เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การอ้างอิง

ดัชนี การอ้างอิง

ทั่วไป การอ้างอิง คือการอ้างถึงบางสิ่ง หรือการอธิบายบางสิ่งหรือสิ่งที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องกันระหว่างสองสิ่ง ความเกี่ยวข้องกันระหว่างสองสิ่งนั้นอาจเป็น หนังสือ สถานที่ หรือบทคัดย่อ เช่น ข้อมูล, ความคิด หรือความจำ สิ่งที่เป็นสิ่งอ้างอิง เรียกว่า ผู้ถูกอ้างอิง ความหมายของการอ้างอิง มีความหมายต่างกันในแต่ล่ะการใช้งาน ดังนี้.

สารบัญ

  1. 8 ความสัมพันธ์: บรรณานุกรมฐานความรู้หมายเหตุปลาช่อนออแรนตินางสีเวยโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลปริภูมิเกษตร โรจนนิลเอมิล เคร็บส์

บรรณานุกรม

ในทางสารนิเทศ บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม คำว่า "บรรณานุกรม" เป็นศัพท์บัญญัติมาจากภาษาอังกฤษ bibliography ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกันคือ รายการสื่อสารนิเทศทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบการเขียนหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจั.

ดู การอ้างอิงและบรรณานุกรม

ฐานความรู้

นความรู้ (knowledge base ย่อว่า KB หรือ kb) เป็นฐานข้อมูลชนิดพิเศษสำหรับการจัดการความรู้ ฐานความรู้เป็นแหล่งเก็บสารสนเทศที่มีวิธีการรวบรวม จัดการ แบ่งปัน สืบค้น และนำสารสนเทศมาใช้ให้เป็นประโยชน์ มันอาจเป็นฐานความรู้ที่เครื่องอ่านได้หรือตั้งใจให้มนุษย์ใช้อย่างใดอย่างหนึ่ง.

ดู การอ้างอิงและฐานความรู้

หมายเหตุ

หมายเหตุ หรือ เชิงอรรถ คือข้อความที่วางอยู่ที่ตำแหน่งล่างสุดของหน้าในหนังสือหรือเอกสาร หรือที่ตำแหน่งจบบท จบเล่ม หรือข้อความทั้งหมด เนื้อหาของหมายเหตุสามารถใส่ความเห็นของผู้แต่งจากข้อความหลัก หรือการอ้างอิงงานเขียนที่สนับสนุนข้อความ หรือทั้งสองอย่าง การระบุหมายเหตุตามปกติกระทำโดยกำกับตัวเลขแบบตัวยกตามหลังส่วนของข้อความที่อ้างถึงหมายเหตุทันที ตัวอย่างเช่น ในบางโอกาส ตัวเลขนั้นก็คลุมด้วยวงเล็บโค้งหรือวงเล็บเหลี่ยมเช่น สัญลักษณ์สำหรับการเรียงพิมพ์อย่างเช่นดอกจัน (*) หรือแด็กเกอร์ (†) ก็อาจนำมาใช้สำหรับบ่งชี้ตำแหน่งหมายเหตุด้วย ซึ่งสัญลักษณ์ต่าง ๆ จะถูกใช้ตามลำดับดังนี้ *, †, ‡, §, ‖, ¶ ตามแบบประเพณี เอกสารหลายชนิดอย่างเช่นตารางเดินรถ ใช้สัญลักษณ์แตกต่างกันมากมาย รวมทั้งตัวเลขและตัวอักษรด้วย เพื่อสื่อให้ผู้อ่านทราบถึงหมายเหตุเฉพาะต่าง.

ดู การอ้างอิงและหมายเหตุ

ปลาช่อนออแรนติ

ปลาช่อนออแรนติ หรือ ปลาช่อนทองลายบั้ง หรือ ปลาช่อนเจ็ดสียักษ์ (Orange-spotted snakehead) เป็นปลาช่อนในสกุล Channa ชนิดหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาช่อนบาร์กา (C.

ดู การอ้างอิงและปลาช่อนออแรนติ

นางสีเวย

''นางสีเวย'' ผลงานของหนานบัวผัน นางสีเวย นางสีเหว่ย หรือ อินายสีเวย เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังวิหารของวัดต้าม่อน อำเภอลอง จังหวัดแพร่ อันเป็นผลงานของฝีมือช่างชุดเดียวกันกับจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน คือ หนานบัวผัน จิตรกรพื้นถิ่นเชื้อสายไทลื้อ อินายสีเวยทัดอดกสลิด (ดอกแก้ว) เป็นภาพวาดชิ้นเอกของจิตรกรรมฝาผนังวัดต้าม่อนที่กล่าวขาญกันว่า นี่คือภาพที่ถ่ายทอดความงามแบบล้านนาของสาวงามชาวเมืองต้าได้เป็นเอกลักษณ์ที่ชัดเจนที่สุด ดังที่ได้รับการยกย่องจากทั่วโลกว่าเป็น โมนาลิซ่าไทยแลน.

ดู การอ้างอิงและนางสีเวย

โครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลปริภูมิ

รงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลปริภูมิ (spatial data infrastructure - SDI) เป็นคำที่นำมาใช้เรียกแนวทางการพัฒนา ระบบภูมิสารสนเทศ โดยมาจากคำในภาษาอังกฤษ มีระดับของแนวทางการพัฒนาที่หลากหลาย ตั้งแต่ระดับ Global ระดับ Regional และลงไปในระดับที่ใช้เป็นแนวทางการจัดการในระดับโครงการหรือ Project เลยก็ว่าได้ ในบางครั้งการนำเอาคำ คำนี้มาใช้ในภาษาไทยอาจเรียกว่า โครงสร้างพื้นฐานภูมิสารสนเทศแห่งชาติ ก็ได้ ทั้งนี้เพราะคำว่า Spatial Data นั้นมีการใช้คำในภาษาไทยซึ่งเป็นที่เข้าใจตรงกันหลายๆ คำ อาทิ ข้อมูลปริภูมิ หรือ ข้อมูลเชิงปริภูมิ ข้อมูลภูมิสารสนเทศ ข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นต้น โดยคำทั้งหมดที่กล่าวมานั้น เป็นที่เข้าใจตรงกันว่า หมายถึงข้อมูลที่มีการอ้างอิงทางตำแหน่งบนผิวโลก เช่นเดียวกับความว่าข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานปริภูมิ ประกอบด้วยแนวทาง 4 ด้านที่สำคัญได้แก.

ดู การอ้างอิงและโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลปริภูมิ

เกษตร โรจนนิล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กเต้ (เกิดเมื่อ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2476) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 1 โรงเรียนการบินรุ่น น.25 โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูงรุ่นที่ 18 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 15 และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

ดู การอ้างอิงและเกษตร โรจนนิล

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ดู การอ้างอิงและเอมิล เคร็บส์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ้างอิง