โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรีฑา

ดัชนี กรีฑา

กรีฑา (athletics) หมายถึง มีการแข่งขันขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อราว 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยทำการแข่งขัน ณ ลาน เชิงเขาโอลิมเปีย ในแคว้นอีลิส ประเทศกรีซ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในสมัยโบราณ เมื่อกรีกเสื่อมอำนาจลง โรมันได้เข้ามาปกครองกรีกและห้ามชาวกรีกแข่งขันกีฬา ทำให้การแข่งขันกรีฑาต้องล้มเลิกไปด้วย ต่อมาใน..

144 ความสัมพันธ์: ฟุตบอลทีมชาติตรินิแดดและโตเบโกฟุตบอลในประเทศไทยกรีฑาชิงแชมป์โลกกรีฑาสถานแห่งชาติกรีฑาในซีเกมส์ 2009กรีฑาในซีเกมส์ 2013กรีฑาในซีเกมส์ 2015การวิ่งทางไกลกาลาทาซาไรสปอร์คูลือบือกิละกอน สีพอนไชกีฬากรีฑาชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2016กีฬากรีฑาในซีเกมส์ 2017กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 2004กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45กีฬาระหว่างรัฐขนาดเล็กในยุโรปกีฬาจักรวรรดิอังกฤษ 1930กีฬาคนพิการในประเทศไทยกีฬาคนพิการโลกกีฬาตะวันออกไกลกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016กีฬาเฟสปิกภากร ธนศรีวนิชชัยมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตตมังกรสาวที่รักมาริโอแอนด์โซนิคแอตดิโอลิมปิกเกมส์มาร์มาเลดบอยมิซุโนะคอร์เปอเรชันรอเบิร์ต แกร์เรตต์ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 23ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 24ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 25รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิกรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดลภัสภร ถาวรเจริญลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์...ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ 2013ลูอิซา แกกาลู่และลานลูโซโฟนีเกมส์ 2014วชิราวุธวิทยาลัยวูยิซิเล โคลอสซาสยุมภู ทศพลสหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008สหพันธ์เอเชียนเกมส์สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์ 1954สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008สปอร์ตแอคคอร์ดสนามกีฬารึงนาโด 1 พฤษภาคมสนามกีฬาอเนกประสงค์สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่งสนามกีฬาโอลิมปิก (ลอนดอน)สนามกีฬาเวมบลีย์สนามกีฬาเซย์ยาร์ธีรีสนามแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008หลี่ จินเจ๋อออสการ์ พิสโตริอุสอาเซ็มยูธเกมส์ 2005ฮัน ฮโย-จูจังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงใหม่ธนาคารออมสินทอมัส เบิร์กทัชชกร ยีรัมย์ทีมผสมในโอลิมปิกซู ปิ่งเทียนซีเกมส์ 2009ซีเกมส์ 2011ซีเกมส์ 2013ซีเกมส์ 2015ซีเกมส์ 2017ประเทศฟินแลนด์ประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2006ประเทศแอลเบเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004ประเทศไทยในพาราลิมปิกประเทศไทยในพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008ประเทศไทยในซีเกมส์ 2017ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1956ประเทศไทยในเอเชียนเกมส์ 2006ประเทศเกาหลีใต้ในเอเชียนเกมส์ 1998นอว์เม็สตัลยาแชมป์กีฬา 7 สีแชนนิง เททัมแพนอเมริกันเกมส์แพนอเมริกันเกมส์ 1951แฮร์มันน์ รีเดอร์โรงเรียนชลประทานวิทยาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัยโรงเรียนหนองเสือวิทยาคมโรงเรียนเดมอนโอลิมปิกฤดูร้อน 1928โอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2014โจมาไบรอัน ร็อบสันไอแลนด์เกมส์ 1985เบชิกทัชฌิมนัสติกคูลือบือเบ็ตตี้ โรบินสันเฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์คเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1955เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1963เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 2013เยเลนา อิซินบาเยวาเสื้อกล้ามเอ็มไทยท็อปทอล์กอะเบาต์ 2014เอเชียนบีชเกมส์ 2014เอเชียนเกมส์เอเชียนเกมส์ 1966เอเชียนเกมส์ 1970เอเชียนเกมส์ 1974เอเชียนเกมส์ 1978เอเชียนเกมส์ 1982เอเชียนเกมส์ 1986เอเชียนเกมส์ 1990เอเชียนเกมส์ 1994เอเชียนเกมส์ 1998เอเชียนเกมส์ 2006เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2011เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017เขย่งก้าวกระโดดเคสุเกะ อุชิโระเซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1963เซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1966 ขยายดัชนี (94 มากกว่า) »

ฟุตบอลทีมชาติตรินิแดดและโตเบโก

ฟุตบอลทีมชาติตรินิแดดและโตเบโก เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโกในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติ บริหารงานโดยสมาคมฟุตบอลตรินิแดดและโตเบโก (TTFA) โดยเป็นสมาชิกของคอนคาแคฟ และสหภาพฟุตบอลแคริบเบียน ทีมชาติตรินิแดดและโตเบโก เคยผ่านเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลก 1 ครั้ง ในฟุตบอลโลก 2006 ทำให้ได้รับการบันทึกว่าเป็นทีมชาติที่มีขนาดเล็กที่สุดที่ได้เล่นในฟุตบอลโลกเมื่อวัดจากขนาดพื้นที่ของประเทศและจำนวนประชากร นอกจากนี้ทีมชาติตรินิแดดฯยังเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปอย่าง คอนคาเคฟ โกลด์คัพ และการแข่งขันในระดับภูมิภาคอย่าง แคริบเบียน คัพ ซึ่งทีมชาติตรินิแดดและโตเบโก จัดว่าเป็นทีมชาติที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในกลุ่มประเทศแถบทะเลแคริบเบียน เมื่อชนะเลิศการแข่งขันแคริบเบียน คัพ ถึง 8 สมัย และได้ตำแหน่งรองชนะเลิศอีก 5 สมัย ได้รับการจารึกไว้ว่าครองสถิติชนะเลิศมากที่สุดในการแข่งขันรายการนี้ โดยในการแข่งขัน แคริบเบียน คัพ 2014 รอบสุดท้ายที่เมืองมอนเตโก เบย์ ประเทศจาเมกา ในวันที่ 10 - 17 พฤศจิกายน 2014 ทีมชาติตรินิแดดและโตเบโกได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ หลังดวลจุดโทษแพ้ทีมชาติจาเมกา ในนัดชิงชนะเลิศ โดยเป็นการได้ตำแหน่งรองชนะเลิศรายการนี้เป็นสมัยที่ 5 สำหรับฉายา เดอะ โซก้า วอริเออร์ส ของทีมชาติตรินิแดดและโตเบโกนั้น คำว่า โซก้า หมายถึง โซก้า มิวสิค เป็นดนตรีพื้นเมืองอันเป็นเอกลักษณ์และมีต้นกำเนิดมาจากประเทศตรินิแดดและโตเบโก ดนตรีประเภทนี้เป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่มประเทศแถบแคริบเบียน.

ใหม่!!: กรีฑาและฟุตบอลทีมชาติตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในประเทศไทย

ฟุตบอลถือเป็นกีฬาซึ่งเป็นที่นิยมสูงสุดในประเทศไทย มีสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานที่กำกับดูแล ฟุตบอลทีมชาติไทย ซึ่งประสบความสำเร็จในระดับอาเซียน และรายการแข่งขันแบบอาชีพ ไทยพรีเมียร์ลีก โดยในอดีต เคยจัดการแข่งขันระดับโลกหลายครั้ง เช่นเอเชียนคัพ 2 ครั้ง ฟุตบอลอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชีย 10 ครั้ง และฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 1 ครั้ง.

ใหม่!!: กรีฑาและฟุตบอลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาชิงแชมป์โลก

กรีฑาชิงแชมป์โลก (IAAF World Championships in Athletics) เป็นการแข่งขันกรีฑาระหว่างประเทศในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์กรีฑาระหว่างประเทศ (ไอเอเอเอฟ) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 ใน กรีฑาชิงแชมป์โลก 1983.

ใหม่!!: กรีฑาและกรีฑาชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาสถานแห่งชาติ

กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กรีฑาและกรีฑาสถานแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาในซีเกมส์ 2009

ซีเกมส์ 2009 มีการแข่งขันกรีฑา ขึ้นที่สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 ในระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552-17 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งมีการชิงชัยในกรีฑาทั้งสิ้น 45 เหรียญทอง ซึ่งประเทศไทยคว้าเหรียญทองจากกรีฑาได้มากที่สุด ถึง 14 เหรียญทอง.

ใหม่!!: กรีฑาและกรีฑาในซีเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาในซีเกมส์ 2013

กรีฑาในซีเกมส์ 2013 เป็นการแข่งขันกรีฑาในการแข่งขัน ซีเกมส์ 2013 จัดการแข่งขันขึ้นระหว่างวันที่ 15-19 ธันวาคม 2556 ชิงเหรียญทองกันทั้งหมด 47 เหรียญทอง จาก 46 ประเภทการแข่งขัน.

ใหม่!!: กรีฑาและกรีฑาในซีเกมส์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาในซีเกมส์ 2015

กรีฑาในซีเกมส์ 2015 จัดขึ้นที่สนามกีฬาแห่งชาติ, ประเทศสิงคโปร์ ตั้งแต่วันที่ 6–7 มิถุนายน และ 9–12 มิถุนายน 2558.

ใหม่!!: กรีฑาและกรีฑาในซีเกมส์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งทางไกล

กลุ่มของนักวิ่งสมัครเล่นในการแข่งวิ่งทางไกลในสวิตเซอร์แลนด์ ภาพถ่ายของ Burton Holmes ชื่อ ''"1896: Three athletes in training for the marathon at the Olympic Games in Athens"'' การวิ่งทางไกล หรือ การวิ่งทน เป็นการวิ่งอย่างต่อเนื่องเป็นระยะทางอย่างน้อย 5 กิโลเมตร (3.1 ไมล์) ตามสรีรวิทยาแล้ว นับว่าเป็นการออกกำลังแบบแอโรบิกตามธรรมชาติและต้องใช้ความอดทน ในหมู่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มนุษย์ รวมถึงสัตว์ในอันดับวานร สามารถปรับตัวเพื่อวิ่งระยะทางไกลได้ดี สมมุติฐานการวิ่งทนเสนอไว้ว่าสัตว์สกุล โฮโม วิ่งทนเพราะการเดินทางข้ามพื้นที่กว้างใหญ่เพิ่มโอกาสในการไล่ล่า และยังสามารถล่าต่อเนื่องได้อีกด้วย การวิ่งทนยังพบในสัตว์กีบที่กำลังอพยพ และสัตว์กินเนื้อที่อาศัยบนพื้นดินบางประเภท เช่น หมา หมาป่า และไฮยีน่า ในสังคมมนุษย์รุ่นใหม่ มนุษย์มีหลายเหตุผลที่จะวิ่งทางไกล อาจทำไปเพื่อการออกกำลัง นันทนาการ การเดินทาง เหตุผลทางเศรษฐกิจ หรือเหตุผลทางวัฒนธรรม การวิ่งทางไกลสามารถช่วยปรับสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดให้ดีขึ้น และยังช่วยทำให้สมรรถภาพร่างกายแบบแอโรบิกดีขึ้นโดยเป็นการเพิ่มกิจกรรมให้เอนไซม์และฮอร์โมน ซึ่งจะไปทำการกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อและหัวใจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น บ่อยครั้ง ทั้งปัจจุบันและในอดีต ที่การวิ่งทางไกลจะถูกมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของการผึกทหาร การวิ่งเป็นอาชีพพบมากที่สุดในส่วนของการกีฬา ถึงแม้ว่าในสมัยก่อนยุคอุตสาหกรรม ผู้ส่งสาส์นเดินเท้าก็วิ่งเพื่อส่งข้อมูลไปยังสถานที่ที่ห่างไกลเช่นเดียวกัน การวิ่งทางไกลยังเป็นรูปแบบของประเพณีหรือพิธีของชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ชนเผ่า Hopi และ Tarahumara ในกรีฑา ได้มีการกำหนดให้การแข่งขันวิ่งทางไกลต้องวิ่งเป็นระยะ 3 กิโลเมตร (1.86 ไมล์) ขึ้นไป ปกติจะมีการวิ่งอยู่ 3 ประเภท คือ ลู่และลาน การวิ่งบนถนน และการวิ่งวิบาก ซึ่งแตกต่างตามลักษณะภูมิประเทศ ได้แก่ ลู่วิ่งราดยาง ถนน และสภาพตามธรรมชาติ ตามลำดับ โดยปกติการวิ่งแข่งบนลู่จะมีระยะทางตั้งแต่ 3,000 เมตร ถึง 10,000 เมตร (6.2 ไมล์) ส่วนการวิ่งวิบากจะแข่งในระยะทางตั้งแต่ 5 ถึง 12 กิโลเมตร (3 ถึง 7.5 ไมล์) ในขณะที่การวิ่งแข่งบนถนนอาจมีระยะทางได้ยาวขึ้นถึง 100 กิโลเมตร (60 ไมล์) หรือมากกว่า การวิ่งวิบากในมหาวิทยาลัยที่สหรัฐอเมริกา ผู้ชายมีจะวิ่งเป็นระยะทาง 8000 เมตร ส่วนผู้หญิงจะวิ่งเป็นระยะทาง 6000 เมตร รายการวิ่งในโอลิมปิกฤดูร้อนมีระยะทาง 5,000 เมตร 10,000 เมตร และยังมีประเภทมาราธอน (42.195 กิโลเมตร หรือ 26 ไมล์ 385 หลา).

ใหม่!!: กรีฑาและการวิ่งทางไกล · ดูเพิ่มเติม »

กาลาทาซาไรสปอร์คูลือบือ

กาลาทาซาไรสปอร์คูลือบือ (Galatasaray Spor Kulübü) เป็นสโมสรกีฬาตุรกีจากเมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี (ฝั่งทวีปยุโรป) ประกอบด้วยแผนกกีฬาต่าง ๆ เช่น ฟุตบอล กรีฑา บาสเกตบอล วีลแชร์บาสเกตบอล วอลเลย์บอล โปโลน้ำ ว่ายน้ำ ขว้างจักร ล่องเรือ ยูโด ไพ่บริดจ์ ขี่ม้า แฮนด์บอล เทนนิส แข่งรถ สโมสรนี้ถือเป็นสโมสรเดียวในตุรกีที่เคยได้ครองถ้วยฟุตบอลยุโรป โดยชนะในยูฟ่ายูโรปาลีกและยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2000.

ใหม่!!: กรีฑาและกาลาทาซาไรสปอร์คูลือบือ · ดูเพิ่มเติม »

กิละกอน สีพอนไช

กิละกอน สีพอนไช (ກິ​ລະ​ກອນ ສີ​ພອນ​ໄຊ; Kilakone Siphonexay) เกิดวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1989 ที่กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว เป็นนักวิ่งชาวลาว ผู้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ในรายการ 100 เมตรชาย โดยได้รับการฝึกฝนจากโค้ชเจริญสุข อุดมพันธ์ ซึ่งกิละกอน เป็นนักกรีฑาที่ได้รับการกล่าวว่า วิ่งได้เร็วที่สุดในประเทศลาว และเขาเป็นผู้ถือธงของประเทศลาวในช่วงพิธีเปิดการแข่งขัน ในการแข่งขันกีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 กิละกอนเข้าสู่เส้นชัยเป็นอันดับที่ 6 ในฮีตที่ 1 นอกจากนี้ เขายังเป็นผู้สร้างผลงานโดดเด่นจากการคว้า 2 เหรียญทองในการแข่งขันวิ่งแข่ง 100 เมตร และวิ่งผลัด 4x100 เมตร ในหลวงพระบางเกม.

ใหม่!!: กรีฑาและกิละกอน สีพอนไช · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2016

การแข่งขันกรีฑาชายหาด ในเอเชียนบีชเกมส์ 2016 จัดขึ้นที่เมืองดานัง, ประเทศเวียดนาม ระหหว่างวันที่ 26 - 29 กันยายน 2559 ณ. ชายหาดเซินถวี, เมืองดานัง, ประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬากรีฑาชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในซีเกมส์ 2017

กรีฑาในซีเกมส์ 2017 จัดขึ้นที่สนามกีฬาแห่งชาติ, ประเทศมาเลเซีย เกมการแข่งขันในปี 2017 จะประกอบไปด้วยสี่สิบห้ารายการ (23 รายการสำหรับผู้ชาย และ 22 รายการสำหรับผู้หญิง).

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬากรีฑาในซีเกมส์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬากรีฑา (Athletics) หมายถึงทั้งประเภทลู่และลาน (Track and Field) ในปัจจุบันแบ่งกรีฑาออกเป็น 6 ประเภท กรีฑา (athletics) หมายถึงเฉพาะรายการแข่งขันกีฬาที่เกี่ยวข้องกับการวิ่งแข่ง การกระโดด การขว้างและการเดิน ประเภทการแข่งขันกรีฑาที่พบแพร่หลายที่สุด คือ ลู่และลาน วิ่งทางเรียบ วิ่งวิบาก และเดินแข่ง ด้วยความเรียบง่ายของการแข่งขัน และไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ราคาแพง ทำให้กรีฑาเป็นหนึ่งในกีฬาที่มีการแข่งขันกันมากที่สุดในโลก กรีฑาซึ่งได้รับการจัดตั้งสามารถสืบย้อนไปได้ถึงกีฬาโอลิมปิกสมัยโบราณนับแต่ 776 ปีก่อนคริสตกาล และรายการแข่งขันกรีฑาสมัยใหม่ส่วนใหญ่มีสโสมรสมาชิกของสหพันธ์กรีฑานานาชาติ (IAAF) กรีฑาเป็นกระดูกสันหลังของโอลิมปิกฤดูร้อนสมัยใหม่ และการชุมนุมระหว่างประเทศชั้นนำอื่น ๆ รวมทั้ง การแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลก (IAAF World Championships) และการแข่งขันกรีฑาในร่มชิงแชมป์โลก (World Indoor Championships) และกรีฑาสำหรับผู้พิการทางกายแข่งขันกันที่ พาราลิมปิกฤดูร้อน และการแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลกของคณะกรรมการพาราลิมปิกระหว่างประเทศ (IPC Athletics.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

การแข่งขันกรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ได้จัดขึ้นในช่วง 10 วันสุดท้ายของการแข่งระหว่างวันที่ 12–21 สิงหาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 2004

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 2004 เป็นการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ ครั้งที่ 9 จัดขึ้นที่กรุงอิสลามาบาด ประเทศปากีสถาน แต่เดิมมีการจัดการแข่งขันในปี 2001 แต่ปากีสถานมีปัญหากับอินเดีย จึงมีการเลื่อนมาจัดในปี 2004 การแข่งขันครั้งนี้เป็นการแข่งขันกีฬาเอเชียใต้ครั้งที่ 2 ของประเทศปากีสถาน โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 7 ประเทศ ใน 14 ชนิดกีฬ.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ 2004 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31 หรือ ทองกวาวเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 10- 17 มกราคม พ.ศ. 2547 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 หรือ สุรนารีเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 8- 15 มกราคม พ.ศ. 2548 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 หรือ ศาลายาเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 23 -30 มกราคม 2549 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 หรือ ราชพฤกษ์เกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 19 –26 มกราคม 2550 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จังหวัดนครนายก โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน โดยจัดการแข่งขัน 25 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขัน 115 มหาวิทยาลัย มีการชิงชัยทั้งสิ้น 255 เหรียญทอง 255 เหรียญเงิน 323 เหรียญทองแดง และมีคำขวัญว่า "กีฬาสีเขียวเพื่อคุณภาพชีวิต สติปัญญา วิชาการ และกัลยาณมิตร" การแข่งขันในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสอันเป็นมิ่งมหามงคลยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 9 มิถุนายน 2549 และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 หรือ "หัวหมากเกมส์" จัดขึ้นวันที่ 11-18 มกราคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 หรือ แม่โดมเกมส์ เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยในครั้งนี้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน โดยจะจัดการแข่งขันขึ้นในระหว่างวันที่ 22 - 30 มกราคม พ.ศ. 2553 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาจำนวน 111 แห่งเข้าร่วมแข่งขันใน 25 ชนิดกีฬา จำนวน 262 เหรียญทอง นอกจากนี้ ยังมีกีฬาสาธิตอีก 2 ชนิดกีฬา ได้แก่ กีฬาวีลแชร์และว่ายน้ำด้วยตีนกบ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาพิการมีความสามารถและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้เท่าเทียมกับนักศึกษาทั่วไป สำหรับตราสัญลักษณ์ในการแม่โดมเกมส์ออกแบบเป็นรูปตึกโดมอันเกิดจากรูปคนสีเหลืองและคนสีแดงหันหน้าเข้าหากันแล้วชูธงชาติไทย โดยใช้คำขวัญว่า "Sports for Unity - We all are Thai" หรือ "สามัคคีที่แดนโดม" ส่วนสัญลักษณ์นำโชคนั้น คือ นกปรีดีชูคบเพลิงที่เปลวไฟเป็นรูป ๗๕ อันสื่อความหมายถึง การเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 75 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 หรือ จามจุรีเกมส์ 38 เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างเหล่านิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 1-11 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 โดยมีมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน หลังจากที่เคยเป็นเจ้าภาพมาแล้ว 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 12 (พ.ศ. 2527) และ ครั้งที่ 17 (พ.ศ. 2532) หลังจากนั้นก็ไม่ได้เป็นเจ้าภาพอีกเลย แต่มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เสนอชื่อ เพื่อชิงเป็นเจ้าภาพกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 หลังจากที่ไม่ได้เป็นเจ้าภาพนานกว่า 25 ปี.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 หรือ นนทรีเกมส์ จัดที่จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเพื่อเฉลิมฉลองวาระที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครบรอบ 72 ปี ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 หรือ "กันเกราเกมส์" จัดที่จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 9–18 มกราคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 หรือ สุรนารีเกมส์ 44 เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 21 กุมภาพันธ์-2 มีนาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45 หรือ ราชมงคลธัญบุรีเกมส์ โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน พร้อมทั้งมีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ร่วมเป็นเจ้าภาพด้วย กำหนดการจัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 22–31 มกราคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาระหว่างรัฐขนาดเล็กในยุโรป

กีฬาระหว่างรัฐขนาดเล็กในยุโรป (Games of the Small States of Europe; ตัวย่อ: GSSE) เป็นมหกรรมกีฬาสำหรับกลุ่มประเทศขนาดเล็กในทวีปยุโรป ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกๆสองปี อยู่ภายใต้การรับรองโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล มีประเทศที่เข้าร่วมแข่งขันคือแปดรัฐขนาดเล็กในยุโรป การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นที่สาธารณรัฐซานมาริโน ในปี..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาระหว่างรัฐขนาดเล็กในยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาจักรวรรดิอังกฤษ 1930

กีฬาจักรวรรดิอังกฤษ 1930 (1930 British Empire Games;Jeux de l'Empire britannique de 1930) เป็นการแข่งขันกีฬาจักรวรรดิอังกฤษ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่แฮมิลตัน, รัฐออนแทรีโอ, ประเทศแคน.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาจักรวรรดิอังกฤษ 1930 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาคนพิการในประเทศไทย

กีฬาคนพิการในประเทศไทย ปัจจุบันอยู่ในการกำกับดูแลของ คณะกรรมการพาราลิมปิกประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นในรูปของมูลนิธิ โดยแบ่งความรับผิดชอบตามประเภทของความพิการ 5 รูปแบบคือ กีฬาคนตาบอด, กีฬาคนหูหนวก, กีฬาผู้พิการทางปัญญา, กีฬาผู้พิการทางสมอง, กีฬาความพิการแขนขา อัมพาต และโปลิโอ แต่ทั้งหมดยังคงอยู่กับสมาคมกีฬาคนพิการแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพียงองค์กรเดียว เพื่อรอการจัดตั้งสมาคมกีฬาขึ้นใหม่ สำหรับรองรับงานในอนาคต.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาคนพิการในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาคนพิการโลก

กีฬาคนพิการโลก (World Wheelchair and Amputee Games) หรือที่รู้จักกันว่า กีฬาวีลแชร์สโตคแมนด์วิลล์ หรือ กีฬาสโตคแมนด์วิลล์เกม หรือ กีฬาวีลแชร์โลก เป็นการแข่งขันกีฬาหลากประเภท และหลายความพิการ สำหรับนักกีฬาผู้พิการ โดยจัดขึ้นครั้งแรก ในปี 1948 โดยเซอร์ลัดวิก กัตแมนน์ ผู้ซึ่งจัดการแข่งขันกีฬาของทหารที่ได้รับบาดเจ็บที่ไขกระดูกสันหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่โรงพยาบาลบำบัด ในสโตค แมนวิลล์ ประเทศอังกฤษ ในปี 1952 เนเธอร์แลนด์ได้เข้าร่วมแข่ง จึงทำให้เกิดการแข่งขันระหว่างประเทศสำหรับคนพิการขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี 1960 ซึ่งเป็นการแข่งขันครั้งที่ 9 ของกีฬาสโตคแมนวิลล์ ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงโรม ประเทศอิตาลี และตามมาในปีเดียวกันนั้นเองก็มีการจัดกีฬาโอลิมปิคครั้งที่ 17 ขึ้นที่กรุงโรม อิตาลีเช่นกัน จึงถือว่า นี่เป็นการจัดการแข่งขันพาราลิมปิคครั้งที่ 1 ในขณะที่พาราลิมปิคเกมค่อยๆ ปรากฏว่ามีการเพิ่มขึ้นของผู้พิการทุกประเภท แต่การแข่งขันกีฬาสโตคแมนด์วิลล์เกมก็ยังมีการจัดอย่างต่อเนื่องในกีฬาหลายๆประเภท เพื่อผู้ที่นักกีฬาผู้พิการวีลแชร์ การแข่งขันนั้นจัดเป็นประจำทุกปีที่สโตคแมนน์วิลล์ภายใต้แนวทางของ International Stoke Mandeville Games Federation (ISMGF) ต่อมากลายเป็น International Stoke Mandeville Wheelchair Sports Federation (ISMWSF) ในปี 1999 การแข่งขันวีลแชร์โลกครั้งแรกนั้นถูกจัดขึ้นนอกเกาะอังกฤษ ในคริสต์เชิร์ช ประเทศนิวซีแลนด์ ในปี 2003 มีการจัดแข่งขั้นขึ้นอีกครั้งที่คริสต์เชิร์ชนี้ และรวมกับการแข่งขันของนักกีฬาผู้พิการที่ถูกตัดอวัยวะ ซึ่งจัดขึ้นโดย International Sports Organization for the Disabled (ISOD) ในปี 2004 ISMWSF และ ISOD รวมกันเป็น International Wheelchair and Amputee Sports Federation (IWAS) การแข่งขันกีฬาคนพิการโลก (IWAS World Wheelchair and Amputee Games) ครั้งแรก ถูกจัดขึ้นในปี 2005 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล และในปี 2007 ที่ ประเทศไต้หวัน.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาคนพิการโลก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล

กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (The Far Eastern Championship Games) หรือที่รู้จักในชื่อ กีฬาตะวันออกไกล (Far East Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายประเภท ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ของทวีปเอเชีย จัดขึ้นโดย สมาคมกีฬาแห่งตะวันออกไกล (Far Eastern Athletic Association) อันมีหมู่เกาะฟิลิปปินส์ในอารักขาของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐจีน และจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้ง มีการแข่งขันในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2477 ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นพัฒนาไปสู่กีฬาเอเชียนเกมส์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาตะวันออกไกล · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44

การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 หรือ "นครสวรรค์เกมส์" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11–21 ธันวาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016

กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016 การแข่งขันกีฬาโรงเรียนอาเซียนครั้งที่ 8 จัดขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21 - 29 กรกฎาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเฟสปิก

กีฬาเฟสปิก (FESPIC Games) หรือ การแข่งขันกีฬาคนพิการภาคพื้นตะวันออกไกล และ แปซิฟิกตอนใต้ (Far East and South Pacific Games for the Disabled) เรียกว่า สหพันธ์กีฬาเฟสปิก เป็นมหกรรมกีฬาหลากหลายชนิด โดยนักกีฬาเป็นผู้พิการจากทั่วเอเชียและโอเชียเนีย เป็นมหกรรมกีฬาคนพิการอันดับสองของโลกรองจากกีฬาพาราลิมปิก (Paralympic Games) โดยจัดขึ้นครั้งแรกที่เมือง เบ็บปุ จังหวัดโออิตะ ญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) โดยมีนักกีฬาร่วมแข่งขัน 973 คน จาก 18 ประเทศ กีฬาเฟสปิกเกมส์ครั้งที่ 9 จัดขึ้นครั้งสุดท้าย ที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ในปี พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีนักกีฬาเข้าร่วม 4,000 คน จากประเทศสมาชิก 46 ประเทศ ชิงชัยกันใน 19 ชนิดกีฬา ก่อนที่ครั้งต่อมา (ค.ศ. 2010) ในการแข่งขันที่เมืองกว่างโจว ประเทศจีน จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อการแข่งขันจากกีฬาเฟสปิกเป็นกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ ให้สอดคล้องกับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ รวมถึง การแข่งขันเอเชียนพาราเกมส์ดังกล่าว ยังเป็นการเริ่มนับครั้งที่หนึ่งใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: กรีฑาและกีฬาเฟสปิก · ดูเพิ่มเติม »

ภากร ธนศรีวนิชชัย

กร ธนศรีวนิชชัย (ชื่อเล่น: ตุลย์) เกิดเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและภากร ธนศรีวนิชชัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต

หอพักโรเบิร์ต บริเวณริชาร์ดสันคอร์ต ในมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต มหาวิทยาไอโอวาสเตต (Iowa State University ชื่อย่อ ISU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐของสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) ตั้งอยู่ที่เมืองเอมส์ รัฐไอโอวา ไอโอวาสเตตเป็นที่รู้จักในด้านวิชา สัตวแพทยศาสตร์ เกษตรศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถิติศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ งานเฉลิมฉลองประจำปี คือ เทศกาลวีชา (VEISHEA) ทีมกีฬาประจำมหาวิทยาลัยคือ ไซโคลนส์ ซึ่งแข่งขันอยู่ในกลุ่มของบิ๊กทเวลฟ์ และไอโอว่าสเตตจัดเป็นหนึ่งในสิบมหาวิทยาลัยที่มีทัศนียภาพที่สวยที่สุดในสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2549 ไอโอวาสเตตมีนักศึกษาประมาณ 26,700 คน อาจารย์และนักวิจัย 1,750 คน การค้นพบที่ไอโอวาสเตต ได้แก่ F-distribution หรือ รู้จักในชื่อ Snedecor's F distribution โดย George W. Snedecor หนึ่งในสองของผู้คิดทฤษฎี นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบ เมย์แท็กบลูชีส และ เครื่องคำนวณดิจิตัลเครื่องแรก คอมพิวเตอร์ อตานาซอฟฟ์-เบอร์รี (ABC) ศิษย์เก่าและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยมีผู้ได้รับรางวัลโนเบล รางวัลพูลิตเซอร์ รวมถึงเหรียญทองกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน คณะที่ติดอันดับท็อป 10 ของประเทศตามในยูเอสนิวส์ประจำปี 2008 ได้แก่ สถิติศาสตร์ (อันดับ 7) และ เคมีอนินทรีย์ (อันดับ 10) ในปี 2551 นิตยสารฟอรบส์ได้จัดอันดับเมืองที่ฉลาดที่สุดในประเทศ เมืองเอมส์ที่ตั้งมหาวิทยาลัยได้ถูกจัดเป็นอันดับที่ 6 จากทั่วประเท.

ใหม่!!: กรีฑาและมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต · ดูเพิ่มเติม »

มังกรสาวที่รัก

มังกรสาวที่รัก เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องและภาพโดยนาซึมิ มาซึโมโต้ ตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นโดยสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ตีพิมพ์ในประเทศไทยโดยบงกช แบ่งเป็น 2 ภาค เป็นการ์ตูนที่เกี่ยวกับเรื่องของมังกร การใช้เวทมนตร์ บวกกับเรื่องราวความรักที่น่าติดตาม.

ใหม่!!: กรีฑาและมังกรสาวที่รัก · ดูเพิ่มเติม »

มาริโอแอนด์โซนิคแอตดิโอลิมปิกเกมส์

มาริโอแอนด์โซนิกแอตดิโอลิมปิกเกมส์ (Mario & Sonic at the Olympic Games; マリオ&ソニック in 北京オリンピック) เป็นเกมกีฬาที่พัฒนาร่วมกันระหว่างเซก้าและนินเทนโด โดยในเกมจะมีการนำตัวละครจากเกมชุดมาริโอและเกมชุดโซนิกเดอะเฮดจ์ฮ็อกนำมาแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 โดยจะวางจำหน่ายบนเครื่องนินเทนโดวีและนินเทนโดดีเอส โดยตัวเกมได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในฐานะสื่อมัลติมีเดียและเกมอย่างเป็นทางการของโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ใหม่!!: กรีฑาและมาริโอแอนด์โซนิคแอตดิโอลิมปิกเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์มาเลดบอย

มาร์มาเลดบอย เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แนวรักกุ๊กกิ๊กของวัยรุ่น ผลงานของ โยชิซึมิ วาตารุ เคยลงตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูนผู้หญิง ริบบอน ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ส่วนฉบับรวมเล่มมีทั้งหมด 8 เล่มจบ ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นอะนิเมะ โดยบริษัทโตเอแอนิเมชัน ทั้งฉบับโทรทัศน์ และฉบับภาพยนตร์สำหรับออกฉายในเทศกาลโตเออะนิเมะแฟร์ นอกจากเป็นอะนิเมะแล้ว มาร์มาเลดบอย ยังถูกทางไต้หวันติดต่อขอซื้อลิขสิทธิ์ไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ด้วย โดยดารานำแสดงคือ จูเสี้ยวเทียน หรือ เคน F4 และ หวงซูอี้ ซึ่งต่อมาทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 ก็ได้นำเข้ามาฉายในประเทศไทย เมื่อราวๆ ปี พ.ศ. 2546 โดยใช้ชื่อเรื่องภาษาไทยว่า "หนุ่มรักรสส้ม".

ใหม่!!: กรีฑาและมาร์มาเลดบอย · ดูเพิ่มเติม »

มิซุโนะคอร์เปอเรชัน

อาคารสำนักงานใหญ่ มิซุโนะคอร์เปอเรชัน (Mizuno Corporation) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ มิซุโนะ (Mizuno) ตราสินค้าผลิตภัณฑ์เครื่องกีฬาและอุปกรณ์กีฬาสัญชาติญี่ปุ่น มิซุโนะในปัจจุบันได้มีผลิตภัณฑ์กีฬาครอบคลุมในหลายชนิดกีฬา เช่น ฟุตบอล, กอล์ฟ, วอลเลย์บอล, เทนนิส, มวยสากล, ศิลปะการต่อสู้แบบผสมผสาน, มวยปล้ำ, กรีฑา, รักบี้, ยูโด, เทเบิลเทนนิส, แบดมินตัน, เบสบอล, สกี, จักรยาน, ว่ายน้ำ มิซุโนะ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: กรีฑาและมิซุโนะคอร์เปอเรชัน · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต แกร์เรตต์

รอเบิร์ต แกร์เรตต์ (Robert Garrett; 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1875—25 เมษายน ค.ศ. 1961) เป็นนักกรีฑาชาวอเมริกัน เขาได้รับเหรียญทองจากโอลิมปิกฤดูร้อน 1896 เป็นครั้งแรกในการแข่งขันกรีฑารายการทุ่มน้ำหนักและขว้างจักร.

ใหม่!!: กรีฑาและรอเบิร์ต แกร์เรตต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 23

กีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23 (ราชมงคลเกมส์ 23 ธัญบุรี 2006) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่งทั่วประเทศไทย จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 3 ถึง 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เดิมการแข่งขันกีฬาราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 23 กำหนดจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคศรีวิชัย แต่เนื่องจากไม่แน่ใจในความปลอดภัยจากปัญหาชายแดนภาคใต้ จึงย้ายมาจัดที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเป็นครั้งที่ 2 ติดต่อกัน ในการแข่งขันกีฬาราชมงคลเกมส์ในครั้งนี้ ได้รับพระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี พระราชทานถ้วยรางวัลแก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ที่ได้รับเหรียญทองสูงที่สุด คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านน.

ใหม่!!: กรีฑาและราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 24

กีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24 (สาทรเกมส์) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่งทั่วประเทศไทย จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 11 ถึง 18 มีนาคม พ.ศ. 2551 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เขตสาทร กรุงเทพ เดิมการแข่งขันกีฬาราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 24 กำหนดจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 1 - 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กรีฑาและราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 25

กีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย หรือ "ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 25" เป็นการแข่งขันกีฬาของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั่วประเทศ ประจำปีการศึกษา 2551 จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 30 มกราคม - 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ณ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในชื่อว่า "ล้านนาเกมส์ ครั้งที่ 25" มีพิธีเปิดในวันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2552 โดยมี ดร.สุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เป็นประธานในพิธีเปิด โดยนักกีฬาที่จุดคบเพลิง คือ นายดรัณภพ ประเสริฐชัย และ น..เปรมฤทัย รอดผจญ นักกีฬาว่ายน้ำ ผู้แทนผู้ตัดสิน คือ นายชัยรัตน์ ศรีเพ็ชรดี ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันการพลศึกษา และมีพิธีปิดในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ซึ่งได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ ประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ทปอ.มทร.) เป็นประธานในพิธีปิดการแข่งขัน ผลการแข่งขันปรากฏว่ามหาวิทยาลัยฯ ที่ได้รับเหรียญทองมากที่สุด และได้ครองถ้วยพระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านน.

ใหม่!!: กรีฑาและราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก

ตามธรรมเนียมการนำเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปียไปยังประเทศเจ้าภาพได้นำมาใช้เป้นครั้งแรกในปี 1936 ซึ่งผู้ถือคบเพลิงคนสุดท้ายในพิธีเปิดโอลิมปิก นั้นอาจจะเป็นนักกีฬาที่มีชื่อเสียง (เลิกเล่น หรือยังเล่นอยู่ก็ได้) ซึ่งเป็นผู้สร้างผลงานทางด้านกีฬาให้แก่ประเทศเจ้าภาพ หรืออาจจะเป็นเยาวชน หรือบุคคลทางสัญลักษณ.

ใหม่!!: กรีฑาและรายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: กรีฑาและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

ลภัสภร ถาวรเจริญ

ลภัสภร ถาวรเจริญ (เดิมชื่อ จุฑามาศ ถาวรเจริญ; 21 ธันวาคม พ.ศ. 2524 —) เกิดในจังหวัดสงขลา เป็นนักกรีฑาประเภทวิ่งระยะสั้น ซึ่งแข่งขันในระดับระหว่างประเทศในนามของประเทศไทย, beijing2008.cn, ret: Aug 27, 2008 ในการแข่งขันซีเกมส์ 2009 ซึ่งจัดขึ้นในเวียงจันทน์ ลภัสภรลงป้องกันตำแหน่งแชมป์วิ่งผลัด 4×100 เมตรหญิง ร่วมกับจินตหรา เสียงดี ภัสสร จักษุนิลกร และนงนุช แสนราช ได้เหรียญทอง ทำสถิติ 44.82 วินาที ลภัสภรเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ซึ่งจัดขึ้นในปักกิ่ง โดยเข้าร่วมการแข่งขันประเภทวิ่ง 100 เมตร และเข้าเส้นชัยเป็นลำดับที่หก ทำเวลาไป 11.82 วินาที ไม่สามารถผ่านเข้าไปแข่งขันในรอบสองได้ ได้เข้าร่วมการแข่งขันวิ่งประเภท 4×100 เมตร ร่วมกับสังวาลย์ จักษุนิล ณีรนุช กล่อมดีและนงนุช แสนราช ในรอบแรกพวกเขาเข้าเส้นชัยเป็นลำดับที่ห้า ทำเวลาไป 44.38 วินาที ทำให้อยู่ในลำดับที่ 11 จาก 16 ชาติที่เข้าร่วมการแข่งขัน ไม่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่รอบสุดท้.

ใหม่!!: กรีฑาและลภัสภร ถาวรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์

ัญลักษณ์ของรางวัลลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ (Laureus World Sports Awards) คือรางวัลเกียรติยศสำหรับนักกีฬาทั่วโลกที่จะมีการมอบรางวัลให้เป็นประจำทุกปี ซึ่งเริ่มต้นมีการมอบรางวัลมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ซึ่งรางวัลเป็นของมูลนิธิลอรีอุสสปอร์ตฟอร์กูด โดยแบ่งการมอบรางวัลทั้งหมด 9 สาขาในปัจจุบัน โดยในปี ค.ศ. 2013 มีงานประกาศรางวัลลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ 2013 จัดขึ้นที่นครรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ในวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2013 ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศบราซิล.

ใหม่!!: กรีฑาและลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ 2013

รางวัลลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ 2013 (2013 Laureus World Sports Awards) เป็นรางวัลที่ให้นักกีฬาที่ทำผลงานยอดเยี่ยมในปีที่ผ่านมา โดยงานประกาศรางวัลจัดขึ้นที่นครรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ในวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2013 ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศบราซิล.

ใหม่!!: กรีฑาและลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

ลูอิซา แกกา

ลูอิซา แกกา (Luiza Gega; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 —) เป็นนักกรีฑาชาวแอลเบเนี.

ใหม่!!: กรีฑาและลูอิซา แกกา · ดูเพิ่มเติม »

ลู่และลาน

ลู่และลาน (track and field) เป็นกีฬาซึ่งประกอบด้วยการแข่งขันกรีฑา ซึ่งอาศัยกิจกรรมการวิ่ง การกระโดดและการขว้าง ชื่อของกีฬามาจากสถานที่จัดการแข่งขัน โดยเป็นสนามกีฬาที่มีลู่วิ่งรูปไข่รอบพื้นที่ซึ่งปกคลุมด้วยหญ้า รายการขว้างและกระโดดมักจัดขึ้นในพื้นที่ปิดตรงกลาง การแข่งขันลู่และลานหลักจัดขึ้นที่กีฬาโอลิมปิกและการแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลก สหพันธ์กรีฑานานาชาติเป็นองค์กรดูแลกีฬาลู่และลานระหว่างประเทศ หมวดหมู่:กรีฑา nah:Tonacayohuapahualiztli.

ใหม่!!: กรีฑาและลู่และลาน · ดูเพิ่มเติม »

ลูโซโฟนีเกมส์ 2014

กีฬาลูโซโฟนีเกมส์ 2014 จัดขึ้นที่กัวของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: กรีฑาและลูโซโฟนีเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

วชิราวุธวิทยาลัย

วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กรีฑาและวชิราวุธวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วูยิซิเล โคลอสซา

วูยิซิเล โคลอสซา (Vuyisile Colossa) หรือฉายา เดอะชีต้า เกิดวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2525 เป็นที่รู้จักในฐานะของนักมวยไทยชาวแอฟริกาใต้ที่สามารถชนะยอดแสนไกล แฟร์เท็กซ์ มาแล้วครั้งหนึ่ง รวมทั้งยังเป็นนักมวยคิกบ็อกซิ่งรุ่นมิดเดิ้ลเวท ตลอดจนเป็นนักต่อสู้แบบผสม ด้วยส่วนสูง 178 เซนติเมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) ปัจจุบันเขาอยู่สังกัดทีมเวอร์ซัส (Team Versus) และพำนักอยู่ที่เขตการปกครองพิเศษฮ่องกง ล่าสุดเขาได้มีส่วนร่วมในการแข่งขันคิงส์คัพ ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและวูยิซิเล โคลอสซา · ดูเพิ่มเติม »

สยุมภู ทศพล

มภู ทศพล เป็นนามปากกาของ ประจิม วงศ์สุวรรณ นักเขียนนวนิยายแนวแอ็กชั่น-สงคราม (ซึ่งนำชื่อนี้มาจากนวนิยายเรื่อง แววมยุรา) เจ้าของงานเขียนเรื่อง "กองพันปิศาจ" และ "ค่ายนรกเดียนเบียนฟู" ประจิม วงศ์สุวรรณ เป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นบุตรคนโตในจำนวนพี่น้องสามคน จบการศึกษาจากโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย จากนั้นสอบผ่านข้อเขียนเข้าโรงเรียนเตรียมทหาร แต่ไม่ผ่านภาคปฏิบัติ จึงเข้าเรียนที่โรงเรียนนายสิบทหารบก และรับราชการทหาร พร้อมกับเป็นนักกีฬากรีฑาทีมชาติไทย เป็นนักวิ่งระยะสั้น เคยได้รับเหรียญทองวิ่ง 400 เมตรชาย จากเอเชียนเกมส์ 1962 ที่จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย และเข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1960 ที่โรม ประเทศอิตาลี ในปี..

ใหม่!!: กรีฑาและสยุมภู ทศพล · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ

หพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations (IAAF)) เป็นองค์กรกีฬาประเภทกรีฑา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและสหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 29..

ใหม่!!: กรีฑาและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์เอเชียนเกมส์

หพันธ์กีฬาเอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; ชื่อย่อ: AGF) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชีย ระหว่างวันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ถึงวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งแทนที่ด้วยสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย โดยทั้งก่อตั้งขึ้นและปิดตัวลงในกรุงนิวเดลีของอินเดียเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: กรีฑาและสหพันธ์เอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์ 1954

ฟิลิปปินส์ ได้เข้าร่วมและเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1954 ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ในระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) โดยหลังจากจบการแข่งขัน ทีมชาติฟิลิปปินส์สามารถคว้าเหรียญมาได้มากเป็นอันดับที่ 2 คือ 14 เหรียญทอง 14 เหรียญเงิน และ 17 เหรียญทองแดง รวม 45 เหรียญ.

ใหม่!!: กรีฑาและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์ 1954 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

รณรัฐเบลารุสใน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 29..

ใหม่!!: กรีฑาและสาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

สปอร์ตแอคคอร์ด

ปอร์ตแอคคอร์ด (SportAccord) เป็นองค์กรกีฬานานาชาติที่เป็นผู้ตัดสินบรรจุกีฬาหรือโปรแกรมออกกำลังกายลงในการแข่งขันต่าง.

ใหม่!!: กรีฑาและสปอร์ตแอคคอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬารึงนาโด 1 พฤษภาคม

นามกีฬารึงนาโด 1 พฤษภาคม หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สนามเมย์เดย์ เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ในกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ สร้างเสร็จในวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬารึงนาโด 1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาอเนกประสงค์

นาม อาร์เอฟเคนั้นก็เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สนามกีฬาอเนกประสงค์ (Multi-purpose stadium) เป็นประเภทของสนามกีฬาที่ออกแบบมาให้ใช้ได้ในกีฬาหลายประเภทโดยจะใช้ได้กี่ชนิดกีฬาก็แล้วแต่ผู้สร้างจะออกแบบ ปัจจุบันนี้สนามกีฬาชนิดนี้จะพบมากในแคนาดาและสหรัฐและประเทศต่างๆทั่วโลก โดยส่วนมากจะเป็นสนามกีฬาฟุตบอล เบสบอล และกรีฑาเป็นต้น.

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาอเนกประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

นามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หรือ กรุงศรี สเตเดียม เป็นสนามกีฬาเอนกประสงค์ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่ถนนโรจนะ ตำบลไผ่ลิง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นสนามกีฬากลางแจ้ง ประกอบไปด้วยสนามฟุตบอลพื้นหญ้า ลานกรีฑาและลู่วิ่งยางสังเคราะห์ มีอัฒจันทร์สำหรับนั่งชมโดยรอบ มีหลังคา 2 ฝั่ง จุผู้ชมได้ประมาณ 5,500–6,000 คน เป็นที่ทำการของสำนักงานศูนย์การกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภายในสนามกีฬามีโรงยิมเนเซียมที่มีศูนย์บริการด้านฟิตเนส, สนามวอลเลย์บอล, ฟุตซอล แบดมินตันและสนามยิงปืน นอกจากนี้ยังมีหอประชุมสำหรับบริการด้านการจัดประชุมและจัดงานเลี้ยง สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเคยถูกใช้ในการแข่งขันกีฬาระดับชาติในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24 เมื่อ..2533 และเคยเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลในประเทศไทยหลายสโมสร ทั้งสโมสรการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในฤดูกาล 2552, อยุธยา เอฟซี ในฤดูกาล 2553–2555, อยุธยา วอริเออร์ ในฤดูกาล 2559 และสโมสรฟุตบอลโคปูน วอริเออร์ ในฤดูกาล 2560 ในปัจจุบันสนามแห่งนี้ถูกใช้เป็นสถานที่ทำการของหน่วยงานราชการเช่นสำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสำนักงานธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ สาขาภาคกลางเขต 2 นอกจากนี้ยังถูกใช้ในกิจการของบริษัทเอกชนในด้านกีฬาฟุตบอลโดยให้เช่าเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลอยุธยา ยูไนเต็ด ในระดับไทยลีก 3 หมวดหมู่:สนามกีฬาในประเทศไทย หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์

นามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ (City of Manchester Stadium) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สนามกีฬาอัลติฮัด (Etihad Stadium) ด้วยเหตุผลตามชื่อผู้สนับสนุน หรือในบางครั้งอาจเรียกว่า คอมส์ (CoMS) หรือ อีสต์แลนส์ (Eastlands) เป็นสนามกีฬาในเมืองแมนเชสเตอร์ เป็นสนามกีฬาเหย้าของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี เป็นสนามกีฬาใหญ่เป็นอันดับ 5 ของทีมพรีเมียร์ลีก และใหญ่เป็นอันดับ 12 ในสหราชอาณาจักร มีจำนวนที่นั่ง 47,805 ที่ เดิมทีสนามกีฬามีวัตถุประสงค์สำหรับเป็นสนามแข่งกีฬาหลักในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ที่สหราชอาณาจักรพลาดการประมูลไป จนได้ชนะการประมูลในการแข่งขันกีฬาเครือจักรภพ 2002 หลังจบการแข่งขันได้ลดความจุสนามจาก 80,000 คน ไปเป็น 50,000 คน สนามแห่งนี้ก่อสร้างโดยเลียงคอนสตรักชัน ด้วยงบประมาณ 112 ล้านปอนด์ โดยออกแบบโดยอารัปสปอร์ต เพื่อแน่ใจว่าจะไม่ใช่โครงการที่เสี่ยง แมนเชสเตอร์ซิตีจึงตัดสินใจรับสนามกีฬาแห่งนี้แทนที่สนามกีฬาเก่า เมนโรด ทันทีที่การแข่งขันจบลง ก็ได้มีการเพิ่มที่นั่งลดหลั่นเจาะลงไปในลู่วิ่งเดิม การปรับปรุงนี้ทางสภาเทศบาลเมืองแมนเชสเตอร์จ่ายไป 22 ล้านปอนด์ และแมนเชสเตอร์ซิตีจ่ายเพิ่มอีก 20 ล้านปอนด์ และเพิ่มที่จำหน่ายเครื่องดื่ม ร้านอาหาร และพื้นที่สันทนาการอื่น สโมสรย้ายเข้ามาใช้สนามแห่งใหม่ระหว่างช่วงฤดูร้อน..

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16

สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 แห่งนี้เป็นสนามกีฬาแห่งใหม่ที่สร้างขึ้นในบริเวณที่เคยเป็นป่ารกร้าง นอกกรุงเวียงจันทน์ โดยสนามแห่งนี้เป็นสนามที่สร้างขึ้นใหม่เพื่อใช้ในการแข่งขันฟุตบอลและกรีฑา และยังใช้เป็นสถานที่จัดพิธีเปิดและพิธีปิดในกีฬาซีเกมส์ 2009 ที่กรุงเวียงจันทน์เป็นเจ้าภาพ สนามกีฬาแห่งนี้ทางการจีนได้ช่วยดำเนินการด้านการเงินและการก่อสร้างทั้งหมด บนพื้นที่ 700 ไร่ สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 นี้มีความจุทั้งหมด 25,000 ที่นั่ง หมวดหมู่:ประเทศลาว หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในเวียงจันทน์ ar:ملعب لاوس الوطني.

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง

นามกีฬาแห่งชาติกรุงปักกิ่ง (เป่ย์จิงกั๋วเจียถี่ยู่ฉาง) เป็นสนามกีฬาหลักที่ใช้ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่จะถูกจัดขึ้นที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนเริ่มก่อสร้างเมื่อเดือนธันวาคม 2546 มีกำหนดการสร้างเสร็จในปี 2550 นี้ ได้รับการออกแบบโดย Herzog & DeMeuron (สวิสเซอร์แลนด์) และสถาบันออกแบบสถาปัตยกรรมจีน (China Architecture Design Institute) ครอบคลุมพื้นที่ 258,000 ตร.

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก (ลอนดอน)

นามกีฬาโอลิมปิกลอนดอน (London Olympic Stadium) เป็นสนามกีฬาหลักของศูนย์กีฬาอุทยานโอลิมปิกสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ตั้งอยู่ในย่านสแตรตเฟิร์ดของกรุงลอนดอน ออกแบบขึ้นเพื่อให้เป็นจุดศูนย์กลาง ของการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก และพาราลิมปิกในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) โดยใช้เป็นสถานที่จัดพิธีเปิดกับพิธีปิดของโอลิมปิก และเป็นสนามแข่งขันกรีฑา รวมถึงสโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดที่ได้เช่าสนามเป็นเวลา 99 ปีเพื่อเป็นสนามเหย้าของทีมแทนบุลินกราวนด์เนื่องจากมีความจุน้อยกว่า โดยสนามนี้สามารถบรรจุผู้ชมการแข่งขันประมาณ 80,000 ที่นั่ง ซึ่งสูงสุดเป็นอันดับสามในบริเตน รองจากสนามเวมบลีย์และทวิกเกนแฮม การจัดเตรียมที่ดินสำหรับสร้างสนามแห่งนี้ เริ่มขึ้นในช่วงกลางปี พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ขณะที่การก่อสร้างอย่างเป็นทางการ เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) และแม้ว่าการลงเสาเข็มสำหรับการก่อสร้าง เพิ่งเริ่มขึ้นอย่างไม่เป็นทางการไปเพียงสี่สัปดาห์ สนามแห่งนี้ก็ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพ การแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลก ประจำปี พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาโอลิมปิก (ลอนดอน) · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาเวมบลีย์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาเวมบลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาเซย์ยาร์ธีรี

นามกีฬาไชยสิริ (Zayarthiri Stadium; ဇေယျာသီရိ အားကစားကွင်း) เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ใน เนปยีดอ, พม่า สนามมีความจุ 30,000 ที่นั่ง หลังจากเสร็จสิ้นในปี..

ใหม่!!: กรีฑาและสนามกีฬาเซย์ยาร์ธีรี · ดูเพิ่มเติม »

สนามแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กรีฑาและสนามแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ จินเจ๋อ

หลี่ จินเจ๋อ (1 กันยายน ค.ศ. 1989 —) เป็นนักกีฬากระโดดไกลชาวจีน สถิติที่ดีที่สุดของเขาคือ 8.47 เมตร.

ใหม่!!: กรีฑาและหลี่ จินเจ๋อ · ดูเพิ่มเติม »

ออสการ์ พิสโตริอุส

ออสการ์ เลนเนิร์ด คาร์ล พิสโตริอุส (Oscar Leonard Carl Pistorius; 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986 —) เป็นนักวิ่งในกีฬาพาราลิมปิกชาวแอฟริกาใต้ ซึ่งรู้จักกันในฐานะ "เบลดรันเนอร์" และ "ชายไร้ขาที่วิ่งได้เร็วที่สุด" พิสโตริอุสซึ่งถูกตัดขาทั้งสองเป็นเจ้าของสถิติโลกในรายการ 100, 200 และ 400 เมตร (สปอร์ทคลาส T44) โดยด้านรายการแข่งขันและการวิ่งแข่งได้รับการช่วยเหลือจากชีต้าเฟล็กซ์-ฟุต (Cheetah Flex-Foot) ด้วยอุปกรณ์เสริมชนิดคาร์บอนไฟเบอร์จากบริษัทออสเซอร์ (Ossur) ใน..

ใหม่!!: กรีฑาและออสการ์ พิสโตริอุส · ดูเพิ่มเติม »

อาเซ็มยูธเกมส์ 2005

อาเซ็มยูธเกมส์ 2005 (2005 ASEM Youth Games) เป็นการจัดกีฬาเยาวชนเอเชีย - ยุโรปครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ราชอาณาจักรไทย ระหว่างวันที่ 2 มิถุนายน - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2548 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 38 ประเทศ และ มีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 6 ชน.

ใหม่!!: กรีฑาและอาเซ็มยูธเกมส์ 2005 · ดูเพิ่มเติม »

ฮัน ฮโย-จู

ัน ฮโย-จู (한효주; เกิด 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987) เป็นนักแสดงชาวเกาหลีใต้ เริ่มมีชื่อเสียงจากละครเรื่อง ดนตรีรัก หัวใจปรารถนา, มรดกรัก ฉบับพันล้านวอน และ ทงอี จอมนางคู่บัลลังก์ เช่นเดียวกับภาพยนตร์เรื่อง โคลด์อายส์ ซึ่งทำให้เธอชนะรางวัลบลูดรากอนฟิล์มอวอร์ดส์ ครั้งที่ 34 ในสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: กรีฑาและฮัน ฮโย-จู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: กรีฑาและจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: กรีฑาและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารออมสิน

นาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย เน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชน โดยให้สินเชื่อระยะสั้น แก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้ จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศ ของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลาย เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย รวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 1,039 แห่งทั่วประเท.

ใหม่!!: กรีฑาและธนาคารออมสิน · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เบิร์ก

| ทอมัส เอดมันด์ "ทอม" เบิร์ก (Thomas Edmund "Tom" Burke; 15 มกราคม ค.ศ. 1875 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929) เป็นนักกรีฑาชาวอเมริกัน เขาได้รับเหรียญทองจากโอลิมปิกฤดูร้อน 1896 เป็นครั้งแรกในการแข่งขันกรีฑารายการ 100 เมตรและ 400 เมตร.

ใหม่!!: กรีฑาและทอมัส เบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ทัชชกร ยีรัมย์

ทัชชกร ยีรัมย์ มีชื่อจริงโดยกำเนิดว่า วรวิทย์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พนม (นามสกุลเดิม) เกิดวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กรีฑาและทัชชกร ยีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทีมผสมในโอลิมปิก

ทีมผสมในกีฬาโอลิมปิก (Mixed team at the Olympics) เกิดขึ้นในระยะแรกของโอลิมปิกสมัยใหม่ ซึ่งอนุญาตให้นักกีฬาเฉพาะบุคคล รวมตัวกันเป็นทีมจากหลายชาติ โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) จัดกลุ่มดังกล่าวเข้าด้วยกัน ด้วยการกำหนดให้เป็นทีมผสม และใช้รหัสของไอโอซีคือ ZZX ซึ่งทีมผสมนี้ได้รับเหรียญรางวัลรวม 17 เหรียญ ในการแข่งขันสมัยใหม่ 3 ครั้งแรกคือ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2439 (ค.ศ. 1896) ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) และ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904).

ใหม่!!: กรีฑาและทีมผสมในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ซู ปิ่งเทียน

ซู ปิ่งเทียน (29 สิงหาคม ค.ศ. 1989 –) เป็นนักวิ่งระยะสั้นชาวจีน เขาเป็นแชมป์เอเชียและเอเชียนเกม.

ใหม่!!: กรีฑาและซู ปิ่งเทียน · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2009

กีฬาซีเกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 25 หรือ เวียงจันทน์เกมส์ จัดขึ้นที่เวียงจันทน์ ประเทศลาว ระหว่างวันที่ 9-18 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตัวนำโชคเป็นช้างเผือกงานิล 2 เชือก ตัวผู้ ชื่อ "จำปา" และ ตัวเมีย ชื่อ "จำปี" สัญลักษณ์การแข่งขันเป็นรูปพระธาตุหลวง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของชาติและแม่น้ำโขง ซึ่งสะท้อนถึงวิถีชีวิตของชาวลาว ส่วนสัญลักษณ์นำเอาอักษรลาวโบราณมาจัดทำ และการจัดการแข่งขันในครั้งนี้ยังนับเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสที่กีฬาซีเกมส์จัดการแข่งขันครบรอบ 50 ปีอีกด้ว.

ใหม่!!: กรีฑาและซีเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2011

กีฬาซีเกมส์ 2011 (พ.ศ. 2554) เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 26 จัดขึ้นในเมืองปาเลมบัง และกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นซีเกมส์ที่จัดในประเทศนี้เป็นครั้งที่ 4 ถัดจากซีเกมส์ครั้งที่ 10 (1979), ครั้งที่ 15 (1987) และ ครั้งที่ 19 (1997) และเป็นครั้งที่ 3 ที่เมืองเจ้าภาพหลักไม่ได้เป็นเมืองหลวงของประเทศ การแข่งขันครั้งนี้เริ่มแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ไปจนถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 รวม 11 วัน ประกอบด้วยกีฬา 44 ชนิด และมีสัญลักษณ์เป็นรูปครุฑ สัตว์ประจำชาติอินโดนีเซีย อันสื่อถึงภูมิประเทศของอินโดนีเซียที่เป็นเกาะที่มีภูเขาสูง.

ใหม่!!: กรีฑาและซีเกมส์ 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2013

กีฬาซีเกมส์ 2013 เป็นการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 27 ซึ่งมีการกำหนดจัดขึ้นที่เนปยีดอ เมืองหลวงแห่งใหม่ของประเทศพม่า รวมทั้งในเมืองหลักอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ย่างกุ้ง, มัณฑะเลย์ และหาดงเวซอง เมืองพะสิม สมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAGF) ได้มีการประชุมที่กรุงจาการ์ตา ณ วันที่ 31 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและซีเกมส์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2015

กีฬาซีเกมส์ 2015 (พ.ศ. 2558) เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 28 โดยมีสิงคโปร์ เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน มีนักกีฬา 7,000 คน จากทั้งหมด 11 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้าร่วมแข่งขัน จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 5–16 มิถุนายน..

ใหม่!!: กรีฑาและซีเกมส์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2017

กีฬาซีเกมส์ 2017 (พ.ศ. 2560) (Sukan Asia Tenggara 2017) เป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 29 จัดขึ้นโดยมีกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ โดยเป็นการจัดการแข่งขันที่มีนักกีฬาทั้งหมดจาก 11 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้าร่วมแข่งขัน จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 19–30 สิงหาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและซีเกมส์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2006

ประเทศอุซเบกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 15..

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลเบเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004

ประเทศแอลเบเนีย เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน พ.ศ. 2547 ที่ประเทศกรีซ โดยส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในกีฬา 4 ชนิด ได้แก่ กรีฑา ว่ายน้ำ ยกน้ำหนัก และมวยปล้ำ แต่ไม่ได้เหรียญรางวัล หมวดหมู่:โอลิมปิกฤดูร้อน 2004.

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศแอลเบเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในพาราลิมปิก

ประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกครั้งแรก ในการแข่งขันเมื่อปี พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ที่สโตก แมนเดวิลล์ และนครนิวยอร์ก โดยมีผู้แข่งขันกรีฑา, ลอว์นโบวล์ และว่ายน้ำ โดยเข้าร่วมในการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งหลังจากนั้น แต่ไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันพาราลิมปิกฤดูหนาวเลย นักกีฬาทีมชาติไทยไม่ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันเมื่อปี..

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศไทยในพาราลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008

ประเทศไทย เข้าร่วมการแข่งขันใน พาราลิมปิกฤดูร้อน 2008 ครั้งที่ 13 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ฮ่องกง ชิงเต่า ชิงหวงเต่า เซี่ยงไฮ้ และเสิ่นหยาง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 6 กันยายน ถึง 17 กันยายน พ.ศ. 2551 โดยได้เหรียญทั้งหมด 13 เหรียญ แบ่งออกเป็น 1 เหรียญทอง 5 เหรียญเงิน และ 7 เหรียญทองแดง ทไย 2008.

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศไทยในพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในซีเกมส์ 2017

ประเทศไทย มีกำหนดการแข่งขัน ซีเกมส์ 2017 ใน ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 19-30 สิงหาคม 2560.

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศไทยในซีเกมส์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศไทยได้เข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 ครั้งที่ 15 จัดขึ้นที่เมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ ระหว่างวันที่ 19 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1956

ประเทศไทยได้เข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 ครั้งที่ 16 จัดขึ้นที่เมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน - 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในเอเชียนเกมส์ 2006

ประเทศไทย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 15..

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศไทยในเอเชียนเกมส์ 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในเอเชียนเกมส์ 1998

ประเทศเกาหลีใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13..

ใหม่!!: กรีฑาและประเทศเกาหลีใต้ในเอเชียนเกมส์ 1998 · ดูเพิ่มเติม »

นอว์เม็สตัลยา

นอว์เม็สตัลยา (Nou Mestalla) เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ในเมืองบาเลนเซีย แคว้นบาเลนเซีย ประเทศสเปน ซึ่งกำลังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง เริ่มดำเนินการก่อสร้างตั้งแต่เดือนสิงหาคม ค.ศ. 2007 (แต่ยังไม่มีกำหนดแล้วเสร็จ) จะใช้เป็นสนามสำหรับการแข่งขันฟุตบอลเป็นส่วนใหญ่และจะเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย นอกจากนั้น ยังจะสามารถทำการแข่งขันกรีฑาที่นี่ได้อีกด้วย สนามแห่งนี้จุผู้ชมได้ทั้งสิ้น 75,000 คน โดยจะใช้เป็นสนามเหย้าแทนสนามเม็สตัลยา มูลค่าการก่อสร้างอยู่ที่ 250-300 ล้านยูโร หมวดหมู่:สนามฟุตบอลในประเทศสเปน.

ใหม่!!: กรีฑาและนอว์เม็สตัลยา · ดูเพิ่มเติม »

แชมป์กีฬา 7 สี

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มีนโยบายสำคัญประการหนึ่ง ในอันที่จะมีส่วนร่วมพัฒนาวงการกีฬาในประเทศไทยให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับสากล พร้อมทั้งให้การสนับสนุนแก่เยาวชนไทย ให้ความสนใจกับการเล่นกีฬา เพื่อส่งเสริมให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วย โดยเริ่มจากปี พ.ศ. 2527 ทางสถานีฯ ริเริ่มจัดการแข่งขันกีฬาสำหรับเยาวชนขึ้น ตามโครงการ แชมป์กีฬา 7 สี จนกระทั่งเกิดนักกีฬารุ่นใหม่ ที่ประสบความสำเร็จในระดับประเทศจำนวนมาก เช่น ศิริมงคล สิงห์วังชา อดีตแชมป์สภามวยโลก ในรุ่นแบนตั้มเวทและซูเปอร์เฟเธอร์เวท, เรวดี ศรีท้าว (วัฒนสิน) นักกรีฑา เจ้าของเหรียญทองซีเกมส์หลายสมัย, มนัสนันท์ แพงขะ - รัตนาภรณ์ อาลัยสุข นักกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด เจ้าของเหรียญทองเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13, ศรสวรรค์ ภู่วิจิตร - มธุรดา คุโณปการ - ดุลยฤทธิ์ พวงทอง นักกีฬาว่ายน้ำ เจ้าของเหรียญทองซีเกมส์หลายสมัย และยังร่วมจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรียน 7 คน เป็นรายการแรกของประเทศไทย และยังร่วมสนับสนุนส่งเสริมเยาวชนไทย ให้ก้าวสู่การแข่งขันกีฬาระดับอาชีพ ผ่านการแข่งขันเทนนิส "แชมป์กีฬา 7 สี กรุงศรีฯ สานฝัน ตามรอยภราดร" และ การแข่งขันกอล์ฟ "แชมป์กีฬา 7 สี กรุงศรีฯ สานฝัน ตามรอยวิรดา".

ใหม่!!: กรีฑาและแชมป์กีฬา 7 สี · ดูเพิ่มเติม »

แชนนิง เททัม

แชนนิง แมททิว เททัม เกิดวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1980 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน โปรดิวเซอร์ อดีตนายแบบ หลังจากที่เขาก้าวสู่อาชีพนายแบบแฟชั่น เขาก้าวเข้าสู่วงการแสดง โดยแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Havoc (2005), Coach Carter (2005), Supercross (2005), She's the Man, จากนั้น Step Up, และ A Guide to Recognizing Your Saints ทั้ง 3 เรื่องหลังออกฉายในปี 2006.

ใหม่!!: กรีฑาและแชนนิง เททัม · ดูเพิ่มเติม »

แพนอเมริกันเกมส์

ัญลักษณ์ขององค์การกีฬาแพนอเมริกัน แพนอเมริกันเกมส์ (Pan American Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลักในทวีปอเมริกา มีนักกีฬาเข้าแข่งขันนับหลายพันคน แพนอเมริกันเกมส์เป็นงานมหกรรมกีฬาใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองรองจากโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันจัดขึ้นระหว่างนักกีฬาจากชาติทวีปอเมริกา จัดขึ้นทุกสี่ปีก่อนกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน มีการจัดกีฬาแพนอเมริกันเกมส์ฤดูหนาวครั้งหนึ่งใน..

ใหม่!!: กรีฑาและแพนอเมริกันเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอเมริกันเกมส์ 1951

กีฬาแพนอเมริกันเกมส์ 1951 (Juegos Panamericanos de 1951) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ – 9 มีนาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและแพนอเมริกันเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ รีเดอร์

แฮร์มันน์ รีเดอร์ (Hermann Rieder; 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1928 — 22 สิงหาคม ค.ศ. 2009) เป็นทั้งนักกีฬาพุ่งแหลน, ผู้ฝึกสอน และนักวิทยาศาสตร์การกีฬาชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: กรีฑาและแฮร์มันน์ รีเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนชลประทานวิทยา

รงเรียนชลประทานวิทยา เป็นโรงเรียนเอกชนที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี โดยมีกรมชลประทานเป็นเจ้าของ ตั้งอยู่เลขที่ 201 หมู่ 1 ถนนติวานนท์ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สังกัดเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 โรงเรียนชลประทานวิทยา มีเนื้อที่ประมาณ 56 ไร่ มีอาคารเรียน 10 หลังและอาคารเรียนประกอบล้อมรอบสนามฟุตบอล และสนามกรีฑา ผังของโรงเรียนท่านอาจารย์ประหยัด ไพทีกุล นำแบบอย่างมาจากโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันโรงเรียนชลประทานวิทยามีนักเรียน 6,423 คน ชาย 3,339 คน หญิง 3,084 คน มีครู 305 คน มีห้องเรียนทั้งหมด 138 ห้องในปีการศึกษา 2551 และเพิ่มขึ้นเป็น 141 ในปีการศึกษา 2557 โดยโรงเรียนชลประทานวิทยาทำการสอนนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอน 2 แผนการเรียนคือ.

ใหม่!!: กรีฑาและโรงเรียนชลประทานวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย จากเว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีหนังสืออนุสรณ์ 24 ปี สวนกุหลาบนนท์ 2521-2545 30 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซุ้มประตูทางเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ประดับประดาด้วยไฟสวยงาม เนื่องในงาน “ราตรีกุหลาบนนท์”) ด้านหลังซุ้มประตูคือ อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย

รงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: กรีฑาและโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม

รงเรียนหนองเสือวิทยาคม เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ตั้งอยู่บริเวณถนนรังสิต-บางขันธ์ ตำบลบึงบา อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี ใกล้กับวัดบึงบาประภาสะวัต และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอหนองเสือ.

ใหม่!!: กรีฑาและโรงเรียนหนองเสือวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเดมอน

รงเรียนเดมอน เป็นโรงเรียนที่ปรากฏในการ์ตูนเรื่อง อายชีลด์ 21 ไอ้หนูไต้ฝุ่นมะกันบอล ซึ่งเขียนโดย ริอิจิโร่ อินางากิ และวาดโดย ยูสึเกะ มุราตะ โรงเรียนนี้มีนักเรียนจำนวน 719 คน มีคลังแสงเก็บอาวุธหลายคลัง นักเรียนที่จบจากโรงเรียนนี้จะเรียนต่อ, ทำงาน, ตกเป็นลิ่วล้อของนาย H และ อื่น.

ใหม่!!: กรีฑาและโรงเรียนเดมอน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1928

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: กรีฑาและโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2014

กีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2014 หรือ ยูธโอลิมปิกเกมส์ 2014 (2014 Summer Youth Olympics) เป็นการแข่งขันโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อนครั้งที่ 2 การแข่งขันนี้จัดขึ้นสำหรับเยาวชน ที่มีอายุระหว่าง 14-18 ปี โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 16 สิงหาคม ถึง 28 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ที่เมืองหนานจิง สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: กรีฑาและโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2014 · ดูเพิ่มเติม »

โจมา

มา (Joma) เครื่องหมายการค้าผลิตภัณฑ์กีฬาสัญชาติสเปน ซึ่งครอบคลุมกีฬาชนิดต่าง ๆ เช่น ฟุตบอล, ฟุตซอล, บาสเก็ตบอล, วอลเลย์บอล, กรีฑา, เทนนิส, พายเรือ, ฟิตเนส มีบริษัทใหญ่ตั้งอยู่ที่ปอติโยเดอโตเลโด จังหวัดโตเลโด ประเทศสเปน โจมา ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: กรีฑาและโจมา · ดูเพิ่มเติม »

ไบรอัน ร็อบสัน

รอัน ร็อบสัน (Bryan Robson) อดีตนักฟุตบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด และทีมชาติอังกฤษ เคยทำหน้าที่เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนในหลายสโมรสรฟุตบอลของอังกฤษ เช่น มิดเดิลสโบรซ์ เคยเป็นผู้จัดการทีมชาติไทยระหว่างเดือนตุลาคม ค.ศ. 2009-มิถุนายน ค.ศ. 2011.

ใหม่!!: กรีฑาและไบรอัน ร็อบสัน · ดูเพิ่มเติม »

ไอแลนด์เกมส์ 1985

กีฬาไอแลนด์เกมส์ 1985 (1985 Island Games) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่เกาะแมน, สหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 18–24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและไอแลนด์เกมส์ 1985 · ดูเพิ่มเติม »

เบชิกทัชฌิมนัสติกคูลือบือ

กทัชฌิมนัสติกคูลือบือ (Beşiktaş Gymnastics Club) หรือ เบชิกทัช เป็นสโมสรกีฬาตุรกี ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: กรีฑาและเบชิกทัชฌิมนัสติกคูลือบือ · ดูเพิ่มเติม »

เบ็ตตี้ โรบินสัน

็ตตี้ โรบินสัน (Betty Robinson) นักวิ่งชาวอเมริกัน เข้าแข่งขันแข่งโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 ที่อัมสเตอร์ดัม และได้เหรียญทองในการแข่งขันวิ่ง 100 เมตร และทำสถิติโลกใหม่ โรบินสัน ประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตก ชายที่พบร่างสิ้นสติของเธอคิดว่าเธอตายแล้ว แต่เธอยังไม่ตาย แต่หมดสติไปนานถึง 7 สัปดาห์ เมื่อฟื้นขึ้นมา เธอเดินไม่ได้อย่างปกติถึง 2 ปี และเธอไม่สามารถงอเข้าได้อย่างปกติ ทำให้ไม่สามารถนั่งท่าสตาร์ทได้ อย่างไรก็ตามเธอได้อีก 1 เหรียญทองโอลิมปิก กับทีมวิ่งผลัด 4x100 เมตรหญิง ที่กรุงเบอร์ลิน ปี 1936.

ใหม่!!: กรีฑาและเบ็ตตี้ โรบินสัน · ดูเพิ่มเติม »

เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค

มาคมกายบริหารว็อลฟส์บวร์ค สมาคมจดทะเบียน (Verein für Leibesübungen Wolfsburg e. V.) หรือเรียกแบบย่อว่า เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค (VfL Wolfsburg) เป็นสโมสรกีฬาที่ตั้งอยู่ในเมืองว็อลฟส์บวร์ค รัฐโลว์เออร์แซกโซนี ประเทศเยอรมนี พัฒนามาจากสโมสรกีฬาของคนงานบริษัทโฟล์กสวาเกนซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเดียวกัน สโมสรนี้เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดจากแผนกฟุตบอล แต่ก็ยังมีแผนกอื่น ๆ อีก ได้แก่ แบดมินตัน แฮนด์บอล และกรีฑ.

ใหม่!!: กรีฑาและเฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์

มดิเตอร์เรเนียนเกมส์ (Mediterranean Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศของบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกอียิปต์ (Egyptian Olympic Committee หรือ EOC).

ใหม่!!: กรีฑาและเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1955

กีฬาเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1955 (Juegos Mediterráneos 1955) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่บาร์เซโลนา แคว้นกาตาลุญญา ประเทศสเปน.

ใหม่!!: กรีฑาและเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1955 · ดูเพิ่มเติม »

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1963

กีฬาเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1963 (IV Giochi del Mediterraneo) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่ เนเปิลส์, ประเทศอิตาลี มี 13 ประเทศที่เข้าแข่งขันใน 18 ชนิดกีฬ.

ใหม่!!: กรีฑาและเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1963 · ดูเพิ่มเติม »

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 2013

กีฬาเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 2013 (2013 Akdeniz Oyunları) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่ เมร์ซีน, ประเทศตุรกี มี 24 ประเทศที่เข้าแข่งขันใน 27 ชนิดกีฬ.

ใหม่!!: กรีฑาและเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

เยเลนา อิซินบาเยวา

ลนา อิซินบาเยวา (Елена Гаджиевна Исинбаева; Yelena Gadzhievna Isinbayeva; 3 มิถุนายน ค.ศ. 1982 —) เป็นนักกีฬากระโดดค้ำถ่อชาวรัสเซีย เธอเป็นผู้ได้รับรางวัลเหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อนสองสมัย (ค.ศ. 2004 และ 2008), เป็นแชมป์โลกสองสมัย และเป็นเจ้าของสถิติโลกของรายการแข่งขัน ผลจากความสำเร็จของเธอ ส่งผลให้ได้รับการพิจารณาว่าเป็นนักกระโดดค้ำถ่อยอดเยี่ยมตลอดกาล อิซินบาเยวา ได้เป็นแชมป์ในเก้ารายการใหญ่ (โอลิมปิก, แชมป์โลกกลางแจ้งและในร่ม, แชมป์ยุโรปกลางแจ้งและในร่ม) เธอยังเป็นผู้ชนะเงินรางวัลจากรายการ IAAF โกลเด้นลีก ใน..

ใหม่!!: กรีฑาและเยเลนา อิซินบาเยวา · ดูเพิ่มเติม »

เสื้อกล้าม

ผู้ชายสวมเสื้อกล้าม เสื้อกล้าม, เสื้อแขนกุด หรือเสื้อไม่มีแขน (Sleeveless shirt) เป็นเสื้อที่ไม่มีแขนเสื้อ หรือตัดแขนเสื้อออก ใส่ได้ทั้งเพศชายและหญิง ขึ้นอยู่กับรูปแบบ ผู้ชายมักสวมใส่เป็นเสื้อใน และมักสวมใส่โดยนักกีฬาอย่างเช่น กรีฑาประเภทต่าง ๆ อาจถือเป็นชุดลำลอง โดยมากใส่ในที่อากาศอบอุ่น หมวดหมู่:เสื้อ หมวดหมู่:ชุดชั้นใน หมวดหมู่:แฟชั่นชาวออสเตรเลีย.

ใหม่!!: กรีฑาและเสื้อกล้าม · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มไทยท็อปทอล์กอะเบาต์ 2014

ทีมนักแสดงและผู้กำกับละคร ทองเนื้อเก้า ได้ 4 รางวัล เอ็มไทยท็อปทอล์กอะเบาต์ 2014 เป็นรางวัลสำหรับคนที่มีชื่อเสียง ทางอินเตอร์เน็ท โดยอ้างอิงคะแนนจากจำนวนกระทู้เกี่ยวกับ ละคร ภาพยนตร์ ตัวละคร ศิลปิน ตลอดจนการตอบและการส่งต่อซึ่งกระทู้นั้น โดยให้รางวัลละสามบุคคล ยกเว้นรางวัลพิเศษ ที่จะมีผู้รับรางวัลเพียงคนเดียว ในแต่ละปีจะให้รางวัลพิเศษไม่เหมือนกันแต่ตามกระแสความนิยมในปีนั้น ๆ ซึ่งรางวัลพิเศษจะอ้างอิงกระแสจาก Facebook ด้วย ในปีนี้ ละคร ทองเนื้อเก้า และ ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น ได้รางวัลมากที่สุด เอ็มไทยท็อปทอล์กอะเบาต์ 2014 เป็นการมอบรางวัลครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มีนาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและเอ็มไทยท็อปทอล์กอะเบาต์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์ 2014

อเชียนบีชเกมส์ 2014 (2014 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขัน เอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 4 จะมีการจัดขึ้นที่เกาะภูเก็ต ประเทศไทย ซึ่งการแข่งขันได้กำหนดไว้ที่เกาะโบราไค จังหวัดอักลัน ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ได้รับผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงเจ้าภาพจากทาง OCA ซึ่งไปซ้อนในปีเดียวกันกับเอเชียนเกมส์ 2014 การแข่งขันในครั้งนี้จะเป็นครั้งที่เจ็ดสำหรับประเทศไทยในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันระดับเอเชีย ภายหลังจากที่กรุงเทพ ได้จัดมหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ไปแล้วสี่ครั้ง (ค.ศ. 1966, 1970, 1978 และ 1998), เอเชียนอินดอร์เกมส์หนึ่งครั้ง (ค.ศ. 2005) และเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์หนึ่งครั้ง (ค.ศ. 2009) อย่างไรก็ตาม มหกรรมกีฬานี้จะถือเป็นรายการแรกที่ไม่ได้จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนบีชเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1966

อเชียนเกมส์ 1966 การแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9 – 20 ธันวาคม 2509 กีฬาที่แข่งขันมี 14 ชนิด คือ กรีฑา แบดมินตัน บาสเก็ตบอล มวย จักรยาน ฟุตบอล ฮอกกี้ ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส ยกน้ำหนัก วอลเลย์บอล มวยปล้ำ และมีการสาธิตกีฬาซอร์ฟบอล ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันมี 19 ประเทศ รวมส่งนักกีฬาทั้งหมด 1,945 คน เป็นชาย 1,569 คน หญิง 376 คน.

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1966 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1970

อเชียนเกมส์ 1970 เป็นการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 6 ตามกำหนดเดิม เกาหลีรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จนกระทั่งปี 2512 ซึ่งเหลือเวลาอีก 1 ปี จะถึงกำหนดการแข่งขัน เกาหลีเจ้าภาพเกิดเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเกิดสงครามระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ทำให้ไม่สามารถจะเป็นเจ้าภาพได้จึงขอถอนตัวแต่เพื่อมิให้การแข่งขันครั้งนี้ต้องยกเลิกไป เกาหลีจึงยินดีหาเงินให้กับประเทศที่จะรับเป็นเจ้าภาพเป็นเงินทั้งสิ้น 8 ล้านบาท คณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์จึงได้เปิดประชุมอย่างเร่งด่วน ครั้งแรกในที่ประชุมมีมติให้ญี่ปุ่นรับจัดแทนเกาหลี แต่ญี่ปุ่นปฏิเสธเพราะกำลังจัดงานเอ็กซ์โป 1970 อยู่ แต่ยินดีที่จะช่วยสมทบทุนแก่ประเทศที่จะรับเป็นเจ้าภาพแทน.

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1970 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1974

อเชียนเกมส์ 1974 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 จัดขึ้นที่กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่านระหว่างวันที่ 1 – 16 กันยายน 2517 ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้เกือบต้องล้มคว่ำลงกลางคันเนื่องจากอิหร่านและญี่ปุ่นได้นำข้อเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 17 – 18 กันยายน 2516 ให้ที่ประชุมพิจารณารับเอาประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าเป็นสมาชิกแต่มีเงื่อนไขว่า สหพันธ์ฯ ต้องขับจีนชาติออกจากการเป็นสมาชิก ผลปรากฏว่ากรรมการบริหาร 4 คน ได้เดินออกจากที่ประชุม ในที่สุดจากการวิ่งเต้นของอิหร่านและญี่ปุ่นจึงทำให้การรับรองสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าเป็นสมาชิกสหพันธ์ฯ ก็ผ่านไปด้วยดี ดังนั้น การแข่งขันครั้งที่ 7 จึงมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขัน 19 ประเทศ มีนักกีฬาเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ชนิด คือ กรีฑา แบดมินต้น บาสเกตบอล มวย จักรยาน ฟุตบอล ฟันดาบ ยิมนาสติคส์ ฮอกกี้ ลอนเทนนิส ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก และมวยปล้ำ.

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1974 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1978

อเชียนเกมส์ 1978 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 8 ประเทศไทยจำต้องเป็นเจ้าภาพอีกวาระหนึ่งเพราะปากีสถานซึ่งได้รับมอบหมายจากที่ประชุมมนตรีสหพันธ์ฯ ให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันครั้งนี้ได้แจ้งไปยังสหพันธ์ว่าไม่สามารถจัดการแข่งขันได้ เนื่องจากปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจภายในประเทศและภาวะเงินเฟ้อ ซึ่งเป็นเหตุให้ขาดดุลทางการเงิน นายอาลี ภูตโต นายกรัฐมนตรีปากีสถานในขณะนั้น ได้สั่งระงับการเป็นเจ้าภาพจัด การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 ผลจากการที่ปากีสถานขอคืนความเป็นเจ้าภาพจึงได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ขึ้นในระหว่างการแข่งขันโอลิมปิคครั้งที่ 21 ณ ประเทศแคนาดา เพื่อหาประเทศเจ้าภาพแทนปากีสถานและที่ประชุมได้มีมติขอร้องให้ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพอีกครั้ง โดยสมาชิกสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์จะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งสิ้นสำหรับการเป็นเจ้าภาพ ยกเว้นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งนักกีฬาไทยเข้าร่วมแข่งขัน ประเทศไทยจึงรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 8 ระหว่างวันที่ 9 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2521 การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระมหากรุณาทรงรับการแข่งขันครั้งนี้ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ การแข่งขันครั้งนี้ กีฬาที่แข่งขันมี 19 ชนิด คือ กรีฑา ยิงธนู แบดมินตัน บาสเกตบอล มวย โบว์ลิ่ง จักรยาน ฟุตบอล ยิมนาสติคส์ ฮอกกี้ ลอนเทนนิส ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก มวยปล้ำ และเรือใบ ส่วนประเทศที่เข้าแข่งขันมี 25 ประเทศ (สำหรับอิสราเอลนั้น คณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ได้ขอร้องมิให้ประเทศอิสราเอลส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันครั้งนี้ เพื่อลดค่ารักษาความปลอดภัย แต่ก็ยังถือว่าประเทศอิสราเอลยังคงเป็นสมาชิกอยู่) นักกีฬาที่เข้าแข่งขันครั้งนี้มี 2,863 คน เป็นชาย 2,318 คน หญิง 454 คน ประเทศที่ไม่ได้รับเหรียญรางวัลเลยได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย เนปาล บาห์เรน บังคลาเทศ กาตาร์ สหสาธารณรัฐอาหรั.

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1982

อเชียนเกมส์ 1982 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 9 จัดขึ้นที่ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ต้นกำเนิดกีฬาเอเชียนเกมส์ ระหว่างวันที่ 19 พฤศจิกายน ถึง 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1982 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1986

อเชียนเกมส์ 1986 การแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 10 จัดขึ้นที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 20 กันยายน - 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1986 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1990

อเชียนเกมส์ 1990 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 11 จัดขึ้นที่ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 22 กันยายน ถึง 7 ตุลาคม พ.ศ. 2533 มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 36 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 27 ชนิด และในครั้งนี้ประชุมสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียได้มีการพิจารณาลงโทษ พักการเป็นสมาชิกของประเทศอิรัก เนื่องจากอิรักได้ก่อสงครามอ่าวเปอร์เซีย และจากผลของสงครามครั้งนี้ ทำให้ชีค ฟาฮัด ประธานสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย และชาวคูเวตเสียชีวิต หลังจากกรุงปักกิ่งได้เป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1990 ครั้งต่อไปจะเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1990 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1994

อเชียนเกมส์ 1994 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 12 จัดขึ้นที่ ฮิโระชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 2 ตุลาคม ถึง 16 ตุลาคม พ.ศ. 2537 มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 42 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 34 ชนิด โดยสนามแข่งขันที่ใช้เป็นหลัก คือ ฮิโรชิมา บิ๊ก อาร์ช มีมาสคอทหรือสัญลักษณ์เป็นนกพิราบคู่ ตัวผู้ ตัวเมีย เป็นการสื่อถึงสันติภาพ นับเป็นครั้งแรกด้วยที่การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติใช้มาสคอทเป็นคู่ สำหรับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งนี้ของนักกีฬาทีมชาติไทย ปรากฏว่าสามารถได้เพียงเหรียญทองเดียวจากมวยสากลสมัครเล่นในรุ่นเฟเธอร์เวทจากสมรักษ์ คำสิงห์ แต่ต่อมาภายหลังจบการแข่งขันได้มีมติให้เพิ่มอีก 2 เหรียญทองจากกีฬาว่ายน้ำจากรัฐพงษ์ ศิริสานนท์ เนื่องจากมีนักกีฬาคนเดิมที่ได้เหรียญไปนั้นถูกตรวจสอบใช้สารกระตุ้น และพิธีเปิดการแข่งขันมีนักร้องไทยร่วมในการแสดงด้วยคือ กุ้งนาง ปัทมสูต แต่การถ่ายทอดทางทีวีที่ถ่ายกลับมาไม่ทัน และในพิธีปิดการแข่งขัน การส่งมอบธงจัดการแข่งขันต่อให้ไทย ในปี พ.ศ. 2541 หรือ..

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1994 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1998

อเชียนเกมส์ 1998 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 จัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 6 ธันวาคม ถึง 20 ธันวาคม พ.ศ. 2541 มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 41 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 36 ชนิด โดยสนามแข่งขันที่ใช้เป็นหลัก คือ ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต ศูนย์กีฬาหัวหมาก การกีฬาแห่งประเทศไทย และ ศูนย์กีฬาเมืองทองธานี มาสคอตของการแข่งขันครั้งนี้ คือ ช้าง ไชโย และมีคำขวัญว่า Friendship beyond Frontiers หรือ มิตรภาพไร้พรมแดน.

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 1998 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 2006

อเชียนเกมส์ 2006 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 15 จัดขึ้นที่ โดฮา ประเทศกาตาร์ ระหว่างวันที่ 1 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2549 (แต่การแข่งขันฟุตบอลได้เริ่มแข่งตั้งแต่วันที่ 18 พฤศจิกายน) โดยมีประเทศเข้าร่วม 45 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 39 ชนิด โดฮาเป็นเมืองที่สองในเขตเอเชียตะวันตกที่ได้เป็นเจ้าภาพการแข่งขันเอเชียนเกมส์ โดยก่อนหน้านี้คือเตหะรานในปี..

ใหม่!!: กรีฑาและเอเชียนเกมส์ 2006 · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007

ทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007 การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่เบลเกรด ประเทศเซอร์เบี.

ใหม่!!: กรีฑาและเทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007 · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2011

ทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2011 จัดที่แทรบซอน ประเทศตุรกี.

ใหม่!!: กรีฑาและเทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2011 · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017

ทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017 จัดขึ้นที่เมืองเยอร์, ประเทศฮังการี ระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม ถึง 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: กรีฑาและเทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017 · ดูเพิ่มเติม »

เขย่งก้าวกระโดด

วิลลี แบงส์ อดีตเจ้าของสถิติโลกเขย่งก้าวกระโดด International University Sports Federation - Gwangju 2015 - Men's Triple Jump Final, Dmitrii SOROKIN (RUS 17.29) wins Gold. เขย่งก้าวกระโดด (Triple jump) เป็นกีฬากรีฑา คล้ายกับการกระโดดไกล แต่เริ่มจากการวิ่ง เขย่ง ก้าว แล้วกระโดด ลงผืนทราย กีฬาเขย่งก้าวกระโดดเริ่มมีมาตั้งแต่การแข่งขันโอลิมปิกโบราณ และมีแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี ค.ศ. 1896 สถิติโลกปัจจุบัน ฝ่ายชายคือโจนาทาน เอดเวิดส์ จากบริเตนใหญ่ กับสถิติกระโดด 18.29 เมตร (60 ฟุต) และฝ่ายหญิงคือ อีเนสซา คราเวตส์ จากยูเครน กระโดดได้ 15.5 เมตร (51 ฟุต) หมวดหมู่:กรีฑา.

ใหม่!!: กรีฑาและเขย่งก้าวกระโดด · ดูเพิ่มเติม »

เคสุเกะ อุชิโระ

กะ อุชิโระ เป็นนักกีฬาทศกรีฑาชาวญี่ปุ่น เขาได้เข้าการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012.

ใหม่!!: กรีฑาและเคสุเกะ อุชิโระ · ดูเพิ่มเติม »

เซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1963

ซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1963 (1963 South Pacific Games) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม – 9 กันยายน..

ใหม่!!: กรีฑาและเซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1963 · ดูเพิ่มเติม »

เซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1966

ซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1966 (1966 South Pacific Games) จัดขึ้นที่นูเมอา นิวแคลิโดเนีย ระหว่างวันที่ 8–18 ธันวาคม..

ใหม่!!: กรีฑาและเซาท์แปซิฟิกเกมส์ 1966 · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »