โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวแฟรงก์

ดัชนี ชาวแฟรงก์

หนังสือสำหรับทำพิธีศาสนา “Gelasian Sacramentary” จากราว ค.ศ. 750 แฟรงก์ (Franks, Franci) เป็นกลุ่มชนเจอร์มานิกตะวันตกที่เริ่มก่อตัวขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยมีถิ่นฐานอยู่ทางเหนือและทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำไรน์ตอนล่าง ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์เมโรแว็งเชียง ชนแฟรงก์ก็ก่อตั้งสถาบันพระมหากษัตริย์เจอร์มานิกที่มาแทนจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 รัฐของชนแฟรงก์และมารวมตัวกันเป็นอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่กลายมาเป็นจักรวรรดิคาโรลินเจียนและรัฐต่างๆ ที่ตามมา ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่มแฟรงเคีย “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจากภาษาละติน “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับภาษาอังกฤษเก่า “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ.

88 ความสัมพันธ์: ชาร์ล มาร์แตลชาร์ล เดอ โกลชาวแวนดัลชาวแองโกล-แซกซันชาวไวกิงชิลเดอแบร์ที่ 1ชนอลามันน์ฟรังโกเนียพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชพระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดีพระเจ้าเอเธล์บาลด์แห่งเวสเซ็กซ์พระเจ้าเอเธล์วูลฟ์แห่งเวสเซ็กซ์พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ยพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์การพลัดถิ่นฝรั่ง (คน)ภาษาฝรั่งเศสมหาวิหารแซ็ง-เรมีมหาวิหารแซ็ง-เดอนียุทธการที่ตูร์ยุทธการโทลบิแยครอลโลแห่งนอร์ม็องดีรอแดซราชวงศ์ราชวงศ์บูร์กอญราชวงศ์กาเปเซียงราชวงศ์วาลัวราชวงศ์ซาวอยราชอาณาจักรบูร์กอญราชอาณาจักรวิซิกอทราชอาณาจักรอารากอนราชอาณาจักรอาร์ลราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)ราชอาณาจักรแฟรงก์ราชอาณาจักรเยอรมนีรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรียรายพระนามผู้ปกครองลอแรนรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ราเวินส์บวร์คลอมบาร์ดวาลคิรีศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐานศิลปะและสถาปัตยกรรมเมรอแว็งเฌียงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียงสมัยกลางสมัยการย้ายถิ่นสถาปัตยกรรมนอร์มันสทราซบูร์สงครามครูเสดอชัฟเฟินบวร์ค...อัตติลาอูกแห่งปาแย็งจอมพลจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ดัชชีมันโตวาครักเดเชอวาลีเยต้นสมัยกลางซาร์บรึคเคินซาวอย (แก้ความกำกวม)ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์เยอรมนีประวัติศาสตร์เดนมาร์กประเทศฝรั่งเศสประเทศสเปนประเทศเบลเยียมประเทศเยอรมนีปราสาทนอร์มันนายช่างแห่งนักบุญไจลส์นครลักเซมเบิร์กแอ็กซ็องพรอว็องส์แคว้นอารากอนแคว้นนอร์ม็องดีแคว้นนาวาร์โกลดีองโรแลนด์โคลวิสที่ 1เศาะลาฮุดดีนเอจออฟเอ็มไพร์สเอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์เดวิด อัศวนนท์เซมุนเซปทิเมเนีย10 ตุลาคม ขยายดัชนี (38 มากกว่า) »

ชาร์ล มาร์แตล

ร์ล มาร์แตล (Charles Martel; ราว ค.ศ. 688 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 741) เป็นผู้นำทางการทหารและการเมืองของชาวแฟรงก์ ดำรงมีตำแหน่งสมุหราชมนเทียรในสมัยราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง และเป็นประมุขในทางพฤตินัยในช่วงว่างระหว่างรัชกาล ค.ศ. 737 ถึง ค.ศ. 743 ในบั้นปลายของชีวิตโดยใช้ตำแหน่ง “ดยุกและเจ้าชายแห่งชาวแฟรงก์” ในปี ค.ศ. 739 พระสันตะปาปาเสนอให้รับตำแหน่งกงสุลแต่ชาร์ลไม่ยอมรับ ชื่อเสียงที่ทำให้ชาร์ลเป็นผู้ที่เป็นที่รู้จักกันดีต่อมาการที่ได้รับชัยชนะในยุทธการที่ตูร์ในปี ค.ศ. 732 732 ซึ่งเป็นยุทธการที่เป็นการหยุดยั้งการรุกรานของกองทัพมุสลิมขึ้นมาทางเหนือและทางตะวันตกของยุโรป ชาร์ลเป็นนักการทหารผู้มีความสามารถ—พ่ายแพ้ในยุทธการเพียงยุทธการเดียวในชีวิตการต่อสู้ในยุทธการที่โคโลญ ชาร์ลเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในยุคกลาง และเชื่อกันว่ามีส่วนก่อให้เกิดระบบเจ้าขุนมูลนายและระบบอัศวินและวางรากฐานของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงFouracre, John.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และชาร์ล มาร์แตล · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ถึงปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของลัทธินิยมโกล และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อม.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแวนดัล

การโจมตีกรุงโรม โดยไฮน์ริช ลอยเตอมันน์ ราว ค.ศ. 1860–ค.ศ. 1880 กลุ่มชนเจอร์แมนิกในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 1 แวนดัล/ลูกีอี สีเขียวในบริเวณโปแลนด์ปัจจุบัน แวนดัล (Vandals) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์แมนิกตะวันออกที่เข้ามามีบทบาทในตอนปลายสมัยจักรวรรดิโรมัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 กษัตริย์ชาวกอทพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชพระเจ้าแผ่นดินของชาวออสโตรกอทและผู้สำเร็จราชการของชาววิซิกอทเป็นพันธมิตรของแวนดัลโดยการสมรส และเป็นพันธมิตรกับเบอร์กันดีและแฟรงก์ภายใต้การปกครองของโคลวิสที่ 1 แวนดัลอาจจะมีชื่อเสียงจากการโจมตีกรุงโรม (Sack of Rome) ในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และชาวแวนดัล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแองโกล-แซกซัน

ราชอาณาจักรแองโกล-แซกซัน ราว ค.ศ. 600 หมวกนักรบที่พบในซัตตันฮูที่อาจจะเป็นของเรดวอลดแห่งอีสแองเกลีย (Raedwald of East Anglia) (ราว ค.ศ. 625) ออกแบบตามแบบหมวกนักรบของโรมันและตกแต่งแบบหมวกนักรบของสวีเด็นที่ทำในสมัยเดียวกันที่โอลด์อุพพ์ซาลา แองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxons) เป็นคำที่ใช้เรียกชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางใต้และตะวันออกของสหราชอาณาจักรระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนกระทั่งถึงการรุกรานของนอร์มัน ในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และชาวแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และชาวไวกิง · ดูเพิ่มเติม »

ชิลเดอแบร์ที่ 1

ลเดอแบต์ที่ 1 (ค.ศ.496 - 13 ธันวาคม ค.ศ.558) เป็นกษัตริย์แฟรงก์ของราชวงศ์เมโรแว็งเฌียง เป็นพระโอรสคนที่สามในสี่คนของโคลวิสที่ 1 ที่แบ่งอาณาจักรของชาวแฟรงก์กันหลังการสิ้นพระชนม์ของพระราชบิดาใน..511 พระองค์เป็นหนึ่งในพระโอรสของนักบุญโคลทิลด์ เสด็จพระราชสมภพที่ไรม์ พระองค์ครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งปารีสตั้งแต..511 ถึง 558 และออร์ลียงตั้งแต..524 ถึง 558.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และชิลเดอแบร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ชนอลามันน์

ริเวณที่ตั้งถิ่นฐานของอลามันน์และสมรภูมิของสงครามโรมัน-อลามันน์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 6 ชนอลามันน์ (Alamanni) หรือ ชาวชวาเบิน (Swabians) เดิมเป็นกลุ่มสหพันธ์ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำไมน์ในเยอรมนีปัจจุบัน หลักฐานแรกที่กล่าวถึงชนกลุ่มนี้มาจากบันทึกถึงชน "อลามันนิคุส" (ละติน: Alamannicus) ที่สรุปกันว่าเขียนโดยจักรพรรดิคาราคัลลาผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และชนอลามันน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรังโกเนีย

ตราอาร์มของฟรังโกเนีย บริเวณฟรังโกเนียในประเทศเยอรมนี ฟรังโกเนีย (Franconia) หรือในภาษาเยอรมันคือ ฟรังเคิน (Franken) คือบริเวณในประเทศเยอรมนีที่ประกอบด้วยบริเวณตอนเหนือของรัฐบาวาเรียปัจจุบัน ส่วนหนึ่งของทางใต้ของรัฐเทือริงเงิน และบริเวณเล็กทางตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ที่เรียกว่าไฮล์บรอนน์-ฟรังเคิน ส่วนบาวาเรียประกอบด้วยสามการปกครองส่วนภูมิภาคคือ: อุนเทอร์ฟรังเคิน (Unterfranken), มิทเทิลฟรังเคิน (Mittelfranken) และโอเบอร์ฟรังเคิน (Oberfranken) ฟรังโกเนีย (มีความหมายว่าฝรั่งเศส) ตั้งชื่อตามกลุ่มชนเจอร์แมนิกกลุ่มที่เรียกว่าชาวแฟรงก์ ชนกลุ่มนี้มีบทบาทสำคัญในการแตกแยกของจักรวรรดิโรมัน และยึดครองบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปในยุคกลาง ฟรังโกเนียในปัจจุบันเป็นเพียงบริเวณเล็กๆ และไกลออกไปในบริเวณที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานเดิมของชาวแฟรงก์โบราณ ในภาษาเยอรมัน ฟรังเคิน ใช้สำหรับทั้งฟรังโกเนียในสมัยปัจจุบันและในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้เกิดความสับสน "จักรวรรดิแฟรงค์" หรือ ฟรังเคีย (Francia) อันที่จริงแล้วเป็นต้นกำเนิดของทั้งฝรั่งเศสและเยอรมนี ในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และฟรังโกเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

ระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (Alfred the Great; Ælfrēd) (ค.ศ. 849 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 899) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ในสมัยราชวงศ์เวสเซ็กซ์ เสด็จพระราชสมภพที่เวนเทจ บาร์กเชอร์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟแห่งเวสเซกซ์และออสเบอร์กา ทรงเสกสมรสกับเอลสวิธ และทรงราชย์เป็นกษัตริย์ของชนแองโกล-แซ็กซอนภายใต้ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 871 พระเจ้าอัลเฟรดทรงมีชื่อเสียงในการป้องกันราชอาณาจักร จากการรุกรานของชาวไวกิงจากเดนมาร์ก และเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษพระองค์เดียวที่รับสมญานามว่า “มหาราช” พระเจ้าอัลเฟรดทรงเป็นกษัตริย์แห่งแซกซันตะวันตกพระองค์แรก ที่ทรงแสดงพระองค์ว่าเป็นกษัตริย์แห่งชาวแองโกล-แซกซัน ทรงเป็นผู้มีการศึกษาดี และทรงส่งเสริมการศึกษาและปรับปรุงทางด้านกฎหมายในราชอาณาจักรและระบบการทหาร พระราชประวัติของพระองค์ถูกกล่าวถึงในงานเขียนของแอสเซอร์ (Asser) นักปราชญ์ชาวเวล.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี

ประติมากรรมเฉพาะหัวของนักบุญซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดีที่พล็อก พระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี (Sigismund of Burgundy) เป็นพระมหากษัตริย์เบอร์กันดีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และพระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอเธล์บาลด์แห่งเวสเซ็กซ์

อเธลบาลด์ กษัตริย์ของชาวเวสเซ็กซ์ ทรงเป็นโอรสองค์ที่สองจากห้าพระองค์ของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟกับออสเบอร์ที่เป็นลูกสาวของข้าราชบริพารคนหนึ่งของพระองค์และตัวพระนางเองสืบเชื้อสายมาจากสายราชวงศ์ของเวสเซ็กซ์ ขณะที่พระราชบิดาของพระองค์ เอเธลวูล์ฟ เสด็จไปจาริกแสวงบุญที่โรมในปี..855 เอเธลบาล์ดวางแผนกับบิชอปแห่งเชอร์บอร์นและผู้นำท้องถิ่นของซัมเมอร์เซ็ตต่อต้านพระองค์ รายละเอียดของแผนการไม่เป็นที่รู้ แต่เมื่อกลับมาจากโรม เอเธลวูล์ฟพบว่าพระราชอำนาจของพระองค์ถูกจำกัดเหลือแค่กษัตริย์ย่อยแห่งเคนต์ ขณะที่เอเธลบาลด์ควบคุมเวสเซ็กซ์ เอเธลวูล์ฟสวรรคตในปี..858 และอำนาจควบคุมเต็มรูปแบบถูกส่งต่อให้เอเธลบาลด์ที่อภิเษกสมรสกับพระมเหสีของพระราชบิดา จูดิธ ทว่าภายใต้แรงกดดันจากศาสนจักรการอภิเษกสมรสถูกประกาศเป็นโมฆะในปีต่อมา พระองค์สวรรคตในปี..860 ส่งต่อบัลลังก์ให้พระอนุชา เอเธลเบิร์ท.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และพระเจ้าเอเธล์บาลด์แห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอเธล์วูลฟ์แห่งเวสเซ็กซ์

อเธลวูล์ฟ เป็นโอรสของเอ็กเบิร์ตและเป็นกษัตริย์ย่อยแห่งเคนต์ พระองค์ได้บัลลังก์แห่งเวสเซ็กซ์มาจากการสวรรคตของพระราชบิดาในปี..839 รัชสมัยของพระองค์เป็นยุคของการรุกรานและการขับไล่พวกไวกิ้งซึ่งเป็นเรื่องปกติของผู้ปกครองของอังกฤษทุกคนในเวลานั้น แต่การทำสงครามไม่ใช่ชื่อเสียงที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์ เอเธลวูล์ฟเป็นที่จดจำอย่างเลือนรางในฐานะบุคคลที่ศรัทธาในศาสนาอย่างแรงกล้าที่ใส่ใจในการสถาปนาและรักษาศาสนจักร พระองค์ยังเป็นคนที่มั่งคั่งและมีทรัพยากรขนาดใหญ่โตกว้างขวางอยู่ในมือ นอกเหนือจากทรัพยากรเหล่านี้ พระองค์ยังหยิบยื่นสิ่งต้องการให้แก่โรมและสถาบันศาสนาอย่างเอื้อเฟื้อ.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และพระเจ้าเอเธล์วูลฟ์แห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย

ระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย (Pepin the Short หรือ Pippin the Short) (ค.ศ. 714 – 24 กันยายน ค.ศ. 768) นอกจากจะทรงได้รับฉายานามว่า "the Short" แล้วก็ยังรู้จักกันในพระนามอื่นด้วยเช่น "เปแป็งผู้เยาว์" หรือ "เปแป็งที่ 3" เปแปงเดิมเป็นสมุหราชมนเทียร (Mayor of the Palace) และดยุกแห่งแฟรงก์ ตั้งแต่ ค.ศ. 741 และพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิแฟรงค์ระหว่าง ค.ศ. 751 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 768 พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ยเป็นพระราชโอรสของชาร์ลส์ มาร์เตล และเป็นพระราชบิดาของชาร์เลอมาญ.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และพระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ. 2336 (ค.ศ. 1793) มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยราชวงศ์กาเปเซียง ตัวอาคารเดิมเคยเป็นพระราชวังหลวง ซึ่งปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จัดแสดงและเก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรงคุณค่าระดับโลกเป็นจำนวนมากกว่า 35,000 ชิ้น จากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ภาพเขียนโมนาลิซา, The Virgin and Child with St.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่ง (คน)

ตรกรรมฝาผนังรูปฝรั่งภายในวัดตรีทศเทพวรวิหาร นักท่องเที่ยวฝรั่งที่เกาะคอเขา จังหวัดพังงา ฝรั่ง เป็นคำภาษาไทย ที่ใช้เรียกชาวต่างชาติที่เชื้อสายยุโรป หรือชาวผิวขาวโดยที่มิได้ระบุเชื้อชาติหรือสัญชาติ คำว่า ฝรั่ง นี้ ใช้กันเป็นภาษาปาก หรือภาษาลำลอง ถือเป็นคำที่มีความหมายกลาง ๆ แต่ในบางครั้ง ก็มีความหมายเชิงดูหมิ่นหรือแปลกแยกได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับรูปการณ์ ในสมัยโบราณ จะใช้เรียกกันเต็ม ๆ ว่า พวก ฝรั่งตาน้ำข้าว ซึ่งมีอารมณ์เชิงดูถูกของคนโบราณซ่อนอยู่ จนปัจจุบัน กร่อนลงเหลือเพียง ฝรั่ง นอกจากนี้ คนไทยยังเรียกชาวผิวดำ หรือมีเชื้อสายแอฟริกัน ว่า ฝรั่งดำ.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และฝรั่ง (คน) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เรมี

มหาวิหารนักบุญเรมีแห่งแร็งส์ (Basilique Saint-Remi de Reims) เป็นอดีตแอบบีย์ ตั้งอยู่ในเมืองแร็งส์ ประเทศฝรั่งเศส มีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และมหาวิหารแซ็ง-เรมี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (Basilique Saint-Denis) เดิมเป็นแอบบีย์ชื่อ อารามแซ็ง-เดอนี ที่ตั้งอยู่ที่แซ็ง-เดอนีที่ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของปารีส ต่อมาถูกยกสถานะขึ้นเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-เดอนีในปี ค.ศ. 1966 มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมีความสำคัญทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ต่อประเทศฝรั่งเศส มหาวิหารแซ็ง-เดอนีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 บนที่ตั้งของที่ฝังศพของนักบุญเดนิสผู้เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประเทศฝรั่งเศสองค์หนึ่งในสามองค์ มหาวิหารกลายเป็นสถานที่สำหรับการแสวงบุญและใช้เป็นที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสเกือบทุกพระองค์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และบางพระองค์จากก่อนหน้านั้น (แต่ไม่ใช่สถานที่สำหรับพระราชพิธีราชาภิเษกที่ทำกันที่มหาวิหารแร็งส์ แต่พระราชพิธีราชาภิเษกพระราชินีมักทำกันที่นี่) มหาวิหารจึงกลายเป็นสิ่งก่อสร้างกลุ่มที่ซับซ้อน ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อธิการซูว์เฌสร้างบางส่วนของมหาวิหารใหม่โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่ล้ำสมัยสำหรับยุคนั้น และใช้การตกแต่งที่นำมาจากสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ การก่อสร้างครั้งนี้ถือกันว่าเป็นก่อสร้างสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกที่แท้จริงเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมหาวิหารก็ยังเป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมแรยอน็อง และกลายมาเป็นแบบการก่อสร้างของมหาวิหารและแอบบีย์อื่น ๆ ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ต่อม.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และมหาวิหารแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ตูร์

ทธการตูร์ หรือ ยุทธการปัวติเยร์ (Battle of Tours หรือ Battle of Poitiers, معركة بلاط الشهداء (ma‘arakat Balâṭ ash-Shuhadâ’) ยุทธการแห่งราชสำนักผู้พลีชีพ) (10 ตุลาคม ค.ศ. 732) เป็นยุทธการที่เกิดขึ้นในบริเวณเมืองปัวติเยร์ และ ตูร์ ใกล้กับหมู่บ้าน Moussais-la-Bataille ราวยี่สิบกิโลเมตรทางตอนเหนือของปัวติเยร์ สมรภูมิของการสู้รบอยู่ติดกับเขตแดนระหว่างจักรวรรดิแฟรงค์และอากีแตน ยุทธการตูร์เป็นยุทธการระหว่างกองทัพแฟรงค์และเบอร์กันดี ภายใต้การนำของออสตราเซียชาร์ลส์ มาร์เตลฝ่ายหนึ่ง และกองทัพของจักรวรรดิกาหลิปอุมัยยะห์ที่นำโดยอับดุล เราะหฺมาน อัล ฆอฟิกีข้าหลวงใหญ่แห่งอัล-อันดะลุสอีกฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายแฟรงค์เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ อับดุล เราะหฺมาน อัล ฆอฟิกีเสียชีวิตในสนามรบ ชาร์ลส์ มาร์เตลขยายอำนาจลงมาทางใต้ นักบันทึกพงศาวดารของคริสต์ศตวรรษที่ 9 ผู้ตีความหมายของชัยชนะว่าเป็นอำนาจจากเบื้องบนที่เข้าข้างชาร์ลส์ และตั้งสมญานามให้ชาร์ลส์ว่า “Martellus” หรือ “ค้อน” ที่อาจจะมาจากสมญาว่า “The Hammerer” ของจูดาส แม็คคาเบียส (Judas Maccabeus) ใน การปฏิวัติแม็คคาบี (Maccabean revolt) เมื่อชาวยิวปฏิวัติต่อต้านการปกครองของจักรวรรดิเซลูซิด (Seleucid empire) Riche, 1993, p. 44.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และยุทธการที่ตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการโทลบิแยค

ทธการโทลบิแยค (Battle of Tolbiac) เป็นสงครามระหว่างชนแฟรงค์ที่นำโดยโคลวิสที่ 1ฝ่ายหนึ่งและอลามานนิอีกฝ่ายหนึ่ง ยุทธการโทลบิแยคที่เกิดขึ้นในบริเวณนอร์ธไรน์เวสต์ฟาเลียในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ยุทธการโทลบิแยคเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 496 ผลของสงครามชนแฟรงค์เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะอย่างเด็.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และยุทธการโทลบิแยค · ดูเพิ่มเติม »

รอลโลแห่งนอร์ม็องดี

รอลโล หรือ กาอาง รอล์ฟ (Rollo หรือ Gaange Rolf, ภาษานอร์มัน: Rou, Hrólfr, Rollon; ค.ศ. 846 – 930) เป็นชาวไวกิ้งที่กลายเป็นผู้ปกครองคนแรกของนอร์ม็องดี บางครั้งก็ถูกเรียกว่าดยุคที่ 1 แห่งนอร์ม็องดี ชื่อสแกนดิเนเวียของเขาคือ รอล์ฟ ที่ถูกขยายเพิ่มว่า กาอาง รอล์ฟ เนื่องจากเขามีน้ำหนักตัวมากเกินกว่าที่ม้าโตเต็มวัยจะแบกไหว เขาจึงต้องเดิน (หรือ "gaa" ในภาษาดาโนนอร์วีเจียน) รอลโลปรากฏตัวขึ้นมาในฐานะบุคคลที่โดดเด่นท่ามกลางชาวนอร์ส ที่มีฐานที่มั่นถาวรที่มั่นคงบนผืนแผ่นดินของชาวแฟรงก์ในหุบเขาแม่น้ำเซนล่าง พระเจ้าชาร์ลผู้เรียบง่าย กษัตริย์แห่งเวสต์ฟรังเกีย ยกดินแดนระหว่างปากแม่น้ำเซนกับเมืองรูอ็องในปัจจุบันให้เขา แลกกับการให้รอลโลยินยอมยุติการปล้นทรัพย์และให้การคุ้มกันชาวแฟรงก์จากการรุกรานของชาวไวกิ้งในอนาคต รอลโลได้รับการบันทึกครั้งแรกในฐานะผู้นำของผู้ตั้งรกรากชาวไวกิ้งกลุ่มดังกล่าวในกฎบัตรของ..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และรอลโลแห่งนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

รอแดซ

รอแดซ (Rodez) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสเป็นเมืองหลวงของจังหวัดอาแวรงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ชาวเมืองรอแดซเรียกว่า "Ruthenois".

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และรอแดซ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์กอญ

ราชวงศ์บูร์กอญ (Casa de Borgonha, House of Burgundy) เป็นราชตระกูลที่แยกมาจากราชวงศ์คาเปต์ของราชวงศ์กาเปเตียงโดยมีโรเบิร์ตที่ 1 ดยุกแห่งบูร์กอญผู้เป็นพระราชโอรสองค์รองในพระเจ้าโรแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสเป็นผู้ก่อตั้ง.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชวงศ์บูร์กอญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์กาเปเซียง

ราชวงศ์กาเปเซียง (Capétiens) หรือ ราชวงศ์คะพีเชียน (Capetians) คือ ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรฝรั่งเศสในสมัยกลาง มีพระเจ้าอูก กาแป (Hugh Capet) แห่งฝรั่งเศส เป็นต้นพระราชวงศ์ ปัจจุบันราชวงศ์กาเปเซียงที่ยังคงมีพระชนม์ชีพและถือพระราชสมบัติอยู่ คือ กษัตริย์แห่งสเปนและแกรนด์ดุ๊กแห่งลักเซมเบิร์กผ่านทางราชวงศ์บูร์บง คำว่า "คาพีเชียน" มาจากพระนามพระเจ้าอูก กาแป ทั้งที่ "กาแป" มิได้เป็นนามสกุลแต่เป็นฉายานาม แต่กษัตริย์ฝรั่งเศสก็ทรงใช้ "กาแป" เป็นพระนามของพระราชสกุล เช่นเมื่อ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ทรงถูกประหารด้วยกิโยตีนใน ค.ศ. 1793 การปกครองปฏิวัติในสมัยนั้นบันทึกในมรณบัตรว่า "หลุยส์ กาแป" บรรพบุรุษของราชวงศ์กาเปเซียง คือ ตระกูลรอแบร์ (Robertian) ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นเคานต์แห่งปารีสในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ปัจจุบันคือฝรั่งเศส ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และ 10 ตระกูลรอแบร์อภิเษกกับราชวงศ์คาโรลินเจียน (Carolingian dynasty) ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตกขณะนั้น ทำให้ตระกูลรอแบร์บางคนได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ด้วย แต่ใน ค.ศ. 987 ราชวงศ์กาโรแล็งเชียงสิ้นสุดลงในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก อูก กาแป เคานต์แห่งปารีสที่สืบเชื้อสายจากตระกูลรอแบร์นั้น ได้ขึ้นครองราชย์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์กาเปเซียง ราชวงศ์กาเปเซียงในสายตรงฝรั่งเศสสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1328 ด้วยการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าชาร์ลที่ 4 ที่ทรงไร้ทายาท แต่ ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) และราชวงศ์บูร์บง (Bourbon dynasty) อันเป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเซียงยังคงปกครองฝรั่งเศสต่อไป.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชวงศ์กาเปเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์วาลัว

ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเตียง สืบราชสมบัติฝรั่งเศสต่อจากราชวงศ์กาเปเตียงในค.ศ. 1328 และส่งต่อให้ราชวงศ์บูร์บงในค.ศ. 1589 ราชวงศ์วาลัวสาขาเบอร์กันดีปกครองแคว้นเบอร์กันดีด้วย เป็นดุ๊กแห่งเบอร์กันดี ราชวงศ์วาลัวสืบเชื้อสายมาจากชาร์ลส์ เคานต์แห่งวาลัว (Charles, Count of Valois) พระโอรสองค์ที่ 3 ของพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส แม้พระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ราชวงศ์กาเปเตียงจะมีพระโอรสถึงสามองค์ ซึ่งทั้งสามพระองค์ก็ได้เป็นกษัตริย์ แต่กลับไม่มีพระองค์ใดมีทายาทเลย ใน..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชวงศ์วาลัว · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซาวอย

ราชวงศ์ซาวอย (Casa Savoia, House of Savoy) เป็นราชตระกูลที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1003ในภูมิภาคประวัติศาสตร์ซาวอย ราชตระกูลขยายตัวและรุ่งเรืองขึ้นจากราชตระกูลที่ปกครองอาณาจักรเคานท์ในบริเวณซาวอยไปจนในที่สุดก็ได้ปกครองราชอาณาจักรอิตาลีจนกระทั่งปลายสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อตำแหน่งพระมหากษัตริย์อิตาลีถูกยุบเลิกในปี ค.ศ. 1946 ราชวงศ์ซาวอยเป็นราชตระกูลที่เก่าที่สุดในโลก, ฝรั่งเศส, สเปน และ โครเอเชี.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชวงศ์ซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบูร์กอญ

ราชอาณาจักรบูร์กอญ (Kingdom of Burgundy) ภูมิภาคบูร์กอญเป็นดินแดนทางตะวันตกของยุโรปตะวันตกที่ในประวัติศาสตร์เป็นรัฐในรูปแบบต่างๆ ที่มีเขตแดนที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์ “รัฐ” สองรัฐที่่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณนี้ก็คือ “ราชอาณาจักรบูร์กอญ” และราชอาณาจักรบูร์กอญที่เกือบจะได้รับการก่อตั้งขึ้น.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรบูร์กอญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรวิซิกอท

ราชอาณาจักรวิซิกอท (Visigothic kingdom) เป็นอำนาจของยุโรปตะวันตกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 เป็นหนึ่งในรัฐที่ตามมาจากจักรวรรดิโรมันตะวันตก เดิมก่อตั้งขึ้นโดยการการตั้งถิ่นฐานของวิซิกอทภายใต้ประมุขของตนเองในอากีแตน (กอลตอนใต้) โดยรัฐบาลของโรมัน ต่อมาก็ขยายดินแดนออกไปโดยการพิชิตในคาบสมุทรไอบีเรีย ราชอาณาจักรสามารถดำรงตัวเป็นอิสระจากจักรวรรดิไบแซนไทน์เมื่อไบแซนไทน์พยายามรื้อฟื้นอำนาจของโรมันในไอบีเรียประสบความล้มเหลว แต่เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 ชนแฟรงค์ในกอลก็สามารถได้รับชัยชนะต่อราชอาณาจักรวิซิกอททั้งหมดยกเว้นเซ็พติมาเนีย ในที่สุดราชอาณาจักรวิซิกอทก็ล่มสลายระหว่างการโจมตีของการรุกรานของอิสลาม (Umayyad conquest of Hispania) จากโมร็อกโก ต่อมาราชอาณาจักรอัสตูเรียสก็กลายเป็นอาณาจักรที่สืบต่อจากราชอาณาจักรวิซิกอท ราชอาณาจักรวิซิกอทปกครองโดยพระมหากษัตริย์ที่มาจากการเลือกตั้งและต้องเป็นชนกอธโดยมี “เซเนท” เป็นที่ปรึกษาราชการที่ประกอบด้วยสังฆราช และขุนนาง แม้ว่าพระมหากษัตริย์จะพยายามก่อตั้งราชวงศ์แต่ก็ไม่มีผู้ใดทำสำเร็จ พระมหากษัตริย์องค์แรก ๆ นับถือคริสต์ศาสนานิกาย Arianism หลังจากนั้นก็เปลี่ยนเป็นลัทธิไนเซียน (Nicene Creed) ซึ่งทางสถาบันศาสนาพยายามสร้างอำนาจมากขึ้นจากการประชุมสภาสงฆ์แห่งโตเลโด (Councils of Toledo) แต่กระนั้นวิซิกอทก็เป็นชาติที่มีการวิวัฒนาการทางกฎหมายทางโลกที่ก้าวหน้าที่สุดในยุโรปตะวันตก “Liber Iudiciorum” กลายมาเป็นรากฐานของกฎหมายของสเปนตลอดยุคกลาง.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรวิซิกอท · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอารากอน

ราชอาณาจักรอารากอน (Reino de Aragón; Kingdom of Aragon) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปนระหว่างปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1707 โดยมีพระเจ้ารามีโรที่ 1 แห่งอารากอนแห่งราชวงศ์อารากอนเป็นกษัตริย์องค์แรก อาณาจักรอารากอนเป็นอาณาจักรแบบราชาธิปไตย อาณาบริเวณเป็นบริเวณเดียวกับแคว้นอารากอนในประเทศสเปนปัจจุบัน ราชอาณาจักรอารากอนเดิมเป็นส่วนหนึ่งของ “ราชบัลลังก์อารากอน” (Crown of Aragon) ซึ่งรวมทั้งราชอาณาจักรบาเลนเซียและราชรัฐคาเทโลเนีย ซึ่งมีประมุขร่วมกัน อารากอนกอร์เตส (รัฐสภา) ราชอาณาจักรเดิมเป็นแคว้นฟิวดัลของชาวแฟรงก์รอบเมืองคากาซึ่งรวมตัวกับราชอาณาจักรปัมโปลนาที่ต่อมาเป็นราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 925 แคว้นอารากองแยกตัวจากราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 1035 และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นอาณาจักรเต็มตัวโดยพระเจ้ารามีโรที่ 1 อาณาจักรอารากอนขยายตัวไปทางใต้ทางอวยสกา ในปี ค.ศ. 1096 และต่อมาซาราโกซา ในปี ค.ศ. 1118 จนกระทั่งปี ค.ศ. 1285 พรมแดนทางใต้ที่สุดของอารากอนเป็นดินแดนจากมัวร์ อาณาจักรอารากอนรวมกับราชบัลลังก์อารากอนหลังจากการเสกสมรสระหว่างสองราชวงศ์ในปี ค.ศ. 1150 ระหว่างรามอน เบเรงเกร์ที่ 4 เคานต์แห่งบาร์เซโลนา และเปโตรนีลาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอารากอน พระโอรสของทั้งสองพระองค์ได้รับดินแดนของทั้งสองอาณาจักร นอกจากนั้นพระเจ้าแผ่นดินแห่งอารากอนยังได้รับตำแหน่งเพิ่มเป็นเคานต์แห่งบาร์เซโลนา ปกครองดินแดนเดิมและราชรัฐคาเทโลเนีย และต่อมาหมู่เกาะแบลีแอริก ราชอาณาจักรบาเลนเซีย ราชอาณาจักรซิซิลี ราชอาณาจักรเนเปิลส์ และราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย พระเจ้าแผ่นดินแห่งอารากอนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์แรกที่ทรงปกครองบริเวณอารากอนโดยตรงและทรงดำรงตำแหน่งพระเจ้าแผ่นดินแห่งบาเลนเซีย พระเจ้าแผ่นดินแห่งมายอร์กา (ชั่วระยะหนึ่ง) เคานต์แห่งบาร์เซโลนา ลอร์ดแห่งมงเปลีเย และดุ๊กแห่งเอเธนส์ (ชั่วระยะหนึ่ง) แต่ละตำแหน่งที่ได้มาหรือเสียไปก็เป็นการเพื่มหรือลดดินแดนภายใต้การปกครองในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อำนาจของพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนก็จำกัดลงเพียงบริเวณอารากอนเองตามข้อตกลง “สหภาพอารากอน” (Union of Aragon) ราชบัลลังก์อารากอนถูกยุบเลิกโดยปริยายหลังจากการรวมกับราชบัลลังก์คาสตีล แต่หลังจากการรวมตัวอารากอนก็ยังรักษาอำนาจบางอย่างอยู่บ้างจนกระทั่งมาสิ้นสุดลงทั้งหมดตามพระราชกฤษฎีกานวยบาปลันตา (Nueva Planta decrees) ที่ออกในปี ค.ศ. 1707.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอาร์ล

ราชอาณาจักรอาร์ล (Kingdom of Arles หรือ Arelat) หรือ ราชอาณาจักรบูร์กอญที่สอง เป็นราชอาณาจักรในแฟรงค์ในบริเวณอาร์ล ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 933 จากดินแดนที่เดิมที่เดิมเป็นทางตอนใต้ของราชอาณาจักรบูร์กอญ ที่ตรงกับบริเวณที่ในปัจจุบันเป็นแคว้นโรนาลป์, พรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ และฟร็องช์-กงเต ราชอาณาจักรปกครองเป็นอิสระมาจนกระทั่งเปี ค.ศ. 1032The New Columbia Encyclopedia 1975, 150 ในปี ค.ศ. 888 โรดอล์ฟ เคานต์แห่งโอแซร์ก่อตั้งราชอาณาจักรบูร์กอญเหนือ (Bourgogne Transjurane) ในปี ค.ศ. 933 อูกแห่งอาร์ล (Hugh of Italy หรือ "Hugues de Provence") ยกราชอาณาจักรให้แก่รูดอล์ฟที่ 2 แห่งบูร์กอญ ผู้รวบรวมดินแดนทางตอนใต้ของบูร์กอญและก่อตั้งเป็นราชอาณาจักรใหม่ชื่อ “ราชอาณาจักรอาร์ล” ในปี ค.ศ. 937 คอนราดแห่งบูร์กอญก็ขึ้นครองราชย์ต่อจากรูดอล์ฟ ตามด้วยรูดอล์ฟที่ 3 แห่งบูร์กอญ ในปี ค.ศ. 1032 เมื่อรูดอล์ฟที่ 3 แห่งบูร์กอญเสด็จสวรรคต ราชอาณาจักรอาร์ลก็ตกไปเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิคอนราดที่ 2 แม้ว่าผู้ครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิคอนราดจะถือพระองค์ว่าเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาร์ล แต่ก็ไม่มีผู้ใดที่เสด็จมาทำพิธีบรมราชาภิเษกในมหาวิหาร ราชอาณาจักรปกครองตนอย่างค่อนข้างอิสระ ยกเว้นแต่สมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 ผู้มาทำพิธีบรมราชาภิเษกในปี ค.ศ. 1178 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาร์ลโดยสังฆราชแห่งอาร์ล ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 หลายส่วนของราชอาณาจักรก็แยกตัวออกไป ได้แก่ พรอว็องส์, วีวาแร, ลียง-แน, โดฟีเน, ซาวอย, ฟร็องช์-กงเต และทางตะวันตกของสวิตเซอร์แลนด์ จากนั้นส่วนใหญ่ของดินแดนบูร์กอญใต้ก็ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศส ขณะที่ทางตะวันออกของบูร์กอญเหนือตกไปเป็นของตระกูลเซริงเงิน (Zähringen) และฮับส์บูร์ก ในปี ค.ศ. 1361 สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ก็แยกอาณาจักรเคานต์แห่งซาวอยออกจากราชอาณาจักร ในปี ค.ศ. 1365 จักรพรรดิคาร์ลก็ได้รับการสวมมงกุฎเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาร์ล แต่ในปี ค.ศ. 1378 พระองค์ก็ทรงแต่งตั้งมกุฎราชกุมารแห่งฝรั่งเศส (ต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส) ให้เป็นอุปราช (Imperial vicar) ถาวรของราชอาณาจักร ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาราชอาณาจักรอาร์ลก็เหลือเพียงตัวอักษร.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรอาร์ล · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)

ราชอาณาจักรอิตาลี (Kingdom of Italy, Regnum Italiae หรือ Regnum Italicum) เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นโดยชนลอมบาร์ดผู้เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลีหลังจากที่ราชอาณาจักรออสโตรกอธถูกทำลายในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแฟรงก์

ราชอาณาจักรแฟรงก์ (Frankish Kingdom) หรือ ฟรังเกีย (Francia) เป็นดินแดนที่ตั้งถิ่นฐานและปกครองโดยชาวแฟรงก์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 อาณาบริเวณเกิดจากการรณรงค์ที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่ชาร์ล มาร์แตล (Charles Martel) พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย และชาร์เลอมาญ-- พ่อ, ลูก, และหลาน--มามั่นคงเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ธรรมเนียมของการแบ่งดินแดนของพ่อระหว่างลูกชายหมายความว่าดินแดนแฟรงก์ปกครองเป็นอย่างหลวม ๆ เป็นจักรวรรดิที่แบ่งย่อยเป็นส่วนย่อย ๆ (ราชอาณาจักร หรือ อนุราชอาณาจักร) ที่ตั้งและจำนวนอนุราชอาณาจักรก็ต่างกันไปตามเวลา แต่ฟรังเกียโดยทั่วไปมาหมายถึงบริเวณหนึ่งที่เรียกว่าออสเตรเชีย ที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณแม่น้ำไรน์ และแม่น้ำเมิซ (Meuse) ทางตอนเหนือของยุโรป แต่กระนั้นบางครั้งก็จะครอบคลุมไปถึงนิวสเตรีย (Neustria) ทางเหนือของแม่น้ำลัวร์ และทางตะวันตกของแม่น้ำแซนในที่สุดบริเวณนี้ก็เคลื่อนมาทางปารีส และมาสิ้นสุดลงในบริเวณลุ่มแม่น้ำแซนรอบ ๆ ปารีส ที่ยังใช้ชื่ออีล-เดอ-ฟร็องส์ และเป็นชื่อในที่สุดก็กลายเป็นชื่อของราชอาณาจักรฝรั่งเศสทั้งราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรแฟรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยอรมนี

ออทโทที่ 1 มหาราช ราชอาณาจักรเยอรมนี (ละติน: Regnum Teutonicum) เป็นอาณาจักรอัครสังฆราชที่สืบเนื่องมาจากราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออกในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ดินแดนทางตะวันออกของจักรวรรดิแฟรงค์ที่ได้รับการแยกตัวออกมาตามสนธิสัญญาแวร์เดิงในปี ค.ศ. 843 แทบจะไม่ได้เป็นของจักรวรรดิแฟรงค์อย่างเต็มตัว ที่เป็นบริเวณที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวแซ็กซอน, ชาวบาวารี, ชาวทูริงกี, ชาวอลามานนิ และ ชาวฟริซี เมื่อราชบัลลังก์ตกไปเป็นของราชวงศ์ที่ไม่ใช่แฟรงค์ (ลุดอล์ฟิง) คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน) หรือ "Teutonicorum" ก็เริ่มนำเข้ามาใช้อย่างไม่เป็นทางการ เมื่อมาถึงยุคกลางตอนกลาง อาณาจักรดยุคแบบเยอรมัน (Stammesherzogtum) ก็เริ่มมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เมื่อรัฐต่างๆ ของคาโรแล็งเชียงแยกตัวออกไปจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนเหลือแต่เยอรมนี ที่มีประมุขที่ยังคงถือตำแหน่งพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิ ราชอาณาจักรเยอรมนีก็กลายเป็นคำที่พ้องกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมาถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งชาติเยอรมัน" ก็มีสองความหมายที่เป็น "จักรวรรดิ" และ "ราชอาณาจักร" เมื่อมองในบริบทนี้แล้วราชอาณาจักรเยอรมนีก็ดำรงตัวเป็นราชอาณาจักรต่อมาจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806 คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน หรือ กษัตริย์เยอรมัน) เริ่มนำมาใช้อย่างเป็นทางการในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่างที่เกิดข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ (Investiture Controversy) ที่อาจจะเป็นการใช้เป็นเครื่องมือในการต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิไฮน์ริคที่ 4 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พระจักรพรรดิก็เริ่มใช้สร้อย "rex Romanorum" (พระมหากษัตริย์แห่งชนโรมัน) ในพระราชอิสริยยศเพื่อเป็นการเน้นพระราชอำนาจและการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเมื่อได้รับเลือกตั้ง โดยสภาผู้เลือกตั้งพระจักรพรรดิที่ประกอบด้วยพรินซ์อีเล็คเตอร์เจ็ดองค์ ตำแหน่งนี้ใช้ในเยอรมนี อิตาลี และ เบอร์กันดีที่เป็นรัฐที่มีราชสำนัก กฎหมาย และรัฐบาลของตนเอง แต่อยู่ในเครือข่ายของจักรวรรดิมาจนกระทั่งถึงสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียในปี ค.ศ. 1648 หรือจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย

ตราอาร์มของบาวาเรีย รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย (List of rulers of Bavaria) บาวาเรียปกครองโดยประมุขทั้งที่มีตำแหน่งเป็นดยุกและเป็นพระมหากษัตริย์ ราชอาณาจักรได้รับการรวมหรือการถูกแบ่งตลอดมาในประวัติศาสตร์ของหลายราชวงศ์ที่ปกครอง แต่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองลอแรน

ที่ตั้งของจังหวัดลอแรน รายพระนามผู้ปกครองลอแรน (List of rulers of Lorraine) ประมุขแห่งลอแรนดำรงตำแหน่งหลายตำแหน่งภายใต้รัฐบาลต่างในหลายภูมิภาค ตำแหน่งแรกของประมุขแห่งลอแรนเป็นตำแหน่งกษัตริย์แห่งชนแฟรงค์ในอาณาจักรที่เรียกว่าโลทาริงเกียที่แผลงมาเป็น “ลอแรน” ในภาษาฝรั่งเศส และ “โลทาริงเกีย” ในภาษาเยอรมัน หลังจากอาณาจักรต่างๆ ของคาโรแล็งเชียงถูกผนวกกับดินแดนต่างๆ ในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 ตำแหน่งต่อมาของประมุขแห่งลอแรนเป็นตำแหน่ง “ดยุก” ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 10 ดัชชีก็แบ่งแยกออกเป็นลอแรนใต้ และ ลอแรนเหนือ ลอแรนใต้ต่อมาเป็นดัชชีแห่งลอแรนและดำรงอยู่ต่อมาจนถึงสมัยประวัติศาสตร์สมัยใหม.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และรายพระนามผู้ปกครองลอแรน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์

นี่คือ รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ ตั้งแต่การสถาปนากรุงคอนสแตนติโนเปิลในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ราเวินส์บวร์ค

ราเวินส์บวร์ค (Ravensburg) เป็นเมืองในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี ราเวินส์บวร์คเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนกับประเทศสวิตเซอร์แลนด์และประเทศออสเตรีย โดยตั้งอยู่ทางเหนือของทะเลสาบโบเดินราว 20 กิโลเมตร ในสมัยกลาง ราเวินส์บวร์คก่อตั้งขึ้นโดนตระกูลเวล์ฟ ซึ่งเป็นตระกูลชาวแฟรงก์ที่ปกครองในภูมิภาคชวาเบิน ซึ่งต่อมา ตระกูลนี้ก็มีตำแหน่งเป็นดยุกแห่งบาวาเรียและซัคเซิน และได้สร้างปราสาทของตัวเองขึ้นที่เมืองนี้ โดยในสมัยกลาง เมืองแห่งนี้มีฐานะเป็นเสรีนครของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ถือเป็นศูนย์กลางการค้าขายที่สำคัญ.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และราเวินส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ลอมบาร์ด

มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์ดี right ลอมบาร์ด หรือ ลังโกบาร์ด หรือ ลองโกบาร์ด (Lombards หรือ Langobards หรือ Longobards, Langobardi) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์มานิคที่เดิมมาจากยุโรปเหนือและมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำดานูบ จากบริเวณนั้นลอมบาร์ดก็เข้ารุกรานจักรวรรดิไบแซนไทน์ในคาบสมุทธอิตาลีในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และลอมบาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

วาลคิรี

วาด "Valkyrie's Vigil" ในตำนานนอร์ส วาลคิรี (อังกฤษ: valkyrie, นอร์ส: valkyrja) เป็นเทพธิดาที่รับใช้ โอดินโดยมีหน้าที่นำนักรบที่ตายในสงครามไปที่ วัลฮัลลา (Valhalla) เพื่อพบกับโอดิน และมาเป็น Einherjar สู้ศึกในสงครามแร็กนาร็อก สงครามสิ้นโลกระหว่างเทพเจ้าและปีศาจ ในทางศิลปะ วาลคิรีมักจะถูกกล่าวถึงในสัญลักษณ์ของความสวยงาม โดยจะมีลักษณะนางฟ้าหญิง สวมหมวกนักรบถือหอกและขี่บนหลังม้าที่มีปีก วาลคิรีนั้นสามารถแปลงร่างเป็นหงส์ได้ วาลคิรีนั้นสามารถแต่งงานกับมนุษย์ได้ แต่นั่นจะทำให้เสียอำนาจวิเศษของเทพธิดาไป.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และวาลคิรี · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน

ลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน (Migration Period art) เป็นงานศิลปะของกลุ่มชนเจอร์มานิคระหว่างสมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรป ระหว่าง ค.ศ. 300 จนถึง ค.ศ. 900 ที่รวมทั้งศิลปะของกลุ่มชนเจอร์มานิคเองบนภาคพื้นยุโรป และ “ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน” หรือ “ศิลปะเกาะ” ซึ่งเป็นศิลปะผสานระหว่างศิลปะของชาวแองโกล-แซ็กซอน และ ชาวเคลต์บนหมู่เกาะบริติช ลักษณะของศิลปะก็ครอบคลุมหลายลักษณะตั้งแต่ “ลักษณะพหุรงค์” และ “ลายรูปสัตว์” ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐานเป็นสมัยประวัติศาสตร์ศิลปะที่สำคัญของศิลปะยุคกลาง.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะและสถาปัตยกรรมเมรอแว็งเฌียง

มทรัพย์กูร์ดอง ปัวติเยร์ ศิลปะและสถาปัตยกรรมเมรอแว็งเฌียง (Merovingian art and architecture) คือศิลปะและสถาปัตยกรรมของราชวงศ์เมรอแว็งเฌียงของแฟรงก์ที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ในบริเวณที่ปัจจุบันคือฝรั่งเศสและเยอรมนี การเรืองอำนาจของราชวงศ์เมรอแว็งเฌียงในบริเวณกอลในคริสต์ศตวรรษที่ 5 นำความเปลี่ยนแปลงอันสำคัญมาสู่งานศิลปะ แต่ประติมากรรมถอยหลังไปเป็นเพียงงานแกะตกแต่งโลงหิน, แท่นบูชา และเฟอร์นิเจอร์ทางศาสนาอย่างง่ายๆ แต่งานทองและงานศิลปะสาขาใหม่--การคัดเขียนหนังสือวิจิตร--ผสานงานวาดรูปสัตว์แบบ “อนารยชน” เข้ามาด้วย พร้อมด้วยลวดลายแบบตอนปลายสมัยโบราณ และอิทธิพลที่มาจากแดนไกลเช่นจากซีเรียและไอร์แลนด์ผสานเข้ามาในศิลปะเมรอแว็งเฌียง.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และศิลปะและสถาปัตยกรรมเมรอแว็งเฌียง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง

ในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Carolingian Renaissance) เกิดขึ้นเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยมีจุดที่รุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญและจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาพระราชโอรส ระหว่างช่วงเวลานี้ก็มีการศึกษาวรรณคดี, การเขียน, ศิลปะ, สถาปัตยกรรม, นิติศาสตร์, และหนังสือทางเทววิทยาศาสนาคริสต์กันอย่างแพร่หลาย นอกจากนั้นก็ยังเป็นสมัยของการวิวัฒนาการภาษาละตินสมัยกลาง และอักษรกาโรแล็งเฌียงกันขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างภาษาและวิธีการเขียนที่เป็นสามัญที่สามารถนำมาใช้ในการสื่อสารไปได้เกือบทั่วทั้งยุโรป การใช้คำว่า “renaissance” หรือ “สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา” ในการบรรยายช่วงเวลานี้ก็เป็นประเด็นที่โต้แย้งกัน เพราะการเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่จำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มนักบวชเท่านั้น และขาดการเคลื่อนไหวโยกย้ายอย่างกว้างขวางเช่นที่เกิดขึ้นในอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อมาScott pg 30 แทนที่จะเป็นการรื้อฟื้นของขบวนการทางวัฒนธรรมใหม่ ยุคนี้เป็นเพียงการพยายามที่จะเลียนแบบวัฒนธรรมของจักรวรรดิโรมันก่อนหน้านั้น.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยการย้ายถิ่น

แผนที่แสดงการโยกย้ายถิ่นฐานระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึงที่ 5 อย่างง่ายๆ สมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรป หรือ สมัยการรุกรานของบาร์บาเรียน (Migration Period หรือ Barbarian Invasions, Völkerwanderung) เป็นสมัยของการอพยพของมนุษย์ (human migration) ที่เกิดขึ้นประมาณระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และสมัยการย้ายถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมนอร์มัน

องทางเดินกลางของมหาวิหารเดอแรมที่ใช้ซุ้มโค้งครึ่งวงกลมสองข้างแม้ว่าจะมีการใช้โค้งแหลมบนเพดานเหนือช่องทางเดินกลางที่เป็นการนำทางของสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมนอร์มัน (Norman architecture) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่วิวัฒนาการโดยนอร์มันในดินแดนต่างๆ ที่ได้เข้าปกครองหรือมีอิทธิพลในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 โดยเฉพาะในการบรรยายถึงสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบอังกฤษ นอร์มันเป็นผู้ริเริ่มการก่อสร้างปราสาท, ป้อมปราการที่รวมทั้งหอกลางแบบนอร์มัน, สำนักสงฆ์, แอบบี, คริสต์ศาสนสถาน และมหาวิหารเป็นจำนวนมากในอังกฤษ ในลักษณะการใช้โค้งกลม (โดยเฉพาะรอบหน้าต่างและประตู) และมีลักษณะหนาหนักเมื่อเทียบกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่กล่าวนี้เริ่มขึ้นในนอร์ม็องดีและแผ่ขยายไปทั่วยุโรปโดยเฉพาะในอังกฤษซึ่งเป็นที่ที่มีการวิวัฒนาการมากที่สุดและยังคงมีสิ่งก่อสร้างจากยุคนั้นที่ยังหลงเหลืออยู่มากกว่าประเทศอื่น ในขณะเดียวกันตระกูลโอตวิลล์ (Hauteville family) ซึ่งเป็นตระกูลนอร์มันที่ปกครองซิซิลีก็สร้างลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์อีกลักษณะหนึ่งที่มีอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และซาราเซ็นที่ก็เรียกว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” เช่นกันหรือบางครั้งก็เรียกว่า “สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ซิซิลี”.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และสถาปัตยกรรมนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

สทราซบูร์

ทราซบูร์ (Strasbourg) หรือ ชตราสส์บวร์ค (Straßburg) เป็นเมืองในแคว้นอาลซัส ประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของจังหวัดบา-แร็ง ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำอีลตั้งอยู่ใกล้ชายแดนประเทศเยอรมนี เป็นเมืองสำคัญด้านอุตสาหกรรมและการค้า ศูนย์กลางการขนส่ง และเมืองท่าริมฝั่งแม่น้ำที่สำคัญ ผลิตตับห่านบด สิ่งทอ สินค้าโลหะ เบียร์ ผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง เคมีภัณฑ์ มีอุตสาหกรรมการพิมพ์ การแปรรูปอาหาร และการท่องเที่ยว มีอาคารที่สำคัญ อย่างเช่น มหาวิหารสร้างในสมัยกลาง ซึ่งติดตั้งนาฬิกาดาราศาสตร์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 หอการค้า วังของผู้ว่าราชการจังหวัด ศาลาว่าการ พิพิธภัณฑ์ เป็นสถานที่ประชุมของรัฐสภายุโรปมาตั้งแต..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และสทราซบูร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสด

กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และสงครามครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

อชัฟเฟินบวร์ค

อชัฟเฟินบวร์ค (Aschaffenburg) เป็นเมืองชนบททางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของนครแฟรงก์เฟิร์ตไปราว 40 กิโลเมตร เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งริมแม่น้ำไมน์ เดิมทีเมืองนี้มีการตั้งถิ่นฐานของชนอลามานนิ และต่อมาก็เป็นที่มั่นของกองทหารโรมัน ต่อมาราวปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และอชัฟเฟินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

อัตติลา

อัตติลา หรือที่ใช้อ้างอิงส่วนใหญ่ อัตติลาเดอะฮัน (Attila the Hun) (ค.ศ. 406 – ค.ศ. 453) เป็นจักรพรรดิชาวฮันผู้ครองจักรวรรดิฮัน (Hunnic Empire) ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มชนเผ่าต่างๆทั้ง ฮัน ออสโตรกอท อลานส์ และเผ่าอนารยชนอื่นๆ ในดินแดนยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระหว่าง ค.ศ. 434 จนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 453 ที่พระองค์ได้เสด็จสวรรคตลง ในรัชสมัยของพระองค์สามารถครอบครองดินแดนตั้งแต่ ประเทศเยอรมนีไปจนถึงแม่น้ำยูรัล และจากแม่น้ำดานูบไปจนถึงทะเลบอลติก กินพื้นที่มากกว่า 4 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นการครอบครองดินแดนที่มากที่สุดอาณาจักรหนึ่งในยุคมืด ในรัชสมัยการปกครองของอัตติลาทรงเป็นประมุขผู้สร้างความหวาดหวั่นและถือเป็นศัตรูที่อันตรายที่สุดแก่จักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตก พระองค์ทรงรุกรานคาบสมุทรบอลข่านถึงสองครั้ง แต่พระองค์ไม่สามารถรุกรานกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จ และจากผลพวงของการพ่ายแพ้ในเปอร์เซีย ในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และอัตติลา · ดูเพิ่มเติม »

อูกแห่งปาแย็ง

อูกแห่งปาแย็ง (Hugues de Payens, Hughes de Payns หรือ Hughes de Pagan; Hugh of Payens หรือ Hugh Pagan) (c. 1070-1136) เป็นอัศวินชนแฟรงค์จากจังหวัดช็องปาญ ผู้ก่อตั้งและผู้นำคนแรกของอัศวินเทมพลาร์ เขากับนักบุญแบร์นาร์แห่งแกลร์โวได้ตั้งกฎปฏิบัติสำหรับภาคีที่ชื่อ กฎละติน (Latin Rule).

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และอูกแห่งปาแย็ง · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และจอมพล · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์

อรีนแห่งเอเธนส์ จักรพรรดินีแห่งไบแซนไทน์ หรือ ไอรีน เดอะเอเธนส์เนียน (กรีก:Εἰρήνη ἡ Ἀθηναία; ราวค.ศ. 712 - 9 สิงหาคม ค.ศ. 803) พระนามเดิมคือ ไอรีน ซารันตาเปชาอีนา (กรีก:Εἰρήνη Σαρανταπήχαινα) ทรงเป็นจักรพรรดินี พระประมุขแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ตั้งแต..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีมันโตวา

ัชชีแห่งมานตัว (Duchy of Mantua) เป็นดัชชีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ที่ปกครองโดยดยุกแห่งมานตัว ดัชชีแห่งมานตัวตั้งอยู่ในแคว้นลอมบาร์เดียในอิตาลีเหนือ หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันแล้วมานตัวก็ถูกรุกรานโดยจักรวรรดิไบแซนไทน์, ลังโกบาร์ด และ แฟรงค์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 มานตัวก็ตกไปเป็นของโบนิฟาเซแห่งคานอสสามาร์ควิสแห่งทัสเคนี ประมุขคนสุดท้ายของตระกูลคือมาทิลเด เคานเทสแห่งทัสเคนี (เสียชีวิต ค.ศ. 1115) ผู้ตามตำนานกล่าวว่าเป็นผู้สั่งให้สร้างโรทอนโดดิซานโลเรนโซ (ค.ศ. 1082) หลังจากการเสียชีวิตของมาทิลเด มานตัวก็กลายเป็นราชนครรัฐอิสระ และพยายามต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 และ 13 ระหว่างที่เกิดความยุ่งเหยิงระหว่างรัฐกับสถาบันศาสนาพินามอนเต โบนาโคลซิก็ถือโอกาสยึดอำนาจในฐานะกัปตันของประชาชน (Captain General of the People) ในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และดัชชีมันโตวา · ดูเพิ่มเติม »

ครักเดเชอวาลีเย

รักเดเชอวาลีเย (Krak des Chevaliers, Crac des Chevaliers) หรือ ก็อลอะฮ์อัลฮิศน์ (قلعة الحصن) เป็นปราสาทครูเสดที่ตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ครักเดเชอวาลีเยเป็นปราสาทที่มีความสำคัญในการเป็นปราสาททางการทหารจากยุคกลางที่อยู่ในสภาพที่ดีที่สุดในโลก คำว่า "Krak" ในชื่อมาจากภาษาซีรีแอก "karak" ที่แปลว่าป้อมปราการ ปราสาทอยู่ห่างจากเมืองฮอมส์ไปทางตะวันตกราว 65 ใกล้กับพรมแดนเลบานอน.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และครักเดเชอวาลีเย · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซาร์บรึคเคิน

ซาร์บรึคเคิน (Saarbrücken; Sarrebruck) เป็นเมืองหลวงของรัฐซาร์ลันด์ ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำซาร์ ที่เส้นเขตแดนระหว่างประเทศเยอรมนีกับประเทศฝรั่งเศส เคยเป็นเมืองอุตสาหกรรมและศูนย์กลางการเดินทางไปสู่แอ่งเหมือง ผลิตเหล็กและเหล็กกล้า น้ำตาล เบียร์ เครื่องปั้นดินเผา อุปกรณ์เกี่ยวกับสายตา เครื่องจักร และวัตถุการก่อสร้าง อย่างไรก็ตามผ่านไปหลายทศวรรษ ความสำคัญด้านอุตสาหกรรมของรัฐซาร์ลันด์ลดลงไป เช่นเดียวกับการทำเหมือง ที่ไม่ทำเงิน เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวโรมัน ต่อมาชาวแฟรงก์ได้มาสร้างปราสาทขึ้นไว้ ได้รับสถานภาพเป็นเมืองใน..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และซาร์บรึคเคิน · ดูเพิ่มเติม »

ซาวอย (แก้ความกำกวม)

ซาวอย อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และซาวอย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)

รงละคร Neue Musik-Festhalle สถานที่แสดงรอบปฐมทัศน์ ภาพนี้ถ่ายขึ้นในวันซ้อมใหญ่ก่อนการแสดงจริง กระท่อมที่มาห์เลอร์ใช้เป็นสถานที่ประพันธ์แต่งซิมโฟนีหมายเลข 8 ในปี 1906 ซิมโฟนีหมายเลข 8 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ ผลงานของกุสตาฟ มาห์เลอร์ เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับการร้องประสานเสียงประกอบดนตรีจากวงออร์เคสตรา เป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกระดับใหญ่ที่ต้องใช้กลุ่มเครื่องดนตรี และนักร้องประสานเสียงจำนวนมากที่สุด จนบางครั้งมีผู้เรียกซิมโฟนีบทนี้ว่า "ซิมโฟนีของคนนับพัน" (Symphony of a Thousand, หมายความว่า ต้องใช้นักดนตรีและนักร้องประสานเสียงถึงหนึ่งพันคนในการแสดง) โดยตัวมาห์เลอร์เองก็ไม่ได้โต้แย้งใดๆ ที่มีคนเรียกซิมโฟนีบทนี้เช่นนั้น มาห์เลอร์ประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ในช่วงฤดูร้อนของปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประวัติศาสตร์เยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประวัติศาสตร์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาท

ปราสาทคาร์คาโซนในฝรั่งเศส ปราสาท คือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกซึ่งเป็นสัญลักษณ์หลักของสมัยกลาง ความหมายของคำว่าปราสาทยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการถึงความหมายที่แท้จริง แต่โดยทั่วไปแล้วปราสาทมีความหมายต่างจากคำว่า “ป้อม” (fort) และ “ป้อมปราการ” (fortress) ตรงที่ปราสาทเป็นที่ประทับหรือที่พำนักของพระมหากษัตริย์หรือขุนนางในบริเวณที่เป็นจุดที่ต้องมีการป้องกันจากข้าศึก สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่มาของปราสาทคือป้อมโรมัน (Roman fort) และ ป้อมเนิน (Hill fort) ที่สร้างกันทั่วยุโรปที่มาจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในสมัยจักรวรรดิคาโรลินเจียน แต่การวิวัฒนาการของปืนใหญ่และดินปืนในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นการเปลี่ยนลักษณะการสงครามในยุโรปและทำให้สมรรถภาพของปราสาทในการใช้เป็นสิ่งป้องกันการโจมตีจากข้าศึกลดลง และทำให้การสร้างป้อมเป็นที่นิยมกันมากขึ้น สิ่งก่อสร้างในรัสเซียที่เรียกว่า “เคร็มลิน” (Kremlin) หรือในญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ชิโร” (Shiro) ก็ถือว่าเป็นปราสาท.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

นอร์มัน

ีแดงเป็นบริเวณที่นอร์มันได้รับชัยชนะ นอกจากนั้นก็ยังได้รับชัยชนะต่อหมู่เกาะมอลตีส และบางส่วนของตูนิเซีย และลิเบีย นอร์มัน (Normans) คือกลุ่มชนผู้ให้นามแก่ดินแดนนอร์ม็องดีซึ่งเป็นบริเวณทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ชนนอร์มันสืบเชื้อสายมาจากไวกิงผู้ได้รับชัยชนะต่อผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่แต่เดิมที่เป็นชนแฟรงค์ (Franks) และกอลล์-โรมัน (Gallo-Roman) ความเป็น “ชนนอร์มัน” เริ่มเป็นที่รู้จักกันเป็นครั้งแรกราวครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10 และค่อยๆ วิวัฒนาการเรื่อยมาในคริสต์ศตวรรษต่อๆ มาจนกระทั่งสูญหายไปจากการเป็นกลุ่มชนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 คำว่า “นอร์มัน” มาจากคำว่า “นอร์สเม็น” หรือ “นอร์ธเม็น” (Norsemen หรือ Northmen) ตามชื่อไวกิงจากสแกนดิเนเวียผู้ก่อตั้งนอร์ม็องดี หรือ “นอร์ธมานเนีย” เดิมในภาษาละติน ชนนอร์มันมีบทบาทสำคัญในทางการเมือง, การทหารและวัฒนธรรมของยุโรปและแม้แต่ในตะวันออกใกล้ (Near East) ชนนอร์มันมีชื่อเสียงในทางการรณรงค์และความศรัทธาทางคริสต์ศาสนา และยอมรับการใช้ภาษากอลล์-โรมานซ์ในดินแดนที่ไปตั้งถิ่นฐานอย่างรวดเร็ว สำเนียงการพูดและการใช้ภาษาที่ได้รับมากลายมาเป็นภาษานอร์มันซึ่งเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณกรรม อาณาจักรดยุคแห่งนอร์ม็องดี (Duchy of Normandy) ที่เป็นดินแดนที่เกิดจากสนธิสัญญากับราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นอาณาบริเวณการปกครองที่มีความสำคัญที่สุดบริเวณหนึ่งในยุคกลางของฝรั่งเศส ทางด้านการสงครามชนนอร์มันขยายดินแดนโดยการรุกรานและยึดครองโดยเฉพาะในการยึดครองอังกฤษในการรุกรานและยึดครองอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1066 และการรุกรานและยึดครองอิตาลีตอนใต้ นอกจากในด้านการเมืองและการปกครองแล้วชนนอร์มันก็ยังมีชื่อเสียงทางด้านการสถาปัตยกรรมที่มีพื้นฐานมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ และความสามารถทางด้านดนตรี อิทธิพลของนอร์มันในด้านต่างๆ แผ่ขยายจากบริเวณที่ยึดครองตั้งแต่อาณาจักรครูเสดต่างๆ ในตะวันออกใกล้ไปจนถึงสกอตแลนด์ และเวลส์ ในสหราชอาณาจักร และในไอร์แลนด์ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ (historiography) ของรัสเซีย คำว่า “นอร์มัน” มักจะใช้สำหรับชนวารันเจียน (Varangians) ซึ่งมาจากไวกิง ในการศึกษาประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสก็เช่นกันมักจะเป็นคำที่หมายถึงไวกิงกลุ่มต่างๆ ผู้รุกรานฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ก่อนจะตั้งหลักแหล่งในนอร์ม็องดี.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

นายช่างแห่งนักบุญไจลส์

นายช่างแห่งเซนต์ไจลส์ (Maître de Saint-Gilles, Master of Saint Giles) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศส-เฟล็มมิชของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีงานเขียนอยู่ในบริเวณที่อาจจะเป็นปารีส ลักษณะการเขียนเป็นแบบสมัยปลายกอธิค ที่จะเน้นพื้นผิวและแสดงและความเที่ยงตรงของรายละเอียดตามความเป็นจริงภายในที่มีลักษณะคล้ายกับการเขียนภาพของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น ไม่เป็นที่ทราบแน่นอนว่านายช่างแห่งเซนต์ไจลส์เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสที่อาจจะไปฝึกงานอยู่ในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ หรือชาวดัตช์ที่ย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในฝรั่งเศส สมญานามดังกล่าวตั้งขึ้นโดยแม็กซ์ ยาคอป ฟรีดเลนเดอร์ผู้ทำการวิจัยลักษณะการเขียนบางส่วนของศิลปินไม่ทราบนามผู้นี้ โดยเริ่มจากจิตรกรรมแผงสองแผงที่อุทิศให้แก่นักบุญไจลส์ ("ปาฏิหาริย์" และ "มิซซา") ที่เป็นของหอศิลป์แห่งชาติในลอนดอน ซึ่งเป็นบานซ้ายของฉากแท่นบูชา และจิตรกรรมแผงอีกสองแผงของของฉากแท่นบูชาเดียวกันที่ในปัจจุบันอยู่ที่วอชิงตัน ฝีมือของผู้ช่วยเห็นได้ในภาพ "การถวายศีลจุ่มแด่พระเจ้าโคลวิส" ของหอศิลป์แห่งชาติในวอชิงตัน ดี.ซี. ผู้เขียนแผง "ฉากจากชีวิตของพระสังฆราช-นักบุญ" ที่อาจจะเป็นนักบุญลู, นักบุญเด็นนิส หรือ นักบุญเรมี จิตรกรรมทั้งสี่แผงต่างก็มีภาพเอกรงค์ของนักบุญอยู่ในภาพ ในช่องที่ทำให้ดูเหมือนประติมากรรม ภาพสองภาพของวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และนายช่างแห่งนักบุญไจลส์ · ดูเพิ่มเติม »

นครลักเซมเบิร์ก

ทัศนียภาพกรุงลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) เป็นเมืองหลวงของราชรัฐลักเซมเบิร์ก ในเมืองยังมีสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์อย่าง ปราสาทลักเซมเบิร์ก ที่สร้างโดยชนแฟรงค์ในช่วงยุคกลางตอนต้นในบริเวณที่เริ่มก่อตั้งเมือง เมืองลักเซมเบิร์กตั้งอยู่ใจกลางของยุโรปตะวันตกตั้งอยู่ห่างจากกรุงบรัสเซลส์ 188 กม., ห่างจากกรุงปารีส 289 กม., ตั้งอยู่ห่างจากโคโลญ 190 กม.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และนครลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กซ็องพรอว็องส์

แอ็กซ็องพรอว็องส์ (Aix-en-Provence) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แอ็กซ์ (Aix) เป็นเทศบาลทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในจังหวัดบุช-ดูว์-โรน แคว้นพรอว็องซาลป์-โกตดาซูร์ แอ็กซ็องพรอว็องส์ตั้งอยู่ 33 กิโลเมตรทางเหนือของเทศบาลมาร์แซย์ซึ่งเป็นเมืองท่าสำคัญของฝรั่งเศสที่อยู่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมืองแอ็กซ์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 123 ปีก่อนคริสต์ศักราชในสมัยสาธารณรัฐโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 มีฐานะเป็นศูนย์กลางของมณฑลแกลเลียนาร์โบเนนซิสของโรมัน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และแอ็กซ็องพรอว็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอารากอน

แผนที่การกระจายภาษาในแคว้นอารากอน ภาษาสเปนใช้พูดทั่วไปในแคว้น และเป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียว อารากอน (สเปนและAragón) หรือ อะราโก (Aragó) เป็นแคว้นปกครองตนเองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นกาตาลุญญา ทางทิศใต้ติดต่อกับแคว้นบาเลนเซีย และทางทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นกัสติยา-ลามันชา แคว้นกัสติยาและเลออน แคว้นลารีโอคา และแคว้นนาวาร์ ประกอบด้วยจังหวัดซาราโกซา จังหวัดอูเอสกา และจังหวัดเตรูเอล มีแม่น้ำเอโบรไหลผ่านในพื้นที่ ตอนเหนือเป็นภูเขาสูง มีหุบเขาที่อุดมสมบูรณ์และสวยงาม ส่วนตอนใต้ค่อนข้างแห้งแล้ง นอกจากจังหวัดทั้งสามแล้ว แคว้นอารากอนยังแบ่งย่อยออกเป็น 33 เทศมณฑล (comarcas) อีกด้ว.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และแคว้นอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นนอร์ม็องดี

นอร์ม็องดี (Normandie; นอร์มัน: Normaundie; มาจากคำภาษาฝรั่งเศสเก่าว่า Normanz รูปพหูพจน์ของ Normant ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำที่แปลว่า "คนจากทางเหนือ" ในภาษาแถบสแกนดิเนเวียหลายภาษา) เป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส มีอาณาบริเวณสอดคล้องกับดัชชีนอร์ม็องดีในอดีต ในทางบริหาร แคว้นนอร์ม็องดีแบ่งออกเป็น 5 จังหวัด ได้แก่ กาลวาโดส, แซน-มารีตีม, ม็องช์, ออร์น และเออร์ ครอบคลุมเนื้อที่ 30,627 ตารางกิโลเมตร (11,825 ตารางไมล์) คิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของดินแดนฝรั่งเศสทั้งหมด จำนวนประชากรของแคว้น 3.3 ล้านคนคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของประชากรฝรั่งเศสทั้งหมด ภูมิภาคนอร์ม็องดีตามประวัติศาสตร์ประกอบด้วยแคว้นนอร์ม็องดีในปัจจุบัน รวมกับพื้นที่เล็ก ๆ ซึ่งทุกวันนี้เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดมาแยนและจังหวัดซาร์ตในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ หมู่เกาะแชนเนล (ฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่เรียกว่า "หมู่เกาะอังกฤษ-นอร์ม็องดี") ในอดีตก็เป็นส่วนหนึ่งของนอร์ม็องดีเช่นกัน หมู่เกาะนี้มีเนื้อที่ 194 ตารางกิโลเมตร และประกอบด้วยเขตเจ้าพนักงานศาลสองแห่ง ได้แก่ เกิร์นซีย์และเจอร์ซีย์ ซึ่งเป็นเขตสังกัดราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ชื่อนอร์ม็องดีมีที่มาจากการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ของชาวไวกิงหรือ "คนเหนือ" จากนอร์เวย์และเดนมาร์กตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) ซึ่งได้รับการยืนยันโดยสนธิสัญญาในพุทธศตวรรษที่ 15 (คริสต์ศตวรรษที่ 10) ระหว่างพระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส กับรอลโลแห่งอาณาจักรเมอเรอ (ในนอร์เวย์ปัจจุบัน) หลังจากการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และแคว้นนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นนาวาร์

นาวาร์ (Navarre), นาบาร์รา (Navarra) หรือ นาฟาร์โรอา (Nafarroa) เป็นจังหวัดและแคว้นปกครองตนเองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับประเทศฝรั่งเศส ทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นอารากอน ทิศใต้ติดต่อกับแคว้นอารากอนและแคว้นลารีโอคา ส่วนทางทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นบาสก.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และแคว้นนาวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โกลดีอง

โกลดิยง ภาษาอังกฤษ Chlodio หรือ Clodio, Clodius, Clodion, Cloio หรือ Chlogio (ตายราวค.ศ.450) เป็นกษัตริย์ของชาวแฟรงก์ที่โจมตีและต่อมาครอบครองดินแดนและเมืองที่เป็นที่อยู่อาศัยของชาวโรมันในซิลบา การ์โบนาเรีย ไกลออกไปทางตอนใต้แถวแม่น้ำซ็อมม์ เริ่มต้นฐานที่มั่นของชาวแฟรงก์ที่โดยหลักการแล้วอยู่ในจักรวรรดิโรมัน เป็นที่รู้จักจากบันทึกน้อยฉบับมาก แต่คิดกันว่าเขาอาจเป็นบรรพบุรุษของราชวงศ์เมโรแว็งเฌียง และอาจเป็นลูกหลานของชาวซาเลี่ยนแฟรงก์ที่เขียนไว้ในแหล่งข้อมูลโรมันในคริสตศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และโกลดีอง · ดูเพิ่มเติม »

โรแลนด์

รแลนด์ต่อสู้กับยักษ์ฟารากุต โรแลนด์ (Roland) ขุนนางแห่งบริตตานี่ เป็นอัศวินชาวแฟรงค์ ในชาร์เลอมาญ (Charlemagne) เขาถูกฆ่าในสงคราม Battle of Roncevaux Pass โดย Basque เมื่อ 15 สิงหาคม 778 ปีก่อนคริสตกาล คนในยุคนั้นได้อ้างถึงเขาในโน้ต Vita Caroli Magni ของ Einhard ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติของขุนนาง มันใช้เวลาหลายศตวรรษศกว่าที่เขาจะกลายมาเป็นที่นิยมในหมู่กวีสมัยกลางตอนปลาย เมื่อเวลาผ่านไปมีตำนานว่าที่ถูกแต่งเติมเกี่ยวกับเรื่องของเขาว่า เขากล่าวว่าเขาเป็นหลานชายของ ขุนนางแห่งอาณาจักรแฟรงค์ แต่ถูก Lady Bertha แม่ของเขาทิ้งให้อยู่อย่างขอทาน อาศัยอยู่ในถ้ำใกล้กับเมือง Sutri ในอิตาลี เมื่อเขาอายุได้ 12 ปี เขาจึงได้ทราบความจริงจากขุนนางในอาณาจักรแฟรงค์ จากการบอกเล่าทำให้โรแลนด์ผันชีวิตเข้าสู่ความกล้าหาญ ในการฆ่าผู้นับถือคริสต์ชั้นสูงจากแรงสนับสนุนของชาวอิสลาม ตามส่วนหนึ่งของเรื่องเล่าของฝรั่งเศสยุคกลาง เรื่องราวของโรแลนด์ถูกเล่าต่อมาในบทกลอนในศตวรรษที่11 ที่มีชื่อว่า Song of Roland เมื่อเขาพร้อมไปด้วยแตร Olifant และดาบที่ไม่บิ่นหักชื่อว่า Durandal จาก Orlando ที่เป็นเรื่องราวของเขาต่อมาในกลอนอิตาเลียน ซึ่งนำไปสู่โคลงชื่อ Orlando Furioso ของ Ludovico Aristoto และจาก จินตกวี “ไตรภูมิดานเต” ที่แต่งโดยดานเตทำให้เห็นถึง สปิริตของโรแลนด์ในสวรรค์ของเทพเจ้าแห่งสงคราม ที่มีต่อผู้ที่ต่อสู้กับลัทธิความเชื่อ ในเยอรมัน เมื่อเวลาล่วงเลย โรแลนด์กลายเป็นสัญลักษณ์ของอิสรภาพของเมื่อที่เติบโตจากขุนนางท้องถิ่น และในช่วงวัยกลางคนนั้นหลายๆ เมืองได้กล่าวถึงความดื้อดึงของโรแลนด์ รูปปั้นโรแลนด์ที่อยู่ด้านหน้าศาลากลางเมืองเบรเมน (Bremen) ในปี 1404 ถูกจารึกไว้ที่ศาลากลางเมืองว่าให้เป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี 2004 ในแคทาโลเนีย โรแลนด์หรือ Rotlla ที่คนแคทาโลเนียเรียกนั้น กลายเป็นผู้มีอำนาจลึกลับ สถานที่หลายแห่งในแคทาโลเนียทั้งเหนือจรดใต้จะมีชื่อที่เกี่ยวข้องกับ Rotlla ในสหรัฐอเมริกา Warren Zevon ได้เพิ่มตำนานนี้เข้าไปใน CIA, Patty Hearst และ Congo ในบทกวีชื่อ Roland the Headless Thompson Gunner ของเขาเมื่อปี 1978.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และโรแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

โคลวิสที่ 1

ลวิสที่ 1 (Clovis I) (ราว ค.ศ. 466 – ค.ศ. 511) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชนแฟรงค์พระองค์แรกที่รวมชนแฟรงค์กลุ่มต่างๆ เข้าด้วยกันภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียว และทรงเป็นผู้นำในการนับถือคริสต์ศาสนา โคลวิสเป็นพระราชโอรสของชิลเดอริคที่ 1 (Childeric I) และ บาสินาพระราชินีแห่งเทอริงเกีย เมื่อมีพระชนมายุได้ 16 พรรษาพระองค์ก็ขึ้นเป็นประมุขของซาเลียนแฟรงค์ (Salian Franks) บางส่วนต่อจากพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และโคลวิสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เศาะลาฮุดดีน

วาดแซลาดิน จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เศาะลาฮุดดีน อัลอัยยูบี หรือที่ชาวตะวันตกเรียกว่า แซลาดิน มีชื่อภาษาอาหรับเต็มว่า เศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ อิบน์ อัยยูบ บางครั้งก็ถูกเรียกว่า อัลมาลิก อัลนาศิร เศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ เกิดเมื่อ..1137 ในตำบลติกรีต (ปัจจุบันอยู่ในอิรัก) และเสียชีวิตในวันที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และเศาะลาฮุดดีน · ดูเพิ่มเติม »

เอจออฟเอ็มไพร์ส

อจออฟเอ็มไพร์ส (Age of Empires) เป็นชื่อซีรีส์เกมส์คอมพิวเตอร์อิงประวัติศาสตร์ 3 ภาค พัฒนาโดย เอนเซมเบิลสตูดิโอส์ และวางจำหน่ายในนามของ ไมโครซอฟท์สตูดิโอส์ ภาคแรกของเกมส์ เอจออฟเอ็มไพร์ส 1 เปิดตัวในปี 1997 จนเรื่อยมาถึงปัจจุบัน มีทั้งหมด 7 ภาคเมื่อรวมภาคเสริม โดยเนื้อหาของเกมส์ จะเกี่ยวข้องกับ อารยธรรมของชนชาติต่างๆ ซึ่งภาคแรกและภาค 2 จะมีเนื้อหาครอบคลุมเกี่ยวกับ ชนเผ่าในยุโรป ดินแดนแอฟริกาตอนบน และรวมถึงเอเซีย เมื่อภาค 3 เข้าจำหน่าย เนื้อหาปรับเปลี่ยนในรูปแบบเนื้อหาซึ่งเกี่ยวข้องประเทศ ต่างกับภาค 1 และ ภาค 2 ที่จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับชนเผ่า โดยในเกมส์ สามารถเลือกรูปแบบการเล่นได้หลากหลายรูปแบบ เช่น โหมดผู้เล่นเดียว โหมดหลายผู้เล่น โหมดเดธแม็ทช์ โหมดแคมเปญ เอจออฟเอ็มไพร์ส ประสบความสำเร็จในยอดขายทั่วโลก สามารถจำหน่ายได้มากกว่า 20 ล้านก็อปปี๊ ได้รับกระแสวิจารณ์เชิงบวก จากหลายสำนัก เช่น เกมแรงคิ้ง และ เมตาคริติค โดยที่ภาค 2 และ ภาค 3 นับว่าประสบความสำเร็จในยอดขายมาก โดยเฉพาะภาค 3 ได้รับคำชมจาก เกมสปาย ว่าเป็น "เกมส์เรียลไทม์แห่งปี 2005 " อีกด้ว.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และเอจออฟเอ็มไพร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์

อ็กเบิร์ต (ค.ศ.802-839) กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์และเป็นกษัตริย์แซ็กซันพระองค์แรกที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นกษัตริย์ของอังกฤษทั้งหมด พระองค์เป็นโอรสของขุนนางชาวเคนต์แต่อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากเซอร์ดิค (ครองราชย์ปีค.ศ.519-34) ผู้ก่อตั้งตระกูลเวสเซ็กซ์ อาณาจักรของชาวแซ็กซันตะวันตกทางตอนใต้ของอังกฤษ ช่วงปลายศตวรรษที่ 8 เมื่อพระเจ้าออฟฟ่าแห่งเมอร์เซีย (ครองราชย์ปีค.ศ.757-796) ปกครองอังกฤษส่วนใหญ่ เอ็กเบิร์ตถูกขับไล่ออกนอกประเทศไปอยู่ที่ราชสำนักของชาร์เลอมาญ เอ็กเบิร์ตกอบกู้อาณาจักรกลับคืนมาได้ในปี..802 พระองค์พิชิตอาณาจักรเพื่อนบ้าน เคนต์, คอร์นวอลล์ และเมอร์เซีย และในปี..830 พระองค์ยังเป็นที่ยอมรับในฐานะกษัตริย์ของอีสต์แองเกลีย, ซัสเซ็กซ์, เซอร์รีย์ และนอร์ธัมเบรีย และได้รับการถวายตำแหน่งเป็นเบร็ตวัลด้า (ภาษาแองโกลแซ็กซัน แปลว่าผู้ปกครองของชาวบริเตน) ในช่วงหลายปีต่อมาเอ็กเบิร์ตเป็นผู้นำในการเดินทางไปต่อต้านพวกเวลส์และพวกไวกิ้ง ปีก่อนที่พระองค์จะสวรรคต ทรงปราบกองกำลังร่วมระหว่างพวกเดนท์กับพวกคอร์นวอลล์ที่ฮิงสตันดาวน์ในคอร์นวอลล์ พระองค์ได้รับการสืบสันตติวงศ์โดยเอเธลวูล์ฟ พระราชบิดาของอัลเฟร.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และเอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด อัศวนนท์

วิด อัศวนนท์ นักแสดงชาวไทย - ฝรั่งเศส มีชื่อเป็นภาษาไทยว่า ชัชวาลย์ อัศวนนท์ เป็นเหลนของพระยาราชาสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) ปู่ทวด และ คุณหญิงฟอง (สกุลเดิม บุนนาค) ย่าทวด ทั้งยังมีศักดิ์เป็นหลานปู่ของคุณหลวงประเจิดอักษรลักษณ์ (สมโภช อัศวนนท์) รวมทั้งเป็นหลานชายของ อมรา อัศวนนท์ เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 ที่ประเทศฝรั่งเศส และย้ายมาใช้ชีวิตที่ประเทศไทยตั้งแต่อายุ 3 ปี จบการศึกษาสาขาจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ชื่นชอบการแสดงจากการได้ติดตามผลงานของ แอนโทนี ฮ็อปกินส์ นักแสดงระดับโลกชาวเวลช์ ประเทศเวลส์ ทำให้เริ่มสนใจในด้านการแสดง เมื่อจบการศึกษาจึงลองหาประสบการณ์ โดยเริ่มจากการทำงานในธุรกิจขายอุปกรณ์วิศวกรรมไฟฟ้าของครอบครัว จากนั้นได้ทดลองงานด้าน Event marketing ก่อนจะทำงานในโรงแรมที่ประเทศอังกฤษ และทำงานในโรงงานปศุสัตว์ที่ประเทศฝรั่งเศส เริ่มงานในวงการบันเทิงประเทศไทยด้วยการเป็นพิธีกรในรายการต่างๆ เช่น CJ Chic Channel, รายการ Inside Entertainment (ไอทีวี) ช่วง IE Travel, รายการ IE Show.com (ช่อง 5), รายการ Living Fashion (Chic Channel), รายการ D1&Only (Chic Channel), รายการ Fashion Update (Chic Channel) เป็นต้น เริ่มการแสดงในบทบาทของ ริค ตำรวจคู่หูของ หม่ำ จ๊กมก จากภาพยนตร์เรื่อง ต้มยำกุ้ง ในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และเดวิด อัศวนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เซมุน

ซมุน (Zemun.; Земун.) เป็นแขวงย่อย 1 ในทั้งหมด 17 แขวงซึ่งประกอบกันเข้าเป็นเขตปกครองพิเศษใต้อำนาจการปกครองของกรุงเบลเกรด โดยอยู่ทางทิศตะวันตกของใจกลางกรุงเบลเกรดข้ามแม่น้ำซาวาไปทางฝั่งซ้ายและมีแม่น้ำดานูบเป็นเส้นแบ่งเขตของแขวงเซมุนออกจากแขวงปาลิลูลาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แต่เดิมมา ประวัติศาสตร์ของเซมุนนั้นเป็นเมืองซึ่งแยกออกจากเบลเกรดโดยสิ้นเชิง เคยเป็นเมืองชายแดนระหว่างรัฐมาหลายยุค โดยเฉพาะความสำคัญที่สุดของเซมุนในหน้าประวัติศาสตร์คือช่วงตั้งแต่หลังสนธิสัญญาเบลเกรดในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และเซมุน · ดูเพิ่มเติม »

เซปทิเมเนีย

ซปทิเมเนียในปี ค.ศ. 537 เซปทิเมเนีย (Septimania) คือภูมิภาคประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกของมณฑลแกลเลียนาร์โบเนนซิสของโรมัน ที่ตกมาอยู่ภายใต้การปกครองของทีโอโดริกที่ 2 กษัตริย์วิซิกอท ในปี..

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และเซปทิเมเนีย · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชาวแฟรงก์และ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Franksชาวแฟรงค์ชนแฟรงก์ชนแฟรงค์แฟรงก์แฟรงค์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »