โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คริสต์ศตวรรษที่ 7

ดัชนี คริสต์ศตวรรษที่ 7

ริสต์ศตวรรษที่ 7 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 601 ถึง ค.ศ. 700.

26 ความสัมพันธ์: ช็อมซ็องแดพระวรสารนักบุญบารนาบัสกรากุฟมันโยงะนะรายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อปีคริสต์ศักราชศาสนามาณีกีศตวรรษที่ 7สามราชอาณาจักรเกาหลีอาณาจักรอิศานปุระอึลจิมุนด็อกองเมียวคริสต์ศตวรรษคริสต์สหัสวรรษที่ 1คริสต์ทศวรรษคันจิงูอนาคอนดายักษ์ซามูไรซาราโกซาประเทศสโลวาเกียประเทศเกาหลีเหนือปลายสมัยโบราณไทร์ (ประเทศเลบานอน)เชอร์ชาห์สุรีเภสัชกรรมอาหรับสมัยกลางเขตปกครองตนเองทิเบต

ช็อมซ็องแด

็อมซ็องแด เป็นหอดูดาวเก่าแก่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในทวีปเอเชีย ปัจจุบันอยู่ในเมืองคย็องจู ประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และช็อมซ็องแด · ดูเพิ่มเติม »

พระวรสารนักบุญบารนาบัส

ระวรสารนักบุญบารนาบัส (Gospel of Barnabas) เป็นพระวรสารนอกสารบบคัมภีร์ไบเบิล อ้างว่าบารนาบัสเป็นผู้เขียนขึ้น กล่าวถึงชีวประวัติของพระเยซูตั้งแต่ประสูติ จนถึงเวลาที่ขึ้นสวรรค์ เอกสารตัวเขียนฉบับเก่าที่สุดที่เคยพบมี 2 ฉบับ เป็นภาษาสเปนและภาษาอิตาลี มี 222 บท (ฉบับภาษาอิตาลี).

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และพระวรสารนักบุญบารนาบัส · ดูเพิ่มเติม »

กรากุฟ

กรากุฟ (Kraków) หรือ คราเคา (Krakow หรือ Cracow) เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองและเก่าแก่ที่สุดในโปแลนด์และเป็นจุดหมายปลายทางที่นิยมของนักท่องเที่ยวเขตเมืองเก่าได้รับการบรรจุอยู่ในรายชื่อมรดกโลก เมืองตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำวิสตูลาในจังหวัดมาวอปอลสกา (เลสเซอร์โปแลนด์) เมืองมีที่มาตั้งแต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 7The Municipality Of Kraków Press Office, 1996–2007, in participation with ACK Cyfronet of the AGH University of Science and Technology, กรากุฟเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางชั้นนำอย่างมีแบบแผนของสถาบันการศึกษาโปแลนด์ วัฒนธรรมและชีวิตศิลปะ และยังเป็นหนึ่งเมืองศูนย์กลางสำคัญด้านธุรกิจของโปแลนด์ เป็นเมืองหลวงของโปแลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และกรากุฟ · ดูเพิ่มเติม »

มันโยงะนะ

มันโยงะนะ เป็นระบบการเขียนในสมัยโบราณของภาษาญี่ปุ่นโดยอักษรจีนหรือคันจิ ช่วงเวลาที่เริ่มใช้ระบบการเขียนนี้ไม่ทราบแน่ชัด แต่ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 ชื่อ "มันโยงะนะ" นี้ ได้จากชื่อหนังสือ “มันโยชู” อันเป็นวรรณกรรมรวมบทกวีในยุคนาระที่เขียนด้วยระบบมันโยงะน.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และมันโยงะนะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีคริสต์ศักราช

หน้านี้เป็นดัชนีสำหรับหน้าของปีแต่ละปี.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และรายชื่อปีคริสต์ศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนามาณีกี

นามาณีกี หรือ ศาสนามานี หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) เป็นศาสนาแบบ เอกเทวนิยม และไญยนิยม (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดในจักรวรรดิแซสซานิด มีพระมานีหัยยา (मानी हय्या) เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ศาสนามานี เป็นสาขาหนึ่งของ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ เป็นต้นกำเนิดของ ลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และ ลัทธิอนุตตรธรรม สอนเชิงจักรวาลวิทยาว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้านความดีงาม จิตวิญญาณ และความสว่าง กับความชั่วร้าย วัตถุ และความมืด สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมในเมโสโปเตเมีย ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้ภาษาแอราเมอิกและภาษาซีรีแอก ราว คริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึงประเทศจีน และทางตะวันตกไกลถึงจักรวรรดิโรมัน โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของศาสนาคริสต์ แทนลัทธิเพกันที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่า ชาวมานี หรือ มานีเชียน ซึ่งในปัจจุบันใช้หมายรวมถึง ผู้มีแนวคิดทางจริยศาสตร์รูปแบบหนึ่งที่มองศีลธรรมแบบทวินิยม คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และศาสนามาณีกี · ดูเพิ่มเติม »

ศตวรรษที่ 7

ตวรรษที่ 7 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และศตวรรษที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สามราชอาณาจักรเกาหลี

ราชอาณาจักรทั้งสาม ในประวัติศาสตร์เกาหลี หมายถึงจักรวรรดิโคกูรยอ, แพ็กเจ และชิลลา ซึ่งปกครองคาบสมุทรเกาหลี และบางส่วนของจีน ตั้งแต่ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในช่วงหนึ่งศตวรรษก่อนคริสต์ศักราช คาบสมุทรเกาหลีทั้งหมดและดินแดนส่วนใหญ่ของประเทศจีนอยู่ภายใต้การปกครองของสามอาณาจักร คือ โคกูรยอ แพ็กเจ และชิลลา นับเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจสูงสุดในแถบนั้น เป็นที่รู้จักกันว่า ยุคแห่งสามอาณาจักรใหญ่ ระหว่าง 57 ปีก่อนคริสตกาล ถึงปี..

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และสามราชอาณาจักรเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอิศานปุระ

อาณาจักรอิศานปุระ หรือ อาณาจักรเจนละ เป็นอาณาจักรโบราณ เจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ปัจจุบันคือภาคอีสานตอนล่างของประเทศไทย ตอนบนของประเทศกัมพูชา และตอนล่างของประเทศลาว สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอิศานวรมัน ผู้สืบเชื้อสายมาจากกษัตริย์เจนละ คือพระเจ้ามเหนทระวรมัน หรือพระเจ้าจิตรเสน ผู้ครองแคว้นเจนละ ที่ทรงครอบครองดินแดนในพื้นที่อีสานตอนใต้และลาวทางตอนใต้แถบวัดภู หลังจากที่ได้รับการสิบทอดอำนาจจากพระเจ้าจิตรเสน พระเจ้าอิศานวรมันเสด็จขึ้นครองราชย์ราว พ.ศ. 1153 - พ.ศ. 1198 ได้ทำสงครามกับอาณาจักรฟูนัน ที่ยึดของพื้นที่ทางตอนใต้ ในที่สุดก็ได้ควบรวมเป็นอาณาจักรเดียวกัน เป็นการสูญสิ้นอาณาจักรฟูนัน และได้สถาปนาศูนย์กลางการปกครองขึ้นใหม่ ชื่อว่า อิศานปุระ เมืองอิศานปุระ ที่พระเจ้าอิศานวรมันสถาปนาขึ้น นักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อว่า ตั้งอยู่บริเวณกลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (สมโบไพรกุก) ในเขตจังหวัดกัมปงธม ในประเทศกัมพูชา ซึ่งปรากฏหลักฐานปราสาทอิฐ ศาสนสถานในศาสนาฮินดูจำนวนมาก หลังจากรัชสมัยพระเจ้าอิศานวรมัน มีกษัตริย์ปกครองอีก 2 พระองค์ คือพระเจ้าภววรมันที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 หลังจากนั้นบ้านเมืองเกิดความแตกแยก อาณาจักรถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน กลายเป็น เจนละบก และ เจนละน้ำ ทำให้เมืองอีศานปุระถูกลดความสำคัญลง และต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เชื้อสายของพระเจ้าอิศานวรมัน ได้รวบรวมทั้งสอง และสถาปนาอาณาจักรขึ้นใหม่ ชื่อว่า ยโศธรปุระ หรือเมืองพระนคร บริเวณจังหวัดเสียมราฐ ประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน กลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (อิศานปุระ) เป็นกลุ่มปราสาทโบราณมีอายุมากกว่า 1390 ปี มีปราสาทที่ปรากฏให้เห็นเป็นหลักฐานในปัจจุบันมากกว่า 170 ที่ โดยมีปราสาทสำคัญอยู่ 3 กลุ่มหลักในบริเวณราชธานีอิศานปุระ ซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะให้นักท่องเที่ยวสามารถเยี่ยมชมได้ และเนื่องจากมีปราสาทมากมายนับร้อยแห่ง จึงทำให้นักโบราณคดีชาวตะวันตกที่เข้ามาทำการสำรวจในพื้นที่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้จัดทำระบบบัญชีชื่อปราสาทต่างๆขึ้นและยังคงใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน ทำให้ปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์มี ชื่อเป็นทางการ เป็นตัวอักษรและตัวเลข แทนชื่อที่ชาวบ้านเรียก โดยปราสาทต่าง ๆ ในกลุ่มเหนือ จะมีชื่อขึ้นต้นว่า N (North) ปราสาทกลุ่มกลางมีชื่อขึ้นต้นว่า C (Central) และปราสาทกลุ่มใต้ มีชื่อขึ้นต้นว่า S (South) แล้วตามด้วยตัวเลขที่แสดงถึงความสำคัญ หรือตามลำดับการเรียงตัวที่ตั้งของปราสาท เช่น N1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มเหนือ S1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มใต้ คือปราสาทเนียกปวน และ C1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มกลาง คือปราสาทตาว เป็นต้น.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และอาณาจักรอิศานปุระ · ดูเพิ่มเติม »

อึลจิมุนด็อก

อึลจิมุนด็อก (Eulji Mundeok, ? – ?) ผู้นำทางการทหารในช่วงต้น คริสต์ศตวรรษที่ 7 ของ อาณาจักรโคกูรยอ หนึ่งใน สามก๊กแห่งเกาหลี เขาสามารถปกป้องอาณาจักรโคกูรยอจากการโจมตีของ ราชวงศ์สุย ในช่วง สงครามโคกูรยอ-สุย ทำให้เขาเป็นหนึ่งในวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ทางการทหารของเกาหลี หมวดหมู่:อาณาจักรโคกูรยอ.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และอึลจิมุนด็อก · ดูเพิ่มเติม »

องเมียว

องเมียวโด หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า องเมียว คือ รูปแบบวิชาเวทมนตร์โบราณแขนงหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีรากฐานมาจากโหราศาสตร์และลัทธิเต๋าในประเทศจีน.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และองเมียว · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษ

หน้านี้แสดงช่วงเวลาเป็นสหัสวรรษและศตวรรษตามปีคริสต์ศักร.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และคริสต์ศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 1

ริสต์สหัสวรรษที่ 1 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม..1 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..1000 ตามปฏิทินจูเลียน นี่เป็นสหัสวรรษที่ 1 ของทั้งคริสต์ศักราชและสากลศักร.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และคริสต์สหัสวรรษที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ

ริสต์ทศวรรษ เป็นช่วงสิบปีของ คริสต์ศักราช ในการกล่าวถึงประวัติศาสตร์บางครั้งนิยมกล่าวถึงในลักษณะช่วงของทศวรรษซึ่งเป็นการเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาหลายปี.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และคริสต์ทศวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดายักษ์

งูยักษ์ในแม่น้ำบนเกาะบอร์เนียว ที่เชื่อว่าเป็นภาพตกแต่ง งูอนาคอนดายักษ์ (Giant Anaconda) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่เชื่อกันว่าว่ามีอยู่ในป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้ โดยเป็นงูอนาคอนดาขนาดใหญ่ที่ใหญ่กว่างูอนาคอนดาธรรมดามาก ซึ่งชื่อในภาษาท้องถิ่นเรียกว่า "คอบร้าแกรนดี" แปลว่า "งูยักษ์" โดยที่งูอนาคอนดาสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดนั้น คือ งูอนาคอนดาเขียว (Eunectes murinus) ที่โตเต็มที่จะยาวได้ประมาณ 17 ฟุต (แต่อาจยาวได้ถึง 29 ฟุต) และงูใหญ่จำพวกอื่น คือ งูเหลือม (Python reticulatus) ที่พบในทวีปเอเชีย ก็อาจยาวได้มากกว่า 20 ฟุต เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์นั้น ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าและนิทานพื้นบ้านของชนพื้นเมืองมานานแล้ว จนกระทั่งมีการเข้าไปสำรวจทวีปอเมริกาใต้ของชาวตะวันตกในยุคล่าอาณานิคม โดยชาวสเปนและชาวโปรตุเกสได้รายงานมาว่า มีงูขนาดใหญ่ที่เรียกว่า "มาตาโตโร่" ที่แปลได้ว่า "งูกินวัว" โดยรายงานว่ามันมีความยาวกว่า 80 ฟุต ต่อมาในปี ค.ศ. 1906 พันเอกเพอร์ซี ฟาลเคตต์ ซึ่งเป็นนักสำรวจผู้เขียนแผนที่ป่าอเมซอนได้เขียนลงในบันทึกของเขาว่าเขามีหนังงูที่มีความยาว 62 ฟุต และกล่าวว่า เขาได้สังหารงูตัวนี้ด้วยปืนไรเฟิลด้วยกระสุนขน.44 ในกระดูกสันหลังของมัน ซึ่งมันโจมตีใส่เรือของคณะเขา เส้นผ่าศูนย์กลางของลำตัวมันเกินกว่า 12 นิ้ว และอาจจะใหญ่ได้มากกว่านี้ถ้าได้กินอาหารเข้าไป ในปี ค.ศ. 1925 สาธุคุณวิคเตอร์ไฮนซ์ เห็นงูขนาดใหญ่ที่แม่น้ำริโอเนโกรซึ่งสาขาของแม่น้ำอเมซอน ท่านกล่าวว่าลำตัวของมันที่มองเห็นได้อย่างน้อยยาวกว่า 80 ฟุต และร่างกายมีความหนาเหมือนหนังกลอง ต่อมาหนังสือพิมพ์เปอร์นัมบูโก ในบราซิลประจำวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1948 ตีพิมพ์ภาพและพาดหัวว่า พบงูอนาคอนดาที่มีน้ำหนักกว่า 5 ตัน ขณะที่กำลังกินวัวไปครึ่งตัว โดยภาพส่วนหนึ่งแสดงให้เห็นซากงูที่ถูกชำแหละโดยชาวอินเดียนพื้นเมือง วัดความยาวได้ 113 ฟุต 4 เดือนต่อมาหนังสือพิมพ์นูตี อิลลัสตราดา ของริโอเดอจาเนโร ได้ลงภาพถ่ายของงูอนาคอนดาตัวหนึ่งที่ถูกฆ่าโดยทหารบก มีความยาวทั้งสิ้น 115 ฟุต นอกจากนี้แล้วการรายงานพบเห็นงูขนาดใหญ่ยังมีในทวีปอื่นด้วย ในทวีปแอฟริกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 มีเรื่องเล่าของนักสำรวจว่า ในประเทศแอฟริกาใต้ บริเวณแม่น้ำออเรนจ์ มีถ้ำที่มีอัญมณีซุกซ่อนอยู่ โดยมีงูยักษ์ชื่อ กรูสสแลง เฝ้าอยู่ปากถ้ำ งูนี้มีลำตัวยาว 13 เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางลำตัวกว้าง 1 เมตร และมีความเชื่อของชนพื้นเมืองแถบน้ำตกอูกราบีส์ ซึ่งเป็นน้ำตกของแม่น้ำออเรนจ์ว่า ใต้น้ำตกเป็นที่อยู่ของงูใหญ่ที่เฝ้าสมบัติอยู่ในนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังฝนตก เมื่อปรากฏรุ้งขึ้น นั่นคือ ลำตัวของงูที่มานอนอาบแดด ซึ่งมีผู้อ้างว่าเคยพบเห็นงูตัวนี้ โดยอ้างว่ามีสีดำสนิททั้งตัว พันเอกเรเน่ เลียร์ด ได้ขับเฮลิคอปเตอร์ของเขาจากเมืองกาตังกาในเบลเยียมคองโก ทันใดนั้นมีงูขนาดใหญ่ตัวหนึ่งได้โจมตีเฮลิคอปเตอร์ของเขา แต่เขาเอาตัวรอดพ้นได้และถ่ายรูปงูนั้นได้หลายรูป ประมาณความยาวได้กว่า 40–50 ฟุต ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 ปรากฏเป็นข่าวฮือฮาจากชาวพื้นเมือง บนเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซียว่าได้พบเห็นงูขนาดยักษ์ตัวหนึ่งแหวกว่ายอยู่ในแม่น้ำบนเกาะและถูกบันทึกภาพไว้ได้ ซึ่งน่าจะยาวกว่า 100 ฟุต แต่รูปนี้ก็ยังเป็นที่สงสัยอยู่ว่าเป็นการตกแต่งหรือไม่ และในเดือนพฤศจิกายน ปีเดียวกัน ที่เมืองกูผิง มณฑลเจียงซี ประเทศจีน ขณะมีการก่อสร้างถนนผ่านพื้นที่ป่า คนงานก่อสร้างก็พบกับงูขนาดใหญ่ยาวถึง 16.7 เมตร หนักถึง 300 กิโลกรัม อายุคาดว่าน่าจะอยู่ที่ 140 ปี ถึง 2 ตัว และหนึ่งในสองตัวนั้นก็ได้รับบาดเจ็บจากการถูกรถแบ็คโฮขุดถนนขุดถูกทำให้บาดเจ็บและตายลงในที่สุด อีกตัวก็หนีเข้าป่าไป ซึ่งซากงูตัวที่ตายนั้นได้ถูกถ่ายภาพและเป็นภาพที่แพร่หลายกันในประเทศจีน เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์ได้ถูกอ้างอิงในวัฒนธรรมสมัยนิยมหลายประการ เช่น ภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด 3 ภาค เรื่อง Anaconda ในปี ค.ศ. 1997 Anacondas: The Hunt for the Blood Orchid ในปี ค.ศ. 2004 และ Anaconda 3: The Offspring ในปี ค.ศ. 2008 และเป็นสารคดีทางโทรทัศน์ของดิสคัฟเวอรี่ แชนนอลชุด Lost Tapes ในปี ค.ศ. 2009 ชื่อตอน Megaconda.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และงูอนาคอนดายักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซาราโกซา

แม่น้ำเอโบรขณะไหลผ่านเมืองซาราโกซา ซาราโกซา (Zaragoza) เป็นเมืองหลักของจังหวัดซาราโกซาและแคว้นอารากอน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเอโบรและแควสาขาอูเอร์บาและกาเยโก ในหุบเขาตอนกลางของแคว้นซึ่งมีภูมิทัศน์ที่หลากหลาย ตั้งแต่ทะเลทราย ("โลสโมเนโกรส") ป่าหนาทึบ ทุ่งหญ้า ไปจนถึงทิวเขา ข้อมูลในปี ค.ศ. 2007 จากสภาเมืองซาราโกซา เมืองนี้มีประชากร 667,034 คนมากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของประเทศ และมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนประชากรทั้งแคว้น ซาราโกซาตั้งอยู่ที่ความสูง 199 เมตรจากระดับน้ำทะเล และเป็นจุดตัดระหว่างเส้นทางที่จะไปยังมาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย บิลบาโอ และตูลูซ (ประเทศฝรั่งเศส) โดยเมืองทั้งหมดนี้ตั้งอยู่ห่างจากซาราโกซาประมาณ 300 กิโลเมตร บริเวณเมืองนี้เคยเป็นหมู่บ้านที่มีชื่อว่า ซัลดูบา (Salduba) เป็นชื่อในภาษาพิวนิกของกองทัพคาร์เทจซึ่งตั้งอยู่บนซากหมู่บ้านชาวเคลติเบเรียนเดิม จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 เมื่อกองทัพโรมันได้เข้ารุกรานคาบสมุทรไอบีเรีย บริเวณนี้จึงตกอยู่ในการดูแลของกองรักษาด่านซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิออกุสตุส และกลายเป็นเมืองที่มีชื่อว่า ไกซาเรากุสตา (Caesaraugusta) มีฐานะเป็นเมืองหลวงของจังหวัดฮิสปาเนียซีเตรีออร์ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 ชาวอาหรับได้เข้ายึดเมืองนี้และตั้งชื่อใหม่ว่า ซารากุสตา (Saraqusta; سرقسطة) ซึ่งภายหลังได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกาหลิบแห่งกอร์โดบา (ราชวงศ์อุไมยัด) และเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นเมืองอาหรับที่ใหญ่ที่สุดทางภาคเหนือของคาบสมุทร จากนั้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซาราโกซาเป็นหนึ่งในกลุ่มราชอาณาจักรไตฟา (รัฐมุสลิมหลายสิบรัฐที่แตกออกมาหลังการล่มสลายของอาณาจักรกอร์โดบา) และถูกชาวอาหรับอีกกลุ่มจากจักรวรรดิอัลโมราวิดเข้าครอบครอง ในที่สุดเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 ชาวอารากอน (นับถือศาสนาคริสต์) ก็สามารถยึดเมืองนี้ได้จากพวกอัลโมราวิดและได้ตั้งเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอารากอน ซึ่งเป็นหนึ่งในดินแดนต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียที่จะพัฒนาเป็นราชอาณาจักรสเปนในเวลาต่อม.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และซาราโกซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลายสมัยโบราณ

ราณตอนปลาย (Late Antiquity) เป็นสมัยประวัติศาสตร์ที่ใช้โดยนักประวัติศาสตร์ในการบรรยายช่วงเวลาที่เปลี่ยนจากยุคโบราณคลาสสิกไปเป็นยุคกลางทั้งบนแผ่นดินใหญ่ยุโรปและบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน ของเขตของสมัยยังคงเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่ แต่นักประวัติศาสตร์คนสำคัญปีเตอร์ บราวน์เสนอว่าเป็นช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึง ที่ 8 โดยทั่วไปแล้วก็อาจจะเทียบได้กับช่วงเวลาตั้งแต่การสิ้นสุดของวิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 (ค.ศ. 235-ค.ศ. 284) ของจักรวรรดิโรมัน ไปจนถึงการจัดระบบบริหารของจักรวรรดิโรมันตะวันออกภายใต้การนำของจักรพรรดิเฮราคลิอัส และการพิชิตดินแดนโดยมุสลิมในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันประสบกับความเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่ทั้งทางด้านสังคม, วัฒนธรรม และ ระบบการปกครองที่เริ่มขึ้นในรัชสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียนผู้ทรงเป็นผู้เริ่มการแบ่งจักรวรรดิออกเป็นสองส่วนคือจักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตกที่ปกครองโดยพระจักรพรรดิหลายพระองค์ เริ่มด้วยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เมื่อจักรวรรดิถูกเปลี่ยนเป็นจักรวรรดิคริสเตียน และการก่อตั้งคอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง การโยกย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชนเจอร์มานิคต่อมาก็บั่นทอนเสถียรภาพของจักรวรรดิยิ่งขึ้นไปอีก ที่ในที่สุดก็นำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกในปี ค.ศ. 476 และมาแทนที่ด้วยระบอบพระมหากษัตริย์ของชนเจอร์มานิค หรือ “ระบอบพระมหากษัตริย์ของอนารยชน” ผลก็คือการผสานระหว่างวัฒนธรรมกรีก-โรมัน เจอร์มานิค และ คริสเตียนที่กลายมาเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมของยุโรปตะวันตก การสูญเสียประชากร, ความรู้ทางเทคโนโลยี และ มาตรฐานความเป็นอยู่ของยุโรปตะวันตกในยุคนี้เป็นลักษณะของสถานภาพที่เรียกว่า “การล่มสลายของสังคม” (Societal collapse) โดยนักเขียนตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยามาจนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้ จากความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นและการขาดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของยุโรปตะวันตกในช่วงนี้โดยเฉพาะ ในช่วงระหว่างการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกมาจนถึงยุคกลาง ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ยุคมืด” ที่มาแทนที่ด้วยคำว่า “ยุคโบราณตอนปลาย”.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และปลายสมัยโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ไทร์ (ประเทศเลบานอน)

ทร์ (Tyre) หรือ ศูร (صور; ฟินิเชีย: צור,; צוֹר, Tzor; ฮีบรูไทบีเรียส,; แอกแคด: 𒋗𒊒,; กรีก:, Týros; Sur; Tyrus) เป็นเมืองในเขตผู้ว่าการใต้ ทางตอนใต้ของประเทศเลบานอน มีประชากรราว 117,000 คน ในปี..

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และไทร์ (ประเทศเลบานอน) · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ชาห์สุรี

อร์ ชาห์ สุรี (ค.ศ. 1486 – 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1545) (ภาษาเปอร์เซีย/فريد خان شير شاہ سوري – Farīd Xān Šer Šāh Sūrī, พระนามเดิม ฟาริด คาน, หรือนิยมกล่าวพระนามว่า เชอร์ คาน, "กษัตริย์เจ้าพยัคฆา") เป็นกษัตริย์ผู้สถาปนาราชวงศ์ซูร์ ซึ่งปกครองจักรวรรดิซูร์ในอินเดียตอนเหนือ โดยมีเมืองหลวงที่เดลี โดยกำเนิดเป็นชาวอัฟกันพื้นเมือง โดยพระองค์สามารถยึดจักรวรรดิโมกุลมาเป็นของพระองค์ได้ในปีค.ศ. 1540 ต่อมาหลังจากสวรรคตอย่างกะทันหันในปีค.ศ. 1545 พระโอรสจึงได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ในพระนามว่า "อิสลาม ชาห์ สุรี" ในช่วงแรกนั้นรับราชการเป็นพลทหารของจักรวรรดิโมกุล ก่อนที่จะได้รับตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองทัพในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิบาบูร์ และต่อมาได้เป็นผู้ปกครองพิหาร ในปีค.ศ. 1537 ในขณะที่สมเด็จพระจักรพรรดิหุมายุนเสด็จแปรพระราชฐานต่างเมือง เชอร์ คานได้นำกองทัพเข้าบุกยึดครองรัฐเบงกอลและสถาปนาราชวงศ์ซูร์ขึ้น พระองค์ทรงเป็นผู้มีพระปรีชาญาณหลักแหลมทางด้านการวางแผน ทรงเป็นทั้งผู้ปกครองและจอมทัพผู้เก่งกล้า การจัดระเบียบการปกครองภายในจักรวรรดิในรัชสมัยของพระองค์เป็นการปูรากฐานสำคัญของจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุลในรัชสมัยต่อๆมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอักบัร ในระหว่างรัชสมัยของพระองค์ซึ่งกินเวลาเพียง 5 ปีนั้น ได้ทรงจัดระเบียบการปกครองทั้งพลเรือนและการทหาร และยังเริ่มการใช้สกุลเงิน "รูปี" และยังจัดระเบียบการไปรษณีย์ของอินเดียอีกด้วย นอกจากนี้ยังทรงพัฒนาเมืองดินา-ปานาห์ ซึ่งสร้างโดยสมเด็จพระจักรพรรดิหุมายุน และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น "เชอร์การห์" และยังพัฒนาเมืองปาตลีบุตร ที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานซึ่งกำลังอยู่ในช่วงตกต่ำตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมา แล้วเรียกชื่อใหม่ว่า "ปัฎนา" พระองค์ยังเป็นที่จดจำจากการฆ่าเสือขนาดตัวเต็มวัยด้วยมือเปล่าในป่าของพิหาร ซึ่งเป็นที่มาของพระนามของพระองค์ พระองค์ยังเป็นผู้ที่ปรับปรุงและขยาย "แกรนด์ ทรังก์ โรด" ซึ่งเป็นถนนที่เก่าแก่และมีความยาวที่สุดในอนุทวีปอินเดีย กินระยะทางจากจิตตะกองในบังคลาเทศ ไปยังคาบูลในอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และเชอร์ชาห์สุรี · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกรรมอาหรับสมัยกลาง

ัชกรรมในสมัยอาหรับ เภสัชกรรมอาหรับยุคกลาง เป็นยุคในประวัติเภสัชกรรมที่กล่าวถึงพัฒนาการทางเภสัชกรรมอาหรับในช่วงตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 โดยมีศูนย์กลางอยู่บริเวณอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และเภสัชกรรมอาหรับสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ใหม่!!: คริสต์ศตวรรษที่ 7และเขตปกครองตนเองทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »