โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956

ดัชนี การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956

การปฏิวัติฮังการี..

16 ความสัมพันธ์: ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการีพ.ศ. 2499พรรคประชาชนแรงงานฮังการีพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการีพีพีชา-41การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953การทรยศโดยชาติตะวันตกการประท้วงที่พอซนาน ค.ศ. 1956รถถังโจเซฟ สตาลินลิทธิเบรจเนฟสงครามเย็นอิมแร นอจอีวาน โคเนฟนีกีตา ครุชชอฟ23 ตุลาคม4 พฤศจิกายน

ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี

วอเมริกันเชื้อสายฮังการี (Hungarian Americans) คือประชาชนชาวอเมริกันที่สืบเชื้อสายมาจากชาวฮังการี ชาวฮังการีลี้ภัยไปยังสหรัฐอเมริกาหลังจาก การรุกรานของโซเวียต (Hungarian Revolution) ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนแรงงานฮังการี

รรคประชาชนแรงงานฮังการี (MDP) เป็นพรรคการเมืองและพรรคคอมมิวนิสต์ของสาธารณรัฐประชาชนฮังการีตั้งแต..

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และพรรคประชาชนแรงงานฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี

ใบปลิวชวนเชื่อของพรรคซึ่งมีข้อความว่า "เอกภาพอันแบ่งแยกมิได้ซึ่งพรรคของเราและประชาชนของเราจงเจริญ!" พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี (Magyar Szocialista Munkáspárt, MSzMP) เป็นพรรคการเมืองของสาธารณรัฐประชาชนฮังการี ก่อตั้งแทนที่พรรคประชาชนแรงงานฮังการีที่ถูกยุบลงในการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

พีพีชา-41

ีพีชา-41 (pistolet-pulemyot Shpagina; Пистолет-пулемёт Шпагина; "Shpagin machine pistol");เป็นปืนกลมือของโซเวียตที่ออกแบบโดย Georgy Shpagin ที่มีราคาถูก, มีความน่าเชื่อถือและใช้งานง่ายกว่าปืนกลมือพีพีดี-40.ชื่อเล่นทั่วไปเป็น "พี-พี-ช่า"(ППШ) จากคำนำหน้าสามตัวและคำว่า "พาพาช่า"(папаша) ซึ่งหมายถึง "พ่อ หรือ บิดา" พีพีชา-41 เป็นปืนกลมือประจำกายแบบซองกระสุนที่ใช้งานแบบเปิดลูกเลื่อนและทำให้ปืนสะท้อนถอยหลัง (Blowback).ส่วนใหญ่มันทำมาจากการปั๊มเหล็กกล้.สามารถบรรจุกระสุนได้ด้วยกล่องหรือแม็กกาซีนตลับหอยโข่ง (drum magazine) และยิงด้วยกระสุน 7.62×25มม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และพีพีชา-41 · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก..

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ. 1938) หรือการทอดทิ้งโปแลนด์ในรับมือกับเยอรมนีและสหภาพโซเวียตตามลำพังระหว่างการบุกครองโปแลนด์ (ค.ศ. 1939) และการลุกฮือในกรุงวอร์ซอ ในปี ค.ศ. 1944 นอกจากนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกยังได้ลงนามในข้อตกลงยัลตา และภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ไม่ให้การป้องกันหรือยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือรัฐเหล่านี้จากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลและการควบคุมของสหภาพโซเวียต และระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 ฮังการีก็ไม่ได้รับทั้งการสนับสนุนทั้งทางทหารและการสนับสนุนในด้านกำลังใจจากฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเลย และทำให้การปฏิวัติถูกปราบปรามโดยกองทัพแดงในที่สุด สถานการณ์เดียวกันเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1968 เมื่อกองทัพร่วมของกลุ่มประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอเพื่อกำจัดยุคฤดูใบไม้ผลิปรากในเชโกสโลวาเกีย และยุติการเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับมาสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ดังเดิม ดังที่ได้เกิดความกังวลในการประชุมยัลตา แนวคิดของมันก็ถูกโต้เถียงกัน โดยนักประวัติศาสตร์มองว่าการที่นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ไม่มีทางเลือกอื่นใดนอกจากยอมรับความต้องการของผู้นำโซเวียต โจเซฟ สตาลิน ทั้งในการประชุมเตหะรานและในการประชุมครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเองก็ได้ประเมินอำนาจของสหภาพโซเวียตผิดไปบ้าง เช่นเดียวกับที่ประเมินนาซีเยอรมนีผิดไปหนึ่งทศวรรษก่อนหน้านั้น แต่ผู้สนับสนุนการประชุมยอลตามีแนวคิดว่า การประชุมในครั้งนี้เป็นการทรยศกลุ่มประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยไม่มีการพิจารณาถึงชะตากรรมของโปแลนด์ในอนาคต กองกำลังโปแลนด์ถือเป็นกองกำลังที่ต่อสู้กับนาซีเยอรมนีเป็นเวลายาวนานกว่าประเทศอื่นใดในสงครามโลกครั้งที่สอง และทำการรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับกองกำลังสหรัฐอเมริกา อังกฤษและโซเวียตในการทัพที่สำคัญหลายครั้ง รวมไปถึงในยุทธการที่เบอร์ลินครั้งสุดท้าย ซึ่งกองกำลังติดอาวุธโปแลนด์ทางตะวันตกมีจำนวนกว่า 249,000 นาย (กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกมีจำนวนกว่า 4 ล้านนาย) และ 180,000 นายทางตะวันออก (กองทัพโซเวียตมีจำนวนกว่า 6 ล้านนาย) และมีอีกกว่า 300,000 นายที่ทำการรบใต้ดิน หรือในกองกำลังกู้ชาติ ในตอนปลายสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพโปแลนด์มีจำนวนกว่า 600,000 นาย โดยที่ไม่นับกองกำลังกู้ชาติhttp://www.ww2.pl/Polish,contribution,to,the,Allied,victory,in,World,War,2,(1939-1945),132.html ซึ่งทำให้โปแลนด์มีกองกำลังขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ในสงคราม รองมาจากสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร รัฐบาลผลัดถิ่นโปแลนด์เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นประธานาธิบดีโรสเวลต์ก็ยังนิ่งนอนใจได้เมื่อรัฐบาลโปแลนด์ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลหุ่นของโซเวียต โดยได้มีข้อสังเกตว่าโรสเวลต์ได้วางแผนที่จะมอบโปแลนด์ให้กับสตาลิน นักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เสนอว่า เชอร์ชิลล์กระตุ้นให้โรสเวลต์ดำเนินกิจการทางทหารต่อในทวีปยุโรป แต่ต่อต้านสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันการแสวงหาดินแดนเพิ่มเติมจากพรมแดนของตน รูสเวลต์ดูเหมือนว่าจะเชื่อใจในการรับประกันของสตาลินและปฏิเสธที่จะสนับสนุนเจรนาของเชอร์ชิลล์ในการรักษาเสรีภาพของทวีปยุโรปนอกเหนือจากอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยปราศจากการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรที่เหนื่อยอ่อน อดอยาก และแทบจะสิ้นเนื้อประดาตัวจึงไม่สามารถดำเนินการตามที่ตั้งใจเอาไว้ และถึงแม้ว่าจะมีการหนุนหลังจากสหรัฐอเมริกาก็ตาม ผลจากกิจการทางทหารนั้นก็ยังคงไม่แน่นอนอยู่มาก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และการทรยศโดยชาติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงที่พอซนาน ค.ศ. 1956

การประท้วงที่พอซนาน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และการประท้วงที่พอซนาน ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

รถถังโจเซฟ สตาลิน

รถถังโจเซฟ สตาลินหรือรถถังอิโอซิฟ สตาลิน (Ио́сиф Ста́лин,Iosif Stalin) หรือรถถัง IS เป็นรถถังหนักที่พัฒนาต่อเนื่องจาก รถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ โดยสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง รถถัง IS ได้รับการออกแบบด้วยเกราะหนาเพื่อตอบโต้ปืน 88 มิลลิเมตรของเยอรมันและมีปืนใหญ่ที่สามารถเอาชนะรถถังไทเกอร์และรถถังแพนเทอร์ได้ การพัฒนากระสุนระเบิดแรงสูงที่เป็นประโยชน์ในการทำลายสนามเพลาะและบังเกอร์ IS-2 ถูกนำไปใช้ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และรถถังโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

ลิทธิเบรจเนฟ

ลิทธิเบรจเนฟ (Доктрина Брежневав; Brezhnev Doctrine) เป็นนโยบายต่างประเทศของสหภาพโซเวียตครั้งที่แรกที่ระบุไว้อย่างชัดเจนมากที่สุดโดยเอ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และลิทธิเบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และสงครามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

อิมแร นอจ

อิมแร นอจ อิมแร นอจ (Imre Nagy) เป็นนักการเมืองคอมมิวนิสต์ชาวฮังการี ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการี (เทียบเท่ากับนายกรัฐมนตรี) 2 สมัย เขาเกิดในวันที่ 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และอิมแร นอจ · ดูเพิ่มเติม »

อีวาน โคเนฟ

อีวาน สเตปาโนวิช โคเนฟ (Ива́н Степа́нович Ко́нев; 28 ธันวาคม 1897– 21 พฤษภาคม 1973) เป็นผู้บัญชาการกองทัพโซเวียต ผู้นำกองทัพแดงในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง มีส่วนร่วมในการยึดดินแดนจำนวนมากในยุโรปตะวันออกกลับคืนมาจากภายใต้อำนาจปกครองของฝ่ายอักษะ และช่วยเหลือในการเข้ายึดกรุงเบอร์ลินของเยอรมนี ในปี 1956 โคเนฟได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกองกำลังแห่งกติกาสัญญาวอร์ซอ โคเนฟได้นำกองกำลังเข้าปราบปรามในเหตุการณ์การปฏิวัติฮังการีด้วยกองพลยานเกราะโซเวียต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และอีวาน โคเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และนีกีตา ครุชชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤศจิกายน

วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 308 ของปี (วันที่ 309 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 57 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956และ4 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การปฏิวัติในฮังการี ค.ศ. 1956

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »