โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฌัก ชีรัก

ดัชนี ฌัก ชีรัก

ัก เรอเน ชีรัก (Jacques René Chirac; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 —) รัฐบุรุษฝรั่งเศส อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกเทศมนตรีกรุงปารี.

44 ความสัมพันธ์: ฟร็องซัว มีแตร็องฟร็องซัว ออล็องด์พ.ศ. 2475พ.ศ. 2517พ.ศ. 2538พ.ศ. 2550พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)พฤศจิกายน พ.ศ. 2548พิธีปลงพระศพสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2การสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 1988การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 1995การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 2002การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 2007ยัสเซอร์ อาราฟัตรายพระนามและรายนามผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รารายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสลียอแนล ฌ็อสแป็งวาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็งสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศสสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2สหภาพเพื่อขบวนการประชาชนสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5สงครามต่อต้านการก่อการร้ายหยาง จื่อฉยงฌัก ชีรักฌ็อง-ปีแยร์ ราฟาแร็งจี7ธงประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่านดอมีนิก เดอ วีลแป็งตราแผ่นดินของฝรั่งเศสประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประธานาธิบดีฝรั่งเศสนีกอลา ซาร์กอซีแบร์นาแด็ต ชีรักแกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์เลอมงด์เจ้าชายกาห์ซี บิน มูฮัมหมัด17 พฤษภาคม27 พฤษภาคม29 พฤศจิกายน

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2538 โดยชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในฐานะตัวแทนพรรคสังคมนิยม (PS) เขาชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2524 กลายเป็นประธานาธิบดีสังคมนิยมคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5และเป็นประมุขแห่งรัฐที่มาจากฝ่ายซ้ายคนแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 และในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2531นั้น เขาก็ชนะอีกครั้งหนึ่งและดำรงตำแหน่งจนถึงปี พ.ศ. 2538 ก่อนที่จะต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในปีเดียวกัน ในการดำรงตำแหน่งทั้งสองวาระนั้น เขาได้ยุบสภาเพื่อที่จะได้เสียงข้างมากในสภา แต่ทว่าพรรคสังคมนิยมก็ได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองครั้ง และทำให้เกิด "การบริหารร่วมกัน" ในสองปีสุดท้ายของทั้งสองวาระ โดยมีฌัก ชีรักเป็นแกนนำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2531 และเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดด้วยระยะเวลา 14 ปี ทั้งยังเป็นประธานาธิบดีที่อาวุโสที่สุดอีกด้วย (สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งเมื่ออายุ 78 ปี) ฟร็องซัว มีแตร็องถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและฟร็องซัว มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ออล็องด์

ฟร็องซัว เฌราร์ ฌอร์ฌ นีกอลา ออล็องด์ (François Gérard Georges Nicolas Hollande,; เกิด 12 สิงหาคม ค.ศ. 1954) เป็นอดีตประธานาธิบดีของฝรั่งเศส ได้รับเลือกตั้งในวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและฟร็องซัว ออล็องด์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)

รรคสังคมนิยม (Parti socialiste, PS) เป็นพรรคการเมืองอุดมการณ์แบบสังคมนิยมประชาธิปไตยในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นพรรคการเมืองซีกกลาง-ซ้ายที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และยังเป็นพรรคใหญ่ในรัฐสภาฝรั่งเศสควบคู่ไปกับพรรคการเมืองซีกกลาง-ขวา คือ พรรคสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน (UMP) โดยในปัจจุบันมีมาร์ทีน โอบรี เป็นหัวหน้าพรรคต่อจากนายฟร็องซัว ออล็องด์ พรรคสังคมนิยมได้เริ่มเข้ามามีบทบาททางการเมืองในปี..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและพรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส) · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พิธีปลงพระศพสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2

ระศพของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในหีบพระศพจากต้นสนไซเปรสอันเรียบง่ายถูกเคลื่อนออกจากมหาวิหารนักบุญเปโตรในนครรัฐวาติกัน เพื่อประกอบพิธีฝัง โดยมีบรรดาผู้นำโลกและผู้นำศาสนากว่า 200 คน มาร่วมไว้อาลัย เมื่อเวลา 15.00 น. ของวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2548 ขณะที่คริสต์ศาสนิกชนทั่วโลกร่วมรำลึกถึงประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิกเป็นครั้งสุดท้ายผ่านจอโทรทัศน์ คณะบาทหลวงแห่งวาติกันเริ่มเคลื่อนพระศพของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ออกจากมหาวิหารบุญเปโตร เมื่อเวลา 10:00 น. ตามเวลาท้องถิ่น หรือเวลา 15:00 น. ตามเวลาประเทศไทย เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา ท่ามกลางแขกคนสำคัญและผู้ศรัทธาจากทั่วโลกมาร่วมพิธี ณ จัตุรัสนักบุญเปโตร เมื่อเสียงระฆังดังขึ้น หีบไม้ภายในบรรจุพระศพถูกเคลื่อนออกมาจากมหาวิหารนักบุญเปโตร โดยเจ้าหน้าที่ของวาติกัน 12 คนซึ่งได้ตั้งหีบศพลงบนพรมหน้าแท่นบูชาที่คลุมด้วยผ้าสีดำและทอง จากนั้นพระคาร์ดินัลโยเซฟ รัทซิงเงอร์ก็เริ่มทำพิธีมิสซา ขณะที่ฝูงชนเริ่มคร่ำครวญด้วยความสลด บ้างก็เริ่มการอธิษฐาน ท่ามกลางเสียงดนตรีคลอเคล้า บุคคลสำคัญจากทั่วโลกกว่า 200 คน ทั้งพระมหากษัตริย์ ผู้นำทางการเมืองและทางศาสนา อาทิ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และ สมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลส และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน นายซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี นายกรัฐมนตรีอิตาลี นายจอร์จ ดับเบิลยู บุช ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา นายโทนี แบลร์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร นายฌัก ชีรัก ประธานาธิบดีฝรั่งเศส รวมทั้งโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ และเหล่าผู้นำชาติอาหรับเดินทางมาร่วมพิธีกันอย่างคับคั่ง โดยรวมกันอยู่ในที่นั่งด้านซ้ายของปะรำพิธี ตรงข้ามกับที่นั่งของบรรดาพระคาร์ดินัลแห่งวาติกัน ขณะที่ผู้แสวงบุญคาดว่ามีนับ 2 ล้านคนเบียดเสียดกันอยู่ในลานของจัตุรัสเซนต์ปีเตอร์ ทั้งนี้ คาดว่ามีผู้ศรัทธาอีกหลายล้านในทั่วโลกกำลังเฝ้าชมพิธีดังกล่าวผ่านการถ่ายทอดสดจากจอโทรทัศน์ ตามขนบธรรมเนียมของวาติกัน ภายหลังพิธีมิสซาสิ้นสุดลง หีบพระศพของพระสันตะปาปาจะถูกนำไปใส่หีบเคลือบสังกะสี ก่อนจะบรรจุลงในหีบไม้โอ๊คและนำไปฝังลงภายใต้แท่นหินอ่อนภายในสุสานใต้ดินในมหาวิหารนักบุญเปโตร.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและพิธีปลงพระศพสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

วันที่ 31 สิงหาคม..​ 2540 ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ สิ้นพระชนม์ภายหลังทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ภายในอุโมงค์ทางลอดสะพานปองต์เดอลัลมา กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดดี ฟาเยด พระสหาย และอองรี ปอล คนขับรถ เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ มีผู้รอดชีวิตเพียงคนเดียวคือ เทรเวอร์ รีส์–โจนส์ ผู้ทำหน้าที่องครักษ์  ขบวนช่างภาพปาปารัสซีที่ติดตามไดอานาตกเป็นจำเลยสังคมทันที เนื่องจากมีการนำเสนอข่าวว่าช่างภาพปาปารัสซีเป็นสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ แต่การสืบสวนของหน่วยงานยุติธรรมของฝรั่งเศสซึ่งใช้เวลานานกว่า 18 เดือน สรุปผลว่า นายอองรี ปอล อยู่ในอาการมึนเมาขณะขับรถยนต์และไม่สามารถควบคุมรถซึ่งขับมาด้วยความเร็วสูงได้ จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นในคืนนั้น อองรี ปอล นั้นเป็นรองหัวหน้าแผนกรักษาความปลอดภัยโรงแรมริตซ์ และก่อนเกิดอุบัติเหตุเขาได้ท้าทายกลุ่มช่างภาพปาปารัสซีที่คอยอยู่หน้าโรงแรม เจ้าหน้าที่นิติเวชยังตรวจพบยาต้านอาการทางจิต และยาต้านโรคซึมเศร้าในตัวอย่างเลือดของอองรี ปอลNundy, Julian; Graves, David. . The Daily Telegraph.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและการสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 1988

การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่ง..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 1995

ผลการเลือกตั้งในรอบแรก:ผู้ลงรับสมัครเลือกตั้งโดยมีเสียงข้างมากในแต่ละเขตการปกครอง:ฌากส์ ชีรักลีโอเนล โฌส์แปงเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ฌอง-มารี เลอ เปิงเดอ วิลลีเยร์ การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่ง..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 2002

การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่ง..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 2007

การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่ง..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ยัสเซอร์ อาราฟัต

ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและยัสเซอร์ อาราฟัต · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา

รายพระนามผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา ซึ่งเป็นประมุขของราชรัฐอันดอร์รา ไฟล์:Joan Enric Vives.jpg|ฌูอัน อันริก บิบัส ซิซิเลีย ประมุขร่วมฝ่ายพระราชาคณะแห่งอันดอร์รา ดำรงตำแหน่ง 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและรายพระนามและรายนามผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส ('épouse du président de la République française) คือผู้ที่เป็นภรรยาประมุขแห่งรัฐ (ประธานาธิบดี) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสจำนวนทั้งสิ้น 25 คน ทั้งนี้ฝรั่งเศสไม่มีตำแหน่งสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแต่อย่างใด สุภาพสตรีคนล่าสุดคือบรีฌิต มาครง ภริยาแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดี เข้ารับตำแหน่งในวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ลียอแนล ฌ็อสแป็ง

ลียอแนล ฌ็อสแป็ง (Lionel Jospin, 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 —) อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการกีฬา หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2480.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและลียอแนล ฌ็อสแป็ง · ดูเพิ่มเติม »

วาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง

วาเลรี มารี เรอเน ฌอร์ฌ ฌิสการ์ แด็สแต็ง (Valéry Marie René Georges Giscard d'Estaing, 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส หมวดหมู่:ประธานาธิบดีฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและวาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส

ผู้แทนราษฎรแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (Assemblée Nationale,; National Assembly) เป็นสภาล่างในรัฐสภาฝรั่งเศส ประกอบด้วยสมาชิกห้าร้อยเจ็ดสิบเจ็ดคน เรียกว่า "ผู้แทน" (député; deputy) ผู้แทนสองร้อยแปดสิบเก้าคนถือเป็นจำนวนเสียงส่วนใหญ่ในสภา และมีประธานสภาคนหนึ่งเป็นผู้ควบคุมการประชุม และมีรองประธานสภาอีกหนึ่งคนหรือกว่านั้น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี โดยจะสิ้นสุดวาระในวันอังคารของสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมิถุนายน ปีที่ 5 นับแต่วันเลือกตั้ง การเลือกตั้งครั้งใหม่ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรชุดเดิมจะหมดอายุลง ประธานาธิบดีสามารถประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรได้ ภายหลังจากที่ได้ปรึกษากับนายกรัฐมนตรีและประธานสภาทั้งสองแล้ว โดยเมื่อมีรัฐกฤษฎีกาประกาศยุบสภา จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปอย่างน้อยที่สุดภายใน 20 วัน แต่ต้องไม่เกิน 40 วัน อนึ่ง ในกรณีที่มีการยุบสภา หรือสมาชิกลาออก หรือตาย หรือไปปฏิบัติหน้าที่อื่นซึ่งรวมไปถึงงานของรัฐบาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอาจจะมีการดำรงตำแหน่งน้อยกว่า 5 ปีได้ สภาผู้แทนราษฎรประชุม ณ พระราชวังบูร์บง ริมฝั่งแม่น้ำแซน ในกรุงปารี.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปา นักบุญจอห์น ปอลที่ 2 มีพระนามเดิมว่า การอล ยูแซฟ วอยตือวา (ในภาษาโปแลนด์) เกิดเมื่อ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1920 ที่หมู่บ้านวาดอวิตแซ ใกล้เมืองกรากุฟ ประเทศโปแลนด์ บิดาเป็นทหารมียศเป็นจ่าทหารและเกษียณราชการแล้ว มารดาเสียชีวิต เมื่อคาโรลยังเป็นเด็ก ท่านเป็นเด็กที่มีพรสวรรค์พิเศษ ชอบการกีฬาเป็นอันมาก ท่านยังชอบบทกวีและการแสดงละคร หลังจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 1 คณะพระคาร์ดินัลทั่วโลกก็มีมติเลือกให้พระคาร์ดินัลการอล วอยตือวา ประมุขแห่งอัครมุขมณฑลกรากุฟ ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุเพียง 58 พรรษา ขึ้นเป็นประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 1978 นับเป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 264 ที่สืบตำแหน่งต่อจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูต สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 เป็นประมุขของคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก เป็นพระสันตะปาปาที่ไม่ใช่ชาวอิตาเลียนองค์แรกในรอบ 455 ปี และเป็นพระสันตะปาปาองค์แรกที่เป็นชาวโปแลนด์ รวมทั้งยังเป็นพระสันตะปาปาที่ได้รับเลือกขณะที่มีอายุน้อยที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20 อีกด้วย พระองค์เป็นพระสันตะปาปาที่สำคัญที่สุดองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน พระองค์ทรงเดินทางรอบโลกเพื่อเยี่ยมเยียนคริสตชนมากกว่าพระสันตะปาปาองค์ใด ๆ ในอดีตที่ผ่านมา ทรงต่อต้านกระแสทุนนิยมที่ไร้ขอบเขต การกดขี่ทางการเมือง ยืนกรานในการต่อต้านการทำแท้ง และปกป้องวิถีทางของศาสนจักรในเรื่องเพศของมนุษย์ ปัจจุบัน พระองค์ท่านได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2014 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพเพื่อขบวนการประชาชน

หภาพเพื่อกระบวนการประชาชน (Union pour un Mouvement Populaire, UMP) เป็นพรรคการเมืองอุดมการณ์อนุรักษนิยม หรือซีกกลาง-ขวา และเป็นพรรคใหญ่ในรัฐสภาฝรั่งเศสควบคู่ไปกับพรรคการเมืองซีกกลาง-ซ้าย คือ พรรคสังคมนิยม (PS) พรรคสหภาพเพื่อกระบวนการประชาชนได้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5

รณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 เป็นสาธารณรัฐปัจจุบันของประเทศฝรั่งเศสที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เกิดจากการล่มสลายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 โดยเปลี่ยนแปลงจากระบอบรัฐสภามาเป็นระบอบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

หยาง จื่อฉยง

ตัน ซรี มิเชล โหย่ว ชูเค็ง (Michelle Yeoh Choo-Kheng; เกิด: 6 สิงหาคม พ.ศ. 2505) หรือชื่อสำเนียงจีนกลางว่า หยาง จื่อฉยง หรือ มิเชล โหย่ว (Michelle Yeoh) เป็นนักแสดงชาวมาเลเซีย ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในระดับ นานาชาต.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและหยาง จื่อฉยง · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก ชีรัก

ัก เรอเน ชีรัก (Jacques René Chirac; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 —) รัฐบุรุษฝรั่งเศส อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกเทศมนตรีกรุงปารี.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและฌัก ชีรัก · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ปีแยร์ ราฟาแร็ง

็อง-ปีแยร์ ราฟาแร็ง (Jean-Pierre Raffarin, เกิดเมื่อ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2491) เป็นนักการเมืองชาวฝรั่งเศสเคยเป็นวุฒิสภาเมืองเวียนและอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ 6 พฤษภาคม 2545 ถึง 31 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและฌ็อง-ปีแยร์ ราฟาแร็ง · ดูเพิ่มเติม »

จี7

ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและจี7 · ดูเพิ่มเติม »

ธงประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส

รายการต่อไปนี้เป็นรายการเกี่ยวกับธงต่างๆที่มีการใช้หรือเคยใช้โดยประธานาธิบดีฝรั่ง.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและธงประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน

thumb ขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน หรือ กองกำลังเพื่อการปลดปล่อยแห่งชาติอิหร่าน (People ’s Mujahidin of Iran;PMOI, หรือ MEK, MKO; سازمان مجاهدين خلق ايران sāzmān-e mojāhedin-e khalq-e īrān) เป็นองค์กรสังคมนิยมอิสลามที่ต่อต้านรัฐบาลปัจจุบันของอิหร่าน นิยมลัทธิมาร์กและอิสลาม ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ดอมีนิก เดอ วีลแป็ง

ดอมีนิก มารี ฟร็องซัว เรอเน กาลูโซ เดอ วีลแป็ง (Dominique Marie François René Galouzeau de Villepin, 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 —) อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและดอมีนิก เดอ วีลแป็ง · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของฝรั่งเศส

ตราแผ่นดินของฝรั่งเศส ในปัจจุบันนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2496 แม้ตราดังกล่าวจะไม่มีสถานะทางกฎหมายว่าเป็นตราแผ่นดินอย่างเป็นทางการเลยก็ตาม ดวงตรานี้เป็นตราที่ปรากฏการใช้ในปกหนังสือเดินทางของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งมีจุดกำเนิดจากการที่กระทรวงการต่างประเทศฝรั่งเศสกำหนดให้ใช้ตรานี้เป็นสัญลักษณ์สำหรับหน่วยงานทางการทูตของฝรั่งเศสนับตั้งแต่ พ.ศ. 2455 เป็นต้นมา ออกแบบโดยประติมากรชื่อ จูลส์-เคลมองต์ ชาแปล็ง (Jules-Clément Chaplain) ในปี พ.ศ. 2496 องค์การสหประชาชาติได้ขอให้ประเทศฝรั่งเศสส่งสำเนาภาพตราแผ่นดินของตน เพื่อจัดแสดงร่วมกับภาพตราแผ่นดินของชาติสมาชิกอื่นๆ ในห้องประชุมขององค์การสหประชาชาติ คณะกรรมการร่วมที่รัฐบาลฝรั่งเศสแต่งตั้งในการนี้จึงให้โรแบรต์ หลุยส์ (Robert Louis) นักออกแบบตราสัญลักษณ์ ทำการเขียนตราทางการทูตข้างต้นขึ้นใหม่ตามแบบของตราเดิม อย่างไรก็ตาม ตรานี้รัฐบาลฝรั่งเศสก็ไม่ได้ออกกฎหมายรับรองให้ใช้เป็นตราแผ่นดินอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด สัญลักษณ์ในตราดังกล่าวนี้ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและตราแผ่นดินของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส (Président de la République française) เป็นตำแหน่งสูงสุดฝ่ายอำนาจบริหารของประเทศฝรั่งเศสโดยมาจากการเลือกตั้ง และดำรงตำแหน่งเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐ จอมทัพ ผู้รับรองรัฐธรรมนูญและผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา ตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศสได้ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2391 (สมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2) ซึ่งทำให้ระบอบประธานาธิบดีของประเทศฝรั่งเศสนั้น เป็นระบอบที่มีความเป็นมายาวนานที่สุดประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป จวบจนปัจจุบัน มีผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวทั้งสิ้น 25 คน ซึ่งทุกคนได้พำนักในปาแลเดอเลลีเซมาแล้ว รัฐธรรมนูญในแต่สาธารณรัฐนั้น ได้กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานาธิบดีแตกต่างกันไป ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 เป็นต้นมา ประเทศฝรั่งเศสอยู่ในยุคสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนปัจจุบันคือ แอมานุแอล มาครง ซึ่งเข้าดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและประธานาธิบดีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

แบร์นาแด็ต ชีรัก

แบร์นาแด็ต ชีรัก (Bernadette Chirac; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 —) อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ภรรยานายฌัก ชีรัก ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลจากปารีส หมวดหมู่:สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2476.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและแบร์นาแด็ต ชีรัก · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์

แกร์ฮาร์ด ฟริทซ์ คูร์ท ชเรอเดอร์ (Gerhard Fritz Kurt Schröder; เกิด7 เมษายน ค.ศ. 1944) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมัน ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนี (Chancellor of Germany - ซึ่งเทียบได้กับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของไทย) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 จนถึงปี ค.ศ. 2005 อาชีพทางการเมืองของเขาได้เปลี่ยนขั้วการเมืองจากฝ่ายซ้าย มาเป็นฝ่ายกลาง ปัจจุบันสังกัดพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยแห่งเยอรมนี (Sozialdemokratische Partei Deutschlands: SPD เอสเพเด) โดยที่เขาเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคในช่วงเวลาหนึ่งด้วย เขาทำหน้าที่ผู้นำรัฐบาลผสมระหว่างพรรคSPD กับ พรรคกรีน ก่อนจะก้าวมาเป็นนักการเมืองอาชีพ เขาเคยประสบความสำเร็จในอาชีพทนายความมาก่อน.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและแกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เลอมงด์

ลอมงด์ (Le Monde) คือ หนังสือพิมพ์รอบค่ำรายวันของฝรั่งเศส ด้วยยอดพิมพ์ในปี พ.ศ. 2547 จำนวน 371,803 ฉบับ และถูกจัดเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแนวหน้าของฝรั่งเศส และบ่อยครั้งที่เป็นหนังสือพิมพ์ในประเทศฝรั่งเศสฉบับเดียว ซึ่งไม่ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศส ที่สามารถเข้าใจได้โดยง่าย นอกจากนี้ผู้คนส่วนใหญ่มักสับสนกับ เลอมงด์ดีปโลมาตีก (Le Monde diplomatique) ซึ่ง เลอมงด์ เองเป็นหุ้นส่วนอยู่ร้อยละ 54 แต่เลอมงด์ดีปโลมาตีก ตีพิมพ์และจัดจำหน่ายแยกอิสระจาก เลอมงด์ รวมทั้งมีกองบรรณาธิการเป็นของตัวเอง เลอมงด์นั้น ก่อตั้งโดย อูแบร์ต เบิฟว์-เมรี ตามคำของร้องของนายพลชาร์ล เดอ โกลล์ หลังจากกองทัพเยอรมนีถอนทัพออกจากปารีสในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเข้าแทนที่หนังสือพิมพ์ เลอต็อง (Le Temps) โดยชื่อเสียงของเลอต็องถูกบ่อนทำลายลงในช่วงที่เยอรมนีเข้ายึดครองฝรั่งเศส โดยที่อูแบร์ต เบิฟว์-เมรี เป็นบรรณาธิการที่มีอำนาจเต็มในการบริหารจัดการทุกด้านภายในสำนักพิมพ์ เลอมงด์ฉบับแรกวางจำหน่ายวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2487 และเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรกในวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2538 โดยมีเงินทุนสนับสนุนทางธุรกิจจากเครือลาวีเลอมง.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและเลอมงด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกาห์ซี บิน มูฮัมหมัด

้าชายกาห์ซี บิน มูฮัมหมัด พระโอรสพระองค์เล็กใน เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล กับ เจ้าหญิงฟาร์ยา บิน มูฮัมหมัด เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน เป็นพระราชภาติยะใน สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน เป็นพระอนุชาใน เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด ทรงเสกสมรสกับ นางสาว อีรีต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าหญิงอีรี อัล กาห์ซี มีพระบุตร 4 พระองค์ ทรงอยู่ในลำดับที่ 15 ในการสืบราชบัลลังก์จอร์แดน.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและเจ้าชายกาห์ซี บิน มูฮัมหมัด · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฌัก ชีรักและ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ChiracJacque ChiracJacques ChiracJacques Rene ChiracJacques René Chiracฌาก ชีรักฌากส์ ชีรักฌาค ชีรัคฌาคส์ ชีรัคชาก ชีรักชีรักชีรัค

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »