โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การปฏิวัติฝรั่งเศส

ดัชนี การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

306 ความสัมพันธ์: ชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์ชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ชาร์ล็อต กอร์แดฟรันซิสโก โกยาฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็องพ.ศ. 2335พ.ศ. 2336พ.ศ. 2337พ.ศ. 2338พ.ศ. 2339พ.ศ. 2340พ.ศ. 2341พ.ศ. 2342พรมผนังพระราชวังฟงแตนโบลพระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลพระแม่มารีทองแห่งเอสเซินพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพลังอักษะ เฮตาเลียพวกคลั่งเจ้าพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์กร็อง-ปลัสกัสกอญกามีย์ เดมูแล็งการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงการฟื้นฟูเมจิการกวาดล้างใหญ่การก่อการกำเริบโดยประชาชนการทลายคุกบัสตีย์การทำให้เป็นประชาธิปไตยการปฏิรูปดินแดนในเยอรมนีการปฏิวัติอเมริกาการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789การ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสการเกณฑ์ทหารการเมืองฝรั่งเศสการเมืองฝ่ายขวาการเมืองฝ่ายซ้ายการเลิกล้มราชาธิปไตยการเสด็จสู่วาแรนกิโยตีนกุหลาบแวร์ซายส์ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้นภัตตาคารมหาวิหารแซ็ง-เรมีมหาวิหารแซ็ง-เดอนี...มหาวิหารเวเซอแลมหาวิทยาลัยปารีสมหาวิทยาลัยไมนซ์มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์มารี อ็องตัวแน็ตมารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสมาดาม ดูว์ บารีมูแล็ง (จังหวัดอาลีเย)ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3รอกามาดูร์รอแดซระบบการวัดระบบจราจรซ้ายมือและขวามือระบอบเก่ารัฐบาลพลัดถิ่นรัฐประหาร 18 บรูว์แมร์ราชรัฐมุขนายกลีแยฌราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์ออร์เลอ็องราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรฝรั่งเศสราชอาณาจักรปรัสเซียรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลรายชื่อทุพภิกขภัยรายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียลัทธิทำลายรูปเคารพลัทธิคอมมิวนิสต์ลัทธิประทับใจยุคหลังลามาร์แซแยซลามงตาญลำดับคุณค่าของศิลปะลุ่มแม่น้ำลัวร์วอลแตร์วังปาฏิหาริย์วังโชมงวังเชอนงโซวันบัสตีย์วิกตอร์ อูโกวิลเลียม เบลกสภากงว็องซียงแห่งชาติสภาห้าร้อยสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดนสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3สาธารณรัฐดัตช์สาธารณรัฐนิยมสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองสิทธิมนุษยชนสิทธิปฏิวัติสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสสงครามประสานมิตรสงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่งสงครามนโปเลียนหลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็องหลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บงหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์อัศวินฮอสปิทัลเลอร์อัสแซสซินส์ครีดอัสแซสซินส์ครีด (หนังสือชุด)อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตีอารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง)อารามฟงต์แนอารามรัวโยมงอารามวัลด์ซัสเซินอารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญอาร์ชเดอลาเดฟ็องส์อาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวลอาวีญงปาปาซีอาสนวิหารอาสนวิหารมากงอาสนวิหารลียงอาสนวิหารอานซีอาสนวิหารอาแฌ็งอาสนวิหารดักซ์อาสนวิหารนัวยงอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสอาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็องอาสนวิหารแรนอาสนวิหารแวร์ซายอาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์อาสนวิหารแปร์ปีญ็องอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลอาแล็กซ็องดร์ ดูว์มาอาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญอิมพีเรียลแอบบีย์อิลลูมินาตีอนุรักษนิยมอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศสอ็องเฌฌอร์ฌ กูตงฌอร์ฌ ด็องตงฌัก ปีแยร์ บรีโซฌัก แนแกร์ฌัก เอแบร์ฌัก-หลุยส์ ดาวีดฌากอแบ็งฌาน ดาร์กฌีรงแด็งฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ตฌ็อง-ฌัก รูโซฌ็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็สฌ็อง-ปอล มาราจอร์จ วอชิงตันจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จังหวัดบา-แร็งจังหวัดชาร็องต์จังหวัดชาร็องต์-มารีตีมจังหวัดบุช-ดูว์-โรนจังหวัดกอแรซจังหวัดการ์จังหวัดกาลวาโดสจังหวัดมอร์บีอ็องจังหวัดมอแซลจังหวัดมาร์นจังหวัดมาแยนจังหวัดม็องช์จังหวัดลอแซร์จังหวัดลอเตการอนจังหวัดลัวรัตล็องติกจังหวัดลัวแรจังหวัดลัวเรแชร์จังหวัดล็องด์จังหวัดล็อตจังหวัดอวซจังหวัดออร์นจังหวัดอาร์แดนจังหวัดอาลีเยจังหวัดอาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์จังหวัดอาแวรงจังหวัดอาเรียฌจังหวัดอีแซร์จังหวัดอีเลวีแลนจังหวัดฌูว์ราจังหวัดฌีรงด์จังหวัดดอร์ดอญจังหวัดซาร์ตจังหวัดปาดกาแลจังหวัดปุย-เดอ-โดมจังหวัดนอร์จังหวัดแชร์จังหวัดแมเนลัวร์จังหวัดแอนจังหวัดแอ็งดร์จังหวัดแอ็งเดรลัวร์จังหวัดแฌร์จังหวัดแซเนมาร์นจังหวัดโกต-ดอร์จังหวัดโกต-ดาร์มอร์จังหวัดโวฌจังหวัดโอบจังหวัดโอต-การอนจังหวัดโอต-มาร์นจังหวัดโอต-ลัวร์จังหวัดโอตซาลป์จังหวัดโดรมจังหวัดโซเนลัวร์จังหวัดเมิซจังหวัดเวียนจังหวัดเออร์จังหวัดเออเรลัวร์จังหวัดเอโรจังหวัดเดอ-แซฟวร์จังหวัดเคริซจังหวัดเนียฟวร์จิตรกรรมประวัติศาสตร์ธงชาติฝรั่งเศสธงขาวธงแดงทอมัส คาร์ลีลย์ดยุกแห่งบราบันต์ดัสลีดแดร์ดอยท์เชินคริสต์ทศวรรษ 1790ความตกลง ค.ศ. 1801ความโปร่งใสความเสมอภาคทางสังคมความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลคำปฏิญาณสนามเทนนิสคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมงานกระจกสีงานแต่งงานของฟิกาโรตอสกาตูแรนฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)ซินเดอเรลล่าปฏิวัติปฏิวัติฝรั่งเศสประชาธิปไตยประชาธิปไตยเสรีนิยมประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์สหรัฐประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์ออสเตรียประวัติศาสตร์อังกฤษประวัติศาสตร์เยอรมนีประเทศฝรั่งเศสประเทศเบลเยียมปลัสเดอลากงกอร์ดปอล บารัสปัญหาชาวยิวปัญหาเยอรมันปารีสปาแลเดปัปนอสตราเดมัสนายช่างแห่งนักบุญไจลส์นีเซฟอร์ เนียปส์แมซงดูว์รัวแวร์ซายแอมานุแอล โฌแซ็ฟ ซีเยแย็สแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซแอ็กซ็องพรอว็องส์แซ็งต์-ชาแปลโลกที่หนึ่งโฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็งโฌเซฟีน เดอ โบอาร์แนโดแฟ็งแห่งฝรั่งเศสเกย์ไอคอนเรลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปลเรอเน เดการ์ตเรื่องของสองนครเสรีภาพเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพเสรีภาพในการพูดเสรีนิยมเหตุการณ์แดรฟุสเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงเออแฌน เดอ โบอาร์แนเออแฌน เดอลาครัวเออเฌนี เดอ มอนตีโค จักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสเอ็ดมันด์ เบิร์กเจ้าชายสืบสายพระโลหิตเจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สจวร์ตเทศบาลในประเทศฝรั่งเศสเครือราชรัฐบูร์กอญเคานต์แห่งแฟลนเดอส์เคาน์ตีอาร์ตัวเนินปราสาท10 สิงหาคม14 กรกฎาคม16 ตุลาคม17 มิถุนายน20 มิถุนายน21 กันยายน21 มกราคม26 สิงหาคม5 กันยายน8 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (256 มากกว่า) »

ชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์

ร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์ (Charles Maurice de Talleyrand-Périgord) หรือ เจ้าชายแห่งเบแนว็อง (Prince de Bénévent) เป็นนักการเมือง, นักการทูตและพระชาวฝรั่งเศส หลังจากจบการศึกษาด้านเทววิทยา ในปี 1780 เขาก็ได้ดำรงตำแหน่งพระราชาคณะ และเป็นผู้แทนของราชสำนักในการปกครองสังฆมณฑลคาทอลิกในฝรั่งเศส เขาประสบความสำเร็จอย่างสูงสุดในราชสำนักฝรั่งเศส และได้เป็นรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศหรือตำแหน่งทางการทูตที่สำคัญหลายครั้ง ระยะเวลารับราชการของเขากินเวลายาวนานตั้งแต่ราชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ผ่านช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเข้าสู่รัชกาลของจักรพรรดินโปเลียน และไปสิ้นสุดลงในรัชกาลพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 ตาแลร็องเป็นมันสมองด้านการทูตในช่วงที่นโปเลียนเรืองอำนาจและฝรั่งเศสสามารถพิชิตดินแดนมากมายในทวีปยุโรป แต่โดยส่วนใหญ่แล้ว งานของตาแลร็องคืองานด้านสันติภาพ โดยการเจรจาสงบศึกระหว่างฝรั่งเศสกับประเทศต่างๆ อาทิ เขาสามารถเจรจาสงบศึกกับออสเตรียในปี 1801 ผ่านสนธิสัญญาลูว์เนวีล และกับอังกฤษในปี 1802 ผ่านสนธิสัญญาอาเมียง แม้ตาแลร็องจะไม่สามารถยับยั้งสงครามให้ปะทุขึ้นมาใหม่ในปี 1803 แต่ก่อนปี 1805 เขาสามารถโน้มน้าวนโปเลียนไม่ให้ทำสงครามกับออสเตรีย, ปรัสเซีย และ รัสเซีย แม้เขาจะลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีการต่างประเทศในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์

ซฟี ชาร์ลอตต์ ฟอน เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (Sophie Charlotte von Mecklenburg-Strelitz) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ พระนางเป็นคู่อภิเษกสมรสในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร ทำให้พระนางมียศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์หลังการสมรสในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล็อต กอร์แด

มารี-อาน ชาร์ล็อต เดอ กอร์แด ดาร์มง (Marie-Anne Charlotte de Corday d'Armont) หรือเรียกอย่างสั้นว่า ชาร์ล็อต กอร์แด เป็นบุคคลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เธอถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนใน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและชาร์ล็อต กอร์แด · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก โกยา

ฟรันซิสโก โกยา ฟรันซิสโก โกยา (Francisco Goya) ชื่อเต็ม ฟรันซิสโก โคเซ เด โกยา อี ลูเซียนเตส (Francisco José de Goya y Lucientes) 30 มีนาคม พ.ศ. 2289 (ค.ศ. 1746) - 16 เมษายน พ.ศ. 2371 (ค.ศ. 1828) จิตรกรและศิลปินภาพพิมพ์แนวศิลปะจินตนิยม (Romanticism) ชาวสเปน ได้รับการยกย่องว่าทั้งเป็น "Old Master" คนสุดท้ายและเป็นศิลปินแนวสมัยใหม่คนแรก เขาวาดทิวทัศน์งดงามในสไตล์โรโคโคได้อย่างสมบูรณ์แบบไม่เหมือนจิตรกรชาวสเปนท่านอื่น ฟรันซิสโก โกยา เป็นแรงบันดาลใจให้กับศิลปินรุ่นหลังในแนวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น แนวสำแดงพลังอารมณ์ (Expressionist) หรือ แนวเหนือจริง (Surrealist) ต่างได้รับแรงบันดาลใจจากฟรานซิสโก เด โกยาทั้งสิ้น เขาถูกแต่งตั้งให้เป็นจิตรกรราชสำนักคนแรกของสเปน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฟรันซิสโก โกยา · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง

ฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง (Philippe I, fils de France, Duke of Orléans) ฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็องเป็นพระราชโอรสองค์ที่สองที่รอดชีวิตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสและอานน์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส และทรงเป็นพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส การเป็นพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ทำให้ฟิลิปจึงมีบรรดาศักดิ์เป็น “ฟิลส์เดอฟรองซ์” ใช้ “เดอฟรองซ์” เป็นนามสกุล ฟิลิปสมรสสองครั้ง ครั้งแรกกับเจ้าหญิงเฮนเรียตตา แอนน์ สจวตแห่งอังกฤษผู้เป็นพระราชธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และ เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ ครั้งที่สองกับเอลิซาเบ็ธ ชาร์ลอตต์ แห่งพาลาทิเนทผู้ที่ฟิลิปร่วมก่อตั้งราชวงศ์ออร์เลอ็องซึ่งเป็นสาขาของราชวงศ์บูร์บองและสร้างฐานะร่ำรวยขึ้นมาแต่มาวอดวายไปหมดระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2335

ทธศักราช 2335 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1792 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2335 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2337

ทธศักราช 2337 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2337 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2338 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2339

ทธศักราช 2339 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1796 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2339 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2340

ทธศักราช 2340 ตรงกับคริสต์ศักราช 1797 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2340 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2341

ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2341 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพ.ศ. 2342 · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนัง

การแขวนพรมบนผนังโกบลินที่วังลินเดอร์โฮฟ ราวปี ค.ศ. 1900 พรมผนัง หรือ พรมแขวนผนัง (tapestry) เป็นงานศิลปะสิ่งทอ ซึ่งทอด้วยมือบนกี่ตั้งที่เส้นด้ายพุ่งซ่อนเส้นด้ายยืนหมดเมื่อทำเสร็จ ซึ่งต่างจากการทอผ้า อาจเห็นทั้งด้ายเส้นยืนและเส้นพุ่ง การทำเช่นนี้ทำให้เกิดลวดลายหรือภาพ ผู้ทอมักจะใช้ด้ายยืนที่ทำจากลินินหรือฝ้าย ส่วนด้ายพุ่งอาจจะเป็นขนแกะ, ฝ้าย หรือไหม หรือบางครั้งก็ใช้ด้ายที่ทำจากทอง, เงิน หรือวัสดุอื่นๆ ด้วย ทั้งช่างและศิลปินเป็นผู้สร้างงานพรมทอ ก่อนอื่นศิลปินจะร่างแบบ ที่เรียกกันว่า “tapestry cartoon” เพื่อให้ช่างทอตามแบบที่ร่าง ห้วเรื่องที่ทอก็อาจจะมาจากคัมภีร์ไบเบิล, ตำนานเทพ หรือฉากล่าสัตว์ ซึ่งจะเป็นที่นิยมทำกันในการตกแต่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพรมผนัง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังฟงแตนโบล

ระราชวังฟงแตนโบล (Palace of Fontainebleau, Château de Fontainebleau) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ราว 55 กิโลเมตรจากศูนย์กลางของกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส ที่เป็นพระราชวังหลวงที่ใหญ่ที่สุดพระราชวังหนึ่งของฝรั่งเศส สิ่งก่อสร้างที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นงานที่สร้างขึ้นและต่อเติมเปลี่ยนแปลงโดยพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ ส่วนที่ก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นส่วนที่สร้างโดยพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 “พระราชวังฟงแตนโบล” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระราชวังฟงแตนโบล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล

ระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (Château de Saint-Germain-en-Laye) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลในจังหวัดอีฟว์ลีนในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส ราว 19 กิโลเมตรทางตะวันตกของปารีส ในปัจจุบันพระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งชาต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน

ระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน (Golden Madonna of Essen) เป็นประติมากรรมของพระแม่มารีและพระบุตรที่มีแกนที่สลักจากไม้แล้วปิดด้วยทองคำเปลว พระแม่มารีทองแห่งเอสเซินเป็นส่วนหนึ่งของสมบัติของมหาวิหารเอสเซินที่เดิมเป็นแอบบีเอสเซินในนอร์ดไรน์-เวสต์ฟาเลนในเยอรมนี และตั้งแสดงอยู่ในมหาวิหาร “พระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน” ที่เป็นงานประติมากรรมที่สันนิษฐานกันว่าสร้างราวปี ค.ศ. 980 เป็นประติมากรรมทั้งที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบของพระแม่มารีและพระบุตร และเป็นประติมากรรมลอยตัวที่เก่าแก่ที่สุดของทางตอนเหนือของเทือกเขาแอลป์ และเป็นงานชิ้นสำคัญที่ยังคงเหลืออยู่จากสมัยออตโตเนียน พระแม่มารีทองแห่งเอสเซินยังคงเป็นประติมากรรมอันเป็นที่สักการะของคริสต์ศาสนิกชนและเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นพลเมืองของประชากรในภูมิภาครูห์ พระแม่มารีทองเป็นงานชิ้นเดียวที่ยังอยู่ครบทั้งองค์ของลักษณะงานประติมากรรมที่ดูเหมือนจะเป็นงานประติมากรรมที่สร้างกันเป็นสามัญในบรรดาคริสต์ศาสนสถานหรือแอบบีที่มีฐานะดีของคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง 11 ทางตอนเหนือของยุโรป งานบางชิ้นของงานลักษณะนี้มีขนาดเท่าคนจริง โดยเฉพาะรูปสลักพระเยซูตรึงกางเขน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ. 1824) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักว่า "ผู้ปรารถนา" (le Désiré) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์บูร์บงผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและนาวาร์ตั้งแต..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส (Dom João VI de Portugal, ออกเสียง) มีพระนามเต็มว่า ฌูเอา มารีอา ฌูเซ ฟรังซิชกู ชาวีเอร์ ดึ เปาลา ลูอิช อังตอนีอู ดูมิงกุช ราฟาเอล ดึ บรากังซา (João Maria José Francisco Xavier de Paula Luís António Domingos Rafael de Bragança; 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2310 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2369) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ ตั้งแต..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พลังอักษะ เฮตาเลีย

ลังอักษะ เฮตาเลีย เขียนโดย ฮิมะรุยะ ฮิเดคาสึ โดยเขียนเป็นการ์ตูนลงในเว็บไซต์ ก่อนที่จะได้ออกเป็นหนังสือการ์ตูน และกลายเป็นแอนิเมชันในที่สุด ลักษณะพิเศษของเรื่องนี้คือการสร้างตัวละครขึ้นมาเป็นตัวแทนของประเทศต่างๆในโลก และนำเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ยุคสงครามโลกและปัจจุบันมาเล่าอย่างน่ารัก โดยเลียนแบบลักษณะของคนในชาตินั้นๆ เช่น ให้อิตาลีชอบกินพาสต้า ให้รัสเซียไม่ชอบอากาศหนาว หรือให้อเมริกาชอบแฮมเบอเกอร์ ในเรื่องนี้การรวมประเทศเข้าด้วยกัน หมายถึง การแต่งงานของตัวละคร การทำสัมพันธมิตร หมายถึง การเป็นเพื่อนกัน และการแยกประเทศ หมายถึง การหย่าร้างของตัวละคร หรือเป็นการตัดขาดจากการเป็นเพื่อน ชื่อเรื่องเฮตาเลียเกิดจากการรวมสองคำเข้าด้วยกัน ได้แก่ Hetare (ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่าใช้ไม่ได้) และ Italia (ชื่อของประเทศอิตาลีในภาษาอิตาลี) เมื่อนำมารวมกันแล้ว เฮตาเลียจึงมีความหมายว่า "อิตาลีผู้ไม่ได้เรื่อง" การตั้งชื่อดังกล่าวนี้เป็นการล้อเลียนถึงความอ่อนแอของอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เดิมฮิมะรุยะเขียนเรื่องเฮตาเลียลงในเว็บไซต์ส่วนตัวในลักษณะเว็บคอมมิค ต่อมาจึงได้มีการรวบรวมตีพิมพ์เป็นรูปเล่มโดยสำนักพิมพ์เก็นโตฉะครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2008 ปัจจุบันมีการตีพิมพ์รวมเล่มแล้ว 3 เล่ม ต่อมาจึงได้มีการดัดแปลงการตูนชุดนี้ในรูปแบบของดราม่าซีดีและภาพยนตร์แอนิเมชั่นโดยสตูดิโอดีน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

พวกคลั่งเจ้า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ซึ่งพวกคลั่งเจ้าเห็นว่า ทรงประนีประนอมเกินไป พวกคลั่งเจ้า (Ultra-Royalist หรือ Ultra) เป็นกลุ่มหัวเอียงขวาในรัฐสภาฝรั่งเศสตั้งปี 1815 ถึง 1830 ซึ่งเป็นช่วงนำราชวงศ์บูร์บงคืนสู่ราชบัลลังก์ (Bourbon Restoration) ช่วงนั้น การเลือกตั้งตามสำมะโน (census suffrage) ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่แต่ละบุคคลมีคะแนนเสียงไม่เท่าเทียมกันขึ้นอยู่กับสถานภาพตามทะเบียนสำมะโนนั้น ส่งผลให้พวกคลั่งเจ้าได้เสียงข้างมากในสภาผู้แทน (Chamber of Deputies) ถึงสองครั้ง คือ ตั้งแต่ปี 1815 ถึง 1816 และตั้งแต่ปี 1824 ถึง 1827 ในเวลาดังกล่าว สภาได้รับสมญาว่า "สภาทุรคม" (Chambre introuvable) และพวกคลั่งเจ้าซึ่งขึ้นชื่อว่า "ทำตัวเป็นเจ้ายิ่งกว่ายิ่งเจ้า" (plus royalistes que le roi) ได้ครองเสียงข้างมากเด็ดขาดภายใต้การปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 (Louis XVIII) มาจนถึงพระเจ้าชาลส์ที่ 10 (Charles X) พวกคลั่งเจ้าดังกล่าวไม่สนับสนุนแนวคิดเสรีนิยม สาธารณรัฐนิยม และประชาธิปไตย พวกเขาไม่ต้องการให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ทรงดำเนินการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ทั้งยังต่อต้านการจำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ เพราะหมายจะบูรณะระบอบเก่า (Ancien Régime) และขจัดความแตกแยกซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิวัติฝรั่งเศส แต่พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 เองทรงหวังที่จะลดทอนการนำระบอบเก่ากลับมาอีกครั้ง เผื่อประชาชนจะยอมรับระบอบเก่าได้บ้าง เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 สวรรคตในปี 1824 พวกคลั่งเจ้าเสียกำลังใจอย่างยิ่ง อย่างไรก็ดี พระเจ้าชาลส์ที่ 10 ซึ่งเคยเป็นผู้นำพวกคลั่งเจ้าต่อต้านพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ใหม่ และร่วมมือกับพวกคลั่งเจ้าในการนำประเทศไปสู่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ครั้นเดือนมกราคม 1825 รัฐบาลซึ่งมีฌอแซฟ เดอ วีย์แลล (Joseph de Villèle) ผู้นำพวกคลั่งเจ้า เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ตราพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการเหยียดหยามศาสนา (Anti-Sacrilege Act) เพื่อกำหนดให้การลักสิ่งเคารพทางศาสนาต้องระวางโทษประหารชีวิต ฌ็อง-นอแอล ฌ็อนเนย์ (Jean-Noël Jeanneney) นักประวัติศาสตร์ เรียกขานพระราชบัญญัตินี้ว่าเป็น "กฎหมายมิคสัญญี" (anachronic law) นอกจากนี้ พวกคลั่งเจ้ายังประสงค์จะจัดตั้งศาลเพื่อจัดการพวกนิยมการเปลี่ยนถึงรากฐาน (radicalism) และจะตรากฎหมายเพื่อจำกัดเสรีภาพของสื่อด้วย ทว่า ในปี 1830 นั้นเอง เกิดการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมเสียก่อน เป็นเหตุให้พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 (Louis Philippe I) ราชนิกุลออร์เลอ็อง (Orléans) ซึ่งสนับสนุนนโยบายเสรีนิยม ได้เสวยราชย์ ส่วนพวกคลั่งเจ้าต้องพ้นจากอำนาจและล่าถอยไปอยู่อาศัยอย่างสันโดษในแถบชนบท พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปทรงยกเลิกพระราชบัญญัติข้างต้นในไม่กี่เดือนหลังทรงครองราชย์ แต่พวกคลั่งเจ้ายังมีอิทธิพลอยู่ต่อไปจนถึงปี 1879 เป็นอย่างน้อย ครั้นเกิดวิกฤติการณ์ 16 พฤษาคม 1877 อำนาจราชศักดิ์ของพวกคลั่งเจ้าลดน้อยถอยลงไปมากยิ่ง เขาเหล่านั้นจึงบรรเทาความสุดโต่งในแนวคิด และตั้งเป้าหมายใหม่เป็นการนำราชวงศ์บูร์บง (Bourbon) หวนคืนสู่ราชบัลลังก์อีกครั้ง นับแต่นั้น พวกคลั่งเจ้าจึงได้ชื่อใหม่ว่า "เหล่าผู้สืบสิทธิโดยนิติธรรม" (Legitimists) ปัจจุบัน พวกคลั่งเจ้า (ultra-royalist) สามารถหมายถึง บุคคลซึ่งนิยมเจ้าอย่างยิ่งยว.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพวกคลั่งเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์

Russian Empire พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ (หรือ มหาสัมพันธมิตร) เป็นพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยรัสเซีย ออสเตรีย และปรัสเซีย ซึ่งก่อตั้งและลงนามโดยชาติทั้งสามในกรุงปารีส เมื่อวันที่ 26 กันยายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

กร็อง-ปลัส

ัตุรัสหลักแห่งบรัสเซลส์ หรือ กร็อง-ปลัสเดอบรูว์แซล (Grand-Place de Bruxelles) และ โกรเทอมาคท์ (Grote Markt) คือจัตุรัสกลางบรัสเซลส์ซึ่งรายล้อมด้วยเหล่าอาคารเก่าอันสวยงามและกลมกลืนกันทางสถาปัตยกรรม และถือว่าเป็นจัตุรัสที่สวยที่สุดในโลก โดยเฉพาะออแตลเดอวีล (Hôtel de Ville de Bruxelles) และแมซงดูว์รัว (Maison du Roi) จัตุรัสแห่งนี้ถือเป็นบริเวณที่สำคัญที่สุดในการท่องเที่ยวและยังถือเป็นจุดหมายตาที่สำคัญแห่งหนึ่งของเบลเยียมอีกด้วย กร็อง-ปลัสแห่งนี้มีขนาดความกว้าง 68 เมตร ยาว 110 เมตร ในปัจจุบัน จัตุรัสแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและกร็อง-ปลัส · ดูเพิ่มเติม »

กัสกอญ

แผนที่กัสกอญแสดงอาณาบริเวณกว้าง ๆ โดยทั่วไป แผนที่อื่นอาจจะแสดงบริเวณที่แคบกว่า กัสกอญ (Gascogne) หรือ แกสโคนี (Gascony) คืออาณาบริเวณทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศสปัจจุบันที่เป็นส่วนหนึ่งของ “จังหวัดกุยแยนและกัสกอญ” ก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศส ความแตกต่างระหว่างกุยแยนและกัสกอญไม่ชัดแจ้งและบางครั้งก็เหลื่อมล้ำกันและบางครั้งกัสกอญก็เป็นส่วนหนึ่งของกุยแยน แต่โดยความหมายทั่วไปแล้ว กัสกอญตั้งอยู่ทางตะวันออกและทางใต้ของบอร์โด หมวดหมู่:จังหวัดในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและกัสกอญ · ดูเพิ่มเติม »

กามีย์ เดมูแล็ง

ลูว์ซี แซ็งปลิส กามีย์ เบอนัว เดมูแล็ง (Lucie Simplice Camille Benoît Desmoulins) เป็นบรรณาธิการและนักการเมืองชาวฝรั่งเศส เขามีบทบาทสำคัญในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเพื่อนกับมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์มาตั้งแต่เด็ก และยังเป็นเพื่อนสนิทและพันธมิตรทางการเมืองของฌอร์ฌ ด็องตง ซึ่งเป็นผู้ทรงอิทธิพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ต่อมาในสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวเมื่อคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมคิดถอนรากถอนโคนอำนาจของด็องตง เดมูแล็งก็ถูกจับกุมและประหารชีวิตด้วยกิโยตีนพร้อมกับด็องตง กามีย์ เดมูแล็งเกิดในปีการ์ดี เป็นบุตรของพลโท ฌ็อง เบอนัว นีกอลา เดมูแล็ง เมื่ออายุได้ 14 ปีเขาได้รับทุนการศึกษาเพื่อเข้าเรียนที่กอแลฌลูย-เลอ-กร็อง (Collège Louis-le-Grand) ในกรุงปารีส เขาได้รู้จักกับมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ และทั้งสองคนต่างได้เป็นนักเรียนดีเด่นของที่นั่น เดมูแล็งมีความเชี่ยวชาญเรื่องวรรณกรรมคลาสสิกและการเมือง เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการของฌอร์ฌ ด็องตง รัฐมนตรียุติธรรมในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และต่อมาได้รับคัดเลือกให้เข้าเป็นสมาชิกสภากงว็องซียงแห่งชาติ เขาเป็นผู้ร่วมลงมติสนับสนุนการสถาปนาสาธารณรัฐและสนับสนุนการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและกามีย์ เดมูแล็ง · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง (La Restauration; ลาเรสโตราซียง) คือช่วงเวลาหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสซึ่งเริ่มตั้งแต่จักรพรรดินโปเลียนก้าวลงจากพระราชอำนาจในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูเมจิ

การฟื้นฟูพระราชอำนาจสมัยเมจิ (Meiji Restoration) หรือ การปฏิวัติเมจิ (Meiji Revolution) การปฏิรูปเมจิ (Meiji Reform) หรือ การปรับปรุงเมจิ (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศญี่ปุ่นในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการฟื้นฟูเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

การกวาดล้างใหญ่

อัยการสูงสุด อันเดรย์ วืยชินสกี (คนกลาง), กำลังอ่านข้อกล่าวหาต่อ Karl Radek ในช่วง การพิจารณาคดีมอสโกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2481 การกวาดล้างครั้งยิ่งใหญ่ (Большо́й терро́р, Great Purge) หรือ ความน่ากลัวอันยิ่งใหญ่ (Great Terror) เป็นการปราบปรามทางการเมืองในสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการกวาดล้างใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบโดยประชาชน

การก่อการการกำเริบโดยประชาชน (People's uprising) เป็นคำศัพท์ทางการเมืองที่หมายถึง การลุกขึ้นต่อต้านอำนาจผู้ปกครองหรือภาครัฐอันกระทำโดยประชาชนที่พร้อมใจกันในประเทศใดประเทศหนึ่ง เป็นการต่อต้านในประเด็นที่ต่างกันออกไป เช่น การต่อต้านการสืบทอดอำนาจ การต่อต้านระบอบอำนาจนิยมแบบเบ็ดเสร็จ หรือการต้องการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นต้น ในบางครั้ง การก่อการการกำเริบโดยประชาชนอาจจะพัฒนาไปสู่การเป็นกระบวนการทางการเมืองที่เป็นรูปเป็นร่างเป็นระบบที่มั่นคงขึ้นต่อไปได้ เช่น พรรคบอลเซวิคที่เกิดขึ้นหลังการกำเริบรัสเซีย เป็นต้น ตัวอย่างของการก่อการกำเริบโดยประชาชน เช่น การกำเริบฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ. 1789-ค.ศ. 1799, เหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู, การก่อการกำเริบ 8888, การประท้วงต่อต้านรัฐบาลในพม่า พ.ศ. 2550 ในทางการเมืองไทย ปรากฏการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนที่ปรากฏเด่นชัดได้แก่ การประท้วงการเลือกตั้งสกปรก พ.ศ. 2500, เหตุการณ์ 14 ตุลา และเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการก่อการกำเริบโดยประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

การทลายคุกบัสตีย์

การทลายคุกบัสตีย์ (Prise de la Bastille; Fall of the Bastille) คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการทลายคุกบัสตีย์ · ดูเพิ่มเติม »

การทำให้เป็นประชาธิปไตย

การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการทำให้เป็นประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปดินแดนในเยอรมนี

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1789 เป็นภาพของรัฐจำนวนมาก การปฏิรูปดินแดนในเยอรมนี (German Mediatisation) เป็นการปฏิรูปอาณาเขตการปกครองทั้งทางฆราวัสจักรและสังฆาจักร (Mediatisation และ Secularisation) ในเยอรมนีที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิรูปดินแดนในเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789

ีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ พระราชวังแวร์ซาย กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การประชุมสภาฐานันดร..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789 · ดูเพิ่มเติม »

การ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

้าหญิงการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน (Doña Carlota Joaquina; 25 เมษายน พ.ศ. 2318 - 7 มกราคม พ.ศ. 2373) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งสเปนเมื่อครั้งประสูติและหลังจากนั้นทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส เป็นพระราชธิดาองค์โตในพระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปนกับเจ้าหญิงมาเรีย ลุยซาแห่งปาร์มา และพระนางเป็นพระมเหสีในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

การเกณฑ์ทหาร

ม่มีข้อมูล การเกณฑ์ (conscription) เป็นการรับสมัครบุคคลโดยบังคับในราชการบางอย่างของชาติ ซึ่งเป็นราชการทหารมากที่สุด การเกณฑ์มีมาแต่โบราณ และปัจจุบันยังคงอยู่ในบางประเทศโดยมีชื่อหลากหลาย ระบบการเกณฑ์ชายหนุ่มแทบทุกคน (near-universal) ทั่วประเทศสมัยใหม่มีมาแต่การปฏิวัติฝรั่งเศสในคริสต์ทศวรรษ 1790 ซึ่งการเกณฑ์ทหารได้กลายมาเป็นพื้นฐานของกองทัพขนาดใหญ่และทรงพลัง ภายหลังชาติยุโรปส่วนมากลอกระบบดังกล่าวในยามสงบ ฉะนั้นชายที่มีอายุตามกำหนดต้องรับราชการ 1–8 ปีในกองประจำการ แล้วจึงโอนไปกองเกิน การเกณฑ์ทหารเป็นที่ถกเถียงกันด้วยหลายเหตุผล รวมทั้งการคัดค้านการสู้รบโดยอ้างมโนธรรมบนเหตุผลด้านศาสนาหรือปรัชญา การคัดค้านทางการเมือง ตัวอย่างเช่น การรับราชการรัฐบาลหรือสงครามซึ่งไม่เป็นที่นิยม และการคัดค้านทางอุดมการณ์ ตัวอย่างเช่น เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลที่รับรู้ บางครั้งผู้ถูกเกณฑ์ทหารอาจหลบเลี่ยงราชการโดยการออกนอกประเทศ ระบบการคัดเลือกบางระบบปรับให้เข้ากับทัศนคติเหล่านี้โดยการจัดราชการทางเลือกที่ไม่ใช่บทบาทปฏิบัติการรบหรือไม่ใช่ทหารอย่างสิ้นเชิง เช่น ซีวิลดีนสท์ (ราชการพลเรือน) ในประเทศออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์ ประเทศที่แยกออกจากสหภาพโซเวียตส่วนมากเกณฑ์ทหารไม่เพียงเข้ากองทัพเท่านั้น แต่รวมถึงองค์การกึ่งทหารซึ่งมีหน้าที่ในราชการเฉพาะในประเทศคล้ายตำรวจ (หน่วยทหารภายใน) หรือหน้าที่กู้ภัย (หน่วยป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน) ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ไม่ถือว่าเป็นทางเลือกของการเกณฑ์ทหาร ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 หลายประเทศไม่เกณฑ์ทหารอีกต่อไป แต่อาศัยทหารอาชีพที่มาจากอาสาสมัครที่ได้รับสมัครตามความต้องการกำลังพล อย่างไรก็ดี หลายรัฐที่ได้ยกเลิกการเกณฑ์ทหารไปแล้วยังสงวนอำนาจที่จะรื้อฟื้นการเกณฑ์ทหารในยามสงครามหรือเกิดวิกฤตการณ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการเกณฑ์ทหาร · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองฝรั่งเศส

การเมืองฝรั่งเศส เป็นการปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย กึ่งประธานาธิบดี โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล และระบอบพรรคการเมือง รัฐบาลใช้อำนาจผ่านทางบริหาร รัฐสภาและรัฐบาลใช้อำนาจผ่านทางนิติบัญญัติ ส่วนอำนาจตุลาการเป็นอิสระจากอำนาจบริหารและนิติบัญญัต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการเมืองฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองฝ่ายขวา

ฝ่ายขวา หมายถึง กลุ่มอนุรักษนิยม เป็นกลุ่มที่มีแนวคิดว่าการปกครองโดยการกระจายอำนาจแบบเท่าเทียมจะไม่สามารถทำได้ เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าการปกครองเป็นเรื่องของชนชั้นนำ หรืออภิสิทธิ์ชนเท่านั้น และยังเป็นพวกต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ เป็นแนวคิดอำนาจนิยม ซึ่งแนวคิดนี้จะตรงข้ามกับฝ่ายซ้าย แนวคิดทางเศรษฐกิจของฝ่ายขวา คือ ไม่ต้องการให้มีการตั้งสหภาพแรงงาน เพราะคิดว่าเป็นภัยทำให้แรงงานมีอำนาจต่อรองกับบริษัท ซึ่งฝ่ายขวาไม่เห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว โดยฝ่ายซ้าย มองว่าในการตั้งสหภาพแรงงานนั้น เป็นการสร้างเศรษฐกิจที่ทุกคนมีส่วนร่วม คำว่าฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวาในทางการเมือง เริ่มใช้มาตั้งแต่ยุคการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่มีการแบ่งพื้นที่การนั่งประชุมในสภาสมัชชาแห่งชาติ โดยตัวแทนของกลุ่มชนชั้นกรรมกร ชาวนา ชาวไร่ จะนั่งอยู่ทางซ้ายของประธานสมัชชา และฝ่ายตัวแทนของขุนนาง ทหาร นักบวช จะนั่งทางขวามือของประธานฯ ทำให้เป็นธรรมเนียมเรียกฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา ตั้งแต่นั้นม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการเมืองฝ่ายขวา · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองฝ่ายซ้าย

การเมืองฝ่ายซ้าย คือ ฐานะหรือกิจกรรมทางการเมืองที่ยอมรับหรือสนับสนุนความเสมอภาคทางสังคม มักคัดค้านลำดับชั้นทางสังคมและความไม่เสมอภาคทางสังคม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับความกังวลต่อผู้ที่ในสังคมถูกมองว่าด้อยโอกาสเมื่อเทียบกับผู้อื่นและความเชื่อที่มีความไม่เสมอภาคอย่างไม่มีเหตุผลจำต้องลดหรือเลิกLukes, Steven.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการเมืองฝ่ายซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การเสด็จสู่วาแรน

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส, พระชายา และพระราชโอรส-ธิดา ขณะฉลองพระองค์ปลอมเป็นกระฎุมพี ถูกจับกุม ณ เมืองวาแรน การเสด็จสู่วาแรน (Fuite à Varennes; เกิดขึ้นในคืนวันที่ 20 ย่างเช้าวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1791) คือเหตุการณ์สำคัญในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เป็นเหตุการณ์ซึ่งพระเจ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส, พระราชินีมารี อ็องตัวแน็ต และพระบรมวงศานุวงศ์ใกล้ชิด ทรงล้มเหลวในความพยายามเสด็จหนีออกจากปารีสเพื่อที่จะทรงริเริ่มการปฏิวัติต่อต้าน จุดหมายปลายทางคือออสเตรียที่ซึ่งพระนางมารี อ็องตัวแน็ตประสูติและเจริญพระชันษามา อีกทั้งยังทรงตระหนักดีว่าจะทรงปลอดภัยจากข้อตกลงระหว่างฝรั่งเศสและออสเตรียที่เพิ่งค้นพบใหม่ แต่ก็ทรงล้มเหลวเมื่อเสด็จไปได้ไกลเพียงเมืองวาแรน เหตุการณ์นี้นับเป็นจุดพลิกผันของการปฏิวัติเนื่องจากทำให้การต่อต้านระบอบกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสในฐานะสถาบันและการต่อต้านองค์กษัตริย์และพระราชินีในฐานะปัจเจกบุคคลมีความเด่นชัดเพิ่มมากขึ้น ความพยายามครั้งนี้ทำให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงถูกตั้งข้อกล่าวหาการกบฏจนในท้ายที่สุดนำไปสู่การสำเร็จโทษในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการเสด็จสู่วาแรน · ดูเพิ่มเติม »

กิโยตีน

กีโยตีนในอังกฤษ โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน กิโยตีน (guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและกิโยตีน · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบแวร์ซายส์

กุหลาบแวร์ซายส์ หรือที่รู้จักกันในชื่อของภาษาอังกฤษคือ "เลดีออสการ์" (Lady Oscar) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องและภาพโดยริโยโกะ อิเคดะ กุหลาบแวร์ซายส์เป็นหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักอย่างดีทั่วโลก ถูกตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารมาร์กาเร็ตของสำนักพิมพ์ชูเออิชา ในปี พ.ศ. 2516 และประสบความสำเร็จในทันทีที่วางจำหน่าย ได้รับการตอบรับจากนักอ่านเป็นจำนวนมาก ต่อมาได้ถูกดัดแปลงเนื้อเรื่องจากการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นละครเวทีภาพยนตร์ชุดการ์ตูนและบัลเลต์ ซึ่งในการแสดงละครเวทีในภาคโอเปร่า ริโยโกะ อิเคดะ ผู้แต่งได้มีส่วนร่วมในการประพันธ์คำร้องสำหรับใช้ในการแสดงละครเวทีในภาคโอเปร่าอีกด้วย กุหลาบแวร์ซายส์ถูกดัดแปลงเป็นละครเวที ที่ได้รับการตอบรับจากผู้ชมเป็นอย่างยิ่ง และกลายเป็นละครเวทีที่มีการเปิดการแสดงมากรอบที่สุดเช่นกันตามรายงานของนิตยสารทาการาซุกะ รีวิว ในปี พ.ศ. 2526 หนังสือการ์ตูนสองชุดแรกของกุหลาบแวร์ซายส์ ได้รับการแปลจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาอังกฤษโดยเฟรเดริก แอล. ชอดต์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสอนภาษาอังกฤษให้กับชาวญี่ปุ่น และยังได้จัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนืออีกด้วย กุหลาบแวร์ซายส์จึงได้ชื่อว่าเป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องแรกที่ได้รับการแปลเพื่อการค้าและจัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือ กุหลาบแวร์ซายส์ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นอิงประวัติศาสตร์ ที่นำเค้าโครงเรื่องจากเรื่องราวและเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ช่วงก่อนและหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อองตัวเนต ถ่ายทอดเรื่องราวอิงประวัติศาสตร์ผ่านตัวละครหลักคือ ออสการ์ ฟรังซัวส์ เดอ จาร์เจและ อังเดร กรังดิเออร์ ในแง่มุมของการปกครองประเทศของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 กฎระเบียบข้อบังคับในราชการทหาร ระเบียบวินัยและอำนาจหน้าที่ รวมถึงเรื่องราวของความรักฉันชู้สาว มิตรภาพและการต่อสู้ในสงคราม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและกุหลาบแวร์ซายส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น

ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern France) คือประวัติศาสตร์ในช่วงสมัยที่เรียกว่าสมัยใหม่ตอนต้น (early modern period) ของประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 18 (หรือตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส ไปจนถึงจุดสูงสุดของการปฏิวัติฝรั่งเศส) ระหว่างช่วงนี้ฝรั่งเศสวิวัฒนาการจากระบบศักดินา (feudalism) มาเป็นราชอาณาจักรที่มีการปกครองจากศูนย์กลางที่นำโดยพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ปกครองโดยใช้ปรัชญาเทวสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์โดยการสนับสนุนของสถาบันโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น · ดูเพิ่มเติม »

ภัตตาคาร

ัตตาคาร หรือ ร้านอาหาร เป็นร้านที่คอยบริการอาหารตามความต้องการของลูกค้า ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและภัตตาคาร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เรมี

มหาวิหารนักบุญเรมีแห่งแร็งส์ (Basilique Saint-Remi de Reims) เป็นอดีตแอบบีย์ ตั้งอยู่ในเมืองแร็งส์ ประเทศฝรั่งเศส มีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมหาวิหารแซ็ง-เรมี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (Basilique Saint-Denis) เดิมเป็นแอบบีย์ชื่อ อารามแซ็ง-เดอนี ที่ตั้งอยู่ที่แซ็ง-เดอนีที่ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของปารีส ต่อมาถูกยกสถานะขึ้นเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-เดอนีในปี ค.ศ. 1966 มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมีความสำคัญทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ต่อประเทศฝรั่งเศส มหาวิหารแซ็ง-เดอนีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 บนที่ตั้งของที่ฝังศพของนักบุญเดนิสผู้เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประเทศฝรั่งเศสองค์หนึ่งในสามองค์ มหาวิหารกลายเป็นสถานที่สำหรับการแสวงบุญและใช้เป็นที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสเกือบทุกพระองค์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และบางพระองค์จากก่อนหน้านั้น (แต่ไม่ใช่สถานที่สำหรับพระราชพิธีราชาภิเษกที่ทำกันที่มหาวิหารแร็งส์ แต่พระราชพิธีราชาภิเษกพระราชินีมักทำกันที่นี่) มหาวิหารจึงกลายเป็นสิ่งก่อสร้างกลุ่มที่ซับซ้อน ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อธิการซูว์เฌสร้างบางส่วนของมหาวิหารใหม่โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่ล้ำสมัยสำหรับยุคนั้น และใช้การตกแต่งที่นำมาจากสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ การก่อสร้างครั้งนี้ถือกันว่าเป็นก่อสร้างสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกที่แท้จริงเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมหาวิหารก็ยังเป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมแรยอน็อง และกลายมาเป็นแบบการก่อสร้างของมหาวิหารและแอบบีย์อื่น ๆ ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ต่อม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมหาวิหารแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารเวเซอแล

มหาวิหารนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาแห่งเวเซอแล (Basilique Sainte-Marie-Madeleine de Vézelay) เป็นบาซิลิกา ในอดีตเดิมเป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกตินและอารามกลูว์นี (Cluniac) ตั้งอยู่ที่เวเซอแล จังหวัดอียอน แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส ตัวสิ่งก่อสร้างประกอบด้วยการตกแต่งที่ซับซ้อนด้วยรูปสลักเสลาด้านหน้า, เหนือประตูทางเข้า และหัวเสาที่ถือกันว่าเป็นงานฝีมือชั้นเอกของสถาปัตยกรรมและศิลปะโรมาเนสก์ของบูร์กอญ แม้ว่าบางส่วนของงานศิลปะจะถูกทำลายไปในระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส มหาวิหารเวเซอแลและเนินในบริเวณเวเซอแล ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมหาวิหารเวเซอแล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไมนซ์

มหาวิทยาลัยไมนซ์ (University of Mainz; Johannes Gutenberg-Universität Mainz) หรือชื่อเต็มว่า มหาวิทยาลัยโยฮันเนสกูเทนแบร์กแห่งไมนซ์ (Johannes Gutenberg University of Mainz) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในเมืองไมนซ์ รัฐไรน์ลันด์-พฟัลซ์ ประเทศเยอรมนี โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในเยอรมนีที่มีชื่อเสียงด้านวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมหาวิทยาลัยไมนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

มักซีมีเลียง ฟร็องซัว มารี อีซีดอร์ เดอ รอแบ็สปีแยร์ (Maximilien François Marie Isidore de Robespierre; 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337) เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมที่ตั้งขึ้นเพื่อสอดส่องดูแลความมั่นคงปลอดภัยในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประธานของคณะนี้มีอำนาจจับกุมและสั่งประหารชีวิตผู้คนได้ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 (ค.ศ. 1758) ที่เมืองอารัส แคว้นนอร์-ปาดกาแล ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาก็ได้เข้าเป็นผู้นำของกลุ่มฌากอแบ็งที่กล่าวหาพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส และพระนางมารี อ็องตัวแน็ตว่า ได้ทรงกระทำการในสิ่งที่เป็นการขายชาติ ทั้งยังเรียกร้องให้ประหารชีวิตทั้งสองพระองค์อีกด้วย แต่หลังจากนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) มีฝูงชนฝรั่งเศสกลุ่มใหญ่ลุกฮือทลายคุกบัสตีย์ในกรุงปารีส เพื่อต่อต้านระบอบกษัตริย์และขุนนางของฝรั่งเศส แล้วไม่นานชาวฝรั่งเศสจำนวนมากก็เข้าร่วมฝูงชนนี้ ทำให้การปฏิวัติสำเร็จอย่างรวดเร็ว ฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย แต่ประเทศอื่น ๆ ต่างคัดค้านไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัตินี้และพยายามกดขี่ข่มเหงฝรั่งเศส ดังนั้น ต่อมาในพ.ศ. 2336 รอแบ็สปีแยร์ก็ฉวยโอกาสตอนตนกำลังมีชื่อเสียงโด่งดังและช่วงที่ฝรั่งเศสกำลังถูกคุกคาม เข้ารับตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม เขาจึงได้กลายเป็นจอมเผด็จการอย่างแท้จริง ในเวลาปีเดียว เขาจับกุมและประหารผู้คนนับพัน ๆ ตั้งแต่ความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ จนถึงความผิดอุกฉกรรจ์ หรือแม้แต่การใส่ร้ายใส่ความโดยรอแบ็สปีแยร์ ต้องถูกประหารโดยเครื่องประหารกิโยตีน เขาคิดว่าสิ่งที่เขาทำเป็นสิ่งที่ถูกต้องดีงาม แต่คนอื่น ๆ เรียกช่วงเวลาที่รอแบ็สปีแยร์อยู่ในตำแหน่งว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ศัตรูจึงขนานนามเขาว่า ดิกตาเตอร์ซ็องกีแนร์ หรือเผด็จการกระหายเลือด ดังนั้นใน พ.ศ. 2337 จึงมีผู้คนจำนวนมหาศาลรวมตัวกันโค่นอำนาจและจับกุมรอแบ็สปีแยร์ เขาพยายามฆ่าตัวตาย แต่ไม่สำเร็จ ต้องตายโดยการถูกประหารด้วยเครื่องกิโยตีนท่ามกลางผู้คนมากมายที่รุมล้อมในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337 (ค.ศ. 1794) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2301 หมวดหมู่:นักการเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลในการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้สมรู้ร่วมคิดการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

มารี อ็องตัวแน็ต

มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมารี อ็องตัวแน็ต · ดูเพิ่มเติม »

มารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มเด็จพระราชินีมาเรีย อเมเรีย แห่งทูซิชิลี สมเด็จพระราชินีมาเรีย อมาเลียแห่งทูซิชิลี ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ในพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มาดาม ดูว์ บารี

thumb ฌานน์ เบกู, กงแต็ส ดู บารี (Jeanne Bécu, comtesse du Barry; 19 สิงหาคม ค.ศ. 1743 – 8 ธันวาคม ค.ศ. 1793) เป็นพระสนมเอกคนสุดท้ายของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส เป็นหนึ่งในเหยื่อผู้ถูกปราบปรามภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส และถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีน ก่อนเข้าสู่ราชสำนักฝรั่งเศส มาดาม ดู บาร์รีมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะโสเภณีชั้นสูงผู้มีโฉมงดงาม ได้เข้าถวายตัวเป็นพระสนมในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมาดาม ดูว์ บารี · ดูเพิ่มเติม »

มูแล็ง (จังหวัดอาลีเย)

มูแล็ง (Moulins) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดอาลีเยในแคว้นโอแวร์ญในประเทศฝรั่งเศส เมืองมูแล็งตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝรั่งเศสบนฝั่งแม่น้ำอาลี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและมูแล็ง (จังหวัดอาลีเย) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์

ทธนาวีที่ตราฟัลการ์ (Battle of Trafalgar, 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805) เป็นการกระทำยุทธนาวีระหว่าง ราชนาวีอังกฤษกับกองเรือผสมของกองทัพเรือฝรั่งเศสร่วมกับกองทัพเรือสเปน ในช่วงสงครามประสานมิตรครั้งที่สาม (สิงหาคม-ธันวาคม 1805) ใน สงครามนโปเลียน (1803–1815) กองเรือราชนาวีอังกฤษที่มีเรือรบแนวเส้นประจัญบาน 27 ลำภายใต้บัญชาการของพลเรือโทลอร์ดเนลสัน สามารถมีชนะเหนือกองเรือผสมฝรั่งเศส-สเปน 33 ลำ ภายใต้บัญชาการของ พลเรือโท ปีแยร์-ชาร์ล วีลเนิฟว์ แห่งกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของสเปน ทางตะวันตกของแหลมตราฟัลการ์ ซึ่งกองเรือฝรั่งเศสสูญเสียเรือรบไปถึง 22 ลำโดยที่ไม่สามารรถจมเรือรบอังกฤษแม้แต่ลำเดียว ชัยชนะที่งดงามของอังกฤษครั้งนี้เป็นการยืนยันฐานะของราชนาวีอังกฤษที่ได้สั่งสมมาตลอดศตวรรษที่ 18 ในฐานะกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3

ูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 (Europa Universalis III) เรียกโดยย่อว่า EUIII หรือ EU3 เป็นวีดีโอเกมแนววางแผนการรบแบบเรียลไทม์ที่เน้นยุทธศาสตร์ระดับประเทศ พัฒนาโดยพาราด็อกซ์ ดีวีลอปเมนต์ สตูดิโอ และจัดจำหน่ายโดยบริษัทพาราด็อกซ์ อินเตอร์แอ็คทีฟ ตัวเกมหลักสำหรับวินโดวส์วางจำหน่ายในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 · ดูเพิ่มเติม »

รอกามาดูร์

รอกามาดูร์ (Rocamadour,; Rocamador) เป็นเมืองในจังหวัดล็อตในแคว้นมีดี-ปีเรเน ประเทศฝรั่งเศส เมืองรอกามาดูร์ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ รอกามาดูร์ เป็นเมืองที่เป็นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวเพราะตำแหน่งที่ตั้งที่อยู่ตรงซอกเขาเหนือสาขาของแมน้ำดอร์ดอญ และโดยเฉพาะสถานที่สักการะพระแม่มารีย์อันมีความสำคัญมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้วจากทั่วยุโรปที่รวมทั้งพระมหากษัตริย์ บิชอป และขุนนาง ตัวเมืองที่ตั้งอยู่ภายใต้กลุ่มสิ่งก่อสร้างที่เป็นอารามและโบสถ์สำหรับผู้แสวงบุญพึ่งรายได้จากการจาริกแสวงบุญมาเป็นเวลาหลายร้อยปี ตัวเมืองตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำ ตัวเมืองใช้เป็นชื่อของเนยแพะที่ได้รับรางวัล AOC ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรอกามาดูร์ · ดูเพิ่มเติม »

รอแดซ

รอแดซ (Rodez) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสเป็นเมืองหลวงของจังหวัดอาแวรงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ชาวเมืองรอแดซเรียกว่า "Ruthenois".

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรอแดซ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการวัด

ระบบการวัด (อังกฤษ: systems of measurement) คือกลุ่มของหน่วยวัดที่สามารถใช้ระบุสิ่งใด ๆ ซึ่งสามารถวัดได้ และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ มีการวางระเบียบและนิยามเพื่อการค้าและการพาณิชย์ ในทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณบางชนิดที่ได้วิเคราะห์แล้วถูกกำหนดขึ้นให้เป็นหน่วยมูลฐาน ซึ่งหมายความว่าหน่วยอื่น ๆ ที่จำเป็นสามารถพัฒนาได้จากหน่วยมูลฐานเหล่านี้ ในขณะที่ยุคก่อนหน้า หน่วยวัดต่าง ๆ ถูกกำหนดขึ้นโดยคำสั่งจากการวินิจฉัยสิ่งเหล่านั้น (ดูเพิ่มที่กฎหมายลายลักษณ์อักษร) และไม่จำเป็นว่าจะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้งานทางสากลหรือความสอดคล้องในหน่วยตัวเอง ระบบการวัดสำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน ใช้ตาม พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด (ฉบับที่ ๒)..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและระบบการวัด · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเก่า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในฐานะ “พระสุริยเทพ” ระบอบเก่า หรือ อองเซียงเรฌีม (Ancien Régime) โดยทั่วไปหมายถึงระบบแบบราชาธิปไตย อภิชนาธิปไตย สังคม และการเมืองที่ใช้ในฝรั่งเศสภายใต้ราชวงศ์วาลัวและราชวงศ์บูร์บงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 18 โครงสร้างทางการบริหารและทางการสังคมของระบอบเก่าเป็นผลมาจากระบบการบริหารของสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในสมัยกลางที่สิ้นสุดในการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1789 ระบอบเก่าของประเทศอื่น ๆ ในยุโรปก็มีประวัติความเป็นมาคล้ายคลึงกัน แต่มีผลบั้นปลายที่แตกต่างกันบางประเทศก็สิ้นสุดลงด้วยระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางประเทศก็แตกแยกออกไปจากสงครามและการปฏิวัติ อำนาจระบอบเก่าอยู่บนพื้นฐานสามประการ ได้แก่ พระมหากษัตริย์ นักบวช และชนชั้นขุนนาง ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร (Estates of the realm) ก็แบ่งออกเป็นสามเช่นกัน คือ ฐานันดรที่หนึ่ง (First Estate) คือนักบวชโรมันคาทอลิก, ฐานันดรที่สอง (Second Estate) คือชนชั้นขุนนาง และ ฐานันดรที่สาม (Third Estate) คือสามัญชน โดยทั่วไปแล้วระบอบเก่าหมายถึงระบอบการปกครองใดใดที่มีลักษณะตามที่กล่าวแล้ว ระบอบเก่ารักษาลักษณะหลายประการของระบบเจ้าขุนมูลนายที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเฉพาะในการใช้อภิสิทธิ์ของขุนนางและชนชั้นเจ้านายที่สนับสนุนโดยปรัชญาเทวสิทธิราชย์ ความแตกต่างอยู่ตรงที่อำนาจการปกครองที่เคยเป็นของเจ้าครองนครต่างๆ มาก่อนกลายเป็นอำนาจของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เพิ่มมากขึ้น วลีนี้ใช้มาตั้งแต่ยุคเรืองปัญญา (พบในเอกสารครั้งแรกในภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1794) ในความหมายในทางลบ เช่นเดียวกับการใช้คำว่า ยุคมืด ที่กลายมาเรียกกันว่า สมัยกลาง แนวคิดของการใช้คำว่าระบอบเก่าเป็นการแฝงความหมายเป็นนัยยะว่าเป็นระบอบที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติ และควรจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น ระบอบใหม่ (New Order) คำว่า ระบอบเก่า คิดขึ้นโดยนักปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อเผยแพร่สร้างความเชื่อถือในเหตุผลของการปฏิวัติและทำลายชื่อเสียงของระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ซึ่งเป็นการใช้ในทางที่มีอคติในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ สำหรับนักประพันธ์บางคนคำนี้เป็นคำที่ทำให้เกิดความรำลึกถึงเหตุการณ์บางอย่าง เช่นที่ตาล์ลีย์รองด์ (Talleyrand) กล่าวว่า: ภาษาสเปนใช้คำว่า “Antiguo Régimen” แต่แม้ว่าสเปนจะได้รับผลกระทบกระเทือนจากการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลที่ตามต่อมาแต่ความเปลี่ยนแปลงในสเปนไม่รุนแรงเท่ากับการเปลี่ยนแปลงในฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและระบอบเก่า · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลพลัดถิ่น

รัฐบาลพลัดถิ่น (government in exile) เป็นกลุ่มการเมืองซึ่งอ้างตัวเป็นรัฐบาลที่ชอบด้วยกฎหมายของรัฐเอกราชรัฐหนึ่ง แต่ไม่อาจใช้อำนาจตามกฎหมายในรัฐนั้น และจำต้องพำนักอยู่นอกรัฐดังกล่าว รัฐบาลพลัดถิ่นมักคาดหวังว่า วันหนึ่งจะได้กลับคืนบ้านเมืองและครองอำนาจอย่างเป็นทางการอีกครั้ง รัฐบาลพลัดถิ่นต่างจากรัฐตกค้าง (rump state) ตรงที่รัฐตกค้างยังสามารถควบคุมส่วนหนึ่งส่วนใดในดินแดนเดิมได้อยู่ เช่น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แม้จักรวรรดิเยอรมันเข้ายึดครองประเทศเบลเยียมได้เกือบทั้งประเทศ แต่ประเทศเบลเยียมและพันธมิตรยังครองภาคตะวันตกซึ่งเป็นส่วนน้อยของประเทศได้อยู่ จึงชื่อว่าเป็นรัฐตกค้าง ถ้าเป็นรัฐบาลพลัดถิ่นจะตรงกันข้าม คือ ไม่สามารถครอบครองดินแดนไว้ได้เลย รัฐบาลพลัดถิ่นมักมีขึ้นในช่วงการรบซึ่งดินแดนถูกยึดครองไป หรือมักเป็นผลมาจากสงครามกลางเมือง การปฏิวัติ หรือรัฐประหาร เช่น ระหว่างที่เยอรมนีขยายดินแดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลยุโรปหลายชาติได้เข้าลี้ภัยในสหราชอาณาจักรเพื่อไม่ตกอยู่ในกำมือพวกนาซี รัฐบาลพลัดถิ่นยังอาจจัดตั้งขึ้นเนื่องจากเชื่อถือกันอย่างกว้างขวางว่า รัฐบาลซึ่งกำลังผ่านบ้านครองเมืองอยู่นั้นขาดความชอบธรรม เช่น หลังเกิดสงครามกลางเมืองซีเรีย พันธมิตรกองทัพปฏิวัติและฝ่ายค้านซีเรียแห่งชาติ (National Coalition for Syrian Revolutionary and Opposition Forces) ได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยมุ่งหมายจะล้มล้างการปกครองของพรรคบะอัธ (Ba'ath Party) ซึ่งกำลังอยู่ในอำนาจ รัฐบาลพลัดถิ่นจะมีประสิทธิภาพหรือไม่ เบื้องต้นขึ้นอยู่กับว่า ได้รับการสนับสนุนมากหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนจากรัฐบาลต่างชาติหรือจากพลเมืองประเทศตนเอง รัฐบาลพลัดถิ่นบางชุดกลายเป็นกองกำลังอันน่าเกรงขาม เพราะสามารถท้าทายผู้ปกครองประเทศนั้น ๆ ได้อย่างฉกาจฉกรรจ์ ขณะที่รัฐบาลพลัดถิ่นอื่น ๆ ส่วนใหญ่มักมีสถานะเชิงสัญลักษณ์เท่านั้น ปรากฏการณ์รัฐบาลพลัดถิ่นมีมาก่อนคำว่า "รัฐบาลพลัดถิ่น" จะได้รับการใช้จริง ในยุคกษัตริย์ พระเจ้าแผ่นดินหรือราชวงศ์ที่ถูกอัปเปหิเคยตั้งราชสำนักพลัดถิ่น เช่น ราชวงศ์สจวร์ตซึ่งถูกโอลิเวอร์ ครอมเวล (Oliver Cromwell) ถอดจากบัลลังก์ ก็ไปตั้งราชสำนักพลัดถิ่น และราชวงศ์บูร์บง (House of Bourbon) ก็ทำเช่นเดียวกันในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศสและช่วงนโปเลียน (Napoleon) เถลิงอำนาจ ครั้นเมื่อระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญแพร่หลายขึ้น รัฐบาลกษัตริย์พลัดถิ่นก็เริ่มมีนายกรัฐมนตรีด้วยเหมือนกัน เช่น รัฐบาลพลัดถิ่นเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองตั้ง Pieter Sjoerds Gerbrandy เป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรัฐบาลพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหาร 18 บรูว์แมร์

รัฐประหาร 18 บรูว์แมร์ (Coup d'État du 18 brumaire) เป็นแผนรัฐประหารของนายพลนโปเลียน โบนาปาร์ต เริ่มขึ้นในวันที่ 9 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรัฐประหาร 18 บรูว์แมร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐมุขนายกลีแยฌ

ราชรัฐมุขนายกลีแยฌ (Prince-Bishopric of Liège) เป็นรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในบริเวณที่ปัจจุบันคือประเทศเบลเยียมที่ปกครองโดยเจ้าชายบิชอปแห่งลีเยช (Prince-Bishop of Liège) ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและราชรัฐมุขนายกลีแยฌ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ออร์เลอ็อง

ตระกูลออร์เลอ็อง (House of Orléans) “ออร์เลอ็อง” เป็นชื่อที่ใช้เรียกสาขาของราชวงศ์ฝรั่งเศสหลายสาขาที่สืบเชื้อสายมาจากอูก กาเปต์ผู้ก่อตั้ง ระหว่างสมัย “การปกครองระบบโบราณในฝรั่งเศส” ก็จะมีการประเพณีมอบบรรดาศักดิ์ดยุกแห่งออร์เลอ็องใหนแก่พระราชโอรสองค์รองของพระมหากษัตริย์ ฉะนั้นสาขาของตระกูลออร์เลอ็องจึงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีความใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสมากที่สุดเพราะสืบเชื้อสายมาจากพระราชโอรส และบางครั้งก็เป็นผู้ได้ขึ้นครองพระราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเองถ้าพระราชโอรสองค์โตมาสิ้นพระชนม์เสียก่อน สาขาสุดท้ายของตระกูลออร์เลอ็องที่มีบรรดาศักดิ์เป็นดยุกสืบเชื้อสายมาจากอองรีเดอบูร์บอง ดยุกแห่งแวงโดม (พระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส) ผู้ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและราชวงศ์ออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและราชอาณาจักรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและราชอาณาจักรปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส

สมเด็จพระจักรพรรดินีเออเชนีเดอมองติโค พระจักรพรรดินีองค์สุดท้ายของฝรั่งเศส สมเด็จราชินีมารี อองตัวเนตแห่งออสเตรีย พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ที่ทรงถูกบั่นพระเศียรในการปฏิวัติฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีมาเรีย เทเรส ชาร์ล็อตแห่งฝรั่งเศส พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 19 แห่งฝรั่งเศส เป็นสมเด็จพระราชินีที่ครองราชสมบัติเพียง 20 นาทีเท่านั้น ดูที่รายพระนามกษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส พระมเหสีแห่งฝรั่งเศส ตั้งแต่พ.ศ. 1530 ประเทศฝรั่งเศสมีสมเด็จพระมเหสีในพระมหากษัตริย์และพระจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส (Royal Consort) ทั้งหมด 53 พระองค์ แยกตามพระอิสริยยศได้ดังนี้.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิทำลายรูปเคารพ

การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและลัทธิทำลายรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจยุคหลัง

"ร้อยปีแห่งความมีอิสระ" โดยอ็องรี รูโซ ค.ศ. 1892 ลัทธิประทับใจยุคหลัง (post-impressionism) เป็นคำที่คิดขึ้นในปี ค.ศ. 1910 โดยรอเจอร์ ฟราย (Roger Fry) ศิลปินและนักวิจารณ์ศิลปะชาวอังกฤษ เพื่อบรรยายศิลปะที่วิวัฒนาการขึ้นในฝรั่งเศสหลังสมัยเอดัวร์ มาแน จิตรกรลัทธิประทับใจยุคหลังยังคงสร้างงานศิลปะลัทธิประทับใจ แต่ไม่ยอมรับความจำกัดของศิลปะลัทธิประทับใจ จิตรกรสมัยหลังจะเลือกใช้สีจัด เขียนสีหนา ฝีแปรงที่เด่นชัดและวาดภาพจากของจริง และมักจะเน้นรูปทรงเชิงเรขาคณิตเพื่อจะบิดเบือนจากการแสดงออก นอกจากนั้นการใช้สีก็จะเป็นสีที่ไม่เป็นธรรมชาติและจะขึ้นอยู่กับสีที่จิตรกรต้องการจะใช้.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและลัทธิประทับใจยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ลามาร์แซแยซ

''La Marseillaise'' (1907). ลามาร์แซแยซ (La Marseillaise, "เพลงแห่งเมืองมาร์แซย์") เป็นชื่อของเพลงชาติสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย โกลด โฌแซ็ฟ รูเฌ เดอ ลีล เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2335 ที่เมืองสทราซบูร์ในแคว้นอาลซัส เดิมเพลงนี้มีชื่อว่า "Chant de guerre de l'Armée du Rhin" (แปลว่า "เพลงมาร์ชกองทัพลุ่มน้ำไรน์") เดอลีลได้อุทิศเพลงนี้ให้แก่นายทหารชาวแคว้นบาวาเรีย (อยู่ในประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน) ซึ่งเกิดในประเทศฝรั่งเศสผู้หนึ่ง คือจอมพลนีกอลา ลุคเนอร์ (Nicolas Luckner) เมื่อกองทหารจากเมืองมาร์แซย์ได้ขับร้องเพลงนี้ขณะเดินแถวทหารเข้ามายังกรุงปารีส ทำให้เพลงนี้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป และกลายเป็นเพลงปลุกใจในการร่วมปฏิวัติฝรั่งเศส ทั้งยังเป็นที่มาของชื่อเพลงลามาร์แซแยซดังปรากฏอยู่ในปัจจุบันด้วย สมัชชาแห่งชาติฝรั่งเศสได้ออกประกาศรับรองให้เพลงลามาร์แซแยซเป็นเพลงชาติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2338 ต่อมาเพลงนี้ได้ถูกงดใช้ในช่วงรัชสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1แห่งจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 และ พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 และมีการนำเพลงอื่นมาใช้เป็นเพลงชาติฝรั่งเศสแทนในระยะเวลาดังกล่าวแทน โดยรัชสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ใช้เพลงชาติที่ชื่อว่า เวยองอูซาลูทเดอล็องปีร์ "Veillons au salut de l'Empiret"และ โดยรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ใช้เพลงชาติที่ชื่อว่า เลอเรอทูร์เดส์แพร็งส์ฟร็องเซส์อาปารีส์ "Le Retour des Princes Frančais à Samid" หลังการปฏิวัติในปี พ.ศ. 2373 เพลงนี้ก็ได้กลับมาใช้เป็นเพลงชาติในระยะสั้น ๆ แต่ก็งดใช้อีกครั้งในสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ตราบจนกระทั่งฝรั่งเศสเข้าสู่สมัยสาธารณรัฐที่ 3 เพลงนี้จึงได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติอย่างถาวรเมื่อ พ.ศ. 2422.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและลามาร์แซแยซ · ดูเพิ่มเติม »

ลามงตาญ

ลามงตาญ (La Montagne) เป็นกลุ่มก้อนทางการเมืองในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เป็นฝ่ายที่มีอิทธิพลสูงในสมัชชานิติบัญญัติฝรั่งเศส ลามงตาญถือเป็นส่วนหนึ่งของสโมสรฌากอแบ็ง​ (Jacobin) ลามงตาญประกอบด้วยสมาชิกหัวรุนแรงของฌากอแบ็งซึ่งสนับสนุนกระแสการปฏิวัติและสนับสนุนการถอนรากถอนโคนระบอบกษัตริย์ จึงทำให้ลามงตาญขัดแย้งกับบรรดาฌีรงแด็ง (Girondin) ที่คัดค้านกระแสการปฏิวัติและเห็นว่าควรใช้กษัตริย์เป็นหุ่นเชิดJeremy D. Popkin, A Short History of the French Revolution, 5th ed.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและลามงตาญ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับคุณค่าของศิลปะ

A จิตรกรรมประวัติศาสตร์. คริสเตียน อัลเบร็คท์ ฟอน เบนซอน (Christian Albrecht von Benzon), ''ความตายของคานูทผู้ศักดิ์สิทธิ์'', ค.ศ. 1843 ภาพชีวิตประจำวัน. อาเดรียน ฟาน โอสเตด, ''คนขายปลา'', ค.ศ. 1660-1670, สีน้ำมันบนไม้โอ้ค, 29 × 26.5 ซม., พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งบูดาเพสต์ ภาพเหมือน. คอนราด ครซิซาเนาสกี (Konrad Krzyżanowski), ''ภาพเหมือนของโยเซฟ พิลซูดสกี'', ค.ศ. 1920, พิพิธภัณฑ์กองทัพโปแลนด์, วอร์ซอว์ จิตรกรรมภูมิทัศน์. เทมิสโตเคิลส์ ฟอน เอ็คเค็นเบร็คเคอร์, ''ภูมิทัศน์ของ Laerdalsoren ที่ Sognefjord'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, ค.ศ. 1901 ภาพนิ่ง. ไฮน์ริค อุห์ล (Heinrich Uhl), ''ภาพนิ่งกับกล่องอัญมณี, แว่นดูอุปรากร, ถุงมือ, และช่อดอกไม้'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, 50 x 60 ซม. ลำดับคุณค่าของศิลปะ (hierarchy of genres) เป็นการจัดประเภทของงานศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญทางคุณค่าที่วางไว้อย่างเป็นทางการ ในทางวรรณกรรม มหากาพย์ได้รับการยกย่องว่าเป็นงานที่มีระดับคุณค่าสูงที่สุดในบรรดานักวิพากษ์วรรณกรรม ตามเหตุผลของซามูเอล จอห์นสัน ที่บรรยายใน ชีวิตของจอห์น มิลตัน ว่า: "ตามความเห็นที่พ้องกันของนักวิพากษ์, งานที่สมควรแก่การสรรเสริญในคุณค่าคืองานของนักเขียนผู้เขียนมหากาพย์, เพราการเขียนมหากาพย์ผู้เขียนต้องรวบรวมพลานุภาพทุกด้านที่แต่ละด้านเพียงพอสำหรับสร้างงานเขียนแต่ละชนิด" การจัดลำดับที่ทราบกันดีที่สุดในงานจิตรกรรมคือมาตรฐานที่สร้างขึ้นโดยสถาบันในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงสมัยใหม่ ระดับต่างๆ ที่จัดขึ้นสำหรับประเภทของงานศิลปะต่างๆ ได้รับการสนับสนุนโดยราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรมแห่งฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้นำในศิลปะสถาบัน การโต้เถียงที่เกี่ยวกับความงามของจิตรกรรมที่ยังคงเป็นที่นิยมกันมาตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยายังคงเน้นความสำคัญของอุปมานิทัศน์; การใช้องค์ประกอบในงานจิตรกรรมเช่นเส้น และ สีในการสื่อความหมายที่เป็นหัวใจของภาพ ฉะนั้นอุดมคตินิยมจึงเป็นสิ่งที่ใช้กันในงานศิลปะ โดยที่รูปทรงตามธรรมชาติเป็นสิ่งที่เห็นโดยทั่วไป ฉะนั้นจึงเป็นรองจากความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของงานศิลปะ ที่มีจุดประสงค์ในการแสวงหาสัจจะโดยการเลียนแบบ "ความงามของธรรมชาติ" แต่นักทฤษฎีที่มีความคิดเห็นแตกต่างออกไปมีความเชื่อมั่นว่าการเน้นการใช้อุปมานิทัศน์เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่บนพื้นฐานที่ไม่ถูกต้องของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ และกวีนิพนธ์ที่มาจากบทเขียนของโฮราซ (Horace) "ut pictura poesis" ("ในภาพเขียนคือกวีนิพนธ์") การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและลำดับคุณค่าของศิลปะ · ดูเพิ่มเติม »

ลุ่มแม่น้ำลัวร์

ลุ่มแม่น้ำลัวร์ (Loire Valley หรือ Garden of France, Vallée de la Loire) เป็นบริเวณทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีจากคุณค่าของสถาปัตยกรรมและเมืองโบราณที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่รวมทั้งเมืองอองบัวส์, อองแชร์, บลัวส์, ชินง, นานต์ส์, ออร์เลอองส์, โซมัวร์ และ ตูร์ แต่ที่สำคัญคือพระราชวัง, วัง, ปราสาท และึคฤหาสน์ต่างๆ ที่มีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่วโลกที่รวมทั้งพระราชวังชองบอร์ด หรือ วังเชอนงโซซื่งเป็นสถาปัตยกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมของฝรั่งเศสในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและยุคเรืองปัญญาที่มีต่อการออกแบบและการสร้างสถาปัตยกรรม ในปี ค.ศ. 2000 องค์การยูเนสโกขึ้นทะเบียนบริเวณตอนกลางของลุ่มแม่น้ำลัวร์ระหว่างแมน (Maine River) และ ซุลลีย์-เซอร์-ลัวร์ให้เป็นมรดกโลก ในการเลือกภูมิภาคลุ่มแม่น้ำลัวร์ที่ครอบคลุมจังหวัดลัวเรต์, ลัว-เรต์-แชร์, แองดร์-เอต์-ลัวร์, and แมน-เนต์-ลัวร์ ทางคณะกรรมการกล่าวถึงภูมิภาคลุ่มแม่น้ำลัวร์ว่าเป็นบริเวณที่ “มีความงามของภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมอันเด่น, และมีความสวยงามอันเลอเลิศที่ประกอบด้วยเมืองและหมู่บ้านสำคัญในประวัติศาสตร์, อนุสรณ์ทางสถาปัตยกรรมอันสำคัญ - ชาโต - และแผ่นดินที่ได้รับการพัฒนาทางการเกษตรกรรมและเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างผู้ตั้งถิ่นฐานในท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมรอบข้าง โดยเฉพาะตัวแม่น้ำลัวร์เอง”.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและลุ่มแม่น้ำลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลแตร์

ฟร็องซัว-มารี อารูเอ (François-Marie Arouet) หรือเป็นที่รู้จักกันในนามปากกาว่า วอลแตร์ (Voltaire) เป็นปราชญ์, นักเขียน และนักประวัติศาสตร์ในยุคเรืองปัญญาของฝรั่งเศส เขาเป็นผู้โจมตีการจัดตั้งศาสนจักรคาทอลิกในฝรั่งเศส และยังสนับสนุนเสรีภาพทางศาสนา, เสรีภาพในการพูด และยังผลักดันให้มีการแบ่งแยกศาสนจักรออกจากรั.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและวอลแตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วังปาฏิหาริย์

วังปาฏิหาริย์ (court of miracles; cour des miracles) เป็นเขตชุมชนแออัดในกรุงปารีสเมื่อครั้งอดีต โดยเป็นที่อาศัยของบรรดาผู้ลักลอบเข้าเมืองและผู้อพยพจากชนบทที่ปราศจากงานทำ กลายเป็นแหล่งที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นซ่องโจร ก่อนเจ้าหน้าที่บ้านเมืองจะเข้ากวาดล้างไปจนสิ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 วังปาฏิหาริย์มีชื่อเสียง เพราะวิกตอร์ อูโก (Victor Hugo) นำไปใช้แต่งนิยายเรื่อง นอทร์-ดามเดอปารี (Notre-Dame de Paris, คนค่อมแห่งนอทร์-ดาม).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและวังปาฏิหาริย์ · ดูเพิ่มเติม »

วังโชมง

วังโชมง (Château de Chaumont) เป็นวังที่ตั้งอยู่ที่บนฝั่งแม่น้ำลัวร์ในโชมง-ซูร์-ลัวร์ในจังหวัดลัวเรแชร์ ประเทศฝรั่งเศส ปราสาทโชมงก่อสร้างโดย Eudes II เคานต์แห่งบลัว ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 เพื่อใช้เป็นป้อมสำหรับป้องกันบลัวจากการโจมตี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและวังโชมง · ดูเพิ่มเติม »

วังเชอนงโซ

วังเชอนงโซ (Château de Chenonceau) ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านเชอนงโซ (Chenonceaux) ในจังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส วังเดิมสร้างบนโรงป่นแป้งเก่าบนฝั่งแม่น้ำแชร์ และสร้างมาก่อนหน้าที่จะมีหลักฐานทางเอกสารเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 11 วังปัจจุบันออกแบบโดยฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert De l'Orme) สถาปนิกเรอเนซองซ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและวังเชอนงโซ · ดูเพิ่มเติม »

วันบัสตีย์

วันบัสตีย์ เป็นวันชาติของฝรั่งเศส ซึ่งตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี ในประเทศฝรั่งเศส วันดังกล่าวถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "งานเฉลิมฉลองแห่งชาติ" (La Fête Nationale) และเรียกโดยทั่วไปว่า "สิบสี่กรกฎา" (le quatorze juillet) วันดังกล่าวเป็นการรำลึกถึงวันหยุดสหพันธรัฐ (Fête de la Fédération) ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและวันบัสตีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอร์ อูโก

วิกตอร์-มารี อูโก (Victor-Marie Hugo; 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1802 — 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1885) เป็นกวี นักเขียนบทละคร นักประพันธ์ ศิลปิน รัฐบุรุษ และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนชาวฝรั่งเศส เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูงสำหรับการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมยุคโรแมนติกในประเทศฝรั่งเศส ชื่อเสียงของอูโกทางด้านงานวรรณกรรมในประเทศฝรั่งเศสมาจากงานกวีนิพนธ์และบทละคร ส่วนงานนวนิยายเป็นที่รู้จักรองลงมา ในบรรดางาน กวีนิพนธ์ของเขา Les Contemplations และ La Légende des siècles จัดเป็นงานที่โดดเด่นและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก บางครั้งอูโกได้รับการกล่าวขวัญถึงในฐานะกวีผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝรั่งเศส ขณะที่เขาเป็นที่รู้จักภายนอกประเทศจากผลงานนวนิยาย เรื่อง Les Misérables (เหยื่ออธรรม) และ Notre-Dame de Paris (ฉบับแปลภาษาอังกฤษเรียกว่า The Hunchback of Notre Dame หรือ คนค่อมแห่งน็อทเทรอะ-ดาม).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและวิกตอร์ อูโก · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เบลก

วิลเลียม เบลก (William Blake; 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1757 - 12 สิงหาคม ค.ศ. 1827) เป็นกวีและนักวาดภาพชาวอังกฤษ ไม่ค่อยมีชื่อเสียงมากนักในระหว่างที่มีชีวิตอยู่ แต่งานของเขาได้รับการยอมรับทั่วไปในแวดวงประวัติศาสตร์ทั้งบทกวีนิพนธ์และภาพวาด ผลงานการวาดภาพนิมิตของเขาได้รับยกย่องว่า "โดดเด่นและก้าวหน้ากว่าศิลปินผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของบริเตนจะสามารถสร้างขึ้นได้" แม้ว่าเขาแทบไม่เคยเดินทางไปไหน และเคยออกไปพ้นจากกรุงลอนดอนเพียงครั้งเดียวในชีวิต แต่ผลงานของเขาแสดงให้เห็นพลังจินตนาการอันยิ่งใหญ่อย่างมาก ผลงานของเบลกแสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของศิลปินในยุคโรแมนติก หรืออาจจะก่อนยุคโรแมนติกด้วยซ้ำ เพราะงานของเขาส่วนมากสร้างขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ลักษณะของผลงานแม้จะเคารพยำเกรงในพระคัมภีร์ไบเบิล แต่แสดงความเป็นปฏิปักษ์ต่อคริสตจักร เบลกได้รับแรงบันดาลใจจากอุดมการณ์และความทะเยอทะยานของกลุ่มนักปฏิวัติฝรั่งเศสและอเมริกัน รวมถึงอิทธิพลจากนักคิดผู้โด่งดังเช่น เจค็อบ โบเฮ็ม และ เอ็มมานูเอล สวีเดนบอร์ก แม้จะทราบถึงแรงบันดาลใจของเขา แต่งานของเบลกก็มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร มีความเป็นอัตลักษณ์สูงจนไม่สามารถจัดประเภทได้ นักวิชาการในคริสต์ศตวรรษที่ 19 คนหนึ่งอธิบายลักษณะของเบลกว่า เป็นเหมือน "ดวงประทีปอันโชติช่วง"Blake, William and Rossetti, William Michael.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและวิลเลียม เบลก · ดูเพิ่มเติม »

สภากงว็องซียงแห่งชาติ

สภากงว็องซียงแห่งชาติ (Convention nationale) คือคณะการปกครองประเทศฝรั่งเศสในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส โดยเริ่มทำการปกครองตั้งแต่ 20 กันยายน ค.ศ. 1792 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1795 โดยทำหน้าที่บริหารประเทศและควบคุมอำนาจบริหารในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงช่วงสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 โดยสมาชิกที่มีชื่อเสียงจากสมัชชาแห่งนี้ได้แก่ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์, ฌ็อง-ปอล มารา, ฌอร์ฌ ด็องตง เป็นต้น โดยในภายหลังทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม หมวดหมู่:การปฏิวัติฝรั่งเศส.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสภากงว็องซียงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สภาห้าร้อย

ห้าร้อย (Conseil des Cinq-Cents) เป็นฝ่ายนิติบัญญัติประเภทสภาล่างของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่หนึ่งในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ฝ่ายบริหารของประเทศฝรั่งเศสในช่วงนี้มีชื่อเรียกว่าคณะดีแร็กตัวร์ซึ่งทำหน้าที่ระหว่าง 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสภาห้าร้อย · ดูเพิ่มเติม »

สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว

มัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว (Reign of Terror; 5 กันยายน ค.ศ. 1793 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794) หรือที่เรียกว่า The Terror (la Terreur) เป็นสมัยแห่งความรุนแรงที่เกิดขึ้นหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสเริ่มต้น โดยถูกกระตุ้นจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มแยกทางการเมืองที่เป็นคู่แข่งกัน คือ ฌีรงแด็ง (Girondins) และฌากอแบ็ง (Jacobins) ซึ่งมีการประหารชีวิต "ศัตรูแห่งการปฏิวัติ" จำนวนมาก ยอดผู้เสียชีวิตอยู่ในหลักหมื่น โดยมีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยติน 16,594 คน และอีก 25,000 คน ถูกประหารชีวิตอย่างรวบรัดทั่วฝรั่งเศส กิโยตินกลายมาเป็นสัญลักษณ์แห่งอุดมการณ์การปฏิวัติ ซึ่งมีการประหารชีวิตบุคคลสำคัญจำนวนมาก เช่น มารี อ็องตัวแน็ตและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทั้งผู้สนับสนุนการปฏิวัติ ฟิลิปป์ เอกาลีเต (หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์) มาดามโรลองด์และกลุ่มฌีรงแด็ง นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายคน อาทิ อ็องตวน ลาวัวซีเย นักเคมีบุกเบิก ที่ต้องมาสังเวยชีวิตด้วยเช่นกัน ระหว่าง..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน

ซีเร คลารี หรือ เบอร์นาร์ดีน เออเฌนี เดซีเร คลารี (ฝรั่งเศส:Bernardine Eugénie Désirée Clary; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1777 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1860) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ โดยทรงเป็นพระมเหสีในพระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดน อดีตนายพลชาวฝรั่งเศสและเป็นผู้สถาปนาราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ และครั้งหนึ่งพระนางทรงเคยเป็นคู่หมั้นในนโปเลียน โบนาปาร์ต พระนางทรงเปลี่ยนพระนามอย่างเป็นทางการเป็น เดซีเดอเรีย (Desideria) พระนามในภาษาละติน ซึ่งพระนางก็ไม่ทรงเคยใช้แทนพระองค์เอง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1

ณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 (Première République) สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1792 โดยสภากงว็องซียงแห่งชาติ หลังจากการล่มสลายของราชอาณาจักรฝรั่งเศส ซึ่งในยุคนี้มีการเข่นฆ่าชีวิตผู้คนมากมายตามคำสั่งของมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ ประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ จึงทำให้ผู้คนเรียกยุคสมัยนั้นว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ก่อนที่รอแบ็สปีแยร์จะถูกประหารด้วยกิโยตีน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794 และในที่สุดสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ก็ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1804 จากการขึ้นครองราชย์ของนโปเลียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (Troisième République Française บางครั้งเขียนย่อว่า La IIIe République) (พ.ศ. 2413 -10 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) เป็นชื่อของระบอบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอยู่ระหว่างยุคจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 กับรัฐบาลฝรั่งเศสวิชี เกิดขึ้นหลังจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2413 ซึ่งทำให้ฝรั่งเศสสูญเสียอาลซัส-ลอแรน และดำรงอยู่มาจนล่มสลายใน พ.ศ. 2483 จากการรุกรานของนาซีเยอรมัน ทำให้ฝรั่งเศสถูกยึดครอง ยุคนี้เป็นยุคของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่อายุยืนที่สุด นับตั้งแต่มีการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2332 เป็นต้นมา หมวดหมู่:การเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐดัตช์

รณรัฐดัตช์ (อังกฤษ: ชื่อเต็ม Republiek der Zeven Verenigde Nederlanden หรือ De Nederlandse Republiek และ De Verenigde Provincien) เป็นการรวมหนึ่งในส่วนรัฐทั้ง 7 ของเนเธอร์แลนด์ของสเปน โดยเป็นกบฏโปรแตสแตนท์ในกลุ่มขุนนาง ผู้ปกครองคนแรกคือ วิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และทำให้เกิดสงคราม 80 ปีจนสงบศึกในปี ค.ศ. 1648.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสาธารณรัฐดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐนิยม

สาธารณรัฐนิยม (ภาษาอังกฤษ: Republicanism) เป็นคตินิยมของการเป็นพลเมืองในรัฐที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ ซึ่งอำนาจอธิปไตยถือว่า เป็นอำนาจอธิปไตยของปวงชน (popular sovereignty) ประเทศบางประเทศเป็นสาธารณรัฐในแง่ที่ว่า รัฐเหล่านั้นไม่ได้มีระบอบการปกครองโดยกษัตริย์ แต่ว่าไม่ได้ยึดเอาอุดมคติของสาธารณรัฐนิยมเป็นฐาน คำว่า "สาธารณรัฐ" มีที่มาจากคำลาตินว่า res publica ซึ่งอ้างอิงถึงรูปแบบของการปกครองที่ถือกำเนิดขึ้นในราว ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตศักราช หลังจากการขับไล่กษัตริย์ของกรุงโรม โดย ลูเชียส จูนิอัส บรูตัส และ คอลลาตินัส รูปแบบการปกครองนี้ล่มสลายลงในช่วงท้ายของ ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตศักราช โดยเปลี่ยนเป็นการปกครองแบบมีกษัตริย์ในเชิงรูปแบบ การปกครองแบบสาธารณรัฐถูกฟื้นฟูกลับมาอีกครั้ง ในสมัยการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการฟลอเรนซ์ คตินิยมแบบสาธารณรัฐนิยมมีบทบาทอย่างมากในการปฏิวัติอเมริกา ส่วนในยุโรปแนวคิดนี้ได้เพิ่มอิทธิพลอย่างมากหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสาธารณรัฐนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ทธิพลเมือง (Civil Rights) หมายถึง การที่พลเมืองของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐสมัยใหม่สามารถกระทำได้ภายใต้กรอบของกฎหมายบ้านเมืองของสังคมนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ สิทธิพลเมืองจึงซ้อนทับอยู่กับสิทธิทางการเมือง (political rights) เนื่องจากในสังคม และการเมืองการปกครองสมัยใหม่นั้น เสรีภาพจัดได้ว่าเป็นคุณธรรมรากฐานประการหนึ่งที่ระบบการเมือง และระบบกฎหมายจะต้องธำรงรักษาไว้ ทว่าหากพลเมืองทุกคนมีเสรีภาพอย่างไม่จำกัดแล้วไซร้ การใช้เสรีภาพของพลเมืองคนหนึ่งๆ ก็อาจนำมาซึ่งการละเมิดการมีเสรีภาพของพลเมืองคนอื่นๆ ในรัฐได้เช่นกัน ดังนั้น เสรีภาพของพลเมืองจึงต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายที่รัฐกำหนดว่า สิ่งใดที่พลเมืองไม่อาจกระทำเพราะจะเป็นการละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น หรือ สิ่งใดที่พลเมืองสามารถกระทำได้อย่างอิสระโดยปราศจากการควบคุมของรัฐ เป็นที่มาของการเกิดสิ่งซึ่งเรียกว่า สิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง (Kurian, 2011: 235) ซึ่งในแง่นี้สิทธิพลเมืองจะมีความหมายและขอบเขตแคบกว่าสิทธิมนุษยชน (Human Rights) เพราะสิทธิพลเมืองจะเป็นสิทธิที่พลเมืองทุกๆ คนมีในฐานะพลเมืองของรัฐ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามความคุ้มครองโดยกฎหมายของรัฐที่ตนเป็นพลเมืองอยู่ แต่สิทธิมนุษยชนนั้นเป็นสิทธิสากลที่มนุษย์ทุกผู้คนบนโลกนี้ พึงมีเหมือนๆ กันไม่ว่าเขาจะอยู่ที่ใด หรือ เป็นพลเมืองของรัฐใดก็ตาม สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิทางแพ่งและสิทธิทางการเมือง คือความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ที่มอบให้พลเมืองทุกคนตามกฎหมาย สิทธิพลเมืองนั้นเป็นสิทธิที่แยกออกจาก "สิทธิมนุษยชน" และ "สิทธิธรรมชาติ" กล่าวคือสิทธิพลเมืองเป็นสิทธิที่มอบให้โดยชาติและมีอยู่ภายในเขตแดนนั้น ในขณะที่สิทธิธรรมชาติหรือสิทธิมนุษยชนนั้น เป็นสิทธิที่นักวิชาการจำนวนมากอ้างว่าปัจเจกบุคคลมีอยู่แต่กำเนิดโดยธรรมชาต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิมนุษยชน

ทธิมนุษยชน (human rights) เป็นหลักทางศีลธรรมหรือจารีตJames Nickel, with assistance from Thomas Pogge, M.B.E. Smith, and Leif Wenar, December 13, 2013, Stanford Encyclopedia of Philosophy,, Retrieved August 14, 2014ซึ่งอธิบายมาตรฐานตายตัวของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายระหว่างประเทศ ปกติเข้าใจว่าเป็นสิทธิพื้นฐานที่ไม่โอนให้กันได้ "ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเพียงเพราะผู้นั้นเป็นมนุษย์" และซึ่ง "มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน"Burns H. Weston, March 20, 2014, Encyclopedia Britannica,, Retrieved August 14, 2014 โดยไม่คำนึงถึงชาติ สถานที่ ภาษา ศาสนา ชาติพันธุ์กำเนิดหรือสถานภาพอื่นใด สิทธิมนุษยชนใช้ได้ทุกที่ทุกเวลาในแง่ที่เป็นสากล และสมภาคในแง่ที่เหมือนกับสำหรับทุกคนThe United Nations, Office of the High Commissioner of Human Rights,, Retrieved August 14, 2014 สิทธิดังกล่าวต้องการความร่วมรู้สึกและหลักนิติธรรมGary J. Bass (book reviewer), Samuel Moyn (author of book being reviewed), October 20, 2010, The New Republic,, Retrieved August 14, 2014 และกำหนดพันธะต่อบุคคลให้เคารพสิทธิมนุษยชนของผู้อื่น สิทธิดังกล่าวไม่ควรถูกพรากไปยกเว้นอันเป็นผลของกระบวนการทางกฎหมายที่ยึดพฤติการณ์แวดล้อมจำเพาะ ตัวอย่างเช่น สิทธิมนุษยชนอาจรวมเสรีภาพจากการจำคุกโดยมิชอบด้วยกฎหมาย การทรมานและการประหารชีวิตMerriam-Webster dictionary,, Retrieved August 14, 2014, "rights (as freedom from unlawful imprisonment, torture, and execution) regarded as belonging fundamentally to all persons" ลัทธิสิทธิมนุษยชนมีอิทธิพลสูงในกฎหมายระหว่างประเทศ สถาบันโลกและภูมิภาค การกระทำของรัฐและองค์การนอกภาครัฐก่อพื้นฐานของนโยบายสาธารณะทั่วโลก แนวคิดสิทธิมนุษยชนเสนอว่า "หากวจนิพนธ์สาธารณะสังคมโลกยามสงบสามารถกล่าวเป็นภาษาศีลธรรมร่วมได้ สิ่งนั้นคือสิทธิมนุษยชน" การอ้างอย่างหนักแน่นโดยลัทธิสิทธิมนุษยชนยังกระตุ้นกังขาคติและการอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหา สภาพและการให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมายซึ่งสิทธิมนุษยชนตราบจนทุกวันนี้ ความหมายแน่ชัดของคำว่า "สิทธิ" นั้นมีการโต้เถียงและเป็นหัวข้อการอภิปรายทางปรัชญาต่อไป ขณะที่มีการเห็นพ้องต้องกันว่าสิทธิมนุษยชนครอบคลุมสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม การคุ้มครองจากการเป็นทาส การห้ามพันธุฆาต เสรีภาพในการพูดMacmillan Dictionary,, Retrieved August 14, 2014, "the rights that everyone should have in a society, including the right to express opinions about the government or to have protection from harm"หรือเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษา แต่ยังเห็นไม่ลงรอยกันเกี่ยวกับว่าสิทธิใดบ้างต่อไปนี้ควรรวมอยู่ในกรอบทั่วไปของสิทธิมนุษยชน นักคิดบางคนเสนอว่าสิทธิมนุษยชนควรเป็นข้อกำหนดพื้นฐานเพื่อเลี่ยงการละเมิดที่ร้ายแรงที่สุด ขณะที่บางคนมองว่าเป็นมาตรฐานขั้นสูง ความคิดพื้นฐานดังกล่าวจำนวนมากซึ่งขับเคลื่อนขบวนการสิทธิมนุษยชนพัฒนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองและความเหี้ยมโหดของฮอโลคอสต์ จนลงเอยด้วยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในกรุงปารีสในปี 2491 คนโบราณไม่มีแนวคิดสิทธิมนุษยชนสากลสมัยใหม่แบบเดียวกัน การบุกเบิกวจนิพนธ์สิทธิมนุษยชนอย่างแท้จริงนั้นคือมโนทัศน์สิทธิธรรมชาติซึ่งปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของประเพณีกฎหมายธรรมชาติยุคกลางซึ่งโดดเด่นขึ้นระหว่างยุคภูมิธรรมยุโรปโดยมีนักปรัชญาอย่างจอห์น ล็อก, ฟรานซิส ฮัตชิสัน (Francis Hutcheson) และฌ็อง-ฌัก บือลามาคี (Jean-Jacques Burlamaqui) และซึ่งมีการเสนออย่างโดดเด่นในวจนิพันธ์การเมืองของการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติฝรั่งเศส จากรากฐานนี้ การให้เหตุผลสิทธิมนุษยชนสมัยใหม่กำเนิดขึ้นในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาจเป็นปฏิกิริยาต่อความเป็นทาส การทรมาน พันธุฆาตและอาชญากรรมสงคราม โดยความตระหนักถึงความเปราะบางของมนุษย์ในตัวและเป็นเงื่อนไขก่อนความเป็นไปได้ของสังคมยุติธรรม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสิทธิมนุษยชน · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิปฏิวัติ

ทธิปฏิวัติ (right of revolution) หรือ สิทธิกบฏ (right of rebellion) ในปรัชญาการเมืองนั้น คือ สิทธิหรือหน้าที่ที่ชนในชาติสามารถล้มล้างการปกครองซึ่งขัดต่อประโยชน์ส่วนรวมได้ ความเชื่อเรื่องสิทธินี้ย้อนหลังไปถึงจีนโบราณ และสิทธินี้ก็ได้ใช้มาแล้วตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์เพื่อสร้างความชอบธรรมให้แก่กบฏซึ่งรวมถึงการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติฝรั่งเศส ในประเทศจีนนั้น เป็นไปได้ว่า ราชวงศ์โจวสร้างความชัดเจนให้แก่สิทธิปฏิวัติในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของปรัชญาแผ่นดิน พระมหากษัตริย์ราชวงศ์โจวตั้งแนวคิดซึ่งเรียกกันว่า "อาณัติแห่งสวรรค์" (Mandate of Heaven) ขึ้นเพื่อเป็นเหตุผลสำหรับการที่ตนโค่นล้มราชวงศ์ซาง โดยระบุว่า สวรรค์ย่อมประสาทอำนาจให้แก่ผู้นำซึ่งทรงธรรม และย่อมเพิกถอนอาณัติที่เคยให้ไว้แก่ผู้นำซึ่งกดขี่ ฉะนั้น อาณัติแห่งสวรรค์ย่อมถ่ายโอนไปยังบุคคลซึ่งปกครองเป็นเลิศ นักประวัติศาสตร์จีนตีความว่า การปฏิวัติสำเร็จเป็นเครื่องยืนยันว่า อาณัติแห่งสวรรค์ถ่ายโอนมาแล้ว ในทุกช่วงเวลาของประวัติศาสต์จีน ผู้ต่อต้านราชวงศ์ซึ่งกำลังอยู่ในอำนาจมักอ้างว่า อาณัติแห่งสวรรค์โอนผ่านมาแล้ว พวกเขาจึงชอบจะปฏิวัติ เป็นเหตุให้ราชวงศ์ที่กำลังผ่านบ้านครองเมืองมักคับอกคับใจกับทฤษฎีดังกล่าว และทำให้เมิ่งจื่อ (Mencius) ปรัชญาเมธีลัทธิขงจื่อ ถูกระงับงานเขียนที่แถลงว่า ประชาชนมีสิทธิคว่ำผู้ปกครองที่ไม่แยแสความต้องการของพวกตน สำหรับศาสนาอิสลามนั้น เบอร์นาร์ด ลิวอิส (Bernard Lewis) นักวิชาการ กล่าวว่า มีหลายจุดในคัมภีร์กุรอ่านที่ต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิปฏิวัติในศาสนาอิสลาม คัมภีร์ระบุไว้ชัดเจนว่า หน้าที่ต้องเชื่อฟังนั้นมีอยู่ กล่าวกันว่า มุฮัมมัดเคยเอ่ยว่า "จงเชื่อฟังพระเจ้า จงเชื่อฟังศาสดา จงเชื่อฟังบรรดาผู้มีอำนาจเหนือเจ้า" ("Obey God, obey the Prophet, obey those who hold authority over you.") แต่ก็มีถ้อยคำที่สร้างข้อจำกัดแก่หน้าที่ต้องเชื่อฟังนั้นอยู่เช่นกัน ในการนี้ มีดำรัสศาสดาอยู่สองข้อซึ่งยอมรับนับถือทั่วกันว่า ถูกต้องแท้จริง ข้อหนึ่งว่า "อย่าหัวอ่อนต่อบาป" ("there is no obedience in sin") กล่าวคือ ถ้าผู้ปกครองสั่งการอันใดอันขัดต่อเทวบัญญัติ ก็ไม่มีหน้าที่ต้องเชื่อฟัง อีกข้อหนึ่งว่า "อย่าศิโรราบต่อสัตว์ซึ่งขัดต่อพระผู้สร้าง" ("do not obey a creature against his Creator") ข้อนี้สร้างกรอบสำหรับการใช้อำนาจของผู้ปกครอง ไม่ว่าผู้ปกครองนั้นจะเป็นผู้ใดในสายพระเนตรพระเจ้า ส่วนทางยุโรปนั้น สิทธิปฏิวัติอาจย้อนหลังไปถึงมหากฎบัตร (Magna Carta) ซึ่งเป็นธรรมนูญของอังกฤษที่ตราขึ้นเมื่อปี 1215 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงสละสิทธิบางประการ และรับว่า จะทรงอยู่ในอำนาจกฎหมาย มหากฎบัตรยังมี "บทประกัน" (security clause) ซึ่งให้คณะบารอน (committee of barons) มีสิทธิยับยั้งพระราชประสงค์ของพระมหากษัตริย์ได้ แม้จะใช้กำลังยับยั้งก็ได้ถ้าจำเป็น มหากฎบัตรจึงมีอิทธิพลโดยตรงต่อพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยแบบมีรัฐสภารวมถึงเอกสารทางรัฐธรรมนูญอื่น ๆ เช่น รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา อนึ่ง สารตราทอง ค.ศ. 1222 (Golden Bull of 1222) ซึ่งแอนดริวที่ 2 (Andrew II) พระเจ้าแผ่นดินฮังการี ทรงตราขึ้นนั้น ยังให้ข้าราชการฮังการีมีสิทธินานัปการ รวมถึงสิทธิที่จะกระด้างกระเดื่องต่อพระมหากษัตริย์เมื่อทรงฝ่าฝืนกฎหมาย เรียกว่า "สิทธิต่อต้าน" (jus resistendi) สารตราทองนี้มักได้รับการเปรียบเทียบกับมหากฎบัตร เพราะสารตราทองเป็นเอกสารทางรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศฮังการี ขณะที่มหากฎบัตรก็นับได้ว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของชาติอังกฤษ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสิทธิปฏิวัติ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส

งครามปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolutionary Wars) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามประสานมิตร

งครามประสานมิตร (Coalition Wars) หมายถึงสงครามระหว่างพันธมิตรมหาอำนาจยุโรป เพื่อต่อต้านโมเดลการปฏิวัติในฝรั่งเศสและการแผ่อำนาจของนโปเลียน ซึ่งอาจหมายถึง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามประสานมิตร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่ง

งครามประสานมิตรครั้งที่ 1 (War of the First Coalition) เป็นส่วนหนึ่งของสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง

หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง (Louis Philippe II, Duke of Orléans หรือ Louis Philippe Joseph d'Orléans) (13 เมษายน ค.ศ. 1747 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1793) หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง ผู้เป็นดยุกแห่งออร์เลอ็ององค์ที่ 5 เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศสของสายย่อยของราชวงศ์บูร์บงซึ่งเป็นราชวงศ์ที่ครองฝรั่งเศสอยู่ในขณะนั้น หลุยส์ ฟีลิปเป็นผู้สนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสอย่างขันแข็งและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ฟีลิป เอกาลีเต” (Philippe Égalité) แต่กระนั้นก็ยังตกเป็นเหยื่อของการถูกประหารชีวิตโดยกิโยตีนระหว่างสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ลูกชายของหลุยส์ ฟิลิปป์ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสหลังจากการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและหลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บง

หลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บง ดัชเชสแห่งออร์เลอ็อง (Louise Marie Adélaïde de Bourbon, duchesse d'Orléans; 13 มีนาคม ค.ศ. 1753 - 23 มิถุนายน ค.ศ. 1821) เป็นภรรยาของผู้ถูก "สำเร็จโทษ" ฟีลิป เอกาลีเต และเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส หลุยส์ มารี อาเดลาอีดเป็นบุตรีของหลุยส์ ฌ็อง มารี เดอ บูร์บง ดุ๊กแห่งป็องเตียฟวร์ และมารีอา เตเรซา เดสเตแห่งโมเดนา หลังจากการเสียชีวิตของพี่ชาย หลุยส์ อาแล็กซ็องดร์ เดอ บูร์บง หลุยส์ มารี อาเดลาอีดก็กลายเป็นทายาทที่มั่งคั่งที่สุดในฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติ หลุยส์ มารี อาเดลาอีดเป็นพี่สะใภ้ของเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งซาวอย และมีความสัมพันธ์อันดีกับมารี อ็องตัวแน็ต และเป็นผู้อุปถัมภ์คนแรก ๆ ของเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง หลุยส์ มารี อาเดลาอีดเป็นสมาชิกคนสุดท้ายของตระกูลบูร์บง-ป็องเตียฟวร์ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2296 หมวดหมู่:ขุนนางฝรั่งเศส หมวดหมู่:ราชวงศ์ออร์เลอ็อง หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:ดยุกแห่งออร์เลอ็อง หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและหลุยส์ มารี อาเดลาอีด เดอ บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์

หลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ (Louis Antoine de Saint-Just) เป็นผู้นำทางการเมืองและการทหารในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาได้รับเลือกให้เข้าเป็นสมาชิกสภากงว็องซียงแห่งชาติในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินฮอสปิทัลเลอร์

ณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) หรือคณะฮอสปิทัลเลอร์ (Order of Hospitallers) เป็นคณะบุรุษที่ทำงานที่โรงพยาบาลอมาลฟิที่ตั้งขึ้นในเยรูซาเลมในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด

อัสแซสซินส์ครีด (Assassin's Creed) เป็นซีรีส์เกมสร้างจากนิยายอิงประวัติศาสตร์แนวแอ็กชันผจญภัย, ลอบฆ่า, โลกเปิด จำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอัสแซสซินส์ครีด · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด (หนังสือชุด)

นวนิยายชุดอัสแซสซินส์ครีด เขียนขึ้นโดย Anton Gill นักเขียนชาวอังกฤษภายใต้นามปากกาว่า Oliver Bowden มีเนื้อหาที่อ้างอิงมาจากเนื้อเรื่องหลักของซีรีส์เกมอิงประวัติศาสตร์ขายดีของยูบิซอฟต์ มอนทรีออล แอสแซสซิน ครีด ซึ่งเป็นเรื่องราวของนักฆ่าหลายคนที่ต้องต่อสู้กับกลุ่มเทมพลาร์ในช่วงเวลาต่างๆในประวัติศาสตร์ หนังสือตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์ เพนกวินบุ๊คส์ หนังสือเล่มแรกของซีรียส์ Assassin's Creed: Renaissance วางจำหน่ายวันที่ 26 พฤศจิกายน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอัสแซสซินส์ครีด (หนังสือชุด) · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี

อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี (Assassin's Creed Unity) เป็นซีรีส์เกมอิงประวัติศาสตร์แอ็คชันผจญภัย ที่พัฒนาโดย ยูบิซอฟท์ มอนทรีออล และจัดจำหน่ายโดย ยูบิซอฟท์ มีการกำหนดปล่อยตัวเกมในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม 2014 สำหรับเครื่องเล่นเพลย์สเตชัน 4,เอกซ์บอกซ์ วัน และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เป็นเกมชุดที่เจ็ดของเนื้อเรื่องหลักในซีรีส์อัสแซสซินส์ครีด และเป็นภาคต่อจากเกม อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็ก ในปี 2013 และเนื้อเรื่องมีความเกี่ยวข้องกับ อัสแซสซินส์ครีด โร้ก ที่จะมาพร้อมกันในปี 2014 เรื่องราวในภาคนี้จะอยู่ในกรุงปารีสช่วงยุคการปฏิวัติฝรั่งเศส ในโหมดผู้เล่นเดี่ยว เราจะได้รับบทเป็น อาร์โน โดเรียน ผู้ที่พยายามจะเปิดเผยความจริงที่อยู่เบื้องหลังอำนาจการปฏิวัติ รูปแบบของเกมยังคงเป็นในลักษณะมุมมองบุคคลที่สาม การสำรวจโลกเปิด และระบบการต่อสู้รวมถึงการลักลอบที่พัฒนาดีขึ้น ที่สำคัญ อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี ได้นำระบบการเล่นแบบ ที่สามารถให้ผู้เล่นร่วมทีมกันได้ถึง 4 คน ในการปฏิบัติภารกิจและสำรวจสถานที่ต่าง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี · ดูเพิ่มเติม »

อารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง)

อารามบอนวาล (Bonneval Abbey) มีชื่อเต็มว่าอารามแม่พระแห่งบอนวาล (Abbaye Notre-Dame de Bonneval) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ที่เมืองเลอแกรอล จังหวัดอาแวรง แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส ในปัจจุบันเป็นของนักพรตหญิงคณะแทรปพิสต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง) · ดูเพิ่มเติม »

อารามฟงต์แน

อารามฟงต์แน (Abbaye de Fontenay) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียนที่สมบูรณ์และเก่าแก่ที่สุดของยุโรป ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเมืองมงบาร์ ประเทศฝรั่งเศส อารามฟงต์แนก่อตั้งโดยนักบุญแบร์นาร์แห่งแกลร์โวในปี ค.ศ. 1118 เพียงสองสามปีหลังจากที่ออกจากอารามซีโต (Cîteaux Abbey) เพื่อไปก่อตั้งอารามแกลร์โว อารามตั้งอยู่ในป่าโปร่งขนาดย่อมราว 60 กิโลเมตรจากดีฌง (Dijon) และมารุ่งเรืองในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และ 13 แม้ว่าฟงต์แนได้รับการพิทักษ์จากพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแต่ก็มาถูกปล้นระหว่างสงครามร้อยปีและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ต่อมาฟงต์แนก็เสื่อมโทรมลง ครัวอาราม (refectory) ถูกรื้อทิ้งในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอารามฟงต์แน · ดูเพิ่มเติม »

อารามรัวโยมง

อารามรัวโยมง (Abbaye de Royaumont, Royaumont Abbey) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเมืองอาเนียร์ซูว์รวซ (Asnières-sur-Oise) ในจังหวัดวาล-ดวซ แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส ราว 30 กิโลเมตรเหนือกรุงปารีส อารามรัวโยมงสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1228 ถึงปี ค.ศ. 1235 โดยการสนับสนุนของพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส เป็นที่ฝังพระศพของพระราชวงศ์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ เช่น พระราชโอรสธิดาสามพระองค์ และพระราชนัดดาสองพระองค์ของพระเจ้าหลุยส์เอง อารามรัวโยมงถูกยุบเลิกในปี ค.ศ. 1791 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส หินจากอารามถูกขนไปใช้สร้างโรงงานแต่ห้องเก็บเครื่องพิธี ระเบียงฉันนบถ และหอฉันไม่ได้รับความเสียหาย เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตระกูล Goüin ทำการซื้อแอบบี และในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอารามรัวโยมง · ดูเพิ่มเติม »

อารามวัลด์ซัสเซิน

อารามวัลด์ซัสเซิน (Kloster Waldsassen) เป็นอารามนักพรตหญิงของคณะซิสเตอร์เชียน เดิมเป็นแอบบีย์ของนักพรตชาย ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำวอนเดร็บที่วัลด์ซัสเซินในรัฐบาวาเรียไม่ไกลจากพรมแดนเยอรมนีที่ติดกับสาธารณรัฐเชก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอารามวัลด์ซัสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ

อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Beaulieu-sur-Dordogne Abbey) หรือชื่อเต็มคือ อารามแซ็ง-ปีแยร์เดอโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Abbaye Saint-Pierre de Beaulieu-sur-Dordogne) เป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่เมืองโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ กอแรซ แคว้นลีมูแซ็ง ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชเดอลาเดฟ็องส์

อาร์ชเดอลาเดฟ็องส์ (Arche de la Défense) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ประตูใหญ่แห่งภราดรภาพ (Grande Arche de la Fraternité, "ช่องโค้งใหญ่แห่งภราดรภาพ") เป็นอนุสรณ์สถานตั้งอยู่บนย่านลาเดฟ็องส์ ทางทิศตะวันตกของกรุงปารีส ส่วนมากมักจะเรียกสถานที่แห่งนี้ว่า "อาร์ชเดอลาเดฟ็องส์" หรือ "ลากร็องดาร์ช" (La Grande Arche, "ช่องโค้งใหญ่").

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาร์ชเดอลาเดฟ็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวล

อาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวล (Arc de triomphe de l'Étoile) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ประตูชัยฝรั่งเศส เป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่กลางจัตุรัสชาร์ล เดอ โกล (Place Charles de Gaulle) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม "จัตุรัสแห่งดวงดาว" (Place de l'Étoile) อยู่ทางทิศตะวันตกของช็องเซลีเซ ประตูชัยแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นการสดุดีวีรชนทหารกล้าที่ได้ร่วมรบเพื่อประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามนโปเลียน และในปัจจุบันยังเป็นสุสานของทหารนิรนามอีกด้วย ประตูชัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของ "แกนกลางอันเก่าแก่" (L'Axe historique) ซึ่งเป็นถนนเส้นตรงจากสวนพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ไปยังชานกรุงปารีส ประตูชัยแห่งนี้ออกแบบโดยฌ็อง ชาลแกร็งในปี พ.ศ. 2349 โดยมียุวชนเปลือยชาวฝรั่งเศสกำลังต่อสู้กับทหารเยอรมัน เต็มไปด้วยเคราและใส่เกราะเป็นสัญลักษณ์เพื่อเป็นการปลุกใจ และเป็นอนุสรณ์สถานจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1 อาร์กเดอทรียงฟ์มีความสูง 49.5 เมตร (165 ฟุต) กว้าง 45 เมตร (148 ฟุต) และลึก 22 เมตร (72 ฟุต) เป็นประตูชัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน แบบของอาร์กเดอทรียงฟ์นี้ได้แนวความคิดมาจากประตูชัยไตตัส อาร์กเดอทรียงฟ์มีความใหญ่มาก เพราะหลังจากมีการสวนสนามในปรุงปารีสเมื่อปี พ.ศ. 2462 ชาร์ล โกดฟรัว ได้ขับเครื่องบินนีอูปอร์ต (Nieuport) ผ่านกลางอาร์กเดอทรียงฟ์เพื่อเป็นการสดุดีเหล่าทหารอากาศที่ได้เสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวล · ดูเพิ่มเติม »

อาวีญงปาปาซี

พระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง อาวีญงปาปาซี (Avignon Papacy) หรือ สมณสมัยอาวีญง คือช่วงเวลาที่พระสันตะปาปา 7 พระองค์ประทับ ณ เมืองอาวีญง ราชอาณาจักรฝรั่งเศส แทนการประทับที่กรุงโรมตามปกติ สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างองค์พระสันตะปาปากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ภายหลังจากความขัดแย้งระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 กับพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 ผู้สืบทอดตำแหน่งสมเด็จพระสันตะปาปาต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 และดำรงสมณศักดิ์ได้เพียง 8 เดือน การประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาให้อาร์ชบิชอปแบร์ทร็อง ชาวฝรั่งเศส ขึ้นดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระสันตะปาปาพระองค์ใหม่ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาวีญงปาปาซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมากง

อาสนวิหารมากง (Cathédrale de Mâcon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญบิเซนเตแห่งมากง (Cathédrale Saint-Vincent de Mâcon) ในอดีตมีฐานะเป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลมากงซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลโอเติงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองมากง จังหวัดโซเนลัวร์ แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญบิเซนเตแห่งอูเอสกา อาสนวิหารประกอบด้วยสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นผสมผสานของทั้งสองแบบ คือโรมาเนสก์และกอทิก ซึ่งต่อมาได้ถูกทำลายลงเนื่องจากเหตุผลเรื่องความไม่ปลอดภัยทางโครงสร้างในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารมากง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลียง

อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟนแห่งลียง (La Primatiale Saint-Jean-Baptiste-et-Saint-Étienne) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์น (Cathédrale Saint-Jean) และ อาสนวิหารลียง (Cathédrale de Lyon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกที่อยู่ในระดับสูงกว่าอาสนวิหารทั่วไปหรือที่เรียกว่า primatial cathedral เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลลียง โดยตามตำแหน่งแล้ว อัครมุขนายกแห่งลียงยังรั้งตำแหน่งผู้นำแห่งชาวกอลทั้งปวง (Primat des Gaules) อีกด้วย อาสนวิหารตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองลียง จังหวัดโรน แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่สองอัครทูตสำคัญ คือนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟน โดยแต่แรกอาสนวิหารนี้ตั้งใจสร้างเพื่ออุทิศให้แก่นักบุญสเทเฟน และให้เกียรติแก่ผู้ให้ศีลล้างบาปแก่พระองค์ด้วย นั่นคือนักบุญยอห์น จึงเป็นที่มาของชื่อทั้งสองของอาสนวิหารแห่งนี้ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารลียง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอานซี

อาสนวิหารอานซี (Cathédrale d'Annecy) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งอานซี (Cathédrale Saint-Pierre d'Annecy) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลอานซี ตั้งอยู่ที่เมืองอานซีในจังหวัดโอต-ซาวัว แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารอานซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาแฌ็ง

อาสนวิหารอาแฌ็ง (Cathédrale d'Agen) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญกาแพรแห่งอาแฌ็ง (Cathédrale Saint-Caprais d'Agen) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลอาแฌ็ง ตั้งอยู่ที่เมืองอาแฌ็ง จังหวัดลอเตการอน แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญกาแพรแห่งอาแฌ็ง อาสนวิหารอาแฌ็งได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งบนเส้นทางแห่งผู้แสวงบุญ (เส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศส) ซึ่งได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารอาแฌ็ง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารดักซ์

อาสนวิหารดักซ์ (Cathédrale de Dax) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งดักซ์ (Cathédrale Notre-Dame de Dax) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแอร์และดักซ์ ตั้งอยู่ที่เมืองดักซ์ จังหวัดล็องด์ ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของอดีตมุขมณฑลดักซ์ แต่ได้ถูกยุบลงภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งรวมถึงอดีตมุขมณฑลแอร์ซึ่งประสบชะตากรรมเดียวกันด้วย โดยทั้งสองได้ถูกยุบผนวกกับมุขมณฑลบายอนตามความตกลง ค.ศ. 1801 และต่อมาในปี ค.ศ. 1817 ได้มีการแยกออกมาอีกครั้งหนึ่งโดยรวมเป็นหนึ่งมุขมณฑล มีชื่อเรียกว่า มุขมณฑลแอร์และดักซ์ โดยมีที่ตั้งของมุขนายกที่อาสนวิหารแอร์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1833 ได้มีการย้ายที่ตั้งของมุขนายกมาอยู่ที่อาสนวิหารแห่งดักซ์ อนึ่ง อาสนวิหารแอร์ยังคงเป็นอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1884 ในบริเวณซุ้มประตูอัครทูต (Portail des Apôtres) และอาคารส่วนที่เหลือ ค.ศ. 1946.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารดักซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนัวยง

อาสนวิหารนัวยง (Cathédrale de Noyon) หรือชื่อทางการว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งนัวยง (Cathédrale Notre-Dame de Noyon) ในอดีตเป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกของอดีตมุขมณฑลนัวยง ตั้งอยู่ที่เมืองนัวยงในจังหวัดอวซ แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารนัวยงเดิมเป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งมุขนายกแห่งนัวยง ต่อมาถูกยุบรวมกับมุขมณฑลโบแวตามความตกลง ค.ศ. 1801 ในปัจจุบันจึงมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตในสังกัดมุขมณฑลโบแว ตัวอาสนวิหารสร้างบนสถานที่เดิมเป็นโบสถ์ที่ถูกเพลิงไหม้ไปในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารนัวยง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส

"ครีบยันลอย" (flying buttress) ที่ยื่นออกไปรอบบริเวณร้องเพลงด้านหลังโบสถ์ อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส (Cathédrale Notre-Dame de Paris) เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลปารีส ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส คำว่า Notre Dame แปลว่า แม่พระ (Our Lady) ซึ่งเป็นคำที่ชาวคาทอลิกใช้เรียกพระนางมารีย์พรหมจารี ปัจจุบันอาสนวิหารก็ยังใช้เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งคาเทดราของอาร์ชบิชอปแห่งปารีส อาสนวิหารน็อทร์-ดามถือกันว่าเป็นโบสถ์ที่สวยงามที่สุดในลักษณะกอทิกแบบฝรั่งเศส โบสถ์นี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยเออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก ผู้เป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส การก่อสร้างเป็นแบบกอทิก นับเป็นอาสนวิหารแรกที่สร้างในลักษณะนี้ และการก่อสร้างก็ทำต่อเนื่องมาตลอดสมัยกอทิก ประติมากรรม และหน้าต่างประดับกระจกสี (stained glass) มีอิทธิพลจากศิลปะแบบแนทเชอราลลิสม์ ทำให้แตกต่างจากศิลปะโรมาเนสก์ที่สร้างก่อนหน้านั้น น็อทร์-ดามเป็นหนึ่งในบรรดาสิ่งก่อสร้างแรกที่ใช้ "ครีบยันลอย" ตามแบบเดิมไม่ได้บ่งถึงกำแพงค้ำยันรอบอาสนวิหาร "บริเวณร้องเพลงสวด" หรือ รอบบริเวณกลางโบสถ์ เมื่อเริ่มสร้างกำแพงโบสถ์สูงขึ้นกำแพงก็เริ่มร้าวเพราะน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง เพราะสถาปนิกสมัยกอทิกจะเน้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่สูง บาง และโปร่ง เมื่อสร้างสูงขึ้นไปกำแพงก็ไม่สามารถรับน้ำหนักและความกดดันของกำแพงและหลังคาได้ทำให้กำแพงโก่งออกไปและร้าว สถาปนิกจึงใช้วิธีแก้ด้วยการเติม "กำแพงค้ำยัน" ที่กางออกไปคล้ายปีกนกด้านนอกตัววัด เพื่อให้กำแพงค้ำยันนี้หนุนหรือค้ำกำแพงตัวโบสถ์เอาไว้ เมื่อทำไปแล้วนอกจากจะมีประโยชน์ทางการใช้สอยแล้วยังกลายเป็นเครื่องตกแต่งที่ทำให้สิ่งก่อสร้างความสวยงามขึ้น ฉะนั้นวิธีแก้ปัญหานี้จึงกลายเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของโบสถ์ที่สร้างแบบกอทิกไปในตัว ในปี ค.ศ. 1793 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส โบสถ์ก็ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ประติมากรรมและศิลปะทางศาสนาถูกทำลายไปมาก อาสนวิหารได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนมีสภาพเหมือนก่อนหน้าที่ถูกทำล.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง

อาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง (Cathédrale de Clermont-Ferrand) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งแกลร์มง-แฟร็อง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Clermont-Ferrand) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองแกลร์มง-แฟร็องในจังหวัดปุย-เดอ-โดมในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งแกลร์มง สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิกที่สร้างด้วยหินภูเขาไฟสีดำทั้งหลังที่ทำให้เป็นเอกลักษณ์จากอาสนวิหารอื่นและมองเห็นแต่ไกลจากหอสูงสองหอที่สูง 96.2 เมตรเหนือสิ่งก่อสร้างอื่นใดของตัวเมือง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแรน

อาสนวิหารแรน (Cathédrale de Rennes) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแรน (Cathédrale Saint-Pierre de Rennes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลแรน ตั้งอยู่ในเขตเมืองแรนในจังหวัดอีเลวีแลน แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารแรน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแวร์ซาย

อาสนวิหารแวร์ซาย (Cathédrale de Versailles) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งแวร์ซาย (Cathédrale Saint-Louis de Versailles) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งคาเทดราของมุขนายกประจำมุขมณฑลแวร์ซาย ตั้งอยู่ในเมืองแวร์ซาย ชานกรุงปารีส จังหวัดอีฟว์ลีน แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างตามพระบัญชาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส ในฐานะโบสถ์ประจำเขตแพริช ในสถาปัตยกรรมแบบโรโกโกอันวิจิตร เมื่อปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale de Saint-Flour) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale Saint-Pierre de Saint-Flour) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลมุขมณฑลแซ็ง-ฟลูร์ ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-ฟลูร์ จังหวัดก็องตาล ในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เป็นหนึ่งในอาสนวิหารทั้งหมดสี่แห่งของภูมิภาคโอแวร์ญ ตั้งอยู่กลางใจเมืองเก่าของแซ็ง-ฟลูร์ และเป็นอาสนวิหารที่สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมกอทิกสร้างเสร็จในคริสต์ศตวรรษที่ 15 บนที่ตั้งของบาซิลิกาแบบโรมาเนสก์เดิม หินที่ใช้สร้างมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับสิ่งก่อสร้างทางคริสต์ศาสนาในแถบนี้ ซึ่งเป็นหินภูเขาไฟมีสีดำสนิทอันเป็นเอกลักษณ์สำคัญของอาสนวิหาร ต่อมาภายหลังอาสนวิหารได้ถูกปล่อยให้ชำรุดทรุดโทรมลงมากในช่วงของการปฏิวัติฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง (Cathédrale de Perpignan) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาแห่งแปร์ปีญ็อง (Cathédrale Saint-Jean-Baptiste de Perpignan; Catedral de Sant Joan Baptista de Perpinyà) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งอาสนะของมุขนายกประจำมุขมณฑลแปร์ปีญ็อง-แอลน์ ตั้งอยู่ในเขตเมืองแปร์ปีญ็อง จังหวัดปีเรเน-ออรีย็องตาล แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอาสนวิหารจากการย้ายอาสนะของมุขนายกจากมุขมณฑลแอลน์ (เดิมอาสนะตั้งอยู่ที่อาสนวิหารแอลน์) มารวมอยู่ที่มุขมณฑลแปร์ปีญ็องเมื่อปี ค.ศ. 1602 ตามพระบัญชาของสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8 อาสนวิหารแปร์ปีญ็องได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารแปร์ปีญ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale du Puy-en-Velay) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation du Puy-en-Velay) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลเลอปุย-อ็อง-เวอแล ตั้งอยู่ที่เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล จังหวัดโอต-ลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร และยังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นบาซิลิกาเมื่อปีค.ศ. 1856 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 อาสนวิหารเป็นอาคารแบบสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และศิลปะโรมาเนสก์ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งตะวันตกของคริสตจักร และยังเป็นหนึ่งในสถานที่แสวงบุญของชาวคริสต์มาตั้งแต่สมัยก่อนจักรพรรดิชาร์เลอมาญ อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งยังอยู่ในมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล · ดูเพิ่มเติม »

อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา

อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา (Alexandre Dumas; 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1802 – 5 ธันวาคม ค.ศ. 1870) หรือ อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา ผู้พ่อ (Alexandre Dumas, père) เป็นนักเขียนชาวฝรั่งเศส มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ สามทหารเสือ (ค.ศ. 1844) และ เดอะเคานต์ออฟมอนตีคริสโต (ค.ศ. 1844-1845).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา · ดูเพิ่มเติม »

อาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์

อาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์ (Adrien-Marie Legendre) (18 กันยายน ค.ศ. 1752 – 10 มกราคม ค.ศ. 1833) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งมีความสำคัญในการให้ความรู้ทางสถิติศาสตร์ ทฤษฎีจำนวน พีชคณิตนามธรรม และคณิตวิเคราะห.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ

ระมหากษัตริย์เป็นผลสำเร็จ • ล่าง: จอร์จ วอชิงตัน (George Washington) ลงชื่อในรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาท่ามกลางสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

อิมพีเรียลแอบบีย์

แอบบีอ็อตโตบวยเร็นได้รับฐานะเป็น “อิมพีเรียลแอบบี” ในปี ค.ศ. 1299 อิมพีเรียลแอบบี (Reichsabteien หรือ Reichsklöster หรือ Reichsstifte, Imperial abbeys) สังฆารามหลวง คือบ้านพักของนักบวชคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้รับ “อิมพีเรียลอิมมีเดียซี” (Reichsunmittelbarkeit) เป็น “ดินแดนอธิปไตย” ที่ขึ้นตรงต่อสมเด็จพระจักรพรรดิ (ไม่ว่าจะมีขนาดเล็กเท่าใดก็ตาม) สิทธิที่ได้รับทำให้ได้รับผลประโยชน์ต่างๆ เช่นสิทธิในการเก็บภาษีต่าง ๆ และสิทธิในการมีศาลยุติธรรม ประมุขของอิมพีเรียลแอบบีมีตำแหน่งเป็น “อิมพีเรียลอธิการอาราม” (Imperial abbot) ถ้าเป็นระดับไพรออรีหรือโพรโวสต์ (Reichspropstei) ก็จะมีตำแหน่งเป็น “อิมพีเรียลไฟรเออร์” (Reichspropst) ถ้าอารามมีฐานะเป็นราชรัฐชั้นพรินซิพาลิตี (ecclesiastical principality) ก็จะปกครองโดย “เจ้าชายอธิการอาราม” (Fürstabt หรือ Fürstpropst) ที่เทียบเท่ากับตำแหน่ง “มุขนายกผู้ครองนคร” (Fürstbischof) แต่โดยทั่วไปแล้วบ้านพักนักบวชเหล่านี้จะมีขนาดเล็กมากที่เรียกว่า “อิมพีเรียลพรีเลต” (Imperial prelates หรือ Reichsprelaten) ที่รวมกันแล้วมีเพียงเสียงเดียวในการออกเสียงในสภานิติบัญญัติของจักรวรรดิ (Reichstag) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอิมพีเรียลแอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อิลลูมินาตี

Adam Weishaupt (1748–1830), ผู้ก่อตั้งอิลลูมินาตีบาวาเรียน อิลลูมินาตี (Illuminati) เป็นชื่อเรียกหลายกลุ่ม ทั้งที่เป็นจริงและแต่งขึ้น ในอดีต ชื่อนี้หมายความถึง อิลลูมินาตีบาวาเรียน สมาคมลับในยุคเรืองปัญญา ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอิลลูมินาตี · ดูเพิ่มเติม »

อนุรักษนิยม

อนุรักษนิยม หรือ คติอนุรักษ์ (conservatism), โดยทั่วไปหมายถึงปรัชญาทางการเมืองที่ยึดถือเอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป และส่วนใหญ่จะอยู่ตรงข้ามกับแนวคิดเสรีนิยม แนวอนุรักษนิยมทางการเมืองสมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอุตสาหกรรม อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง พรรคการเมืองที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมจัดเป็นพรรคอนุรักษนิยม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอนุรักษนิยม · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส

ตรา "อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส" อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส หรือ มอนูว์ม็องอิสตอริก (Monument historique) คือกระบวนการของรัฐในประเทศฝรั่งเศสในการจัดเครือข่ายสิ่งที่ควรได้รับการพิทักษ์ในฐานะที่เป็นมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้าง, ส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้าง, กลุ่มสิ่งก่อสร้าง, หรืออาจจะเป็นประชาคมทั้งประชาคม, สวน, สะพาน หรือ โครงสร้างอื่นๆ เพราะความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และ สถาปัตยกรรม สิ่งที่ได้รับฐานะเป็น “อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์" อาจจะเป็นได้ทั้งสิ่งที่เป็นของรัฐหรือเอกชนก็ได้ ตัวอย่างของสิ่งก่อสร้างที่มีฐานะเป็น “อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์" ก็รวมทั้งหอไอเฟล, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ และ โรงอุปรากรปาแลการ์นีเย และแอบบี หรือ คริสต์ศาสนสถาน ที่รวมทั้งมหาวิหารเช่นมหาวิหารโนเทรอดามแห่งปารีส หรือพระราชวัง, วัง หรือ คฤหาสน์ เช่น ปราสาทและวังแห่งลุ่มแม่น้ำลัวร์ หลายแห่ง สิ่งก่อสร้างบางหลังก็อาจจะได้รับฐานะเฉพาะภายนอก หรือ เฉพาะภายใน หรือทั้งภายนอกและภายใน ขณะที่สิ่งก่อสร้างบางหลังอาจจะได้รับฐานะเฉพาะการตกแต่ง, "อร์นิเจอร์, ห้องเพียงห้องเดียว หรือ แม้แต่เพียงบันได ว่ามีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ตัวอย่างของสิ่งก่อสร้างที่ได้รับฐานะเพราะการตกแต่งก็ได้แก่ "Deux Garcons" ในแอ็กซ็องพรอว็องส์ที่ผู้อุปถัมภ์รวมทั้งอาลฟงส์ เดอ ลามาร์ตีน, เอมีล ซอลา และปอล เซซาน หรือสิ่งก่อสร้างบางหลังก็อาจจะได้รับฐานะเพราะความเกี่ยวข้องกับบุคคลสำคัญ เช่น ตึก Auberge Ravoux ที่โอแวร์ซูว์รวซ เพราะเป็นสถานที่จิตรกรฟินเซนต์ ฟัน โคคใช้เวลาส่วนใหญ่ในบั้นปลายที่นั่น การระบุความสำคัญของสิ่งก่อสร้างมีรากฐานมาจากการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อรัฐบาลแต่งตั้งให้อเล็กซองเดรอ เลอนัวร์มีความรับผิดชอบในการระบุและพิทักษ์โครงสร้างที่มีความสำคัญ การจัดแบ่งประเภทจัดทำขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนักเขียนพรอสแพร์ เมอริมี ผู้เป็นผู้ตรวจการทั่วไปของอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อ็องเฌ

อ็องเฌ (Angers) เป็นเมืองในภาคตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส ประมาณ 300 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้จากปารีส เมืองแห่งนี้เคยเป็นเมืองเอกของมณฑลอ็องฌูก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศส ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมืองนี้และมณฑลนี้จะเรียกตัวเองว่า อ็องฌ์แว็ง เฉพาะเทศบาลเมืองอ็องเฌ (ไม่นับรวมเขตปริมณฑล) เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ของภาคตะวันตกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส รองจากน็องต์และแรน และมากเป็นอันดับที่ 17 ของประเท.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและอ็องเฌ · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ กูตง

อร์ฌ โอกุสต์ กูตง (22 ธันวาคม ค.ศ. 1755 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794) ฌอร์ฌ โอกุสต์ กูตง (Georges Auguste Couthon) เป็นนักการเมืองและนักกฎหมายชาวฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกสภากงว็องซียงแห่งชาติในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส นอกจากนี้เขายังได้รับเลือกเป็นหนึ่งในคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมและกลายเป็นบุคคลใกล้ชิดของมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ และหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ สองผู้ทรงอำนาจแห่งฝรั่งเศส กูตงเป็นผู้ผลักดันกฎหมายเดือนแพรรียาล (Loi de Prairial) ซึ่งให้อำนาจคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมมีอำนาจเชิงตุลาการเพิ่มเข้ามา อันนำไปสู่การกวาดล้าง จับกุม และประหารชีวิตฝ่ายตรงข้ามอย่างมากมายซึ่งเรียกว่าสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว หลังรอแบ็สปีแยร์ถูกโค่นล้มโดยการลุกฮือของประชาชน เขาและบรรดาสมาชิกคณะกรรมาธิการความปลอดภัยคนอื่น ๆ ก็ต่างถูกพาตัวไปประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในวันที่ 28 กรกฎาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌอร์ฌ กูตง · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ ด็องตง

อร์ฌ ฌัก ด็องตง (Georges Jacques Danton) เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวคนสำคัญในช่วงต้นของการปฏิวัติฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์ได้อธิบายว่าเขาเป็น "หัวหอกที่โค่นล้มระบอบกษัตริย์ฝรั่งเศสและสถาปนาสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1" ในช่วงสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว เขาในฐานะเลขาสภาพยายามผลักดันให้สภาฝรั่งเศสรักษาสันติภาพกับบรรดาต่างชาติไว้ แต่ท้ายที่สุด สภาก็ประกาศสงครามกับมหาอำนาจยุโรปอย่างอังกฤษ สเปน และโปรตุเกส ด็องตงหันไปร่วมมือกับนักหนังสือพิมพ์คนหนึ่ง ลงบทความหนังสือพิมพ์ชื่อ Le Vieux Cordelier ซึ่งเรียกร้องให้ยุติสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวและการกีดกันศาสนาคริสต์ รวมถึงวิพากษ์วิจารณ์คณะกรรมาธิการความปลอดภัยฯ การกระทำนี้ทำให้เขาขัดแย้งกับคณะกรรมาธิการความปลอดภัยฯ ซึ่งมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ กุมอำนาจอยู่ ส่งผลให้เริ่มมีคนพยายามขุดคุ้ยหาความผิดของเขา ด็องตงถูกฟ้องร้องในข้อหาทุจริตรับผลประโยชน์ในช่วงที่เขาเรืองอำนาจ เขาถูกเพื่อนร่วมงานของเขาให้การถึงความอู้ฟู่ในช่วงการปฏิวัติฯ รวมไปถึงทรัพย์สินอันไม่สามารถอธิบายที่มาได้ แต่หลักฐานที่นำมาแสดงกลับค่อนข้างคลุมเครือและไม่ปะติดปะต่อ ตัวด็องตงเองแม้จะถูกฟ้องร้องแต่ก็ไม่หนีไปไหนและยังคงทำงานที่สภา ในที่สุดด็องตงก็ถูกเข้าจับกุมอย่างฉับพลันในวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌอร์ฌ ด็องตง · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก ปีแยร์ บรีโซ

ัก ปีแยร์ บรีโซ (Jacques Pierre Brissot) เป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคฌีรงแด็ง กลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศฝรั่งเศสระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสและเป็นได้รองประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายตรงข้ามเขาได้ใช้กำลังอาวุธเข้าบีบบังคับสภาให้ปลดและจับกุมตัวเขาตลอดจนสมาชิกฌีรงแด็งคนอื่น ๆ ท้ายที่สุดเขาถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌัก ปีแยร์ บรีโซ · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก แนแกร์

ัก แนแกร์ (Jacques Necker) เป็นนายธนาคารชาวสวิสซึ่งกลายเป็นรัฐบุรุษ รัฐมนตรีคลัง และหัวหน้ารัฐบาลของฝรั่งเศสในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แนแกร์เกิดในเจนีวาในยุคที่เจนีวายังเป็นรัฐอิสระ เขาเป็นบุตรของคาร์ล ฟริดริช เน็คเคอร์ ชาวเยอรมันเชื้อสายปรัสเซีย แนแกร์เริ่มมีผลงานด้านกฎหมายระหว่างประเทศ เขาก็เป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมายมหาชนที่เจนีวา ต่อมาในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌัก แนแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก เอแบร์

ัก-เรอเน เอแบร์ (Jacques-René Hébert) เป็นนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ ลาแปร์ดูว์แชน (Le Père Duchesne) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ลัทธิหัวรุนแรงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และทำให้เขาเป็นผู้นำของกลุ่มเอแบร์ (Hébertist) ในวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌัก เอแบร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก-หลุยส์ ดาวีด

ัก-หลุยส์ ดาวีด ฌัก-หลุยส์ ดาวีด (Jacques-Louis David; 30 สิงหาคม ค.ศ. 1748 - 29 ธันวาคม ค.ศ. 1825) เป็นศิลปินในยุคนีโอคลาสสิก ที่มีชื่อเสียงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสและยังเป็นจิตรกรในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌัก-หลุยส์ ดาวีด · ดูเพิ่มเติม »

ฌากอแบ็ง

การประชุมใหญ่สโมสรฌากอแบ็งในปีค.ศ. 1791 สมาคมเหล่าสหายของรัฐธรรมนูญ (Société des amis de la Constitution) หรือหลังเปลี่ยนชื่อในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌากอแบ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฌาน ดาร์ก

น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌาน ดาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ฌีรงแด็ง

ีรงแด็ง (Girondin) เป็นสมาชิกกลุ่มทางการเมืองแบบหลวม ๆ กลุ่มหนึ่งในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสมัชชานิติบัญญัติและสภากงว็องซียงแห่งชาติในช่วงปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌีรงแด็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต

มารี-ฌอแซ็ฟ ปอล อีฟว์ ร็อก ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย, มาร์กี เดอ ลา ฟาแย็ต (Marie-Joseph Paul Yves Roch Gilbert du Motier, Marquis de Lafayette; 6 กันยายน ค.ศ. 1757 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1834) เป็นขุนนางทหารชาวฝรั่งเศส ผู้ช่วยเหลือชาวอเมริกันทำสงครามปฏิวัติ เป็นเพื่อนสนิทของจอร์จ วอชิงตัน อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน และทอมัส เจฟเฟอร์สัน นอกจากนี้ยังมีบทบาทในการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ลาฟาแย็ตเกิดในตระกูลขุนนางมั่งคั่งในจังหวัดโอแวร์ญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศส และได้รับราชการทหารตามครอบครัวตั้งแต่อายุได้ 13 ปี ต่อมาได้เข้าร่วมสงครามปฏิวัติอเมริกาและได้รับยศพลตรีตั้งแต่อายุเพียง 19 ปี เมื่อได้รับบาดเจ็บในยุทธการที่แบรนดีไวน์ ลาฟาแย็ตยังสามารถจัดถอยทัพได้อย่างเป็นระเบียบ และมีผลงานในยุทธการที่โรดไอแลนด์ ในช่วงกลางสงคราม เขากลับฝรั่งเศสเพื่อขอให้รัฐบาลเพิ่มงบประมาณสนับสนุน เขากลับอเมริกาอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌ็อง-ฌัก รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็ส

็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็ส (Jean Jacques Régis de Cambacérès) เป็นขุนนาง รัฐบุรุษ และนักกฎหมายชาวฝรั่งเศสในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 เขาเป็นหนึ่งในคณะผู้ร่างประมวลกฎหมายนโปเลียน ซึ่งกลายเป็นรากฐานของประมวลกฎหมายแพ่งของฝรั่งเศสตลอดจนกฎหมายแห่งในหลายประเทศ ก็องบาเซแร็สเกิดในเมืองมงเปอลีเยในตระกูลขุนนางยากจน ในปี 1744 เขาสำเร็จการศึกษาด้านกฎหมายและสืบทอดงานต่อจากบิดาในตำแหน่งที่ปรึกษาประจำสำนักบัญชีและการเงินในเมืองตูลูซ เขาเป็นผู้สนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสซึ่งเริ่มขึ้นในปี 1789 ต่อมาในปี 1792 เขาได้เป็นผู้แทนในสภากงว็องซียงแห่งชาติ และต่อมาได้เข้าเป็นสมาชิกในคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมหลังการสิ้นอำนาจของรอแบ็สปีแยร์ เมื่อนายพลนโปเลียนก่อรัฐประหาร 18 บรูว์แมร์ในปี 1799 เขาก็ได้รับแต่งตั้งเป็น "กงสุลโท" ในคณะกงสุลฝรั่งเศส ซึ่งตลอดช่วงที่เป็นกงสุลนี้ เขารับผิดชอบด้านการร่างประมวลกฎหมายแพ่งฉบับใหม่ของฝรั่งเศสซึ่งเรียกว่า "ประมวลกฎหมายนโปเลียน" อันเป็นกฎหมายที่ปรับปรุงมาจากกฎหมายโรมัน ประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้รับการยอมรับนับถือเป็นประมวลกฎหมายสมัยใหม่ฉบับแรกของฝรั่งเศส ประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้รับการประกาศใช้โดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ในปี 1804 แม้ก็องบาเซแร็สไม่เคยเห็นด้วยกับการปราบดาตนขึ้นเป็นจักรพรรดิของนโปเลียน แต่เขาก็ยอมรับใช้จักรพรรดินโปเลียน เขาได้รับการอวยยศขึ้นเป็นเจ้าชาย และในปี 1808 ก็ได้เป็นดยุกแห่งปาร์มา โดยพื้นฐานแล้ว เขาถือเป็นข้าราชการพลเรือนผู้มีอำนาจเป็นอันดับสองของฝรั่งเศสในยุคจักรพรรดินโปเลียน ก็องบาเซแร็สเป็นบุคคลรักร่วมเพศ รสนิยมทางเพศของเขาเป็นที่รับรู้กันในคนหมู่มาก และเขาก็ไม่ได้มีความพยายามจะปิดบังเลย นโปเลียนมักจะนำประเด็นเรื่องนี้มีมาแซวเล่นกับเขาอยู่เสมอ เขามีสไตล์การใช้ชีวิตฟุ่มเฟือยและหรูหรา มื้อค่ำในบ้านของเขาเป็นที่เลื่องลือว่าดีเลิศที่สุดในฝรั่งเศส เขามีทรัพย์สินราว 7.3 ล้านฟรังค์ (ราว 2,000 ล้านบาท ณ ปี 2015) ณ วันที่เขาถึงแก่อสัญกรรมในปี 1824.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌ็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็ส · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ปอล มารา

็อง-ปอล มารา (Jean-Paul Marat) เป็นนักทฤษฎีการเมือง แพทย์ และนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเขียนบทความทางการเมืองฝ่ายซ้ายจัดลงในหนังสือพิมพ์ในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในสื่อมวลชนหัวซ้ายจัดที่สุดในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเป็นกระบอกเสียงให้สำคัญแก่พวกซ็อง-กูว์ล็อต (ชนชั้นกลางและล่าง) ผ่านใบปลิว ป้ายประกาศ หนังสือพิมพ์ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ ลามีดูว์เปิปล์ ("สหายของประชาชน") ซึ่งช่วยทำให้เขามีเส้นสายกับกลุ่มลามงตาญในสโมสรฌากอแบ็ง ซึ่งกลุ่มนี้ก้าวขึ้นมามีอำนาจในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌ็อง-ปอล มารา · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจอร์จ วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2272 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2339) พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดินีนาถที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดและครองราชย์ยาวนานที่สุดของรัสเซีย ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2305 หลังจากการรัฐประหารและการปลงพระชนม์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 พระราชสวามีของพระองค์เอง (ไม่นานหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเจ็ดปี) จนกระทั่งเสด็จสวรรคต การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น ผู้ใช้อำนาจเด็ดขาดที่ทรงเรืองปัญญา (enlightened despot) ทั้งยังทรงฟื้นฟูจักรวรรดิรัสเซียให้แข็งแกร่งและมีอาณาเขตกว้างกว่าเดิมอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนรัสเซียกลายมาเป็นชาติมหาอำนาจที่สำคัญมากที่สุดชาติหนึ่งในยุโรป ในการเข้าถึงขุมอำนาจและปกครองจักรวรรดิของพระองค์ พระนางแคทเธอรีนมักจะทรงพึ่งพาอำนาจจากเหล่าขุนนางที่ทรงโปรดปราน และผู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเช่นกริกอรี ออโลฟ และกริกอรี โปเตมคิน หรือเหล่านายพลผู้มีอำนาจบารมีสูงเช่น ปิออตร์ รูเมียนเซฟ และอเล็กซานเดอร์ ซูโวโลฟ หรือแม้แต่พลเรือเอกเช่น ฟิโอดอร์ อูชาโคฟ พระนางปกครองรัสเซียในช่วงเวลาที่จักรวรรดิได้ทำการแผ่ขยายอาณาเขตของตนโดยทั้งการศึกสงครามและการทูต ทางทิศใต้, อาณาจักรข่านแห่งไครเมียร์ถูกบดขยี้และตามมาด้วยชัยชนะเหนือจักรวรรดิออตโตมันในสงครามรัสเซีย-ตุรกี ต่อมารัสเซียได้ทำการเข้ายึดครองดินแดนอันว่างเปล่าแห่งโนโวรอสซิยาตลอดจนชายฝั่งทะเลดำและทะเลอะซอฟ ทางทิศตะวันตก, เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียซึ่งถูกปกครองโดยอดีตคนรักของพระนาง พระเจ้าสตานิส์ลอว์ ออกุส โปเนียโทว์สกี ในที่สุดก็ถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยรัสเซียได้ส่วนแบ่งของดินแดนมากที่สุด ทางทิศตะวันออก, รัสเซียเริ่มเข้ายึดครองอะแลสกาในรูปแบบของอาณานิคมจนนำไปสู่การก่อตั้งอเมริกาของรัสเซีย พระองค์ทรงทำการปฏิรูประบบราชการภายในของเขตกูเบอร์นิยา รวมไปถึงมีรับสั่งให้สถาปนาเมืองและหมู่บ้านขึ้นมากมาย และในฐานะที่ทรงเป็นผู้นิยมชมชอบพระราชกรณียกิจของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช พระองค์จึงได้ดำเนินพระราโชบายตามแนวทางของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราชโดยการปฏิรูปรัสเซียให้เข้าสู่ความทันสมัยตามแบบฉบับชาติยุโรปตะวันตก อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในกองทัพและระบบเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาระบบทาสอยู่ต่อไป ในขณะที่ความต้องการใช้แรงงานของประเทศและของเหล่าผู้ครอบครองที่ดินเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การใช้แรงงานทาสดำเนินไปถึงขั้นกดขี่แรงงานทาส และระบบทาสดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในเหตุผลประการสำคัญของการก่อกบฏหลายต่อหลายครั้ง ดังเช่นกบฏปูกาเชฟที่มีกองทหารม้าและชาวนาจำนวนมากมายเข้าร่วมการกบฏ ตลอดระยะเวลาในการครองราชย์หรือ สมัยแคทเธอรีน ถูกพิจารณาว่าเป็นยุคทองของจักรวรรดิรัสเซียและของระบอบศักดินาในรัสเซีย แถลงการณ์ว่าด้วยเสรีภาพของขุนนางซึ่งเป็นที่โต้แย้งกันในรัชสมัยของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ก็ได้รับการยินยอมในช่วงรัชสมัยของพระนางแคทเธอรีน โดยแถลงการณ์ฉบับนี้ได้ให้อิสรภาพแก่บรรดาขุนนางไม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของกองทัพหรือการรับราชการสนองคุณประเทศ ให้อิสรภาพในการครอบครองที่อยู่อาศัย เช่น แมนชันรูปแบบคลาสสิก โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมดังกล่าวเป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนโดยพระนางเจ้าแคทเธอรีนอย่างมาก ก่อให้เกิดตึกรามบ้านช่องอันหรูหราขึ้นจำนวนมาก ซึ่งตลอดช่วงการครองราชย์ของพระองค์ได้ทรงทำให้โฉมหน้าของประเทศเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง จึงกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระนางคือยุคเรืองปัญญาของรัสเซียก็ว่าได้.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบา-แร็ง

-แร็ง (Bas-Rhin; แอลเซเชียน: Unterelsàss) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส ชื่อบา-แร็งหมายถึง "ไรน์ด้านท้ายน้ำ" ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกของฝรั่งเศส โดยมีสทราซบูร์เป็นเมืองหลัก บา-แร็งเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดบา-แร็ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชาร็องต์

ร็องต์ (Charente; Charanta) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดชาร็องต์ตั้งตามชื่อแม่น้ำชาร็องต์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส โดยมีอ็องกูแลมเป็นเมืองหลัก ชาร็องต์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดอ็องกูมัว ทางใต้และตะวันตกของแซ็งตง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดชาร็องต์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชาร็องต์-มารีตีม

ร็องต์-มารีตีม (Charente-Maritime) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดชาร็องต์-มารีตีมตั้งตามชื่อแม่น้ำชาร็องต์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของประเทศ โดยมีลารอแชลเป็นเมืองหลัก บริเวณเดิมที่เป็นส่วนหนึ่งของแซ็งตงฌ์ ซึ่งเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 เมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1941 ส่วนนี้ก็แยกออกมาเป็นชาร็องต์-มารีตีม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดชาร็องต์-มารีตีม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุช-ดูว์-โรน

-ดูว์-โรน (Bouches-du-Rhône,; Bocas de Ròse, "ปากแม่น้ำโรน") เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดบุช-ดูว์-โรนตั้งอยู่ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสโดยมีมาร์แซย์เป็นเมืองหลวง ชื่อของเมืองมาจากตำแหน่งที่ตั้งที่ปากแม่น้ำโรน บุช-ดูว์-โรนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดพรอว็องส์ และราชรัฐออร็องฌ์, มาร์ตีก และล็องแบ็สก์ ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดบุช-ดูว์-โรน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกอแรซ

กอแรซ (Corrèze; Corresa) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดกอแรซตั้งตามชื่อแม่น้ำกอแรซ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของฝรั่งเศสโดยมีตูลเป็นเมืองหลัก กอแรซเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดลีมูแซ็ง (บา-ลีมูแซ็ง) สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดกอแรซก็ได้แก่อารามโรมาเนสก์ที่โบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ, อาสนวิหารแม่พระแห่งตูล และเมืองโบราณตูว์แรน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดกอแรซ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดการ์

การ์ (Gard; Gard) เป็นจังหวัดในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส ทางตอนใต้ของประเทศ โดยมีนีมเป็นเมืองหลัก การ์ตั้งตามชื่อแม่น้ำการ์ดง การ์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอดีตจังหวัดล็องก์ด็อก การ์เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโรมันโบราณที่ข้ามมาโดยถนนโดมีเตีย (Via Domitia) ที่สร้างเมื่อ 118 ปีก่อนคริสต์ศักราช สถานที่สำคัญและน่าสนใจของการ์ก็ได้แก่มรดกโลกสะพานส่งน้ำการ์ (Pont du Gard) ซึ่งเป็นสะพานส่งน้ำที่สร้างโดยโรมันราวยี่สิบปีก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดการ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาลวาโดส

กาลวาโดส (Calvados) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส จังหวัดกาลวาโดสตั้งตามลักษณะของกลุ่มหินบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็นที่ตั้ง ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ โดยมีก็องเป็นเมืองหลัก กาลวาโดสเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดนอร์ม็องดี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดกาลวาโดส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมอร์บีอ็อง

มอร์บีอ็อง (Morbihan; Mor-Bihan) เป็นจังหวัดในแคว้นเบรอตาญในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดมอร์บีอ็องตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส ชื่อ “Morbihan” แปลว่า “ทะเลเล็ก” ในภาษาเบรอตง ภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นอ่าวเป็นลักษณะสำคัญของบริเวณนี้ มอร์บีอ็องเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอาณาจักรดยุคแห่งบริตานี มอร์บีอ็องเป็นจังหวัดเดียวในฝรั่งเศสที่ไม่มีชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสและยังคงรักษาชื่อในภาษาดั้งเดิมเอาไว้ เพราะคำว่า “Morbihan” เป็นภาษาเบรอตง สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดมอร์บีอ็องก็ได้แก่แนวหินก่อนประวัติศาสตร์การ์นัก (Carnac).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดมอร์บีอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมอแซล

มอแซล หรือ โมแซล (Moselle) เป็นจังหวัดในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดมอแซลตั้งตามชื่อแม่น้ำมอแซล ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกของฝรั่งเศสโดยมีแม็ส เป็นเมืองหลัก มอแซลเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอดีตจังหวัดลอแรน สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดมอแซลได้แก่ อาสนวิหารแม็ส หรืออารามนักบุญนาบอร์แห่งแซ็งตาโวล และอื่น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดมอแซล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมาร์น

มาร์น (Marne) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดมาร์นตั้งตามชื่อแม่น้ำมาร์น ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีชาลง-อ็อง-ช็องปาญ (เดิมชื่อชาลง-อ็อง-มาร์น) เป็นเมืองหลัก มาร์นเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดช็องปาญ สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดมาร์นก็ได้แก่อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งชาลง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดมาร์น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมาแยน

มาแยน (Mayenne) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดมาแยนตั้งตามชื่อแม่น้ำมาแยน ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีลาวาลเป็นเมืองหลวง มาแยนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดแมน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดมาแยน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดม็องช์

ม็องช์ (Manche) เป็นจังหวัดในแคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส ชื่อของจังหวัดมาจากคำว่า "La Manche" ที่แปลว่าแขนเสื้อซึ่งเป็นชื่อที่ฝรั่งเศสใช้เรียกช่องแคบอังกฤษ จังหวัดม็องช์ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีแซ็ง-โลเป็นเมืองหลัก ม็องช์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของนอร์ม็องดี เมืองหลวงแรกของม็องช์อยู่ที่กูต็องส์ (Coutances) จนมาถึง ค.ศ. 1796 เมื่อย้ายไปเป็นแซ็ง-โล เมื่อแซ็ง-โลถูกทำลายอย่างยับเยินในสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างการขึ้นฝั่งวัดดีเดย์ในนอร์ม็องดี กูต็องส์ก็กลับมาเป็นเมืองหลวงชั่วคราวจนเมื่อแซ็ง-โลบูรณปฏิสังขรณ์เสร็.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดม็องช์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลอแซร์

ลอแซร์ (Lozère) หรือ ลูเซรอ (Losera) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดลอแซร์ตั้งตามชื่อภูเขาลอแซร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ โดยมีม็องด์เป็นเมืองหลัก ลอแซร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดล็องก์ด็อก สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดลอแซร์ก็ได้แก่ อาสนวิหารม็อง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดลอแซร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลอเตการอน

ลอเตการอน (Lot-et-Garonne; Òlt e Garona) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดลอเตการอนตั้งตามชื่อแม่น้ำล็อตและแม่น้ำการอน ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ โดยมีอาแฌ็งเป็นเมืองหลัก ลอเตการอนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดกุยแยนและกัสกอญ บางส่วนทางตะวันออกเฉียงใต้แยกตัวในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดลอเตการอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัวรัตล็องติก

ลัวรัตล็องติก (Loire-Atlantique) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดลัวรัตล็องติกตั้งตามชื่อแม่น้ำลัวร์และมหาสมุทรแอตแลนติก ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ โดยมีน็องต์เป็นเมืองหลวง ลัวรัตล็องติกเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 เดิม Loire-Inférieure แต่มาเปลี่ยนมาเป็นลัวรัตล็องติก ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดลัวรัตล็องติก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัวแร

ลัวแร (Loiret) เป็นจังหวัดในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดลัวแรตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำลัวแรทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ โดยมีออร์เลอ็องเป็นเมืองหลักของจังหวัด ลัวแรเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นจากอดีตจังหวัดออร์เลออแน (Orléanais) สถานที่สำคัญและน่าสนใจของลัวแรก็ได้แก่อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ ซึ่งเป็นอารามของลัทธิเบเนดิกตินที่สร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดลัวแร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัวเรแชร์

ลัวเรแชร์ (Loir-et-Cher) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดลัวเรแชร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำลัวร์และแม่น้ำแชร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางเหนือตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ โดยมีบลัวเป็นเมืองหลัก ลัวเรแชร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดออร์เลอาแนและตูแรน สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดลัวเรแชร์ก็ได้แก่ปราสาทและวังแห่งลุ่มแม่น้ำลัวร์ที่เป็นมรดกโลก ที่รวมทั้งพระราชวังช็องบอร์และพระราชวังบลัว.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดลัวเรแชร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดล็องด์

ล็องด์ (Landes) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ โดยมีมง-เดอ-มาร์ซ็องเป็นเมืองหลัก ล็องด์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดกุยแยนและกัสกอญ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดล็องด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดล็อต

ล็อต (Lot) หรือ อ็อล (Òlt) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดล็อตตั้งตามชื่อแม่น้ำล็อต ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ โดยมีกาออร์เป็นเมืองหลัก ล็อตเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดล็องก์ด็อก ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดล็อต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอวซ

อวซ (Oise) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นโอดฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดอวซตั้งตามชื่อแม่น้ำอวซ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสโดยมีโบแวเป็นเมืองหลัก อวซเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดอีล-เดอ-ฟร็องส์ สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดอวซก็ได้แก่ อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งโบแว, อาสนวิหารแม่พระแห่งนัวยง และอาสนวิหารแม่พระแห่งซ็องล.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอวซ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดออร์น

ออร์น (Orne) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส จังหวัดออร์นตั้งตามชื่อแม่น้ำออร์น ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ มีอาล็องซงเป็นเมืองหลัก ออร์นเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดนอร์ม็องดีและแปร์ช สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดออร์นก็ได้แก่ อาสนวิหารแม่พระแห่งเซ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดออร์น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาร์แดน

อาร์แดน (Ardennes) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส อาร์แดนที่ตั้งตามชื่อภูมิภาคอาร์แดน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส ทางตอนใต้ของเบลเยียมและลักเซมเบิร์ก อาร์แดนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 อาร์แดนเป็นส่วนหนึ่งของอดีตจังหวัดช็องปาญและอาร์กอน (จากภาษาเคลต์ "Ar Gonn" ที่แปลว่า "ป่าดิบ") และนครรัฐเซอด็อง ที่มาของคำว่า "Ardennes" (จากภาษาเคลต์ "Ar Denn" ที่แปลว่า "ป่า") กล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยจูเลียส ซีซาร์ ผู้กล่าวถึง "สงครามกอล" เกี่ยวกับเทพีเคลต์ชื่อ "Arduinna" ผู้เป็นเทพีแห่งการสงครามที่มักจะวาดเป็นภาพสตรีขี่หมูป่า อาร์แดนเป็นบริเวณที่มีการต่อสู้อย่างหนักทั้งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอาร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาลีเย

อาลีเย (Allier) เป็นจังหวัดในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดอาลีเยตั้งตามชื่อแม่น้ำอาลีเย ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ โดยมีมูแล็งเป็นเมืองหลัก อาลีเยเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอดีตจังหวัดโอแวร์ญและบูร์บอแน (Bourbonnais) สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดอาลีเยได้แก่ อาสนวิหารแม่พระแห่งมูแล็ง, ซากปราสาทบีลี และซากปราสาทมงฌีลแบร.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอาลีเย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์

อาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์ (Alpes-de-Haute-Provence,; Aups d'Auta Provença) เป็นจังหวัดในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดอาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดพรอว็องส์ นอร์-เดอ-พรอว็องส์ที่เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 แยกตัวออกเป็นโอต-พรอว็องส์และบาซาลป์ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาแวรง

อาแวรง (Aveyron) หรือ อาไบรู (Avairon) เป็นจังหวัดในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส ชื่อจังหวัดตั้งตามชื่อแม่น้ำอาแวรง ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ โดยมีรอแดซเป็นเมืองหลัก อาแวรงเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดอาแวรงก็ได้แก่อารามแม่พระแห่งบอนวาลและอาสนวิหารแม่พระแห่งรอแดซที่สร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 14.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอาแวรง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาเรียฌ

อาเรียฌ (Ariège) หรือ อาริแอ็ดจอ (Arièja) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดอาเรียฌตั้งตามชื่อแม่น้ำอาเรียฌ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศสโดยมีฟัวเป็นเมืองหลัก อาเรียฌเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากอาณาจักรเคานต์แห่งฟัวและกูเซอร็อง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอาเรียฌ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีแซร์

อีแซร์ (Isère) เป็นจังหวัดในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดอีแซร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำอีแซร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยมีเกรอนอบล์เป็นเมืองหลัก อีแซร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอดีตจังหวัดโดฟีเน (Dauphiné) เนื้อที่ของอีแซร์ถูกลดลงไปสองครั้ง ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอีแซร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีเลวีแลน

อีเลวีแลน (Ille-et-Vilaine,; Il-ha-Gwilen) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นเบรอตาญในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส โดยมีแรนเป็นเมืองหลวง อีเลวีแลนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดบริตานี สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดอีเลวีแลนก็ได้แก่ มหาวิหารแซ็ง-แว็งซ็องแห่งแซ็ง-มาโล.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดอีเลวีแลน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฌูว์รา

ูว์รา (Jura) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเตในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยมีลง-เลอ-โซนีเยเป็นเมืองหลัก ฌูว์ราเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดฟร็องช์-กงเต จังหวัดฌูว์รา, จังหวัดดู จังหวัดแตรีตัวร์เดอแบลฟอร์ และจังหวัดโอต-โซนรวมกันเป็นภูมิภาคฟร็องช์-กงเต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดฌูว์รา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฌีรงด์

ีรงด์ (Gironde; Gironda) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส ฌีรงด์เป็นชื่อโดยทั่วไปของชะวากทะเลฌีรงด์ที่แม่น้ำการอนและแม่น้ำดอร์ดอญมาบรรจบกัน ฌีรงด์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดกุยแยนและกัสกอญ ระหว่างปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดฌีรงด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดดอร์ดอญ

อร์ดอญ (Dordogne) เป็นจังหวัดในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดดอร์ดอญตั้งตามชื่อแม่น้ำดอร์ดอญ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ระหว่างหุบเขาลัวร์กับเทือกเขาพิเรนีส โดยมีเปรีเกอเป็นเมืองหลัก ดอร์ดอญเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสอาณาบริเวณตรงกับอดีตอาณาจักรเคานต์แห่งเปรีกอร์ (Périgord).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดดอร์ดอญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซาร์ต

ซาร์ต (Sarthe) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดซาร์ตตั้งตามชื่อแม่น้ำซาร์ต ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ โดยมีเลอม็องเป็นเมืองหลวง ซาร์ตเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดจังหวัดแมน ที่ต่อมาแบ่งออกเป็นจังหวัดซาร์ตและมาแยน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดซาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาดกาแล

ปาดกาแล (Pas-de-Calais) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นโอดฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดปาดกาแลตั้งตามชื่อช่องแคบกาแล ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสโดยมีอารัสเป็นเมืองหลัก ปาดกาแลเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดกาแลซี, ภูมิภาคบูลอแน, ปงตีเยอ และอาร์ตัว สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดปาดกาแลก็ได้แก่ มหาวิหารแม่พระแห่งบูลอญ, อาสนวิหารแซ็งตอแมร์ และสุสานแม่พระแห่งลอแร็ต.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดปาดกาแล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปุย-เดอ-โดม

ปุย-เดอ-โดม (Puy-de-Dôme; lo Puèi de Doma, lo Puèi Domat) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดปุย-เดอ-โดมตั้งตามชื่อภูเขาไฟที่มีชื่อเสียงที่ดับไปแล้วชื่อภูเขาปุยเดอโดม ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ โดยมีแกลร์มง-แฟร็องเป็นเมืองหลัก ปุย-เดอ-โดมเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดโอแวร์ญ เดิมชื่อมงดอร์ (Mont d'Or) หรือภูเขาทอง แต่ต่อมาเปลี่ยนเป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดปุย-เดอ-โดมก็ได้แก่ อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งแกลร์มง-แฟร็อง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดปุย-เดอ-โดม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนอร์

นอร์ (Nord) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นโอดฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศ โดยมีลีลเป็นเมืองหลัก นอร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ที่ก่อตั้งขึ้นจากเคาน์ตีฟล็องดร์และเคาน์ตีแอโน และอัครมุขมณฑลก็องแบรที่ตกมาเป็นของฝรั่งเศสในสนธิสัญญาปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแชร์

แชร์ (Cher) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดแชร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำแชร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝรั่งเศสโดยมีบูร์ฌเป็นเมืองหลัก แชร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดจังหวัดแบรี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดแชร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแมเนลัวร์

แมเนลัวร์ (Maine-et-Loire) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของประเทศ โดยมีอ็องเฌเป็นเมืองหลวง แมเนลัวร์ที่เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 เดิมชื่อมาแยเนลัวร์ แต่ถูกเปลี่ยนเป็นแมเนลัวร์ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดแมเนลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแอน

แอน (Aisne) เป็นจังหวัดในแคว้นโอดฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดแอนตั้งตามชื่อแม่น้ำแอน ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส จังหวัดแอนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอดีตจังหวัดอีล-เดอ-ฟร็องส์และช็องปาญ ป่าในบริเวณจังหวัดแอนถูกทำลายไปเสียมากระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดแอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแอ็งดร์

แอ็งดร์ (Indre) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดแอ็งดร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำแอ็งดร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ โดยมีชาโตรูเป็นเมืองหลัก แอ็งดร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดแบรี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดแอ็งดร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแอ็งเดรลัวร์

แอ็งเดรลัวร์ (Indre-et-Loire) เป็นจังหวัดในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส แอ็งเดรลัวร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำแอ็งดร์และแม่น้ำลัวร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของประเทศ โดยมีเมืองหลักอยู่ที่เมืองตูร์ ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางทางการศึกษามาตั้งแต่ยุคกลาง แอ็งเดรลัวร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอดีตจังหวัดตูแรน (Touraine).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดแอ็งเดรลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแฌร์

แฌร์, แฌร์ส (Gers) หรือ แกร์ส (Gers) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส โดยมีอ็อชเป็นเมืองหลัก แฌร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดกุยแยนและกัสกอญ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดแฌร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแซเนมาร์น

แซเนมาร์น (Seine-et-Marne) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดแซเนมาร์นตั้งตามชื่อแม่น้ำแซน ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางของประเทศ โดยมีเมอเลิงเป็นเมืองหลวง แซเนมาร์นเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอดีตจังหวัดอีล-เดอ-ฟร็อง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดแซเนมาร์น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโกต-ดอร์

กต-ดอร์ (Côte-d'Or) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเตในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกของฝรั่งเศส โดยมีดีฌงเป็นเมืองหลัก โกต-ดอร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดบูร์กอญ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโกต-ดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโกต-ดาร์มอร์

กต-ดาร์มอร์ (Côtes-d'Armor,; Aodoù-an-Arvor) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นเบรอตาญในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส โดยมีแซ็ง-บรีเยอเป็นเมืองหลวง โกต-ดู-นอร์ดเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดบริตทานี ชื่อของจังหวัดเปลี่ยนเป็น “Côtes-d'Armor” ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโกต-ดาร์มอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโวฌ

วฌ (Vosges) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดโวฌตั้งตามชื่อเทือกเขาโวฌ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกของฝรั่งเศสโดยมีเอปีนาลเป็นเมืองหลัก โวฌเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดลอแรน สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดโวฌก็ได้แก่ อาสนวิหารนกบุญดีเยแห่งแซ็ง-ดีเย-เด-โวฌและอารามเรอมีเรอมง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโวฌ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอบ

อบ (Aube) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีทรัวเป็นเมืองหลัก โอบเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดช็องปาญ ดินแดนที่เป็นโอบตกมาเป็นของฝรั่งเศสครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโอบ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอต-การอน

อต-การอน (Haute-Garonne; Nauta Garona) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดโอต-การอนตั้งตามชื่อแม่น้ำการอน ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ โดยมีตูลูซเป็นเมืองหลัก โอต-การอนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดล็องก์ด็อก สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดโอต-การอนก็ได้แก่ปราสาทโบราณต่าง ๆ และอาสนวิหารแม่พระแห่งแซ็ง-แบร์ทร็อง-เดอ-กอแม็ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโอต-การอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอต-มาร์น

อต-มาร์น (Haute-Marne) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดโอต-มาร์นตั้งตามชื่อแม่น้ำมาร์น ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศสโดยมีโชมงเป็นเมืองหลัก โอต-มาร์นเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดช็องปาญ เบอร์กันดี ลอแรน และฟร็องช์-กงเตHaute-Marne, Hutchinson Unabridged Encyclopedia.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโอต-มาร์น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอต-ลัวร์

อต-ลัวร์ (Haute-Loire; Naut Léger) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดโอต-ลัวร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำลัวร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางใต้ตอนกลางของฝรั่งเศสโดยมีเลอปุย-อ็อง-เวอแลเป็นเมืองหลัก โอต-ลัวร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดโอแวร์ญ, ล็องก์ด็อก และลียอแน สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดโอต-ลัวร์ได้แก่อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแลที่ตั้งอยู่ที่เลอปุย-อ็อง-เวอแล.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโอต-ลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอตซาลป์

อตซาลป์ (Hautes-Alpes) เป็นจังหวัดในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดโอตซาลป์ตั้งตามชื่อเทือกเขาแอลป์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส โอตซาลป์ เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ที่ประกอบด้วยบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของอดีตจังหวัดโดฟีเน (Dauphiné) และบริเวณทางตอนเหนือของพรอว็อง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโอตซาลป์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโดรม

รม (Drôme), โดรมา (อาร์ปิตัน: Drôma) หรือ ดรูมอ (Droma) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส จังหวัดโดรมตั้งตามชื่อแม่น้ำโดรม ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ โดยมีวาล็องส์เป็นเมืองหลัก โดรมเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดโดฟีเน สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดโดรมก็ได้แก่ อาสนวิหารแม่พระแห่งดี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโดรม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโซเนลัวร์

ซเนลัวร์ (Saône-et-Loire; อาร์ปิตัน: Sona-et-Lêre) เป็นจังหวัดในแคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส โซเนลัวร์ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำโซนกับแม่น้ำลัวร์และตั้งตามชื่อแม่น้ำทั้งสองสาย มีมากงเป็นเมืองหลักของจังหวัด โซเนลัวร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นจากดินแดนทางตอนใต้ของภูมิภาคบูร์กอญ และแบร็ส (Bresse) ซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่มีความสัมพันธ์ต่อกันทั้งทางภูมิศาสตร์และทางประวัติศาสตร.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดโซเนลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเมิซ

มิซ (Meuse) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเมิซตั้งตามชื่อแม่น้ำเมิซ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีบาร์-เลอ-ดุกเป็นเมืองหลัก เมิซเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดบารัวและสามราชรัฐมุขนายก (Trois-Évêchés) สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดเมิซก็ได้แก่ อาสนวิหารแม่พระแห่งแวร์เดิง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเมิซ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเวียน

วียน (Vienne) เป็นจังหวัดที่มีชื่อเดียวกับแม่น้ำเวียนในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเวียนตั้งอยู่ทางตอนกลางออกไปทางตะวันตกของประเทศ โดยมีปัวตีเยเป็นเมืองหลัก เวียนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส จากบางส่วนของจังหวัดปัวตู, ตูแรน และแบรี สถานที่สำคัญคืออารามแซ็ง-ซาแว็ง-ซูร์-การ์ต็องป์ซึ่งเป็นแหล่งมรดกโลก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเวียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเออร์

ออร์ (Eure) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนอร์ม็องดีในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเออร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำเออร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสโดยมีเอเวรอเป็นเมืองหลัก เออร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดนอร์ม็องดี สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดเออร์ก็ได้แก่ อาสนวิหารเอเวรอ, ซากปราสาทอาร์กูร์ และซากปราสาทกายาร์ที่เลซ็องเดอลี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเออเรลัวร์

ออเรลัวร์ (Eure-et-Loir) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเออเรลัวร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำเออร์และแม่น้ำลัวร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศสโดยมีชาทร์เป็นเมืองหลัก เออเรลัวร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดออร์เลอาแน, แปร์ช และชาร์แทร็ง สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดเออเรลัวร์ก็ได้แก่อาสนวิหารแม่พระแห่งชาทร์หรือปราสาทชาโตเดิง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเออเรลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเอโร

อโร (Hérault) หรือ เอเรา (Erau) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอ็อกซีตานีในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเอโรตั้งตามชื่อแม่น้ำเอโร ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสโดยมีมงเปอลีเยเป็นเมืองหลัก เอโรเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอดีตจังหวัดล็องก์ด็อก สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดเอโรก็ได้แก่ อาสนวิหารเบซีเย, อาสนวิหารอากด์ และอารามวาลมาญ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเอโร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเดอ-แซฟวร์

อ-แซฟวร์ (Deux-Sèvres) แปลตรงตัวว่า "สองแซฟวร์" คือแซฟวร์น็องแตซและแซฟวร์นียอร์แตซซึ่งเป็นแม่น้ำสองสายที่เป็นที่มาของชื่อ เดอ-แซฟวร์เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของประเทศ โดยมีนียอร์เป็นเมืองหลัก เดอ-แซฟวร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดเดอ-แซฟวร์ได้แก่ คฤหาสน์อัวรง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเดอ-แซฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเคริซ

ริซ (Creuse; Cruesa) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นนูแวลากีแตนในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเคริซตั้งตามชื่อแม่น้ำเคริซ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝรั่งเศสโดยมีเกเรเป็นเมืองหลัก เคริซเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 จากบางส่วนของอาณาจักรเคานต์แห่งมาร.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเคริซ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเนียฟวร์

นียฟวร์ (Nièvre) เป็นจังหวัดในแคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเตในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดนีแยฟวร์ตั้งตามชื่อแม่น้ำเนียฟวร์ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝรั่งเศส เนียฟวร์เป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดเดิมที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1790 ที่ก่อตั้งขึ้นจากบางส่วนของอดีตจังหวัดนีแวร์แน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจังหวัดเนียฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมประวัติศาสตร์

“วันสุดท้ายของปอมเปอี” (ค.ศ. 1833) เป็นตัวอย่างที่ดีของภาพเขียนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมประวัติศาสตร์ (History painting) เริ่มเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ค.ศ. 1667 โดยอันเดร เฟลิเบียน (André Félibien) จิตกรประวัติศาสตร์, สถาปนิก, นักทฤษฎีคลาสสิกซิสม์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นลักษณะที่ระบบ “การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ” (Hierarchy of genres) ถือว่าเป็นประเภทการเขียนภาพที่มีคุณค่าสูงที่สุดในบรรดาการเขียนภาพประเภทต่าง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและจิตรกรรมประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติฝรั่งเศส

งชาติฝรั่งเศส (le tricolore หรือ le drapeau bleu-blanc-rouge, เลอทรีกอลอร์ - แปลว่า ธงไตรรงค์ หรือ ธงสามสี ส่วน เลอดราโปเบลอ-บล็อง-รูฌ - แปลว่า ธงน้ำเงิน-ขาว-แดง) ธงนี้เป็นธงต้นแบบที่หลายๆ ประเทศนำมาดัดแปลงใช้เป็นธงชาติของตนเอง รวมทั้งธงชาติไทยด้วย ลักษณะของธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยริ้วธง 3 สี คือ สีน้ำเงิน สีขาว และสีแดง เรียงกันตามแนวตั้ง แต่ละริ้วมีความกว้างเท่ากัน สำหรับธงเรือประจำชาติฝรั่งเศส ใช้เป็นธงค้าขายและธงรัฐนาวีนั้นคล้ายกับธงชาติ แต่สัดส่วนความกว้างของริ้วธงแต่ละสีจะเป็น 30:33:37.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและธงชาติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ธงขาว

งขาวที่สร้างขึ้นอย่างง่ายๆ ธงขาว (white flag) เป็นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่เข้าใจว่าการยกธงขาวเป็นสัญลักษณ์ของการยอมแพ้ หรือการพักรบ หรือทั้งสองกรณี ในการสงคราม อย่างไรก็ดี ธงขาวยังมีความหมายอย่างอื่นอีกมากในประวัติศาสตร์และธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและธงขาว · ดูเพิ่มเติม »

ธงแดง

งพื้นสีแดงเกลี้ยงมักใช้ในการรณรงค์ต่างๆ ของลัทธิสังคมนิยม ลัทธิคอมมิวนิสต์ และกลุ่มการเมืองฝ่ายซ้ายต่างๆ ทั้งมีการใช้เป็นธงชาติชั่วคราว ในหลายประเทศที่มีการปฏิวัติแบบสังคมนิยม (socialist revolution) ธงแดง (Red flag) มักมีความหมายถึงธงต่างๆ ที่เป็นสีแดงโดยทั่วไป อาจใช้เป็นสัญลักษณ์เตือนภัย การประกาศกฎอัยการศึก หรือการต่อต้านท้าทาย หรือแม้แต่การใช้เป็นสีธงชาติต่างๆ ในยุคเริ่มแรกของหลายประเทศ เพราะเป็นสีที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายที่สุด แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว คำนี้เป็นสัญลักษณ์สากลอย่างหนึ่งที่ใช้หมายถึงแนวคิดหรือลัทธิการเมืองฝ่ายซ้ายเป็นหลัก ในพจนานุกรม Oxford English Dictionary ระบุถึงการใช้ "ธงแดง" ("red flag") เท่าที่มีการอ้างถึงครั้งแรกสุดว่า คำนี้เริ่มปรากฏในปี ค.ศ. 1602 โดยกองทหารในยุคนั้นใช้ในความหมายที่แสดงถึงการเตรียมพร้อมที่จะรบพุ่งกับศัตรู ธงแดงได้ถูกจัดให้กลายเป็นเครื่องหมายของแนวคิดการเมืองฝ่ายซ้ายนับตั้งแต่การปฏิวัติฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1789 เป็นต้นมาBrink, Jan ten, 1899.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและธงแดง · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส คาร์ลีลย์

ทอมัส คาร์ลีลย์ ทอมัส คาร์ลีลย์ (Thomas Carlyle, พ.ศ. 2338-2424) เป็นนักอักษรศาสตร์ เกิดที่เมืองเอเคล็กเฟแชน กอลโลเวย์ สกอตแลนด์ตะวันตกเฉียงใต้ สหราชอาณาจักร ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเอดินบะระ และสอนอยู่ที่นั่นเป็นเวลาหลายปีก่อนที่จะเริ่มเขียนบทความให้กับ สารานุกรมเอดินบะระ จนซาบซึ้งในวรรณกรรมเยอรมัน โดยเฉพาะของเกอเธ่ ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและทอมัส คาร์ลีลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งบราบันต์

กแห่งบราบันต์ หรือ ดยุกแห่งบราบ็อง (Duke of Brabant) เป็นบรรดาศักดิ์ที่จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงสถาปนาให้แก่อ็องที่ 1 โอรสของก็อดฟรีที่ 3 เคานต์แห่งลูแวง (ซึ่งเป็นดยุกแห่งโลธารินเจีย อีกบรรดาศักดิ์หนึ่งด้วย) ซึ่งดัชชีบราบันต์นั้นถูกสถาปนาขึ้นราวปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและดยุกแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน

ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมีชื่อว่า ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน (Das Lied der Deutschen, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ ดัสดอยท์ชลันด์ลีด (Das Deutschlandlied, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ "ดอยท์ชลันด์อือเบอร์อัลเลส" (Deutschland über alles, แปลว่า "เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง") ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย โจเซฟ ไฮเดิน เมื่อปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1790

..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและคริสต์ทศวรรษ 1790 · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลง ค.ศ. 1801

วามตกลง..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและความตกลง ค.ศ. 1801 · ดูเพิ่มเติม »

ความโปร่งใส

วามโปร่งใส (ทางการเมือง) (Political Transparency) หมายถึง ความสามารถของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่จะเข้าถึง และอภิปรายเกี่ยวกับข้อเท็จจริง เอกสาร และข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจดำเนินนโยบายสาธารณะ การใช้อำนาจบริหารประเทศของรัฐบาลและทางราชการ ตลอดจนการแต่งตั้งบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งทางการเมือง และในระบบราชการ โดยที่มาของคำว่าความโปร่งใสนี้มาจากความหมายในทางวิทยาศาสตร์กายภาพที่นำไปใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุที่มีคุณสมบัติ “โปร่งใส” คือ วัตถุที่แสงสว่างสามารถลอดผ่านผิวของวัตถุทำให้สามารถมองทะลุพื้นผิวของวัตถุได้นั่นเอง แต่อย่างไรก็ตาม ความหมายในเชิงการเมืองยังมีความหมายที่ลึกกว่าแค่เพียงการมองเห็นการทำงานของรัฐบาล และราชการ แต่ยังรวมถึงการที่ประชาชนสามารถเข้าใจ มีส่วนร่วม และควบคุมตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลได้อีกด้วย (Kurian, 2011: 1686).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและความโปร่งใส · ดูเพิ่มเติม »

ความเสมอภาคทางสังคม

วามเสมอภาค (Equality) เป็นมโนทัศน์พื้นฐานที่สุดเรื่องหนึ่งไม่ว่าจะกล่าวในมิติทางการเมืองหรือในทางเศรษฐกิจ คนทั่วไปมักสับสนคำว่า “เสมอภาค” กับ “เหมือนกัน” (sameness) กล่าวคือ คิดว่าการรับรองความเสมอภาคของมนุษย์เท่ากับการทำให้มนุษย์ทุกคนเท่ากัน จนมักโต้แย้งว่าความเสมอภาคไม่มีทางเป็นไปได้ จึงควรทำความเข้าใจเบื้องต้นว่าหลักการของความเสมอภาค ไม่ได้และไม่เคยเรียกร้องให้มนุษย์ทุกคนต้องเหมือนกันหมด เพราะมนุษย์ย่อมแตกต่างกันเป็นธรรมชาติทั้งโดยชาติพันธุ์ รูปร่าง ผิวพรรณ เพศสภาพ บุคลิก ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม และอื่นๆ แต่ความแตกต่างนั้นไม่ได้เป็นเหตุผลทำให้มนุษย์ต้องไม่เสมอภาคกัน เพราะความเสมอภาค (Equality) ตรงข้ามกับความไม่เสมอภาค (Inequality) ไม่ได้ตรงข้ามกับคำว่าความแตกต่าง (Difference) อย่างที่หลายคนทึกทัก นั่นหมายความว่า มนุษย์เราแตกต่างกันโดยธรรมชาติ แต่ก็สามารถและควรเท่าเทียมกันได้ (different but Equal) ดังนั้นเมื่อกล่าวว่า คนเสมอภาคกัน จึงไม่ได้หมายความว่าคนเหมือนกันทุกด้านไม่ว่าจะเป็นชาติตระกูล หน้าตา ความสามารถ สติปัญญา แต่การที่บอกว่าเสมอภาคกันมีความหมายว่า มนุษย์เท่าเทียมกันทั้งในความเป็นมนุษย์ และตามกฎหมายของรัฐ (Kurian, 2011: 515) ดังที่มีวลีสำคัญที่สะท้อนความเสมอภาคคือ “Equality Before the Law” ซึ่งหมายความว่าบุคคลทุกผู้ทุกนามย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกระบวนของกฎหมายอย่างเป็นธรรม หรือความเสมอภาคกันในทางการเมืองคือ พลเมืองที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนดย่อมสามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างเท่าเทียมกัน ในบางกรณี ที่ความเสมอภาคยึดโยงเข้ากับหลักความเป็นธรรม (Justice) จะนำไปสู่การปฏิบัติต่อผู้คนที่แตกต่างกันด้วยมาตรการเฉพาะเพื่อช่วยให้ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติได้รับการแก้ไขให้เกิดความเสมอภาคมากขึ้น เช่น มาตรการช่วยเหลือคนด้อยโอกาส คนทุพพลภาพ เพื่อความเสมอภาคในสังคม ดังนั้น การมองอย่างฉาบฉวยว่าการเรียกร้องให้คนเท่ากันหมายถึงการเรียกร้องให้คนเหมือนกันนั้น จึงเป็นความเข้าใจผิดในประเด็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและความเสมอภาคทางสังคม · ดูเพิ่มเติม »

ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม

วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม · ดูเพิ่มเติม »

คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล

รลีเนอ อมาเลีย เอลีซาเบ็ท แห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล (Caroline Amalie Elisabeth von Braunschweig-Wolfenbüttel) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันซึ่งอภิเษกเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ คาโรลีเนอประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1768 ที่เบราน์ชไวค์ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นพระธิดาของคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล กับเจ้าหญิงออกัสตาแห่งบริเตนใหญ่ (พระขนิษฐาองค์โตของพระเจ้าจอร์จที่ 3) คาโรลีเนอเป็นพระราชินีในพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1820 จนสิ้นพระชนม์เมื่อ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1821 ที่ลอนดอน อังกฤษ พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารเบราน์ชไว.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและคาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณสนามเทนนิส

ำปฏิญาณสนามเทนนิส (Serment du Jeu de Paume; แซร์ม็งดูเฌอเดอโปม) คือเหตุการณ์ครั้งสำคัญในช่วงต้นของการปฏิวัติฝรั่งเศส คำปฏิญาณซึ่งได้รับสัตยาบันของบุคคลทั้งสิ้น 576 คน จากสมาชิกฐานันดรที่สามทั้งหมด 577 คน ผู้ถูกกีดกันออกจากการประชุมสภาฐานันดรเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและคำปฏิญาณสนามเทนนิส · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม

มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ กลายเป็นผู้มีอำนาจที่สุดในฝรั่งเศสในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม (Comité de salut public) เป็นคณะผู้ตรวจสอบซึ่งสภากงว็องซียงแห่งชาติจัดตั้งในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม · ดูเพิ่มเติม »

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและงานกระจกสี · ดูเพิ่มเติม »

งานแต่งงานของฟิกาโร

งานแต่งงานของฟิกาโร (Le nozze di Figaro, ossia la folle giornata, The Marriage of Figaro หรือ the Day of Madness) เป็นอุปรากรชวนขันสี่องก์ที่เขียนเป็นภาษาอิตาลีโดยโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทผู้เป็นคีตกวีอุปรากรคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 18 โมซาร์ทเขียน “งานแต่งงานของฟิกาโร” จากเนื้อร้องภาษาอิตาลีที่เขียนโดยลอเรนโซ ดา พอนเตที่มาจากละครเวทีชวนขันโดยชาวฝรั่งเศสปิแยร์ โบมาร์เชส์ชื่อ “La folle journée, ou le Mariage de Figaro” (ค.ศ. 1784) แม้ว่าบทละครของโบมาร์เชส์จะถูกห้ามเล่นในกรุงเวียนนา เพราะมีเนื้อหาเสียดสีชนชั้นเจ้านาย ซึ่งถือว่าเป็นสร้างความไม่มั่นคงให้แก่รัฐบาลในช่วงสิบปีก่อนที่จะเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส แต่อุปรากรที่โมซาร์ทเขียนกลายเป็นงานชิ้นที่เป็นที่นิยมที่สุดของโมซาร์ท โดยเฉพาะโอเวอร์เชอร์ที่มีชื่อเสียงที่มักจะนำมาเล่นเป็นดนตรีคอนเสิร์ต เนื้อหาของโอเวอร์เชอร์มิได้นำมาใช้ในการสร้างงานต่อมา นอกไปจากวลีสั้นสองวลีในบทของเคานท์ Cosa sento! ในองก์ที่ 1 “งานแต่งงานของฟิกาโร” เปิดแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1786 ที่กรุงเวียนนา ออสเตรี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและงานแต่งงานของฟิกาโร · ดูเพิ่มเติม »

ตอสกา

ตอสกา (Tosca) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีจำนวน 3 องก์ ประพันธ์ขึ้นโดยจาโกโม ปุชชีนี คำร้องโดยลุยจิ อิลลิกา (1857 – 1919) และจุยเซปเป จิอาโคซา (1847-1906) อุปรากรเรื่องนี้ดัดแปลงจากละครประโลมโลกเรื่อง La Tosca ของวิกตอเรียน ซาโด มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1800 ในระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส (ค.ศ. 1792 - 1802) ซึ่งช่าวโรมถูกคุกคามจากการรุกรานของจักรพรรดินโปเลียน โดยเนื้อเรื่องจะแสดงออกถึงเรื่องราวการกดขี่ข่มเหง ปมฆาตกรรม และภาวะไม่สงบทางการเมือง การแสดงรอบปฐมทัศน์มีขึ้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1900 ที่โรงอุปรากร Teatro Costanzi กรุงโรม ในช่วงปี 1889 ระหว่างที่ปุชชืนีออกเดินสายแสดงผลงานอยู่ที่อิตาลีก็มีโอกาสได้อ่านบทละครของซาโด และได้รับโอกาสดัดแปลงเนื้อเรื่องไปเป็นอุปรากรในปี 1895 ปุชชีนีใช้เวลากว่า 4 ปีเพื่อถ่ายทอดคำร้องต่าง ๆ จากภาษาฝรั่งเศสไปสู่ภาษาอิตาลีโดยได้รับแรงกดดันและการวิจารณ์มากมาย อีกทั้งการแสดงรอบปฐมทัศน์ก็ล่าช้าออกไปเพราะเนื่องจากภาวะบ้านเมืองไม่สงบ ระยะแรกของการออกแสดงนั้นไม่ได้รับคำชื่นชมจากนักวิจารณ์ ภายหลังกลับประสบความสำเร็จจากการบอกต่อของผู้ชม จนถึงปัจจุบัน อุปรากรเรื่องตอสกาได้กลายเป็นอุปรากรยอดนิยมที่สุดเรื่องหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและตอสกา · ดูเพิ่มเติม »

ตูแรน

งตูแรน ตูแรน (Touraine) ตูแรนเป็นอดีตจังหวัดของฝรั่งเศส ที่มีเมืองหลวงอยู่ที่ตูร์ ระหว่างการเปลี่ยนแปลงระบบเขตบริหารในปี ค.ศ. 1790 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส ตูแรนก็ถูกแบ่งระหว่างจังหวัดแองดร์-เอต์-ลัวร์, ลัว-เรต์-แชร์ และ แองดร์ "Touraine" เป็นชื่อที่มาจากกลุ่มชนเคลท์ที่เรียกว่าทูโรนส์ (Turones) ผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณนั้นมาร่วมสองพันปีก่อนหน้านั้น ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและตูแรน · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์

มุมที่สาม ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ (Isenheim Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของสมัยเรอเนซองส์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดนที่โคลมาร์ในประเทศฝรั่งเศส “ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์” ที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์ระหว่างปี ค.ศ. 1512 ถึงปี ค.ศ. 1516 เป็นงานชิ้นที่ใหญ่ที่สุดและชิ้นเอกของกรึนวอลด์ที่เขียนสำหรับสำนักสงฆ์เซนต์แอนโทนีในอิเซนไฮม์ไม่ไกลจากโคลมาร์ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ที่มีชื่อในการบำบัดโรคภัย นักบวชนิกายอันโตนินของสำนักสงฆ์มีชื่อเสียงในการรักษาผู้ป่วยด้วยโรคผิวหนังเช่น ergotism ที่อาการปรากฏในภาพเขียน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)

หน้าปก ''Eroica'' Symphony มีร่องรอยจากการที่เบโทเฟินขูดชื่อนโปเลียนออกไป ซิมโฟนีหมายเลข 3 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ (Symphony No.) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน รู้จักกันในชื่อ อีรอยกา ซิมโฟนี (Eroica Symphony; Eroica มาจากภาษาอิตาลี หมายถึง "heroic", วีรบุรุษ) เป็นผลงานซิมโฟนีของเบโทเฟินที่บางครั้งถูกอ้างถึงว่าเป็นจุดสิ้นสุดของดนตรียุคคลาสสิก และเป็นจุดเริ่มต้นของดนตรียุคโรแมนติก เบโทเฟินเริ่มแต่งซิมโฟนีบทนี้ด้วยความเลื่อมใสในตัวนโปเลียน โบนาปาร์ต (1769-1821) ในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เดิมเมื่อเริ่มแต่ง เขาอุทิศผลงานชิ้นนี้ให้กับนโปเลียน พร้อมกับตั้งชื่อให้ว่า Bonaparte เริ่มตั้งแต่ช่วงปลายปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซินเดอเรลล่า

ียนของกุสตาฟ โดเร เรื่อง ''Cendrillon'' ซินเดอเรลล่า (Cinderella; Cendrillon) เป็นเทพนิยายปรัมปราที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงทั่วทั้งโลก มีการดัดแปลงเป็นรูปแบบต่าง ๆ มากมายกว่าพันครั้ง เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเด็กสาวกำพร้าผู้หนึ่งที่อยู่ในอุปถัมภ์ของแม่เลี้ยงกับพี่สาวบุญธรรมสองคน แต่ถูกทารุณและใช้งานเยี่ยงทาส ต่อภายหลังจึงได้พบรักกับเจ้าเมืองหรือเจ้าชายผู้สูงศักดิ์ ตำนานซินเดอเรลล่ามีปรากฏในเทพนิยายหรือนิทานพื้นบ้านประเทศต่าง ๆ ทั่วทั้งโลกโดยมีชื่อของตัวเอกแตกต่างกันออกไป ทว่าฉบับที่มีชื่อเสียงที่สุดเป็นของนักเขียนชาวฝรั่งเศสชื่อ ชาร์ล แปโร ในปี ค.ศ. 1697 ซึ่งอิงมาจากวรรณกรรมของ จิอัมบัตติสตา เบซิล เรื่อง La Gatta Cenerentola ในปี ค.ศ. 1634 ในเรื่องนี้ตัวเอกมีชื่อว่า เอลลา (Ella) แต่แม่เลี้ยงกับพี่สาวใจร้ายของเธอพากันเรียกเธอว่า ซินเดอเรลล่า (Cinderella) อันหมายถึง "เอลลาผู้มอมแมม" ซึ่งกลายเป็นชื่อเรียกเทพนิยายในโครงเรื่องนี้โดยทั่วไป ซินเดอเรลล่า ได้รับการโหวตจากเด็ก ๆ กว่า 1,200 คนจากการสำรวจโดย cinema chain UCI เป็นเทพนิยายยอดนิยมอันดับหนึ่งในดวงใจ เมื่อปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและซินเดอเรลล่า · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิวัติ

ำว่าปฏิวัติในภาษาอังกฤษ (revolution) มีรากศัพท์จากภาษาละตินคือ revolutio และ revolvere แปลว่า หมุนกลับ (to turn around) คำนี้มีใช้ทั่วไปในทางสังคมศาสตร์ แต่ก็มีใช้ในทางวิทยาศาสตร์เช่นกัน เช่น การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ เป็นต้น สารานุกรมเมอร์เรียม-เวบสเตอร์ (Merriam-Webster Encyclopedia) อธิบายว่า ปฏิวัติทางการเมืองคือการเปลี่ยนแปลงการตัดรูปแบบของการเมืองการปกครองในระดับฐานราก (fundamentally) สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Briyanica Concise Encyclopedia) อธิบายว่าปฏิวัติในทางสังคมศาสตร์ และการเมือง คือการกระทำความรุนแรงต่อโครงสร้าง ระบบ สถาบัน ฯลฯ ทางสังคมการเมือง ปฏิวัติทางสังคมการเมืองจะเป็นการเปลี่ยนแปลงไปจากมาตรฐานต่าง ๆ ที่สังคมการเมืองเป็นอยู่เดิม เพิ่มจัดตั้ง หรือสถานามาตรฐานของสังคมการเมืองแบบใหม่ให้เกิดขึ้น อาริสโตเติลอธิบายการปฏิวัติทางการเมืองไว้สองประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปฏิวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิวัติฝรั่งเศส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (Déclaration des droits de l'homme et du citoyen) เป็นเอกสารสำคัญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส กำหนดให้สิทธิของปัจเจกชนและสิทธิมวลชลเป็นสิทธิสากล ประกาศฉบับนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า สิทธิดังกล่าวมีอยู่ไม่ว่าเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากเป็นสิทธิที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ (assemblée nationale constituante) รับรองร่างสุดท้ายของประกาศนี้เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ย่อ: ป.พ.พ.) เป็นประมวลกฎหมายแพ่ง อันเป็นกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) แห่งประเทศไทย เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาเมื่อปีเดียวกัน เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สหรัฐ

วันเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐมีการถกเถียงกันในหมู่นักประวัติศาสตร.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ออสเตรีย

ตราแผ่นดินของออสเตรียปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ออสเตรีย ในช่วงก่อนปลายศตวรรษที่ 8 ประเทศออสเตรียมีชนชาติอพยพต่าง ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ได้แก่ ชนเผ่าเยอรมันที่ข้ามแม่น้ำดานูบลงมาทางตอนใต้ และชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ทางตอนใต้ออสเตรีย จนสิ้นสุดศตวรรษที่ 8 ชาร์เลอมาญ (Charlemagne) ได้ก่อตั้งเขตชายแดนระหว่างแม่น้ำอินส์ แรบและดราวา เพื่อเป็นป้อมปราการ ป้องกันการรุกราน ของชาวเอวาร์ และภายหลังจากที่ชาวโรมันได้อพยพออกไป นักบวชชาวไอริชและสก็อตจึงได้เข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนา ในดินแดนบริเวณเทือกเขาอัลไพน์แห่งนี้ ราชวงศ์บาเบนแบร์ก (Babenberg) ของชาวบาวาเรียนได้เข้าปกครองออสเตรียในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์ออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์เยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ปลัสเดอลากงกอร์ด

ปลัสเดอลากงกอร์ด ใจกลางกรุงปารีส ปลัสเดอลากงกอร์ด (Place de la Concorde; จัตุรัสแห่งความปรองดอง) เป็นจัตุรัสกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 86,400 ตารางเมตร พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อองตัวแนตถูกประหารด้วยกิโยตีน ณ จัตุรัสแห่งนี้ในสมัยการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปลัสเดอลากงกอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ปอล บารัส

ปอล ฟร็องซัว ฌ็อง นีกอลา ไวเคานต์แห่งบารัส (Paul François Jean Nicolas, Vicomte de Barras) หรือรู้จักกันในชื่อ ปอล บารัส เป็นนักการเมืองในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และเป็นหนึ่งในสมาชิกในคณะดีแร็กตัวร์ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายบริหารของฝรั่งเศสในช่วง..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปอล บารัส · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาชาวยิว

ปัญหาชาวยิว (Jewish question) ครอบคลุมปัญหาและการแก้ปัญหาแวดล้อมสถานะพลเมือง กฎหมายและสัญชาติอันไม่เท่าเทียมทางประวัติศาสตร์ระหว่างชนกลุ่มน้อยชาวยิวอัชเคนาซิและผู้ที่มิใช่ยิว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปยุโรป ปัญหาแรกอภิปรายและถกเถียงกันในหมู่ชนชั้นสูง นักการเมืองและนักเขียนในยุโรปตะวันตกและยุโรปกลางระหว่างยุคภูมิธรรมและการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งปัญหานี้รวมไปถึงการขาดคุณสมบัติทางพลเมืองทางเศรษฐกิจและกฎหมายของยิว ความเท่าเทียม การปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นอิสระและภูมิธรรมยิว (Jewish Enlightenment) ปัญหา ซึ่งรวมไปถึงการผสมกลมกลืนในการพลัดถิ่นและลัทธิไซออนิสต์ ยังคงดำเนินต่อไปถึงคริสต์ศตวรรษที่ยี่สิบ คำดังกล่าวเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับช่วงที่การต่อต้านยิวเพิ่มขึ้นเมื่อคริสต์ทศวรรษ 1880 เช่นเดียวกับความพยายามในการสถาปนารัฐยิว.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปัญหาชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปัญหาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาแลเดปัป

ปาแลเดปัปดาวีญง (Palais des papes d'Avignon, แปล: วังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง) เป็นพระราชวังพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ที่อาวีญงในประเทศฝรั่งเศส เป็นสิ่งก่อสร้างของสถาปัตยกรรมกอทิกที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป ปาแลเดปัปได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและปาแลเดปัป · ดูเพิ่มเติม »

นอสตราเดมัส

นอสตราเดมัส ไทยมักเรียก นอสตราดามุส (Nostradamus) ชื่อจริงว่า มีแชล เดอ นอสทร์ดาม (Michel de Nostredame; เกิด 14 หรือ 21 ธันวาคม 1503 แล้วแต่แหล่งข้อมูล;Most eyewitnesses to his original epitaph (including his son Caesar and historian Honoré Bouche) indicate 21 December, but a few (including his secretary Chavigny) suggest 14th. The inscription on his present tombstone evidently follows Chavigny. No conclusive explanation for the discrepancy has so far been discovered. See Guinard, Patrice, ตาย 2 กรกฎาคม 1566) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นเภสัชกร (apothecary) และหมอดูที่มีชื่อเสียง เพราะเผยแพร่ชุดคำทำนายซึ่งเลื่องชื่อที่สุดในโลกหลายชุด โดยเฉพาะ เลพรอเฟซี (Les Propheties) ที่พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1555 เมื่อเผยแพร่หนังสือชุดดังกล่าวแล้ว นอสตราเดมัสก็ได้รับความสนใจจากสำนักพิมพ์ใหญ่หลายแห่ง พร้อมกิตติศัพท์ว่า สามารถทำนายทายทักเหตุการณ์สำคัญหลายเรื่องในโลก แหล่งข้อมูลทางวิชาการส่วนใหญ่ถือกันว่า การอ้างว่า เหตุการณ์ในโลกสัมพันธ์กับโคลงทำนายของนอสตราเดมัสนั้น เป็นผลมาจากการตีความหรือแปลความที่ผิดพลาด ซึ่งบางครั้งปรากฏว่า ตั้งใจให้ผิดพลาด มิฉะนั้น ก็เป็นเรื่องมโนสาเร่ถึงขนาดที่ไม่อาจถือเอาโคลงเหล่านั้นเป็นพยานหลักฐานว่า นอสตราเดมัสมีอำนาจพยากรณ์อย่างแท้จริง อย่างไรก็ดี นักวิจารณ์จำนวนหนึ่งก็ประสบความสำเร็จในการตีความอย่างเสรีโดยใช้วิธี "พลิกแพลง" ถ้อยคำในโคลงเพื่อระบุเหตุการณ์อันเห็นได้ชัดว่า ใกล้จะมาถึงอยู่แล้ว เช่น ในปี 1867 หลุยส์-มีแชล เลอ เปอเลอตีเย (Louis-Michel le Peletier) ใช้กลวิธีดังกล่าวทำนายล่วงหน้า 3 ปีว่าจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 จะทรงมีชัยหรือปราชัยในสงครามฝรั่งเศส–ปรัสเซีย แม้เลอ เปอเลอตีเย จะยอมรับว่า ตนไม่สามารถบอกได้จริงว่า จะทรงมีชัยหรือปราชัย และเหตุการณ์จะเกิดขึ้นเมื่อใดก็ตาม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและนอสตราเดมัส · ดูเพิ่มเติม »

นายช่างแห่งนักบุญไจลส์

นายช่างแห่งเซนต์ไจลส์ (Maître de Saint-Gilles, Master of Saint Giles) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศส-เฟล็มมิชของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีงานเขียนอยู่ในบริเวณที่อาจจะเป็นปารีส ลักษณะการเขียนเป็นแบบสมัยปลายกอธิค ที่จะเน้นพื้นผิวและแสดงและความเที่ยงตรงของรายละเอียดตามความเป็นจริงภายในที่มีลักษณะคล้ายกับการเขียนภาพของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น ไม่เป็นที่ทราบแน่นอนว่านายช่างแห่งเซนต์ไจลส์เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสที่อาจจะไปฝึกงานอยู่ในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ หรือชาวดัตช์ที่ย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในฝรั่งเศส สมญานามดังกล่าวตั้งขึ้นโดยแม็กซ์ ยาคอป ฟรีดเลนเดอร์ผู้ทำการวิจัยลักษณะการเขียนบางส่วนของศิลปินไม่ทราบนามผู้นี้ โดยเริ่มจากจิตรกรรมแผงสองแผงที่อุทิศให้แก่นักบุญไจลส์ ("ปาฏิหาริย์" และ "มิซซา") ที่เป็นของหอศิลป์แห่งชาติในลอนดอน ซึ่งเป็นบานซ้ายของฉากแท่นบูชา และจิตรกรรมแผงอีกสองแผงของของฉากแท่นบูชาเดียวกันที่ในปัจจุบันอยู่ที่วอชิงตัน ฝีมือของผู้ช่วยเห็นได้ในภาพ "การถวายศีลจุ่มแด่พระเจ้าโคลวิส" ของหอศิลป์แห่งชาติในวอชิงตัน ดี.ซี. ผู้เขียนแผง "ฉากจากชีวิตของพระสังฆราช-นักบุญ" ที่อาจจะเป็นนักบุญลู, นักบุญเด็นนิส หรือ นักบุญเรมี จิตรกรรมทั้งสี่แผงต่างก็มีภาพเอกรงค์ของนักบุญอยู่ในภาพ ในช่องที่ทำให้ดูเหมือนประติมากรรม ภาพสองภาพของวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและนายช่างแห่งนักบุญไจลส์ · ดูเพิ่มเติม »

นีเซฟอร์ เนียปส์

นีเซฟอร์ เนียปส์ (Nicéphore Niépce) ชื่อเกิด โฌแซ็ฟ เนียปส์ (Joseph Niépce; 7 มีนาคม 1765 - 5 กรกฎาคม 1833) เป็นนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ที่ได้ชื่อว่ามีส่วนในการบุกเบิกการถ่ายภาพ เนียปส์เกิดในเมืองชาลง-ซูร์-โซน (Chalon-sur-Saône) ในเขตจังหวัดโซเนลัวร์ปัจจุบัน บิดาเป็นทนายผู้มีฐานะ เขามีพี่ชาย 1 คน ชื่อ โกลด (1763-1828) มีน้องสาว 1 คน และน้องชายอีก 1 คน เมื่ออายุได้ 21 ปี เนียปส์ได้ศึกษาที่ Oratorian Brothers เมืองอ็องเฌ ในสาขาวิชาฟิสิกส์และเคมี เมื่อจบการศึกษาแล้ว เนียปส์จึงกลับมาเรียนวิชาการทหาร (National Guard) ที่เมืองชาลง-ซูร์-โซน บ้านเกิด ในปี 1789 เกิดการปฏิวัติฝรั่งเศสขึ้น เนียปส์ได้ถูกประจำการเป็นทหารอยู่ที่ซาร์ดิเนีย และผลจากการปฏิวัติครั้งนี้ทำให้ทรัพย์สินของครอบครัวส่วนใหญ่เสียหาย แต่ครอบครัวของเขามีบ้านหลังหนึ่งอยู่ใกล้หมู่บ้านชาลง-ซูร์-โซน ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส หลังจากที่เนียปส์ได้ออกจากราชการทหารในปี 1794 เขาแต่งงานกับแอกเนส โรเมโร่ (Agnes Romero) และย้ายมาอยู่ที่เมืองนี้ เมื่อแต่งงานไปได้ 1 ปี ภรรยาของเขาก็ให้กำเนิดบุตร ตั้งชื่อว่า อีซีดอร์ (Isidore; ภายหลังร่วมมือกับหลุยส์ ดาแกร์ ผู้คิดค้น กระบวนการดาแกโรไทป์ เพื่อพัฒนางานถ่ายภาพ) ในขณะนั้น เนียปส์ใช้เวลาในการค้นคว้าทำการทดลองเกี่ยวกับการบันทึกภาพไปด้วย เนียปส์เสียชีวิตในปี 1833 ในสภาพบุคคลล้มละล.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและนีเซฟอร์ เนียปส์ · ดูเพิ่มเติม »

แมซงดูว์รัว

แมซง ดูว์ รัว (Maison du Rois) แปลตามศัพท์ภาษาฝรั่งเศสว่า "บ้านของพระราชา" ในภาษาดัตช์เรียกว่า โบรดฮัส (Broodhuis) แปลว่า "บ้านขนมปัง" เป็นอาคารสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในจัตุรัสกร็องปลัสแห่งบรัสเซลส์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจัตุรัส ตรงข้ามกับออแตลเดอวีล ตัวอาคารเป็นแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก แมซง ดูว์ รัว นั้นได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกร็องปลัสแห่งบรัสเซลส์ ในปีค.ศ. 1998.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและแมซงดูว์รัว · ดูเพิ่มเติม »

แวร์ซาย

แวร์ซาย (Versailles) เป็นเมืองที่โด่งดังในฐานะที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังแวร์ซาย แวร์ซายเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฝรั่งเศสโดยพฤตินัยเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ นับจาก..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

แอมานุแอล โฌแซ็ฟ ซีเยแย็ส

แอมานุแอล โฌแซ็ฟ ซีเยแย็ส (Emmanuel Joseph Sieyès) เป็นหมอสอนศาสนาระดับล่างสังกัดโรมันคาทอลิกตลอดจนเป็นนักการเมืองในฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในผู้นำทฤษฎีการเมืองในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และมีส่วนในการปกครองประเทศในคณะกงสุลฝรั่งเศสและจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง เขาเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อการรัฐประหาร 18 บรูว์แมร์ซึ่งนำนโปเลียนขึ้นสู่อำนาจ ซีเยแย็สเกิดเมื่อ 3 พฤษภาคม 1748 ในเมืองเฟรยูทางภาคใต้ของฝรั่งเศสVan Deusen, Glyndon G., p. 11 เป็นบุตรคนที่ห้าของนายออนอแร กับนางอันนาแบล บิดาของเขาเป็นนายภาษีท้องถิ่นที่มีฐานะยากจน แม้ครอบครัวซีเยแย็สจะมีสายเลือดขุนนางอยู่บ้างแต่พวกเขาก็เป็นได้แค่สามัญชน ซีเยแย็สเข้าศึกษากับคณะเยสุอิต เขาต้องการเข้ารับราชการทหารแต่เนื่องจากเป็นคนขี้โรคประกอบกับการมีครอบครัวเคร่งศาสนา ทำให้ซีเยแย็สต้องหันมาเอาดีทางด้านศาสนาแทน โดยเข้าศึกษากับโรงเรียนสอนศาสนาในกรุงปารีสเป็นเวลาสิบปี ซึ่ง ณ ที่นั่น เขาได้เรียนเทววิทยาและวิศวกรรมเพื่อเตรียมตัวเป็นพระ ซีเยแย็สได้รับการนับถืออย่างมากในโรงเรียนจากความถนัดในวิทยาศาสตร์ เขาหลงใหลหลักปรัชญาสมัยใหม่และไม่ชอบวิชาเทววิทยาที่คร่ำครึVan Deusen, Glyndon G., p. 12 ในปี 1788 พระเจ้าหลุยส์ที่ 16ได้เสนอให้มีการประชุมสภาฐานันดรขึ้น ซึ่งเป็นการประชุมระหว่างสามชนชั้นในสังคมฝรั่งเศส ซึ่งซีเยแย็สได้ตีพิมพ์จุลสารโดยมีหัวเรื่องว่า "ฐานันดรที่สามคืออะไร?" (Qu'est-ce que le tiers-état?) จุลสารฉบับนี้ได้สร้างชื่อเสียงให้กับเขาอย่างมาก ทำให้เขาได้รับการคัดเลือกเข้าไปเป็นผู้แทนฐานันดรที่สามจากปารีส และเขากลายเป็นหนึ่งในผู้มีส่วนในการปฏิวัติฝรั่งเศส เขายังเป็นผู้ร่วมร่างประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง หลังรัฐประหาร 18 บรูว์แมร์ ซีเยแย็สก็ได้เป็นสมาชิกคณะกงสุลฝรั่งเศสและต่อมาเป็นสมาชิกสภาสูง ภายหลังแผนการลอบสังหารนโปเลียนที่ในเดือนธันวาคม 1800 ซีเยแย็สก็ได้ออกมาต่อต้านอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดและกระบวนการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของนโปเลียน ซึ่งทำให้เขาถูกนโปเลียนปลดจากตำแหน่งทั้งหมด ตัวเขาใช้ชีวิตอย่างเงียบๆในปารีส จนกระทั่งเมื่อมีการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง ซีเยแย็สก็ถูกขับออกจากสถาบันศีลธรรมและศาสตร์การเมืองโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 และตัวเขาย้ายไปบรัสเซลส์ จนกระทั่งภายหลังการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมในปี 1830 เขาก็ย้ายกลับมายังปารีส และเสียชีวิตที่นั่นในอีก 6 ปีต่อมาเมื่อมีอายุได้ 88 ปี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและแอมานุแอล โฌแซ็ฟ ซีเยแย็ส · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ (Hector Berlioz) เป็นคีตกวี นักเขียน และนักวิจารณ์ชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803) ที่เมืองลาโกตแซ็งต็องเดร จังหวัดอีแซร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1869) ที่กรุงปารีส เขาเป็นหนึ่งในคีตกวีคนสำคัญในยุคโรแมนติกของทวีปยุโรป.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กซ็องพรอว็องส์

แอ็กซ็องพรอว็องส์ (Aix-en-Provence) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แอ็กซ์ (Aix) เป็นเทศบาลทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในจังหวัดบุช-ดูว์-โรน แคว้นพรอว็องซาลป์-โกตดาซูร์ แอ็กซ็องพรอว็องส์ตั้งอยู่ 33 กิโลเมตรทางเหนือของเทศบาลมาร์แซย์ซึ่งเป็นเมืองท่าสำคัญของฝรั่งเศสที่อยู่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมืองแอ็กซ์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 123 ปีก่อนคริสต์ศักราชในสมัยสาธารณรัฐโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 มีฐานะเป็นศูนย์กลางของมณฑลแกลเลียนาร์โบเนนซิสของโรมัน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและแอ็กซ็องพรอว็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

แซ็งต์-ชาแปล

แซ็งต์-ชาแปล (La Sainte-Chapelle, The Holy Chapel) เป็นโบสถ์น้อยของนิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่กรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นสิ่งก่อสร้างแบบสถาปัตยกรรมกอทิก แซ็งต์-ชาแปลอาจจะถือกันว่าเป็นงานชิ้นที่งดงามที่สุดของสถาปัตยกรรมแรยอน็องซึ่งเป็นสมัยหนึ่งของสถาปัตยกรรมกอทิก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและแซ็งต์-ชาแปล · ดูเพิ่มเติม »

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและโลกที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง

แซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง (Joseph-Ignace Guillotin) เป็นแพทย์, นักการเมือง และฟรีเมสันชาวฝรั่งเศส ในวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและโฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง · ดูเพิ่มเติม »

โฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน

ซฟีน เดอ โบอาร์แน (Joséphine de Beauharnais) หรือชื่อเกิดคือ มารี โฌแซ็ฟ โรซ ตาเช เดอ ลา ปาเฌอรี (Marie Josèphe Rose Tascher de La Pagerie) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "โรซ" เป็นจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสพระองค์แรก และเป็นพระมเหสีพระองค์แรกในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและโฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน · ดูเพิ่มเติม »

โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส

แฟ็งแห่งฝรั่งเศส (Dauphin de France) หรือ โดแฟ็งแห่งเวียนัว (Dauphin de Viennois) คืออิสริยยศที่มีไว้สำหรับทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง ผู้ซึ่งจะขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งฝรั่งเศสในอนาคต ในประวัติศาสตร์มีผู้ดำรงอิสริยยศนี้ในช่วงปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและโดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เกย์ไอคอน

นักแสดงและนักร้อง จูดี การ์แลนด์ หนึ่งในเกย์ไอคอนคนสำคัญ เกย์ไอคอน (Gay icon) คือบุคคลสาธารณะ (อดีตหรือปัจจุบัน) ที่เป็นที่ยอมรับในหมู่เลสเบียน เกย์ ไบเซ็กชวลและคนข้ามเพศ (กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หรือ LGBT) เกย์ไอคอนส่วนใหญ่มักมีลักษณะดังนี้ มีเสน่ห์ หรูหรา สามารถฝ่าฝันอุปสรรค มีความเป็นทั้งหญิงและชาย เหล่าไอคอนจะมีรสนิยมทางเพศหรือเพศไหนก็ได้ ถ้าเป็นกลุ่ม LGBT จะสามารถเปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศของตนได้หรือไม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเกย์ไอคอน · ดูเพิ่มเติม »

เรลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปล

รลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปล (Relics of Sainte-Chapelle) คือเรลิกที่เป็นของพระเยซูที่ได้มาโดยพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในยุคกลางที่ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของอัครมุขมณฑลปารีส เดิมเรลิกหล่านี้เก็บรักษาไว้ที่แซ็งต์-ชาแปลในปารีส แต่ในปัจจุบันเป็นสมบัติของมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเรลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปล · ดูเพิ่มเติม »

เรอเน เดการ์ต

รอเน เดการ์ต (René Descartes) เป็นทั้งนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ นอกจากที่เขาเป็นผู้ที่บุกเบิกปรัชญาสมัยใหม่ เขายังเป็นผู้คิดค้นระบบพิกัดแบบคาร์ทีเซียนซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาด้านแคลคูลัสต่อมา เดการ์ตได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ แนวคิดของเขามีผลต่อนักคิดร่วมสมัยไปถึงนักปรัชญารุ่นต่อ ๆ มา โดยรวมเรียกว่าปรัชญากลุ่มเหตุผลนิยม (rationalism) ซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาหลักในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเรอเน เดการ์ต · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องของสองนคร

รื่องของสองนคร (The Tale of the Two Cities – พ.ศ. 2402) งานวรรณกรรมที่เน้นหนักด้านจริยธรรม ความสำนึกผิด ความละอายต่อบาปและความรักชาติของนักประพันธ์ชาวอังกฤษชื่อ ชาลส์ ดิคคินส์ (พ.ศ. 2355 - 2413) ซึ่งได้เค้าเรื่องจากวรรณกรรมของ ทอมัส คาร์ลีลย์ เรื่อง การปฏิวัติของฝรั่งเศส การวางท้องเรื่องอาศัยอิงเป็นอย่างมากกับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในสมัยนั้นเพื่อให้สามารถเดินเรื่องได้ง่ายไม่ติดขัด โดยอิงเหตุการณ์ระหว่าง..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเรื่องของสองนคร · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพ

รีภาพ, อิสรภาพ หรือเสรีธรรม ในทางปรัชญา หมายถึง เจตจำนงเสรี ซึ่งตรงข้ามกับนิยัตินิยม ในทางการเมือง เสรีภาพประกอบด้วยเสรีภาพทางสังคมและการเมืองที่รับประกันแก่พลเมืองทุกคน ในทางเทววิทยา เสรีภาพ คือ อิสรภาพจากพันธะบาป.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเสรีภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ

รีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ (Liberté, Égalité, Fraternité) เป็นคำขวัญประจำชาติของสาธารณรัฐฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพในการพูด

รีภาพในการพูด (freedom of speech) หรือเสรีภาพในการแสดงออก (freedom of expression) เป็นสิทธิการเมืองในการสื่อสารความคิดของบุคคลผ่านการพูด คำวา เสรีภาพในการแสดงออก บางครั้งใช้เป็นคำไวพจน์ แต่ยังรวมไปถึงพฤติการณ์ใด ๆ ในการแสวงหา ทั้งด้วยการพูด การแสดงท่าทาง หรือการสื่อสารด้วยตัวหนังสือ ไม่ว่าจะบนหน้ากระดาษหรือในโลกออนไลน์ ตลอดจนในรูปแบบอื่นๆ เช่น เสียงเพลง ภาพถ่าย ภาพกราฟิกหรือภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ นอกจากนี้ยังรวมถึงสิทธิในการค้นคว้า หา เข้าถึงหรือได้รับข้อมูล ความรู้สึกนึกคิด ความเห็นที่มีการสื่อสารและเผยแพร่และนำข้อสนเทศหรือความคิดโดยไม่คำนึงถึงสื่อที่ใช้ ในทางปฏิบัติ สิทธิในเสรีภาพการพูดมิได้มีสมบูรณ์ในทุกประเทศ และสิทธินี้โดยทั่วไปมักถูกจำกัด เช่นเดียวกับการหมิ่นประมาท การดูหมิ่นซึ่งหน้า ความลามก และการยุยงให้ก่ออาชญากรรม สิทธิในเสรีภาพการพูดได้รับการยอมรับเป็นสิทธิมนุษยชนภายใต้ข้อ 19 แห่งปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และได้รับการยอมรับในกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ 19 แห่งกติกาฯ บัญญัติว่า "ทุกคนจักมีสิทธิออกความเห็นโดยไม่ถูกแทรกแซง" และ "ทุกคนจักมีสิทธิในเสรีภาพการพูด สิทธินี้จักรวมไปถึงเสรีภาพในการแสวงหา ได้รับและส่งต่อข้อสนเทศและความคิดในทุกรูปแบบ โดยไม่คำนึงถึงขอบเขต ไม่ว่าจะโดยการพูด การเขียนหรือการพิมพ์ ในรูปของศิลปะ หรือผ่านสื่ออื่นใดที่เป็นทางเลือกของเขา" หากข้อ 19 ยังบัญญัติต่อไปว่าการใช้สิทธิเหล่านี้มี "หน้าที่และความรับผิดชอบพิเศษ" และอาจ "ดังนั้น ต้องถูกจำกัดบ้าง" เมื่อจำเป็น "เพื่อความเคารพถึงสิทธิหรือชื่อเสียงของคนอื่น" หรือ "เพื่อคุ้มครองความมั่นคงของชาติหรือความสงบเรียบร้อย หรือการสาธารณสุข หรือศีลธรรม" สิทธิในเสรีภาพในการแสดงออกถูกตีความรวมถึงสิทธิในการถ่ายรูปและเผยแพร่ภาพถ่ายบุคคลแปลกหน้าในพื้นที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือการรับรู้จากพวกเขา อย่างไรก็ตามในคดีตามกฎหมายในประเทศเนเธอร์แลนด์สิทธิเสรีภาพในการแสดงออกไม่รวมถึงสิทธิในการใช้รูปถ่ายในลักษณะเหยียดสีผิวเพื่อปลุกระดมความเกลียดชังทางเชื้อชาติหรือการเลือกปฏิบัติชาติพัน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเสรีภาพในการพูด · ดูเพิ่มเติม »

เสรีนิยม

เสรีนิยม (liberalism) เป็นปรัชญาการเมืองหรือมุมมองทางโลกซึ่งตั้งอยู่บนความคิดเสรีภาพและความเสมอภาค นักเสรีนิยมยอมรับมุมมองหลากหลายขึ้นอยู่กับความเข้าใจหลักการเหล่านั้น แต่โดยทั่วไปสนับสนุนความคิดอย่างเสรีภาพในการพูด เสรีภาพสื่อ เสรีภาพทางศาสนา ตลาดเสรี สิทธิพลเมือง สังคมประชาธิปไตย รัฐบาลฆราวาส ความเสมอภาคทางเพศและการร่วมมือระหว่างประเทศ ทีแรก เสรีนิยมเป็นขบวนการทางการเมืองต่างหากระหว่างยุคเรืองปัญญา เมื่อได้รับความนิยมในหมู่นักปรัชญาและนักเศรษฐศาสตร์ในโลกตะวันตก เสรีนิยมปฏิเสธความคิดซึ่งสามัญในเวลานั้น เช่น เอกสิทธิ์แบบสืบเชื้อสาย ศาสนาประจำชาติ สมบูรณาญาสิทธิราชและเทวสิทธิ์ของกษัตริย์ มักยกย่องจอห์น ล็อก นักปรัชญาสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ว่าเป็นผู้ก่อตั้งเสรีนิยมเป็นประเพณีปรัชญาต่างหาก ล็อกแย้งว่ามนุษย์มีสิทธิธรรมชาติในชีวิต เสรีภาพและทรัพย์สิน และตามสัญญาสังคม รัฐบาลต้องไม่ละเมิดสิทธิเหล่านี้ นักเสรีนิยมคัดค้านอนุรักษนิยมประเพณีและมุ่งเปลี่ยนสมบูรณาญาสิทธิ์ในการปกครองเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนและหลักนิติธรรม นักปฏิวัติผู้โด่งดังในการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ การปฏิวัติอเมริกา และการปฏิวัติฝรั่งเศสใช้ปรัชญาเสรีนิยมเพื่ออ้างความชอบธรรมการโค่นสิ่งที่มองว่าเป็นการปกครองทรราชด้วยอาวุธ เสรีนิยมเริ่มลามอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีการตั้งรัฐบาลเสรีนิยมในประเทศต่าง ๆ ทั้งในทวีปยุโรป อเมริกาใต้และอเมริกาเหนือ ในช่วงนี้คู่แข่งอุดมการณ์หลัก คือ อนุรักษนิยม แต่ภายหลังเสรีนิยมรอดการท้าทายทางอุดมการณ์วสำคัญจากคู่แข่งใหม่อย่างฟาสซิสต์และลัทธิคอมมิวนิสต์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความคิดเสรีนิยมยิ่งลามอีกเมื่อประชาธิปไตยเสรีนิยมเป็นฝ่ายชนะสงครามโลกทั้งสองครั้ง ในทวีปยุโรปและอเมริกา การสถาปนาเสรีนิยมสังคม (social liberalism) เป็นองค์ประกอบสำคัญของการขยายรัฐสวัสดิการ ปัจจุบัน พรรคการเมืองเสรีนิยมยังครองอำนาจและอิทธิพลทั่วโลก หมวดหมู่:ขบวนการทางปรัชญา หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางการเมือง หมวดหมู่:วัฒนธรรมทางการเมือง หมวดหมู่:ทฤษฎีสังคม หมวดหมู่:ปัจเจกนิยม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์แดรฟุส

ันทึกข้อมูลบอร์เดอโร จุดเริ่มต้นของเหตุการณ์แดรฟุส เหตุการณ์แดรฟุส (Affaire Dreyfus) คือ วิกฤตการณ์ทางการเมืองและสังคมในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 ของฝรั่งเศส ซึ่งเริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2437 และดำเนินต่อเนื่องกันไปจนถึง พ.ศ. 2449 เหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดความแตกแยกระหว่างสถาบันหลักทางการปกครองและสังคมฝรั่งเศสซึ่งเริ่มตั้งแต่การปฏิวัติฝรั่งเศส พ.ศ. 2332 ปรากฏเด่นชัดอีกครั้ง และกลายเป็นปัญหาล่อแหลมต่อการดำรงอยู่ของระบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ทั้งยังมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางการเมืองและสังคมของฝรั่งเศสในเวลาต่อม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเหตุการณ์แดรฟุส · ดูเพิ่มเติม »

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

อลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง (Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun) หรือ มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ (Marie Élisabeth-Louise Vigée; 16 เมษายน ค.ศ. 1755 - 30 มีนาคม ค.ศ. 1842) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนจิตรกรรมภาพเหมือน เอลีซาแบ็ตแสดงความสนใจในศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกแต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลีซาแบ็ตจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้างจิตรกรรมประวัติศาสตร์แบบคลาสสิก.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เดอ โบอาร์แน

ออแฌน โรแซ เดอ โบอาร์แน (Eugène Rose de Beauharnais) เป็นบุตรชายคนเดียวของนายพลอาแล็กซ็องดร์ เดอ โบอาร์แน กับ นางโฌเซฟีน ตาเช เดอ ลา ปาเฌอรี ภรรยาคนแรกของนโปเลียน โบนาปาร์ต เขาเกิดในปารีสและเป็นบุญบุญธรรมของนโปเลียน โบนาปาร์ต (แต่ไม่เป็นอยู่ในสายสืบราชสันตติวงศ์) บิดาแท้ๆของเขาเป็นนายพลและถูกประหารชีวิตไปในการปฏิวัติฝรั่งเศสช่วงสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ในช่วงที่นโปเลียนเรืองอำนาจ เขาเป็นผู้บัญชาการกองทหารของอิตาลี และเป็นอุปราชแห่งอิตาลี.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเออแฌน เดอ โบอาร์แน · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เดอลาครัว

วาดตัวเอง พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) แฟร์ดีน็อง-วิกตอร์-เออแฌน เดอลาครัว เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส เขาสามารถเรียนจากงานของยุคอื่นๆ เขานับถือการใช้สีของราฟาเอล และพลังวาดภาพอย่างเต็มที่ของแรมบรังด์และรูเบนส์ การศึกษางานของปีเตอร์ พอล รูเบนส์อย่างใกล้ชิดของเขาทำให้เขาพัฒนารูปแบบภาพวาดที่ทิ้งความเข้มงวดของยุคคลาสสิก นำค่าแท้จริงของสีกลับมา เดอลาครัวมีอำนาจวาสนาจากคลาสสิก ศิลปะของเขาให้ทางเข้าตรงไปสู่สถานะทางอารมณ์ภายใน ดังนั้นมันกลายเป็นบางอย่างที่ศิลปะสมัยใหม่ (Modernism) จะเอาทิศทางมาจากมัน ศิลปะซึ่งปล่อยตัวมันเองให้เป็นอิสระอย่างเพิ่มขึ้นจากความจริงเพื่อหาค่าแท้จริงของมัน ราบเรียบ นามธรรมและเต็มไปด้วยอารมณ.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเออแฌน เดอลาครัว · ดูเพิ่มเติม »

เออเฌนี เดอ มอนตีโค จักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส

มเด็จพระจักรพรรดินีเออเชนีเดอมองติโค (ยูเจนี แห่งฝรั่งเศส) (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2369 - 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2463) (Eugénie de Montijo) ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสพระองค์สุดท้าย และเป็นพระชายาในสมเด็จพระจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ประสูติ ณ แคว้นเกรนาดา, สเปน พระองค์จึงทรงเป็นชาวสเปนโดยกำเนิด มีพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือมกุฎราชกุมารนโปเลียน ยูเจนีแห่งฝรั่งเศส รัชสมัยของพระองค์สิ้นสุดลงในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2414 จากการปฏิวัติ ทำให้ระบอบกษัตริย์ในฝรั่งเศสสิ้นสุดลงเป็นครั้งที่ 3 หลังจากประเทศต้องเผชิญการเปลี่ยนแปลงมากมายในการปกครองระหว่างระบบสาธารณรัฐกับระบอบกษัตริย์จากการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเออเฌนี เดอ มอนตีโค จักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมันด์ เบิร์ก

อ็ดมันด์ เบิร์ก (Edmund Burke) เป็นรัฐบุรุษชาวไอร์แลนด์ และยังเป็นทั้งนักปรัชญา, นักปราศรัย, นักทฤษฏีการเมือง และเป็นนักการเมืองอังกฤษสังกัดพรรควิกโดยเป็นสมาชิกสภาสามัญชน เขาเป็นที่รู้จักจากการสนับสนุนการปฏิวัติอเมริกา, การเลิกกีดกันชาวคาทอลิก, การฟ้องร้องข้าหลวงวอร์เรน ฮาสติงส์ แห่งบริษัทอินเดียตะวันออก และภายหลังจากการไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งทำให้เขาผันตัวไปเป็นผู้นำกลุ่มอนุรักษนิยมในพรรควิกซึ่งเป็นเสียงข้างน้อยในสภา ซึ่งตัวเขาเรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม "วิกเก่า" (Old Whigs) ซึ่งอยู่ขั้วตรงข้ามกับฝ่ายสนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสซึ่งเรียกว่ากลุ่ม "วิกใหม่" (New Whigs) ที่นำโดยชาร์ล เจมส์ ฟ็อกซ์ เบิร์กเชื่อว่าเสรีภาพและจารีตประเพณีสามารถไปด้วยกันได้ ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งถึงขั้นนองเลือดหรือสถาปนาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดขึ้นเป็นฝ่ายชนะอย่างขาดลอยชัดเจน การเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลันนั้นจะนำมาซึ่งความสูญเสียไม่คุ้มกับประโยชน์ที่ได้รับ ดังนั้นเขาจึงเชื่อมั่นในวิถีแห่งการประนีประนอมมากกว่าการห้ำหั่นเอาชนะ ในขณะที่เขาต่อต้านการปฏิวัติฝรั่งเศสเขากลับสนับสนุนการปลดแอกของอเมริกาจากอังกฤษ เขาให้เหตุผลว่าเนื่องจากการปฏิวัติในฝรั่งเศสนั้นไม่ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแสวงหาเสรีภาพและความเท่าเทียมตั้งแต่ต้น แต่เกิดจากการยุยงโดยชนชั้นนำซึ่งท้ายที่สุดจะนำไปซึ่งการปกครองในระบอบเผด็จการที่เลวร้ายกว่าเดิม ในศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขาเสียชีวิตกว่าร้อยปีแล้ว เขากลายมาเป็นว่าได้รับการนับถืออย่างมากในฐานะนักปรัชญาผู้เป็นบิดาแห่งแนวคิดอนุรักษนิยมสมัยใหม.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเอ็ดมันด์ เบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายสืบสายพระโลหิต

หลุยส์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์ เจ้าชายสืบสายพระโลหิต (Prince du Sang หรือ Prince of the Blood) คือผู้ที่เป็นผู้สืบเชื้อสายที่ถูกต้องตามกฎหมายโดยตรงจากประมุขของประเทศ ในฝรั่งเศสตำแหน่ง “เจ้าชายสืบสายพระโลหิต” เป็นบรรดาศักดิ์สูงสุดในราชสำนักรองจากพระราชนิกุลที่ใกล้ชิดที่สุดของพระมหากษัตริย์ในสมัย “อองเซียง เรฌีม” และในสมัยราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ตำแหน่ง “เจ้าชายสืบสายพระโลหิต” หรือ “เจ้าหญิงสืบสายพระโลหิต” เป็นตำแหน่งที่ใช้กับสมาชิกที่ถูกต้องตามกฎหมายของประมุขที่กำลังครองราชย์ ในยุโรปบางประเทศโดยเฉพาะในราชอาณาจักรฝรั่งเศสบรรดาศักดิ์นี้เป็นตำแหน่งเฉพาะตัวและใช้อย่างจำกัดกว่าบรรดาศักดิ์อื่น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเจ้าชายสืบสายพระโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สจวร์ต

้าหญิงลุยซา มาเรีย เทเรซา สจวร์ต (Louisa Maria Teresa Stuart; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2235 – 18 เมษายน พ.ศ. 2255) เรียกอย่างลำลองว่า ลุยซา มาเรีย (Louisa Maria) หรือ หลุยส์ มารี (Louise Marie) หรือที่กลุ่มจาโคไบต์ออกพระอิสริยยศว่า พระราชกุมารี (The Princess Royal) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ประสูติแต่แมรีแห่งโมดีนา โดยพระองค์ประสูติหลังพระราชชนกและชนนีทรงลี้ภัยเนื่องจากถูกโค่นราชบัลลังก์ at npg.org.uk (accessed 8 February 2008) ในเอกสารของราชสมาคมสจวร์ต (Royal Stuart Society) เรียกพระองค์ว่า "ฟ้าหญิงเหนือห้วงมหรรณพ" (Princess over the Water) ตามอย่างคำว่า "กษัตริย์เหนือห้วงมหรรณพ" (King over the Water) ที่ใช้เรียกผู้สืบราชสมบัติสายจาโคไบต์ ซึ่งไม่มีพระราชธิดาตามกฎหมายพระองค์ใดถูกเรียกเช่นนี้มาก่อน at royalstuartsociety.com – web site of the Royal Stuart Society (accessed 11 February 2008) online at burkes-peerage.net (accessed 9 February 2008) เจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 18 เมษายน..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สจวร์ต · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลในประเทศฝรั่งเศส

ทศบาล (commune) เป็นหน่วยการบริหารที่เล็กที่สุดในสาธารณรัฐฝรั่งเศส ถือได้ว่าเป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นในระดับรากฐาน มีความเก่าแก่และมีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับในประเทศอื่น ๆ ปัจจุบัน มีเทศบาลมากกว่า 36,580 แห่ง (และอีก 183 แห่งในจังหวัดโพ้นทะเล) มีจำนวนสมาชิกสภาซึ่งมาจากการเลือกตั้งถึงประมาณ 550,000 คน เทศบาลโดยส่วนใหญ่ถึงกว่าร้อยละ 90 มีลักษณะเป็นเมืองขนาดเล็กและอยู่ในพื้นที่ชนบทซึ่งมีประชากรต่ำกว่า 1,500 คน.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเทศบาลในประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เครือราชรัฐบูร์กอญ

แผนที่แสดงเครือราชรัฐเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 สีเขียวบนแผนที่คือเครือราชรัฐบูร์กอญ เครือราชรัฐบูร์กอญ (Burgundische Reichskreis) เป็นหนึ่งในเครือราชรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1512 นอกจากเคาน์ตีบูร์กอญแล้ว ดินแดนของเครือราชรัฐออสเตรียยังครอบคลุมบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำที่ในปัจจุบันคือเนเธอร์แลนด์, เบลเยียม, ลักเซมเบิร์ก และสองจังหวัดของฝรั่งเศส (อาร์ทัวส์ และ นอร์ด).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเครือราชรัฐบูร์กอญ · ดูเพิ่มเติม »

เคานต์แห่งแฟลนเดอส์

นต์แห่งฟลานเดอร์ (Compte de Flandre, Graaf van Vlaanderen Count of Flanders) คือบรรดาศักดิ์ของผู้ปกครองของเคาน์ตีฟลานเดอร์ที่ก่อตั้งมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 9 จนกระทั่งการยกเลิกในสมัยการปฏิวัติฝรั่งเศสในปีค.ศ. 1790 ในช่วงแรกของอาณาจักร ผู้ปกครองแคว้นมักจะอยู่ในบรรดาศักดิ์ มาร์เกรฟ หรือ มาร์ควิส จนกระทั่งเว้นไปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 12 และต่อมาจนทำให้ตำแหน่งผู้ปกครองกลายเป็นเพียงแค่ "เคานต์แห่งฟลานเดอร์".

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเคานต์แห่งแฟลนเดอส์ · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีอาร์ตัว

น์ตีอาร์ตัว (graafschap Artesië, Comté d'Artois, County of Artois) เป็นอาณาจักรเคานท์คาโรแล็งเชียงที่ก่อตั้งขึ้นในราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันตก ในสมัยโรมันอาร์ตัวตั้งอยู่ในจังหวัดเบลจิคาและเจอร์มาเนียใต้และเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของเคลต์ จนกระทั่งมาแทนด้วยชนเจอร์มานิคเมื่ออำนาจของจักรวรรดิโรมันเสื่อมลง เคาน์ตีอาร์ตัวตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสปัจจุบันติดกับพรมแดนเบลเยียม มีเนื้อที่ราว 4000 ตารางกิโลเมตรและมีประชากรราวหนึ่งล้านคน เมืองสำคัญก็ได้แก่ อารัส, กาแล, บูลอญ-ซูร์-แมร์, แซ็งตอแมร์ ล็องส์ (Lens) และเบตูน (Béthune) ในปัจจุบันอาร์ตัวตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัดปาดกาแล.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเคาน์ตีอาร์ตัว · ดูเพิ่มเติม »

เนินปราสาท

ซิสเตอรงที่ตั้งอยู่เหนือตัวเมืองที่ตั้งอยู่ต่ำลงมารอบ ๆ ปราสาท โวบ็อง ซิทาเดลลาที่ตั้งอยู่บนเนินเหนือแม่น้ำดานูบที่บูดาเปสต์ในฮังการี เนินปราสาท (citadel) คือป้อมปราการสำหรับป้องกันเมือง บางครั้งก็จะมีปราสาทรวมอยู่ด้วย หรือบางครั้งก็อาจจะหมายถึงบริเวณที่สูงที่สุดของตัวเมือง ในภาษาอังกฤษคำว่า "citadel" มีรากจากภาษาละตินเช่นเดียวกับคำว่า "city" ว่า "civis" ที่แปลว่า "พลเมือง" ในระบบป้อมปราการที่มีมุขป้อมยื่นออกไป เนินปราสาทคือส่วนที่มั่นคงที่สุดของระบบ บางครั้งก็จะตั้งลึกเข้าไปจากกำแพงนอกและมุขป้อม แต่ก็มักจะมีส่วนหนึ่งที่ติดกับกำแพงด้านนอกเพื่อเป็นการประหยัดการสร้างกำแพงใหม่สำหรับตัวสิ่งก่อสร้างหลัก เนินปราสาทจะเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายถ้าข้าศึกสามารถบุกเข้าในปราสาทจากกำแพงชั้นต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่รอบนอกได้ นอกจากนั้นในยุคกลาง "เนินปราสาท" เป็นคำที่ใช้เรียกส่วนที่สามของปราสาทที่มีกำแพงที่สูงกว่ากำแพงอื่น ๆ ของเมือง ซึ่งเป็นที่มั่นสุดท้ายของระบบการป้องกันก่อนที่จะถึงตัวหอกลาง โครงสร้างที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบที่ใช้เป็นเนินปราสาทสร้างในสมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุเมื่อเนินปราสาทถือว่าเป็นศูนย์กลางของการบริหาร แต่วัตถุประสงค์ของโครงสร้างก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แม้ว่าโครงสร้างที่พบที่ซากโมเฮนโจ-ดาโร (ภาษาสินธี: मोइन जो दड़ो) หรือ "เนินมรณะ" จะเป็นโครงสร้างที่มีกำแพงล้อมรอบ แต่ก็ไม่เป็นที่ชัดแจ้งว่าจะเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อการป้องกันการโจมตีจากข้าศึกหรือไม่ ข้อสันนิษฐานข้อหนึ่งคือเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อเปลี่ยนทิศทางการไหลของกระแสน้ำท่วม ในสมัยกรีกโบราณ เนินปราสาทอะโครโพลิสตั้งเด่นอยู่บนเนินสูงที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้แต่ไกล อะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ประกอบด้วยสถานที่สำหรับหลบภัย และ ที่มั่น ที่เป็นที่เก็บเสบียงและอาวุธ, เทวสถานสำหรับเทพเจ้า และ พระราชวัง อะโครโพลิสที่มีชื่อเสียงที่สุดคืออะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ แต่อะโครโพลิสเป็นองค์ประกอบของการสร้างเมืองแทบทุกเมืองในสมัยกรีกโบราณ เช่นอะโครโพลิสแห่งคอรินท์ (Acrocorinth) ที่มีชื่อเสียงว่ามีระบบป้อมปราการที่มั่นคงที่แข็งแรง ในสมัยต่อมาเมื่อกรีซปกครองโดยจักรวรรดิละติน องค์ประกอบนี้ก็ได้รับการนำไปใช้โดยผู้ปกครองใหม่โดยมีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกัน เนินปราสาทมีชื่อเรียกกันไปต่าง ๆ ในแต่ละภูมิภาคเช่น "เครมลิน" (kremlin) ในรัสเซีย หรือ "อัลกาซาร์" (alcázar) ในคาบสมุทรไอบีเรีย ในเมืองในยุโรปคำว่า "citadel" และ "city castle" มักจะใช้สลับความหมายกันได้ หรือบางครั้งก็อาจจะใช้คำว่า "tower" แทนได้เช่น ทาวเวอร์ออฟลอนดอน หรือ ทาวเวอร์ออฟเดวิดในเยรูซาเลม ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ โดยเฉพาะในยุคกลาง เนินปราสาทที่มีระบบการป้องกันทางการทหารอิสระจากกำแพงเมืองเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายของข้าศึกที่มาล้อมเมือง เมืองจะเสียก็ต่อเมื่อเสียเนินปราสาท เช่นในปี..

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและเนินปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กรกฎาคม

วันที่ 14 กรกฎาคม เป็นวันที่ 195 ของปี (วันที่ 196 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 170 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ14 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 สิงหาคม

วันที่ 26 สิงหาคม เป็นวันที่ 238 ของปี (วันที่ 239 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 127 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ26 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การปฏิวัติฝรั่งเศสและ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

French Revolutionการปฏิวัติของฝรั่งเศสการปฏิวัติประเทศฝรั่งเศสการปฎิวัติฝรั่งเศส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »