โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จำนวนธรรมชาติ

ดัชนี จำนวนธรรมชาติ

ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนธรรมชาติ อาจหมายถึง จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ (1, 2, 3, 4,...) หรือ จำนวนเต็มไม่เป็นลบ (0, 1, 2, 3, 4,...) ความหมายแรกมีการใช้ในทฤษฎีจำนวน ส่วนแบบหลังได้ใช้งานใน ตรรกศาสตร์,เซตและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ถุ จำนวนธรรมชาติมีการใช้งานหลักอยู่สองประการ กล่าวคือเราสามารถใช้จำนวนธรรมชาติในการนับ เช่น มีส้มอยู่ 3 ผลบนโต๊ะ หรือเราอาจใช้สำหรับการจัดอันดับ เช่น เมืองนี้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ในประเทศ เป็นต้น คุณสมบัติของจำนวนธรรมชาติที่เกี่ยวกับการหารลงตัว เช่นการกระจายของจำนวนเฉพาะ เป็นเนื้อหาในทฤษฎีจำนวน ปัญหาที่เกี่ยวกับการนับ เช่น ทฤษฎีแรมซี นั้นถูกศึกษาในคณิตศาสตร์เชิงการจั.

222 ความสัมพันธ์: บทนิยามเวียนเกิดฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์)ฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดานฟังก์ชันแกมมาฟังก์ชันเชิงการคูณการบวกการยกกำลังการลบการคูณภาวะคู่หรือคี่ของ 0ภาวะเชิงการนับยูเนียนลำดับสมบัติการปิดสมบัติการแจกแจงสมาชิก (คณิตศาสตร์)สัญกรณ์ลูกศรของคนูธส่วนลงตัวอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟอสงไขยอินเตอร์เซกชันผลรวมจำนวนจำนวนกาตาล็องจำนวนลบและจำนวนไม่เป็นลบจำนวนอดิศัยจำนวนนำโชคจำนวนแฟร์มาจำนวนเชิงมิตรจำนวนเต็มจำนวนเฉพาะทฤษฎีบททวินามทศขั้นตอนวิธีพีลบหนึ่งของพอลลาร์ดขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดคูร์ท เกอเดิลคณิตศาสตร์ตัวหารร่วมมากตัวผกผันการบวกตารางของสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ซิงเกิลตันปริพันธ์ออยเลอร์ปัญหาการยุติการทำงานแฟกทอเรียลแคลคูลัสกับพหุนามโหลเลขคณิตมูลฐานเศษส่วนต่อเนื่องเศษหารเหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน...เอกเอกลักษณ์การบวกเซต (คณิตศาสตร์)เซตกำลังเซตจำกัดเซตนับได้011 + 2 + 3 + 4 + ⋯1 − 2 + 3 − 4 + · · ·10100100010000100000100000010000000100000000100000000010000000000100000000000100000000000010110210310410510610710810911110111112113114115116117118119121201211221231241251261271281291313013113214140141142143151617181922020020002122232425262728293303003000313233343536373839440400400041424344454647484955050050005152535455555565758596606006000616263646566676869770700700071727374757677787988080080008182838485868788899909009000919293949596979899 ขยายดัชนี (172 มากกว่า) »

บทนิยามเวียนเกิด

ทนิยามเวียนเกิด (recursive definition) หรือบทนิยามแบบอุปนัย (inductive definition) เป็นคณิตตรรกศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่ใช้นิยามสมาชิกในเซตหนึ่งในพจน์สมาชิกอื่นในเซต บทนิยามเวียนเกิดของฟังก์ชันนิยามค่าของฟังก์ชันสำหรับค่าป้อนเข้าบางค่าในพจน์ค่าของฟังก์ชันเดิมสำหรับค่าป้อนเข้าอื่น ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชันแฟกทอเรียล n! นิยามด้วยกฎดังนี้ บทนิยามนี้สมเหตุสมผลสำหรับทุก n เพราะการเวียนกลับสุด้ายจะถึงกรณีฐาน 0 บทนิยามนี้อาจยังคิดได้เป็นการให้กระบวนงานอธิบายการสร้างฟังก์ชัน n! โดยเริ่มจาก n.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและบทนิยามเวียนเกิด · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์)

ในคณิตศาสตร์ ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จากเซตหนึ่งที่เรียกว่าโดเมน ไปยังอีกเซตหนึ่งที่เรียกว่าโคโดเมน (บางครั้งคำว่าเรนจ์อาจถูกใช้แทน แต่เรนจ์นั้นมีความหมายอื่นด้วย "โคโดเมน" จึงเป็นที่นิยมมากกว่า เพราะไม่กำกวม) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดาน

กราฟของฟังก์ชันพื้น กราฟของฟังก์ชันเพดาน ในทางคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชันพื้น (floor function) คือฟังก์ชันที่จับคู่จำนวนจริงไปยังจำนวนเต็มที่อยู่ก่อนหน้า นั่นคือ floor (x) เป็นจำนวนเต็มมากที่สุดที่ไม่มากกว่า x ส่วน ฟังก์ชันเพดาน (ceiling function) คือฟังก์ชันที่จับคู่จำนวนจริงไปยังจำนวนเต็มที่อยู่ถัดจากจำนวนนั้น นั่นคือ ceiling (x) คือจำนวนเต็มน้อยที่สุดที่ไม่น้อยกว่า x กราฟของฟังก์ชันพื้นและเพดานทั้งหมด มีลักษณะคล้ายฟังก์ชันขั้นบันได แต่ไม่ใช่ฟังก์ชันขั้นบันได เนื่องจากมีช่วงบนแกน x เป็นจำนวนอนันต.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชันแกมมา

กราฟของฟังก์ชันแกมมาบนระนาบจำนวนจริง ฟังก์ชันแกมมา (Gamma function, G ตัวใหญ่) เป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่เป็นส่วนขยายของฟังก์ชันแฟกทอเรียลบนจำนวนเชิงซ้อน หรือสามารถกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า ฟังก์ชันแกมมาเป็นการเติมเต็มฟังก์ชันแฟกทอเรียลของค่า n ที่ไม่ใช่จำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z ซึ่งส่วนจริงเป็นค่าบวก ได้นิยามไว้ว่า นิยามดังกล่าวทำให้ผลลัพธ์สามารถขยายไปได้ถึงระนาบจำนวนเชิงซ้อน ยกเว้นเมื่อส่วนจริงเป็นจำนวนเต็มลบ สำหรับกรณีถ้า z มีค่าเป็นจำนวนเต็มบวก จะได้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีความเกี่ยวข้องกับฟังก์ชันแฟกทอเรียล ฟังก์ชันแกมมาเป็นองค์ประกอบหนึ่งในฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการกระจายและความน่าจะเป็นหลากหลายฟังก์ชัน นั่นหมายความว่าฟังก์ชันนี้นำไปใช้ได้ในเรื่องของความน่าจะเป็นและสถิต.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและฟังก์ชันแกมมา · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชันเชิงการคูณ

ในทฤษฎีจำนวน ฟังก์ชันเชิงการคูณ (multiplicative function) หมายถึงฟังก์ชันเลขคณิต f(n) สำหรับจำนวนเต็มบวก n ที่มีสมบัติดังนี้.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและฟังก์ชันเชิงการคูณ · ดูเพิ่มเติม »

การบวก

แอปเปิล3 + 2.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและการบวก · ดูเพิ่มเติม »

การยกกำลัง

้าx+1ส่วนx.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและการยกกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

การลบ

"5 - 2.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและการลบ · ดูเพิ่มเติม »

การคูณ

3 × 4.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและการคูณ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะคู่หรือคี่ของ 0

ตราชั่งนี้มีวัตถุ 0 วัตถุ แบ่งเป็นสองข้างเท่ากัน 0 (ศูนย์) เป็นจำนวนคู่ กล่าวได้อีกอย่างคือ ภาวะคู่หรือคี่ของ 0 เป็นคู่ วิธีพิสูจน์ว่า 0 เป็นคู่ง่ายที่สุดคือตรวจสอบว่า 0 เข้ากับนิยามของ "คู่" หรือไม่ โดย 0 เป็นพหุคูณของ 2 คือ 0 × 2 ผลคือ ศูนย์มีคุณสมบัติทั้งหมดอันเป็นลักษณะของจำนวนคู่ ตัวอย่างเช่น 0 มีจำนวนคี่ที่มากกว่าและน้อยกว่าขนาบ, 0+x มีภาวะคู่หรือคี่เหมือน x และเซตของวัตถุ 0 วัตถุสามารถแบ่งได้เป็นสองเซตเท่า ๆ กัน 0 ยังเข้ากับแบบรูปที่จำนวนคู่อื่นมี กฎเลขคณิตภาวะคู่หรือคี่ เช่น คู่ − คู.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและภาวะคู่หรือคี่ของ 0 · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเชิงการนับ

ในทางคณิตศาสตร์ ภาวะเชิงการนับ ของเซต (cardinality) คือการวัดปริมาณว่ามีสมาชิกจำนวนเท่าไรในเซต ตัวอย่างเช่น เซต A.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและภาวะเชิงการนับ · ดูเพิ่มเติม »

ยูเนียน

ูเนียน (union) หรือ ส่วนรวม คือการดำเนินการของเซต เป็นการสร้างเซตใหม่ซึ่งเป็นผลจากการรวมสมาชิกทั้งหมดของเซตต้นแบบเข้าด้วยกัน เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ (คล้ายอักษรตัวใหญ่ U).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและยูเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับ

ลำดับอนันต์จำนวนจริง (สีน้ำเงิน) ลำดับนี้ไม่เพิ่ม ไม่ลด ไม่ลู่เข้า ไม่ใช่โคชี ทว่า มันมีขอบเขต ลำดับ (sequence) ในทางคณิตศาสตร์ เป็นรายการอันดับ มีสมาชิก (หรือเรียก พจน์) เหมือนเซต จำนวนพจน์อันดับ เรียก ความยาวของลำดับ ที่ต่างจากเซตคือ ลำดับมีผล และพจน์เดียวกันสามารถปรากฏได้หลายครั้งที่ตำแหน่งต่างกันในลำดับ กล่าวให้แม่นตรงที่สุด สามารถนิยามลำดับว่าเป็นฟังก์ชันซึ่งโดเมนเป็นเซตอันดับทุกส่วนซึ่งนับได้ เช่น จำนวนธรรมชาติ หมวดหมู่:คณิตศาสตร์มูลฐาน.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและลำดับ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติการปิด

สมบัติการปิด (closure) หมายถึงสมบัติภายใต้การดำเนินการอย่างหนึ่ง ซึ่งเมื่อสมาชิกของเซตดำเนินการอย่างนั้นแล้วได้ผลลัพธ์เป็นสมาชิกของเซตเดิม ตัวอย่างเช่น จำนวนจริงมีสมบัติการปิดภายใต้การลบ แต่จำนวนธรรมชาติไม่มีสมบัตินี้ เช่น 3 กับ 8 เป็นจำนวนธรรมชาติทั้งคู่ แต่ผลลัพธ์ของ 3 − 8 ไม่ใช่จำนวนธรรมชาติ อีกตัวอย่างหนึ่ง กำหนดให้เซตมี 0 เพียงตัวเดียว เซตนี้มีสมบัติการปิดภายใต้การคูณ ในทำนองเดียวกัน เราอาจกล่าวได้ว่าเซต มีสมบัติการปิดภายใต้กลุ่มของการดำเนินการ ถ้าหากมันมีสมบัติการปิดภายใต้การดำเนินการหลายชนิดโดยทีละอย่าง หมวดหมู่:ตัวดำเนินการการปิด หมวดหมู่:พีชคณิตนามธรรม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและสมบัติการปิด · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติการแจกแจง

ในทางคณิตศาสตร์ สมบัติการแจกแจง (distributivity) คือสมบัติหนึ่งที่สามารถมีได้บนการดำเนินการทวิภาค ซึ่งเป็นกรณีทั่วไปของกฎการแจกแจงจากพีชคณิตมูลฐาน ตัวอย่างเช่น ข้างซ้ายของสมการข้างต้น 2 คูณเข้ากับผลบวกของ 1 กับ 3 ส่วนข้างขวา 2 คูณเข้ากับ 1 และ 3 แต่ละตัวแยกกัน แล้วค่อยนำผลคูณเข้ามาบวก เนื่องจากตัวอย่างข้างต้นให้ผลลัพธ์เท่ากันคือ 8 เราจึงกล่าวว่า การคูณด้วย 2 แจกแจงได้ (distribute) บนการบวกของ 1 กับ 3 เราสามารถแทนที่จำนวนเหล่านั้นด้วยจำนวนจริงใดๆ แล้วทำให้สมการยังคงเป็นจริง เราจึงกล่าวว่า การคูณของจำนวนจริง แจกแจงได้บนการบวกของจำนวนจริง สมบัติการแจกแจงจึงต้องเกี่ยวข้องกับการดำเนินการสองชน.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและสมบัติการแจกแจง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิก (คณิตศาสตร์)

ในทางคณิตศาสตร์ สมาชิก ของเซต หมายถึงวัตถุแต่ละสิ่งที่ประกอบเข้าด้วยกันเป็นเซต.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและสมาชิก (คณิตศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สัญกรณ์ลูกศรของคนูธ

ในทางคณิตศาสตร์ สัญกรณ์ลูกศรของคนูธ (อังกฤษ: Knuth's up-arrow notation) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวนที่มีค่ามาก ๆ คิดค้นโดย โดนัลด์ คนูธ เมื่อปี พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและสัญกรณ์ลูกศรของคนูธ · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนลงตัว

ในทางคณิตศาสตร์ ส่วนลงตัว (aliquot part หรือ aliquot) คือจำนวนเต็มบวกใดๆ ที่นำไปหารจำนวนเต็มบวกอีกจำนวนหนึ่งแล้วสามารถหารได้ลงตัว หรือเรียกได้ว่า "เป็นตัวหาร" เช่น 2 เป็นส่วนลงตัวของ 12 ผลบวกของส่วนลงตัวทั้งหมดของ n จะมีค่าเท่ากับ σ(n) ซึ่งหมายถึงฟังก์ชันตัวหาร (divisor function) ของ n คำว่า aliquot มาจากคำในภาษาละติน aliquoties แปลว่า หลายครั้ง ในทางเคมี ส่วนลงตัวมักเป็นส่วนแบ่งปริมาณรวมของสารละลาย ในทางเภสัชกรรม ส่วนลงตัวเป็นการอ้างถึงวิธีการวัดปริมาณส่วนผสมของยาภายใต้ความไวของเครื่องชั่ง (weighing scale) ตัวอย่างเช่น ใบสั่งยาระบุว่าต้องการส่วนผสมในปริมาณ 40 มิลลิกรัม ดังนั้นเราอาจชั่งส่วนผสมเพื่อปรุงยาในปริมาณ 120 มิลลิกรัม โดยที่ 40 เป็นส่วนลงตัวของ 120 แล้วปรุงยาในปริมาณสามเท่า จากนั้นจึงค่อยแบ่งตัวยาออกไปเป็นสามส่วน หนึ่งส่วนสำหรับใบสั่งยา และอีกสองส่วนสามารถเก็บไว้ในคลังได้ ซึ่งตัวยาจะเกิดความผิดพลาดในส่วนผสมน้อยกว่าการชั่งให้เป็น 40 มิลลิกรัมทันที.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและส่วนลงตัว · ดูเพิ่มเติม »

อภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ

ทฤษฎีกราฟเติบโตอย่างรวดเร็วในวงการวิจัยด้านคณิตศาสตร์ และมีคำศัพท์เฉพาะทางอยู่หลายคำ บทความนี้จะรวบรวมคำและความหมายของศัพท์ในทฤษฎีกราฟ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ · ดูเพิ่มเติม »

อสงไขย

อสงไขย (असंख्येय อสํเขฺยย) หมายถึง นับไม่ถ้วน, ไม่ง่ายที่จะนับ, หรือเป็นจำนวนธรรมชาติเท่ากับหนึ่งโกฏิยกกำลัง 20 (10,000,00020) หรือ 10140 (เลข 1 แล้วตามด้วยเลข 0 ต่อท้ายทั้งหมด 140 ตัว) บางตำรากล่าวว่าหมายถึงเลข 10^ ซึ่งมีหลายความหมาย พระพุทธภัทระตีความว่า a.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและอสงไขย · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์เซกชัน

อินเตอร์เซกชัน (intersection) หรือ ส่วนร่วม คือการดำเนินการของเซต เป็นการสร้างเซตใหม่ซึ่งเป็นผลจากการหาสมาชิกทั้งหมดที่เหมือนกันในเซตต้นแบบ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ (คล้ายอักษรตัวใหญ่ U กลับหัว).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและอินเตอร์เซกชัน · ดูเพิ่มเติม »

ผลรวม

ในทางคณิตศาสตร์ ผลรวม (summation) หมายถึงการบวกของเซตของจำนวน ซึ่งจะให้ผลลัพธ์เป็น ผลบวก (sum, total) จำนวนที่กล่าวถึงอาจเป็นจำนวนธรรมชาติ จำนวนเชิงซ้อน เมตริกซ์ หรือวัตถุอื่นที่ซับซ้อนกว่านั้น ผลรวมไม่จำกัดของลำดับเรียกว่าเป็นอนุกรม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและผลรวม · ดูเพิ่มเติม »

จำนวน

ำนวน (number) คือวัตถุนามธรรมที่ใช้สำหรับอธิบายปริมาณ จำนวนมีหลายแบบ จำนวนที่เป็นที่คุ้นเคยก็คือ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวน · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนกาตาล็อง

ำนวนแคทาแลน (Catalan numbers) ในคณิตศาสตร์เชิงการจัด ปรากฏอยู่ในปัญหาการนับหลายๆ ปัญหา โดยส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปการเรียกซ้ำ (recursive) จำนวนแคทาแลนถูกตั้งชื่อตามชื่อของเออแฌน ชาร์ล กาตาล็อง นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและเบลเยียม จำนวนแคทาแลนตัวที่ n สามารถหาได้โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์ทวินาม ดังนี้ จำนวนแคทาแลนตัวที่ 0, 1, 2, 3, … คือ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนกาตาล็อง · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนลบและจำนวนไม่เป็นลบ

ำนวนลบ (negative number) คือ จำนวนที่น้อยกว่าศูนย์ เช่น −3.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนลบและจำนวนไม่เป็นลบ · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนอดิศัย

ในทางคณิตศาสตร์นั้น จำนวนอดิศัย (transcendental number) คือ จำนวนอตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเชิงพีชคณิต ซึ่งหมายถึงจำนวนที่ไม่ใช่ราก (คำตอบ) ของสมการพหุนาม โดย n ≥ 1 และสัมประสิทธิ์ a_j เป็นจำนวนเต็ม (หรือจำนวนตรรกยะ ซึ่งให้ความหมายเดียวกัน เนื่องจากเราสามารถคูณสัมประสิทธิ์ทั้งหมดด้วยตัวคูณร่วมน้อย เพื่อให้สัมประสิทธิ์ทั้งหมดกลายเป็นจำนวนเต็ม) ซึ่งไม่เท่ากับศูนย์อย่างน้อยหนึ่งตัว.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนอดิศัย · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนนำโชค

ใน ทฤษฎีการคำนวณ เลข Lucky number เป็น จำนวนธรรมชาติ ที่สร้างโดย ทฤษฎีsieve คำนี้ถูกใช้ในปี..1956 ในหนังสือพิม Gardiner, Lazarus, Metropolis และ Ulam ตัวอย่างการหาเลขlucky number ตั้งแต่1-120.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนนำโชค · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนแฟร์มา

จำนวนแฟร์มา ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง จำนวนเต็มบวกที่อยู่ในรูป เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ จำนวนแฟร์มาได้ตั้งชื่อตามชื่อของปีแยร์ เดอ แฟร์มา นักคณิตศาสตร์คนแรกที่ศึกษาในเรื่องนี้ จำนวนแฟร์มาเก้าจำนวนแรกได้แก่ นอกจากนี้จำนวนแฟร์มายังสามารถเขียนอยู่ในรูปของความสัมพันธ์เวียนเกิดได้ดังนี้ จำนวนแฟร์มาที่เป็นจำนวนเฉพาะจะเรียกว่า จำนวนเฉพาะแฟร์มา ซึ่งเราสามารถพิสูจน์ได้ว่า จำนวนเฉพาะทุกจำนวนที่อยู่ในรูป 2n + 1 จะเป็นจำนวนเฉพาะแฟร์มาเสมอ ปัจจุบัน จำนวนเฉพาะแฟร์มาที่มีการค้นพบแล้วได้แก่ F0, F1, F2, F3 และ F4 หมวดหมู่:จำนวนเต็มขนาดใหญ่ หมวดหมู่:เรขาคณิต หมวดหมู่:เรขาคณิตบนระนาบยุคลิด หมวดหมู่:ลำดับจำนวนเต็ม หมวดหมู่:ทฤษฎีจำนวน หมวดหมู่:ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ยังแก้ไม่ได้.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนแฟร์มา · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนเชิงมิตร

จำนวนเชิงมิตร คือจำนวนสองจำนวนที่ผลบวกของตัวหารแท้ของจำนวนหนึ่งมีค่าเท่ากับอีกจำนวนหนึ่ง เช่น 220 และ 284 เป็นจำนวนเชิงมิตร เนื่องจากตัวประกอบแท้ของ 220 คือ 1, 2, 4, 5, 10, 11, 20, 22, 44, 55 และ 110 ซึ่งมีผลบวกเป็น 284 และตัวประกอบแท้ของ 284 คือ 1, 2, 4, 71, และ 142 ซึ่งมีผลบวกเป็น 220 สูตรทั่วไปในการหาจำนวนเชิงมิตรคือ ถ้า เมื่อ n > 1 เป็นจำนวนเต็มบวก และ p, q, r เป็นจำนวนเฉพาะ แล้ว 2npq and 2nr จะเป็นจำนวนเชิงมิตร ตัวอย่างจำนวนเชิงมิตร 5 คู่แรกคือ หมวดหมู่:ทฤษฎีจำนวน หมวดหมู่:ลำดับจำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนเชิงมิตร · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนเต็ม

ำนวนเต็ม คือจำนวนที่สามารถเขียนได้โดยปราศจากองค์ประกอบทางเศษส่วนหรือทศนิยม ตัวอย่างเช่น 21, 4, −2048 เหล่านี้คือจำนวนเต็ม แต่ 9.75, 5, √2 เหล่านี้ไม่ใช่จำนวนเต็ม เศษของจำนวนเต็มเป็นเศษย่อยของจำนวนจริง และประกอบด้วยจำนวนธรรมชาติ (1, 2, 3,...) ศูนย์ (0) และตัวผกผันการบวกของจำนวนธรรมชาติ (−1, −2, −3,...) เซตของจำนวนเต็มทั้งหมดมักแสดงด้วย Z ตัวหนา (หรือ \mathbb ตัวหนาบนกระดานดำ, U+2124) มาจากคำในภาษาเยอรมันว่า Zahlen แปลว่าจำนวน จำนวนเต็ม (พร้อมด้วยการดำเนินการการบวก) ก่อร่างเป็นกรุปเล็กที่สุดอันประกอบด้วยโมนอยด์เชิงการบวกของจำนวนธรรมชาติ จำนวนเต็มก่อให้เกิดเซตอนันต์นับได้เช่นเดียวกับจำนวนธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้ในทฤษฎีจำนวนเชิงพีชคณิตทำให้เข้าใจได้โดยสามัญว่า จำนวนเต็มซึ่งฝังตัวอยู่ในฟีลด์ของจำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนเต็มตรรกยะ เพื่อแยกแยะออกจากจำนวนเต็มเชิงพีชคณิตที่ได้นิยามไว้กว้างกว.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนเฉพาะ

ในคณิตศาสตร์ จำนวนเฉพาะ (อังกฤษ: prime number) คือ จำนวนเต็มบวกที่มีตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ 1 กับตัวมันเอง ตรงข้ามกับจำนวนประกอบ ลำดับของจำนวนเฉพาะเริ่มต้นด้วย ดูบทความ รายชื่อจำนวนเฉพาะ สำหรับจำนวนเฉพาะ 500 จำนวนแรก สำหรับเลข 1 ไม่ถือว่าเป็นจำนวนเฉพาะตามนิยาม เซตของจำนวนเฉพาะทั้งหมดมักเขียนแทนด้วย \mathbb P เนื่องจาก 2 เป็นจำนวนเฉพาะตัวเดียวที่เป็นเลขคู่ ดังนั้นคำว่า จำนวนเฉพาะคี่ จะถูกใช้เพื่อหมายถึงจำนวนเฉพาะทั้งหมดที่ไม่ใช่ 2.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและจำนวนเฉพาะ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีบททวินาม

ทฤษฎีบททวินาม (Binomial theorem) กล่าวถึงการกระจายพจน์ของ (x+y)^n มีสูตรดังนี้ เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ และ ตัวอย่างผลที่ได้จากทฤษฎีบททวินามในกรณีที่ n ≤ 5 เช่น หมวดหมู่:พีชคณิต.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและทฤษฎีบททวินาม · ดูเพิ่มเติม »

ทศ

ทศ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและทศ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีพีลบหนึ่งของพอลลาร์ด

ั้นตอนวิธีพีลบหนึ่งของพอลลาร์ด (Pollard's p - 1 algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีในการหาตัวประกอบของจำนวนเต็มโดยใช้แนวคิดทางทฤษฎีจำนวนเป็นพื้นฐาน ขั้นตอนวิธีดังกล่าว จอห์น พอลลาร์ด (John Pollard) นำเสนอขึ้นในปี 1974.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและขั้นตอนวิธีพีลบหนึ่งของพอลลาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด

วิธีของยุคลิดสำหรับหาตัวหารร่วมมาก (หรม.) ของความยาวเริ่มต้น BA และ DC ซึ่งต่างนิยามให้เป็นพหุคูณของความยาว"หน่วย"เดียวกัน เพราะว่า DC สั้นกว่าจึงใช้"วัด" BA แต่เพียงครั้งเดียวเพราะเศษ EA น้อยกว่า CD ใช้ EA วัดความยาว DC ที่สั้นกว่าสองครั้ง จะเหลือเศษ FC สั้นกว่า EA แล้วใช้ FC วัดความยาว EA สามครั้ง เพราะว่าขั้นตอนนี้ไม่มีเศษ จึงจบโดยมี FC เป็น หรม. ด้านขวาเป็นตัวอย่างของนิโคมาคัสโดยจำนวน 49 และ 21 ให้ผลลัพธ์ค่าตัวหารร่วมมากเป็น 7 (ประยุกต์จาก Heath 1908:300) ในวิชาคณิตศาสตร์ ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด (Euclidean Algorithm) หรือขั้นตอนวิธีของยุคลิด เป็นวิธีคำนวณตัวหารร่วมมาก (หรม.) ของจำนวนเต็มสองจำนวน ตั้งชื่อตามยุคลิด นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกผู้อธิบายทฤษฎีนี้ในอิลิเมนต์ของยุคลิดเล่ม VII และ X ตัวหารร่วมมากของจำนวนเต็มสองจำนวนคือจำนวนมากที่สุดที่หารทั้งสองได้โดยไม่เหลือเศษ รูปอย่างง่ายที่สุดของขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดเริ่มด้วยจำนวนเต็มบวกคู่หนึ่ง และสร้างจำนวนคู่หนึ่งที่ประกอบด้วยจำนวนที่น้อยกว่าและผลต่างระหว่างจำนวนทั้งสอง กระบวนการทำซ้ำจนจำนวนทั้งสองเท่ากัน จำนวนสุดท้ายเป็นตัวหารร่วมมากของจำนวนเต็มบวกที่ขั้นตอนเริ่ม หลักการสำคัญคือ หรม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด · ดูเพิ่มเติม »

คูร์ท เกอเดิล

ูร์ท ฟรีดริช เกอเดิล (Kurt Friedrich Gödel, 28 เมษายน ค.ศ. 1906 – 14 มกราคม ค.ศ. 1978) เป็นนักปรัชญา นักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาชาวออสเตรีย และต่อมาชาวอเมริกัน ถือว่าเป็นนักตรรกศาสตร์คนสำคัญที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ร่วมกับอาริสโตเติลและกอทท์ล็อบ ฟรีเกอ เกอเดิลสร้างผลกระทบใหญ่หลวงต่อการคิดวิทยาศาสตร์และปรัชญาในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งขณะนั้น เมื่อผู้อื่นอย่างเบอร์แทรนด์ รัสเซล, เอ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและคูร์ท เกอเดิล · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''Euclid''). คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง, การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์ ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์ คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวหารร่วมมาก

ในคณิตศาสตร์ ตัวหารร่วมมาก หรือ ห.ร.ม. (greatest common divisor: gcd) ของจำนวนเต็มสองจำนวนซึ่งไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน คือจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่หารทั้งสองจำนวนลงตัว ตัวหารร่วมมากของ a และ b เขียนแทนด้วย gcd (a, b) หรือบางครั้งเขียนว่า (a, b) เช่น gcd (12, 18).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและตัวหารร่วมมาก · ดูเพิ่มเติม »

ตัวผกผันการบวก

ในทางคณิตศาสตร์ ตัวผกผันการบวก (อินเวิร์สการบวก) ของจำนวน n หมายถึงจำนวนที่บวกกับ n แล้วได้เอกลักษณ์การบวก นั่นคือ 0 ตัวผกผันการบวกของ n เขียนแทนด้วย −n ตัวอย่างเช่น ตัวผกผันการบวกของ 7 คือ −7 เนื่องจาก 7 + (−7).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและตัวผกผันการบวก · ดูเพิ่มเติม »

ตารางของสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

รายการนี้จะถูกจัดระเบียบตาม "ความสัมพันธ์" มี Wikibooks สำหรับการใช้สัญลักษณ์ในแบบ LaTex และยังครอบคลุมถึงการอธิบายเรื่องสัญลักษณ์ LaTex สัญลักษณ์อาจจะถูกเพิ่มเข้าผ่านทางทางเลือกอื่นอย่างเช่นการตั้งค่าเอกสารขึ้นมาเพื่อสนับสนุนยูนิโค้ด (ป.ล. การคัดลอกและการวางใช้แป้นพิมพ์คำสั่ง \unicode ) .

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและตารางของสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิลตัน

ซิงเกิลตัน (singleton) ในทางคณิตศาสตร์หมายถึง เซตที่มีสมาชิกตัวเดียวและเพียงหนึ่งเดียว ตัวอย่าง เซต เป็นซิงเกิลตัน มีสมาชิกตัวเดียวคือ 0.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและซิงเกิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

ปริพันธ์ออยเลอร์

ในทางคณิตศาสตร์ ปริพันธ์ออยเลอร์ (Euler integral) แบ่งได้เป็นสองประเภทได้แก.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและปริพันธ์ออยเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาการยุติการทำงาน

ในทฤษฎีการคำนวณได้นั้น ปัญหาการยุติการทำงาน คือปัญหาการตัดสินใจที่ถามว่า แอลัน ทัวริง (Alan Turing) พิสูจน์ในปี..

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและปัญหาการยุติการทำงาน · ดูเพิ่มเติม »

แฟกทอเรียล

ในทางคณิตศาสตร์ แฟกทอเรียล (factorial) ของจำนวนเต็มไม่เป็นลบ n คือผลคูณของจำนวนเต็มบวกทั้งหมดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ n เขียนแทนด้วย n! (อ่านว่า n แฟกทอเรียล) ตัวอย่างเช่น สำหรับค่าของ 0! ถูกกำหนดให้เท่ากับ 1 ตามหลักการของผลคูณว่าง การดำเนินการแฟกทอเรียลพบได้ในคณิตศาสตร์สาขา ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณิตศาสตร์เชิงการจัด พีชคณิต และคณิตวิเคราะห์ การพบเห็นโดยพื้นฐานที่สุดคือข้อเท็จจริงที่ว่า การจัดลำดับวัตถุที่แตกต่างกัน n สิ่งสามารถทำได้ n! วิธี (การเรียงสับเปลี่ยนของเซตของวัตถุ) ข้อเท็จจริงนี้เป็นที่ทราบโดยนักวิชาการชาวอินเดียตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 เป็นอย่างน้อย นอกจากนี้ คริสเตียน แครมป์ (Christian Kramp) เป็นผู้แนะนำให้ใช้สัญกรณ์ n! เมื่อ ค.ศ. 1808 (พ.ศ. 2351) นิยามของแฟกทอเรียลสามารถขยายแนวคิดไปบนอาร์กิวเมนต์ที่ไม่เป็นจำนวนเต็มได้โดยยังคงมีสมบัติที่สำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ชั้นสูงยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในคณิตวิเคราะห.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและแฟกทอเรียล · ดูเพิ่มเติม »

แคลคูลัสกับพหุนาม

แคลคูลัสกับพหุนาม ในคณิตศาสตร์ พหุนามอาจเป็นฟังก์ชันที่ง่ายที่สุดในการทำแคลคูลัส อนุพันธ์ และปริพันธ์เป็นไปตามกฎต่อไปนี้ ดังนั้นอนุพันธ์ของ x^ คือ 100x^ และปริพันธ์ของ x^ คือ \frac+c.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและแคลคูลัสกับพหุนาม · ดูเพิ่มเติม »

โหล

โหล (dozen) เป็นการเรียกจำนวนที่เท่ากับ 12 ในจำนวนนับ โหลอาจถือเป็นการจัดกลุ่มจำนวนนับในยุคแรกๆ เนื่องจากว่าเป็นจำนวนของวงโคจรดวงจันทร์ (เดือน) ในหนึ่งวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ (ปี) หมวดหมู่:จำนวน หมวดหมู่:หน่วยปริมาณ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและโหล · ดูเพิ่มเติม »

เลขคณิตมูลฐาน

เลขคณิตมูลฐาน (Elementary arithmetic) คือแขนงความรู้ของคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่สุด ประกอบด้วยการดำเนินการของการบวก การลบ การคูณ และการหาร บุคคลส่วนมากได้เรียนรู้เลขคณิตมูลฐานมาจากโรงเรียนประถมศึกษา เลขคณิตมูลฐานจะเริ่มต้นที่จำนวนธรรมชาติและเลขอารบิกที่ใช้แทนจำนวนนั้น และจำเป็นต้องจดจำตารางการบวกและตารางการคูณ (สูตรคูณ) เพื่อที่จะบวกและคูณตัวเลขในหลักใดๆ จนกระทั่งสามารถบวกและคูณเลขได้ในใจ ส่วนการลบและการหารนั้นจะใช้ขั้นตอนวิธีอย่างอื่นในการเรียนการสอน จากนั้นจึงขยายขอบเขตไปบนเศษส่วน ทศนิยม และจำนวนลบ ซึ่งสามารถนำเสนอได้บนเส้นจำนวน ทุกวันนี้ผู้คนต่างก็ใช้เครื่องคิดเลขหรือคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณเลขคณิตมูลฐาน ซึ่งก่อนหน้านั้นมีการใช้เครื่องมืออย่างอื่นช่วยคำนวณเช่น สไลด์รูล ตารางลอการิทึม โนโมแกรม หรือเครื่องคิดเลขเชิงกลอื่นๆ รวมทั้งลูกคิด หมวดหมู่:การศึกษาคณิตศาสตร์.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเลขคณิตมูลฐาน · ดูเพิ่มเติม »

เศษส่วนต่อเนื่อง

ในคณิตศาสตร์ เศษส่วนต่อเนื่อง (continued fraction) คือนิพจน์ที่อยู่ในรูป เมื่อ a_0 เป็นจำนวนเต็มใดๆ และเลข a_i ตัวอื่นๆ เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้าเศษของเศษส่วนต่อเนื่องแต่ละชั้นสามารถมีค่าเป็นจำนวนเต็มอื่นๆ ที่ไม่ใช่หนึ่งได้ เราจะเรียกนิพจน์เหล่านั้นว่าเศษส่วนต่อเนื่องรูปทั่วไป (generalized continued fraction) เพื่อป้องกันความสับสน เราอาจเรียกเศษส่วนต่อเนื่องธรรมดา (ที่ "ไม่ใช่" เศษส่วนต่อเนื่องรูปทั่วไป) ว่า เศษส่วนต่อเนื่องอย่างง.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเศษส่วนต่อเนื่อง · ดูเพิ่มเติม »

เศษหาร

ในวิชาเลขคณิต เศษหาร (หรือ มอดุลัส) คือค่าที่"เหลืออยู่"หลังจากการดำเนินการการหารกับจำนวนเต็มสองจำนวนที่หารไม่ลงตัว นั่นคือ เมื่อผลลัพธ์ของการหารไม่สามารถเขียนแทนด้วยจำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเศษหาร · ดูเพิ่มเติม »

เหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน

หตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ base rate ว่า "อัตราพื้นฐาน" และของ fallacy ว่า "เหตุผลวิบัติ" (Base rate fallacy) หรือ การละเลยอัตราพื้นฐาน (base rate neglect) หรือ ความเอนเอียงโดยอัตราพื้นฐาน (base rate bias) เป็นเหตุผลวิบัติรูปนัย (formal fallacy) ชนิดหนึ่ง ที่เมื่อมีการแสดงทั้งข้อมูลเกี่ยวกับอัตราพื้นฐานที่อยู่ในประเด็นแต่ว่าเป็นข้อมูลแบบทั่ว ๆ ไป และทั้งข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงแต่กับบางกรณีเท่านั้น เรามักจะไม่สนใจข้อมูลทั่วไปแต่จะสนใจแต่ข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงเท่านั้น ซึ่งนำไปสู่การประเมินผลที่มีความเอนเอียง.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน · ดูเพิ่มเติม »

เอก

อก สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเอก · ดูเพิ่มเติม »

เอกลักษณ์การบวก

ในทางคณิตศาสตร์ เอกลักษณ์การบวก ของเซตที่มีการดำเนินการของการบวก คือสมาชิกในเซตที่บวกกับสมาชิก x ใดๆ แล้วได้ x เอกลักษณ์การบวกตัวหนึ่งที่เป็นที่คุ้นเคยมากที่สุดคือจำนวน 0 จากคณิตศาสตร์มูลฐาน แต่เอกลักษณ์การบวกก็สามารถมีในโครงสร้างทางคณิตศาสตร์อื่นๆ ที่นิยามการบวกเอาไว้ เช่นในกรุปหรือริง.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเอกลักษณ์การบวก · ดูเพิ่มเติม »

เซต (คณิตศาสตร์)

อินเตอร์เซกชันของเซตสองเซต คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในเซตทั้งสองเซต ดังแสดงในแผนภาพเวนน์ เซต ในทางคณิตศาสตร์นั้น อาจมองได้ว่าเป็นการรวบรวมกลุ่มวัตถุต่างๆ ไว้รวมกันทั้งชุด แม้ว่าความคิดนี้จะดูง่ายๆ แต่เซตเป็นแนวคิดที่เป็นรากฐานสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคณิตศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาโครงสร้างเซตที่เป็นไปได้ ทฤษฎีเซตมีความสำคัญและได้รับความสนใจอย่างมากและกำลังดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง มันถูกสร้างขึ้นมาตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตอนนี้ทฤษฎีเซตเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ในการศึกษาคณิตศาสตร์ และถูกจัดไว้ในระบบการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาในหลายประเทศ ทฤษฎีเซตเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์เกือบทุกแขนงซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเซต (คณิตศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เซตกำลัง

การมีสมาชิกในอีกเซตหนึ่งทั้งหมด ตามหลักวิชาคณิตศาสตร์ เซตกำลัง หรือ เพาเวอร์เซต (power set) ของเซต S ใดๆ เขียนแสดงด้วยสัญลักษณ์ \mathcal(S), P(S), ℙ(S), ℘(S) หรือ 2''S'' เป็นเซตของเซตย่อยทั้งหมดของ S รวมทั้งเซตว่าง และเซต S เอง ตามหลักทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์ (เช่นสัจพจน์ ZFC) สัจพจน์แห่งเซตกำลังรองรับการมีอยู่ของเซตกำลังสำหรับเซตใดๆ เซตย่อยใดๆ ของ\mathcal(S) เรียกว่า ครอบครัวของเซต บน S.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเซตกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

เซตจำกัด

ในทางคณิตศาสตร์ เซตจำกัด (finite set) คือเซตที่มีจำนวนสมาชิกจำกัด แต่โดยทั่วไปนั้น เซตจำกัดหมายถึงเซตที่สามารถนับแบบมีหลักการ โดยมีจุดสิ้นสุดในการนับ เช่น เป็นเซตจำกัดที่มีสมาชิก 5 ตัว โดยที่จำนวนสมาชิกของเซตจำกัดเป็นจำนวนธรรมชาติ (จำนวนเต็มแบบไม่ติดลบ) และถูกเรียกว่าเป็นภาวะเชิงการนับของเซต เซตที่ไม่จำกัดจะถูกเรียกว่า เซตอนันต์ (infinite set) ตัวอย่างเช่น เซตที่มีจำนวนเต็มบวกทั้งหมด จะเป็นเซตอนันต์: เซตจำกัดสำคัญโดยเฉพาะในคณิตศาสตร์เชิงการจัด ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการนับ หมวดหมู่:มโนทัศน์เบื้องต้นในทฤษฎีเซต หมวดหมู่:จำนวนเชิงการนับ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเซตจำกัด · ดูเพิ่มเติม »

เซตนับได้

ซตนับได้ (countable set) คือเซตที่มีภาวะเชิงการนับ (จำนวนของสมาชิก) เหมือนกับบางเซตย่อยของเซตของจำนวนธรรมชาติ ในทางตรงข้าม เซตที่ไม่สามารถนับได้เรียกว่า เซตนับไม่ได้ (uncountable set) ศัพท์คำนี้นิยามโดยเกออร์ก คันทอร์ สมาชิกของเซตนับได้สามารถถูกนับจำนวนได้ในครั้งหนึ่ง ๆ ถึงแม้ว่าการนับนั้นจะไม่มีวันสิ้นสุดก็ตาม สมาชิกทุก ๆ ตัวของเซตจะถูกจับคู่กับจำนวนธรรมชาติจำนวนใดจำนวนหนึ่งในที่สุด ผู้แต่งตำราบางท่านใช้ศัพท์ เซตนับได้ ว่าหมายถึงเซตที่มีภาวะเชิงการนับเหมือนกับเซตของจำนวนธรรมชาติสำหรับตัวอย่างการใช้เช่นนี้ดูที่ ความแตกต่างระหว่างนิยามสองนิยามนี้คือ เซตจำกัดจัดว่าเป็นเซตนับได้ภายใต้นิยามแรก ในขณะที่นิยามหลัง เซตจำกัดไม่ถือว่าเป็นเซตนับได้ เพื่อแก้ความกำกวมนี้ บางครั้งจึงใช้ศัพท์ว่า เซตนับได้เป็นอย่างมาก (at most countable set) สำหรับนิยามแรกและ เซตอนันต์นับได้ (countably infinite set) สำหรับนิยามหลัง นอกจากนี้ศัพท์ว่า denumerable set ก็ยังใช้ในความหมายของเซตอนันต์นับได้ดูที่ หรือเซตนับได้ ในทางตรงข้ามก็ใช้คำว่า nondenumerable set คือเซตนับไม่ได้ดูที.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและเซตนับได้ · ดูเพิ่มเติม »

0

0 (ศูนย์) เป็นทั้งจำนวนและเลขโดดที่ใช้สำหรับนำเสนอจำนวนต่าง ๆ ในระบบเลข มีบทบาทเป็นตัวกลางในทางคณิตศาสตร์ คือเป็นเอกลักษณ์การบวกของจำนวนเต็ม จำนวนจริง และโครงสร้างเชิงพีชคณิตอื่น ๆ ศูนย์ในฐานะเลขโดดใช้เป็นตัววางหลักในระบบเลขเชิงตำแหน่ง.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ0 · ดูเพิ่มเติม »

1

1 (หนึ่ง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพที่แทนจำนวนนั้น หนึ่งแทนสิ่งสิ่งเดียว หน่วยในการนับหรือการวัด ตัวอย่างเช่น ส่วนของเส้นตรงของ "ความยาวหนึ่งหน่วย" คือส่วนของเส้นตรงของความยาวเท่ากับ 1.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ1 · ดูเพิ่มเติม »

1 + 2 + 3 + 4 + ⋯

ี่ผลบวกย่อยแรกของอนุกรม 1 + 2 + 3 + 4 + ⋯ พาราโบลานี้คือเส้นกำกับปรับเรียบของมัน จุดตัด "y" คือ −1/12 ผลบวกของทุกจำนวนธรรมชาติ 1 + 2 + 3 + 4 + ⋯ เป็นอนุกรมลู่ออก ผลบวกย่อยที่ n ของอนุกรมเป็นจำนวนสามเหลี่ยม ซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีขอบเขต โดย n เป็นอนันต์ เนื่องจากลำดับของผลบวกย่อยไม่ลู่เข้าลิมิตจำกัดค่าหนึ่ง อนุกรมดังกล่าวจึงลู่ออก และไม่มีผลบวกในความหมายทั่วไป แม้ว่าอนุกรมนี้ไม่มีค่าที่มีความหมายใด ๆ เมื่อแรกเห็น แต่อนุกรมนี้สามารถเปลี่ยนรูปให้ผลลัพธ์ที่น่าสนใจทางคณิตศาสตร์ ซึ่งบางผลลัพธ์นั้นมีการใช้ในสาขาอื่น เช่น การวิเคราะห์เชิงซ้อน ทฤษฎีสนามควอนตัมและทฤษฎีสตริง มีการใช้วิธีการรวมยอดจำนวนมากในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกำหนดค่าตัวเลขให้แม้แต่กับอนุกรมลู่ออก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิธีการทำให้ปรกติของฟังก์ชันซีตา (zeta function regularization) และการรวมยอดรามานุจันกำหนดให้อนุกรมมีค่า −1/12 ซึ่งแสดงโดยสูตรอันขึ้นชื่อ ในเอกสารเฉพาะเรื่องว่าด้วยทฤษฎีแสงจันทร์ (moonshine theory) เทอร์รี แกนนอนเรียกสมการนี้ว่า "หนึ่งในสูตรที่สะดุดตาที่สุดของวิทยาศาสตร์".

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ1 + 2 + 3 + 4 + ⋯ · ดูเพิ่มเติม »

1 − 2 + 3 − 4 + · · ·

กราฟแสดงผลรวมจำกัดพจน์ 15,000 ค่าแรกของอนุกรม 1 − 2 + 3 − 4 + … ในทางคณิตศาสตร์ 1 − 2 + 3 − 4 + ··· เป็นอนุกรมอนันต์ที่แต่ละพจน์เป็นจำนวนเต็มบวกลำดับถัดจากพจน์ก่อนหน้า โดยใส่เครื่องหมายบวกและลบสลับกัน ผลรวม m พจน์แรกของอนุกรมนี้สามารถเขียนโดยใช้สัญลักษณ์ผลรวมได้ในรูป อนุกรมนี้เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะลำดับของผลรวมจำกัดพจน์ (1, -1, 2, -2, …) ไม่ลู่เข้าหาลิมิตที่เป็นจำนวนจำกัดใด ๆ อย่างไรก็ตาม มีปฏิทรรศน์จำนวนมากที่แสดงว่าอนุกรมนี้มีลิมิต ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ ได้เขียนสมการซึ่งเขายอมรับว่าเป็นปฏิทรรศน์ต่อไปนี้ เป็นเวลานานกว่าจะมีคำอธิบายอย่างชัดเจนถึงสมการดังกล่าว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2433 แอร์เนสโต เชซะโร, เอมีล บอแรล และนักคณิตศาสตร์คนอื่น ๆ ได้ร่วมกันพัฒนาวิธีการนิยามผลรวมของอนุกรมลู่ออกทั่วไป วิธีเหล่านั้นจำนวนมากต่างได้นิยามค่า 1 − 2 + 3 − 4 + … ให้ "เท่ากับ" 1/4 ผลรวมเซซาโรเป็นหนึ่งในวิธีการที่ไม่สามารถนิยามค่าของ 1 − 2 + 3 − 4 + … ได้ อนุกรมนี้จึงเป็นหนึ่งในตัวอย่างที่ต้องใช้วิธีการที่แรงกว่าเพื่อนิยามค่า เช่น ผลรวมอาเบล อนุกรม 1 − 2 + 3 − 4 + … เป็นอนุกรมที่เกี่ยวข้องกับอนุกรมแกรนดี 1 − 1 + 1 − 1 + … ออยเลอร์ได้พิจารณาอนุกรมทั้งสองว่าเป็นกรณีเฉพาะของอนุกรม งานวิจัยของเขาได้ต่อยอดไปสู่การศึกษาเรื่องปัญหาบาเซิล ซึ่งนำไปสู่สมการเชิงฟังก์ชันที่ปัจจุบันรู้จักกันในชื่อฟังก์ชันอีตาของดิริชเลต์และฟังก์ชันซีตาของรีมันน.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ1 − 2 + 3 − 4 + · · · · ดูเพิ่มเติม »

10

10 (สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 9 และอยู่ก่อนหน้า 11.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ10 · ดูเพิ่มเติม »

100

132 (หนึ่งร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 99 และอยู่ก่อนหน้า 101.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ100 · ดูเพิ่มเติม »

1000

1000 (หนึ่งพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 999 (เก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 1001 (หนึ่งพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ1000 · ดูเพิ่มเติม »

10000

10000 (หนึ่งหมื่น) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 9999 (เก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 10001 (หนึ่งหมื่นเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ10000 · ดูเพิ่มเติม »

100000

100000 (หนึ่งแสน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 99999 (เก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 100001 (หนึ่งแสนเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ100000 · ดูเพิ่มเติม »

1000000

1000000 (หนึ่งล้าน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 999999 (เก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 1000001 (หนึ่งล้านเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ1000000 · ดูเพิ่มเติม »

10000000

10000000 (สิบล้าน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 9999999 (เก้าล้านเก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 10000001 (สิบล้านเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ10000000 · ดูเพิ่มเติม »

100000000

100000000 (ร้อยล้าน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 99999999 (เก้าสิบเก้าล้านเก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 100000001 (ร้อยล้านเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ100000000 · ดูเพิ่มเติม »

1000000000

1000000000 (พันล้าน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 999999999 (เก้าร้อยเก้าสิบเก้าล้านเก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 1000000001 (พันล้านเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ1000000000 · ดูเพิ่มเติม »

10000000000

10000000000 (หมื่นล้าน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 9999999999 (เก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้าล้านเก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 10000000001 (หมื่นล้านเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ10000000000 · ดูเพิ่มเติม »

100000000000

100000000000 (แสนล้าน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 99999999999 (เก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้าล้านเก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 100000000001 (แสนล้านเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ100000000000 · ดูเพิ่มเติม »

1000000000000

1000000000000 (ล้านล้าน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 999999999999 (เก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้าล้านเก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 1000000000001 (ล้านล้านเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ1000000000000 · ดูเพิ่มเติม »

101

101 (หนึ่งร้อยเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 100 และอยู่ก่อนหน้า 102.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ101 · ดูเพิ่มเติม »

102

102 (หนึ่งร้อยสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 101 และอยู่ก่อนหน้า 103.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ102 · ดูเพิ่มเติม »

103

103 (หนึ่งร้อยสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 102 (หนึ่งร้อยสอง) และอยู่ก่อนหน้า 104 (หนึ่งร้อยสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ103 · ดูเพิ่มเติม »

104

104 (หนึ่งร้อยสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 103 (หนึ่งร้อยสาม) และอยู่ก่อนหน้า 105 (หนึ่งร้อยห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ104 · ดูเพิ่มเติม »

105

105 (หนึ่งร้อยห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 104 (หนึ่งร้อยสี่) และอยู่ก่อนหน้า 106 (หนึ่งร้อยหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ105 · ดูเพิ่มเติม »

106

106 (หนึ่งร้อยหก) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 105 (หนึ่งร้อยห้า) และอยู่ก่อนหน้า 107 (หนึ่งร้อยเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ106 · ดูเพิ่มเติม »

107

107 (หนึ่งร้อยเจ็ด) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 106 (หนึ่งร้อยหก) และอยู่ก่อนหน้า 108 (หนึ่งร้อยแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ107 · ดูเพิ่มเติม »

108

108 (หนึ่งร้อยแปด) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 107 (หนึ่งร้อยเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 109 (หนึ่งร้อยเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ108 · ดูเพิ่มเติม »

109

109 (หนึ่งร้อยเก้า) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 108 (หนึ่งร้อยแปด) และอยู่ก่อนหน้า 110 (หนึ่งร้อยสิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ109 · ดูเพิ่มเติม »

11

11 (สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 10 (สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 12 (สิบสอง) นับเป็นจำนวนแรกที่ไม่สามารถใช้นิ้วมือนับได้ตามปกติ การใช้นิ้วมือระบุจำนวนสิบเอ็ด จึงนิยมกำมือข้างหนึ่งแทนจำนวน 10 แล้วยกนิ้วมืออีกข้างหนึ่งหนึ่ง แทนจำนวน 1 นอกจากนี้แล้ว 11 ยังเป็นจำนวนแรกที่ใช้คำว่า "เอ็ด" แทนคำว่า "หนึ่ง" (จำนวนถัดไปคือ 21, 31, 41,...).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ11 · ดูเพิ่มเติม »

110

110 (หนึ่งร้อยสิบ) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 109 (หนึ่งร้อยเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 111 (หนึ่งร้อยสิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ110 · ดูเพิ่มเติม »

111

111 (หนึ่งร้อยสิบเอ็ด) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 110 (หนึ่งร้อยสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 112 (หนึ่งร้อยสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ111 · ดูเพิ่มเติม »

112

112 (หนึ่งร้อยสิบสอง) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 111 (หนึ่งร้อยสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 113 (หนึ่งร้อยสิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ112 · ดูเพิ่มเติม »

113

113 (หนึ่งร้อยสิบสาม) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 112 (หนึ่งร้อยสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 114 (หนึ่งร้อยสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ113 · ดูเพิ่มเติม »

114

114 (หนึ่งร้อยสิบสี่) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 113 (หนึ่งร้อยสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 115 (หนึ่งร้อยสิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ114 · ดูเพิ่มเติม »

115

115 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 114 (หนึ่งร้อยสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 116 (หนึ่งร้อยสิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ115 · ดูเพิ่มเติม »

116

116 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 115 (หนึ่งร้อยสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 117 (หนึ่งร้อยสิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ116 · ดูเพิ่มเติม »

117

117 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 116 (หนึ่งร้อยสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 118 (หนึ่งร้อยสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ117 · ดูเพิ่มเติม »

118

118 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 117 (หนึ่งร้อยสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 119 (หนึ่งร้อยสิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ118 · ดูเพิ่มเติม »

119

119 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 118 (หนึ่งร้อยสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 120 (หนึ่งร้อยยี่สิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ119 · ดูเพิ่มเติม »

12

12 (สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 11 (สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 13 (สิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ12 · ดูเพิ่มเติม »

120

120 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 119 (หนึ่งร้อยสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 121 (หนึ่งร้อยยี่สิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ120 · ดูเพิ่มเติม »

121

121 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 120 (หนึ่งร้อยสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 122 (หนึ่งร้อยยี่สิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ121 · ดูเพิ่มเติม »

122

122 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 121 (หนึ่งร้อยยี่สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 123 (หนึ่งร้อยยี่สิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ122 · ดูเพิ่มเติม »

123

123 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 122 (หนึ่งร้อยยี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 124 (หนึ่งร้อยยี่สิบสี่) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ123 · ดูเพิ่มเติม »

124

124 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 123 (หนึ่งร้อยยี่สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 125 (หนึ่งร้อยยี่สิบห้า) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ124 · ดูเพิ่มเติม »

125

125 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 124 (หนึ่งร้อยยี่สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 126 (หนึ่งร้อยยี่สิบหก) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ125 · ดูเพิ่มเติม »

126

126 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 125 (หนึ่งร้อยยี่สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 127 (หนึ่งร้อยยี่สิบเจ็ด) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ126 · ดูเพิ่มเติม »

127

127 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 126 (หนึ่งร้อยยี่สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 128 (หนึ่งร้อยยี่สิบแปด) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ127 · ดูเพิ่มเติม »

128

128 เป็นจำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 127 (หนึ่งร้อยยี่สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 129 (หนึ่งร้อยยี่สิบเก้า) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ128 · ดูเพิ่มเติม »

129

129 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 128 (หนึ่งร้อยยี่สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 130 (หนึ่งร้อยสามสิบ) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ129 · ดูเพิ่มเติม »

13

13 (สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 12 (สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 14 (สิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ13 · ดูเพิ่มเติม »

130

130 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 129 (หนึ่งร้อยยี่สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 131 (หนึ่งร้อยสามสิบเอ็ด) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ130 · ดูเพิ่มเติม »

131

131 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 130 (หนึ่งร้อยสามสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 132 (หนึ่งร้อยสามสิบสอง) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ131 · ดูเพิ่มเติม »

132

132 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 131 (หนึ่งร้อยสามสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 133 (หนึ่งร้อยสามสิบสาม) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ132 · ดูเพิ่มเติม »

14

14 (สิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 13 (สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 15 (สิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ14 · ดูเพิ่มเติม »

140

140 เป็นจำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 139 (หนึ่งร้อยสามสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 141 (หนึ่งร้อยสี่สิบเอ็ด) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ140 · ดูเพิ่มเติม »

141

141 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 140 (หนึ่งร้อยสี่สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 142 (หนึ่งร้อยสี่สิบสอง) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ141 · ดูเพิ่มเติม »

142

142 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 141 (หนึ่งร้อยสี่สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 143 (หนึ่งร้อยสี่สิบสาม) หมวดหมู่:จำนวนเต็ม.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ142 · ดูเพิ่มเติม »

143

143 (หนึ่งร้อยสี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 142 (หนึ่งร้อยสี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 144 (หนึ่งร้อยสี่สิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ143 · ดูเพิ่มเติม »

15

15 (สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 14 (สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 16 (สิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ15 · ดูเพิ่มเติม »

16

16 (สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 15 (สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 17 (สิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ16 · ดูเพิ่มเติม »

17

17 (สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 16 (สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 18 (สิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ17 · ดูเพิ่มเติม »

18

18 (สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 17 (สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 19 (สิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ18 · ดูเพิ่มเติม »

19

19 (สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 18 (สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 20 (ยี่สิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ19 · ดูเพิ่มเติม »

2

2 (สอง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 1 (หนึ่ง) และอยู่ก่อนหน้า 3 (สาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ2 · ดูเพิ่มเติม »

20

วภาคพ 20 (ยี่สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 19 (สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 21 (ยี่สิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ20 · ดูเพิ่มเติม »

200

200 (สองร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 199 (หนึ่งร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 201 (สองร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ200 · ดูเพิ่มเติม »

2000

2000 (สองพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 1999 (หนึ่งพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 2001 (สองพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ2000 · ดูเพิ่มเติม »

21

21 (ยี่สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 20 (ยี่สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 22 (ยี่สิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ21 · ดูเพิ่มเติม »

22

22 (ยี่สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 21 (ยี่สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 23 (ยี่สิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ22 · ดูเพิ่มเติม »

23

23 (ยี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 22 (ยี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 24 (ยี่สิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ23 · ดูเพิ่มเติม »

24

24 (ยี่สิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 23 (ยี่สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 25 (ยี่สิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ24 · ดูเพิ่มเติม »

25

25 (ยี่สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 24 (ยี่สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 26 (ยี่สิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ25 · ดูเพิ่มเติม »

26

26 (ยี่สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 25 (ยี่สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 27 (ยี่สิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ26 · ดูเพิ่มเติม »

27

27 (ยี่สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 26 (ยี่สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 28 (ยี่สิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ27 · ดูเพิ่มเติม »

28

28 (ยี่สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 27 (ยี่สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 29 (ยี่สิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ28 · ดูเพิ่มเติม »

29

29 (ยี่สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 28 (ยี่สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 30 (สามสิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ29 · ดูเพิ่มเติม »

3

3 (สาม) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 2 (สอง) และอยู่ก่อนหน้า 4 (สี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ3 · ดูเพิ่มเติม »

30

30 (สามสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 29 (ยี่สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 31 (สามสิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ30 · ดูเพิ่มเติม »

300

300 (สามร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 299 (สองร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 301 (สามร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ300 · ดูเพิ่มเติม »

3000

3000 (สามพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 2999 (สองพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 3001 (สามพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ3000 · ดูเพิ่มเติม »

31

31 (สามสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 30 (สามสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 32 (สามสิบสอง) หรืออยู่ระหว่าง 30 (สามสิบ) และ 32 (สามสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ31 · ดูเพิ่มเติม »

32

32 (สามสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 31 (สามสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 33 (สามสิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ32 · ดูเพิ่มเติม »

33

33 (สามสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 32 (สามสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 34 (สามสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ33 · ดูเพิ่มเติม »

34

34 (สามสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 33 (สามสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 35 (สามสิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ34 · ดูเพิ่มเติม »

35

35 (สามสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 34 (สามสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 36 (สามสิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ35 · ดูเพิ่มเติม »

36

36 (สามสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 35 (สามสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 37 (สามสิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ36 · ดูเพิ่มเติม »

37

37 (สามสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 36 (สามสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 38 (สามสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ37 · ดูเพิ่มเติม »

38

38 (สามสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 37 (สามสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 39 (สามสิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ38 · ดูเพิ่มเติม »

39

39 (สามสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 38 (สามสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 40 (สี่สิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ39 · ดูเพิ่มเติม »

4

4 (สี่) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3 (สาม) และอยู่ก่อนหน้า 5 (ห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ4 · ดูเพิ่มเติม »

40

40 (สี่สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 39 (สามสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 41 (สี่สิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ40 · ดูเพิ่มเติม »

400

400 (สี่ร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 399 (สามร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 401 (สี่ร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ400 · ดูเพิ่มเติม »

4000

4000 (สี่พัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3999 (สามพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 4001 (สี่พันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ4000 · ดูเพิ่มเติม »

41

41 (สี่สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 40 (สี่สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 42 (สี่สิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ41 · ดูเพิ่มเติม »

42

42 (สี่สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 41 (สี่สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 43 (สี่สิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ42 · ดูเพิ่มเติม »

43

43 (สี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 42 (สี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 44 (สี่สิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ43 · ดูเพิ่มเติม »

44

44 (สี่สิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 43 (สี่สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 45 (สี่สิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ44 · ดูเพิ่มเติม »

45

45 (สี่สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 44 (สี่สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 46 (สี่สิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ45 · ดูเพิ่มเติม »

46

46 (สี่สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 45 (สี่สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 47 (สี่สิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ46 · ดูเพิ่มเติม »

47

47 (สี่สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 46 (สี่สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 48 (สี่สิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ47 · ดูเพิ่มเติม »

48

48 (สี่สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 47 (สี่สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 49 (สี่สิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ48 · ดูเพิ่มเติม »

49

49 (สี่สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 48 (สี่สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 50 (ห้าสิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ49 · ดูเพิ่มเติม »

5

5 (ห้า) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 4 (สี่) และอยู่ก่อนหน้า 6 (หก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ5 · ดูเพิ่มเติม »

50

5000 (ห้าสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 5000 (สี่เก้า) และอยู่ก่อนหน้า 51 (ห้าพัน).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ50 · ดูเพิ่มเติม »

500

500 (ห้าร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 499 (สี่ร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 501 (ห้าร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ500 · ดูเพิ่มเติม »

5000

5000 (ห้าพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 4999 (สี่พันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 5001 (ห้าพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ5000 · ดูเพิ่มเติม »

51

51 (ห้าสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 50 (ห้าสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 52 (ห้าสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ51 · ดูเพิ่มเติม »

52

52 (ห้าสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 51 (ห้าสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 53 (ห้าสิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ52 · ดูเพิ่มเติม »

53

53 (ห้าสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 52 (ห้าสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 54 (ห้าสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ53 · ดูเพิ่มเติม »

54

54 (ห้าสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 53 (ห้าสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 55 (ห้าสิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ54 · ดูเพิ่มเติม »

55

55 (ห้าสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 54 (ห้าสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 56 (ห้าสิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ55 · ดูเพิ่มเติม »

555

555 เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 554 (ห้าร้อยห้าสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 556 (ห้าร้อยห้าสิบหก) ตัวประกอ.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ555 · ดูเพิ่มเติม »

56

56 (ห้าสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 55 (ห้าสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 57 (ห้าสิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ56 · ดูเพิ่มเติม »

57

57 (ห้าสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 56 (ห้าสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 58 (ห้าสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ57 · ดูเพิ่มเติม »

58

58 (ห้าสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 57 (ห้าสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 59 (ห้าสิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ58 · ดูเพิ่มเติม »

59

59 (ห้าสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 58 (ห้าสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 60 (หกสิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ59 · ดูเพิ่มเติม »

6

6 (หก) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 5 (ห้า) และอยู่ก่อนหน้า 7 (เจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ6 · ดูเพิ่มเติม »

60

60 (หกสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 59 (ห้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 61 (หกสิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ60 · ดูเพิ่มเติม »

600

600 (หกร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 599 (ห้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 601 (หกร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ600 · ดูเพิ่มเติม »

6000

6000 (หกพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 5999 (ห้าพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 6001 (หกพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ6000 · ดูเพิ่มเติม »

61

61 (หกสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 60 (หกสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 62 (หกสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ61 · ดูเพิ่มเติม »

62

62 (หกสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 61 (หกสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 63 (หกสิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ62 · ดูเพิ่มเติม »

63

63 (หกสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 62 (หกสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 64 (หกสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ63 · ดูเพิ่มเติม »

64

64 (หกสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 63 (หกสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 65 (หกสิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ64 · ดูเพิ่มเติม »

65

65 (หกสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 64 (หกสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 66 (หกสิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ65 · ดูเพิ่มเติม »

66

66 (หกสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 65 (หกสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 67 (หกสิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ66 · ดูเพิ่มเติม »

67

67 (หกสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 66 (หกสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 68 (หกสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ67 · ดูเพิ่มเติม »

68

68 (หกสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 67 (หกสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 69 (หกสิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ68 · ดูเพิ่มเติม »

69

69 (หกสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 68 (หกสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 70 (เจ็ดสิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ69 · ดูเพิ่มเติม »

7

7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ7 · ดูเพิ่มเติม »

70

70 (เจ็ดสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 69 (หกสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 71 (เจ็ดสิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ70 · ดูเพิ่มเติม »

700

700 (เจ็ดร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 699 (หกร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 701 (เจ็ดร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ700 · ดูเพิ่มเติม »

7000

7000 (เจ็ดพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6999 (หกพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 7001 (เจ็ดพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ7000 · ดูเพิ่มเติม »

71

71 (เจ็ดสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 70 (เจ็ดสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 72 (เจ็ดสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ71 · ดูเพิ่มเติม »

72

72 (เจ็ดสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 71 (เจ็ดสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 73 (เจ็ดสิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ72 · ดูเพิ่มเติม »

73

73 (เจ็ดสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 72 (เจ็ดสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 74 (เจ็ดสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ73 · ดูเพิ่มเติม »

74

74 (เจ็ดสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 73 (เจ็ดสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 75 (เจ็ดสิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ74 · ดูเพิ่มเติม »

75

75 (เจ็ดสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 74 (เจ็ดสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 76 (เจ็ดสิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ75 · ดูเพิ่มเติม »

76

76 (เจ็ดสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 75 (เจ็ดสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 77 (เจ็ดสิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ76 · ดูเพิ่มเติม »

77

77 (เจ็ดสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 76 (เจ็ดสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 78 (เจ็ดสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ77 · ดูเพิ่มเติม »

78

78 (เจ็ดสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 77 (เจ็ดสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 79 (เจ็ดสิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ78 · ดูเพิ่มเติม »

79

79 (เจ็ดสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 78 (เจ็ดสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 80 (แปดสิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ79 · ดูเพิ่มเติม »

8

8 (แปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 7 (เจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 9 (เก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ8 · ดูเพิ่มเติม »

80

80 (แปดสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 79 (เจ็ดสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 81 (แปดสิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ80 · ดูเพิ่มเติม »

800

800 (แปดร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 799 (เจ็ดร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 801 (แปดร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ800 · ดูเพิ่มเติม »

8000

8000 (แปดพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 7999 (เจ็ดพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 8001 (แปดพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ8000 · ดูเพิ่มเติม »

81

81 (แปดสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 80 (แปดสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 82 (แปดสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ81 · ดูเพิ่มเติม »

82

82 (แปดสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 81 (แปดสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 83 (แปดสิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ82 · ดูเพิ่มเติม »

83

83 (แปดสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 82 (แปดสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 84 (แปดสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ83 · ดูเพิ่มเติม »

84

84 (แปดสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 83 (แปดสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 85 (แปดสิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ84 · ดูเพิ่มเติม »

85

85 (แปดสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 84 (แปดสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 86 (แปดสิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ85 · ดูเพิ่มเติม »

86

86 (แปดสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 85 (แปดสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 87 (แปดสิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ86 · ดูเพิ่มเติม »

87

87 (แปดสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 86 (แปดสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 88 (แปดสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ87 · ดูเพิ่มเติม »

88

88 (แปดสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 87 (แปดสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 89 (แปดสิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ88 · ดูเพิ่มเติม »

89

89 (แปดสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 88 (แปดสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 90 (เก้าสิบ).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ89 · ดูเพิ่มเติม »

9

9 (เก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 8 และอยู่ก่อนหน้า 10.

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ9 · ดูเพิ่มเติม »

90

90 (เก้าสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 89 (แปดสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 91 (เก้าสิบเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ90 · ดูเพิ่มเติม »

900

900 (เก้าร้อย) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 899 (แปดร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 901 (เก้าร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ900 · ดูเพิ่มเติม »

9000

5000 (เก้าพัน) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 8999 (แปดพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 9001 (เก้าพันเอ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ9000 · ดูเพิ่มเติม »

91

91 (เก้าสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 90 (เก้าสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 92 (เก้าสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ91 · ดูเพิ่มเติม »

92

92 (เก้าสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 91 (เก้าสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 93 (เก้าสิบสาม).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ92 · ดูเพิ่มเติม »

93

93 (เก้าสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 92 (เก้าสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 94 (เก้าสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ93 · ดูเพิ่มเติม »

94

94 (เก้าสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 93 (เก้าสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 95 (เก้าสิบห้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ94 · ดูเพิ่มเติม »

95

95 (เก้าสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 94 (เก้าสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 96 (เก้าสิบหก).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ95 · ดูเพิ่มเติม »

96

96 (เก้าสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 95 (เก้าสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 97 (เก้าสิบเจ็ด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ96 · ดูเพิ่มเติม »

97

97 (เก้าสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 96 (เก้าสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 98 (เก้าสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ97 · ดูเพิ่มเติม »

98

98 (เก้าสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 97 (เก้าสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 99 (เก้าสิบเก้า).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ98 · ดูเพิ่มเติม »

99

99 (เก้าสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 98 (เก้าสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 100 (หนึ่งร้อย).

ใหม่!!: จำนวนธรรมชาติและ99 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Natural numberจำนวนนับจำนวนเต็มบวกจำนวนเต็มไม่เป็นลบ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »