ยาวเหมือนท่อหรือทรัมเป็ต ช่องปากเป็นเพียงช่องเล็ก ๆ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 44 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในส่วนลึกของแม่น้ำที่ขุ่นและเชี่ยวมากในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรู แต่จะไม่พบในป่าที่น้ำท่วม มีพฤติกรรมชอบว่ายน้ำลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ กินอาหารที่เป็นสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่ลอยอยู่ในกระแสน้ำเท่านั้น โดยใช้กระแสไฟฟ้าที่สร้างขึ้นเป็นเครื่องหาอาหารและนำทาง จัดเป็นปลาที่ไม่อาจทำอันตรายต่อปลาตัวอื่นหรือสัตว์อื่นใดได้ และค่อนข้างจะบอบบาง อ่อนแอ และว่ายน้ำได้ช้ามาก นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ด้วยความแปลกตา ซึ่งมีราคาซื้อขายกันที่แพงมาก.

ใหม่!!: ตาและปลาผีตุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Copperband butterflyfish, Beak coralfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelmon rostratus ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีลำตัวแบนข้าง ลบลำตัวมีสีขาวคาดด้วยแถบสีส้มจำนวน 4 แถบ โดย 2 แถบแรกมีขอบสีดำตัดบาง ๆ ทั้งด้านหน้าและหลัง ปลายครีบบนและครีบล่างเจือด้วยปื้นสีส้ม โคนหางมีจุดสีดำเล็ก ๆ และมีจุดสีดำขนาดใหญ่บริเวณโคนครีบบนหนึ่งจุด คล้ายตา เพื่อใช้หลอกล่อศัตรูให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นดวงตาจริง ๆ ในขณะที่ดวงตาแท้ ๆ มีแถบสีส้มคาดเพื่ออำพรางไม่ให้ดูเด่นกว่าจุดวงกลมสีดำนั้น ปากยื่นยาวและมีขนาดเล็กคล้ายหลอด ใช้สำหรับดูดกินหรือแทะกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังต่าง ๆ ที่อาศัยตามแนวปะการังที่หลบตามซอกหลีบได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินดอกไม้ทะเลแก้ว (Aiptasia spp.) ซึ่งเป็นดอกไม้ทะเลขนาดเล็กที่หนวดพิษสามารถทำร้ายปะการังได้ด้วย นับเป็นปลาที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศในทะเลชนิดหนึ่ง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแนวปะการังของมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก เช่น ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, หมู่เกาะริวกิว จนถึงออสเตรเลีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จัดเป็นปลาที่ราคาไม่แพง เลี้ยงง่าย แต่ไม่อาจจะฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้เหมือนปลาผีเสื้อชนิดอื่น ๆ ซึ่งผู้เลี้ยงต้องให้กินอาหารสด เช่น ไรทะเลหรือเนื้อหอยชนิดต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นปลาที่ต้องรวบรวมมาจากแหล่งน้ำรรมชาติ ซึ่งในปลาขนาดกลางที่ไม่เล็กไปหรือใหญ่ไป ราว ๆ 2.5-3.5 นิ้ว เป็นขนาดที่กำลังพอดีที่จะนำมาเลี้ยง เพราะปลาจะปรับตัวให้เข้ากับตู้เลี้ยงได้ไม่ยากนัก ไม่ตื่นกลัวเหมือนปลาใหญ่หรืออ่อนแอเกินไปเหมือนปลาขนาดเล็ก อนึ่ง ปลาผีเสื้อนกกระจิบนั้น ในแวดวงของการดำน้ำยังมีการเรียกปนกับปลาผีเสื้อจมูกยาวในสกุลปลาผีเสื้อจมูกยาว ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ปลาผีเสื้อจมูกยาวใหญ่ (Forcipiger longirostris) และปลาผีเสื้อจมูกยาวเหลือง (F. flavissimus) ซึ่งปลาทั้ง 2 ชนิดนั้นมีสีสันที่แตกต่างออกจากปลาผีเสื้อนกกระจิบพอสมควร โดยมีสีเหลืองสดเป็นสีพื้นเป็นหลัก.

ใหม่!!: ตาและปลาผีเสื้อนกกระจิบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจาด

ปลาจาด เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Poropuntius (/พอร์-โอ-พุน-ชัส/) ความเป็นมาของปลาในสกุลนี้เริ่มจากแม็กซ์ วีลเฮม คาร์ล เวบเบอร์ และลีฟาน เฟอดินานด์ เดอ โบฟอร์ต ได้ตั้งสกุล Lissocheilus (ปัจจุบันถูกยกเลิกไปแล้ว) ขึ้นในปี ค.ศ. 1916 เพื่อใช้กับปลาในวงศ์ปลาตะเพียนที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยอธิบายว่า ต่อมาในปี ค.ศ. 1919 มะสึมิสึ โอชิมะ นักมีนวิทยาชาวญี่ปุ่น ได้พบว่าปลาบางส่วนของสกุล Lissocheilus มีริมฝีปากล่างแยกออกมาเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นแผ่นหนังใหญ่ ทำให้มีปัญหาในการจำแนกชนิด จึงได้ตั้งสกุล Acrossocheilus ขึ้น (ซึ่งปัจจุบันสกุลนี้ใช้ระบุปลาที่พบในประเทศเวียดนามและจีนตอนใต้ เป็นหลัก) โดยจำแนกปลาที่อยู่ในสกุล Lissocheilus เดิมที่มีลักษณะของริมฝีปากล่างตามที่กล่าวมาให้อยู่ในสกุลนี้ ต่อมา ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ได้ตั้งสกุล Poropuntius นี้ขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 โดยแยกออกจากสกุล Lissocheilus ซึ่งครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ชื่อสกุล Lissocheilus ต้องถูกยกเลิก เพราะพบว่าตั้งซ้ำซ้อนกับสกุลของหอยที่เป็นซากฟอสซิลซึ่งมีผู้ตั้งไว้ในปี ค.ศ. 1882 ดังนั้น จึงต้องหันกลับไปพิจารณาระหว่างสกุล Poropuntius กับสกุล Acrossocheilus ก็พบว่าลักษณะทางอนุกรมวิธานของสกุล Poropuntius นั้นเด่นกว่าสกุล Acrossocheilus ในปี ค.ศ. 1996 วอลเตอร์ เรนโบธ เสนอให้ใช้สกุล Poropuntius กับปลาที่แมลคัม อาร์เธอร์ สมิธ อนุกรมวิธานไว้ในปี ค.ศ. 1945 คือ ปลาจาดบ้านถ้ำ (P. bantamensis) และปลาเขยา (P. deauratus) ที่เดิมเคยใช้ชื่อสกุล Acrossocheilus เปลี่ยนมาใช้ชื่อสกุลนี้ แต่อย่างไรก็ดี ยังมีความสับสนอย่างมากในการใช้ชื่อสกุลของสกุลนี้ เรนโบธจึงเสนอขึ้นมาในปี ค.ศ. 1985 ให้ใช้สกุล Neolissocheilus ขึ้น ซึ่งปัจจุบันนี้ใช้ในกลุ่มปลาพลวง อย่างไรก็ตาม สกุล Poropuntius นี้ มีความคล้ายคลึงกับสกุล Hypsibarbus ซึ่งเป็นสกุลที่เรนโบธตั้งขึ้นเองในปี..

ใหม่!!: ตาและปลาจาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง

ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง (Scribbled pipefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathidae) เป็นปลาจิ้มฟันจระเข้ชนิดหนึ่ง มีลำตัวเรียวยาว จะงอยปากสั้น ตาโต ครีบหลังอยู่ตอนกลางลำตัว ครีบหางเล็กปลายมน ครีบอกเล็ก ตามลำตัวเป็นสันเล็ก ๆ เป็นปล้องตลอดลำตัวไปจนโคนหาง มีลำตัวสีเทาอมเขียวหรือสีฟ้า และมีลายเส้นเป็นสีคล้ำหรือดำ ครีบต่าง ๆ ใสโปร่งแสง ครีบหางสีแดงเรื่อ ๆ มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร พบยาวเต็มที่ได้ถึง 19.8 เซนติเมตร ในตัวผู้ อาศัยอยู่ตามกอสาหร่ายหรือกองหินใต้น้ำ หรือแนวปะการัง ในแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่แอฟริกาตะวันออก จนถึงวานูอาตู ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อยนัก เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร ตัวผู้จะเป็นฝ่ายฟักไข่โดยติดไว้ที่หน้าท้องเป็นแพ โดยทุก ๆ เช้า ตัวเมียที่มีไข่เต็มท้องจะออกมาจากที่อาศัยเพื่อว่ายคลอเคลียกับตัวผู้เพื่อทำความคุ้นเคย ทั้งคู่จะว่ายพันกันไปมา และตัวผู้จะใช้โอกาสนี้ย้ายไข่ของตัวเมียมาไว้ที่หน้าท้องของตัวเอง โดยไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัว 10 ตัว ซึ่งตัวเมียสามารถผลิตไข่ชุดใหม่ได้เลยภายใน 20 วัน ดังนั้นปีหนึ่ง ๆ ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่างจึงสามารถผลิตลูกได้เยอะมาก นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้งจก

ปลาจิ้งจก (Gecko fish, Lizard fish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ย่อย Balitorinae ในวงศ์ใหญ่ Balitoridae ใช้ชื่อสกุลว่า Homaloptera (/โฮ-มา-ล็อพ-เทอ-รา/) มาจากภาษากรีกคำว่า "Homalos" หมายถึง "แบน" กับคำว่า "pteron" หมายถึง "ปีก, ครีบ" มีลักษณะสำคัญ คือ มีเกล็ดเล็กสามารถมองด้วยตาเปล่าเห็น อาศัยอยู่ตามลำธารบนภูเขาที่มีกระแสน้ำเชี่ยว ลำตัวเรียวยาว ใต้หัวและลำตัวตอนหน้าแบนราบ จะงอยปากกลมมน นัยน์ตาอยู่สูง จมูกมีข้างละ 2 คู่ จมูกแต่ละคู่มีแผ่นเนื้อเยื่อคั่น ปากโค้งเป็นรูปวงเดือน มุมปากแคบ ริมฝีปากหนา ขากรรไกรหนาและมีขอบแข็ง หน้าจะงอยปากมีหนวด 2 คู่ และที่มุมปาก 1 คู่ รวมเป็น 3 คู่ ครีบหลังสั้นอยู่ตรงข้ามกับครีบท้อง ครีบอกและครีบท้องอยู่ในแนวเดียวกัน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยว 2-5 ก้าน และก้านครีบแขนง 8-12 ก้าน ครีบท้องมีก้านครีบ 8-12 ก้าน ครีบหางเว้าลึก มีเส้นข้างลำตัวปรากฏให้เห็น ช่องเหงือกแคบและอยู่หน้าครีบอก สามารถแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ดังนี้.

ใหม่!!: ตาและปลาจิ้งจก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทาทูเอีย

ปลาทาทูเอีย หรือชื่อที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า ปลาอามาทัสหางแดง (Tatauaia, Red-tailed payara) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrolycus tatauaia จัดอยู่ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาในสกุลเดียวกันคือ Hydrolycus ชนิดอื่น ๆ มาก เช่น ปลาสคอมบิรอยด์ (H. scomberoides) หรือ ปลาอามาทัส (H. armatus) แต่ทว่า ปลาทาทูเอียจะมีส่วนหัวหรือปากที่เชิดขึ้นน้อยกว่าปลาสคอมบิรอยด์ แต่มากกว่าปลาอามาทัส ลำตัวเพรียวยาวกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็ไม่เท่าปลาอามาทัส ส่วนท้องโย้ลงมาด้านล่างเป็นสันน้อยกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็มากกว่าปลาอามาทัส การทรงตัวในน้ำส่วนหัวจะทิ่มลงน้อยกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็มากกว่าปลาอมาทัสซึ่งมักจะทรงตัวเป็นแนวราบมากกว่า อีกทั้งมีดวงตาที่กลมโตกว่า อีกทั้งปลาในสกุลนี้ เมื่อยังเล็ก จะมีสีสันและลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ยากแก่การแยกแยะ โดยที่ปลาทาทูเอียจะคงสีครีบและหางเป็นสีส้มแดงจนถึงวัยเติบโตเต็มที่ ขณะที่ยังเป็นปลาวัยรุ่นครีบต่าง ๆ จะเป็นสีทอง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 45.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำอเมซอน ตอนบนของแม่น้ำโอรีโนโกแถบประเทศบราซิล, โคลอมเบีย และกายอานา นิยมตกกันเป็นเกมกีฬาและเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในบางครั้งอาจพบปะปนกันมาพร้อมกันทั้ง 3 ชนิด และขายในชื่อและราคาเดียวกัน.

ใหม่!!: ตาและปลาทาทูเอีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตอง

ปลาตอง (Clown knifefishes, Featherbackfishes) เป็นสกุลปลากระดูกแข็งที่อยู่ใน วงศ์ปลากราย (Notoperidae) อันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Chitala (/ไค-ตา-ลา/).

ใหม่!!: ตาและปลาตอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตองลายแอฟริกา

ปลาตองลายแอฟริกา (Marbled knifefish, Reticulate knifefish, Arowana knifefish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papyrocranus afer ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีส่วนหัวมนกลม ตากลมโต มุมปากกว้างเลยดวงตา รูปร่างเพรียวยาวและแบนข้างมาก มีจุดเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดกลมสีเหลืองกระจายไปทั้งตัว ที่โคนครีบหูไม่มีจุดกลมสีดำเหมือนปลากรายในสกุล Chitala ที่พบในทวีปเอเชีย มีขนาดลำตัวโตเต็มที่ได้ถึง 80 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของทวีปแอฟริกาแถบตะวันตกบริเวณประเทศไนเจอร์, แกมเบีย, เซเนกัล และกานา โดยมักหากินและอาศัยอยู่บริเวณพื้นน้ำ ซึ่งยังไม่สามารถที่จะแยกเพศระหว่างปลาตัวผู้และตัวเมียได้ชัดเจน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับ Notopterus notopterus ซึ่งเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์เดียวกันที่พบในทวีปแอฟริกา แต่อยู่คนละสกุล โดยมีอายุสูงสุดในที่เลี้ยงถึง 15 ปี.

ใหม่!!: ตาและปลาตองลายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตองแอฟริกา

ปลาตองแอฟริกา เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งน้ำจืดในวงศ์ปลากราย (Notopridae) ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชืิ่อสกุลว่า Papyrocranus เป็นปลาที่พบได้เฉพาะทวีปแอฟริกาเท่านั้น มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวเพรียวยาวและแบนข้างมาก ส่วนหัวกลมมน ตาโต ปากกว้าง มีครีบหลังเช่นเดียวกับปลากรายในสกุล Chitala ที่พบในทวีปเอเชีย พบเพียงแค่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: ตาและปลาตองแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาเดียว

ปลาตาเดียว เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Psettodes erumei อยู่ในวงศ์ปลาตาเดียว (Psettodidae) อันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) มีรูปร่างยาวรี หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ นัยน์ตาทั้งสองข้างอยู่ใกล้กันและอยู่บนซีกเดียวกับตำแหน่งของตาซึ่งอยู่ค่อนไปทางส่วนบนของลำตัว ปากกว้างและเฉียงขึ้น มีฟันแหลมคมแบบฟันเขี้ยวเห็นชัดเจนอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่หลังนัยน์ตา ครีบหลัง ครีบหางและครีบก้นไม่เชื่อมติดกัน ครีบหางมีปลายเว้าเป็นสองลอน มีพื้นลำตัวด้านมีนัยน์ตาเป็นสีน้ำตาลเข้มตลอดทั้งตัว ส่วนซีกล่างมีสีขาว สามารถปรับเปลี่ยนสีลำตัวได้ตามสภาพแวดล้อม มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 64 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไปมีความยาวประมาณ 18-50 เซนติเมตร นับว่าเป็นชนิดที่มีความใหญ่ที่สุดของวงศ์นี้ โดยพบน้ำหนักมากที่สุดคือ 9,000 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งของทวีปแอฟริกา, ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน, ทะเลญี่ปุ่น จนถึงออสเตรเลีย โดยกินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าตามพื้นน้ำหรือพื้นทรายในเวลากลางคืนเป็นอาหาร พบได้ตั้งแต่ความลึก 1-100 เมตร ปลาตาเดียวนับเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ เพราะมีขนาดลำตัวใหญ่ เนื้อเยอะ จึงมักนิยมทำเป็นอาหาร โดยนอกจากชื่อตาเดียวแล้วยังมีชื่ออื่น ๆ อีก เช่น "จักรผาน", "หน้ายักษ์", "ซีกเดียว", "ใบขนุน" หรือ "โทต๋า" เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและปลาตาเดียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหัวค้อน

ปลาฉลามหัวค้อน (Hammerhead shark) เป็นปลาฉลามในวงศ์ Sphyrnidae มีเพียงสกุลเท่านั้น คือ Sphyrna.

ใหม่!!: ตาและปลาฉลามหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครุย

ปลาฉลามครุย (Frilled shark; ラブカ) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างประหลาดมากคล้ายปลาไหล อาศัยอยู่ในน้ำลึก 1,968 – 3,280 ฟุต มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chlamydoselachus anguineus ในอยู่ในวงศ์ Chlamydoselachidae เดิมเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มีรายงานพบในหลายพื้นที่ รวมถึงในเขตน่านน้ำของญี่ปุ่น ทำให้ปลาฉลามครุยกลายเป็น "ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต" อีกชนิดหนึ่งของโลก เพราะเชื่อว่ามันไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเลยมาตั้งแต่ยุคครีเทเชียส จนกระทั่งถึงปัจจุบัน บริเวณส่วนหัว ลักษณะฟันและปาก ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2007 ปลาฉลามชนิดนี้ได้สร้างความฮือฮากลายเป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก เมื่อชาวประมงชาวญี่ปุ่นสามารถจับตัวอย่างที่ยังมีชีวิตได้ตัวหนึ่งในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งใกล้สวนน้ำอะวาชิมา ในเมืองชิซุโอะกะทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงโตเกียว ซึ่งเชื่อว่าปลาตัวนี้ลอยขึ้นมาเพราะร่างกายอ่อนแอเนื่องจากความร้อนที่ขึ้นสูงของอุณหภูมิของน้ำ ซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานก็ตายไป เชื่อว่าปลาฉลามชนิดนี้ กระจายพันธุ์อยู่ในเขตน้ำลึกใกล้นอร์เวย์, แอฟริกาใต้, นิวซีแลนด์, ชิลี และญี่ปุ่น มีรูปร่างเรียวยาวคลายปลาไหลหรืองูทะเล เป็นไปได้ว่าตำนานงูทะเลขนาดใหญ่ที่เป็นเรื่องเล่าขานของนักเดินเรือในสมัยอดีตอาจมีที่มาจากปลาฉลามชนิดนี้ มีผิวสีน้ำตาลหรือเทาเข้ม มีซี่กรองเหงือก 6 คู่ สีแดงสด และฟูกางออกเหมือนซาลาแมนเดอร์บางชนิด ทำให้ดูแลเหมือนครุย ซึ่งมีไว้สำหรับดูดซับออกซิเจนโดยเฉพาะ เนื่องจากในทะเลลึกมีปริมาณออกซิเจนน้อยกว่าด้านบนถึงกว่าครึ่ง ปากกว้างเลยตำแหน่งของตา ภายในปากมีฟันที่แตกเป็นดอกแหลม ๆ 3 แฉก ทำให้สันนิษฐานว่าเป็นปลาที่ล่าปลาเล็กเป็นอาหารที่เก่งฉกาจชนิดหนึ่ง ความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 ฟุต.

ใหม่!!: ตาและปลาฉลามครุย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหนวดยาว

ปลาซิวหนวดยาว (Flying barb, Striped flying barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกปลาซิว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Esomus metallicus ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวยาวทรงกระบอก แบนข้าง นัยน์ตาโต ครีบหลังและครีบก้นมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบอกมีขนาดใหญ่ปลายแหลม ครีบหางปลายแยกเป็นแฉกลึก มีหนวดที่มุมปากยาวมากหนึ่งคู่เห็นได้ชัดเจน มีแถบสีดำยาวตามลำตัวจากหลังตาจรดปลายหาง มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 7.2 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแม่น้ำ หนอง คลอง บึง ทั่วทุกภาคของประเทศไทย รวมถึงนาข้าวหรือตามท้องร่องสวนผลไม้ต่าง ๆ ด้วย ในต่างประเทศพบได้จนถึงแหลมมลายู เป็นปลาที่ใช้บริโภคเป็นอาหารในพื้นที่ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาซิวหนวดยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้างเหลือง

ปลาซิวข้างเหลือง (Red-striped rasbora, Big scale rasbora, Glowlight rasbora) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ท่อนหางยาวเรียว ท้องโต หัวเล็ก นัยน์ตาโต เกล็ดใหญ่ ครีบหลังใหญ่ ตำแหน่งของครีบหลังอยู่ระหว่างครีบื้องกับครีบก้น ครีบหางเว้าเป็นแฉก ลำตัวมีสีเขียวอ่อน มีแถบสีเหลืองทองและแถบสีดำตามยาวลำตัวตั้งแต่หัวจรดฐานครีบหาง ขอบของครีบหางมีสีดำจาง ๆ เป็นปลาที่อยู่รวมกันเป็นฝูง มีขนาดความยาวประมาณ 7.5 เซนติเมตร กินตัวอ่อนของแมลงและแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในประเทศไทยตอนล่าง แถบแม่น้ำสายบุรีและแม่น้ำปัตตานี ไปจนถึงแหลมมลายูจนถึงอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาซิวข้างเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่

ปลาซิวใบไผ่ หรือ ปลาจุกกี (ภาษาใต้) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Danio (/แดน-อิ-โอ/) จัดเป็นปลาซิวสกุลหนึ่ง ปลาในสกุลนี้ มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นปลาขนาดเล็กที่มักอาศัยอยู่ตามน้ำตกและลำธารที่มีกระแสน้ำไหลแรง มีลำตัวที่สั้นและแบนข้าง เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ ช่วงท้องกลม บริเวณหน้านัยน์ตามีกระดูกที่เป็นเงี่ยงแหลม 1 ชิ้น ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 11-15 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 11-18 ก้าน มีหนวดสั้นหรือบางชนิดไม่มี มีด้วยกันหลายชนิด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, ภูมิภาคอินโดจีน, แหลมมลายู จนถึงเกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ตาและปลาซิวใบไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่ใหญ่

ปลาซิวใบไผ่ใหญ่ (Giant danio) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวแบนข้าง นัยน์ตากลมโต ปากเฉียงขึ้น ครีบหลังมีฐานยาวอยู่หน้าครีบก้น มีก้านครีบแขนง 14-15 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 15-17 ก้าน ครีบหางเว้าไม่ลึกมากนัก มีเส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ มีสีพื้นลำตัวสีเหลืองจาง ๆ มีแถบสีฟ้าพาดยาวตามลำตัวและลายสีเหลือง 2-3 ลายทับอยู่บนแถบสีฟ้า ก้านครีบหางบางส่วนมีแถบสีดำ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 12.5 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อินเดีย, เนปาล จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำตกหรือลำธารที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน, นครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาซิวใบไผ่ใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอดออสเตรเลีย

ปลาปอดออสเตรเลีย หรือ ปลาปอดควีนส์แลนด์ (Australian lungfish, Queensland lungfish) เป็นปลากระดูกแข็งในชั้นปลาปอด (Dipnoi) ที่อยู่ในวงศ์ Ceratodontidae และในอันดับ Ceratodontiformes เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ยังคงสืบสายพันธุ์มาจนถึงยุคปัจจุบันนี้ ซึ่งปลาปอดที่อยู่ในวงศ์นี้และอันดับนี้ มีความแตกต่างไปจากปลาปอดชนิดที่พบในทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้ที่อยู่ในอันดับ Lepidosireniformes พอสมควร เนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงกับปลาปอดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ราว 100 ล้านปีก่อน มากกว่า ซึ่งในอดีตมีปลาปอดที่อยู่ในวงศ์นี้มากถึง 7 ชนิด แต่ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว ซึ่งปลาปอดออสเตรเลียมีความแตกต่างจากปลาปอดในอันดับ Lepidosireniformes กล่าวคือ มีครีบอกและครีบบริเวณท้อง มีรูปทรงคล้ายใบพาย มีถุงลมที่ใช้ช่วยในว่ายน้ำและพยุงตัว 1 ถุง ซึ่งถุงลมนี้มีความสามารถที่จะแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กับออกซิเจนได้ แต่ไม่มีความสามารถที่จะสร้างเมือกมาปกคลุมลำตัวเพื่อช่วยในการจำศีลในฤดูแล้งได้ และอวัยวะที่ช่วยในการหายใจที่ทำหน้าที่คล้ายกับปอดของสัตว์บกก็มีเพียงชิ้นเดียว อีกทั้งยังมีรูปร่างที่แตกต่างออกไป กล่าวคือ มีดวงตาที่กลมโตเห็นได้ชัดเจน เกล็ดมีขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน เป็นแบบ Cosmoid คือ เกล็ดลื่น ลักษณะเรียบ และมีขนาดใหญ่ ซึ่งไม่ปรากฏแล้วในปลาชนิดอื่นในปัจจุบัน ปลาปอดออสเตรเลีย ไม่สามารถที่อาศัยอยู่ใต้น้ำได้เป็นระยะเวลานานเท่าปลาปอดจำพวกอื่น โดยจะขึ้นมาฮุบอากาศหายใจเป็นระยะ ๆ ในช่วงฤดูแล้งที่แหล่งน้ำที่อาศัยแห้งขอด ปลาปอดออสเตรเลียจะอยู่นิ่ง ๆ ขึ้นมาฮุบอากาศหายใจเพียงครั้งละ 1-2 ครั้งต่อชั่วโมงเท่านั้น พบกระจายพันธุ์อยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นพื้นที่ ๆ มีคุณภาพน้ำในเกณฑ์ดี มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง สภาพกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ พบในรัฐควีนส์แลนด์และนิวเซาท์เวลส์ในประเทศออสเตรเลียเพียงที่เดียวในโลกเท่านั้น กินอาหารจำพวกกบ, ลูกอ๊อด, ปลา, กุ้ง, ไส้เดือน, หอย, พืชน้ำ รวมถึงผลไม้ที่ตกลงมาจากต้นด้วย อีกทั้งยังสามารถสร้างกระแสไฟฟ้าแบบอ่อน ๆ เพื่อค้นหาอาหารที่ซุกซ่อนอยู่ตามซอกหินได้อีกด้วย ขนาดลำตัวเมื่อโตเต็มที่ยาวได้มากกว่า 1.2 เมตร น้ำหนักกว่า 20 กิโลกรัม และเชื่อว่ามีอายุได้มากกว่า 70 ปี สถานะปัจจุบันของปลาปอดออสเตรเลีย นับว่าใกล้สูญพันธุ์จากแหล่งธรรมชาติมากแล้ว ได้รับการอนุรักษ์ตามกฎหมายของออสเตรเลีย อีกทั้งยังบมีชื่อติดอยู่ในบัญชีรายชื่อหมายเลข 2 (Appendix II) ของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส) ที่จะมีการค้าขายหรือครอบครองต้องได้รับการอนุญาตจากทางการเสียก่อน โดยได้รับการขึ้นทะเบียนตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1975 แต่ปัจจุบัน ได้มีการเพาะขยายพันธุ์ปลาปอดออสเตรเลียในบ่อเพาะเลี้ยงได้แล้ว ทำให้ปลาปอดออสเตรเลียกลายเป็นปลาสวยงามอีกชนิดหนึ่งของผู้ที่ชื่นชอบการเลี้ยงปลาตู้ แต่ทว่ามีราคาซื้อขายที่แพงมาก อีกทั้งลูกปลาเมื่อเกิดขึ้นมาใหม่ได้ระยะหนึ่ง จะทำการฝังชิพเพื่อระบุถึงตัวปลาด้วย และเมื่อมีการซื้อขายกันก็ต้องมีหนังสืออนุญาตอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งปลาปอดออสเตรเลียมีนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวเหมือนเช่นปลาปอดที่พบในทวีปแอฟริกา ซึ่งผู้เลี้ยงสามารถให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ โดยลูกปลาปอดออสเตรเลียที่เกิดใหม่จะไม่มีพู่เหงือกพิเศษเหมือนปลาปอดจำพวกอื่น และมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมากในขวบปีแรก จากนั้นจะค่อย ๆ โตช้าลง.

ใหม่!!: ตาและปลาปอดออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าคองโก

ปลาปักเป้าคองโก หรือ ปลาปักเป้าแดง (Congo puffer, Pooey pooer.) ปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon miurus ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม มีส่วนจะงอยปากที่ยาวยื่นออกมา คล้ายปลาปักเป้าควาย (Pao suvatti) ซึ่งเป็นปลาปักเป้าน้ำจืดเหมือนกัน แต่พบในทวีปเอเชีย ปลาปักเป้าคองโก มีจุดเด่น คือ สีลำตัวที่เป็นสีเดียวตลอดโดยไม่มีลวดลาย โดยมากจะเป็นสีแดงสด หรืออาจจะเปลี่ยนเป็น สีส้ม, น้ำตาล หรือแม้กระทั่งดำได้ตามอารมณ์ของปลา และสภาพแวดล้อม ขนดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร แพร่กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำคองโก ในทวีปแอฟริกาตอนกลาง เป็นปลาปักเป้าที่มีนิสัยดุร้ายมากอีกชนิดหนึ่ง มีการล่าเหยื่อโดยการซุ่มซ่อนตัวในพื้นทรายใต้น้ำ โดยโผล่มาเพียงแต่จะงอยปากกับดวงตาเท่านั้น คล้ายกับปลาปักเป้าควายที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง ในเอเชียอาคเนย์ นอกจากจะกินสัตว์น้ำมีเปลือกเช่น กุ้งหรือหอยแล้ว ปลาปักเป้าคองโกยังเป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความว่องไวจนสามารถฉกกัดปลาชนิดอื่น กินเป็นอาหารได้อีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและปลาปักเป้าคองโก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าตาแดง

ปลาปักเป้าตาแดง (Redeye puffers) เป็นชื่อสกุลของปลาปักเป้าจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Carinotetraodon (/คา-ริ-โน-เต-ตรา-โอ-ดอน/; โดยคำว่า carina เป็นภาษาละตินหมายถึง "กระดูกงูเรือ" และtetraodon คือ สกุล Tetraodon ซึ่งเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากของปลาปักเป้าในวงศ์นี้ ที่เคยจัดให้อยู่ในสกุลเดียวกันมาก่อน) มีรูปร่างโดยรวม เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 4 นิ้ว ซึ่งนับว่าเล็กที่สุดในบรรดาปลาปักเป้าทั้งหมด มีรูปร่างคล้ายปลาปักเป้าในสกุล Tetraodon ซึ่งเคยอยู่ร่วมสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่ามีขนาดเล็กกวากันมาก ปลาปักเป้าในสกุลนี้มีจุดเด่น คือ มีดวงตาสีแดงคล้ายทับทิม ซึ่งสามารถกลิ้งกลอกไปมาได้ ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างระหว่างเพศอย่างเห็นได้ชัด โดยตัวผู้จะมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า ลำตัวโดยมากจะเป็นสีแดงหรือสีเทาอมแดง ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็ก มีลำตัวสีเขียวมีลาดพาดตามลำตัว แต่สีพื้นของตัวผู้โดยปกติและเมื่อยังเล็กอยู่ก็เป็นสีเดียวกับตัวเมีย และสามารถปรับเปลี่ยนสีตามอารมณ์และสภาพแวดล้อมได้ด้วย ในการผสมพันธุ์ตัวผู้จะเปลี่ยนสีให้เข้มและพองผิวหนังลำตัวจนกลายเป็นเหนียงบริเวณใต้คางและใต้ท้อง พบในน้ำกร่อยและน้ำจืด ในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ตาและปลาปักเป้าตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าแคระ

ปลาปักเป้าแคระ หรือ ปลาปักเป้าปิ๊กมี่ (Dwarf pufferfish, Malabar pufferfish, Pea pufferfish, Pygmy pufferfish) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae).

ใหม่!!: ตาและปลาปักเป้าแคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำฝาย

ปลาน้ำฝาย เป็นปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Sikukia (/สี-กุก-เอีย/).

ใหม่!!: ตาและปลาน้ำฝาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแพะเขียว

ปลาแพะเขียว (Bronze corydoras, Green corydoras) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) มีลำตัวปกคลุมด้วยเกล็ด เป็นแผ่น ๆ ซ้อนกัน ลำตัวมีลักษณะกลมป้อมเบนข้างทางด้านท้ายมีครีบ 8 ครีบ ที่ครีบอกมีเงี่ยงแข็งข้างละเงี่ยง ปากอยู่ทางด้านใต้มี หนวดเล็ก ๆ 2 คู่ ที่มุมปากสีของลำตัวปกติเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ข้างลำตัวเป็นสีเขียวเงาแวววาว หาง และครีบแต่ละครีบมีสีค่อนข้างโปร่งใส ขนาดตัวยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำลาพลาตาทางด้านทิศตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส มักพบในแหล่งน้ำตื้น ที่เป็นโคลนขุ่น อุณหภูมิประมาณ 17-30 องศาเซลเซียส บางครั้งอาจพบเป็นหมื่น ๆ ตัว โดยมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ โดยปลาสามารถขึ้นมาฮุบอากาศที่เหนือผิวน้ำได้ จึงสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำได้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะที่คล้ายกัน ความแตกต่างของทั้ง 2 เพศ สังเกตเห็นได้ชัดเมื่อตอนปลาโตได้ขนาด โดยปลาตัวเมียมีรูปร่างที่กลมป้อมหนากว่า และขนาดใหญ่กว่า ส่วนในตัวผู้มีรูปร่างที่เล็กเรียวกว่า สามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ นับเป็นปลาแพะชนิดที่เพาะขยายพันธุ์ได้ง่าย โดยตัวผู้เข้าไปสั่นร่างเป็นสัญญาณเชิญชวน หากตัวเมียพร้อมก็มีปฏิกิริยาตอบสนองด้วยการขยับเข้าหา ตัวผู้ปล่อยน้ำเชื้อออกให้ตัวเมียอมไว้ในปาก จากนั้นตัวเมียจะออกไข่มาจำนวนหนึ่งแล้วอุ้มไว้ด้วยครีบท้องที่มีลักษณะกลมกว้างคล้ายตะกร้า วางไข่ที่ใบของไม้น้ำ โดยแม่ปลาพ่นน้ำเชื้อในปากลงบนใบไม้ก่อนเอาไข่ที่อุ้มไว้แปะลงไป หลังจากนั้นก็ทำวิธีการเดียวกันซ้ำอีกเรื่อย ๆ จนกระทั่งไข่หมดท้อง แม่ปลาวางไข่ครั้งละประมาณ 150-300 ฟอง ไข่ปลาฟักออกเป็นตัวประมาณ 3-4 วัน ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำ ลูกปลาระยะแรกจะยังว่ายน้ำไม่ได้ โดยกินอาหารผ่านทางถุงไข่แดงที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด ใช้เวลา 2-3 วัน ถุงไข่แดงถึงจะยุบลงไป และลูกปลาจะว่ายน้ำหาอาหารกินเองได้ เมื่ออายุได้ 3 วัน ใช้เวลาในการเจริญเติบโตจนเต็มวัยประมาณ 2 ปี ปลาแพะเขียว นับเป็นปลาแพะชนิดที่แพร่หลายมากที่สุดในวงการปลาสวยงามของประเทศไทย จัดเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ไม่รบกวนหรือทำร้ายปลาอื่น อีกทั้งยังสามารถเพาะขยายพันธุ์จนได้เป็นปลาแพะเผือก ที่มีตาสีแดง ผิวลำตัวเป็นสีขาวอมชมพูอีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและปลาแพะเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแขยงทอง

ปลาแขยงทอง หรือ ปลาอิแกลาเอ๊ะ (ภาษาอินโดนีเซีย: Ikan nuayang) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudeutropius moolenburghae อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) มีรูปร่างเพรียวยาว นัยน์ตาโต มีหนวดทั้งหมด 4 คู่ ที่ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ มีครีบไขมันขนาดเล็กอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 42-49 ก้าน ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก ลำตัวมีสีเหลืองเหลือบทองจาง ๆ มีจุดสีดำที่บริเวณหน้าครีบหลัง มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารจำพวก แมลง, แมลงน้ำ และกุ้งขนาดเล็ก ในประเทศไทยพบได้ที่แม่น้ำสาละวินในแถบจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในต่างประเทศพบได้ที่ เกาะสุมาตราและบอร์เนียว โดยปลาชนิดนี้เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพของน้ำได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองที่จะนิยมนำมาบริโภคกันโดยจับได้ในปริมาณทีละมาก ๆ ใช้หมักเค็มกับเกลือ เป็นปลาที่ความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางนัก.

ใหม่!!: ตาและปลาแขยงทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแขยงดาน

ปลาแขยงดาน เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Bagrichthys (/บา-กริค-ทีส/) อยู่ในวงศ์ปลากด (Bagridae) อันดับปลาหนัง (Siluformes) มีลักษณะสำคัญ คือ มีส่วนหัวขนาดเล็ก จะงอยปากเป็นรูปกระสวย ลำตัวแบนข้าง ปากเล็ก รีมฝีปากบนและล่างเป็นจีบ นัยน์ตามีขนาดเล็กมาก ตามีเยื่อหุ้ม หนวดค่อนข้างเล็กสั้นมี 4 คู่ แบ่งเป็นที่จมูก 1 คู่, ริมฝีปากบน 1 คู่, ริมฝีปากล่าง 1 คู่, และคาง 1 คู่สันหลังโค้ง ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้านเป็นซี่แข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย ซึ่งตั้งตรงเห็นได้ชัดเจน ในบางชนิดจะยาวจนแลดูเด่น มีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 2-3 ก้าน และก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้านที่แข็งและหยักเป็นฟันเลื่อยปลายแหลม ครีบท้องสั้น ครีบไขมันมีฐานยาวด้านหน้าจรดฐานครีบหลังและปลายจรดโคนครีบหาง ครีบหางเว้าลึก เป็นสกุลที่มีความคล้ายคลึงกับสกุล Bagroides และทั้ง 2 สกุลนี้ก็มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับสกุล Leiocassis ซึ่งเป็นปลาแขยงหรือปลากดที่มีขนาดเล็ก จัดเป็นปลาขนาดกลาง โตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต มีสีลำตัวเป็นสีม่วงคล้ำเกือบดำ ส่วนท้องสีขาว ในปลาวัยอ่อนอาจมีสีลำตัวเป็นลวดลายเหมือนลายพรางทหาร เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน พบกระจายพันธุ์ในประเทศไทย, แม่น้ำโขง จนถึงอินโดนีเซีย แต่ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน เป็นปลาที่นิยมบริโภคกัน และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาแขยงดาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแป้นเขี้ยว

ปลาแป้นเขี้ยว (Toothed ponyfish, Toothed soapy) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแป้น (Leiognathidae) มีลำตัวป้อมสั้นเป็นสีขาวเงิน ด้านข้างแบน นัยน์ตาโต ปากมีขนาดเล็ก ปากสามารถยืดหดได้คล้ายปลาแบบทั่ว ๆ ไป มีฟันเขี้ยวตรงบริเวณริมฝีปากบนและล่าง บริเวณลำตัวมีเกล็ดเล็กแต่ส่วนหัวและครีบใต้หูไม่มีเกล็ด ครีบหลังมีก้านครีบแข็งแล้วต่อด้วยก้านครีบอ่อนเช่นเดียวกับครีบก้น ครีบหางเว้าแฉกเข้าด้านใน ส่วนบนของลำตัวจะมีลายเส้นสีน้ำตาลทองและมีรอยแต้มสีแดงและสีน้ำเงิน บริเวณครีบอกครีบก้นจะมีแถบสีเหลืองอยู่ตรงบริเวณตอนส่วนหน้าของครีบ จัดเป็นปลาขนาดเล็กมีความยาวประมาณ 6-12 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 21 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแถบชายฝั่งหรือปากแม่น้ำ เป็นปลาที่กินสัตว์น้ำขนาดเล็กรวมถึงสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, หมู่เกาะริวกิว และออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เช่น บางปะกง, ชลบุรี, สมุทรปราการ, ภูเก็ต, ระนอง, พังงา เป็นต้น เป็นปลาที่มักถูกทำเป็นปลาเป็ด คือ ปลาป่นสำหรับทำอาหารสัตว.

ใหม่!!: ตาและปลาแป้นเขี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแนนดัส

ปลาแนนดัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาเสือดำ (Nandidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Nandus (/แนน-ดัส/) เป็นปลาขนาดเล็ก มีรูปร่างคล้ายใบไม้ ลำตัวแบนข้างมาก หัวโต ปากกว้างและยืดหดได้ ขากรรไกรบนยาวถึงหลังนัยน์ตา เยื่อที่ริมกระดูกแก้มแต่ละข้างแยกกันเป็นอิสระ มีกระดูกเป็นซี่แข็งปลายแหลมหนึ่งอันอยู่บนกระดูกแก้ม ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแหลม จำนวน 15-16 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 11-12 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแอหลม จำนวน 3 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน เกล็ดเป็นแบบสากขอบหยัก เส้นข้างลำตัวแยกออกเป็น 2 ตอน พบปลาขนาดเล็ก แม้จะมีสีสันไม่สวยงาม แต่ก็ยิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มักอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีไม้น้ำและพืชน้ำขึ้นหนาแน่น โดยมักจะอยู่นิ่ง ๆ จนดูคล้ายใบไม้ เพื่อรอดักเหยื่อซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงเกาะบอร์เนียว.

ใหม่!!: ตาและปลาแนนดัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบไม้อเมริกาใต้

ปลาใบไม้อเมริกาใต้ หรือ ปลาใบไม้อเมซอน (Amazon leaffish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monocirrhus polyacanthus ในวงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้ (Polycentridae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวกันที่อยู่ในสกุล Monocirrhus ปลาใบไม้อเมริกาใต้ เป็นปลาที่เป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีว่าสามารถพรางตัวให้กับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยได้อย่างดีเยี่ยม โดยมีรูปร่างเหมือนใบไม้ที่มีทั้งก้านและแขนงจริง ๆ ด้วยว่าที่ปลายปากมีติ่งเล็ก ๆ อยู่ด้วย มีถิ่นที่อยู่ในแม่น้ำสาขาของแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ เป็นที่รู้จักครั้งในปี ค.ศ. 1840 จากการบรรยายของ โจฮานน์ จาคอบ เฮกเคล นักชีววิทยาชาวออสเตรีย โดยได้บรรยายลักษณะทางกายภาพเกี่ยวกับปลาชนิดนี้ไว้ว่า มีสีเหลืองหรือสีแดง ส่วนหัวมีรูปทรงแบนข้าง ตอนปลายแหลม ด้านหน้ามีสัณฐานเว้า ตามีขนาดเล็ก ปากใหญ่ ก้านครีบอกทุกก้านสั้น ปรากฏแถบเล็กสีน้ำตาล 3 แถบ เริ่มต้นจากตา แถบนึงลงข้างล่าง อีก 2 แถบแตกไปทางด้านหลัง ปรากฏแถบหนากลางลำตัว และปรากฏแถบที่ตอนล่างของครีบหาง ก้านครีบอกเป็นก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 20 ก้านครีบ ครีบท้องประกอบด้วยก้านครีบแข็ง 1 ก้านครีบต่อด้วยก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 4 ก้านครีบ ครีบหลังประกอบด้วยก้านครีบแข็ง 17 ก้านครีบต่อด้วยก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 12 ก้านครีบ ก้านครีบก้นประกอบก้วยก้านครีบแข็ง 13 ก้านครีบต่อด้วยก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 12 ก้านครีบ และเป็นปลาที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว จากนั้นในปี ค.ศ. 1921 คาร์ล เอ.อีเกนแมนน์ และ วิลเลียม เรย์ อัลเลน ได้สำรวจป่าดิบชื้นในอเมริกาใต้ ได้เก็บตัวอย่างที่มีชีวิตของปลาชนิดนี้ไว้ 3 ตัว โดยพบเห็นครั้งแรกด้วยความเข้าใจผิดคิดว่าเป็นใบไม้ที่ลอยน้ำจริง ๆ ปลาใบไม้อเมริกาใต้ มีพฤติกรรมมักลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ บริเวณผิวน้ำหรือบริเวณตอนบนของผิวน้ำ เพื่อรอดักอาหาร ได้แก่ ลูกปลาหรือกุ้งขนาดเล็ก มักจะอยู่รวมกันเป็นฝูง และอาศัยอยู่ในสภาพน้ำที่มีความเป็นกรด (ประมาณ 5-6 pH) ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 8 เซนติเมตร ปลาตัวเมียวางไข่ประมาณ 300 ฟอง และไข่จะฟักเป็นตัวในเวลาประมาณ 3 วัน โดยที่ปลาตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าปลาตัวผู้ ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วยความแปลกและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว.

ใหม่!!: ตาและปลาใบไม้อเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโลมาน้อย

ปลาโลมาน้อย หรือ ปลาโลมาน้ำจืด หรือ ปลางวงช้างจมูกสั้น (Elephant-snout fish, Dolphin mormyrid, Bottlenose mormyrid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mormyrus kannume อยู่ในวงศ์ปลางวงช้าง (Mormyridae) มีรูปร่างเรียวยาว มีสีลำตัวเป็นสีน้ำตาลดำอมน้ำเงิน ตามีขนาดเล็กมาก มีลักษณะเด่น คือ บริเวณส่วนจมูกหรือจะงอยปากจะทู่สั้นกว่าปลาจำพวกเดียวกันสกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน โดยที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนส่วนจมูกจะสั้นและหนามากจนแทบมองไม่เห็น แต่จะยาวขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อปลาโตขึ้น แต่รูปร่างจะผอมเพรียว แต่ก็ยังสั้นและหนาอยู่ดี โดยที่ปากมีขนาดเล็กและอยู่สุดปลายของจะงอยปากที่งองุ้มลงด้านล่าง ครีบหลังยาวติดต่อกันจนถึงโคนครีบหาง โคนครีบหางยาว ครีบหางยาวแยกเป็น 2 แฉก มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร นับว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยใช้กระแสไฟฟ้าอ่อน ๆ ที่ปล่อยออกมาช่วยนำทางแทนตาซึ่งใช้การได้ไม่ดี กินอาหารจำพวก ไส้เดือนน้ำหรือหนอนแดงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ รวมถึงปลาหมอสีที่มีอยู่ดาษดื่นในถิ่นที่อยู่ ในเวลากลางคืน โดยอาจจะรวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ออกล่าอาหารร่วมกัน พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา เช่น ทะเลสาบวิกตอเรีย, ทะเลสาบคโยกา, ทะเลสาบมาลาวี, ทะเลสาบแทนกันยีกา, ลุ่มแม่น้ำไนล์ และแม่น้ำอติ ในประเทศเคนยา เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นที่นิยมอย่างมากเนื่องจากเป็นปลาที่ไม่ก้าวร้าวต่างกับปลาขนาดใหญ่ชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน อีกทั้งยังมีพฤติกรรมชอบเคลื่อนย้ายสิ่งของต่าง ๆ ในที่เลี้ยงด้วยการใช้ส่วนหัวดัน หรือเล่นลูกบอลที่ลอยเหนือน้ำได้ด้วย และเชื่องกับผู้เลี้ยงได้เมื่อคุ้นเคยกันดีแล้ว ซึ่งพฤติกรรมการแสดงออกที่แสนรู้เช่นนี้ประกอบกับส่วนหัวที่แลดูคล้ายโลมา ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล จึงทำให้เป็นที่มาของชื่อสามัญที่ใช้เรียกขานกัน.

ใหม่!!: ตาและปลาโลมาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีหน้าหัก

ปลาโนรีหน้าหัก หรือ ปลาโนรีเขา (Phantom bannerfish, Indian Ocean bannerfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus pleurotaenia ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างเหมือนปลาโนรีหลังเหลือง (H. singularius) คือ มีครีบหลังที่ไม่ยื่นยาว มีจุดเด่น คือ บริเวณหน้าผากมีอวัยวะแข็งคล้ายเขาหรือนอแหลมยื่นออกมาบริเวณเหนือดวงตา มีครีบแข็งตั้งบนหลัง ไม่มีครีบยาวยื่นออกมาเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ครีบหลังยกสูง ลำตัวมีสีออกน้ำตาลคาดขาว-ดำ เมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน ครีบหลังจะยกสูง จนดูทำให้มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรเอ (A) เป็นปลาที่พบในเขตน้ำลึกกว่าปลาโนรีชนิดอื่น ๆ พบเจอตัวได้ยากกว่า มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 17 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ มัลดีฟส์, เกาะชวา, ศรีลังกา, ทะเลอันดามันตอนเหนือ แม้เป็นปลาที่ไม่สวยงาม แต่ก็มีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและปลาโนรีหน้าหัก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีเกล็ด

ปลาโนรีเกล็ด หรือ ปลาโนรีเทวรูปปลอม (Schooling bannerfish, False moorish idol) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus diphreutes ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) จัดเป็นปลาโนรีอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสวยงาม มีลักษณะและรูปร่างคล้ายเคียงกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) มาก แต่ปลาโนรีเกล็ดมีรูปร่างที่ป้อมกลมกว่า และมีตาที่ใหญ่และจมูกที่เล็กกว่า มีความยาวเต็มที่ประมาณ 18 เซนติเมตร มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ทำให้แลดูสวยงามบริเวณชายฝั่งหรือแนวปะการัง พบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลรอบ ๆ ทวีปแอฟริกา, ทะเลแดง, หมู่เกาะฮาวาย และออสเตรเลีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ตาและปลาโนรีเกล็ด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์เซเนกัล

ปลาไบเคอร์เซเนกัล หรือ ปลาบิเชียร์เซเนกัล หรือ ปลาไบเคอร์ธรรมดา (Senagal bichir, Gray bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิด Polypterus senegalus มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหล มีส่วนหัวที่เล็ก ขากรรไกรเล็ก กรามบนยื่นยาวกว่ากรามล่าง ตามีขนาดเล็ก โดยปลาไบเคอร์ชนิดนี้เป็นปลาไบเคอร์ชนิดที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามมากที่สุด และแพร่หลายมากที่สุด สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้เป็นสีต่าง ๆ หลากหลายออกไปจากสีดั้งเดิมที่เป็นอยู่ คือ สีเขียวมะกอก ทั้งสีทองหรือสีเผือกตาแดง หรือแม้กระทั่งสีแพลทินัม รวมถึงเป็นปลาที่มีลำตัวสั้นกว่าปกติ หรือมีครีบหลังที่ยาวกว่าปกติด้วย มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำต่าง ๆ ในแอฟริกากลาง และยังสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย อีก คือ P. s. meridionalis ซึ่งยาวเต็มที่ประมาณ 21 เซนติเมตร และ P. s. senegalus.

ใหม่!!: ตาและปลาไบเคอร์เซเนกัล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลมอเรย์ตาขาว

ปลาไหลมอเรย์ตาขาว หรือ ปลาหลดหินตาขาว (White-eyed moray, Slender moray, Greyface moray) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลมอเรย์ยักษ์ (G. javanicus) แต่มีลำตัวเรียวกว่า ฟันเขี้ยวเล็กกว่า ผิวหนังเรียบ ลำตัวสีเหลืองอ่อนถึงเหลืองสด มีจุดด่างสีคล้ำหรือน้ำตาลเข้มกระจายทั่วลำตัว ใต้ท้องและใต้คอมีสีจาง มีม่านตาสีขาวชัดเจน ตาสีดำ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 80 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ในซอกหินตามแนวปะการังเป็นคู่ ซึ่งอาจจะอยู่รวมกับปลาไหลมอเรย์ชนิดอื่นได้ ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบอินโด-แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อ.

ใหม่!!: ตาและปลาไหลมอเรย์ตาขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไซเชเดลิกา

ปลาไซเชเดลิกา (Psychedelica frogfish, Ambon frogfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Histiophryne psychedelica (/ฮิส-ทิ-โอฟ-ไรน์-ไซ-เช-เด-ลิ-กา/) อยู่ในวงศ์ปลากบ (Antennariidae) มีลักษณะทั่วไป คือ มีลายรอบตัวเหมือนม้าลายสีน้ำตาลไหม้ และสีลูกพีช ซึ่งพาดยาวจากดวงตาสีน้ำเงินไปปลายหาง มีขนาดประมาณกำปั้น ร่างกายปกคลุมด้วยผิวหนังย่น ๆ เป็นวุ้นหนา ๆ เพื่อป้องกันอันตรายจากปะการังที่แหลมคม มีใบหน้าแบนและดวงตามองตรงหน้าได้ อีกทั้งยังมีปากที่อ้าได้กว้าง ที่มีครีบทั้ง 2 ข้างของลำตัว ที่ใช้คืบคลานไปกับพื้นทะเล หรือกระแทกหรือกระเด้งเหมือนลูกบอลไปกับพื้นทะเล จะกางครีบออกแล้วพ่นน้ำออกจากเหงือก เพื่อส่งตัวเองให้พุ่งไปข้างหน้า ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่แปลกประหลาด พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการังบริเวณเกาะอัมบนของอินโดนีเซีย จัดเป็นปลาชนิดใหม่ที่เพิ่งมีการค้นพบและถูกตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 2009 ถูกจำแนกชนิดออกจากปลาชนิดอื่นในสกุล Histiophryne ด้วยความแตกต่างทางดีเอ็นเอ.

ใหม่!!: ตาและปลาไซเชเดลิกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเบลนนี่

ปลาเบลนนี่ (Blennies) เป็นอันดับย่อยของปลาทะเลกระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Blennioidei ปลาเบลนนี่ มีชื่อสามัญในภาษาไทยว่า "ปลาตั๊กแตนหิน" หรือ"ปลาตุ๊ดตู่" จากพฤติกรรมที่อาศัยและมุดไปมาอยู่ในรู เหมือนกับตุ๊ดตู่ มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวกลมยาวคล้ายปลาไหลหรือปลาบู่ แต่สั้นกว่ามาก มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 3-4 นิ้ว ดวงตากลมโต ปากกว้าง ครีบหลังยาวต่อกันไปตลอดความยาวของลำตัว อาศัยอยู่ในรูหรือซอกหิน หรือเปลือกหอยที่ว่างเปล่า โดยจะโผล่มาแต่ส่วนหัวเพื่อสังเกตการณ์ เป็นปลาออกหากินในเวลากลางวัน โดยมักหากินตามพื้นทะเลใกล้ ๆ กับรูที่อาศัย ตัวผู้มีสีสันสดใสสวยกว่าตัวเมีย และมีขนาดใหญ่กว่าด้วย โดยมากเป็นปลากินพืชเป็นอาหาร มีอาหารหลัก คือ ตะไคร่น้ำ แต่ก็มีบางจำพวกที่กินเนื้อเป็นอาหาร โดยสามารถจำแนกวงศ์ของปลาเบลนนี่ ออกได้ทั้งหมด 6 วงศ์ คือ.

ใหม่!!: ตาและปลาเบลนนี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเวลส์

ปลาเวลส์ (Wels catfish, Sheatfish) ปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) จัดเป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่มาก โดยถือว่าเป็นหนึ่งในปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และถือว่าเป็นปลาหนัง (Siluriformes) ชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีลักษณะเหมือนปลาในสกุลเดียวกันชนิดอื่นทั่วไป มีลำตัวสีน้ำตาลและมีจุดสีดำเป็นกระ กระจายอยู่ทั่วลำตัว หัวมีขนาดใหญ่ มีหนวดที่มุมปาก 2 คู่ยาว ปากกว้างมาก ตามีขนาดเล็ก มีความยาวได้ถึง 3 เมตร โดยสถิติโลกที่มีบันทึกไว้ คือ น้ำหนัก 250 ปอนด์ ความยาว 8.5 ฟุต ที่ตอนเหนือของอิตาลี มีถิ่นกำเนิดในยุโรปตอนกลาง ไปจนถึงเอเชียกลาง โดยเฉพาะในประเทศรัสเซีย แต่สามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้ในที่เลี้ยง จึงมีการนำเข้าจากสหราชอาณาจักรไปปล่อยในแหล่งน้ำของสเปนจนกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ตั้งแต่ทศวรรษที่ 50 เป็นปลาที่หากินเพียงลำตัวตัวเดียว กินอาหารโดยไม่เลือกแม้กระทั่ง สัตว์ปีก หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หรือแม้แต่กินพวกเดียวกันเอง จนทำให้มีคำเล่าลือกันในยุคกลางว่ากินกระทั่งมนุษย์ หรือมีการผ่าท้องแล้วเจอเศษซากชิ้นส่วนมนุษย์อยู่ภายใน แต่โดยปกติแล้ว อาหารคือ กุ้ง, ปู และปลา หากินในเวลากลางคืน มีพฤติกรรมการขยายพันธุ์ โดยตัวผู้จะเป็นผู้ดูแลไข่จนฟักเป็นตัว ด้วยความที่เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ จึงนิยมตกกันเป็นเกมกีฬา โดยเฉพาะในทวีปยุโรป ซึ่งสามารถตกได้ด้วยมือเปล่าได้ ด้วยการสวมถุงมือที่ยาวถึงต้นแขน แล้วใช้มือล้วงเข้าไปในโพรงที่ปลาอาศัย แล้วดึงปลาออกมาด้วยการให้ปลางับที่มือ นิยมปรุงเป็นอาหาร และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามและแสดงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ โดยเฉพาะในตัวที่เป็นสีขาวล้วน.

ใหม่!!: ตาและปลาเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือหกขีด

ปลาเสือหกขีด หรือ ปลาเสือป่าพรุ (Six-band barb) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะและรูปร่างคล้ายกับปลาเสือห้าขีด (D. pentazona) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวแบนข้าง ส่วนหลังโค้ง หัวมีขนาดเล็ก ตาโต ปากมีขนาดเล็ก มีหนวดที่มุมปาก 1 คู่ จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่กลางตัว และอยู่หลังครีบท้อง ครีบหางแฉกเว้าลึก สีพื้นของลำตัวเป็นสีขาวเงิน มีแถบสีดำบนลำตัว 6 แถบ โดยมีที่ลำตัว 5 แถบ และที่ส่วนหัวอีก 1 แถบ พาดผ่านตา เกล็ดบางเกล็ดมีสีขาวเงินสะท้อนแสง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศไทยในป่าพรุต่าง ๆ เช่น ป่าพรุโต๊ะแดง และพบเรื่อยไปจนถึงแหลมมลายู, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเป็นปลาที่เลี้ยงได้ง่ายมาก นิยมเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงหรือรวมกับปลาขนาดใกล้เคียงกันในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: ตาและปลาเสือหกขีด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเฉี่ยวหิน

ปลาเฉี่ยวหิน หรือ ปลาเฉี่ยว หรือ ปลาผีเสื้อเงิน หรือ ปลาโสร่งแขก (Silver moony) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monodactylus argenteus อยู่ในวงศ์ปลาเฉี่ยว (Monodactylidae) มีรูปร่างแบนข้างมาก ลำตัวป้อมสั้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม ครีบหลังและครีบก้นยื่นยาว ผิวลำตัวสีเงินเหลือบเป็นประกายแวววาว เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด ครีบหลังสีเหลืองมีลายคาดสีดำตามขวางผ่านตาและบริเวณขอบแผ่นปิดเหงือก ปากเล็กและเฉียงขึ้นบน หัวเล็ก ดวงตากลมโต สามารถโตได้ถึง 13 นิ้ว แต่โดยทั่วไปจะอยู่ที่ 8 นิ้ว มีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่งในเขตอบอุ่น มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาตะวันออก, ซามัว ไปจนถึงนิวแคลิโดเนียจนถึงออสเตรเลีย สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยและน้ำจืดสนิทได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง และความสามารถที่ปรับตัวในน้ำจืดได้ จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกในวงการปลาสวยงามว่า "บอร์เนียว" หรือ "เทวดาบอร์เนียว" เนื่องจากมีรูปร่างคล้ายปลาเทวดา ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง โดยแม่ปลาจะวางไข่ได้ทั้งปี โดยการแบ่งเพศจะไม่สามารถทำได้ จนกว่าจะถึงฤดูผสมพันธุ์ โดยสังเกตคร่าว ๆ ว่า ปลาเพศเมียนั้นจะมีขนาดใหญ่ปลาเพศผู้ และช่องท้องจะอูมกว่า ช่องเพศจะเต่งตึงขณะกำลังตั้งท้อง โดยจะเพาะได้ในบ่อดิน การรวบรวมไข่จะกระทำได้ต่อเมื่อถ่ายน้ำ โดยใช้วัสดุตาข่ายที่มีความละเอียดกรอง.

ใหม่!!: ตาและปลาเฉี่ยวหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปวดศีรษะ

อาการปวดศีรษะคืออาการปวดซึ่งเกิดกับบริเวณใดๆ ของศีรษะและคอ ซึ่งอาจเป็นอาการของหลายๆ ภาวะที่เกิดกับศีรษะและคอ ทั้งนี้เนื่องจากเนื้อเยื่อสมองนั้นไม่สามารถรับรู้ความเจ็บปวดได้เนื่องจากไม่มีตัวรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวด ดังนั้นอาการปวดศีรษะส่วนใหญ่เกิดจากความผิดปกติของอวัยวะอื่นๆ รอบๆ สมองที่สามารถรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดได้ โดยอวัยวะเหล่านี้อาจแบ่งออกได้เป็นสองกลุ่ม คือ ส่วนที่อยู่ในกะโหลกศีรษะ (หลอดเลือด เยื่อหุ้มสมอง และเส้นประสาทสมอง) และนอกกะโหลกศีรษะ (เยื่อหุ้มกระดูกของกะโหลกศีรษะ กล้ามเนื้อ เส้นประสาท หลอดเลือด เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ตา หู โพรงอากาศ และเยื่อบุ) ระบบการจำแนกประเภทอาการปวดศีรษะมีใช้อยู่หลายระบบ ระบบหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายคือระบบของ International Headache Society (สมาคมอาการปวดศีรษะนานาชาติ) วิธีการรักษาอาการปวดศีรษะขึ้นอยู่กับโรคที่เป็นสาเหตุ แต่ส่วนใหญ่มักมีการใช้ยาแก้ปวดร่วมในการรักษาด้วยเสมอ.

ใหม่!!: ตาและปวดศีรษะ · ดูเพิ่มเติม »

ปางทรงพยากรณ์

ปางทรงพยากรณ์ เป็นพระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถบรรทมตะแคงขวา ลืมพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย (หมอน) พระหัตถ์ซ้ายทอดทาบไปตามพระวรกาย พระหัตถ์ขวายกขึ้นวางที่พระอุทร (ท้อง).

ใหม่!!: ตาและปางทรงพยากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิน็อกกีโอ

วาด ''ปิน็อกกีโอ'' โดยเอนริโก มัซซานติ ปี ค.ศ. 1883 ปิน็อกกีโอ (Pinocchio) เป็นวรรณกรรมเยาวชนภาษาอิตาเลียน ผลงานของ การ์โล กอลโลดี (Carlo Collodi) นักประพันธ์ชาวอิตาเลียน ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1880 เรื่องปิน็อกกีโอนี้ ได้กลายมาเป็นเรื่องอ่านเล่นคลาสสิกสำหรับเด็ก และแพร่หลายอย่างกว้างขวาง โดยมีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ เผยแพร่ไปทั่วโลก ทั้งยังมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์มากกว่า 20 ครั้ง โดยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดนั้น เป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวของ วอลต์ ดิสนีย์ (Walt Disney) ส่วนที่ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ ได้แก่ภาพยนตร์ที่ใช้คนแสดงในปี ค.ศ. 2002 กำกับและแสดงโดย Roberto Benigni ในชื่อเรื่อง พินอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัย ปิน็อกกีโอ เป็นเรื่องราวการผจญภัยของหุ่นไม้ที่มีชีวิต กับพ่อผู้ยากจนของเขา เจปเปตโต ซึ่งเป็นช่างไม้ ปิน็อกกีโอมีลักษณะเด่นที่รู้จักกันดี คือ เมื่อพูดโกหก จมูกของเขาจะยาวขึ้น กอลโลดีนั้นไม่ได้ตั้งใจที่จะเขียนเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องสำหรับเด็กตั้งแต่แรก ในเนื้อเรื่องดั้งเดิมนั้น ปิน็อกกีโอถูกแขวนคอตาย เนื่องจากทำความผิดนับครั้งไม่ถ้วน แต่ก็ได้แก้ไขในฉบับถัดมา ซึ่งตอนจบนั้น ได้แก้ให้หุ่นกระบอกนั้นกลายเป็นเด็กที่มีชีวิตจริง ๆ ซึ่งก็เป็นตอนจบที่เรารู้จักกันดี.

ใหม่!!: ตาและปิน็อกกีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ปูจั๊กจั่น

ปูจักจั่น (อังกฤษ: Red Frog Crab, Spanner Crab, Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ Raninidae ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ไทย จนไปถึงหมู่เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก จัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ranina.

ใหม่!!: ตาและปูจั๊กจั่น · ดูเพิ่มเติม »

นกอินทรีสีน้ำตาล

นกอินทรีสีน้ำตาล(อังกฤษ:Tawny eagle-ชื่อวิทยาศาสตร์:Aquila rapax)เป็นนกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ตัวผู้กับตัวเมียมีลักษณะใกล้เคียงกันมาก ลักษณะสีขนของพวกมันแบ่งเป็น 2 แบบคือ แบบสีเข้มจะมีสีน้ำตาลและแบบสีอ่อนจะมีสีขาวน้ำตาล ขนาด 62-78 ซม.

ใหม่!!: ตาและนกอินทรีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

นกทึดทือมลายู

นกทึดทือมลายู หรือ นกเค้าแมวมลายู หรือ นกฮูกมลายู หรือ นกพิทิดพิที ในภาษาใต้ (Buffy fish owl, Malay fish owl; หรือ Bubo ketupa) นกล่าเหยื่อชนิดหนึ่ง จำพวกนกเค้าแมว เป็นนกเค้าแมวขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 49-50 เซนติเมตร ปีกสั้นกว่า 40 เซนติเมตร ดวงตาสีเหลืองจนถึงเหลืองแกมทอง มีขนเหนือคิ้วเป็นแผงยาวออกไปด้านข้างทั้งสองด้าน ส่วนขนบริเวณเหนือโคนปากเป็นสีขาว ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลมีลายสีจางกระจาย ด้านล่างสีเนื้อแกมน้ำตาลเหลือง มีลายขีดสีดำ เมื่อหุบปีกจะเห็นลายแถบสีน้ำตาลจางสลับสีเข้มบริเวณปลายปีก ขาสีเขียว มีเล็บโค้งแหลม และมีปากงุ้มแหลม มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาวต่อฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเมษายน ทำรังอยู่ในโพรงไม้ หรือใช้รังเก่าของนกอื่น ๆ เป็นรัง ออกไข่ครั้งละ 1-3 ฟอง ลักษณะไข่มีเปลือกสีขาวและทรงกลม ตัวผู้จะเป็นฝ่ายส่งเสียงร้องเรียกตัวเมีย มักอาศัยอยู่ตามป่าดิบแล้ง, ป่าดิบชื้น ตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 800 เมตรจากระดับน้ำทะเล ใกล้แหล่งน้ำหรือลำธารในป่า และบริเวณใกล้ชายฝั่ง ส่วนใหญ่หากินในเวลากลางคืน จับสัตว์ขนาดเล็กกินเป็นอาหาร ซึ่งได้แก่ ปลา, กบ, ปู, ค้างคาว, นกชนิดอื่น และสัตว์เลื้อยคลานเกือบทุกชนิด เมื่อเวลาบินล่าเหยื่อจะบินได้เงียบกริบมาก พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ตอนล่างของไทยเช่น จังหวัดนราธิวาส พบไปตลอดแหลมมลายูจนถึงประเทศอินโดนีเซีย, เกาะชวา และหมู่เกาะซุนดา ซึ่งนกทึดทือมลายู เป็นนกที่ถูกอ้างอิงถึงในนวนิยายสำหรับเด็กเรื่อง แฮร์รี่ พ็อตเตอร์ ด้วยเป็นนกของแฮร์รี่ พ็อตเตอร์ ตัวละครเอก เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546.

ใหม่!!: ตาและนกทึดทือมลายู · ดูเพิ่มเติม »

นกแสกแดง (สกุล)

นกแสกแดง (Bay owl) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อที่หากินในเวลากลางคืน จำพวกนกเค้าแมวสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Phodilus อยู่ในวงศ์ย่อย Phodilinae ในวงศ์นกแสก (Phodilidae) มีลักษณะแตกต่างจากนกแสกในสกุล Tyto คือ มีขนที่ตั้งแหลมเหนือตาแลหูคล้ายหู มีใบหน้าที่เป็นรูปตัวยู เป็นวงกลมมากกว่า และมีขาที่แข็งแรง สามารถเกาะกิ่งไม้ในลักษณะตัวตั้งตรงได้ รวมทั้งเสียงร้องที่แตกต่างกันด้วย มีการล่าเหยื่อด้วยการจ้องมองและการโยกหัวไปมา และใช้การบินไปเกาะยังใต้ต้นไม้ต้นเล็ก ๆ ใต้เรือนยอดป่า แล้วจึงจับเหยื่อ เนื่องจากมีปีกที่กลมและสั้น มีเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: ตาและนกแสกแดง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าเหยี่ยว

นกเค้าเหยี่ยว (Brown Hawk-owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายกับนกเหยี่ยวหรืออินทรี มีลำตัวขนาดใหญ่ ปีกกว้างและกลมมน ตากลมโตสีเหลืองทอง ระหว่างตามีแถบคาดสีเหลือง หัวและลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวด้านล่างสีกีกาหรือสีขาว มีลายจุดสีน้ำตาลหรือน้ำตาลเหลือง มีขนาดใหญ่เต็มที่สูงได้ถึง 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคตะวันออกกลางจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ หมู่เกาะอันดามันในทะเลอันดามัน จนถึงภาคใต้ของจีนและหมู่เกาะต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในภาคเหนือ, ภาคตะวันตก, ภาคใต้, บางส่วนของภาคตะวันออก และจัดเป็นนกอพยพในภาคใต้ โดยพบในป่าโปร่ง, ป่าชายเลน จนถึงป่าที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 1,200 เมตร มีทั้งหมด 12 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าในประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ตาและนกเค้าเหยี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

นาค

นาคสะดุ้ง ประติมากรรมตามบันไดทางขึ้นโบสถ์ของวัดไทย ตามความเชื่อในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นาค (नाग Nāga) เป็นงูขนาดใหญ่มีหงอน เป็นสัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ ความอุดมสมบูรณ์ ความมีวาสนา อีกทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ของบันไดสู่จักรวาลอีกด้วย ต้นกำเนิดความเชื่อเรื่องพญานาคน่าจะมาจากอินเดีย ด้วยมีปกรณัมหลายเรื่องเล่าถึงพญานาค โดยเฉพาะในมหากาพย์มหาภารตะ นาคถือเป็นปรปักษ์ของครุฑ ส่วนในตำนานพุทธประวัติ ก็เล่าถึงพญานาคไว้หลายครั้งด้วยกัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังมีตำนานเรื่องพญานาคอย่างแพร่หลาย ชาวบ้านในภูมิภาคนี้มักเชื่อกันว่าพญานาคอาศัยอยู่ในแม่น้ำโขง หรือเมืองบาดาล และเชื่อกันว่าเคยมีคนเคยพบรอยพญานาคขึ้นมาในวันออกพรรษาโดยจะมีลักษณะคล้ายรอยของงูขนาดใหญ่ ลักษณะของพญานาคตามความเชื่อในแต่ละภูมิภาคจะแตกต่างกันไป แต่พื้นฐานคือพญานาคนั้นมีลักษณะตัวเป็นงูตัวใหญ่มีหงอนสีทองและตาสีแดง เกล็ดเหมือนปลามีหลายสีแตกต่างกันไปตามบารมี บ้างก็มีสีเขียว บ้างก็มีสีดำ หรือบ้างก็มี 7 สี เหมือนสีของรุ้ง และที่สำคัญคือนาคตระกูลธรรมดาจะมีเศียรเดียว แต่ตระกูลที่สูงขึ้นไปนั้นจะมีสามเศียร ห้าเศียร เจ็ดเศียรและเก้าเศียร นาคจำพวกนี้จะสืบเชื้อสายมาจาก พญาเศษะ (อนันตนาคราช) ผู้เป็นบัลลังก์ของพระวิษณุนารายณ์ปรมนาท ณ เกษียรสมุทร อนันตนาคราชนั้นเล่ากันว่ามีกายใหญ่โตมหึมามีความยาวไม่สิ้นสุด มีพันศีรษะ พญานาคนั้นมีทั้งเกิดในน้ำและบนบก เกิดจากครรภ์และจากไข่ มีอิทธิฤทธิ์สามารถบันดาลให้เกิดคุณและโทษได้ นาคนั้นมักจะแปลงร่างเป็นมนุษย์รูปร่างสวยงาม.

ใหม่!!: ตาและนาค · ดูเพิ่มเติม »

นิติเวชกีฏวิทยา

นิติเวชกีฏวิทยา (Forensic Entomology) เป็นสาขาหนึ่งของการทำงานทางด้านกีฏวิทยา ที่เพิ่งจะได้รับความสนใจจากนักกีฏวิทยาและนักวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านนิติอาชญากรรม หรือผู้ที่ทำงานที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านพิสูจน์ศพที่พบ หรือหลังจากถึงแก่ความตายในระยะเวลาหนึ่ง สาขานิติเวชกีฏวิทยาจึงได้เข้าไปมีบทบาทเกี่ยวข้องกับคดีความทางกฎหมายด้วยเช่นกัน งานศึกษาทางนิติเวชกีฏวิทยาเป็นการศึกษาถึงชนิดของแมลงที่ตรวจพบในซากศพ ซึ่งชนิดของแมลงที่พบจากซากศพนั้นจะเป็นข้อบ่งชี้กับระยะเวลาที่เกิดการตายของศพนั้น.

ใหม่!!: ตาและนิติเวชกีฏวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตา

กายวิภาคของอวัยวะอันเกี่ยวข้องกับน้ำตาBreak a) ต่อมน้ำตาBreak b) จุดน้ำตาชั้นบนBreak c) ท่อทางเดินน้ำตาชั้นบนBreak d) ถุงน้ำตาBreak e) จุดน้ำตาชั้นล่างBreak f) ท่อทางเดินน้ำตาชั้นล่างBreak g) คลองท่อน้ำตา น้ำตา เกิดจากการหลั่งน้ำตา (Lacrimation หรือ lachrymation) ที่มีหน้าที่ทำความสะอาดและหล่อลื่นดวงตาเพื่อตอบสนองต่ออาการระคายเคืองตา น้ำตาที่เกิดจากการร้องไห้มีผลมาจากความรู้สึกรุนแรงภายใน เช่น ความโศกเศร้า ความปิติยินดี อารมณ์ ความกลัวเกรง หรือความยินดี การหัวเราะและการหาวก็สามารถทำให้เกิดน้ำตาได้.

ใหม่!!: ตาและน้ำตา · ดูเพิ่มเติม »

แบบสิ่งเร้า

แบบสิ่งเร้า หรือ แบบความรู้สึก (Stimulus modality, sensory modality) เป็นลักษณะอย่างหนึ่งของสิ่งเร้า หรือเป็นสิ่งที่เรารับรู้เนื่องจากสิ่งเร้า ยกตัวอย่างเช่น เราจะรู้สึกร้อนหรือเย็นหลังจากมีการเร้าตัวรับอุณหภูมิของระบบรับความรู้สึกทางกาย เช่น ด้วยวัตถุที่ร้อน แบบสิ่งเร้าบางอย่างรวมทั้งแสง เสียง อุณหภูมิ รสชาติ แรงดัน กลิ่น และสัมผัส ประเภทและตำแหน่งของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่ทำงานเนื่องจากสิ่งเร้า จะเป็นตัวกำหนดการเข้ารหัสความรู้สึก แบบความรู้สึกต่าง ๆ อาจทำงานร่วมกันเพื่อเพิ่มความชัดเจนของสิ่งเร้าเมื่อจำเป็น.

ใหม่!!: ตาและแบบสิ่งเร้า · ดูเพิ่มเติม »

แบล็ก แอนนิส

แบล็ก แอนนิส (Black Annis) เป็นผีที่มีต้นกำเนิดจากประเทศอังกฤษ มีลักษณะดวงตากลมโตและขุ่นมัว เหยื่อของแบล็ก แอนนิส คือเด็ก มีความเชื่อว่าถ้ามันเห็นเด็กเมื่อไหร่ มันจะขึ้นไปอยู่บนหน้าอก พร้อมกับดูดเอาลมหายใจ ออกมาจากร่างของเด็กคนนั้น เมื่อลมหายใจหมดแล้ว มันก็จะถลกหนังแล้วกินเนื้อของเด็กผู้เคราะห์ร้ายนั้น.

ใหม่!!: ตาและแบล็ก แอนนิส · ดูเพิ่มเติม »

แก้ม

แก้ม (cheek, buccae) เป็นส่วนประกอบของหน้าอยู่ใต้ตาและอยู่ระหว่างจมูกกับหู มีทั้งข้างซ้ายและขวา หมวดหมู่:ศีรษะและคอ หมวดหมู่:ลักษณะบนใบหน้า.

ใหม่!!: ตาและแก้ม · ดูเพิ่มเติม »

แมงสี่หูห้าตา

วาดแมงสี่หูห้าตาตามตำนวนวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว จังหวัดเชียงราย โดย พระครูบาสนอง สุมะโน เมื่อปี พ.ศ. 2528 แมงสี่หูห้าตา เป็นชื่อสัตว์ประหลาดตัวหนึ่งในตำนานว่าด้วยวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย มีลักษณะเหมือนหมีสีดำตัวอ้วน มีหูสองคู่และตาห้าดวง รับประทานถ่านไฟร้อนเป็นอาหาร และถ่ายมูลเป็นทองคำ ตำนานของแมงสี่หูห้าตานั้นเกี่ยวข้องกับการสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้วของจังหวัดเชียงราย และเชื่อกันว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ชายหลงรักอนุภรรยามากกว่าเอกภรรยาด้ว.

ใหม่!!: ตาและแมงสี่หูห้าตา · ดูเพิ่มเติม »

แว่นตา

แว่นตาสมัยใหม่ แว่นตาเป็น เลนส์ที่สวมอยู่ในกรอบ สำหรับใส่ข้างหน้าตา ปกติเพื่อปรับแก้การมองเห็น ป้องกันตา หรือเพื่อป้องกัน รังสีเหนือม่วง โดยแว่นตานี้ จะถูกใช้เนื่องจากหลายๆกรณี อาทิ เช่น คนที่มีปัญหาทางด้านสายตา ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น สายตายาว ผู้มีปัญหาทางตาเช่นโรคต้อบางชนิดที่จำเป็นต้องป้องกันนัยต์ตาไม่ให้โดนลมปะทะ หรือในบางครั้ง ยังสามารถใช้เป็นแว่นตาสำหรับใส่เล่น(แฟชั่น ได้อีกด้วย) และข้อดีอย่างนึงคือ สามารถกันรังสีต่างๆที่ออกมาจากคอมพิวเตอร์ ทำให้ช่วยในเรื่องของการถนอมสายตาได้อีกด้วย แว่นสมัยใหม่โดยทั่วไปทำจากโลหะหรือพลาสติก ซึ่งจะมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป สำหรับกรอบแว่นสายตาที่มีกรอบเป็นพลาสติกมีคุณสมบัติเรื่องของความเบาของตัวแว่น ทำให้ผุ้ใช้รู้สึกสบายตา ไม่ปวดศีรษะ แต่มีข้อเสียในเรื่องของความทนทาน สำหรับกรอบแว่นสายตาที่มีกรอบเป็นโลหะนี้ จะมีน้ำหนักที่ค่อนข้างมาก แต่มีข้อดีคือความทนทาน ในปัจจุบันมีแว่นตาหลากหลายรูปทรงให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็นทรงสี่เหลี่ยม ทรงกลม ทรงรี ซึ่งแว่นตาแต่ละรูปทรง สามารถมีส่วนช่วยในเรื่องของการปรับรูปหน้าผู้ใส่ได้ ขึ้นอยู่กับการเลือกเฟ้นของผู้ใช้เอง อาทิเช่น กรอบแว่นตาทรงสี่เหลี่ยมจะเหมาะกับทั้งคนที่มีหน้ากลมและหน้ายาว เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและแว่นตา · ดูเพิ่มเติม »

แอมฟิอูมาสองนิ้ว

แอมฟิอูมาสองนิ้ว (Two-toed amphiuma, Conger eel, Congo snake, Blind eel) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์แอมฟิอูมา (Amphiumidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลหรืองู ลำตัวลื่นเต็มไปด้วยเมือก ตามีขนาดเล็กมาก ผิวหนังเป็นสีน้ำเงินเข้มหรือดำ ส่วนหัวแหลมยาว ปากกว้างมาก ภายในปากมีฟันที่แหลมคม ขามีขนาดเล็กและสั้นมาก มีนิ้วเท้าทั้งหมด 2 นิ้ว อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวได้ถึง 120 เซนติเมตร น้ำหนัก 1,042 กรัม นับเป็นแอมฟิอูมาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำแถบรัฐลุยเซียนา, เวอร์จิเนีย, นอร์ทแคโรไลนา, เซาท์แคโรไลนา และฟลอริดา ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินสัตว์ขนาดเล็กกว่าได้หลากหลาย ทั้ง ปลา, แมลง, กุ้ง, ปู, หอย รวมถึงสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เช่น นกหรือหนูได้ด้วย โดยเป็นสัตว์ที่มีนิสัยดุร้าย ก้าวร้าว มีฤดูกาลขยายพันธุ์ระหว่างเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม ตัวเมียวางไข่ราว 200 ฟอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์แปลก โดยเลี้ยงในตู้ปลาและจัดสภาพแวดล้อมให้เหมือนในธรรมชาต.

ใหม่!!: ตาและแอมฟิอูมาสองนิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต

แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต หรือเรียกว่า ไบคาร์บอเนตออฟแอมโมเนีย, แอมโมเนียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต, ฮาร์ตสฮอร์น (hartshorn), or ผงเบกิ่งแอมโมเนีย เป็น เกลือไบคาร์บอเนต ของ แอมโมเนีย แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต สามารถทำให้เกิดได้โดยการผ่าน คาร์บอนไดออกไซด์ เข้าไปในสารละลายแอมโมเนีย จะได้ผงสีขาว ไม่มีกลิ่น ละลายน้ำได้เล็กน้อย สารละลายของแอมโมเนียม ไบคาร์บอเนตเมื่อสัมผัสกับอากาศหรือโดนความร้อนจะปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ ออกมามันทำตัวเป็นด่างในปฏิกิริยา สารละลายทั้งหมดของคาร์บอเนตเมื่อถูกต้มจะสะลายตัวเกิดเป็น คาร์บอนไดออกไซด์ และ แอมโมเนียดังสมการข้างล่างนี้.

ใหม่!!: ตาและแอมโมเนียมไบคาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

แอนทิโลป

วาดของส่วนหัวและเขาของแอนทิโลปหลายชนิด แอนทิโลป (antelope) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่ง มีหลายชนิด ในหลายสกุล ในอันดับสัตว์กีบคู่ ในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) โดยทั่วไปแล้วแอนทิโลปจะมีลักษณะคล้ายกับกวางซึ่งเป็นสัตว์กีบคู่เหมือนกัน แต่อยู่ในวงศ์กวาง (Cervidae) และคำนิยามในพจนานุกรมก็มักจะระบุเช่นนั้นว่า แอนทิโลปเป็นสัตว์จำพวกเนื้อและกวางชนิดที่มีเขาเป็นเกลียว หรือบางทีก็แปลว่า ละมั่ง แต่ที่จริงแล้วแอนทิโลปมิใช่กวาง แม้จะมีรูปร่างภายนอกคล้ายคลึงกันก็ตาม แต่แอนทิโลปเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับวัวหรือควาย, แพะ หรือแกะ เนื่องจากจัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน ซึ่งลักษณะสำคัญของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ เขามีลักษณะโค้งเป็นเกลียว แต่ข้างในกลวง และมีถุงน้ำดี แอนทิโลปกระจายพันธุ์ไปในแอฟริกาและยูเรเชีย แต่ไม่พบในประเทศไทย โดยสัตว์ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นแอนทิโลปได้ในประเทศไทย ได้แก่ เลียงผา และกวางผา ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ตามภูเขาสูง พบเห็นตัวได้ยาก คำว่า แอนทิโลป ปรากฏครั้งแรกในภาษาอังกฤษเมื่อปี ค.ศ. 1417 โดยได้รับมาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า หรืออาจจะมาจากภาษากรีกคำว่า "anthos" ซึ่งหมายถึง "ดอกไม้" และ "ops" ที่หมายถึง "ตา" อาจหมายถึง "ตาสวย" หรือแปลได้ว่า "สัตว์ที่มีขนตาสวย" แต่ในระยะต่อมาในเชิงศัพทมูลวิทยาคำว่า "talopus" และ "calopus" มาจากภาษาละตินในปี ค.ศ. 1607 ใช้เป็นครั้งแรกเพื่อเรียกสัตว์จำพวกกวาง แอนทิโลปมีประมาณ 90 ชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา มี 30 สกุล กระจายไปในวงศ์ย่อยต่าง ๆ เช่น Alcelaphinae, Antilopinae, Hippotraginae, Reduncinae, Cephalophinae, Bovinae รวมถึงอิมพาลา บางครั้งก็ถูกเรียกว่าแอนทิโลปบ้างเหมือนกัน.

ใหม่!!: ตาและแอนทิโลป · ดูเพิ่มเติม »

แจ็ค ข้อเท้าสปริง

วาดแจ็ค ข้อเท้าสปริง ในปี ค.ศ. 1890 แจ็ค ข้อเท้าสปริง (Spring Heeled Jack) เป็นตัวละครตัวหนึ่งในคติชนวิทยาอังกฤษ ว่ากันว่าเป็นผู้ต้องหาลึกลับที่ก่อคดีลวนลามผู้หญิงหลายรายในยุควิคตอเรียของประวัติศาสตร์อังกฤษ ที่จนถึงบัดนี้ก็ยังไม่รู้ว่าเป็นใคร โดยแต่งตัวประหลาดคล้ายผีหรือปีศาจรูปร่างผอมสูง และสามารถกระโดดได้สูงมากผิดมนุษย์ปกติธรรม.

ใหม่!!: ตาและแจ็ค ข้อเท้าสปริง · ดูเพิ่มเติม »

แทนาทอส

แทนาทอส (Thanatos, กรีกโบราณ: θάνατος แปลว่า ความตาย) หรือ ออร์คัส (Orcus) ในภาษาลาตินที่ชาวโรมันเรียก เป็นเทพองค์หนึ่งในตำนานเทพของกรีก เป็นเทพแห่งความความตาย เป็นผู้ที่สามารถควบคุมความตายของสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตบนโลก เป็นบุตรชายของนิกซ์ (Nyx) เทพีแห่งราตรี และ อีราบัส (Erabus) เทพแห่งความมืด เป็นน้องชายฝาแฝดของฮิปนอส (Hypnos) เทพแห่งนิทรา โดยทั้งคู่อาศัยอยู่ยังขุมนรก เป็นเทพผู้ช่วยของฮาเดส (Hades) จ้าวแห่งนรก แทนาทอสนั้นจะรับวิญญาณของผู้ที่ตายอย่างสงบไปยังยมโลกด้วยตนเอง แต่จะให้เหล่าเคอร์ซึ่งเป็นพี่สาวจับวิญญาณที่ตายอย่างทารุณไปก่อน รูปลักษณ์ของทั้งฮิปนอสและแทนาทอส มักเป็นรูปชายหนุ่มเปลือยกาย หน้าตาเหมือนกัน ทั้งคู่จะมีปีกอยู่ที่ศีรษะคนละข้างสลับกัน มือหนึ่งของแทนาทอสมักถือผีเสื้อหรือมาลัยดอกไม้ โดยบทบาทของแทนาทอสในเทพนิยาย แทนาทอสจะเป็นผู้รับวิญญาณมนุษย์ไปยังยมโลก แต่ในบางตำนานจะยกบทบาทนี้ให้เฮอร์มีส (Hermes) เทพแห่งการสื่อสาร ปรากฏตอนนึงความว่า ได้ถูกกษัตริย์ซีซิสฟัส (Sisyphus) หลอกล่อจนหลงกลแล้วถูกจับขัง ทำให้ไม่มีคนตาย จนกระทั่งเอรีส (Ares) เทพแห่งสงครามหงุดหงิดที่ไม่มีคนตายในการสู้รบ จึงได้ใช้กำลังปลดปล่อยแทนาทอสและพาซีซิสฟัสไปยังยมโลก เนื่องจากเป็นเทพแห่งความตาย ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนหวาดกลัว และแม้แต่เหล่าเทพก็ยังรังเกียจแทนาทอส จึงนับว่า แทนาทอสเป็นปีศาจตนหนึ่งก็ว่าได้ โดยแทนาทอสเองก็เกลียดชังมนุษย์และเทพเจ้าอื่น ๆ เช่นเดียวกัน แทนาทอสนั้นเคยต่อสู้กับวีรบุรุษ เฮราคลีส โดยเฮราคลีสนั้นต้องการช่วยเหลือราชินีอัลเคสทิส (Alkestis) ซึ่งยอมสละชีวิตตนเพื่อให้พระสวามี แอดมีตอส (Admetos) มีพระชนม์ชีพยืนยาว เมื่อเฮราคลีสสามารถล้มแทนาทอสได้จึงเท่ากับเป็นผู้มีชัยเหนือความตาย แทนาทอสจึงยอมให้อัลเคสทิสมีชีวิตต่อไป.

ใหม่!!: ตาและแทนาทอส · ดูเพิ่มเติม »

แซนโทฟิลล์

รงสร้างทางเคมีของคริปโทแซนทิน สีของไข่แดงมาจากลูทีนและซีอาแซนทิน แซนโทฟิลล์ (xanthophyll) เดิมเรียก ฟิลโลแซนทิน (phylloxanthin) เป็นรงควัตถุสีเหลืองที่พบในธรรมชาติ เป็นหนึ่งในสารกลุ่มแคโรทีนอยด์ มีสูตรเคมีคือ C40H56O2 คำว่า "แซนโทฟิลล์" มาจากคำในภาษากรีก ξανθός (xanthos แปลว่า "เหลือง") และ φύλλον (phyllon แปลว่า "ใบไม้") เนื่องจากพบเป็นแถบสีเหลืองบนแผ่นทดสอบที่ผ่านกระบวนการโครมาโทกราฟี.

ใหม่!!: ตาและแซนโทฟิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โกโช อาโอยามะ

กโช อาโอยามะ (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2506) ชื่อเกิด โยชิมาซะ อาโอยามะ เป็นนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียงจากการ์ตูนเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน นอกจากนี้เขายังเป็นผู้ออกแบบตัวละครที่เป็นมนุษย์ให้แก่อะนิเมะเรื่อง แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย อีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและโกโช อาโอยามะ · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์

ันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์ (Johann Gottfried Zinn; 6 ธันวาคม ค.ศ. 1727 – 6 เมษายน ค.ศ. 1759) เป็นนักพฤกษศาสตร์และนักกายวิภาคศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองชวาบัคในปี..

ใหม่!!: ตาและโยฮันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคจอตามีสารสี

Retinitis pigmentosaหรือว่า โรคอาร์พี (ตัวย่อ RP) เป็นโรคจอตาเสื่อมที่สามารถสืบทอดทางกรรมพันธุ์ที่เป็นเหตุแห่งความเสียหายต่อการเห็นอย่างรุนแรงบ่อยครั้งถึงขั้นตาบอด แต่ว่าการเสื่อมของ RP มีความต่าง ๆ กัน บางคนแสดงอาการตั้งแต่เป็นทารก บางคนอาจจะไม่เห็นอาการอะไรจนกระทั่งเลยวัยกลางคนไป โดยทั่วไป ยิ่งปรากฏอาการสายเท่าไร ความเสื่อมก็ยิ่งเป็นไปเร็วเท่านั้น บุคคลผู้ไม่มีอาร์พีสามารถเห็นได้ 90 องศาโดยรอบ (จากตรงกลางของลานสายตา) แต่บางคนที่มีอาร์พีเห็นได้น้อยกว่า 90 องศา โดยเป็นประเภทหนึ่งของโรคจอตาเสื่อม (retinopathy) อาร์พีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์รับแสง (คือเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย) หรือของเซลล์ retinal pigment epithelium (ในชั้น pigmented layer) ในเรตินาที่มีผลเป็นเป็นการสูญเสียการเห็นไปตามลำดับ ผู้ที่มีโรคนี้อาจประสบความผิดปกติในการปรับตัวจากที่สว่างไปที่มืด หรือจากที่มืดไปที่สว่าง เป็นอาการที่ใชเรียกว่า ตาบอดแสง (nyctalopia หรือ night blindness) ซึ่งเป็นผลจากความเสื่อมลานสายตาส่วนรอบ ๆ แต่บางครั้ง จะมีการสูญเสียการเห็นในส่วนตรงกลางก่อน ทำให้บุคคลนั้นต้องแลดูวัตถุต่าง ๆ ทางข้างตา ผลของการมีอาร์พีเห็นได้ง่ายถ้าเปรียบเทียบกับทีวีหรือจอคอมพิวเตอร์ คือ แสงจากพิกเซลที่สร้างภาพบนจอเหมือนกับเซลล์รับแสงเป็นล้าน ๆ ตัวในเรตินา ยิ่งมีพิกเซลน้อยลงเท่าไร ภาพที่เห็นก็ชัดน้อยลงเท่านั้น มีเซลล์รับแสงจำนวนน้อยกว่า 10% ที่สามารถรับภาพสี โดยเป็นแสงมีความเข้มสูงเหมือนกับที่มีในช่วงกลางวัน เซลล์เหล่านี้อยู่ตรงกลางของเรตินาที่มีรูปเป็นวงกลม เซลล์รับแสงกว่า 90% ที่เหลือรับแสงมีความเข้มต่ำ เป็นภาพขาวดำ ซึ่งใช้ในที่สลัวและในตอนกลางคืน เป็นเซลล์ซึ่งอยู่รอบ ๆ เรตินา RP ทำลายเซลล์รับแสงจากนอกเข้ามาส่วนตรงกลาง หรือจากส่วนตรงกลางออกไปด้านนอก หรือทำลายเป็นย่อม ๆ ที่ทำให้เซลล์ส่วนตรงนั้นมีประสิทธิภาพในการตรวจจับแสงได้น้อยลง ความเสื่อมจากโรคนี้จะมีการลุกลาม และยังไม่มีวิธีรักษ.

ใหม่!!: ตาและโรคจอตามีสารสี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

รงพยาบาลกรุงเทพพัทยา เป็นโรงพยาบาลเอกชน อยู่ทางภาคตะวันออก (ประเทศไทย) ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท กม.143 ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี (ในเขตเมืองพัทยา).

ใหม่!!: ตาและโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลขอนแก่น

รงพยาบาลขอนแก่น เป็นโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประเภทโรงพยาบาลศูนย์ ประเภทสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (advance tertiary care).

ใหม่!!: ตาและโรงพยาบาลขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157 โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศิลป์คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบี่กระบอง รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่งด้วยสี ลงรักปิดทอง ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขน ในสมัยโบราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็นทำนองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบันสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าที่ในการจัดการแสดงคำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ตาและโขน · ดูเพิ่มเติม »

โดะงู

งู ที่พบในจังหวัดมิยะงิ โดะงู เป็นจุลประติมากรรมอย่างหนึ่งของญี่ปุ่น พบในยุคโจมง (縄文時代) อันเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น (กินระยะเวลาประมาณ 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) โดะงูเป็นประติมากรรมที่ปั้นเป็นรูปมนุษย์ขนาดเล็ก แต่มีรูปร่างประหลาด โดยมีดวงตากลมโต หัวใหญ่ เอวคอด และสะโพกใหญ่ แลดูคล้ายกับสวมชุดมนุษย์อวกาศ สวมหมวกขนาดใหญ่ หรือคาดเข็มขัดรูปร่างประหลาด โดยมีตำนานเล่ากันว่า โดะงูนั้นมาจากฟากฟ้าและเป็นผู้สั่งสอนศิลปะวิทยาการให้แก่มนุษย์ในยุคนั้นได้มากมาย ดังนั้น จึงมีความเชื่อบางอย่างว่า โดะงู อาจจะเป็นรูปปั้นของมนุษย์ต่างดาวก็ได้ ซึ่งนักโบราณคดีได้ทำการเก็บสะสมโดะงูที่มีลักษณะต่าง ๆ ได้มากถึง 15,000 ชุด แต่ก็มีบางทฤษฎีอธิบายว่า โดะงูเป็นสัญลักษณ์ของการตั้งครรภ์ ซึ่งโดะงูก็คือ เทพมารดา มีการอ้างอิงถึงโดะงูไว้ในวัฒนธรรมร่วมสมัยต่าง ๆ ของญี่ปุ่น เช่น โดเรมอน ในตอน กำเนิดประเทศญี่ปุ่น (ท่องแดนญี่ปุ่นโบราณ) ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1989 โดะงูก็เป็นหุ่นยนต์ตัวหนึ่งของมนุษย์ต่างดาวที่มีแผนการจะยึดครองโลก.

ใหม่!!: ตาและโดะงู · ดูเพิ่มเติม »

ไบโอติน

อติน (biotin) หรือ วิตามินเอช (vitamin H) หรือ วิตามินบี7 (vitamin B7) เป็นวิตามินในกลุ่มวิตามินบีซึ่งสามารถละลายน้ำได้, วันที่สืบค้น 17 เมษายน 2559 จาก www.health.haijai.com.

ใหม่!!: ตาและไบโอติน · ดูเพิ่มเติม »

ไอโนะทะเนะ

อโนะทะเนะ (ญี่ปุ่น: 愛の種/โรมะจิ: Ai no Tane/คำแปล: ชนิดของความรัก) คือ เพลงซิงเกิลเปิดตัวอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มนักร้องหญิงญี่ปุ่นแนวเจ-ป็อปที่ชื่อมอร์นิงมุซุเมะ โดยได้รับการเปิดตัวภายใต้สังกัดอิสระเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ซิงเกิลนี้ถูกนำไปรวมไว้ในผลงานอัลบั้มของมอร์นิงมุซุเมะอยู่หลายชุด ไม่ว่าจะเป็น มอร์นิงคอฟฟี (อัลบั้มเพลงซิงเกิลอย่างเป็นทางการเพลงแรก) เฟิรสต์ไทม์ (อัลบั้มเต็มชุดแรก) และ เบสต์! มอร์นิงมุซุเมะ (อัลบั้มรวมเพลงชุดแรก) นอกจากนั้น ในผลงานอัลบั้ม เออร์ลีซิงเกิลบอกซ์ ไอโนะทะเนะยังได้รับการบรรจุเอาไว้ในรูปแบบของเพลงบรรเลงอยู่ด้วยภายในแผ่นคาราโอเกะพิเศษอีกด้ว.

ใหม่!!: ตาและไอโนะทะเนะ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนคลอไรด์

Submit to get this template or go to:Template:Chembox.

ใหม่!!: ตาและไฮโดรเจนคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์

รเจนเพอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide) มีสูตรทางเคมีว่า H2O2 เป็นสารประกอบเพอร์ออกไซด์ (สารที่ประกอบด้วยออกซิเจนสองตัวและเชื่อมกันด้วยพันธะเดี่ยว) รูปแบบที่ง่ายที่สุด มีสภาพเป็นของเหลวใส หนืดกว่าน้ำเล็กน้อย มีรสขม ไม่อยู่ตัว ซึ่งสามารถสลายตัวเป็นออกซิเจนกับน้ำ เมื่อเจือจางจะเป็นสารละลายไม่มีสี เนื่องจากไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์สามารถสลายตัวเป็นน้ำได้เมื่อถูกแสงและความร้อน จึงควรเก็บรักษาสารชนิดนี้ไว้ในภาชนะทึบแสง, ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.

ใหม่!!: ตาและไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทรออปส์

ทรออปส์ (Triops) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกสัตว์ขาปล้องประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในไฟลัมครัสตาเซียนเช่นเดียวกับ กุ้ง หรือ ปู และอยู่ในอันดับ Notostraca ในวงศ์ Triopsidae ไทรออปส์ เป็นสัตว์น้ำขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด มีรูปร่างประหลาดคล้ายแมงดาทะเล จึงมีผู้เรียกว่า "แมงดาทะเลน้ำจืด" หรือ "กุ้งไดโนเสาร์" เนื่องจากเป็นสัตว์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างมาตั้งแต่ยุคคาร์บอนิฟอรัส ราว 300 ล้านปีมาแล้ว จัดได้ว่าเป็นฟอสซิลที่มีชีวิตอีกจำพวกหนึ่งได้ ไทรออปส์ จัดอยู่ในสกุล Triops แบ่งออกได้ทั้งสิ้น 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ตาและไทรออปส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบวะซิซิวแมบ

วะซิซิวแมบ (Bevacizumab) ที่วางตลาดในชื่อการค้า Avastin เป็นยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งบางอย่างและโรคตาอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ สำหรับมะเร็ง มันปล่อยเข้าเส้นเลือดดำอย่างช้า ๆ เพื่อรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งปอด, มะเร็งสมอง (glioblastoma), และมะเร็งเซลล์ไต (renal cell carcinoma) สำหรับรักษาจุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (AMD) มันใช้ฉีดเข้าในตา ผลข้างเคียงสามัญเมื่อใช้รักษามะเร็งรวมทั้งเลือดกำเดาไหล ปวดหัว ความดันโลหิตสูง และผื่น ผลข้างเคียงรุนแรงรวมทั้งทางเดินอาหารทะลุ (gastrointestinal perforation) เลือดออก แพ้ ลิ่มเลือด และความเสี่ยงติดเชื้อสูงขึ้น เมื่อใช้รักษาตา ผลข้างเคียงรวมทั้งการเสียการเห็นและจอตาลอก bevacizumab อยู่ในหมู่ยายับยั้งกำเนิดหลอดเลือด (angiogenesis inhibitor) และสารภูมิต้านทานโมโนโคลน (monoclonal antibody) มันทำงานโดยชะลอการเกิด/การเติบโตของเส้นเลือด bevacizumab อนุมัติให้ใช้รักษาในสหรัฐอเมริกาปี 2004 เป็นยาอย่างหนึ่งในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก คือเป็นยาที่มีประสิทธิผลและปลอดภัยที่สุดและจำเป็นในระบบสาธารณสุข โดยติดรายการเพราะใช้รักษาโรคตา ในประเทศกำลังพัฒนา ราคาขายส่งของมันอยู่ที่ 638.54 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 20,741 บาท) ต่อขวดในปี 2014 เพื่อขวดขนาดเดียวกันองค์การอนามัยสหราชอาณาจักร (NHS) ต้องจ่าย 242.66 ปอนด์สเตอร์ลิง (ประมาณ 12,700 บาท).

ใหม่!!: ตาและเบวะซิซิวแมบ · ดูเพิ่มเติม »

เบียร์ดดราก้อน

ียร์ดดราก้อน หรือ มังกรเครา (Bearded dragon, Inland bearded dragon, Central bearded dragon) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกกิ้งก่า ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เบียร์ดดราก้อน มีสีลำตัวตามธรรมชาติสีน้ำตาลสลับกับลายสีครีมเข้ม ตามลำตัวจะเต็มไปด้วยเกล็ดและหนามเล็ก ๆ ใช้สำหรับป้องกันตัวจากศัตรูผู้ล่า แต่ไม่อาจทำอันตรายสัตว์อื่นใดก่อนได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวรวมหางประมาณ 16-18 นิ้ว มีจุดเด่นที่ถุงใต้คอซึ่งเป็นหนามแหลม แลดูคล้ายเครา อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ยิ่งโดยเฉพาะในตัวผู้ในวัยเจริญพันธุ์จะมีถุงนี้เห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะแผ่ขยายออกเป็นสีดำเวลาตื่นเต้น ตกใจ ต่อสู้ หรือใช้ในการเกี้ยวพาราสีตัวเมีย กระจายพันธุ์อยู่ในทะเลทราย ที่มีภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับกับเนินทรายเตี้ย ๆ ในประเทศออสเตรเลีย แถบรัฐควีนส์แลนด์, นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี, นิวเซาท์เวลส์ และวิกตอเรีย โดยหากินและอาศัยอยู่บนพื้นมากกว่าจะปีนป่ายตามก้อนหินหรือต้นไม้ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น หนอน, แมลง, กิ้งก่าขนาดเล็ก, ผักชนิดต่าง ๆ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 8-12 เดือน ในช่วงผสมพันธุ์ ตัวผู้อาจจะผสมพันธุ์กับตัวเมียได้หลายตัว อาจถึงหลักสิบ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 20-28 วัน เมื่อวางไข่ ตัวเมียจะไม่กินอาหารก่อน 2-4 วัน ซึ่งตัวเมียจะขุดหลุมกับพื้นทราย ก่อนที่จะวางไข่ในหลุมประมาณ 20-30 ฟองต่อครั้ง หลังจากวางไข่เรียบร้อยแล้ว ตัวเมียสามารถตั้งท้องได้อีกโดยที่ไม่ต้องผ่านการผสมพันธุ์อีกราว 2-4 ท้อง โดยทิ้งช่วงระยะเวลาประมาณ 20-28 วัน เท่ากับการตั้งท้อง ไข่เบียร์ดดราก้อนใช้เวลา 55-65 วัน ในการฟักเป็นตัว อุณหภูมิเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดเพศเหมือนเช่นสัตว์เลื้อยคลานอีกหลายประเภท อุปนิสัยและพฤติกรรมของเบียร์ดดราก้อนนั้นในธรรมชาติของเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่หวงถิ่นที่อยู่มาก เบียร์ดดราก้อนไม่ว่าเพศผู้หรือเพศเมียนั้นเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่อย่างสันโดษในธรรมชาติ เบียร์ดดราก้อนไม่จับคู่อยู่ร่วมกันเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อนนั้นไม่มีความผูกพันธ์ุทางสายเลือดและไม่อาจมีความรู้สึกรักหรือว่ารับรู้ถึงการมีความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมสายพันธ์ุได้ การที่ผู้เลี้ยงไม่ศึกษาพฤติกรรมที่ของเบียร์ดดราก้อนให้รอบคอบ อาจจะทำให้เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิตของสัตว์เลี้ยงได้ เบียร์ดดราก้อนเพศผู้นั้นจะเข้าขู่เบียร์ดดราก้อนผู้รุกรานในทันทีที่พบเห็นโดยการฉีดสีไปในส่วนเคราให้เป็นสีดำและการยักหัวขึ้นลงอย่างรุนแรง ก่อนที่เพศผู้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ตัวเล็กกว่าจะโบกมือขึ้นลงอย่างช้าๆแสดงความยอมแพ้และถอยหนี แต่ถ้าหากว่าเพศผู้ทั้งคู่มีความเหี้ยนกระหือรือทั้งคู่ การเข้าขู่และวิ่งไล่กัดกันย่อมเกิดขึ้น ตามมาด้วยความตายหรือบาดเจ็บของทั้งสองฝ่าย เบียร์ดดราก้อนจำนวนไม่น้อยนั้นได้สูญเสียนิ้ว ขา หรือหาง มาจากการต่อสู้ไม่ว่าในวัยเด็กเล็กหรือโตเต็มวัย หรือแย่กว่านั้นอาจทำให้แผลเกิดการติดเชื้อตามมาด้วยการเน่าและถึงแก่ความตายได้ เบียร์ดดราก้อนไม่ควรนำมาเลี้ยงด้วยกันไม่ว่าจะเพศผู้หรือเพศเมีย ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดที่จะให้มันมาอยู่ร่วมกันคือช่วงการผสมพันธุ์ชั่วคราวเท่านั้น การที่เบียร์ดดราก้อนสองตัวเอาตัวทับกันนั้นไม่ได้เป็นการแสดงออกถึงความรักแต่อย่างใด แต่หากเป็นการแสดงถึงความเป็นใหญ่ในอาณาเขตของตน ตัวที่เป็นใหญ่นั้นจะเอาร่างตัวมันเองบังแสงและความร้อนจากดวงอาทิตย์ทำให้อีกตัวไม่สามารถได้รับแสงได้อย่างเหมาะสม ลักษณะพฤติกรรมแบบนี้ไม่ใช่การแสดงออกทางความรักแต่อย่างใด เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลือดเย็นไม่สามารถสร้างความร้อนเองได้ อาจส่งผลทำให้ตัวที่ด้อยกว่านั้นส่งผลเสียทางสุขภาพและความเครียดในระยะยาวอาทิ ซึมเศร้า ขาดน้ำและขาดสารอาหาร ซึ่งสามารถทำให้ถึงตายได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยแสดงออกทางอาการ ไม่ว่าจะเจ็บ หรือป่วย แต่จะตายทันทีเมื่อถึงขีดสุดที่มันจะทนได้ เบียร์ดดราก้อนที่มีอาการเครียดนั้น จะแสดงออกโดยการฉีดสีดำเข้าไปที่ใต้ท้อง มีลักษณะเป็นเส้นลายวงๆ เบียร์ดดราก้อนที่ไม่มีอาการเครียดจะมีท้องลักษณะขาวโพลน ไม่มีเส้นดำ หรือลายใดๆใต้ท้องลำตัว หากมีอาการดังกล่าวเกิดขึ้น ควรที่จะนำเบียร์ดดราก้อนไปในที่ที่มันรู้สึกปลอยภัยเช่นตู้ที่อยู่ของมันในทันที มักจะทำให้อาการเหล่านี้หายไปได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ขี้เกียจ ไม่ค่อยชอบเดินและมักจะอยู่เฉยๆตากแดดตลอดวัน เมื่อเบียร์ดดราก้อนรู้สึกร้อน มันจะอ้าปากเพื่อเป็นการคลายความร้อน เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลื้อยคลาน พวกมันไม่สามารถระบายความร้อนทางเหงื่อได้เฉกเช่นมนุษย์ เบียร์ดดราก้อนที่ตากแดด ควรจะมีที่กำบังขณะตากแดดบ้าง จะทำให้เบียร์ดดราก้อนสามารถเข้าไปหลบแดดได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการช็อกตายโดยความร้อนจัดในเวลากลางวัน เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่เก็บน้ำในร่างกาย พวกมันกินน้ำน้อยมากต่อวันหรือไม่กินเลย เบียร์ดดราก้อนบางตัวมักไม่ยอมกินน้ำจากถ้วย แต่พวกมันสามารถได้รับน้ำจากอาหารที่กินเช่นผักหรือผลไม้ได้ ลักษณะของเบียร์ดดราก้อนที่แข็งแรงนั้นควรจะหัวเชิดตรง ดวงตาเปิดเป็นวงกลมเต็มที่ ไม่ง่วงซึมช่วงตอนกลางวันแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง เพราะมีอุปนิสัยไม่ดุร้าย ไม่กัดหรือทำร้ายมนุษย์ โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ โดยมักจะเป็นตู้ปลาที่ปูพื้นด้วยทรายหรือกรวดแห้ง ๆ เหมือนสภาพที่อยู่ในธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบัน สามารถเพาะเบียร์ดดราก้อนที่มีความยาวถึง 22 นิ้วได้ ซึ่งนับว่ามีความใหญ่กว่าขนาดในธรรมชาติ หรือมีสีต่าง ๆ ผิดไปจากธรรมชาติด้วย เช่น สีแดง, สีเหลืองทั้งตัว หรือหนามบนตัวหายไปหมด หรือแม้แต่ลำตัวโปร่งใสจนมองเห็นอวัยวะต่าง ๆ ภายในได้ลาง ๆ ดวงตามีแต่ส่วนตาดำ ไม่มีตาขาว เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและเบียร์ดดราก้อน · ดูเพิ่มเติม »

เกลือแร่

กลือแร่ (Dietary mineral) มีบทบาทและหน้าที่สำคัญใน ร่างกายหลายอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็นองค์ประกอบของ เซลล์เนื้อเยื่อและเส้นประสาท เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์ ฮอร์โมน และวิตามิน นอกจากนี้ เกลือแร่ยังทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในทุกอวัยวะ จากความสำคัญและหน้าที่ ดังกล่าวนั้น จะเห็นว่า เกลือแร่เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องได้ รับเพียงพอ ร่างกายจึงจะเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่และแข็งแรง อาหารทั่วไปที่เป็นแหล่งของเกลือแร่ทั้งชนิดหลักและชนิดปริมาณน้อยแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดของอาหาร ตัวอย่าง เกลือแร่ที่มีความสำคัญต่อร่างกายประกอบด้วย แคลเซียม ฟอสฟอรัส ไอโอดีน เหล็ก แมกนีเซียม สังกะสี ทองแดง และโพแทสเซียม ร่างกายมีเกลือแร่ 4% ของน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เกลือแร่ที่ร่างกายต้องการมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ตาและเกลือแร่ · ดูเพิ่มเติม »

เก้ง

ก้ง หรือ อีเก้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: ตาและเก้ง · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อตา

ื่อตา (Conjunctiva) เป็นเยื่อเมือกใสประกอบด้วยเซลล์และเยื่อฐานซึ่งคลุมส่วนของตาขาวและบุด้านในของหนังตา เยื่อตาประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิว.

ใหม่!!: ตาและเยื่อตา · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อตาอักเสบ

เยื่อตาอักเสบ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ตาแดง คือการอักเสบของเยื่อตา (เนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของนัยน์ตาและอยู่ใต้เปลือกตา) สาเหตุอาจเกิดจากอาการแพ้สิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่นัยน์ตาซึ่งอาจสามารถหายไปได้เอง หรือเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ซึ่งสามารถเป็นโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ ลักษณะอาการคือมีเส้นเลือดฝอยปรากฏชัดเป็นส่วนมากในนัยน์ตา อาจมีการระคายเคืองและตาแฉะร่วมด้วย โรคตาแดงจากการติดเชื้อไวรัสมักเกิดในช่วง? -โรคตาแดงมักเกิดในช่วงฤดูฝน เชื้อไวรัสมักปนเปื้อนอยู่ในน้ำที่ท่วมขัง ในฤดูฝนจะพบผู้ติดเชื้อโรคตาแดงเป็นจำนวนมาก หมวดหมู่:การอักเสบ หมวดหมู่:โรค.

ใหม่!!: ตาและเยื่อตาอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

เรือรบอวกาศยามาโตะ

รือรบอวกาศยามาโตะ หรือ ในชื่อที่ใช้เมื่อครั้งที่เคยออกอากาศในเมืองไทยครั้งแรกโดยไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. คือ "สตาร์เบลเซอร์ ตลุยอวกาศ" คืออะนิเมะแนววิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น ซึ่งชื่อของเรี่องนั้นเป็นชื่อของยานอวกาศ อะนิเมะเรื่องนี้มีอีกชื่อในภาษาอังกฤษคือ Space Cruiser Yamato (สเปซ ครุยเซอร์ ยามาโตะ) หรือStar Blazers (สตาร์ เบลเซอส์) สำหรับภาคภาษาอังกฤษ ซึ่งออกอากาศในอเมริกาเหนือและออสเตรเลีย สำหรับภาคภาษาอิตาลีก็ใช้ชื่อ สตาร์ เบลเซอ.

ใหม่!!: ตาและเรือรบอวกาศยามาโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เลนส์

ลนส์ จากภาษาอังกฤษ lens อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ตาและเลนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวนกเขาชิครา

Shikra, Chappad Chidi, Mohali, Punjab, India เหยี่ยวนกเขาชิครา หรือ เหยี่ยวชิครา (shikra) เป็นเหยี่ยวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเหยี่ยวนกเขา มีลักษณะปากแหลมปลายปากงุ้มลง ปีกกว้างสั้น ปลายปีกแหลม หางยาว ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน แต่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อยและลำตัวออกสีน้ำตาลมากกว่า ลำตัวด้านบนมีสีเทาอมฟ้า แก้มสีเทามีสีขาวเป็นลายเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ อยู่ติดกัน ที่คอมีสีเส้นสีดำลากผ่านกึ่งกลางสันคอ ตามีสีแดงหรือเหลือง หางสีเทามีลายแถบสีคล้ำ 5 แถบ แข้งเป็นสีเหลือง เมื่อเวลาบินจะเห็นปีกด้านล่างเป็นสีขาว ปลายปีกเป็นสีดำและมีลายยาวสีน้ำตาลคล้ำ ลูกนกที่ยังไม่โตเต็มที่จะมีขนสีน้ำตาลเทาเข้ม มีแถบสีขาวและน้ำตาลแดงที่ท้ายทอย คิ้วสีขาว หน้าอกมีแถบใหญ่สีน้ำตาลแดง ที่สีข้างและต้นขามีสีน้ำตาลแดงเป็นขีดสั้น ๆ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30-36 เซนติเมตร จึงจัดเป็นเหยี่ยวขนาดเล็กที่สุดในสกุล Accipiter ชนิดหนึ่ง มีพฤติกรรมกระพือปีกได้เร็ว และร่อนอยู่กลางอากาศเพื่อหาเหยื่อ ล่าเหยื่อจำพวกสัตว์ชนิดอื่นและนกขนาดเล็ก รวมถึงแมลงขนาดใหญ่เป็นอาหาร มักอยู่ตามลำพังหรืออยู่เป็นคู่ ปกติชอบเกาะนิ่งอยู่ตามยอดไม้สูงชายป่าหรือป่าละเมาะ คอยออกบินโฉบจับเหยื่อไม่ให้รู้ตัว สร้างรังอย่างง่าย ๆ โดยการเอากิ่งไม้มาขัดกันบนคาคบ เหยี่ยวนกเขาชิครา เป็นนกที่มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้, เอเชียอาคเนย์, เอเชียตะวันออกจนถึงเกาะสุมาตรา จึงแบ่งออกเป็นชนิดย่อยด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกภูมิภาคยกเว้นภาคใต้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ตาและเหยี่ยวนกเขาชิครา · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวแคระแอฟริกัน

หยี่ยวแคระแอฟริกัน (Pygmy falcon, African pygmy falcon) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเหยี่ยว จัดอยู่ในวงศ์เหยี่ยวปีกแหลม (Falconidae) เป็นเหยี่ยวขนาดเล็ก มีความยาวลำตัวประมาณ 19-20 เซนติเมตร รูปร่างล่ำสันแข็งแรง มีกระหม่อมสีเทา ด้านหลังเป็นจุดกลมขนาดใหญ่สีขาวคล้ายดวงตา อกและท้องเป็นสีขาว มีจะงอยปากงุ้มและแข็งแรงใช้สำหรับหักคอเหยื่อเพื่อล่าเป็นอาหาร ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ เหยี่ยวแคระแอฟริกันเป็นนกที่บินได้เร็วมาก และสามารถฆ่าเหยื่อได้ด้วยการพุ่งชนหรือหักคอกลางอากาศ โดยเหยื่อได้แก่ นกขนาดเล็ก, หนู, กบ และสัตว์เลื้อยคลานชนิดต่าง ๆ และบางครั้งก็กินแมลง เช่น ตั๊กแตน หรือจิ้งหรีด ปกติจะอาศัยอยู่ในพุ่มไม้ที่แห้ง มีระดับการบินต่ำและบินขึ้นลงเป็นลูกคลื่น เมื่อยามเกาะกับกิ่งไม้อาจดูคล้ายกับนกอีเสือ แบ่งได้ออกเป็น 2 ชนิดย่อย คือ P. s. castanonotus พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ซูดานถึงโซมาเลีย และตอนใต้ของอูกานดาและแทนซาเนีย และP.

ใหม่!!: ตาและเหยี่ยวแคระแอฟริกัน · ดูเพิ่มเติม »

เฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิ

หน้าคนที่ประกอบด้วยตัวอักษรทั้งเจ็ดตัว เฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิ หรือ เฮะเฮะโนะโนะโมเฮะจิ เป็นภาพโครงสร้างใบหน้าที่วาดโดยเด็กนักเรียนชาวญี่ปุ่น โดยใช้ตัวอักษรฮิรางานะ 7 ตัวมาประกอบกันเป็นใบหน้า เด็กชาวญี่ปุ่นมักวาดเฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิลงบนใบหน้าของหุ่นไล่กาและตุ๊กตาไล่ฝน.

ใหม่!!: ตาและเฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิ · ดูเพิ่มเติม »

เจนตามัยซิน

นตามัยซิย (Gentamicin) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ มีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ปัจจุบันมีจำหน่ายในตลาดยาภายใต้ชอื่การค้า Garamycin และอื่นๆ ยานี้ถูกนำมาใช้วนการรักษาการติดเชื้อแบคทีเรียของกระดูก (osteomyelitis), เยื่อบุหัวใจอักเสบ, ภาวะอักเสบในอุ้งเชิงกราน (Pelvic inflammatory disease;PID), เยื่อหุ้มสมองอักเสบ, ปอดบวม, การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และ ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ รวมไปถึงโรคติดเชื้ออื่นๆอีกมากมาย แต่ไม่มีประสิทธิภาพในการรักษาหนองใน หรือการติดเชื้อคลามัยเดีย โดยสามารถบริหารยาได้หลายช่องทาง ได้แก่ การฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, การฉีดเข้าหล้ามเนื้อ หรือยาใช้ภายนอกในรูปแบบยาทา ยาทาสำหรับใช้ภายนอกนั้นมีข้อบ่งใช้สำหรับการรักษาการติดเชื้อของแผลไฟไหม้ หรืออาจมีในรูปแบบยาหยอดยาสำหรับการติดเชื้อในดวงตา ในประเทศพัฒนาแล้ว ยานี้มักถูกนำมาใช้รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียในช่วง 2 วันแรกระหว่างรอผลการตรวจเพาะเชื้อสาเหตุและตรวจความไวของเชื้อนั้นๆต่อยาปฏิชีวนะต่างๆ จากนั้นจะมีการปรับเปลี่ยนการรักษาตามผลการตรวจดังกล่าว นอกจากนี้ การใช้ยานี้อาจจำเป็นต้องติดตามระดับยาในกระแสเลือดโดยการตรวจเลือดด้วย เพื่อเฝ้าติดตามการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรงจากยานี้ เจนตามัยซินเป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ จึงมีกลไกการออกฤทธิ์ที่คล้ายคลึงกับยาปฏิชีวนะชนิดอื่นในกลุ่มเดียวกันนี้ โดยจะออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย ส่งผลให้เซลล์ของแบคทีเรียนั้นๆขาดโปรตีนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตและขยายพันธุ์ และตายไปในที่สุด จึงอาจกล่าวได้ว่า เจนตามัยซินเป็นยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ในการฆ่าแบคทีเรีย (bactericidal antibiotic) ซึ่งแตกต่างจากยาปฏิชีวนะกลุ่มอื่นที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโปรตีนเช่นกัน แต่มีคุณสมบัติเพียงแค่ต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (bacteriostatic antibiotic) เช่นเดียวกันกับยาชนิดอื่นๆ การใช้เจนตามัยซินในการรักษา อาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ได้หลายประการ โดยเฉพาะการเกิดพิษต่อหู และการเกิดพิษต่อไต ซึ่งถือเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงของเจนตามัยซินและยาปฏิชีวนะอื่นในกลุ่มนี้ โดยการเกิดพิษต่อหูจากยานี้จะส่งผลให้เกิดความผิดปกติได้ทั้งระบบการได้ยินและระบบการทรงตัวของร่างกาย ซึ่งอาจพัฒนาเป็นความผิดปกติแบบถาวรได้ นอกจากนี้ การใช้เจนตามัยซินในระหว่างตั้งครรภ์อาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์ได้ จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในกลุ่มประชากรดังกล่าว ในทางตรงกันข้าม ยานี้ไม่ถูกขับออกทางน้ำนม ทำให้สามารถใช้ยานี้ได้อย่างปลอดภัยในหญิงที่กำลังให้นมบุตร เจนตามัยซินถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: ตาและเจนตามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงปีศาจ

้าหญิงปีศาจ (Princess Resurrection หรือ Monster Princess) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นและแอนิเมชันผลงานของ "ยาสุโนริ มิตสุนากะ" หนังสือการ์ตูนฉบับภาษาญี่ปุ่นตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์โคดันชะ จัดจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2548 ลิขสิทธิ์ในประเทศไทยเป็นของ "บงกช พับลิชชิ่ง" สำหรับฉบับแอนิเมชันจัดทำโดย "แมดเฮาส์" โดยจัดทำทั้งหมด 26 ตอน (24 ตอนปกติ กับ 2 ตอนพิเศษ) ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2550 ทางสถานีโทรทัศน์โตเกียวบรอดแคสติงซิสเตม (TBS), BS-i, CBC และ KBS Kyoto ฉบับโอวีเอจัดทำโดย "ทาสึโนโกะ โปรดักชั่น" (Tatsunoko Production) จัดจำหน่ายเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: ตาและเจ้าหญิงปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนนกแก้ว

ทียนนกแก้ว (parrot flower) อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับวงศ์เทียน มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือนนกแก้วที่โดนแมวกัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว.

ใหม่!!: ตาและเทียนนกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เขียดงู

ียดงู (Caecilians) เป็นอันดับของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Apoda (ในบางข้อมูลจะจัดให้อยู่ในอันดับ Gymnophiona) มีลักษณะโดยรวมของรูปร่าง คือ ลำตัวเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหล มีทั้งอาศัยอยู่บนบก ในโพรงดิน และในน้ำ โดยลดรูปโครงสร้างหลายประการซึ่งเป็นลักษณะที่พบกับสัตว์ที่มีลำตัวเรียวยาวหรืออาศัยอยู่ในโพรง กล่าว คือ หางมีขนาดเล็กมากหรือไม่มีเลย ไม่มีรยางค์ขาหรือฐานรยางค์ แต่ในสกุล Eocaecilia ที่เป็นซากดึกดำบรรพ์มีรยางค์ขา ตามีขนาดเล็กและบางชนิดอยู่ในร่องของกระดูกกะโหลกและถูกชั้นหนังปกคลุมไว้ ปอดข้างซ้ายมีขนาดเล็กหรือไม่มี ขณะที่บางวงศ์ที่อาศัยอยู่ในน้ำจะไม่มีปอด บางชนิดมีเกล็ดฝังตัวอยู่ในร่องที่แบ่งลำตัวเป็นปล้อง การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายใน โดยตัวผู้จะมีอวัยวะถ่ายอสุจิเจริญจากผนังของห้องทวารร่วม บางชนิดวางไข่ในน้ำ และมีระยะเวลาของวัยอ่อนและบางชนิดวางไข่บนบกโดยไม่มีระยะวัยอ่อน ตัวเมียมีพฤติกรรมเฝ้าไข่ แต่เขียดงูส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 75 ออกลูกเป็นตัว วัยอ่อนภายในท่อนำไข่ได้รับสารอาหารจากสิ่งผลิตภายในท่อนำไข่ มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวเป็นปล้อง ปล้องของลำตัวโดยทั่วไปมีจำนานเท่ากับจำนวนปล้องของกระดูกสันหลัง แต่บางชนิดอาจมีปล้องลำตัวจำนวนสองปล้องหรืออาจจะถึงสามปล้องต่อกระดูกสันหลังหนึ่งปล้อง โดยปล้องลำตัวปฐมภูมิเจริญขึ้นมาก่อนต่อจากนั้นจึงมีปล้องลำตัวทุติยภูมิหรือปล้องลำตัวตติยภูมิเจริญขึ้นมาเป็นลำดับต่อมา เกล็ดของเขียดงูประกอบด้วยคอลลาเจนหลายชั้นเรียงซ้อนกันและฝังตัวอยู่ในร่องตรงส่วนลึกที่สุดของปล้องลำตัวปฐมภูมิ โดยเรียงเป็นลำดับต่อเนื่องกันในแนวเฉียง กะโหลกของเขียดงูมีชิ้นของกระดูกยึดติดกันแข็งแรงและส่วนใหญ่ไม่มีช่องเปิดที่กะโหลก นอกจากช่องเปิดของอวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่ ตา, จมูก, หนวด ในบางวงศ์มีช่องเปิดบริเวณขมับ กระดูกกะโหลกจึงขยับได้บ้าง ฟันที่ขากรรไกรบนอยู่บนกระดูกพรีแมคซิลลา กระดูกแมคซิลโลพาลาทีนและกระดูกโวเมอร์ มีอวัยวะรับรู้จำเพาะ คือ อวัยวะที่แลดูคล้ายหนวด ที่เจริญขึ้นมาจากช่องเปิดที่อยู่ระหว่างตากับช่องเปิดจมูก ตำแหน่งของช่องเปิดหนวดแตกต่างกันในแต่ละชนิด ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่ใช้ในการอนุกรมวิธาน สัดส่วนความยาวของหนวดที่โผล่พ้นช่องเปิดออกมาก็แตกต่างกันในแต่ละวงศ์ โดยหนวดเป็นโครงสร้างเชิงซ้อนประกอบด้วยกล้ามเนื้อ, ต่อม และท่อ การเจริญของหนวดสัมพันธ์กับตาและอวัยวะจาคอบสัน ซึ่งทำหน้าที่รับรู้สารเคมี เขียดงูแบ่งออกได้เป็นทั้งหมด 9 วงศ์ ประมาณ 200 ชนิด (ในขณะที่บางข้อมูลแบ่งเพียง 6 วงศ์ หรือ 3 วงศ์) กระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อน ยกเว้นบนเกาะมาดากัสการ์และทางตะวันออกของเส้นสมมติวอลเลซ ในประเทศไทยพบได้ 1 วงศ์ เช่น เขียดงูเกาะเต่า (Ichthyophis kohtaoensis) เป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและเขียดงู · ดูเพิ่มเติม »

เตตราโครมาซี

ีที่เซลล์รูปกรวยของนกรับได้ (ในตัวอย่างนี้ เป็นของวงศ์นกกระติ๊ด) ซึ่งขยายการเห็นสีของนกไปในช่วงความถี่แสงอัลตราไวโอเลตFigure data, uncorrected absorbance curve fits, from Hart NS, Partridge JC, Bennett ATD and Cuthill IC (2000) Visual pigments, cone oil droplets and ocular media in four species of estrildid finch. Journal of Comparative Physiology A186 (7-8): 681-694. ภาวะ Tetrachromacy เป็นภาวะที่มีทางประสาทต่างหาก 4 ทางในการส่งข้อมูลเกี่ยวกับสี หรือมีเซลล์รูปกรวย 4 ประเภทในตา สัตว์ที่มีภาวะ Tetrachromacy เรียกว่า tetrachromat ในสัตว์ประเภท tetrachromat การเห็นสีต่าง ๆ จะมี 4-มิติ ซึ่งหมายความว่า เพื่อที่จะเทียบสีที่สัตว์เห็น จะต้องใช้การผสมรวมกันของแม่สีอย่างน้อย 4 สี นกหลายประเภทเป็น tetrachromat และแม้แต่สปีชีส์ต่าง ๆ ของปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน และแมลง ก็เป็น tetrachromat ด้ว.

ใหม่!!: ตาและเตตราโครมาซี · ดูเพิ่มเติม »

เต่าญี่ปุ่น

ต่าญี่ปุ่น หรือ เต่าแก้มแดง (Red-eared slider) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ จัดเป็นชนิดย่อยของเต่าแก้มแดง (T. scripta) มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก เหตุที่ได้ชื่อว่า เต่าญี่ปุ่นเพราะว่าในประเทศไทย พ่อค้าชาวญี่ปุ่นเป็นบุคคลแรกที่นำเต่าชนิดนี้มาขาย จึงทำให้ได้ชื่อว่า เต่าญี่ปุ่น ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี มีจุดเด่นคือ รอบ ๆ ดวงตามีสีแดง จึงทำให้ได้ชื่อว่า เต่าแก้มแดง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ แม้กระทั่งลูกเป็ดขนาดเล็กที่กำลังว่ายน้ำอยู่ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปี เต่าขนาดเล็กที่กระดองยังเป็นสีเขียว สีเผือก ซึ่งมีราคาซื้อขายที่แพงมาก''Albino (มัน เผือก มาก)'', โดย เวอร์ริเดียน, ชวิน ตันพิทยคุปต์ คอลัมน์ Aqua Knowledge หน้า 70-73. นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 2 ฉบับที่ 16: ตุลาคม 2011 เต่าญี่ปุ่น นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินมาก ด้วยเป็นที่รู้จักกันดีจากการที่ถูกอ้างอิงถึงในภาพยนตร์การ์ตูนชุด Teenage Mutant Ninja Turtles ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในยุคทศวรรษที่ 80 และ90 ในประเทศไทยมีการเลี้ยงกันมานานกว่า 30 ปี ได้รับความนิยมอย่างยิ่งเนื่องจากความน่ารักในเต่าขนาดเล็กประกอบกับมีราคาถูก แต่ทว่าก็ได้กลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน เนื่องจากเมื่อเต่าโตขึ้นแล้วไม่สวยน่ารักเหมือนอย่างเก่า เจ้าของจึงนำไปปล่อยลงแหล่งน้ำธรรมชาติ กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่น เนื่องจากสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในประเทศไทยได้เป็นอย่างดี และยังทนทานต่อมลภาวะได้ดีกว่าเต่าพื้นเมือง ทำให้แพร่ขยายพันธุ์แย่งอาหารและถิ่นที่อยู่ของเต่าพื้นเมืองไทย รวมถึงยังเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในที่อื่น ๆ ด้วย เช่น กรุงลอนดอน ในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: ตาและเต่าญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เต่าอัลลิเกเตอร์

ต่าอัลลิเกเตอร์ในสวนสัตว์พาต้า เต่าอัลลิเกเตอร์ หรือ เต่าอัลลิเกเตอร์ สแนปปิ้ง (Alligator snapping turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์เต่าสแนปปิ้ง (Chelydridae) จัดเป็นเต่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Macrochelys ซึ่งหลายชนิดในวงศ์นี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังนั้นจึงถือได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตชนิดหนึ่ง และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นเกียรติแด่ คอนราด จาค็อบ แทมมินค์ นักสัตววิทยาชาวดัตช์ เต่าอัลลิเกเตอร์ มีส่วนหัวใหญ่ตัน ขากรรไกรรูปร่างเหมือนจะงอยปากและกระดองยาวหนามีสัน 3 สันแลดูคล้ายหลังของอัลลิเกเตอร์ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ กระดองของมีสีเทาเข้ม หรือน้ำตาล, ดำ, หรือสีเขียวมะกอก ในบางครั้งอาจมีตะไคร่น้ำเกาะเพื่อใช้พรางตัว มีลายสีเหลืองบนตาที่ช่วยในการพรางตัวและมีหน้าที่แบ่งส่วนลูกตา รอบ ๆ ดวงตาของถูกล้อมรอบด้วยเนื้อรูปดาวซึ่งดูแล้วเหมือนขนตา ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย โดยตัวผู้นั้นนั้นมีความยาวกระดอง 66 เซนติเมตร และมีน้ำหนักได้ถึง 80 กิโลกรัม ส่วนตัวเมียมีน้ำหนัก 23 กิโลกรัม ความแตกต่างระหว่างเพศสามารถดูได้จากความหนาของโคนหาง โดยเต่าตัวผู้จะมีโคนหางที่หนากว่าเพราะเป็นส่วนที่ซ่อนอวัยวะสืบพันธุ์ไว้ โดยตัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แต่มีบันทึกอย่างไม่เป็นทางการระบุว่ามีน้ำหนักถึง 403 ปอนด์ (ประมาณ 183 กิโลกรัม) พบในแม่น้ำนีโอโช ในรัฐแคนซัส เมื่อปี ค.ศ. 1937 ขณะที่ตัวที่มีบันทึกไว้อย่างเป็นทางการมีน้ำหนักถึง 236 ปอนด์ อยู่ที่สวนสัตว์บรู๊คฟิลด์ ในชิคาโก เต่าอัลลิเกเตอร์ จัดเป็นเต่าน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีแรงกัดของกรามที่รุนแรง โดยเต่าขนาด 1 ฟุต มีแรงกัดถึง 1,000 ปอนด์ ซึ่งเป็นแรงกัดมหาศาลเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจาก จระเข้น้ำเค็ม และ ไฮยีน่า แม้แต่สุนัขขนาดใหญ่ที่ดุร้าย เช่น พิทบูล ยังมีแรงกัดได้เพียง 400-500 ปอนด์เท่านั้น และเมื่อกัดแล้วกรามจะล็อกเพื่อไม่ให้ดิ้นหลุด จนผู้เชี่ยวชาญในการจับเต่าอัลลิเกเตอร์กล่าวว่า หากถูกเต่าอัลลิเกเตอร์กัดแล้ว วิธีเดียวที่จะเอาออกมาได้ คือ ต้องตัดหัวออกแล้วใช้ไม้เสียบเข้าไปในรูจมูกให้ทะลุถึงคอ เพื่อปลดล็อกกราม เต่าอัลลิเกเตอร์ เป็นเต่าที่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของหลายพื้นที่ในภาคตะวันออกและภาคใต้ของสหรัฐอเมริกา กินเนื้อเป็นอาหาร กินปลาและสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยวิธีการซุ่มนิ่ง ๆ ไม่เคลื่อนไหวใต้น้ำ แล้วอ้าปากใช้ลิ้นที่ส่วนปลายแตกเป็น 2 แฉกที่ส่วนปลายสุดของกรามล่าง เพื่อตัวหลอกปลาให้เข้าใจว่าเป็นหนอน เมื่อปลาเข้าใกล้ได้จังหวะงับ ก็จะงับด้วยความรุนแรงและรวดเร็ว นอกจากนี้แล้วเต่าอัลลิเกเตอร์ยังกินเต่าด้วยกัน รวมถึงเต่าอัลลิเกเตอร์ด้วยกันเองเป็นอาหารด้วยจากการขบกัดที่รุนแรง เชื่อกันว่า เต่าอัลลิเกเตอร์มีอายุยืนได้ถึง 200 ปี แต่อายุโดยเฉลี่ยในที่เลี้ยง คือ 20-70 ปี เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 11-13 ปี โดยจะโตไปได้เรื่อย ๆ ตลอดชีวิต โดยเฉพาะในวัยเจริญพันธุ์ แต่เมื่อเลยไปแล้วอัตราการเจริญเติบโตก็จะช้าลง ตัวเมียวางไข่ขนาดเท่าลูกปิงปองได้มากถึง 52 ฟอง แต่โดยเฉลี่ยประมาณ 29-31 ฟอง โดยขุดหลุมฝังไว้ในพื้นดิน ซึ่งไข่จำนวนหนึ่งอาจถูกสัตว์กินเนื้อต่าง ๆ เช่น แรคคูน ขุดขโมยไปกินได้ และด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ทำให้เต่าในธรรมชาติต้องวางไข่ใกล้กับทางรถไฟมากขึ้น เต่าอัลลิเกเตอร์ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และจัดแสดงตามสวนสัตว์ ขณะที่กฎหมายในบางที่เช่น รัฐแคลิฟอร์เนีย ห้ามเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง แต่ในบางพื้นที่ เช่น รัฐลุยเซียนา มีการนำไปปรุงเป็นซุป ถือเป็นอาหารท้องถิ่นอย่างหนึ่ง โดยมีการจับส่งให้แก่ร้านอาหารตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 30 จนถึง ทศวรรษที่ 70-80 ทำให้ประชากรเต่าอัลลิเกเตอร์มีจำนวนที่ลดลงSwamp Thing, "Nick Baker's Weird Creatures".

ใหม่!!: ตาและเต่าอัลลิเกเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เต่านาอีสาน

ต่านาอีสาน (Mekong snail-eating turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) เป็นเต่านาชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งแยกออกมาในปี ค.ศ. 2004 มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับเต่านาหัวใหญ่ (M. macrocephala) ซึ่งเป็นเต่านาอีกชนิด แต่มีลักษณะที่แตกต่างออกไป คือ มีขีดตามแนวตั้งใต้จมูก 4-5 ขีด ซึ่งมีมากกว่าเต่านาหัวใหญ่ และเส้นขีดที่นัยน์ตาจะเล็กกว่า รวมทั้งมีรูปร่างที่เล็กกว่าด้วย เต่านาอีสาน มีถิ่นกระจายพันธุ์ที่ภาคอีสานของประเทศไทย และพบไปจนถึงลาว, กัมพูชา และเวียดนาม เป็นเต่าที่กินหอยฝาเดียวและหอยสองฝาเป็นอาหารหลัก โดยใช้ปากขบกัดเปลือกหอยให้แตก แล้วใช้เล็บฉีกเอาเนื้อของหอยออกมา พบได้ทั่วไปในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ รวมทั้งพื้นที่ทำการเกษตร เช่น นาข้าว, ท้องร่องสวน ด้ว.

ใหม่!!: ตาและเต่านาอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์รูปแท่ง

ซลล์รูปแท่ง เซลล์รูปแท่ง (rod cell) เป็นตัวรับแสง อยู่ที่จอตาของดวงตา มีความสามารถในการรับแสงมากกว่าเซลล์รูปกรว.

ใหม่!!: ตาและเซลล์รูปแท่ง · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกสมองส่วนรู้รส

ปลือกสมองส่วนรู้รส (gustatory cortex ตัวย่อ GC) เป็นโครงสร้างสมองซึ่งทำหน้าที่รับรู้รส โดยมีโครงสร้างย่อย 2 ส่วน คือ anterior insula ใน insular cortex, และ operculum ส่วนหน้าที่บริเวณ inferior frontal gyrus ในสมองกลีบหน้า เพราะองค์ประกอบของมัน เปลือกสมองส่วนรู้รสบางครั้งจึงเรียกในวรรณกรรมต่าง ๆ ว่า AI/FO (Anterior Insula/Frontal Operculum) โดยใช้เทคนิคการบันทึกสัญญาณนอกเซลล์ นักวิทยาศาสตร์ได้แสดงว่า นิวรอนใน AI/FO จะตอบสนองต่อรสหวาน รสเค็ม รสขม และรสเปรี้ยว และเข้ารหัสความเข้มข้นของสิ่งเร้าที่มีร.

ใหม่!!: ตาและเปลือกสมองส่วนรู้รส · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2

ปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2  (อังกฤษ: Young Justice Bao 2) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศในประเทศจีนช่วงปี ค.ศ. 2001 กล่าวถึงประวัติของเปาบุ้นจิ้นในช่วงวัยหนุ่มที่เพิ่งเข้ารับราชการกับฮ่องเต้ใหม่ๆ ออกอากาศในประเทศไทยทางช่อง 3 แฟมิลี่ ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2560 ทุกวันจันทร์ -ศุกร์ เวลา 16:30 น. นำแสดงโดย ลู่ อี้, ซื่อ เสี่ยวหลง, จ้าว หยาง,ฉิน ลี่, หยาง หยง ต่อจากภาคแรก และมีภาคสามเป็นภาคจบ เรื่อง เปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 3 ภาพละครภาค 2 ภาษาไท.

ใหม่!!: ตาและเปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2 · ดูเพิ่มเติม »

เนซิออน

นซิออน (nasion) เป็นรอยต่อระหว่างกระดูกหน้าผาก (frontal bone) และกระดูกจมูก (nasal bone) 2 ชิ้นของกะโหลกศีรษะมนุษย์ สังเกตได้ชัดเจนคือเป็นรอยเว้าที่อยู่ระหว่างตาทั้งสองข้างและด้านบนดั้งจมูก.

ใหม่!!: ตาและเนซิออน · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ตาและICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ตาและICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ตาและICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ตาและICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 2: เนื้องอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ตาและICD-10 บทที่ 2: เนื้องอก · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ตาและICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา · ดูเพิ่มเติม »

Orthoptics

Orthoptics เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาตาโดยเน้นการวินิจฉัยและการบริหารโดยไม่ผ่าตัดซึ่งอาการตาเหล่ ตามัว/ตาขี้เกียจ และความผิดปกติในการเคลื่อนไหวตาอื่น ๆ คำภาษาอังกฤษว่า orthoptics มาจากคำภาษากรีกโบราณ คือ ὀρθός (orthos) แปลว่า "ตรง" และ ὀπτικός (optikοs) แปลว่า "เกี่ยวกับการเห็น" เป็นอาชีพที่มักเกี่ยวกับการควบคุมกล้ามเนื้อตาหรือการหักเหแสงของตา ในบางประเทศเมื่อได้รับการฝึกโดยเฉพาะ ผู้ทำวิชาชีพอาจตรวจติดตามโรคตาบางชนิด เช่น ต้อหิน ต้อกระจก และโรคจอตาเหตุเบาหวานเป็นต้น.

ใหม่!!: ตาและOrthoptics · ดูเพิ่มเติม »

Retinal ganglion cell

แผนผังแสดงชั้นต่าง ๆ ของเรตินาโดยตัดขวาง ชั้นที่มีป้ายว่า "Ganglionic layer" ประกอบด้วย retinal ganglion cell Retinal ganglion cell (ตัวย่อ RGC) เป็นเซลล์ประสาทประเภทหนึ่ง อยู่ที่ผิวด้านใน (ในชั้น ganglion cell layer) ของเรตินาในตามนุษย์ ซึ่งรับข้อมูลทางตามาจากเซลล์รับแสงผ่านเซลล์ประสาทที่อยู่ในระหว่างอีกสองประเภท คือ horizontal cellhorizontal cell เป็นนิวรอนที่มีการเชื่อมต่อกันและกันในชั้น Inner nuclear layer ของเรตินาในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีหน้าที่ประสานและควบคุมข้อมูลที่มาจากเซลล์รับแสงหลายตัว ช่วยให้ตาสามารถเห็นได้ทั้งในที่มีแสงสว่างและที่มีแสงสลัว และ amacrine cellamacrine cell เป็น interneuron ในเรตินา retinal ganglion cell (ตัวย่อ RGC) รับข้อมูลถึง 70% จาก amacrine cell และ Bipolar cell ซึ่งส่งข้อมูล 30% ที่เหลือ มีการควบคุมโดย amacrine cell RGC รวม ๆ กันส่งทั้งข้อมูลทางตาที่ทำให้เกิดการเห็นภาพและไม่เกิดการเห็นภาพจากเรตินา ไปยังเขตต่าง ๆ ในสมองรวมทั้งทาลามัส ไฮโปทาลามัส และสมองส่วนกลาง RGC มีความแตกต่างกันอย่างสำคัญโดยขนาด การเชื่อมต่อ และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางตา แต่ว่ามีลักษณะที่เหมือนกันอย่างหนึ่งคือมีแอกซอนขนาดยาวที่ส่งไปยังสมอง ซึ่งกลายเป็นส่วนของเส้นประสาทตา ส่วนไขว้ประสาทตา (optic chiasm) และลำเส้นใยประสาทตา มี RGC เป็นเปอร์เซนต์น้อย ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยกับการเห็น แต่เป็นเซลล์ที่ไวแสงโดยตนเอง ซึ่งมีแอกซอนที่รวมตัวกันเป็น retinohypothalamic tract (ลำเส้นใยประสาทจากเรตินาไปยังไฮโปทาลามัส) ซึ่งมีบทบาทเกี่ยวกับจังหวะรอบวัน (circadian rhythm) และรีเฟล็กซ์ม่านตา (pupillary light reflex) ซึ่งปรับขนาดรูม่านตาให้เหมาะสมกับแสง.

ใหม่!!: ตาและRetinal ganglion cell · ดูเพิ่มเติม »

Superior colliculus

optic tectum หรือเรียกสั้น ๆ ได้ว่า tectum เป็นโครงสร้างคู่ที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในสมองส่วนกลางของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โครงสร้างนี้มักจะเรียกกันว่า superior colliculus (ตัวย่อ SC) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นชั้น ๆ แม้ว่าจำนวนชั้นจะแตกต่างกันไปในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ ชั้นนอก ๆ มีหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัส และรับข้อมูลมาจากทั้งตาและระบบรับความรู้สึกอื่น ๆ ส่วนชั้นที่ลึก ๆ ลงไปมีหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการ (motor) มีความสามารถในการเริ่มการเคลื่อนไหวของตาและเริ่มการตอบสนองในระบบอื่น ๆ ส่วนชั้นในระหว่างกลางมีนิวรอนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสหลายทาง และเกี่ยวกับการสั่งการด้วย หน้าที่ทั่ว ๆ ไปของเทคตัมก็คือ ชี้ทางการตอบสนองทางพฤติกรรมไปยังตำแหน่งต่าง ๆ โดยมีกายเป็นศูนย์กลาง ชั้นแต่ละชั้นของเทตตัมมีแผนที่ภูมิลักษณ์ของโลกรอบตัวที่ใช้พิกัดแบบ retinotopy และการทำงานของนิวรอนจุดหนึ่งในแผนที่ทำให้เกิดการตอบสนองทางพฤติกรรมตรงตำแหน่งในปริภูมิที่สัมพันธ์กับจุดในแผนที่นั้น ในไพรเมต งานศึกษาเรื่องของ SC โดยมากเป็นไปเกี่ยวกับการควบคุมการทอดสายต.

ใหม่!!: ตาและSuperior colliculus · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Eyeพระเนตรดวงตานัยน์ตาเนตร👀

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »