โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ควอตซ์

ดัชนี ควอตซ์

วอตซ์ (Quartz) (SiO2) หรือมีชื่อว่า "แร่เขี้ยวหนุมาน" เป็นแร่ที่พบมากที่สุดในโลกเป็นอันดับที่สองรองจาก เฟลด์สปาร.

32 ความสัมพันธ์: ชะทอยยันซีพีระมิดคูฟูมาตราโมสมณฑลกวางตุ้งรายชื่อแร่ศิลาแลงสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความร้อนหินตาเสือหินแกรนิตอุทยานแห่งชาติออบหลวงอุทยานแห่งชาติป่าหินอเมทรินจีโอดธาตุทรายดำทะเลสาบไท่ของวิเศษในอาณาจักรแห่งกาลเวลาความวาวคาสิโอ เอฟ-91ดับเบิลยูตะกอนตานดแวซิลิกอนไดออกไซด์ซิลิคอนแอมฟิบอไลต์แคลไซต์โลก (ดาวเคราะห์)โอปอลเฟลด์สปาร์เพกมาไทต์เมืองโบราณดงละครเอลิเนอร์แห่งอากีแตนเขี้ยวหนุมาน

ชะทอยยันซี

แก้วตาเสือ 200px ในทางอัญมณีวิทยา ชะทอยยันซี (chatoyancy) หรือปรากฏการณ์ตาแมว คือการเหลือบแสงเป็นปรากฏการณ์การสะท้อนแสงของแร่โปร่งแสงบางชนิด ทำให้เกิดความวาวคล้ายไหมหรือคล้ายตาแมว มีลักษณะเป็นแถบแสงเหลือบตั้งฉากกับความยาวของเส้นใยหรือแนวของมลทิน เนื่องจากแร่นั้นประกอบด้วยเส้นใยรูปเข็มหรือรูปท่อ ช่องว่างที่เป็นแนวยาวคล้ายเสี้ยน หรือมลทินที่เรียงตัวขนานกัน การเหลือบแสงนี้พบได้ชัดเจนในแร่ที่เจียระไนแบบหลังเบี้ยโดยการจัดให้รับแสง เช่น แร่คริโซเบริลชนิดไพฑูรย์ (แก้วตาแมว) แร่ควอตซ์แทนที่แร่โครซิโดไลต์ (แก้วตาเสือ) ทัวร์มาลีนเบริล เซอร์คอน โอปอล.

ใหม่!!: ควอตซ์และชะทอยยันซี · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดคูฟู

ีระมิดคูฟู พีระมิดแห่งกีซา ในสมัย คริสต์ศตวรรษที่ 19 พีระมิดคูฟูหรือ พีระมิดคีออปส์ นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า มหาพีระมิดแห่งกีซา (The Great Pyramid of Giza) เป็น พีระมิดในประเทศอียิปต์ที่มีความใหญ่โตและเก่าแก่ที่สุด ในหมู่พีระมิดทั้งสามแห่งกีซา เชื่อกันว่าสร้างขึ้นในสมัย ฟาโรห์คูฟู (Khufu) แห่ง ราชวงศ์ที่ 4 ซึ่งปกครองอียิปต์โบราณ เมื่อประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล หรือกว่า 4,600 ปีมาแล้ว เพื่อใช้เป็นที่เก็บรักษาพระศพ ไว้รอการกลับคืนชีพ ตามความเชื่อของชาวอียิปต์ในยุคนั้น มหาพีระมิดนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก และเป็นหนึ่งเดียว ในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ยุคโบราณ ที่ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ควอตซ์และพีระมิดคูฟู · ดูเพิ่มเติม »

มาตราโมส

มาตราความแข็งแร่ของโมส (Mohs scale of mineral hardness) เป็นมาตราความแข็งของแร่ตามที่นักวิทยาแร่ชาวเยอรมัน ชื่อ ฟรีดริช โมส (Friedrich Mohs) กำหนดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1812 ประกอบด้วยแร่มาตรฐาน 10 ชนิด เรียงลำดับตั้งแต่แร่ที่ทนทานต่อการขูดขีดน้อยที่สุดจนถึงมากที่สุด ดังนี้.

ใหม่!!: ควอตซ์และมาตราโมส · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลกวางตุ้ง

มณฑลกวางตุ้ง หรือ กว่างตง แบ่งการปกครองออกเป็น 21 เมืองใหญ่ 30 เมืองระดับอำเภอ 42 อำเภอและ 3 เขตปกครองตนเอง ตั้งอยู่ตอนใต้สุดของประเทศ ทางใต้ติดกับทะเลจีนใต้ ใกล้กับเกาะฮ่องกงและมาเก๊า เป็นประตูสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ มณฑลนี้นี่เองที่ประชากรส่วนมากได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานในต่างประเทศ 100 กว่าปีที่แล้ว.

ใหม่!!: ควอตซ์และมณฑลกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแร่

้างล่างนี้เป็นการรวบรวมรายชื่อของแร่ โดยเรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาไท.

ใหม่!!: ควอตซ์และรายชื่อแร่ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลาแลง

การตัดอิฐจากศิลาแลง ในประเทศอินเดีย thumb ศิลาแลง หรือ แม่รัง เป็นวัสดุในธรรมชาติอย่างหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับหิน สีแดง ส้ม หรือน้ำตาลเข้ม มีรูพรุนทั่วไป นับเป็นวัสดุที่มีความสำคัญในการก่อสร้างในอดีต เนื่องจากมีความอ่อนนุ่มและมีความแข็งพอสมควร.

ใหม่!!: ควอตซ์และศิลาแลง · ดูเพิ่มเติม »

สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความร้อน

ระหว่างการส่งผ่านความร้อน พลังงานที่สะสมอยู่ในแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลนั้นเปลี่ยนแปลง เมื่อพลังงานที่เก็บไว้เพิ่มขึ้น ความยาวของพันธะก็จะมากขึ้นตาม ดังนั้นของแข็งจึงขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน และหดเมื่อเย็นตัวลง การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสามารถแสดงเป็นค่าสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความร้อนของมัน คำว่า สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความร้อน ใช้ในสองลักษณ.

ใหม่!!: ควอตซ์และสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความร้อน · ดูเพิ่มเติม »

หินตาเสือ

หินตาเสือ หินตาเสือ หรือ คดไม้สัก (Tiger's Eyes) เป็นหินแร่ธรรมชาติ ซึ่งจัดว่าเป็นหินตระกูลควอตซ์ โดยทั่วไปจะมีสีเหลือง แดงและน้ำตาล เนื่องจากว่าหินชนิดนี้มีความแวววาวคล้ายกับตาเสือ จึงถูกเรียกว่า หินตาเสือ.

ใหม่!!: ควอตซ์และหินตาเสือ · ดูเพิ่มเติม »

หินแกรนิต

ระยะใกล้ของหินแกรนิตจากอุทยานแห่งชาติหุบเขาโยเซไมต์ แม่น้ำเมอร์ซ เหมืองหินแกรนิตสำหรับวัดมอร์มอน รัฐอูทาห์ พื้นผิวดินกระจัดกระจายไปด้วยก้อนหินขนาดใหญ่และเศษของหินแกรนิตที่หลุดล่วงลงมา ซึ่งหลุดหล่นลงมาจากผนังของหน้าผา Little Cottonwood Canyon เหมืองประกอบไปด้วยบล็อกที่แตกย่อยออกไป หินแกรนิต (granite) เป็นหินอัคนีแทรกซอน สีจางพบได้ทั่วไปเป็นปรกติ แกรนิตมีเนื้อขนาดปานกลางถึงเนื้อหยาบ บางครั้งจะพบผลึกเดี่ยวๆบางชนิดที่มีขนาดใหญ่กว่ามวลเนื้อพื้น (groundmass) เกิดเป็นหินที่รู้จักกันในนามของพอร์พายรี (porphyry) แกรนิตอาจมีสีชมพูจนถึงสีเทาเข้มหรือแม้แต่สีดำขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีและองค์ประกอบทางแร่ หินโผล่ของหินแกรนิตมีแนวโน้มจะเกิดเป็นมวลหินโผล่ขึ้นมาเป็นผิวโค้งมน บางทีหินแกรนิตก็เกิดเป็นหลุมยุบรูปวงกลมที่รายล้อมไปด้วยแนวเทือกเขาเกิดเป็นแนวการแปรสภาพแบบสัมผัสหรือฮอร์นเฟลส์ แกรนิตมีเนื้อแน่นเสมอ (ปราศจากโครงสร้างภายใน) แข็ง แรงทนทาน ดังนั้นจึงถูกนำไปใช้เป็นหินก่อสร้างกันอย่างกว้างขวาง ค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของหินแกรนิตคือ 2.75 กรัม/ซม3 และค่าความหนืดที่อุณหภูมิและความกดดันมาตรฐานคือ ~4.5 • 1019 Pa•s.

ใหม่!!: ควอตซ์และหินแกรนิต · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติออบหลวง

อุทยานแห่งชาติออบหลวง เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในพื้นที่อำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 100 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 553 ตารางกิโลเมตร (345,625 ไร่) พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานเป็นภูเขาสลับซับซ้อนและสูงชัน มีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ แหล่งน้ำหลักคือลำน้ำแม่แจ่ม ซึ่งมีลักษณะเป็นเกาะแก่งเมื่อไหลผ่านหุบเขา ในอุทยานมีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ จำแนกได้หลายประเภท สามารถพบสัตว์ป่าได้หลายชนิด เช่น เลียงผา เสือ หมี เป็นต้น นอกจากนี้ภายในอุทยานแห่งชาติยังมีน้ำพุร้อน น้ำตก ถ้ำ และแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ควอตซ์และอุทยานแห่งชาติออบหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติป่าหิน

right อุทยานแห่งชาติป่าหิน (Petrified Forest National Park) ตั้งอยู่ในรัฐแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา เดิมเป็นอนุสรสถานแห่งชาติป่าหินเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม..1906 มีอาณาเขต 378 ตารางกิโลเมตร ภายหลังรวมเอาอาณาเขตทะเลทรายเพนเท็ด(painted)จึงมีอาณาเขต 800 ตารางกิโลเมตร และได้กลายมาเป็นอุทยานแห่งชาติป่าหินซึ่งเป็นป่าหินแห่งใหญ่ที่สุดในโลก ถูกค้นพบครั้งแรกโดยร้อยโทลอเรนโซ ซิตกรีฟส์ แห่งกองทัพบกสหรัฐฯ โดยบังเอิญ ในปี.ศ 1851 มีลักษณะเป็นเศษท่อนไม้ที่เนื้อไม้กลายเป็นหินควอตซ์จำนวนมาก ซึ่งดูมีลักษณะเหมือนต้นไม้จริงทุกประการ เพียงแต่กลายเป็นหินทั้งท่อน ซุงหินที่พบมีขนาดใหญ่และส่วนใหญ่อยู่ในสภาพแตกหัก พบมากบริเวณลองเลกส์(long Legs) นับตั้งแต่ก่อตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติป่าหิน มีผู้เข้าเยือนแล้วกว่า 600,000 คน.

ใหม่!!: ควอตซ์และอุทยานแห่งชาติป่าหิน · ดูเพิ่มเติม »

อเมทริน

อมิทริน (ametrine) เป็นแร่รัตนชาติที่มีสีม่วงปนเหลือง โดยมีส่วนผสมของควอตซ์ และเกิดจากการผสมของแอเมทิสต์ เชื่อกันว่าอมิทรินพบครั้งแรกในทวีปยุโรป โดยเป็นของขวัญที่ราชินีสเปนได้รับ หมวดหมู่:อัญมณี หมวดหมู่:รัตนชาติ หมวดหมู่:แร่.

ใหม่!!: ควอตซ์และอเมทริน · ดูเพิ่มเติม »

จีโอด

ีโอด (Geode) คือ ก้อนทรงมนหรือ มวลสารพอก ที่ภายในกลวงหรือเป็นโพรง อาจพบขนาดโตกว่า 30 เซนติเมตร มีลักษณะสำคัญคือ ผนังโพรงเคลือบหรือมีวงลายชั้นของแคลไซต์หรือควอตซ์ ส่วนมากมักอยู่ในรูปของซิลิกาจุณผลึกซึ่งอาจเป็นชั้นของ คาลซิโดนี หรือ อะเกต ก็ได้ บางก้อนอาจมียอดพุ่งสูงภายในซึ่งมักเป็นผลึกของ ควอตซ์หรือ แคลไซต์ จีโอดพบในหินปูนบางชนิดและหินภูเขาไฟ ตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี จีโอด (Geode) ต่างจาก วัก (vug) ซึ่งเป็นช่องว่างจากการละลายหรือที่มีอยู่แต่เดิมในสายแร่หรือหิน และอาจมีผลึกบรรจุอยู่ด้วย และต่างจาก ดรูส (druse) ตรงที่จีโอดหลุดร่วงแยกจากหินที่เกิดอยู่ได้ และมีแร่ต่างชนิดกับของหินที่ล้อมรอบ แร่อื่นอาจพบในจีโอด ได้แก่ ไลมอไนไนต์ โคเลมาไนต์ เซเลสไทต์ และ แบไรต.

ใหม่!!: ควอตซ์และจีโอด · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุ

ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ควอตซ์และธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: ควอตซ์และทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบไท่

ทะเลสาบไท่ หรือไท่หู (อังกฤษ: Lake Tai หรือ Lake Taihu; จีน: 太湖; พินอิน: Tài Hú; แปลตามตัวอักษรว่า "Great Lake") เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี (Yangtze Delta) ใกล้เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ตั้งอยู่ในเขตมณฑลเจียงซู โดยมีบริเวณตอนใต้ของทะเลสาบติดกับเขตของมณฑลเจ้อเจียง พื้นที่ทะเลสาบมีขนาดประมาณ และความลึกเฉลี่ยประมาณ จึงนับได้ว่าเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่สามของประเทศจีนต่อจากทะเลสาบโป๋หยาง (อังกฤษ: Poyang; จีน:  鄱阳湖; พินอิน: Póyáng Hú, Gan: Po-yong U) และทะเลสาบต้งถิง (อังกฤษ: Dongting; จีน: 洞庭湖; พินอิน: Dòngtíng Hú) ภายในบริเวณทะเลสาบประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 90 เกาะJiangsu.net (http://wuxi.jiangsu.net/attraction/premier.php?name.

ใหม่!!: ควอตซ์และทะเลสาบไท่ · ดูเพิ่มเติม »

ของวิเศษในอาณาจักรแห่งกาลเวลา

้าน เป็นอาณาจักรแห่งเวทมนตร์ ย่อมมีของวิเศษใช้กันอยู่ทั่วไปภายในบ้าน แต่ละเขตแดนภายในบ้านมีของวิเศษชนิดที่แตกต่างกันออกไปตามความจำเป็นในการใช้สอ.

ใหม่!!: ควอตซ์และของวิเศษในอาณาจักรแห่งกาลเวลา · ดูเพิ่มเติม »

ความวาว

วามวาว เป็นคำเรียกของปฏิกิริยาการสะท้อนแสงทุกรูปแบบของวัตถุที่มีการสะท้อนแสงได้ทั้งแบบบานพื้นผิวและภายในของวัตถุ โดยเป็นปฏิกิริยาระหว่างแสงกับผิวของผลึก ทั้งบนพื้นผิวและภายในผลึก ทั้งการหักเหจากผลึกและการสะท้อนภายในผลึกและภายนอกผลึก มีรากศัทพ์มาจากคำว่า lux ในภาษาลาติน ซึ่งมีความหมายว่า ความสว่าง และโดยทั่วไปมีความหมายว่าความสว่างไสว ความวาว.

ใหม่!!: ควอตซ์และความวาว · ดูเพิ่มเติม »

คาสิโอ เอฟ-91ดับเบิลยู

Casio F-91W เป็นนาฬิกาข้อมือดิจิตอลที่กำเนิดสัญญาณนาฬิกาด้วยควอตซ์ ผลิตโดยบริษัทญี่ปุ่น Casio Computer Co., Ltd. เริ่มนำออกสู่ตลาดเมื่อ..

ใหม่!!: ควอตซ์และคาสิโอ เอฟ-91ดับเบิลยู · ดูเพิ่มเติม »

ตะกอน

ตะกอน คือ อินทรีย์วัตถุ หรือ อนินทรีย์วัตถุที่มีขนาดเล็กเช่น กรวด หิน ดิน ทราย ที่เกิดจากกระบวนการสลายตามธรรมชาติ ถูกพัดพาปะปนกับกระแสน้ำ และทับถมกันบริเวณด้านล่างที่กระแสน้ำไหลผ่าน ตะกอนมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับสิ่งปะปนในกระแสน้ำนั้น ๆ เช่น ดิน หิน ทราย หรือตะกอนที่เป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลาย ลักษณะเป็นสีคล้ำ มีความหยุ่น เรียกว่า โคลน อีกความหมายหนึ่งคือ อนุภาคที่แยกตัวออกมาจากสารละลาย เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง เช่น น้ำผสมผงแป้ง เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง ผงแป้งจะตกตะกอนลงสู่ด้านล่าง เห็นเป็นชั้นแป้งและน้ำอย่างชัดเจน.

ใหม่!!: ควอตซ์และตะกอน · ดูเพิ่มเติม »

ตานดแว

วาดของเมืองส่านดอเหว่ (ชื่อเดิม) ในปลายทศวรรษ 1800 ตานดแว (ชื่อเดิม ส่านดอเหว่) เป็นเมืองท่าที่สำคัญในรัฐยะไข่ของประเทศพม่า เป็นเมืองโบราณและเคยเป็นเมืองศูนย์กลางของรัฐยะไข่ หรืออาระกัน เมืองมีพื้นที่ประมาณ ล้อมรอบไปด้วยภูเขาอาระกัน ซึ่งอยู่ติดกับชายฝั่งทะเล มีพื้นที่สูงถึง 4,000 ฟุต อุดมไปด้วยหินอัคนี ดินเหนียว หินชนวน หินเหล็กไฟ และหินทราย นอกจากนี้ยังค้นพบอัญมณี อาทิ หินสบู่ และแร่ควอตซ์ขาว เคยมีบันทึกปริมาณน้ำฝนระหว่างปี..

ใหม่!!: ควอตซ์และตานดแว · ดูเพิ่มเติม »

ซิลิกอนไดออกไซด์

ทราย หนึ่งในอัญรูปของซิลิกา ซิลิกอนไดออกไซด์ (silicon dioxide) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า ซิลิกา (จากภาษาละตินคำว่า silex) คือสารประกอบระหว่างออกไซด์และซิลิกอนรวมตัวกันเป็นสูตรทางเคมีคือ SiO2 และเป็นที่รู้กันตั้งแต่สมัยโบราณถึงความแข็งแกร่งของมัน ซิลิกามักพบได้ทั่วไปในธรรมชาติอาจในรูปของทรายหรือควอตซ์ และในผนังเซลล์ของไดอะตอม ซิลิกาเป็นสารประกอบที่มีจำนวนมากโดยทั่วไปบนเปลือกโลก ซิลิกาได้นำมาใช้เป็นวัสดุในการผลิตที่หลากหลาย อาทิ แก้ว, คริสตัล, เจล, แอโรเจล, ซิลิการมควัน และคอลลอยดอลซิลิกา ยิ่งไปกว่านั้น ซิลิกานาโนสปริงก็ผลิตขึ้นจากวิธีความดันไอ-ของเหลว-ของแข็ง ในอุณหภูมิที่ใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง ซิลิกาใช้เป็นวัสดุเบื้องต้นในการผลิตกระจก, แก้วน้ำและขวดแก้ว สายใยแก้วที่ใช้ในการโทรคมนาคมก็เป็นผลิตผลจากซิลิกาเช่นเดียวกัน และยังใช้เป็นวัสถุดิบแรกเริ่มในผลิตภัณฑ์จำพวกเซรามิกเช่น เครื่องปั้นดินเผา, เครื่องหิน, เครื่องลายคราม และการผลิตพาร์ตแลนด์ซีเมนต.

ใหม่!!: ควอตซ์และซิลิกอนไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิลิคอน

ซิลิคอน (Silicon) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีสัญลักษณ์ Si และเลขอะตอม 14 เป็นธาตุกึ่งโลหะแบบเตตระวาเลนต์ (คือมีวาเลนซ์เป็น 4) ซิลิคอนทำปฏิกิริยาน้อยกว่าธาตุที่คล้ายกันคือคาร์บอน เป็นธาตุที่มีมากที่สุดในเปลือกโลกเป็นอันดับ 2 มีปริมาตร 25.7% โดยน้ำหนัก ปรากฏในดินเหนียว เฟลด์สปาร์ (feldspar) หินแกรนิต ควอตซ์ และทราย ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซิลิคอน ไดออกไซด์ (หรือซิลิกา) และซิลิเกต (สารประกอบที่ประกอบจากซิลิคอน ออกซิเจน และ โลหะ) ซิลิคอน เป็นส่วนประกอบหลักของแก้ว ซีเมนต์ เซรามิก, อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ส่วนใหญ่ และซิลิโคน (สารพลาสติกที่มักจะสับสนกับซิลิคอน) ซิลิคอนใช้เป็นสารกึ่งตัวนำอย่างแพร่หลาย เนื่องจาก สารกึ่งตัวนำเจอร์เมเนียมมีปัญหาเกี่ยวกับการไหลของกระแสไหลย้อนกลับ (reverse leakage current).

ใหม่!!: ควอตซ์และซิลิคอน · ดูเพิ่มเติม »

แอมฟิบอไลต์

Metamorphic Facies แอมฟิบอไลต์ (Amphibolite Facies) เป็นกลุ่มของหินแปรที่มีกระบวนการแปรสภาพแบบ Prograde metamorphic โดยมีอุณหภูมิในการแปรสภาพระดับกลางจนถึงระดับสูง (950°F หรือ 500°C) และมีความดันในการแปรสภาพระดับปานกลาง (1.2GPa) ด้วยระดับการแปรสภาพใน Amphibolite Facies ที่มีอุณหภูมิและความดันสูงขึ้น จึงไม่มีการปรากฏของแร่ที่มีการแปรสภาพขั้นต่ำ (Lower grade metamorphism) เช่น Pyrophyllite, Chloritiod, Albite, Talc, Blue-green Hornblende และ Chlorite เป็นต้น.

ใหม่!!: ควอตซ์และแอมฟิบอไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

แคลไซต์

แคลไซต์ (Calcite) เป็นแร่คาร์บอเนตและเป็นแร่ที่เสถียรที่สุดในกลุ่มแร่ที่มีสูตรโครงสร้างเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ส่วนแร่อื่นที่มีสูตรโครงสร้างเดียวกัน ได้แก่ อราโกไนท์ (Aragonite) และ วาเทอร์ไรต์ (Vaterite) โดยอราโกไนท์จะเปลี่ยนไปเป็นแคลไซต์ที่อุณหภูมิ 470 องศาเซลเซียส ส่วนวาเทอร์ไรต์นั้นไม่เสถียร.

ใหม่!!: ควอตซ์และแคลไซต์ · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: ควอตซ์และโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โอปอล

อปอล (Opal) เป็นอัญมณีในตระกูลควอตซ์ (Quartz) เช่นเดียวกับแอเมทิสต์ซึ่งเป็นอัญมณีประจำราศีกุมภ์ มีค่าความแข็งที่ 6 - 7 โมส์ (Moh) มีความวาวแบบแก้วและยางสน มีหลายสีด้วยกัน เช่น สีขาว แดง เหลือง เขียว ม่วง ดำ แต่ที่เป็นที่นิยมมากที่สุด คือ โอปอลไฟ จากสีสันลวดลายอันงดงามที่พาดผ่านบนตัวโอปอลนี้ ทำให้นักประวัติศาสตร์ ไพลนี (Pliny) ชื่นชมไว้ว่า มันคือศูนย์รวมความงามของเหล่าอัญมณี เพราะประกอบด้วยเปลวไฟสีแดงจากทับทิม ประกายสีม่วงเหมือนแอเมทิสต์ และสีเขียวน้ำทะเลจากมรกต คำว่า Opal มาจากภาษาสันสกฤตว่า Upula แปลว่า หินมีค่า โอปอลเป็นที่รู้จักมาเป็นเวลานานหลายพันปีมาแล้ว โดยเฉพาะประเทศในแถบตะวันตก นักโบราณคดีชื่อ Louis Leaky ขุดพบเครื่องประดับโอปอลที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งมีอายุถึง 6,000 ปี ในถ้ำที่ประเทศเคนยา มงกุฎของกษัตริย์แห่งอาณาจักร Holy Roman ประดับด้วยโอปอลชื่อ Orphanus มงกุฎของกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสก็ประดับด้วยโอปอลเช่นกัน อัญมณีสีรุ้งนี้ยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเขียนในสมัยก่อนมากมาย เช่น วิลเลียม เช็คสเปียร์ (William Shakespeare) เซอร์ วอลเตอร์ สก็อต (Sir Walter Scott) ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ใหม่ ๆ แก่โอปอล.

ใหม่!!: ควอตซ์และโอปอล · ดูเพิ่มเติม »

เฟลด์สปาร์

ฟลด์สปาร์ หรือ แร่ฟันม้า (feldspar) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญในเนื้อเซรามิก (ร้อยละ 15.35) และในน้ำยาเคลือบผิว (Glaze 30-50%) เฟลด์สปาร์เป็นแร่ที่มีปริมาณธาตุอัลคาไลด์สูง ทำให้หลอมตัวที่อุณหภูมิต่ำจึงทำหน้าที่เป็นฟลักซ์ทำให้เกิดเนื้อแก้วยึดเหนี่ยวเนื้อ ทำให้เกิดความแกร่งและความโปร่งใสของชิ้นงาน นอกจากนี้ ยังหาได้ง่ายในธรรมชาติ มีธาตุเหล็กต่ำ จึงเป็นที่นิยมใช้ แร่เฟลด์สปาร์ที่เกิดในธรรมชาติมีอยู่ 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ควอตซ์และเฟลด์สปาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพกมาไทต์

กมาไทต์ (Pegmatite) เป็นหินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous) มักปรากฏอยู่เป็นสายแร่ ทำให้มักเรียกเป็น "สายแร่เพกมาไทต์" (Pegmatite veins) ประกอบด้วยแร่หลักเพียงควอตซ์ และ เค-เฟลด์สปาร์ และอาจมีมัสโคไวท์, ไบโอไทต์, ทัวร์มาลีน หรือแร่อื่นอยู่บ้างเป็นส่วนประกอบรอง ผลึกแร่ในเพกมาไทต์โดยปกติแล้วจะมีขนาดใหญ่กว่า 2.5 เซนติเมตรแต่บางครั้งอาจมีขนาดใหญ่มากถึง 10 เซนติเมตรได้ ทั้งนี้เนื่องจากสารละลายร้อนมักมีความเข้มข้นน้อย (มีน้ำและไอมาก) และมีพื้นที่สำหรับการตกผลึกดีกล่าวคือมีช่องรอยแตก (fracture) ในหินทำให้สารละลายร้อนและไอค่อย ๆ ทำการตกผลึกช้า ๆ และมีเวลาเพียงพอให้เกิดการตกผลึกใหญ่ ๆ ได้.

ใหม่!!: ควอตซ์และเพกมาไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองโบราณดงละคร

มืองโบราณดงละคร เมืองโบราณดงละคร เป็นเมืองโบราณสมัยทวาราวดี ตั้งอยู่ในเขตตำบลดงละคร อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก ห่างจากตัวจังหวัดนครนายกไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร จุดสูงสุดของเมืองอยู่ที่เนินดินทางด้านทิศตะวันออก สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 34 เมตร เมืองโบราณดงละครเป็นเมืองรูปไข่เกือบกลม มีคูน้ำและคันดินโดยรอบ มีเนื้อที่ประมาณ 3,000 ไร่ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 700-800 เมตร เดิมมีแนวกั้นเป็นคันดินสองชั้นแต่ปัจจุบันเหลือเพียงชั้นนอกชั้นเดียว คันดินชั้นนอกมีความสูงกว่าคันดินชั้นใน แต่คันดินชั้นในมีความหนามากกว่า ลักษณะการสร้างเมืองนั้นติดกับแม่น้ำนครนายกสายเดิม ซึ่งติดต่อกับชายฝั่งทะเลได้ เหมาะแก่การค้าขายทางทะเล และยังสามารถทำการเกษตรได้โดยรอบ เป็นลักษณะเดียวกับเมืองโบราณสมัยทวาราวดีในบริเวณใกล้กันของประเทศไทย คาดว่ามีผู้อยู่อาศัยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-18 และอยู่ในเครือข่ายการค้าขายทางทะเลในสมัยโบราณ เมืองโบราณดงละคร ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 52 ตอนที่ 75 เมื่อวันที่ 8 มีนาคม..

ใหม่!!: ควอตซ์และเมืองโบราณดงละคร · ดูเพิ่มเติม »

เอลิเนอร์แห่งอากีแตน

อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ. 1122 - 1 เมษายน ค.ศ. 1204) พระราชินีเอเลเนอร์ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1122 ที่ปราสาทเบแล็ง ฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของวิลเลียมที่ 10 ดยุกแห่งอากีแตนและดัชเชสเอเนอร์แห่งแชเทลเลโรลท์ เป็นพระราชินีของฝรั่งเศสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: ควอตซ์และเอลิเนอร์แห่งอากีแตน · ดูเพิ่มเติม »

เขี้ยวหนุมาน

ี้ยวหนุมาน หรือ แอเมทิสต์ (amethyst) เป็นแร่ควอตซ์ชนิดหนึ่ง (SiO2) ที่มีสีม่วงอ่อน จนถึงเข้ม เรียกอีกอย่างว่า "พลอยม่วง ดอกตะแบก" นิยมใช้เป็นเครื่องประดั.

ใหม่!!: ควอตซ์และเขี้ยวหนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หินควอตซ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »