โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตัวเลขไทย

ดัชนี ตัวเลขไทย

ตัวเลขไทย เป็นอักษรตัวเลขที่ใช้แสดงจำนวนนับในภาษาไทย ประดิษฐ์ขึ้นโดยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช โดยดัดแปลงมาจากตัวอักษรขอม และมีต้นตอมาจากอักษรเทวนาครีของอินเดีย เช่นเดียวกับเลขอารบิก เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่ใช้ระบบจำนวนนับเป็นเลขฐานสิบ และมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐาน จากอดีตสู่ปัจจุบันน้อยมาก ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน ตัวเลขไทยมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐานน้อยมาก.

12 ความสัมพันธ์: อักษรขอมไทยอักษรไทยอักษรเขมรจุลภาคตัวเลขมอญตัวเลขอารบิกตัวเลขเขมรไม้ยมกไม้ไต่คู้ไทย (แก้ความกำกวม)−10

อักษรขอมไทย

อักษรขอมไทย เป็นอักษรขอมที่นำมาใช้เขียนภาษาไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากการใช้อักษรขอมเขียนภาษาบาลีและภาษาเขมร อักษรดังกล่าวนี้สามารถพบได้ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรายา ตำราคาถาอาคม รูปยันต์ต่าง ๆ โดยมากปรากฏในแถบภาคกลาง และอาจพบได้บ้างในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและอักษรขอมไทย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและอักษรไทย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเขมร

ตัวอย่างอักษรเขมรสองแบบ อักษรเขมร (អក្សរខ្មែរ)​ ​คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1100-1200) อีกต่อหนึ่ง อักษรปัลลวะนี้ เป็นอักษรที่มาจากอินเดียตอนใต้ ซึ่งเป็นชุดอักษรที่มีกำเนิดมาจากอักษรพราหมี ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราว พุทธศตวรรษที่ 3) จารึกอักษรเขมรเก่าสุด พบที่ปราสาทโบเร็.ตาแก้ว ทางใต้ของพนมเปญ อายุราว..

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและอักษรเขมร · ดูเพิ่มเติม »

จุลภาค

, _,.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและจุลภาค · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขมอญ

ระบบการนับเลข (လမောက်သင်ချာ แลโมกสังขฺยา) ของภาษามอญ เป็นการใช้ตัวเลข (ဂၞန် (แ)กนอน) เป็นตัวบ่งบอกค่าจำนวน วิธีการนับและเรียงลำดับ จะเหมือนกับอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี โดยวางตัวเลขลงตามหลักแบบเดียวกับเลขฮินดู-อารบิก โดยหลักหน่วยอยู่ทางขวามือ ไล่เพิ่มไปทางซ้ายเป็น หลักสิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน โดยต้องใส่ให้ครบตามจำนวนหลักที่มี เช่น ตรงกับเลขไทย ๑๐ ส่วน 2006 ก็เขียน ตรงกับเลขไทย ๒๐๐๖ โดยไม่มีเครื่องหมายจุลภาคคั่น เป็นต้น ส่วนวิธีอ่าน ให้อ่านในระบบหลัก รูปแบบเดียวกับอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี ดังนี้.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและตัวเลขมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขอารบิก

ลขอารบิก เป็นสัญลักษณ์ตัวเลขที่นิยมใช้กันมากที่สุดในโลก และนับว่าเป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวัน มีหลักฐานพอที่จะสืบประวัติไปได้ ว่า เกิดริเริ่มเป็นกำหนดนับแพร่หลายมาถึงปัจจุบัน จากนักปราชญ์แห่งอาหรับ ชาวแบกแดด (อิรัก) ชื่อ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ ซึ่งมีช่วงชีวิตในประวัติศาสตร์ราว ปี..

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและตัวเลขอารบิก · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขเขมร

ลขเขมร เป็นระบบการเขียนตัวเลขที่ใช้ในหมู่ชาวกัมพูชา และใช้ร่วมกับระบบการเขียนอักษรเขมร โดยมีรูปตัวเลขที่พัฒนามาจากระบบตัวเลขของอินเดีย และมีลักษณะคล้ายกับเลขไทย สำหรับระบบการนับนั้น ในภาษาเขมรมีเลขฐานเพียง 5 ตัว คือ มวย (1), ปี (2), เบ็ย (3), บวน (4), และ ปรำ (5) เมื่อจะนับหก ก็นำคำว่าหนึ่งมาบวก เป็น ปรำมวย (ห้าหนึ่ง), ปรำปี (ห้าสอง), ปรำเบ็ย (ห้าสาม), ปรำบวน (ห้าสี่) และ ด็อป (10) ทำให้ 6 - 9 ไม่สามารถเปรียบเทียบกับภาษาอื่นได้ สำหรับจำนวน 30 - 9,999,999 นั้น นิยมใช้คำไทยมาเรียก;หมายเหตุ *.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและตัวเลขเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ยมก

ม้ยมก หรือ ยมก (ๆ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนอย่างหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนภาษาไทย มีลักษณะคล้ายเลขไทย (๒) ที่หางชี้ลงล่าง แต่เดิมนั้นไม้ยมกกับเลข ๒ เขียนอย่างเดียวกัน ไม้ยมกใช้กำกับหลังคำที่ต้องการอ่านซ้ำ เช่น "มาก ๆ" อ่านว่า "มากมาก".

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและไม้ยมก · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ไต่คู้

ม้ไต่คู้ (–็) มีลักษณะคล้ายเลขไทย (๘) ปกติใช้แทนสระเสียงสั้นลดรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด เช่น เล็ก แป็ก น็อก เป็นต้น อักษรเขมรมีรูปสระที่คล้ายไม้ไต่คู้ เรียกว่า อสฺฎา (แปด) ใช้แสดงการเพิ่มน้ำเสียงสำหรับคำที่มีพยัญชนะตัวเดียว.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและไม้ไต่คู้ · ดูเพิ่มเติม »

ไทย (แก้ความกำกวม)

ทย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและไทย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

−1

−1 (ลบหนึ่ง) เป็นจำนวนเต็มลบมากสุด ที่มากกว่า −2 แต่น้อยกว่า 0 −1 เป็นตัวผกผันการบวกของ 1 หมายความว่า เมื่อจำนวนนี้บวกกับ 1 แล้วจะได้เอกลักษณ์การบวกนั่นคือ 0 −1 สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของออยเลอร์นั่นคือ e^.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและ−1 · ดูเพิ่มเติม »

0

0 (ศูนย์) เป็นทั้งจำนวนและเลขโดดที่ใช้สำหรับนำเสนอจำนวนต่าง ๆ ในระบบเลข มีบทบาทเป็นตัวกลางในทางคณิตศาสตร์ คือเป็นเอกลักษณ์การบวกของจำนวนเต็ม จำนวนจริง และโครงสร้างเชิงพีชคณิตอื่น ๆ ศูนย์ในฐานะเลขโดดใช้เป็นตัววางหลักในระบบเลขเชิงตำแหน่ง.

ใหม่!!: ตัวเลขไทยและ0 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เลขไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »