โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตัวเลขอารบิก

ดัชนี ตัวเลขอารบิก

ลขอารบิก เป็นสัญลักษณ์ตัวเลขที่นิยมใช้กันมากที่สุดในโลก และนับว่าเป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวัน มีหลักฐานพอที่จะสืบประวัติไปได้ ว่า เกิดริเริ่มเป็นกำหนดนับแพร่หลายมาถึงปัจจุบัน จากนักปราชญ์แห่งอาหรับ ชาวแบกแดด (อิรัก) ชื่อ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ ซึ่งมีช่วงชีวิตในประวัติศาสตร์ราว ปี..

36 ความสัมพันธ์: พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008กระจุกดาวทรงกลมกระจุกดาวเปิดการเรียกชื่อสารเคมีตามระบบสต็อกภาษาอาหรับภาษาไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามภาษาเขมรยามักการรหัสมอร์สศตวรรษสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบอักษรทานะอักษรไทยอารบิกจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจุลภาคคันจิตระกูลอักษรพราหมีตัวเลขมอญตัวเลขอับญัดตัวเลขจีนตัวเลขซีริลลิกตัวเลขโรมันตัวเลขไทยต้นสมัยกลางซีโควยาแอสกีโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ไม้โทเลขฐานสิบเลขคณิตมูลฐานЗ01289

พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

ีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 2008 ณ สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง (สนามกีฬารังนก) กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน โดยเริ่มเมื่อเวลา 20.00 น. (8:00 PM) ตามเวลาท้องถิ่น หรือ 19.00 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยมีจาง อี้โหมว ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีนที่มีผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น Hero, House of Flying Daggers และCurse of the Golden Flower เป็นต้น และ จาง ฉีกัง รับหน้าที่กำกับการแสดง ซึ่งการแสดงทั้งหมดจะเน้นถึงอารยธรรมจีนโบราณ ผสมผสานกับความทันสมัยในโลกปัจจุบัน โดยใช้นักแสดงกว่า 15,000 คน พิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกครั้งนี้ได้รับคำชื่นชมว่าเป็นพิธีเปิดโอลิมปิกที่ดีที่สุดเท่าที่มีการจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวทรงกลม

เมสสิเยร์ 80 กระจุกดาวทรงกลมในกลุ่มดาวแมงป่อง อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ของเรา 28,000 ปีแสง ประกอบด้วยดาวฤกษ์นับแสนดวง กระจุกดาวทรงกลม (Globular Cluster) เป็นแหล่งรวมของดวงดาวที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม โคจรไปรอบๆ แกนกลางดาราจักร ดาวฤกษ์ในกระจุกดาวทรงกลมมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดต่อกันค่อนข้างมาก ทำให้พวกมันรวมตัวเป็นกลุ่มทรงกลม มีความหนาแน่นของดาวค่อนข้างสูงโดยเฉพาะในจุดศูนย์กลาง บางครั้งเรียกชื่อโดยย่อเพียงว่า globular กระจุกดาวทรงกลมมักพบอยู่ในกลดดาราจักร มีดวงดาวรวมตัวกันอยู่มากและมักมีอายุเก่าแก่กว่าส่วนที่เหลือของดาราจักร หรือกระจุกดาวเปิดซึ่งมักพบในจานดาราจักร ในดาราจักรทางช้างเผือกมีกระจุกดาวทรงกลมอยู่ราว 158 แห่ง และคาดว่ายังมีกระจุกดาวที่ยังค้นไม่พบอีกราว 10-20 แห่งAshman, Keith M.; Zepf, Stephen E. (1992).

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและกระจุกดาวทรงกลม · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวเปิด

กระจุกดาวลูกไก่ หนึ่งในกระจุกดาวเปิดที่มีชื่อเสียงมากที่สุด กระจุกดาวเปิด (Open Cluster) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์จำนวนหลายพันดวงที่รวมกลุ่มกันอยู่ในเมฆโมเลกุลขนาดยักษ์ชุดเดียวกัน และมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดต่อกันและกันอย่างหลวมๆ กระจุกดาวเปิดจะพบได้ในดาราจักรชนิดก้นหอยและชนิดไร้รูปร่างเท่านั้น ซึ่งเป็นดาราจักรที่ยังมีการก่อตัวของดาวฤกษ์ดำเนินอยู่ โดยทั่วไปมีอายุน้อยกว่าร้อยล้านปี และมักถูกรบกวนจากกระจุกดาวอื่นหรือกลุ่มเมฆที่มันโคจรอยู่ใกล้ๆ ทำให้สูญเสียสมาชิกในกระจุกดาวไปบ้างในการประจันหน้าเช่นนั้น กระจุกดาวเปิดที่มีอายุน้อยอาจยังคงอยู่ในกลุ่มเมฆโมเลกุลซึ่งมันก่อตัวขึ้นมา ส่องแสงและความร้อนจนสามารถสร้างบริเวณเอช 2 ขึ้นมาได้ เมื่อเวลาผ่านไป แรงดันของการแผ่รังสีจากกระจุกดาวจะทำให้เมฆโมเลกุลกระจัดกระจายออกไป โดยทั่วไปมวลของแก๊สในกลุ่มเมฆประมาณ 10% จะรวมเข้าอยู่ในดาวฤกษ์ก่อนที่แรงดันของการแผ่รังสีจะผลักพวกมันออกไปเสีย กระจุกดาวเปิดเป็นวัตถุท้องฟ้าที่สำคัญมากในการศึกษาวิวัฒนาการของดวงดาว เพราะดาวฤกษ์ในกระจุกดาวเดียวกันจะมีอายุใกล้เคียงกันและมีลักษณะทางเคมีคล้ายคลึงกัน การศึกษาผลกระทบต่อตัวแปรอันละเอียดอ่อนต่างๆ ของคุณลักษณะของดวงดาวจึงทำได้ง่ายกว่าการศึกษาดาวฤกษ์เดี่ยวๆ กระจุกดาวเปิดจำนวนหนึ่ง เช่น กระจุกดาวลูกไก่ กระจุกดาวสามเหลี่ยมหน้าวัว หรือ กระจุกดาวอัลฟาเพอร์เซย์ เป็นกระจุกดาวที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า กระจุกดาวบางจำพวกเช่นกระจุกดาวแฝดจะมองเห็นได้ค่อนข้างยากหากไม่ใช้เครื่องมือช่วย ส่วนอื่นๆ ที่เหลือจะมองเห็นได้โดยใช้กล้องสองตาหรือกล้องโทรทรรศน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและกระจุกดาวเปิด · ดูเพิ่มเติม »

การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบสต็อก

การเรียกชื่อสารเคมีระบบสต็อก (Stock nomenclature) เป็นระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์ที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายในประเทศต่างๆทั่วโลก โดยระบบการเรียกชื่อนี้ถูกเสนอและพัฒนาขึ้นโดย อัลเฟรด สต็อก (Alfred Stock) นักเคมีชาวเยอรมันในปี..

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและการเรียกชื่อสารเคมีตามระบบสต็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม

ในปี พ.ศ. 2485 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม พร้อมด้วยคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย ได้ยกร่างและประกาศใช้อักขรวิธีไทยแบบใหม่ขึ้น เพื่อให้การสะกดคำในภาษาไทยกะทัดรัดและลดความซ้ำซ้อนของตัวอักษรลง อย่างไรก็ตาม เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามพ้นจากตำแหน่งในปลายปี พ.ศ. 2487 นโยบายต่าง ๆ ในสมัยรัฐบาลชุดก่อนได้ถูกยกเลิก ซึ่งรวมถึงอักขรวิธีไทยดังกล่าวด้วย รวมระยะเวลาการบังคับใช้อักขรวิธีของคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยประมาณ 2 ปี 3 เดือน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและภาษาไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและภาษาเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ยามักการ

มักการ หรือ ยามักการ์ (-๎) มีลักษณะคล้ายเลขอารบิก 3 ที่กลับด้าน (Ɛ) ใช้เติมเหนือพยัญชนะ ที่ต้องการระบุว่าพยัญชนะใดเป็นอักษรนำ หรืออักษรควบกล้ำ เช่น ส๎วากฺขาโต (สะ-หวาก-ขา-โต) พ๎ราห๎มณ (พราม-มะ-นะ) ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว เนื่องจากมีรูปร่างคล้ายทัณฑฆาต (-์) แต่ยังสามารถพบได้ในหนังสือมนต์พิธี (หนังสือสวดมนต์) ตำราเรียนเก่า ๆ หรือการทับศัพท์ภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทยของบางสำนักพิม.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและยามักการ · ดูเพิ่มเติม »

รหัสมอร์ส

แผนผังอักษรและตัวเลขรหัสมอร์ส รหัสมอร์ส (Morse code) เป็นวิธีการส่งผ่านสารสนเทศข้อความเป็นชุดสัญญาณเสียง ไฟหรือเสียงเคาะ (click) เปิด-ปิดซึ่งผู้ฟังหรือผู้สังเกตที่มีทักษะสามารถเข้าใจได้โดยตรงโดยไม่มีอุปกรณ์พิเศษ รหัสมอร์สระหว่างประเทศเข้ารหัสพยัญชนะละตินพื้นฐานของไอเอสโอ อักษรละตินเพิ่มอีกบ้าง ตัวเลขอารบิกกระบวนคำสั่งเป็นลำดับสัญญาณสั้นและยาวซึ่งจัดทำไว้เป็นมาตรฐาน เรียก "ดอต" และ "แดช" มีการขยายพยัญชนะมอร์สสำหรับภาษาธรรมชาตินอกเหนือจากภาษาอังกฤษ เพราะหลายภาษาดังกล่าวใช้มากกว่าอักษรโรมัน 26 ตัว.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและรหัสมอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ศตวรรษ

ตวรรษ (จากภาษาสันสกฤต ศต (หนึ่งร้อย) และ วรรษ (ปี) หมายถึงช่วงเวลาติดต่อกัน 100 ปี ในทุกระบบวันที่ ศตวรรษจะถูกกำหนดให้เป็นตัวเลขแบบมีลำดับ ดังนั้น เราจะกล่าวถึง "ศตวรรษที่สอง" แต่ไม่กล่าวว่า "ศตวรรษสอง" ยังมีความเห็นไม่ตรงกันอยู่มากว่าจะนับปีหลักพัน (เช่น ปี 2000) ว่าเป็นปีแรกหรือปีสุดท้ายของศตวรรษ ความสับสนนี้มีหลักฐานปรากฏทุก ๆ ปี หลังจากปีคริสต์ศักราช 1500 และยิ่งเป็นสิ่งที่สับสนยิ่งขึ้นเมื่อมียุโรปได้มีการนำเลขอารบิกและแนวคิดของศูนย์เข้ามาใช้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ศตวรรษมีทั้งคริสต์ศตวรรษและพุทธศตวรรษ.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทานะ

อักษรทานะ (ތާނަ) ใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ เริ่มใช้ในเอกสารราชการของสาธารณรัฐมัลดีฟส์ตั้งแต่ พ.ศ. 2246 โดยใช้แทนอักษรเดิมคืออักษรดิเวส อกุร.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและอักษรทานะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและอักษรไทย · ดูเพิ่มเติม »

อารบิก

อารบิก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและอารบิก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ปีเตอร์มหาราช (Пётр I Великий, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2215 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225 จนกระทั่งสวรรคต และถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอำนาจของยุโรปในสมัยนั้น ในช่วงระยะเวลาของรัชสมัยจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 มหาราช พระองค์ได้ทรงสร้างประเทศเป็น “จักรวรรดิ” ที่เป็นที่น่าเกรงขามได้สำเร็จ การติดต่อด้านการค้าและการทูตกับต่างประเทศ การรับเอาความเจริญทางด้านการทหาร การช่างและวิทยาศาสตร์มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประเทศ ในสมัยต้นราชวงศ์โรมานอฟล้วนแต่เป็นการแผ้วทางไปสู่ความยิ่งใหญ่ของการเป็นมหาอํานาจของรัสเซีย เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จุลภาค

, _,.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและจุลภาค · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลอักษรพราหมี

ตระกูลอักษรพราหมี เป็นกลุ่มของอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี ได้แก่อักษรที่ใช้ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและตระกูลอักษรพราหมี · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขมอญ

ระบบการนับเลข (လမောက်သင်ချာ แลโมกสังขฺยา) ของภาษามอญ เป็นการใช้ตัวเลข (ဂၞန် (แ)กนอน) เป็นตัวบ่งบอกค่าจำนวน วิธีการนับและเรียงลำดับ จะเหมือนกับอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี โดยวางตัวเลขลงตามหลักแบบเดียวกับเลขฮินดู-อารบิก โดยหลักหน่วยอยู่ทางขวามือ ไล่เพิ่มไปทางซ้ายเป็น หลักสิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน โดยต้องใส่ให้ครบตามจำนวนหลักที่มี เช่น ตรงกับเลขไทย ๑๐ ส่วน 2006 ก็เขียน ตรงกับเลขไทย ๒๐๐๖ โดยไม่มีเครื่องหมายจุลภาคคั่น เป็นต้น ส่วนวิธีอ่าน ให้อ่านในระบบหลัก รูปแบบเดียวกับอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี ดังนี้.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและตัวเลขมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขอับญัด

ตัวเลขอับญัด เป็นระบบเลขที่มีอักษรอาหรับอยู่ 28 ตัว ระบบเลขนี้ถูกใช้ไปแพร่หลายก่อนที่จะประดิษฐ์ตัวเลขอารบิกในช่วงศตวรรษที่ 8 .

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและตัวเลขอับญัด · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขจีน

ลขจีน คืออักษรจีนที่ใช้สำหรับเขียนแทนจำนวนในภาษาจีน ในทุกวันนี้ผู้พูดภาษาจีนใช้ระบบเลขสามแบบ คือ เลขอารบิกสมัยใหม่ และเลขจีนโบราณอีกสองระบบ การเขียนและการอ่านเลขจีนเขียนคล้ายจำนวนในภาษาไทย คือมีเลขโดดและค่าประจำหลัก แต่ก็มีหลักเกณฑ์บางอย่างที่ต่างออกไป.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและตัวเลขจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขซีริลลิก

ลขซีริลลิก คือระบบเลขอย่างหนึ่งซึ่งถ่ายทอดมาจากอักษรซีริลลิก ใช้โดยชาวสลาวิกใต้และตะวันออก ระบบเลขนี้เคยมีการใช้ในดินแดนรัสเซีย แต่ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมเด็จพระเจ้าซาร์ปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย ทรงแทนที่เลขซีริลลิกด้วยเลขอารบิก เลขซีริลลิกเป็นระบบเลขคล้ายทศนิยม (quasi-decimal) มีพื้นฐานมาจากเลขกรีก แต่เขียนโดยใช้หน่วยอักขระ (grapheme) ของอักษรซีริลลิก นั่นคือการเรียงลำดับนั้นเรียงตามอักษรกรีก แต่ไม่เป็นไปตามลำดับอักษรซีริลลิกปัจจุบัน อักษรแต่ละตัวจะถูกกำหนดให้แทนค่าของตัวเลขหลักหน่วย (1, 2,... 9) หลักสิบ (10, 20,... 90) และหลักร้อย (100, 200,... 900) ตามลำดับ จำนวนตัวเลขจะเขียนไปตามลำดับที่อ่าน ซึ่งส่วนใหญ่จะอ่านจากซ้ายไปขวา เว้นแต่จำนวน 11 ถึง 19 ที่อ่านจากขวาไปซ้าย ตัวอย่างเช่น 17 อ่านว่า sem-na-dzat (เทียบกับ seventeen ในภาษาอังกฤษ) เป็นต้น ในการแปลงเลขซีริลลิกให้เป็นเลขอารบิก ทำได้โดยการบวกค่าประจำอักษรเข้าด้วยกัน และเพื่อการแยกแยะจำนวนออกจากข้อความรอบข้างซึ่งเขียนด้วยอักษรเดียวกัน จะมีการเติม ติโตล (titlo: U+0483) ลงไปเหนือจำนวน (เวลาเขียนเดี่ยวๆ อาจไม่จำเป็นก็ได้) และถ้าหากจำนวนนั้นมีค่าเกิน 1,000 จะมีการเติมสัญลักษณ์หลักพัน (U+0482) ลงไปข้างหน้าตัวเลขนั้นๆ ตัวอย่างเช่น.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและตัวเลขซีริลลิก · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขโรมัน

ลขโรมัน เป็นระบบตัวเลขที่ใช้ในโรมโบราณ เลขโรมันถือเป็น ระบบเลขไม่มีหลัก หมายความว่า ไม่ว่าจะเขียนตัวเลขแต่ละตัวไว้ ณ ตำแหน่งใดของค่าตัวเลขนั้นจะมีค่าคงที่เสมอ ระบบเลขโรมันมีสัญลักษณ์ที่ใช้กันดังนี้ นอกจากนี้ ยังมีสัญลักษณ์อื่นที่ไม่ได้ใช้ในระบบเลขโรมันปัจจุบัน แต่ปรากฏอยู่ในรหัสยูนิโคด ดังนี้.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและตัวเลขโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขไทย

ตัวเลขไทย เป็นอักษรตัวเลขที่ใช้แสดงจำนวนนับในภาษาไทย ประดิษฐ์ขึ้นโดยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช โดยดัดแปลงมาจากตัวอักษรขอม และมีต้นตอมาจากอักษรเทวนาครีของอินเดีย เช่นเดียวกับเลขอารบิก เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่ใช้ระบบจำนวนนับเป็นเลขฐานสิบ และมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐาน จากอดีตสู่ปัจจุบันน้อยมาก ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน ตัวเลขไทยมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐานน้อยมาก.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและตัวเลขไทย · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซีโควยา

หมือนของซีโควยา ซีโควยา (ᏍᏏᏉᏯ Ssiquoya ชื่อที่เจ้าตัวสะกด) หรือ เซโควยา (ᏎᏉᏯ Sequoya ชื่อที่มักสะกดกันในปัจจุบัน) มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า จอร์จ กิสต์ (George Gist) (ประมาณ พ.ศ. 2310–2386) เป็นช่างเงินชาวเชอโรกีและเป็นผู้ประดิษฐ์อักษรเชอโรกีสำหรับเขียนภาษาเชอโรกีในปี..

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและซีโควยา · ดูเพิ่มเติม »

แอสกี

ตัวอย่างอักขระแอสกี จากรหัส 32 ถึง 126 แอสกี้(ASCII) หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและแอสกี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์

รงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ในความดูแลของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีกำเนิดมาจาก โรงเรียนแม่พระสกลสงเคราะห์ ที่บาทหลวงบรัวซาร์ อธิการโบสถ์วัดพระแม่สกลสงเคราะห์องค์แรกจัดตั้งขึ้น เมื่อปี ค.ศ. 1924 (พ.ศ. 2467) ต่อมา คุณพ่อตาปี อธิการโบสถ์องค์ถัดมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อโรงเรียนที่ใช้มาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ไม้โท

ไม้โท (-้) เป็นวรรณยุกต์ตัวหนึ่งของไทย ใช้เติมเหนือพยัญชนะต้นของคำ และเหนือสระบนขึ้นไปอีกถ้ามี เพื่อให้เกิดการผันเสียงวรรณยุกต์ซึ่งขึ้นอยู่กับไตรยางศ์ และเปลี่ยนความหมายของคำให้เป็นอย่างอื่น พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ไม้โทในภาษาไทย เพื่อให้เกิดความแตกต่างจากอักษรขอมและอักษรตระกูลภาษาอินเดียอื่นๆ ที่ทรงยืมมาใช้ โดยเริ่มแรกไม้โทมีลักษณะเป็นรูปกากบาทเหมือนไม้จัตวา (-๋) แต่ปัจจุบันมีลักษณะคล้ายเลขอารบิก (2) ที่หางชี้ขึ้นข้างบน หมวดหมู่:อักษรไทย.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและไม้โท · ดูเพิ่มเติม »

เลขฐานสิบ

ลขฐานสิบ หรือ ทศนิยม (Decimal) หมายถึง ระบบตัวเลขที่มีตัวเลข 10 ตัว คือ 0 - 9.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

เลขคณิตมูลฐาน

เลขคณิตมูลฐาน (Elementary arithmetic) คือแขนงความรู้ของคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่สุด ประกอบด้วยการดำเนินการของการบวก การลบ การคูณ และการหาร บุคคลส่วนมากได้เรียนรู้เลขคณิตมูลฐานมาจากโรงเรียนประถมศึกษา เลขคณิตมูลฐานจะเริ่มต้นที่จำนวนธรรมชาติและเลขอารบิกที่ใช้แทนจำนวนนั้น และจำเป็นต้องจดจำตารางการบวกและตารางการคูณ (สูตรคูณ) เพื่อที่จะบวกและคูณตัวเลขในหลักใดๆ จนกระทั่งสามารถบวกและคูณเลขได้ในใจ ส่วนการลบและการหารนั้นจะใช้ขั้นตอนวิธีอย่างอื่นในการเรียนการสอน จากนั้นจึงขยายขอบเขตไปบนเศษส่วน ทศนิยม และจำนวนลบ ซึ่งสามารถนำเสนอได้บนเส้นจำนวน ทุกวันนี้ผู้คนต่างก็ใช้เครื่องคิดเลขหรือคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณเลขคณิตมูลฐาน ซึ่งก่อนหน้านั้นมีการใช้เครื่องมืออย่างอื่นช่วยคำนวณเช่น สไลด์รูล ตารางลอการิทึม โนโมแกรม หรือเครื่องคิดเลขเชิงกลอื่นๆ รวมทั้งลูกคิด หมวดหมู่:การศึกษาคณิตศาสตร์.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและเลขคณิตมูลฐาน · ดูเพิ่มเติม »

З

Ze (З, з) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // เหมือนภาษาทั่วไปที่ใช้อักษรละติน z อักษรตัวนี้มักจะทำให้สับสนได้ง่ายกับเลขอารบิก 3 และอักษร E (Э, э) ของภาษารัสเซีย อักษร Ze มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ซีตา ชื่อดั้งเดิมของอักษรนี้คือ zemlja และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 7.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและЗ · ดูเพิ่มเติม »

0

0 (ศูนย์) เป็นทั้งจำนวนและเลขโดดที่ใช้สำหรับนำเสนอจำนวนต่าง ๆ ในระบบเลข มีบทบาทเป็นตัวกลางในทางคณิตศาสตร์ คือเป็นเอกลักษณ์การบวกของจำนวนเต็ม จำนวนจริง และโครงสร้างเชิงพีชคณิตอื่น ๆ ศูนย์ในฐานะเลขโดดใช้เป็นตัววางหลักในระบบเลขเชิงตำแหน่ง.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและ0 · ดูเพิ่มเติม »

12

12 (สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 11 (สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 13 (สิบสาม).

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและ12 · ดูเพิ่มเติม »

8

8 (แปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 7 (เจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 9 (เก้า).

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและ8 · ดูเพิ่มเติม »

9

9 (เก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 8 และอยู่ก่อนหน้า 10.

ใหม่!!: ตัวเลขอารบิกและ9 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Arabic numeralsHindu-Arabic numeralsเลขอาระบิกเลขอารบิกเลขอารบิค

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »