โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก

ดัชนี กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก

้นแบ่งระหว่างกลุ่มเจอร์แมนิกตะวันตกและกลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน.

38 ความสัมพันธ์: ชาวแองเกิลบีเวอร์ฟุกกิงพยางค์กลุ่มชนเจอร์แมนิกกลุ่มภาษาสลาวิกกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือกลุ่มภาษาเคลต์ภาษาฝรั่งเศสภาษารัสเซียภาษาลอมบาร์ดิกภาษาสกอตภาษาสวีเดนภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษสมัยกลางภาษาอังกฤษเก่าภาษาอาฟรีกานส์ภาษาดัตช์ภาษานอร์สโบราณภาษานอร์เวย์ภาษาแฟโรภาษาโนเวียลภาษาไอซ์แลนด์ภาษาเยอรมันภาษาเอสเปรันโตภาษาเดนมาร์กรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยทอร์นตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประเทศสโลวีเนียประเทศเดนมาร์กแกรนด์ดยุกแม่น้ำเวเซอร์แรกนะร็อกโลก (ดาวเคราะห์)เอลฟ์Å

ชาวแองเกิล

ักรวรรดิโรมันภายไต้จักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงที่ตั้งของ "Anglii" ที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณคอแหลมจัตแลนด์ (เดนมาร์ก) แองเกิล (Angles) เป็นคำภาษาอังกฤษใหม่สำหรับเรียกกลุ่มผู้พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกที่ได้ชื่อมาจากบริเวณการตั้งถิ่นฐานอังเงิลน์ (Angeln) ที่อยู่ในบริเวณรัฐชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Schleswig-Holstein) ในเยอรมนีปัจจุบัน แองเกิลเป็นกลุ่มชนหลักที่มาตั้งถิ่นฐานในบริเตนในช่วงเวลาหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน (Fall of the Roman Empire) และก่อตั้งอาณาจักรหลายอาณาจักรในสมัยแองโกล-แซกซันของอังกฤษและ "Angles" เป็นรากของคำว่า "England" (อังกฤษ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและชาวแองเกิล · ดูเพิ่มเติม »

บีเวอร์

รงกระดูกของบีเวอร์ บีเวอร์ (beaver) เป็นสัตว์กินพืชเลี้ยงลูกด้วยนมจัดเป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่งเช่นเดียวกับหนูยักษ์ พวกมันมีอยู่ด้วยกันสองสายพันธุ์คือ พันธุ์ยูเรเชียน (Eurasian beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor fiber) กับพันธุ์อเมริกาเหนือ (North American beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์ก็คือ Castor Canadensis) ถึงแม้จะมีขนาดและรูปร่างหน้าตาที่คล้ายคลึงกัน แต่ทั้งสองสายพันธุ์แยกขาดจากกันตั้งแต่เมื่อ 24,000 ปีที่แล้ว พวกมันจึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันเองได้อีก บีเวอร์มีขนาดตัวที่ใหญ่ตัวโตเต็มวัยจะมีขนาดใหญ่พอ ๆ กับเด็กอายุ 8 ขวบ ตัวผู้สามารถมีน้ำหนักได้มากกว่า 25 กิโลกรัมส่วนตัวเมียอาจมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ในช่วงอายุเท่ากัน นอกจากนี้บีเวอร์มีอายุยืนยาวได้ถึง 24 ปี พวกมันยังมีอีกสายพันธุ์หนึ่งในอดีตคือสายพันธุ์บีเวอร์ยักษ์ (Giant beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor ohioensis) ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 10,000 ปีก่อน พวกมันส่วนมากอาศัยอยู่ในบริเวณซีกโลกเหนือมีจำนวนประชากรในแถบอเมริกาเหนือมากกว่า 60 ล้านตัว แต่เมื่อปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและบีเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุกกิง

ฟุกกิง (Fucking) เป็นหมู่บ้านในออสเตรียในเทศบาลเมืองทาร์สดอร์ฟในเขตอินน์ (Innviertel) ทางตะวันตกของรัฐอัปเปอร์ออสเตรีย หมู่บ้านนี้ตั้งอยู่ห่างจากทางตอนเหนือของ ซาลซ์บูร์ก 33 กม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและฟุกกิง · ดูเพิ่มเติม »

พยางค์

งค์ หมายถึงหน่วยหนึ่งขององค์ประกอบในลำดับของเสียงที่ใช้สื่อสารด้วยคำพูด พยางค์โดยทั่วไปเกิดขึ้นจากแกนพยางค์ (syllable nucleus) ซึ่งมักจะเป็นเสียงสระ และอาจมีเสียงขึ้นต้นและเสียงลงท้ายเป็นเสียงพยัญชนะในพยางค์ พยางค์ถูกจัดว่าเป็นส่วนประกอบของคำในการศึกษาระบบเสียงในภาษา (phonology) ซึ่งมีอิทธิพลต่อจังหวะในภาษา ฉันทลักษณ์ ลักษณะคำประพันธ์ รูปแบบการเน้นเสียง เป็นต้น คำหนึ่งคำอาจอบขึ้นจากพยางค์เพียงพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ การเขียนสัญลักษณ์แทนพยางค์เริ่มมีขึ้นเมื่อไม่กี่ร้อยปีก่อนที่จะมีการใช้ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรก สัญลักษณ์แทนพยางค์ในสมัยนั้นถูกบันทึกลงบนแผ่นจารึกเมื่อประมาณ 2,800 ปีก่อนคริสตกาลโดยชาวสุเมเรียน สิ่งนี้เป็นตัวผลักดันให้อักษรภาพที่เขียนกันมาแต่เดิมถูกเปลี่ยนเป็นการเขียนแทนพยางค์ ซึ่งเป็นก้าวหนึ่งที่สำคัญในประวัติศาสตร์ของระบบการเขียน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและพยางค์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเจอร์แมนิก

การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและกลุ่มชนเจอร์แมนิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาสลาวิก

ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและกลุ่มภาษาสลาวิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ

250px กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ หรือกลุ่มภาษาสแกนดิเนเวีย เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเคลต์

กลุ่มภาษาเคลต์เป็นลูกหลานของภาษาเคลต์ตั้งเดิมหรือภาษาเคลต์ทั่วไปซึ่งเป็นภาษาในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน คำว่าเคลต์เป็นคำที่ประดิษฐ์โดย Edward Lhuyd เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและกลุ่มภาษาเคลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลอมบาร์ดิก

ภาษาลอมบาร์ดิก เป็นภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก พูดในบางส่วนทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี ล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาลอมบาร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสกอต

ษาสกอต เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก ที่ใช้พูดกันในแถบพื้นที่ราบของสกอตแลนด์ และในพื้นที่อัลสเตอร์ (ซึ่งเรียกสำเนียงท้องถิ่นว่าอัลสเตอร์สกอต ชาวสกอตมักเรียกภาษานี้ว่า สกอตที่ราบต่ำ เพื่อไม่ให้สับสนกับภาษาแกลิกสกอต และภาษาเคลต์ซึ่งถูกจำกัดพื้นที่การใช้ตามประวัติศาสตร์ในแถบพื้นที่ราบสูงของสกอตแลนด์ ภาษาสกอตถูกพัฒนาขึ้นในสมัยเดียวกับภาษาอังกฤษสมัยกลาง นับแต่ต้นศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสกอตแลนด์ได้มีวิวัฒนาการ จนกลายเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์แตกต่างจากภาษาอังกฤษและภาษาท้องถิ่นอื่น ๆ ที่พูดกันในอังกฤษ หากแต่ยังขาดชื่อเรียก แต่หลังจาก ปี ค.ศ. 1495 เป็นต้นมา คำว่า สกอตติช (Scottis) ถูกใช้มากขึ้นเพื่ออ้างถึงภาษาพูดในถิ่นที่ลุ่ม ในขณะที่คำว่า Erse ซึ่งแปลว่า ไอริช ถูกใช้เป็นชื่อเรียกภาษาแกลิค ฯ ยกตัวอย่างเช่น ในตอนปลายศตวรรษที่ 15 วิลเลียม ดันบาร์ กวีชาวสกอต ใช้คำว่า Erse เพื่ออ้างถึงภาษาแกลิคและในช่วงต้นศตวรรษที่ 16 กาวิน ดักลาส เริ่มใช้คำว่า Scottis เพื่ออ้างอิงถึงภาษาถิ่นที่ราบลุ่ม ปัจจุบันภาษาแกลิกของสกอตแลนด์มักถูกเรียกว่า ภาษาแกลิก-สกอต หรือ ภาษาแกลิกสกอตแลน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาสกอต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวีเดน

แผนที่แสดงบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสวีเดน ภาษาสวีเดน (svenska) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ (หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของสวีเดน เป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของฟินแลนด์ (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาฟินแลนด์) และเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งเป็นเขตการปกครองตนเองของฟินแลนด์ ภาษาสวีเดนสามารถใช้แทนกันกับภาษาสแกนดิเนเวียอีก 2 ภาษาคือ ภาษาเดนมาร์ก และภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีความมั่นคงในช่วงตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ภาษาย่อยตามภูมิภาคที่สืบมาจากภาษาพื้นเมืองในชนบทยังคงมีอยู่ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีมาตรฐาน และมีอัตราความสามารถในการอ่านและเขียน 99% ในกลุ่มผู้ใหญ่ ภาษาพื้นเมืองบางภาษาต่างจากภาษามาตรฐานทั้งเรื่องไวยากรณ์และคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจกับภาษาสวีเดนมาตรฐานได้เสมอไป ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้จะจำกัดเฉพาะพื้นที่ชนบทและส่วนใหญ่คนพูดเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีความเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ ถึงแม้ว่าจะไม่สูญพันธุ์ในเร็ว ๆ นี้ ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้ได้ถดถอยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีการวิจัยเป้นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นส่งเสริมการใช้ ภาษาสวีเดนมีลักษณะเด่นในเรื่องฉันทลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดต่าง ๆ มีทั้งเสียงเน้นที่ต่างกันตามแต่ละคำ และ เสียงวรรณยุกต์ ภาษาสวีเดนมีเสียงสระค่อนข้างมาก โดยที่มีเสียงสระถึง 9 เสียงที่ต่างกันด้วยความยาว และลักษณะเสียง ทำให้มีหน่วยเสียงสระ (vowel phoneme) ถึง 17 หน่วย นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนยังมีเสียง voiceless dorso-palatal velar fricative ซึ่งสามารถพบได้ในภาษาพื้นเมืองหลายภาษา รวมถึงภาษามาตรฐานชั้นสูง และไม่ปรากฏในภาษาอื่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษสมัยกลาง

ษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) เป็นชื่อที่นักภาษาศาสตร์ใช้เรียกภาษาอังกฤษในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งใช้พูดสื่อสารตั้งแต่สมัยชาวนอร์มันพิชิตอังกฤษ ใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาอังกฤษสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษเก่า

ษาอังกฤษเก่า (Ænglisc, Anglisc, Englisc; Old English ย่อว่า OE) หรือ ภาษาแองโกล-ซัคเซิน (Anglo-Saxon) เป็นภาษาอังกฤษยุคแรก ที่พูดกันในบริเวณที่ปัจจุบันคือแคว้นอิงแลนด์ อังกฤษและสกอตแลนด์ตอนใต้ ในระหว่าง กลางคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 นับเป็นภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก ด้วยเหตุนี้ จึงมีความคล้ายคลึงกับภาษาฟริเซียนเก่า (Old Frisian) และภาษาแซกซันเก่า (Old Saxon) นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์กับภาษานอร์สเก่า (Old Norse) และเชื่อมโยงไปถึงภาษาไอซ์แลนด์ปัจจุบัน (modern Icelandic) ด้วย ไวยกรณ์ของภาษาอังกฤษเก่ามีความใกล้เคียงกับไวยกรณ์ของภาษาเยอรมันสมัยใหม่ กล่าวคือ คำนาม คำวิเศษณ์ คำสรรพนาม และคำกริยา มีการผันเปลี่ยนรูปข้างท้ายของคำอยู่หลากหลายแบบ และการลำดับคำในประโยคก็มีอิสระมากกว่า ตัวอักษรของภาษาอังกฤษเก่าแค่เดิมเป็นระบบอักษรรูน (runic system) แต่ถูกแทนที่ด้วยอักษรละตินนับแต่ศตวรรษที่ 9 เป็นต้นมา ภาษาอังกฤษเก่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีการใช้งานตลอดระยะเวลาประมาณ 700 ปี นับตั้งแต่ชนแองโกล-แซ็กซอนอพยพเข้ามายังเกาะบริเตน สร้างอิงแลนด์ขึ้น ในคริสต์ศวรรษที่ 5 จนถึงระยะเวลาหลังพวกนอร์มันบุกรุกเข้าไปเมื่อ ค.ศ. 1066 หลังจากนั้นภาษาอังกฤษก็เคลื่อนเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่สำคัญ ในยุคแรกๆ นี้ ภาษาอังกฤษเก่าได้ผสมกลมกลืนเข้ากับภาษาอื่นๆ ที่มีการติดต่อด้วย เช่น ภาษาเคลติก (Celtic) และภาษาถิ่นสองภาษาของภาษานอร์สเก่า (บรรพบุรุษของภาษาแดนิชในปัจจุบัน) จากการบุกรุกของพวกไวกิงจากทางเดนมาร์ก ซึ่งเข้ามาครอบครองและปกครองอาณาเขตในอิงแลนด์ตอนเหนือและตะวันออก หลังจากชาวนอร์แมนยกทัพเข้าชิงอังกฤษจากกษัตริย์แซ็กซอนมาปกครองได้ ใรปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาอังกฤษเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาฟรีกานส์

ษาอาฟรีกานส์ (Afrikaans) เป็นภาษาในกลุ่มฟรังโคเนียล่าง มีเค้าโครงมาจากภาษาดัตช์ พูดในประเทศแอฟริกาใต้และนามิเบีย เกิดจากการผสมผสานของสำเนียงภาษาดัตช์ที่มีต้นกำเนิดจากทางตอนใต้ของฮอลแลนด์ ซึ้งใช้พูดกันในหมู่ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวดัตช์ที่เข้ามาอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นแอฟริกาใต้ ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 จึงถือเป็นภาษาลูกของดัตช์ โดยมีคำศัพท์ราว 90-95% มาจากภาษาดัตช์ แต่ภายหลังก็รับเอาคำจากภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสเข้ามาด้วย ความแตกต่างจากภาษาดัตช์โดยทั่วไปจำกัดอยู่แค่ในเรื่องของการเปลี่ยนรูปของคำ และไวยากรณ์ ดังนั้นผู้พูดภษาอาฟรีกานส์ และภาษาดัทช์จึงสามารถเข้าใจกันได้ดี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาอาฟรีกานส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดัตช์

ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานอร์สโบราณ

ภาษานอร์สโบราณ (Norrœnt mál) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ พูดในสแกนดิเนเวียและอาณานิคมโพ้นทะเลของชาวสแกนดิเนเวียในยุคไวกิงจนถึงประมาณค.ศ. 1300 ภาษานอร์สโบราณพัฒนามาจากภาษานอร์สดั้งเดิมในคริสต์ศตวรรษที่ 8 และพัฒนาไปเป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือหลายภาษาหลังยุคไวกิง ภาษาในปัจจุบันที่มาจากภาษานอร์สโบราณได้แก่ภาษาไอซ์แลนด์ แฟโร นอร์เวย์ เดนมาร์ก และสวีเดน นอร์สโบราณ นอร์สโบราณ นอร์สโบราณ หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษานอร์สโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานอร์เวย์

ภาษานอร์เวย์ เป็นภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก เป็นภาษาราชการของประเทศนอร์เวย์ และมีความใกล้ชิดกับภาษาสวีเดนและเดนมาร์ก ภาษานอร์เวย์มีรูปแบบการเขียน 2 แบบ คือ ภาษาบุ๊กมอล (Bokmål) (หมายถึง "ภาษาหนังสือ") และ ภาษานือนอชก์ (Nynorsk) (หมายถึง "ภาษานอร์เวย์ใหม่") หมวดหมู่:สแกนดิเนเวีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศนอร์เวย์.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษานอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแฟโร

ษาแฟโร (føroyskt) เป็นภาษากลุ่มสแกนดิเนเวียตะวันตก มีความคล้ายคลึงกับภาษาไอซ์แลนด์ มีผู้พูดภาษาแฟโรเป็นภาษาแม่ทั่วโลกประมาณ 80,000 คน แบ่งเป็นผู้พูดในหมู่เกาะแฟโรประมาณ 48,000 คน ผู้พูดในเดนมาร์กประมาณ 25,000 คน นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาแฟโรกลุ่มเล็ก ๆ (ประมาณ 5,000 คน) ในไอซ์แลนด์ด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโนเวียล

ภาษาโนเวียล (Novial) เป็น ภาษาประดิษฐ์ ที่คิดค้นโดย ศาสตราจารย์ ออตโต เจสเปอร์เซน ชาวเดนมาร์กซึ่งเคยร่วมงานในการคิดค้นภาษาอิดอมาก่อนหน้านี้ โดยคำศัพท์ส่วนใหญ่จะมีพื้นฐานจากภาษากลุ่มโรมานซ์ และ ภาษากลุ่มเจอร์แมนิก และไวยากรณ์ได้รับอิทธิพลจากภาษาอังกฤษ นโนเวียล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาโนเวียล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไอซ์แลนด์

ษาไอซ์แลนด์ (íslenska อีสฺแลนฺสฺกา) เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือ ภาษาราชการของประเทศไอซ์แลนด์ มีผู้พูดประมาณ 300 000 คน ภาษาไอซ์แลนด์เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือที่ใกล้เคียงกับภาษานอร์สโบราณมากที่สุด ภาษาไอซ์แลนด์ยังคงรูปแบบทางไวยากรณ์หลายอย่างของภาษาเจอร์แมนิกแบบโบราณ โดยยังคงการผันคำที่ซับซ้อน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเดนมาร์ก

ษาเดนมาร์ก (dansk แดนฺสฺก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ(หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของเดนมาร์ก และเป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของเกาะกรีนแลนด์และหมู่เกาะแฟโร ซึ่งมีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของเดนมาร์ก นอกจากนี้ภาษาเดนมาร์กยังพูดกันในหมู่ชนกลุ่มน้อยทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ในประเทศไอซ์แลนด์ ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง(ต่อจากภาษาอังกฤษ)ที่มีการเรียนการสอนกันในสถาบันการศึกษาแพร่หลายที.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและภาษาเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์น

ทอร์น (thorn: Þ, þ) เป็นตัวอักษรในอักษรละติน ในสมัยโบราณพบในระบบการเขียนของภาษากลุ่มเจอร์แมนิกหลายภาษา แต่ปัจจุบันมีเพียงภาษาไอซ์แลนด์เท่านั้นที่ยังใช้ตัวอักษรตัวนี้อยู่ คำที่เคยเขียนด้วยตัวอักษรตัวนี้ ในปัจจุบันจะเขียนด้วย th ตัวอักษร thorn มีที่มาจากตัวอักษร ᚦ ในอักษรรูน อักษรนี้ใช้แทนเสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้องและก้อง (เหมือน th ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแทนได้ทั้งสองเสียง) แต่ในภาษาไอซ์แลนด์จะแทนได้เฉพาะเสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้องส่วนเสียงก้องจะใช้ตัวอักษร eth (Ð, ð) แทน หมวดหมู่:อักษรละติน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและทอร์น · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวีเนีย

ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและประเทศสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุก

แกรนด์ดยุก หรือแกรนด์ดุ๊ก (grand duke) ถ้าเป็นสตรีเรียกว่าแกรนด์ดัชเชส เป็นฐานันดรศักดิ์ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิกเพื่อหมายถึงประมุขในระดับมณฑล มีศักดิ์ต่ำกว่าพระราชาแต่สูงกว่าดยุก แกรนด์ดยุกยังใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เพื่อหมายถึงแกรนด์พรินซ์ เพราะภาษาเหล่านี้ใช้ศัพท์ prince หมายถึงทั้งเจ้าชายราชนิกุลและเจ้าผู้ครองนครเหมือนกัน ขณะที่ภาษาเยอรมันเรียกเจ้าชายราชนิกุลว่า Prinz และเรียกเจ้าชายผู้ครองนครว่า Fürst เขตปกครองของแกรนด์ดยุกเรียกว่าราชรัฐชั้นแกรนด์ดัชชี ซึ่งปัจจุบันเหลืออยู่เพียงแห่งเดียวในโลก คือ ราชรัฐลักเซมเบิร์กซึ่งมีแกรนด์ดยุคอ็องรีที่ 1 เป็นเจ้าผู้ครองราชรั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและแกรนด์ดยุก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเวเซอร์

แม่น้ำเวเซอร์ (Weser) เป็นแม่น้ำทางทิศเหนือ-ตะวันตกของประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำฟุลดาไหลมารวมกับแม่น้ำเวร์ราที่เมืองมึนเดิน ไหลผ่านรัฐโลว์เออร์แซกโซนี ไหลไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ลงสู่ทะเลเหนือ แม่น้ำเวเซอร์มีความยาว 452 กม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและแม่น้ำเวเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แรกนะร็อก

ประตูทิศเหนือของโบสถ์ไม้แห่งอูร์เนสที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ได้รับการตีความว่าการที่มีรายละเอียดของงูและมังกรนั้น เป็นตัวแทนของแรกนะร็อกFazio, Moffet, Wodehouse (2003:201). ในเทพปกรณัมนอร์สธอร์ แรกนะร็อก (Ragnarok,, หรือ) เป็นชุดเหตุการณ์ในอนาคต ประกอบด้วย การยุทธครั้งใหญ่ตามคำทำนายซึ่งนำไปสู่การสิ้นชีพของเหล่าเทพที่สำคัญ (ประกอบด้วย เทพโอดิน, ทอร์, เทียร์, เฟรย์, เฮมดาลล์, และโลกิ) ในท้ายที่สุด, การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ และการที่แผ่นดินจมลงใต้สมุทรตามลำดับ ต่อจากนั้น แผ่นดินจะผุดขึ้นจากทะเลอีกครั้ง และกลับมาอุดมสมบูรณ์ เทพที่รอดชีวิตและเทพผู้กลับมาจากความตายจะมาพบกัน โลกจะกลับมามีพลเมืองด้วยมนุษย์สองคนที่เหลือรอด แรกนะร็อกเป็นเหตุการณ์สำคัญในทางความเชื่อและศาสนาของนอร์ส และเป็นหัวข้อของวจนิพนธ์ทางวิชาการและทฤษฎี ตามที่มีหลักฐานยืนยัน เหตุการณ์นี้ได้รับการบันทึกครั้งแรกใน บทกวีเอ็ดดา ซึ่งแปลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากบันทึกโบราณ และบทร้อยแก้วเอ็ดดาที่เขียนขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยสนอร์รี สเทอร์ลิวซัน ใน มหากาพย์เอ็ดดา และกลอนบทหนึ่งใน บทกวีเอ็ดดา เหตุการณ์นี้เรียกว่า Ragnarök หรือ Ragnarøkkr (ภาษานอร์สโบราณ แปลว่า "ชะตากรรมของเหล่าทวยเทพ" หรือ "สนธยาของเหล่าทวยเทพ" ตามลำดับ) การนำไปใช้งานที่มีชื่อเสียงกระทำโดยนักแต่งเพลงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ริชาร์ด วากเนอร์ ใช้เป็นหัวเรื่องดนตรีอุปรากร ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน องค์สุดท้ายของเขา เกิทเทอร์เดมเมอร์รุง (ค.ศ. 1876).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและแรกนะร็อก · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟ์

''Ängsälvor'' "เอลฟ์แห่งท้องทุ่ง" ภาพวาดของนิลส์ บลอมเมอร์ ในปี ค.ศ. 1850 เอลฟ์ (elf) คือสิ่งมีชีวิตอมนุษย์ในตำนานนอร์สและตำนานปรัมปราในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิก (สแกนดิเนเวียและเยอรมัน) เมื่อแรกเริ่ม แนวคิดเกี่ยวกับพวกเอลฟ์คือ ชนเผ่าที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์ ภาพวาดของชนเหล่านี้มักเป็นมนุษย์ทั้งชายและหญิงที่แลดูอ่อนเยาว์และงดงาม อาศัยอยู่ในป่า ในถ้ำ ใต้พื้นดิน หรือตามบ่อน้ำและตาน้ำพุ มักเชื่อกันว่าพวกเขามีชีวิตยืนยาวมากหรืออาจเป็นอมตะ รวมทั้งมีพลังเวทมนตร์วิเศษ แต่หลังจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ผลงานอันโด่งดังของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ปรากฏออกมา ภาพของเอลฟ์ก็กลายเป็นผองชนผู้เป็นอมตะและเฉลียวฉลาด ทั้งที่คำว่า เอลฟ์ ในวรรณกรรมของโทลคีนมีความหมายแตกต่างไปคนละทางกับตำนานโบราณโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและเอลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

Å

right Å เป็นตัวอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา โดยเฉพาะภาษากลุ่มเจอร์แมนิก อักษรดังกล่าวก็คืออักษร A ที่มีห่วงอยู่ด้านบน โดยจะใช้แทนเสียงที่แตกต่างไปจากเสียง a ในภาษานั้น ๆ หมวดหมู่:อักษรละติน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและÅ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Germanic languageGermanic languagesกลุ่มภาษาเจอร์มานิกกลุ่มภาษาเจอร์เมนิกภาษากลุ่มเจอร์มานิกภาษากลุ่มเจอร์แมนิกภาษากลุ่มเจอร์เมนิกภาษากลุ่มเจอร์เมนิคภาษาเยอรมานิกภาษาเจอร์มานิคตระกูลภาษาเจอร์เมนิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »