โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดสุรินทร์

ดัชนี จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

368 ความสัมพันธ์: บัญชา ชุมชัยเวทย์ชัย ชิดชอบบัวขาว บัญชาเมฆบางกอกแอร์เวย์บุญบั้งไฟบุญมี บุญรอดช้างช้างเผือกฟาริดา สุไลมานพ.ศ. 2091พ.ศ. 2103พ.ศ. 2111พ.ศ. 2257พ.ศ. 2260พ.ศ. 2261พ.ศ. 2281พ.ศ. 2306พ.ศ. 2310พ.ศ. 2317พ.ศ. 2318พ.ศ. 2321พ.ศ. 2324พ.ศ. 2325พ.ศ. 2329พ.ศ. 2337พ.ศ. 2342พ.ศ. 2350พ.ศ. 2351พ.ศ. 2354พ.ศ. 2369พ.ศ. 2370พ.ศ. 2371พ.ศ. 2372พ.ศ. 2381พ.ศ. 2385พ.ศ. 2394พ.ศ. 2395พ.ศ. 2411พ.ศ. 2412พ.ศ. 2415พ.ศ. 2416พ.ศ. 2419พ.ศ. 2424พ.ศ. 2425พ.ศ. 2432พ.ศ. 2433พ.ศ. 2434พ.ศ. 2435พ.ศ. 2436พ.ศ. 2438...พ.ศ. 2450พ.ศ. 2451พ.ศ. 2453พ.ศ. 2469พ.ศ. 2476พ.ศ. 2492พ.ศ. 2538พ.ศ. 2540พรรคภูมิใจไทยพรรคความหวังใหม่พรรคเพื่อไทยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล)พระมหาพระมหาวิชาญ สุวิชาโนพระมหาวิศิต ธีรวํโสพระมงคลรังษี (สุวัฒน์ จนฺทสุวณฺโณ)พระราชบัญญัติพระราชวรคุณ (สมศักดิ์ ปณฺฑิโต)พระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล)พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล)พระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท)พระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร)พระราชาคณะชั้นธรรมพระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล)พระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร)พระอารามหลวงพระอินทร์พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)พระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ)พระครูพิพิธประชานาถ (นาน สุทธสีโล)พระครูวิมลขันติธรรม (อภิสิทธิ์ ขนฺติสาโร)พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตพระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโมพระครูสัญญาบัตรพระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท)พระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร)พระครูคัมภีรธรรมวิสุทธิ์ (ทองคำ คมฺภีโร)พระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)พระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์พิศาล มูลศาสตรสาทรพีบีแอร์พงศาวดารพนิดา คำศรีกระทรวงกลาโหมกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)กรุงเทพกรุงเทพมหานครกลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกกลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิกองทัพบกกันตรึมกันเกราการบริโภคการสื่อสารการจลาจลการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองกิโลเมตรภาษาไทยถิ่นอีสานภาษาเขมรถิ่นไทยภาคอีสาน (ประเทศไทย)ภิกษุภูเขาภูเขาไฟมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์นมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์มหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนามหานิกายมะค่าแต้มานุษยวิทยามณฑลยกกระบัตรยุคก่อนประวัติศาสตร์รองศาสตราจารย์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทยรัฐสภารัตนโกสินทรศกรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดสุรินทร์รายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุรินทร์รถยนต์รถตุ๊ก ๆรถไฟฤทธิชัย เกียรติประภัสร์ฤดูฝนฤดูแล้งลองจิจูดละติจูดวัชรารัศมี สุนทรพนาเวชวัดบูรพารามวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหารวัดกลางสุรินทร์วัดยานนาวาวิปัสสนาธุระวงดนตรีสุนทราภรณ์วนอุทยานแห่งชาติพนมสวายศรวณี โพธิเทศศักดิ์ชาย ดีนานศักดิ์สยาม ชิดชอบศิริภุช กุลน้อยศิลปินแห่งชาติศุภรักษ์ ควรหาศูนย์คชศึกษาสกาวใจ พูนสวัสดิ์สภาผู้แทนราษฎรสมบัติ ศรีสุรินทร์สมุหนายกสมณศักดิ์สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสยามสัตว์น้ำสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักงานตำรวจแห่งชาติสิงห์มณี แก้วสัมฤทธิ์สินธุ์เพชร กรวยทองสิโรจน์ ฉัตรทองสุรชัย จันทิมาธรสถาบันรัชต์ภาคย์หมอลำหมู่บ้านหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)หลวงพระบางหลวงปู่สี ฉนฺทสิริอยุธยาอักษรอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาลอัตตะปืออาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรล้านช้างอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอิศานปุระอาณาจักรธนบุรีอำเภออำเภอบัวเชดอำเภอชุมพลบุรีอำเภอพยัคฆภูมิพิสัยอำเภอพิมายอำเภอพนมดงรักอำเภอกาบเชิงอำเภอรัตนบุรีอำเภอราษีไศลอำเภอลำดวนอำเภอศรีณรงค์อำเภอศีขรภูมิอำเภอสังขละบุรีอำเภอสังขะอำเภอสำโรงทาบอำเภอสุวรรณภูมิอำเภอสนมอำเภอจอมพระอำเภอท่าตูมอำเภอขุขันธ์อำเภอครบุรีอำเภอปราสาทอำเภอนางรองอำเภอโนนนารายณ์อำเภอเมืองบุรีรัมย์อำเภอเมืองสุรินทร์อำเภอเขวาสินรินทร์อิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติองศา (มุม)องค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลอนุศาสนาจารย์อนุสรณ์ ศรีชาหลวงอนุสรณ์สถานผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรวรรดิขแมร์จังหวัดชัยภูมิจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพิจิตรจังหวัดมหาสารคามจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดลพบุรีจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสระบุรีจังหวัดสุรินทร์จังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดของประเทศไทยจังหวัดขุขันธ์จังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครพนมจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนครสวรรค์จำปาศักดิ์จุลศักราชธรรมยุติกนิกายธีรศิลป์ แดงดาถนนพหลโยธินถนนมิตรภาพทัชชกร ยีรัมย์ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214ทิวเขาพนมดงรักทิศใต้ทุ่งกุลาร้องไห้ท่าอากาศยานสุรินทร์ภักดีข้าวหอมมะลิดินดินเหนียวคมภิญญ์ เข็มกำเนิดครูมานิตย์ สังข์พุ่มความเกี่ยวดองคุณากร ปรีชาชนะชัยคติชนวิทยาตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตรตำบลตำบลสวายตำบลแกตำบลโพนโกซีเกมส์ 2011ปกรณ์ มุ่งเจริญพรประชาธิปไตยประสิทธิ์ แดงดาประสิทธิ์ ไชยศรีษะประเทศบราซิลประเทศพม่าประเทศกรีซประเทศกัมพูชาประเทศลาวประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศจีนประเทศไทยประเทศเวียดนามปราสาทปราสาทช่างปี่ปราสาทบ้านพลวงปราสาทบ้านสนม (ปราสาทวัดธาตุ)ปราสาทบ้านอนันต์ปราสาทบ้านไพลปราสาทภูมิโปนปราสาทยายเหงาปราสาทศีขรภูมิปราสาทสังข์ศิลป์ชัยปราสาทสังข์ศิลป์ชัย (ปราสาทบ้านจารย์)ปราสาทตระเปียงเตียปราสาทตาควายปราสาทตาเมือนปราสาทตาเมือนธมปราสาทเมืองทีปลานวลจันทร์น้ำจืดปวีณา ทองสุกป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่น้ำน้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์แม่น้ำมูลแม่น้ำโขงแหล่งน้ำแอร์อันดามันแจ็คเกอรีน ทีวีพูลโบราณคดีโรงพยาบาลสุรินทร์โรงเรียนรัตนบุรีโรงเรียนวีรวัฒน์โยธินโรงเรียนสวายวิทยาคารโรงเรียนสิรินธรโรงเรียนสุรวิทยาคารโอลิมปิกฤดูร้อน 2004โอลิมปิกฤดูร้อน 2016ไทยรีเจียนัลแอร์ไลน์เกริกกำพล ประถมปัทมะเกษตรกรรมเรือมอันเรเวียงจันทน์เสียมราฐเจ้าอาวาสเจ้าคณะภาคเจ้าคณะอำเภอเจ้าคณะจังหวัดเจ้าคณะตำบลเทศบาลตำบลเทศบาลนครนครราชสีมาเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองสุรินทร์เขื่อนห้วยตาเกาว์ใหม่เขื่อนห้วยเสนงเขตบางพลัดเขตบางกอกน้อยเขตบางกอกใหญ่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยทับทัน-ห้วยสำราญเขตสาทรเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดสุรินทร์เข็มรัตน์ กองสุขเครื่องราชอิสริยยศไทยเฉลิมพล มาลาคำ9 ธันวาคม ขยายดัชนี (318 มากกว่า) »

บัญชา ชุมชัยเวทย์

ัญชา ชุมชัยเวทย์ (เกิด 23 ธันวาคม พ.ศ. 2512) มีชื่อเล่นว่า เด่น พิธีกรรายการและผู้ประกาศข่าว ทาง ช่อง 3 และ 3HD.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และบัญชา ชุมชัยเวทย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และชัย ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

บัวขาว บัญชาเมฆ

ท สมบัติ บัญชาเมฆ หรือ บัวขาว บัญชาเมฆ เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในวงการการต่อสู้ระดับสากล โดยเฉพาะในทวีปยุโรปและประเทศญี่ปุ่น เคยเป็นนักมวยไทยสังกัดค่ายมวย ป.ประมุข ส่วนสูง 174 เซนติเมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม บัวขาวจัดเป็นหนึ่งในนักกีฬาอาชีพไทยที่ทำรายได้สูง โดยส่วนใหญ่มาจากการชกมวยที่ต่างประเทศ นอกจากนี้แล้ว ยังมีผลงานการแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ซามูไร อโยธยา และใน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และบัวขาว บัญชาเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกแอร์เวย์

การบินบางกอกแอร์เวย์ เป็นสายการบินเชิงพาณิชย์ ดำเนินงานโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินงานกิจการด้านการบินเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2511 ในแผนกการบินสหกลแอร์ บริษัท กรุงเทพสหกล จำกัด ซึ่งในระยะแรกได้ดำเนินกิจการทำการบินบริการให้แก่หน่วยงานของรัฐบาล (รบ.) รัฐวิสาหกิจ (รสก.) และธุรกิจเอกชนต่างๆ ทั่วไป ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และบางกอกแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญบั้งไฟ

ญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตำนานมาจากนิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทานพื้นบ้านดังกล่าวได้กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา พระยาแถน หรือเทพวัสสกาลเทพบุตร ซึ่ง ชาวบ้านมีความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล และมีความชื่นชอบไฟเป็นอย่างมาก หากหมู่บ้านใดไม่จัดทำการจัดงานบุญบั้งไฟบูชา ฝนก็จะไม่ตกถูกต้องตามฤดูกาล อาจก่อให้เกิดภัยพิบัติกับหมู่บ้านได้ โดยทั้งนี้การจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ของ จังหวัดยโสธร ได้รับการสนับสนุนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในการประชาสัมพันธ์งานประเพณี เป็นที่รู้จักแก่ชาวไทย และต่างประเทศ นับแต่ ปี 2523 ซึ่ง งานประเพณีบุญบั้งไฟจังหวัดยโสธร จะจัดขึ้นในวันเสาร์ อาทิตย์ สัปดาห์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม ในทุกปี โดยทั้งนี้ ในงานที่จัดของจังหวัดยโสธร ยังมีความโดดเด่น ในวันก่อนแห่ มีการประกวดกองเชียร์ จำนวนมาก รวมทั้ง วันแห่บั้งไฟ จะมีขบวนบั้งไฟแบบโบราณ และการรำเซิ้งแบบโบราณ จาก ทั้ง 9 อำเภอของจังหวัดยโสธร เข้าร่วมด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่า การจัดงานบั้งไฟในอดีต และปัจจุบัน ในพื้นที่ จังหวัดร้อยเอ็ด มีความโดดเด่น และเก่าแก่ มานาน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะ ที่ อำเภอสุวรรณภูมิ ที่มีการจัดงาน ในทุกวันเสาร์ อาทิตย์ ในสัปดาห์แรก ของเดือนมิถุนายนในทุกปี ซึ่งเป็นงานที่มี บั้งไฟเอ้สวยงามขนาดใหญ่มากที่สุด (ลายศรีภูมิ หรือ ลายกรรไกรตัด) รวมทั้งขบวนรำสวยงามมากที่สุดของประเทศ, อำเภอพนมไพร ที่ มีการจัดงาน ในทุกวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 ของทุกปี ตามรูปแบบประเพณีดั้งเดิม ตาม ฮีตสองสอง คองสิบสี่ โดยมีการจุดบั้งไฟถวาย มากที่สุดในประเทศ โดยในแต่ละปี จะมีบั้งไฟหมื่น บั้งไฟแสน บั้งไฟล้าน รวมกันกว่า 1,000 บั้ง ทั้งนี้ จากข้อมูลในปัจจุบัน แหล่งที่มีช่างในการจัดทำ บั้งไฟเอ้ ตกแต่งสวยงามมากที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยเฉพาะ อำเภอเสลภูมิ, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตร์พิมาน เป็นต้น, ส่วนค่ายบั้งไฟ ที่มีการทำบั้งไฟจุด พบได้จำนวนมาก ในเขตอำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด, อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และ เขตจังหวัดอื่น ๆ ทางอีสานเหนือ ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย เป็นต้น นอกจากนี้แล้วในพื้นที่ภาคเหนือ มีการจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ของ ตำบลพุเตย อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดงานประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ โดยการสนับสนุนของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ เช่นกัน ทั้งนี้ เนื่องจากประชากรในเขตพื้นที่ ส่วนใหญ่ อพยพมาจาก เขตภาคอีสาน ในหลายสิบปีก่อนหน้า ส่วนภาคใต้ ยังสามารถพบการจัดงานบุญบั้งไฟ ในเขตอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยเป็นการละเล่นของชาวอีสานที่ย้ายถิ่นฐานมาปักหลักทีนี่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และบุญบั้งไฟ · ดูเพิ่มเติม »

บุญมี บุญรอด

บุญมี บุญรอด (เกิด 10 ตุลาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักฟุตบอลชาวไทย จังหวัดสุรินทร์ เล่นตำแหน่งกองหลัง ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลโอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี ในไทยพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวไทย หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสุรินทร์‎‎ หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และบุญมี บุญรอด · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง

รงกระดูกช้างแอฟริกา ช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่วงศ์ Elephantidae โดยแบ่งเป็นสองสกุล ได้แก่ Elephas และ Loxodonta ช้างในปัจจุบันเหลือ 3 สปีชีส์ คือ ช้างแอฟริกา, ช้างป่าแอฟริกา และช้างเอเชีย (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช้างอินเดีย) ส่วนสปีชีส์และสกุลอื่นของวงศ์ Elephantidae ล้วนสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว บางสปีชีส์หรือสกุลสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุด ถึงแม้ว่าช้างแมมมอธในรูปแคระอาจสืบสายพันธุ์ต่อมาจนถึง 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ช้างและสัตว์ในวงศ์ Elephantidae อื่น ๆ เคยถูกจัดเป็นประเภทเดียวกับสัตว์หนังหนาอื่น ๆ ชื่อว่าอันดับ Pachydermata ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ช้างนับเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ใช้เวลาการตั้งครรภ์ถึง 22 เดือน ซึ่งนับว่านานที่สุดในบรรดาสัตว์บกทุกชนิด ช้างแรกเกิดมีน้ำหนักเฉลี่ย 120 กิโลกรัม มีอายุขัยอยู่ระหว่าง 50 ถึง 70 ปี แต่ช้างอายุมากที่สุดที่เคยบันทึกไว้มีอายุถึง 109 ปี ช้างขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้อาศัยอยู่ในแองโกลาในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเผือก

้างเผือกปัจจัยนาเคนทร์ในจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์หิมพานต์ ช้างเผือก (White Elephant) คือช้างที่มีลักษณะต่างจากช้างธรรมดาทั่วไป ด้วยมีนัยน์ตา และเล็บสีขาว รวมถึงสีผิวที่อ่อนกว่าช้างธรรมทั่วไป อาจจะเป็นสีชมพูหรือสีขาวก็ได้ โดยที่มิใช่เป็นสัตว์เผือก จัดได้ว่ามีลักษณะที่หาได้ยาก จึงเป็นที่เชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์ที่เป็นมงคลให้แก่ผู้ที่เป็นเจ้าของ และเป็นเครื่องมงคลชนิดหนึ่งในสัปตรัตนะแห่งพระเจ้าจักรพรรดิ ได้แก่ จักรแก้ว ช้างแก้ว (ช้างเผือก ชื่อ อุโบสถ) ม้าแก้ว มณีแก้ว นางแก้ว คฤหบดีแก้ว และ ปรินายกแก้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

ฟาริดา สุไลมาน

ร.ฟาริดา สุไลมาน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ อดีตรองโฆษกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และเป็นภริยาของมุข สุไลมาน โฆษกพรรคมาตุภูมิ เคยสังกัดพรรคการเมืองหลายพรรค อาทิ พรรคมาตุภูมิ พรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และฟาริดา สุไลมาน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2091

ทธศักราช 2091 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2091 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2103

ทธศักราช 2103 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2103 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2111

ทธศักราช 2111 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2111 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2257

ทธศักราช 2257 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2257 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2260

ทธศักราช 2260 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2260 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2261

ทธศักราช 2261 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2261 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2281

ทธศักราช 2281 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2281 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2306

ทธศักราช 2306 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2306 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2310

ทธศักราช 2310 ตรงกับคริสต์ศักราช 1767 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2310 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2317 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2318

ทธศักราช 2318 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2318 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2321 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2329

ทธศักราช 2329 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 1786.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2329 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2337

ทธศักราช 2337 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2337 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2342 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2350

ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2350 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2351 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2354

ทธศักราช 2354 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2354 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2369

ทธศักราช 2369 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2369 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2370

ทธศักราช 2370 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2370 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2371

ทธศักราช 2371 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2371 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2372

ทธศักราช 2372 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2372 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2381

ทธศักราช 2381 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1838.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2381 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2385

ทธศักราช 2385 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2385 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2394

ทธศักราช 2394 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1851 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2394 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2395

ทธศักราช 2395 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1852.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2395 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2412

ทธศักราช 2412 ตรงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2412 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2415

ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2415 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2416

ทธศักราช 2416 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1873.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2416 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2424

ทธศักราช 2424 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1881.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2424 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2425 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2434

ทธศักราช 2434 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1891 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2434 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคภูมิใจไทย

รรคภูมิใจไทย (ย่อว่า: ภท.) ก่อตั้งเมื่อ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 มี นายพิพัฒน์ พรมวราภรณ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก นายมงคล ศรีอ่อน เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก และนางวันเพ็ญ ขวัญวงศ์ เป็นโฆษกพรรคคนแรก ในปัจจุบันมีนาย อนุทิน ชาญวีรกูล เป็นหัวหน้าพรรคนาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นเลขาธิการพรรค และนางวาว ศุภมาศ อิศรภักดี เป็นโฆษกพรร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพรรคภูมิใจไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพรรคเพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล)

ระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล)ดำรงตำแหน่งทางพระสังฆาธิการเป็นเจ้าอาวาสวัดมงคลรัตน์ ตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์, ดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดฯพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ เนื่องในวโรกาสที่ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ขึ้นเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญยก เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๔๙ โดยมีราชทินนามตามสัญญาบัตรประกอบพัดยศสมณศักดิ์ ว่า พระพิมลพัฒนาทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหา

ระมหากษัตริย์ไทยถวายพัดยศสมณศักดิ์สายเปรียญธรรม แก่พระสงฆ์ โดยยกย่องถวายคำว่า "มหา" เพื่อใช้นำหน้าพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ และเพื่อเป็นการยกย่องพระสงฆ์ผู้อุตสาหะในการศึกษาภาษาบาลี ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน พระมหา เป็นคำสมณศักดิ์ใช้นำหน้าชื่อพระภิกษุที่สอบไล่ได้ตั้งแต่เปรียญธรรม 3 ประโยค ขึ้นไป โดยคำ "มหา" มาจากศัพท์ในภาษาบาลี (มหนฺต ลดรูปเป็น มหา) ใช้นำหน้าพระเถระผู้มีร่างกายสูงใหญ่ในสมัยพุทธกาลเช่น พระมหากัสสปเถระ พระมหาโมคคัลลานะ และใช้เรียกนำหน้ายกย่องพระเถระผู้เป็นที่น่าเคารพนับถือว่า พระมหาเถระ แปลว่า พระเถระผู้ใหญ่ โดยคำว่า "พระมหา" สันนิษฐานว่ากร่อนมาจากคำว่า "พระมหาชาติ" ที่ชาวพุทธใช้เรียกพระผู้ทรงภูมิบาลีแตกฉาน จนสามารถเทศนาพระมหาชาติเวสสันดรชาดกได้ และต่อมาพระมหากษัตริย์จึงใช้คำนี้แต่งตั้งพระผู้ทรงภูมิบาลีให้ดำรงสมณศักดิ์ที่พระมหา หรือพระมหาชาติ เพื่อเป็นการส่งเสริมการศึกษาภาษาบาลีเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนามาแต่โบราณ พระมหากษัตริย์ไทยแต่โบราณถวายพัดยศสมณศักดิ์สายเปรียญธรรม (พัดยศมหาเปรียญ) แก่พระสงฆ์โดยยกย่องถวายคำว่า "มหา" เพื่อใช้นำหน้าพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ ประโยคบาลี เพื่อเป็นการถวายกำลังใจแก่พระสงฆ์ผู้สนใจเล่าเรียนศึกษาและมีความรู้สอบไล่ได้สายเปรียญธรรมบาลีตั้งแต่ชั้นเปรียญตรีขึ้นไปจนถึงปัจจุบันนี้ (โดยในอดีตนั้นพระมหากษัตริย์เคยมีการถวายนิตยภัตรแก่พระสงฆ์และสามเณรที่เป็นมหาเปรียญทุกชั้น แต่ปัจจุบันคงมีการถวายนิตยภัตรายเดือนเฉพาะผู้สอบได้ระดับเปรียญธรรม ๙ ประโยค เท่านั้น) ในปัจจุบัน พัดยศมหาเปรียญ นั้นจะแบ่งเป็นสีและระบุเลขลำดับชั้นเปรียญ ซึ่งเปรียบได้กับครุยวิทยฐานะของบัณฑิตผู้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย โดยพัดยศเปรียญมีฐานะเสมือนหนึ่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ผู้ทำความชอบในราชการ พระสงฆ์สามเณรผู้ได้รับพระราชทานจะนำพัดยศมหาเปรียญออกใช้ประกอบสมณศักดิ์ได้แต่ในงานพระราชพิธีสำคัญเท่านั้น จะใช้ทั่วไปมิได้ ในอดีตก่อนมีการเลิกทาส หากพระภิกษุหรือสามเณรรูปใดที่สอบไล่ได้เปรียญธรรม มีบิดามารดาเป็นทาสเขาอยู่ ก็จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระมหากษัตริย์ไถ่ให้พ้นตัวจากความเป็นทาสมีอิสรภาพแก่ตนในทันทีที่บุตรชายของตนได้เป็นพระมหาเปรียญหรือสามเณรเปรียญ ปัจจุบันเรียกพระภิกษุที่สอบได้พระปริยัติธรรมตั้งแต่ เปรียญธรรม ๓ ประโยคขึ้นไปว่า "พระมหาเปรียญ".

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระมหา · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวิชาญ สุวิชาโน

ระมหาวิชาญ สุวิชาโน (บัวบาน) เป็นพระนักเผยแผ่ พระวิทยากร นักบรรยายธรรม ที่เป็นที่รู้จักดีรูปหนึ่งของเมืองไทยในปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อ พ.ศ. 2511 บรรพชาเมื่อ พ.ศ. 2525 ปัจจุบันพระมหาวิชาญ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพระธรรมวิทยากรค่ายวัยใส มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และผู้อำนวยการส่วนวางแผนและพัฒนาการอบรม สถาบันวิปัสสนาธุระ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระมหาวิชาญ สุวิชาโน · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวิศิต ธีรวํโส

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พระมหาวิศิต ธีรวํโส เป็นเจ้าคณะอำเภออำเภอพนมดงรัก ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์สุรินทร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระมหาวิศิต ธีรวํโส · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลรังษี (สุวัฒน์ จนฺทสุวณฺโณ)

ระมงคลรังษี นามเดิม สุวัฒน์ ฉิง ฉายา จนฺทสุวณฺโณ อดีตเจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทพนมดิน อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เป็นพระเกจิมหาเถราจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณแห่งดินแดนอิสานใต้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระมงคลรังษี (สุวัฒน์ จนฺทสุวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2541 การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ก็มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ คำว่า พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้อนุญาต สำหรับประเทศอื่นที่พระมหากษัตริย์ไม่ใช่ผู้อนุญาต (เช่นประธานาธิบดี) จะเรียกว่า รัฐบัญญัติ หมวดหมู่:บ่อเกิดของกฎหมาย.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระราชบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรคุณ (สมศักดิ์ ปณฺฑิโต)

ระราชวรคุณ(สมศักดิ์ ปณฺฑิโต)ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์(ธรรมยุต),เจ้าอาวาสวัดบูรพาราม พระอารามหลวง เฉลิมพระเกียรต.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระราชวรคุณ (สมศักดิ์ ปณฺฑิโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล)

ระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล) เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (ธรรมยุต) เจ้าอาาวาสวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร บ้านจรัส ตำบลจรัส อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล)

ระราชวุฒาจารย์ หรือ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เป็นพระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ ชาวสุรินทร์ ศิษย์ของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่กับพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท)

ระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท) อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (มหานิกาย) และอดีตเจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร์ เหรียญที่ระลึกพระสิทธิการโกศล (เทพ นนฺโท) ต้อนรับสัญญาบัตรพัดยศประกอบสมณศักดิ์พระราชสิทธิโกศล(เทพ นนฺโท).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร)

ระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (มหานิกาย)และ เจ้าอาวาสวัดพรหมสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร)

ระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร)ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์,อดีตรองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (มหานิกาย)และ เจ้าอาวาสวัดปราสาท อำเภอศีขรภูมิ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดพระราชทานสมณศักดิ์ตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ เมื่อวันที่ ๕ เดือนธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทร์

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/literature/10000-5627.html | สถานบำบวงหลัก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

ระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ และเจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์รูปปัจจุบัน ท่านเป็นพระนักพัฒนาด้านการศึกษาสงเคราะห์รูปสำคัญในจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยเป็นผู้ก่อตั้งสำนักเรียนพระปริยัติธรรมวัดคลองโพธิ์ ในปี พ.ศ. 2513 (ปีที่ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์ และดำรงสมณศักดิ์ที่พระครูปริยัติสาธร) และพัฒนาสำนักเรียนแห่งนี้จนสำนักเรียนวัดคลองโพธิ์กลายเป็นสำนักเรียนบาลีที่มีพระภิกษุสามเณรสอบไล่ได้คิดจากจำนวนผู้เข้าสอบและสอบได้มากที่สุด 1 ใน 5 ของประเทศ และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสำนักเรียนบาลีแห่งที่ 1 ของเขตการปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตร และพัดยศประกอบสมณศักดิ์ ในวันที่ 5 เดือนธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)

ระธรรมโมลี นามเดิม ทองอยู่ พิศลืม ฉายา ญาณวิสุทฺโธ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายมหานิกาย ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประเภทโดยตำแหน่งในระดับรองอธิการบดี และอดีตกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ พิธีบำเพ็ญกุศลอายุวัฒนมงคล พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

ระธรรมโสภณ หรือ หลวงพ่อใหญ่ นามเดิม โกศล โพธิ์งาม ฉายา สิรินฺธโร (30 มิถุนายน พ.ศ. 2467) เป็นพระภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุรินทร์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนวัดสุทธจินดา,เจ้าสำนักเรียนวัดสุทธจินดา, ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทธจินดา, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ดูแลคณะสงฆ์ 6 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวลำภูและ บึงกาฬ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ)

ระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ) อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์-กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์,อดีตเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์-กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ และอดีตเจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูพิพิธประชานาถ (นาน สุทธสีโล)

ระครูพิพิธประชานาถ (นาน สุทธสีโล) เคยดำรงตำแหน่งเป็นพระสังฆาธิการ อดีตเจ้าอาวาสวัดสามัคคี และเป็นอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะตำบลท่าสว่าง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูพิพิธประชานาถ (นาน สุทธสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิมลขันติธรรม (อภิสิทธิ์ ขนฺติสาโร)

ระครูวิมลขันติธรรม (อภิสิทธิ์ ขนฺติสาโร)อดีตรองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์,อดีตเจ้าอาวาสวัดจุมพลสุทธาว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูวิมลขันติธรรม (อภิสิทธิ์ ขนฺติสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโมรองผู้อำนวยการวิทยาลัยพระธรรมทูต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโม · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสัญญาบัตร

ในปัจจุบันการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระครูสัญญาบัตรจะทรงมอบหมายให้สมเด็จพระสังฆราชหรือเจ้าคณะใหญ่ในหนนั้นๆ เป็นผู้แทนพระองค์มอบตำแหน่งแทน (พัดพุดตาน) พัดยศสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตร พระครูสัญญาบัตรจัดเป็นสมณศักดิ์สัญญาบัตรชั้นแรก เป็นพระครูมีราชทินนาม ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัยเรียกว่า"ปู่ครู" ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ได้เปลี่ยนคำนำหน้าจากปู่ครูเป็นพระครู และโปรดให้มีราชทินนามสืบมาจนถึงปัจจุบัน พระครูสัญญาบัตรเป็นชื่อประเภทสมณศักดิ์ เครื่องหมายสมณศักดิ์ใช้คำว่าพระครูนำหน้าราชทินนาม แต่ในสัญญาบัตรมิได้กำหนดว่าเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นใดหรือตำแหน่งใด ก็จะมีพัดยศเป็นเครื่องแสดงชั้นหรือตำแหน่งนั้นๆ เมื่อได้เลื่อนตำแหน่ง จะไม่เปลี่ยนสัญญาบัตร คงเปลี่ยนเฉพาะพัดยศ และมีประกาศมหาเถรสมาคมแสดงความเป็นพระครูสัญญาบัตรตำแหน่งใดและชั้นใด ในปัจจุบันผู้ที่จะได้รับพระราชทานตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรต้องเป็นพระสังฆาธิการเท่านั้น เมื่อจะทรงแต่งตั้งครั้งแรกจัดชั้นและตำแหน่งให้เหมาะสมในการปกครอง หรือเหมาะสมกับวิทยฐานะ พระครูสัญญาบัตรจัดโดยชั้นมี 4 ชั้น คือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูสัญญาบัตร · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท)

ระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท)อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัยบ้านหมากมี่ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และอดีตเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เป็นพระเกจิมหาเถราจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณแห่งดินแดนอิสานใต้ เหรียญที่ระลึกพระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท) ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอท่าตูม รูปเหมือนลอยองค์พระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท) ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอท่าตูม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร)

ระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งทางพระสังฆาธิการป็นเจ้าอาวาสวัดโคกกรม ตำบลจีกแดก อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ และเจ้าคณะตำบลโคกกลาง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณแห่งดินแดนอิสานใต้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูคัมภีรธรรมวิสุทธิ์ (ทองคำ คมฺภีโร)

ระครูคัมภีรธรรมวิสุทธิ์ (ทองคำ คมฺภีโร)เจ้าคณะตำบลระแงง, เจ้าอาวาสวัดป่าเทพประทาน ตำบลระงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ และเป็นพระวิปัสสนาจารย์ ประจำโครงการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานแก่นิสิตพุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์เป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณแห่งดินแดนอิสานใต้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูคัมภีรธรรมวิสุทธิ์ (ทองคำ คมฺภีโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)

ระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งพระสังฆาธิการเป็นเจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร์,รองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ ฝ่ายมหานิกาย และตำแหน่งอื่นๆอีกอาทิเช่น,ประธานกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ ๑๑ รับผิดชอบในเขต ๕ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดศรีสะเกษ,กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนสุรวิทยาคาร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ)

ระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑโฒ)อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์ อดีตเจ้าอาวาสวัดแสงบูรพา ตำบลสวาย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ และเป็นอดีตเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์-กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ รูปสุดท้าย กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ได้รับการยกฐานะให้เป็นอำเภอเขวาสินรินทร์ ก็มีการกำหนดเขตปกครองคณะสงฆ์ในระดับอำเภอใหม่ด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พิศาล มูลศาสตรสาทร

ล มูลศาสตรสาทร (10 พฤษภาคม 2472 - 27 มีนาคม 2539) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพิศาล มูลศาสตรสาทร · ดูเพิ่มเติม »

พีบีแอร์

ีบีแอร์ เป็นสายการบินสัญชาติไทยในอดีต ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 และปิดกิจการในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพีบีแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พงศาวดาร

งศาวดาร คือบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น ๆ พงศาวดารในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีการถกเถียงกันเรื่องความน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เป็นหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานชั้นรอง เพราะมีการเขียนพงศาวดารหลายฉบับในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในเนื้อหาและรายละเอียด ประกอบกับการใช้ศักราชในพงศาวดารไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ บ้างใช้มหาศักราช บ้างใช้จุลศักราช และพงศาวดารมีการเขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์ เช่น พระราชพงศาวดารฉบับเถื่อน ซึ่งเขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่กล่าวถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพงศาวดาร · ดูเพิ่มเติม »

พนิดา คำศรี

นิดา คำศรี เป็นนักยกน้ำหนักชาวไทย เจ้าของเหรียญทองจากการแข่งขันซีเกมส์ 2011 ที่ประเทศอินโดนีเซีย พนิดา คำศรี เกิดเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2532 ที่บ้านตราด ตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นชาว จังหวัดสุรินทร์ โดยกำเนิด (อายุ ปี) เป็นเจ้าของเหรียญทองจากการแข่งขันซีเกมส์ 2011 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ปัจจุบันลงแข่งขันในรุ่น 48 กิโลกรัม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และพนิดา คำศรี · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกระทรวงกลาโหม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Science and Technology) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน ส่งเสริม และพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนก

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เป็นวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2537 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อให้วิทยาลัยพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทั้งที่เปิดดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว และที่จะเปิดใหม่ภายหลังว่า "วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี" โดยมีวิทยาลัยพยาบาลที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ จำนวน 28 แห่ง ได้แก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ

กลุ่มปราสาทตาเมือนตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทที่รวมกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน มาเป็นอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน และกำลังพิจารณาปราสาทกลุ่มราชมรรคาเป็นมรดกโลก ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนธมด้านปราสาทบริวาร 2 หลัง ปราสาทตาเมือนธม ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน และและสมาชิกใหม่คือปราสาทศีขรภูมิ, ปราสาทตาคว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบก

กองทัพบก คือกองกำลังทหารที่ปฏิบัติการในภาคพื้นดินเป็นหลัก มีหน้าที่ป้องกันและปฏิบัติการรบในภาคพื้นดิน กองทัพบกนับเป็นกองกำลังทหารที่กำเนิดขึ้นเป็นประเภทแรก หน่วยรบหลักในกองทัพบกแบ่งออกเป็น 3 เหล่าคือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

กันตรึม

กันตรึม เป็นรูปแบบของดนตรีพื้นบ้านทางภาคอีสานตอนใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดชายแดนติดต่อกับประเทศกัมพูชา คือ จังหวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ และร้อยเอ็ด เป็นดนตรีประกอบการเต้นรำพื้นเมือง ประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีได้แก่ ซอกันตรึม กลองกันตรึม และเสียงร้องเป็นภาษาเขมรเหนือ โดยในยุคหลังจะมีเครื่องดนตรีอีเลคโทรนิก เช่น กีตาร์ และคีย์บอร์ด เป็นส่วนประกอบ และบ้างก็ใช้คำร้องเป็นภาษาอีสาน นักร้อง นักดนตรี แนวกันตรึมที่มีชื่อเสียง เช่น เฉลิมพล มาลาคำ คง มีชัย (หรือ ร็อคคงคย) ดาร์กี้ กันตรึมร็อค น้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์ หมวดหมู่:วัฒนธรรมภาคอีสาน หมวดหมู่:วัฒนธรรมเขมร หมวดหมู่:ดนตรีไทย.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกันตรึม · ดูเพิ่มเติม »

กันเกรา

ต้นกันเกรา กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น กันเกรามีชื่อเรียกต่างกันไปคือ ภาคกลางเรียก กันเกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา ส่วนภาคใต้เรียก ตำแสง หรือตำเสา ซึ่งถือเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง อันมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์ คือชื่อกันเกราหมายถึง กันสิ่งชั่วร้ายทั้งหลายไม่ให้มาทำอันตรายใด ๆ ชื่อตำเสาคือ เป็นมงคลแก่เสาบ้านไม่ให้ปลวก มอด แมลงต่าง ๆ เจาะกิน ชื่อมันปลา น่าจะเป็นลักษณะของดอกที่เหมือนกับไขมันของปลาเมื่อลอยน้ำไขมันของปลาในถ้วยน้ำแกง โดยเฉพาะช่วงข้าวใหม่ปลามันที่ปลาจะมีความมันและเอร็ดอร่อยเป็นที่สุด ต้นกันเกรามีลักษณะต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15 - 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องลึกไม่เป็นระเบียบ ใบเดี่ยวออกตรงกันข้าม แผ่นใบรูปมนขนาดกว้าง 2.5 - 3.5 เซนติเมตร ยาว 8 - 11 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือยาวเรียว ฐานใบแหลม โคนมน ใบเขียวมันวาว มีทรงพุ่งเป็นทรงฉัตรแหลมสวยงาม ดอก เริ่มบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ผลกลมเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 มม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกันเกรา · ดูเพิ่มเติม »

การบริโภค

การบริโภค อาจหมายถึง การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคหรือบำบัดความต้องการของมนุษย์คือ 1.การ บริโภคสินค้าคงทน ซึ่งเป็นสินค้าที่ไม่ได้ทำให้สิ่งที่ถูกบริโภคหมดสิ้นหรือหมาดสภาพไป ยังใช้ได้อีกเป็นเวลานาน แต่เมื่อการใช้ย่อมเกิดการสึกหรอ 2.การบริโภคสินค้าไม่คงทน ซึ่งเป็นการบริโภคที่ทำให้สิ่งที่ถูกบริโภคหมดสิ้นไป เช่น ยารักษาโรค อาหาร เครื่องดื่ม เป็นต้น ผู้บริโภค คือ ผู้ที่มีความสามารถในการซื้อสินค้าและบริการเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัวหรือในครัวเรือน ผู้บริโภคมีจำนวนมากทั่วประเทศ บางคนก็ตัดสินใจในการซื้ออย่างมีระเบียบแบบแผนสามารถใช้เงินทุกบาททุกสตางค์ได้คุ้มค่า; ชีววิท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และการบริโภค · ดูเพิ่มเติม »

การสื่อสาร

การสื่อสาร คือกระบวนการสำหรับแลกเปลี่ยนสาร รูปแบบอย่างง่ายของสาร คือ จะต้องส่งจากผู้ส่งสารหรืออุปกรณ์เข้ารหัส ไปยังผู้รับสารหรืออุปกรณ์ถอดรหัส อาจอยู่ในรูปแบบของท่าทางสัญลักษณ์ บางอย่างอยู่ในรูปแบบของภาษา การสื่อสารเกิดจากความต้องการที่คนจะส่งข้อมูลหากัน การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารอาจจำแนกได้หลายหมวดหมู.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และการสื่อสาร · ดูเพิ่มเติม »

การจลาจล

การจุดไฟเผารถยนต์ระหว่างการจลาจล การจลาจล เป็นรูปแบบหนึ่งของการก่อความไม่สงบต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทรัพย์สินหรือประชาชน ซึ่งมีลักษณะเป็นการปรากฏตัวออกมาทันใดของกลุ่มคนที่ไม่มีการจัดระเบียบและหุนหันพลันแล่นที่จะใช้ความรุนแรง ถึงแม้ว่าอาจมีคนหรือกลุ่มคนพยายามที่จะนำหรือควบคุมการจลาจล แต่ส่วนใหญ่แล้วการจลาจลมักไร้ระเบียบเป็นธรรมดาและแสดงพฤติกรรมฝูง การจลาจลมักเกิดขึ้นเป็นปฏิกิรยาจากการได้รับความเดือดร้อนหรือการแสดงความไม่เห็นด้วย ในประวัติศาสตร์ การจลาจลเกิดขึ้นเนื่องจากได้รับค่าแรงต่ำหรือคุณภาพชีวิต รัฐบาล การกดขี่ ภาษีหรือการเกณฑ์ทหาร ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มเชื้อชาติ การขาดแคลนอาหารหรือความขัดแย้งทางศาสนา ผลจากการแข่งขันกีฬาหรือความไม่พอใจกับช่องทางของกฎหมายผ่านการแสดงความคับข้องใจ การจลาจลมักเกี่ยวข้องกับการทำลายทรัพย์สินของรัฐหรือเอกชน ทรัพย์สินที่ตกเป็นเป้าหมายโดยเฉพาะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสาเหตุของการจลาจลและการโน้มเอียงทางความคิด เป้าหมายสามารถรวมไปถึงร้านค้า รถยนต์ ร้านอาหาร สถาบันของรัฐหรือสิ่งก่อสร้างทางศาสนา ผู้ก่อการจลาจลจำนวนหนึ่งค่อนข้างมีความชำนาญในการทำความเข้าใจและการสกัดยุทธวิธีที่ตำรวจใช้ในสถานการณ์จลาจล คู่มือสำหรับการจลาจลให้ประสบความสำเร็จสามารถเข้าถึงได้บนอินเทอร์เน็ต คู่มือเหล่านี้ยังกระตุ้นให้ผู้ก่อการจลาจลนำสื่อเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจากพบว่าการมีกล้องไปด้วยจะมีความปลอดภัยและได้รับความสนใจมากกว่า พลเมืองที่มีกล้องวิดีโอยังสามารถมีผลกระทบต่อทั้งผู้ก่อการจลาจลและตำรวจได้ เจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนสวมเกราะลำตัวและโล่ การรับมือกับการจลาจลมักจะเป็นงานยากของกรมตำรวจบ่อยครั้ง และเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ถูกส่งตัวไปรับมือกับการจลาจลมักจะถือโล่ยุทธวิธีและลูกซองปราบจลาจล ส่วนใหญ่เนื่องมาจากการกระจายที่กว้างกว่าของล้ากล้องสั้น ตำรวจยังอาจใช้แก๊สน้ำตาหรือแก๊สซีเอสเพื่อหยุดผู้ก่อการจลาจล ตำรวจปราบจลาจลส่วนใหญ่ใช้วิธีอาวุธไม่ร้ายแรงในการควบคุมฝูงชน อย่างเช่น ปืนลูกซองที่ยิงกระสุนยางและกระสุนถุงตะกั่วเพื่อทำให้ได้รับบาดเจ็บหรือทำให้ผู้ก่อการจลาจลง่ายต่อการจับกุม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และการจลาจล · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตร

กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่งในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และภาษาไทยถิ่นอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมรถิ่นไทย

ษาเขมรถิ่นไทย บ้างเรียก ภาษาเขมรเหนือ หรือ ภาษาเขมรสุรินทร์ เป็นภาษาย่อยของภาษาเขมร พูดโดยชาวไทยเชื้อสายเขมรในประเทศไทยที่อยู่ในจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ นครราชสีมา ศรีสะเกษ อุบลราชธานี มหาสารคาม และร้อยเอ็ด รวมทั้งที่อพยพไปสู่ประเทศกัมพูชา โดยจังหวัดสุรินทร์มีผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ60ของประชากรทั้งหมดในจังหวัด หรือประมาณ8แสนคน ภาษาเขมรถิ่นไทยต่างจากภาษาเขมรสำเนียงพนมเปญซึ่งเป็นสำเนียงมาตรฐาน ในด้านจำนวนและความต่างของหน่วยเสียงสระ การใช้พยัญชนะ รากศัพท์ และไวยากรณ์ ทำให้แยกสำเนียงเขมรถิ่นไทยออกจากสำเนียงอื่น ๆ ได้ง่าย ผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยจะเข้าใจภาษาเขมรทุกสำเนียง แต่ผู้พูดสำเนียงพนมเปญจะมีปัญหาในการทำความเข้าใจภาษาเขมรถิ่นไทย ทำให้นักภาษาศาสตร์บางคนแยกภาษาเขมรถิ่นไทยออกเป็นภาษาใหม่ต่างหากจากภาษาเขมร โดยถือเป็นภาษาใกล้เคียงกัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และภาษาเขมรถิ่นไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภิกษุ

กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และภิกษุ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขา

ทือกเขาร็อกกี ภูเขา (mountain) เป็นลักษณะของพื้นโลกที่มีความสูงกว่าพื้นที่บริเวณโดยรอบ ภูเขา หรือเทือกเขาหมายถึง ลักษณะภูมิประเทศ ที่มีความสูงตั้งแต่ 600 เมตรขึ้นไปจากพื้นที่บริเวณรอบ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเนินเขา แต่ว่าเนินเขานั้น จะมีพื้นที่สูงจากบริเวณรอบ ๆ ประมาณ 150 แต่ไม่เกิน 600 เมตร ภูเขาสามารถแบ่ง เป็นประเภทต่างๆ ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟ

ูเขาไฟโบรโมและภูเขาไฟสิเมรุบนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า จุดร้อนภูเขาไฟ (Volcanic Hotspot) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ เรียกว่า วิทยาภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น (The Eastern University of Management and Technology) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ถึงระดับปริญญาเอก ตั้งอยู่ที่ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์

ระวังสับสนกับ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์(Mahachulalongkornrajavidyalaya University Surin Campus; ชื่อย่อ: มจร.สร. - MCU.SR.) ตั้งอยู่ที่ บ้านโคกกระเพอ หมู่ที่ 8 (ห้วยเสนง) ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์เป็นวิทยาเขตลำดับที่ 8 ในสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

(Bansomdejchaopraya Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (Surindra Rajabhat University) เป็นสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดสุรินทร์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ปัจจุบัน เปิดสอนระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท และระดับปริญญาเอก โดยเป็นการจัดการศึกษาและบริการวิชาการแก่ชุมชน ในเขตจังหวัดสุรินทร์ ยโสธร อำนาจเจริญ (บางส่วน)บุรีรัมย์ (บางส่วน) ศรีสะเกษ (บางส่วน) และบุคลากรในจังหวัด ประเทศกัมพูชาและใกล้เคียง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น (ชื่อเดิม มหาวิทยาลัยณิวัฒนา) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2541 และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น" เมื่อปี พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2473 ตั้งอยู่ที่ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 สถาบันสมทบ โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา (Chalermkarnchana University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตั้งอยู่ที่จังหวัดศรีสะเกษ และถือเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกในจังหวัดศรีสะเกษ ได้รับอนุญาตให้เปิดทำการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2547 และได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย ในชื่อว่า "มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา" เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557 ปัจจุบัน นอกจากการเรียนการสอนในจังหวัดศรีสะเกษ แล้ว ยังมีการจัดการเรียนการสอนในลักษณะเป็นวิทยาเขตหรือศูนย์ในจังหวัดตามภูมิภาคต่างๆ ด้วย ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา ได้มีการจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเป็นประจำทุกปี ซึ่งทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

มะค่าแต้

มะค่าแต้ หรือ มะค่าหนาม มะค่าหลุม มะค่าลิง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Leguminosae ผลัดใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ดอกช่อมีดอกย่อยจำนวนมาก ฝักแบนหรือกลมแบน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดราชบุรี โดย J.E. Teijsmann ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย กระจายพันธุ์ในกัมพูชา ลาว มาเลเซีย ไทย และ เวียดนาม ในภาคอีสานของไทยมีมะค่าแต้สองสายพันธุ์คือแต้โหลน ฝักแบบรูปไข่ ไม่มีหนาม และแต้หนาม ฝักแบนรูปไข่ มีหนาม นิยมใช้เนื้อไม้ในการก่อสร้าง ของใช้ เปลือกนำมาแช่น้ำให้ได้น้ำสีน้ำตาลแดง ใช้แช่แผลจากการคลอดบุตรให้สมานตัวเร็ว ไม่ติดเชื้อ ใบใช้แทนช้อนในการตักอาหารที่มีน้ำเช่นแกงได้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมะค่าแต้ · ดูเพิ่มเติม »

มานุษยวิทยา

มานุษยวิทยา (anthropology) คือ วิชาที่เกี่ยวกับมนุษย์ มานุษยวิทยา เกิดจาก วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมานุษยวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑล

มณฑล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ยกกระบัตร

การปกครองหัวเมือง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงจัดการปกครองหัวเมืองรูปแบบใหม่ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และยกกระบัตร · ดูเพิ่มเติม »

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ: Prehistory) โดยทั่วไปหมายถึงช่วงเวลาที่ไม่มีการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ โดยมนุษย์ (ในบางครั้งหมายถึง ช่วงเวลาก่อนมีอารยธรรมมนุษย์).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และยุคก่อนประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รองศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์ (associate professor) ใช้อักษรย่อว่า ร. เป็นตำแหน่งทางวิชาการ ต่อมาจากตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อนจะเป็น ศาสตราจารย์ โดยต้องมีชั่วโมงสอน มีผลงานเอกสารคำสอนอย่างน้อย 1 รายวิชา คุณภาพดี และงานแต่ง เรียบเรียง แปลหนังสือ คุณภาพดี หรือผลงานวิจัย คุณภาพดี หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เป็นที่ยอมรับ ตำแหน่งรองศาสตราจารย์แสดงถึงผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการ ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีหน้าที่หลักในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง คือ มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาและมีความชำนาญพิเศษในการสอนและ ทำการสอนโดยใช้เอกสารคำสอน ประกอบการสอนมาแล้ว ทำการวิจัย ทำประโยชน์แก่สาธารณะ อาจมีงานแต่ง เรียบเรียง ตำรา หรือหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก..อ. กำหนด ในประเทศไทย ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ จะต้องดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และได้อยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการตามปกติ หรือได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาบางส่วน (อย่างมากไม่เกิน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) ซึ่งตำแหน่งรองศาสตราจารย์จะต้องผ่านการกลั่นกรองและประเมินผลงานอย่างเคร่งครัดและเข้มงวดในความถูกต้องของวิชา เมื่อผ่านการประเมินแล้วจึงจะได้รับการแต่งตั้งของสภามหาวิทยาลัย การเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ ผู้เสนอขอสามารถดำเนินการเพื่อขอแต่งตั้งได้ 2 วิธี คือ วิธีปกติ และวิธีพิเศษ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรองศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัตนโกสินทรศก

รัตนโกสินทรศก ตัวย่อ ร.. (อังกฤษ: Rattanakosin era) คือ รูปแบบของศักราชบอกปีชนิดหนึ่ง ซึ่งเริ่มนับตั้งแต่ปีที่ก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นปีแรก รัตนโกสินทรศกเริ่มมีการใช้ครั้งแรกเมื่อจุลศักราช 1250 จากเว็บสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (พ.ศ. 2324) และวันเริ่มต้นปีคือวันที่ 1 เมษายน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดให้เป็นวันขึ้นปีใหม่และประกาศใช้รัตนโกสินทรศกอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นประโยชน์และสะดวกในการใช้พุทธศักราชอ้างอิงประวัติศาสตร์ จึงได้มีการยกเลิกการใช้งานรัตนโกสินทรศกตามประกาศเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทรศก 131 (พ.ศ. 2455) โดยหนังสือราชการทั้งหมดได้เปลี่ยนมาใช้พุทธศักราชแทนที่ วิธีแปลงพุทธศักราชเป็นรัตนโกสินทรศก ให้นำเลขปีของพุทธศักราชลบด้วย 2324 จะได้เลขปีของรัตนโกสินทรศก สำหรับการแปลงคริสต์ศักราชเป็นรัตนโกสินทรศก ให้นำเลขปีของคริสต์ศักราชลบด้วย 1781 จะได้เลขปีของรัตนโกสินทรศกเช่นเดียวกัน รัตนโกสินทรศกเริ่มนับเป็น 1 ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 ดังนั้นจึงไม่มีรัตนโกสินทรศก 0.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรัตนโกสินทรศก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดสุรินทร์

รายชื่อวัดในจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรายชื่อวัดในจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่

รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามพื้นที.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุรินทร์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รถยนต์

องรถยนต์และรถบรรทุกยุคใหม่กำลังขับอยู่บนทางด่วนสายหนึ่ง รถสปอร์ตยุคใหม่ รถยนต์หมายถึง ยานพาหนะทางบกที่ขับเคลื่อนที่ด้วยพลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งและถ่ายทอดลงสู่ล้อ เพื่อพาผู้ขับ ผู้โดยสาร หรือสิ่งของ ไปยังจุดหมายปลายทาง ปัจจุบัน รถยนต์โดยส่วนมากได้รับการออกแบบอย่างซับซ้อนในทางวิศวกรรม และหลากหลายประเภท ตามความเหมาะสมของการใช้งาน หรือใช้สำหรับงานเฉพาะกิจ ทั้งนี้เว้นแต่รถไฟ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรถยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

รถตุ๊ก ๆ

รถตุ๊ก ๆ ในกรุงเทพฯ รถตุ๊ก ๆ หรือชื่อเรียกทางราชการว่า รถสามล้อเครื่อง เริ่มแรกเป็นการนำรถสามล้อเครื่อง กระบะบรรทุก จากประเทศญี่ปุ่น เข้ามาดัดแปลง เข้ามาในเมืองไทยครั้งแรกปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรถตุ๊ก ๆ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟ

ี-ซีรีส์ ของประเทศออสเตรเลีย รถไฟความเร็วสูง '''อีเซเอ''' ของประเทศเยอรมนี รถไฟ เป็นกลุ่มของยานพาหนะที่เคลื่อนที่ไปตามรางเพื่อการขนส่งสินค้าหรือผู้โดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง รางส่วนใหญ่มักจะประกอบด้วยราง 2 เส้นขนานกัน แต่ยังหมายรวมถึงประเภทรางเดี่ยวหรือประเภทที่ใช้พลังแม่เหล็กด้วย รถไฟจะขับเคลื่อนด้วยหัวรถจักรหรือขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หลายๆตัวที่ติดอยู่ใต้ท้องรถ รถไฟสมัยใหม่จะใช้กำลังจากหัวรถจักรดีเซลหรือจากไฟฟ้าที่ส่งมาตามสายไฟที่อยู่เหนือตัวรถหรือตามรางสาม (Third Rail) เดิม รถไฟขับเคลื่อนโดยใช้หม้อต้มน้ำทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำทำให้เกิดแรงดัน แรงดันจะทำการขับเคลื่อนกลไกทำให้ล้อรถไฟเคลื่อนที่ได้ การที่ใช้ฟืนเป็นแหล่งพลังงานในการต้มน้ำ และฟืนที่ทำให้เกิดเปลวไฟ ทำให้เรียกรถชนิดนี้ว่า รถจักรไอน้ำ รถไฟแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่ หัวรถจักร, รถดีเซลราง, รถโดยสาร และ รถสินค้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฤทธิชัย เกียรติประภัสร์

ทธิชัย เกียรติประภัสสร์ ชาวจังหวัดสุรินทร์ สถิติการชก 29 ครั้ง ชนะ 24 (น็อค 5) แพ้ 5.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และฤทธิชัย เกียรติประภัสร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูฝน

พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย ฤดูฝน (อังกฤษ: Rainy Season) เป็นฤดูกาลที่มีฝนตกตลอดทั้งเดือน ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมของ ประเทศไทย และจะเกิดมากที่สุดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจากการควบแน่น ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย ฝน หมวดหมู่:ฝน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และฤดูฝน · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูแล้ง

ฤดูแล้ง (อังกฤษ: dry season) เป็นฤดูในเขตร้อน เป็นช่วงที่มีอากาศแห้งและมีฝนตกน้อย ฤดูแล้งประกอบด้วยฤดูร้อนและฤดูหนาว ลแล้ง หมวดหมู่:ภูมิอากาศ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และฤดูแล้ง · ดูเพิ่มเติม »

ลองจิจูด

ลองติจูด (longitude) หรือเดิมเรียกว่า เส้นแวง แทนด้วยอักษรกรีก λ เป็นพิกัดที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลก โดยวัดไปทางตะวันออกหรือตะวันตกจากเส้นสมมติในแนวเหนือ-ใต้ที่เรียกว่าเส้นเมริเดียนแรก พิกัดที่ใช้คู่กัน คือ ละติจูด ลองติจูดมีหน่วยเป็นองศา นับจาก 0 องศาที่เส้นเมริเดียนแรกไปทางตะวันออก +180 องศา และไปทางตะวันตก −180 องศา ลองติจูดต่างจากละติจูด ตรงที่ละติจูดมีเส้นศูนย์สูตรเป็นเส้นอ้างอิงตามธรรมชาติ ลองติจูดจึงต้องกำหนดเส้นสมมติขึ้นมาหนึ่งเส้นสำหรับอ้างอิง ใน ค.ศ. 1884 การประชุมเมอริเดียนนานาชาติ (International Meridian Conference) จึงได้กำหนดให้เส้นเวลากรีนนิช เป็นเส้นเวลาไพร์มเมอริเดียน และเป็นลองติจูด 0 องศา หมวดหมู่:การเดินเรือ หมวดหมู่:ภูมิมาตรศาสตร์ *.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และลองจิจูด · ดูเพิ่มเติม »

ละติจูด

ละติจูด (latitude) หรือเดิมเรียกว่า เส้นรุ้ง แทนด้วยอักษรกรีก φ เป็นพิกัดที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลกและแบ่งเขตสภาวะอากาศโดยวัดจากเส้นศูนย์สูตร พิกัดที่ใช้คู่กัน คือ ลองจิจูด พื้นที่ที่มีพิกัดละติจูดต่างกัน จะมีภูมิอากาศ (climate) และสภาพอากาศ (weather) ต่างกัน ละติจูดมีค่าตั้งแต่ 0 องศาที่เส้นศูนย์สูตร ไปจนถึง 90 องศาที่บริเวณขั้วโลก (นับเป็น 90 องศาเหนือหรือใต้) เนื่องจากเป็นการวัดมุมจากจุดสมมติที่เส้นศูนย์สูตรไปยังจุดขั้วโลกที่ 90 อง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และละติจูด · ดูเพิ่มเติม »

วัชรารัศมี สุนทรพนาเวช

วัชรารัศมี สุนทรพนาเวช หรือ ตา มีชื่อเดิมว่า สุรางคณา สุนทรพนาเวช เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เป็นพิธีกร นักแสดง และนักร้อง ชาวไทย เป็นรองนางสาวไทย ประจำปี 2534 สำเร็จการศึกษาในคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโททางด้านเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียวอินเตอร์เนชันแนล ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวัชรารัศมี สุนทรพนาเวช · ดูเพิ่มเติม »

วัดบูรพาราม

วัดบูรพาราม (วัดออก) เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งของ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่เลขที่ 309 หมู่ที่ 1 ถนนรามโกมุท ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เป็นวัดราษฎร์ สร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่เนื่องจากไม่ได้มีการจดบันทึกไว้จึงทำให้มีการคลาดเคลื่อน วัดบูรพารามมีความเกี่ยวพันทางประวัติศาสตร์กับวัดตะเคียนทอง (วัดตก) วัดมัชฌิมาวาส (วัดกลาง) อำเภอยะหริ่ง และ วัดมุจลินทวาปีวิหาร (วัดตุยง) พระอารามหลวง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวัดบูรพาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร

วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร ปัจจุบันมี พระเทพวรมุนี เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดกลางสุรินทร์

วัดกลาง หรือ วัดกลางสุรินทร์(Wat Klang-Surin) เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เขตปกครองคณะสงฆ์หนตะวันออก ภาค 11 ได้รับการพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวัดกลางสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดยานนาวา

วัดยานนาวา พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ติดถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เป็นวัดโบราณมีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ "วัดคอกควาย" เนื่องจากมีชาวทวายมาลงหลักปักฐานอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และชาวทวายจะนำกระบือที่เลี้ยงไว้มาทำการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน หมู่บ้านบริเวณนั้นจึงได้ชื่อเรียกกันต่อมาว่า "บ้านคอกควาย" ในสมัยกรุงธนบุรีได้รับการยกฐานะวัดคอกควายขึ้นเป็นพระอารามหลวง เรียกชื่อใหม่ว่า "วัดคอกกระบือ" ต่อมารัชกาลที่ 1 ทรงสร้างพระอุโบสถใหม่ ครั้นถึงรัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์และสร้างเรือสำเภาพระเจดีย์แทนพระสถูปเจดีย์ทั่วไป เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เห็นรูปแบบเรือสำเภาซึ่งกำลังจะหมดไปจากเมืองไทย จึงได้เปลี่ยนชื่อจากวัดคอกกระบือเป็น "วัดยานนาวา" ด้านในมีพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธเจ้าให้สักการ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวัดยานนาวา · ดูเพิ่มเติม »

วิปัสสนาธุระ

วิปัสสนาธุระ หมายถึง งานด้านวิปัสสนา, งานด้านบำเพ็ญวิปัสสนกรรมฐาน วิปัสสนาธุระ คืองานที่มุ่งอบรมปัญญาให้เกิดโดยการปล่อยวางภาระทั้งปวง ทำกายใจให้เบา ยินดีในเสนาสนะที่เงียบสงบ พิจารณาถึงความเสื่อมไปสิ้นไปในสังขารร่างกายจนเห็นสามัญลักษณะคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ได้ชัดเจน เจริญอบรมวิปัสสนาต่อเนื่องไปไม่ขาดสายจนถึงวิโมกข์คืออนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ และสุญญตวิโมกข์จนก้าวสู่หลักชัยคือวิมุตติคว้าอรหัตผลได้บรรลุกิจจ์ วิปัสสนาธุระ เป็นงานที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดให้ภิกษุปฏิบัติอย่างหนึ่งใน 2 อย่าง คือ คันถธุระ และ วิปัสสนาธุร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวิปัสสนาธุระ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีสุนทราภรณ์

ตราสัญลักประจำวงดนตรีสุนทราภรณ์ วงดนตรีสุนทราภรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยมีศิลปินยุคต้นๆ ดังนี้คือ เอื้อ สุนทรสนาน, มัณฑนา โมรากุล, เลิศ ประสมทรัพย์, สุภาพ รัศมิทัต, สุปาณี พุกสมบุญ, จันทนา โอบายวาทย์, จุรี โอศิริ, วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี, ชวลี ช่วงวิทย์, พูลศรี เจริญพงษ์, วรนุช อารีย์, ศรีสุดา รัชตะวรรณ, สมศักดิ์ เทพานนท์, รวงทอง ทองลั่นธม, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, อ้อย อัจฉรา, มาริษา อมาตยกุล, บุษยา รังสี เป็นต้น การรวมกลุ่มของนักดนตรีวงสุนทราภรณ์ เกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479 โดยเอื้อ สุนทรสนานกับเพื่อนๆ ร่วมกันตั้งวงดนตรีไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล เมื่อบริษัทเลิกกิจการในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวงดนตรีสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย

วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย หรือเขาสวาย ตั้งอยู่ในพื้นที่ 2 ตำบลคือ ตำบลนาบัว ตำบลสวาย มีเนื้อที่ 1,975 ไร่ ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาสวายท้องที่ตำบลนาบัว อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ "พนมสวาย" เป็นคำภาษาพื้นที่เมืองสุรินทร์ "พนม" แปลว่าภูเขา "สวาย" แปลว่า "มะม่วง" ในหมู่พนมสวายประกอบด้วภูเขา 3 ลูกติดต่อกันซึ่งมีมีชื่อพื้นเมืองเรียกแตกต่างกันไป ได้แก่ "พนมกรอล" แปลว่า "เขาคอก" มีความสูงประมาณ 150 เมตร "พนมเปร๊า แปลว่า "เขาชาย" มีความสูงประมาณ 220 เมตร "พนมสรัย" แปลว่า "เขาหญิง" มีความสูงประมาณ 210 เมตร รวมกันทั้ง 3 ลูก มีชื่อว่า เขาพนมสวาย ความจริงคือ พนมสวายคือ ภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว จึงมีลานหินกระจายทั่วไป เนื่องจากวนอุทยานพนมสวายได้สำรวจทั่วบริเวณวนอุทยานพบว่า มีต้นกล้วยไม้ป่าอยู่เป็นจำนวนมาก ทางวนอุทยานได้จัดต้นกล้วยไม้ป่า มาติดไว้ตามต้นไม้ต่างๆ ริมถนน ริมลานจอดรถบ้าง วนอุทยานพนมสวาย ถือว่าเป็นวนอุทยานเฉลิมพระเกียรติแห่งหนึ่งในประเทศไทย และเป็นสถานที่แสวงบุญของชาวไทยที่เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เขตอุทยานพนมสวาย เขาพนมสวาย เป็นภูเขาที่โผล่ขึ้นมาโดดๆบนที่ราบทำนาของจังหวัดสุรินทร์ ห่างจากเทือกเขาพนมดงรักประมาณ 50 กิโลเมตร ห่างจากเขาพนมรุ้งประมาณ ๕๐ กิโลเมตร (สามารถมองเห็นพนมรุ้ง และเขากระโดงได้ที่ด้านหลังพระพุทธสุรินทร์มงคล จนเห็นเทือกเขาพนมดงรัก และ เขาพระวิหาร) และอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และวนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย · ดูเพิ่มเติม »

ศรวณี โพธิเทศ

รนิตย์ โพธิเทศ เป็นที่รู้จักในนาม ศรวณี โพธิเทศ (5 สิงหาคม พ.ศ. 2486) ชื่อเล่น นิตย์ เป็นนักร้องลูกกรุงหญิงชาวไทย โดยเป็นนักร้องลูกกรุงหญิงเพียงหนึ่งเดียวที่ได้รับรางวัลเสาอากาศทองคำพระราชทาน 3 ปีซ้อน จากเพลง "น้ำตาหรือจะแก้ปัญหาใจ" (2519), "ตะแลงแกงแทงใจ" (2520) และ "พะวงรัก" (2521) ตามลำดับ และรางวัลอารีรัง (นักร้องยอดเยี่ยม) จากประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และศรวณี โพธิเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์ชาย ดีนาน

ักดิ์ชาย ดีนาน (ชื่อเล่น โป๋ย) เกิดที่จังหวัดสุรินทร์ เป็นผู้กำกับ นักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย เข้าสู่วงการภาพยนตร์ด้วยการเป็นพนักงานประจำตำแหน่งนักเขียนบทภาพยนตร์ให้กับอาร์เอสฟิล์มส์ ร่วมงานกับ อดิเรก วัฏลีลา หรือ “อังเคิล” เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และศักดิ์ชาย ดีนาน · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สยาม ชิดชอบ

นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย และเป็นอดีตประธานคณะทำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และศักดิ์สยาม ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริภุช กุลน้อย

ริภุช กุลน้อย (ชื่อเดิม:รัตติกาล กุลน้อย) เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 (อายุ ปี) เป็นชาวตำบลตระแสง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นนักยกน้ำหนักชาวไทย เจ้าของเหรียญทองจากการแข่งขันซีเกมส์ 2011 ที่ประเทศอินโดนีเซีย และเจ้าของเหรียญทองแดงจากการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ 2014 ที่ประเทศเกาหลีใต้ปัจจุบันลงแข่งขันในรุ่น 58 และ 63 กิโลกรัม ปี พ.ศ. 2559 เธอได้เหรียญทองแดง ลอนดอน 2012 เนื่องจากนักกีฬาชาวยูเครนตรวจพบสารกระตุ้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และศิริภุช กุลน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรักษ์ ควรหา

นายศุภรักษ์ ควรหา อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุรินทร์ พรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และศุภรักษ์ ควรหา · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์คชศึกษา

หมู่บ้านช้าง ตั้งอยู่ที่บ้านตากลาง ตำบลกระโพ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เป็นศูนย์เลี้ยงช้างที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และที่สุดในโลก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และศูนย์คชศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

สกาวใจ พูนสวัสดิ์

กาวใจ พูนสวัสดิ์ เป็นนักแสดง พิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสกาวใจ พูนสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ศรีสุรินทร์

นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอก สุจินดา คราประยูร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมบัติ ศรีสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมุหนายก

มุหนายก คือ อัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน เป็นเจ้ากรมมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ บรรดาศักดิ์ "เจ้าพญาจักรีศรีองครักษ์" คู่กับสมุหกลาโหม อัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร เจ้ากรมกลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ บรรดาศักดิ์ "เจ้าพญามหาเสนาบดีวิริยภักดีบดินทร์" หมวดหมู่:ขุนนางไทย หมวดหมู่:ยศศักดิ์ไทย ตั้งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา โปรดให้แบ่งหัวเมืองออกเป็น ฝ่ายเหนือ และฝ่ายใต้ โดยให้สมุหนายก มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทั้งกิจการฝ่ายทหารและพลเรือน ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน โดยตั้งกระทรวงขึ้นสิบสองกระทรวง มีเสนาบดีประจำทุกกระทรวง กรมมหาดไทยได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น กระทรวงมหาดไทย สมุหนายกจึงถูกลดฐานะจากอัครมหาเสนาบดี ลงเป็นเสนาบดีเท่ากับเสนาบดีอื่น ๆ นับเป็นการสิ้นสุดตำแหน่ง สมุหนายก ในสมัยอยุธยาตอนต้น การปกครองภายในราชธานี มีตำแหน่งเสนาบดีสำคัญสี่ตำแหน่ง เรียกว่า จตุสดมภ์ คือ เสนาบดีกรมเมือง หรือเวียง เสนาบดีกรมวัง เสนาบดีกรมคลัง และเสนาบดี กรมนา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 - 2031) ทรงปรับปรุงวิธีการปกครองส่วนกลาง โดยแบ่งขุนนางและไพร่พล ทั่วพระราชอาณาจักรออกเป็นสองฝ่ายคือ ฝ่ายพลเรือน และฝ่ายทหาร โปรดให้ตั้งกรมมหาดไทย ขึ้นโดยมีสมุหนายก เป็นเจ้ากรม และเป็นหัวหน้าข้าราชการฝ่ายพลเรือน มีหน้าที่ดูแลกิจการฝ่ายพลเรือน ในหัวเมืองต่าง ๆ ทุกเมือง รวมทั้งเสนาบดีจตุสมดภ์ด้วย ทรงตั้งกรมพระกลาโหม มีสมุหพระกลาโหม เป็นเจ้ากรม และหัวหน้าราชการฝ่ายทหาร มีหน้าที่ดูแลกิจการฝ่ายทหาร ในราชธานี และทุกหัวเมือง ทั้งสมุหนายก และสมุหกลาโหม มีฐานะเป็น อัครเสนาบดี และเป็นประธานในคณะลูกขุนฝ่ายทหารและพลเรือน ในยามศึกสงครามทั้งทหารและพลเรือน ต่างต้องทำหน้าที่ในการสู้รบป้องกันบ้านเมืองเช่นเดียวกัน ตำแหน่งสมุหนายก มีบรรดาศักดิ์และราชทินนามเป็น "เจ้าพญาจักรี" ศักดินา 10,000 มีตราพระราชสีห์ และตราจักร เป็นตราประจำตำแหน่ง เมื่อประชุมเสนาบดีทั้งหมด สมุหนายกจะเป็นประธานในการประชุม เพราะมีฐานะเป็นประมุขของเสนาบดี สมุหนายก มีหน้าที่ติดต่อกับประเทศราช ในนามของพระมหากษัตริย์ แต่ไม่มีอำนาจปกครอง ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. 2231 - 2246) มีการแบ่งหัวเมืองในราชอาณาจักร ออกเป็นหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ ให้สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ สมุหกลาโหม ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ ในปลายสมัยอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ. 2275 - 2301) ได้มีการโอนอำนาจการปกครองหัวเมืองภาคใต้ ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนให้แก่ เจ้าพระยาโกษาธิบดี เสนาบดีพระคลัง ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ โปรดเกล้า ฯ ให้โอนอำนาจการปกครองหัวเมืองภาคใต้ คืนให้สมุหกลาโหม ตั้งแต่หัวเมืองชายทะเลแปดเมือง รวมทั้งเมืองสมุทรสงคราม ซึ่งเดิมขึ้นกรมมหาดไทย รวมเป็นเก้าเมือง ให้เจ้าพระยาพระคลัง ปกครองโดยแบ่งหัวเมืองภาคใต้ฝ่ายตะวันตก ซึ่งขึ้นกับเจ้าพระยาพระคลัง สิบเก้าเมือง ขึ้นกับสมุหนายก หนึ่งเมืองคือ เพชรบุรี รวมยี่สิบเมือง มาขึ้นกับสมุหกลาโหม ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมุหนายก · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์น้ำ

ัตว์น้ำ (aquatic animal) หมายถึง สัตว์ที่อาศัยในน้ำหรือมีวงจรชีวิตส่วนหนึ่งอยู่ในน้ำหรืออาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ำท่วมถึง เช่น ปลา กุ้ง ปู แมงดาทะเล หอย เต่า ตะพาบน้ำ จระเข้ รวมทั้งไข่ของสัตว์น้ำนั้น สัตว์น้ำจำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม ปลิงทะเล ฟองน้ำ หินปะการัง กัลปังหา และสาหร่ายทะเล ทั้งนี้ รวมทั้งซากหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของสัตว์น้ำเหล่านั้น และหมายความรวมถึงพันธุ์ไม้น้ำ ตามที่ได้มีพระราชกฤษฎีการะบุชื่อ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสัตว์น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (National Office of Buddhism) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานที่ไม่สังกัดกระทรวง ทบวงใด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินงานสนองงานคณะสงฆ์และรัฐโดยการทำนุบำรุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนาสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุนส่งเสริม พัฒนาบุคลากรทางศาสน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ. (Office of the National Economics and Social Development Board) หรือชื่อเดิมว่า สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ หรือ สภาพัฒน์ เป็นหน่วยงานราชการ ภายในส่วนสังกัดของสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สิงห์มณี แก้วสัมฤทธิ์

งห์มณี แก้วสัมฤทธิ์ เกิดวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2526 เป็นนักมวยไทยชาวไทย ซึ่งเคยได้รับการมองว่าเป็นเพียงนักมวยนอกสายตาของการแข่งขันรายการมวยรอบอีซูซุ ครั้งที่ 22 แต่แล้ว เขาก็สามารถเป็นฝ่ายชนะซุปเปอร์บอน ลูกเจ้าแม่สายวารี และครองแชมป์รายการดังกล่าวได้เป็นผลสำเร็จอย่างเหนือความคาดหมาย ทำให้เขาได้มีโอกาสเข้าแข่งขันชิงชัยกับสุดสาคร ส.กลิ่นมี ในรายการอีซูซุคัพ ซูเปอร์ไฟต์ ที่จัดขึ้นในวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสิงห์มณี แก้วสัมฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สินธุ์เพชร กรวยทอง

นธุ์เพชร กรวยทอง เป็นนักยกน้ำหนักชาวไทย เจ้าของเหรียญทองแดงจากการแข่งขันโอลิมปิก 2016 ที่ประเทศบราซิล.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสินธุ์เพชร กรวยทอง · ดูเพิ่มเติม »

สิโรจน์ ฉัตรทอง

รจน์ ฉัตรทอง (เกิด: 8 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ที่จังหวัดสุรินทร์; ชื่อเล่น: ปีโป้) เป็นนักฟุตบอลชาวไทย เป็นคนไทยปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลประจวบในไทยลีก ในตำแหน่งกองหน้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสิโรจน์ ฉัตรทอง · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย จันทิมาธร

รชัย จันทิมาธร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หงา คาราวาน เป็นนักร้องนำและหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงคาราวาน สุรชัยเป็นนักแต่งเพลงชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของวงการเพลงไทย ผู้คนในวงการเพลงเพื่อชีวิตมักเรียกเขาอย่างนับถือว่า น้าหงา หรือ พี่หงา และได้รับการยกย่องให้เป็น อาจารย์ใหญ่แห่งวงการเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสุรชัย จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันรัชต์ภาคย์

ันรัชต์ภาคย์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และสถาบันรัชต์ภาคย์ · ดูเพิ่มเติม »

หมอลำ

หมอแคนกำลังบรรเลงเพลงให้กับหมอลำ การประชันกันของหมอลำซิ่งฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย หมอลำ (อีสาน: หมอลำ)(ลาว:ໝໍລຳ) เป็นรูปแบบของเพลงลาวโบราณในประเทศลาวและภาคอีสานของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายอย่าง ตามลักษณะทำนองของการลำ เช่น ลำเต้ย ลำพื้น ลำกลอน ลำเรื่อง ลำเรื่องต่อกลอน ลำเพลิน ลำซิ่ง รวมทั้ง ลำตัดในภาคกลางก็จัดได้ว่าเป็นหมอลำประเภทหนึ่ง คำว่า "หมอลำ" มาจากคำ 2 คำมารวมกัน ได้แก่ "หมอ" หมายถึง ผู้มีความชำนาญ และ "ลำ" หมายถึง การบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองอันไพเราะ ดังนั้น หมอลำ จึงหมายถึง ผู้ที่มีความชำนาญในการบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองเพลง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และหมอลำ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) เป็นอดีตข้าราชการในกระทรวงมหาดไทยสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นผู้แต่งหนังสือพงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาเรื่องราวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพระบาง

หลวงพระบาง (ຫຼວງພຣະບາງ) เป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันบริเวณนั้นเรียกว่า ปากคาน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่สี ฉนฺทสิริ

หลวงปู่สี ฉนฺทสิริ ท่านเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2392 ตรงกับปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านเป็นพระลูกวัดในสังกัด วัดเขาถ้ำบุญนาค ซึ่งขณะนั้น หลวงพ่อมหาสมบูรณ์ ปริสัมปุณโน เป็นเจ้าอาวาสได้นิมนต์หลวงปู่มาจำวัดเพื่อให้ช่วยสร้างวั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และหลวงปู่สี ฉนฺทสิริ · ดูเพิ่มเติม »

อยุธยา

อยุธยา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อักษร

แผนที่โลกแบ่งตามอักษรที่ใช้ อักษร คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายสำหรับใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาหนึ่ง ๆ โดยเรียกรวมทั้งชุดหรือทั้งระบบ โดยทั่วไป อักษรแต่ละตัว มักจะใช้แทนหน่วยเสียงหนึ่งๆ ซึ่งอาจเป็นเสียงสระ พยัญชนะ หรือหน่วยเสียงปลีกย่อยอื่นๆ เช่น อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรมอญ โดยทั่วไปเรียกกันว่า "ตัวหนังสือ" อย่างไรก็ตาม สัญลักษณ์แทนเสียงในบางภาษาอาจใช้แทนเสียงของพยางค์หรือคำ ก็ได้ เช่น อักษรจีน หรือตัวหนังสือจีน (นักวิชาการบางสำนักไม่ถือว่าตัวหนังสือจีน เป็น "อักษร" ตามนิยามของคำว่า alphabet ในภาษาอังกฤษ แต่เรียกว่า ideogram คือสัญลักษณ์แทนคำ หรือหน่วยคำ) แบบแผนว่าด้วยตัวหนังสือนั้น ในตำราภาษาไทย เรียกว่า อักขรวิธี ซึ่งว่าด้วยการเขียน การอ่าน การประสมอักษร และการใช้อักษรอย่างถูกต้อง อักษรอาจใช้สำหรับภาษาหนึ่ง ๆ หรือใช้กับหลายภาษาก็ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมักจะมีความเข้าใจสับสน ระหว่าง คำว่า อักษร และภาษา อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน ใช้เขียนภาษาต่างๆ หลายภาษาในยุโรป โดยมีการดัดแปลงเล็กๆ น้อยๆ เพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษาของตนได้ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน เป็นต้น รวมทั้งภาษาในภูมิภาคอื่นๆ เช่น ภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาเวียดนาม (ดัดแปลงตัวอักษร) เป็นต้น มีหลายประเทศใช้อักษรที่แตกต่างกันตามเวลาเช่น อักษรในสมัยโบราณ เมื่อเวลาผ่านไป ก็เปลี่ยนรูปร่างไปเป็นอักษรปัจจุบัน หรือเปลี่ยนไปใช้อักษรชนิดอื่นโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอักษร · ดูเพิ่มเติม »

อัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล

ันตำรวจโทหญิง แพทย์หญิงอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล หรือ หมอแอร์ อดีตรองโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โฆษกศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และแพทย์ประจำกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลตำรวจ เป็นนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

อัตตะปือ

อัตตะปือ (ອັດຕະປື) เป็นเมืองเอกของแขวงอัตตะปือ ประเทศลาว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอัตตะปือ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอิศานปุระ

อาณาจักรอิศานปุระ หรือ อาณาจักรเจนละ เป็นอาณาจักรโบราณ เจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ปัจจุบันคือภาคอีสานตอนล่างของประเทศไทย ตอนบนของประเทศกัมพูชา และตอนล่างของประเทศลาว สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอิศานวรมัน ผู้สืบเชื้อสายมาจากกษัตริย์เจนละ คือพระเจ้ามเหนทระวรมัน หรือพระเจ้าจิตรเสน ผู้ครองแคว้นเจนละ ที่ทรงครอบครองดินแดนในพื้นที่อีสานตอนใต้และลาวทางตอนใต้แถบวัดภู หลังจากที่ได้รับการสิบทอดอำนาจจากพระเจ้าจิตรเสน พระเจ้าอิศานวรมันเสด็จขึ้นครองราชย์ราว พ.ศ. 1153 - พ.ศ. 1198 ได้ทำสงครามกับอาณาจักรฟูนัน ที่ยึดของพื้นที่ทางตอนใต้ ในที่สุดก็ได้ควบรวมเป็นอาณาจักรเดียวกัน เป็นการสูญสิ้นอาณาจักรฟูนัน และได้สถาปนาศูนย์กลางการปกครองขึ้นใหม่ ชื่อว่า อิศานปุระ เมืองอิศานปุระ ที่พระเจ้าอิศานวรมันสถาปนาขึ้น นักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อว่า ตั้งอยู่บริเวณกลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (สมโบไพรกุก) ในเขตจังหวัดกัมปงธม ในประเทศกัมพูชา ซึ่งปรากฏหลักฐานปราสาทอิฐ ศาสนสถานในศาสนาฮินดูจำนวนมาก หลังจากรัชสมัยพระเจ้าอิศานวรมัน มีกษัตริย์ปกครองอีก 2 พระองค์ คือพระเจ้าภววรมันที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 หลังจากนั้นบ้านเมืองเกิดความแตกแยก อาณาจักรถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน กลายเป็น เจนละบก และ เจนละน้ำ ทำให้เมืองอีศานปุระถูกลดความสำคัญลง และต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เชื้อสายของพระเจ้าอิศานวรมัน ได้รวบรวมทั้งสอง และสถาปนาอาณาจักรขึ้นใหม่ ชื่อว่า ยโศธรปุระ หรือเมืองพระนคร บริเวณจังหวัดเสียมราฐ ประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน กลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (อิศานปุระ) เป็นกลุ่มปราสาทโบราณมีอายุมากกว่า 1390 ปี มีปราสาทที่ปรากฏให้เห็นเป็นหลักฐานในปัจจุบันมากกว่า 170 ที่ โดยมีปราสาทสำคัญอยู่ 3 กลุ่มหลักในบริเวณราชธานีอิศานปุระ ซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะให้นักท่องเที่ยวสามารถเยี่ยมชมได้ และเนื่องจากมีปราสาทมากมายนับร้อยแห่ง จึงทำให้นักโบราณคดีชาวตะวันตกที่เข้ามาทำการสำรวจในพื้นที่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้จัดทำระบบบัญชีชื่อปราสาทต่างๆขึ้นและยังคงใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน ทำให้ปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์มี ชื่อเป็นทางการ เป็นตัวอักษรและตัวเลข แทนชื่อที่ชาวบ้านเรียก โดยปราสาทต่าง ๆ ในกลุ่มเหนือ จะมีชื่อขึ้นต้นว่า N (North) ปราสาทกลุ่มกลางมีชื่อขึ้นต้นว่า C (Central) และปราสาทกลุ่มใต้ มีชื่อขึ้นต้นว่า S (South) แล้วตามด้วยตัวเลขที่แสดงถึงความสำคัญ หรือตามลำดับการเรียงตัวที่ตั้งของปราสาท เช่น N1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มเหนือ S1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มใต้ คือปราสาทเนียกปวน และ C1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มกลาง คือปราสาทตาว เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอาณาจักรอิศานปุระ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบัวเชด

ัวเชด เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอบัวเชด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชุมพลบุรี

มพลบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอชุมพลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย

ัคฆภูมิพิสัย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดมหาสารคาม สัญลักษณ์ของอำเภอคือ เสือ ซึ่งมาจากชื่ออำเภอที่นิยมเรียกย่อ ๆ ว่า "อำเภอพยัคฆ์" มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 6 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 5 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิมาย

มาย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอพิมาย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพนมดงรัก

นมดงรัก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอพนมดงรัก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกาบเชิง

กาบเชิง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอกาบเชิง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรัตนบุรี

รัตนบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ มีเจ้าเมืองคนแรกคือ หลวงศรีนครเตาท้าวเธอ (เชียงสีหรือตากะอาม)ซึ่งเป็นชาวกูยและเมืองรัตนบุรียังมีประวัติศาสตร์และประเพณียาวนานกว่า 200 ปี อำเภอรัตนบุรี ถือว่าเป็นอำเภอเดียวในจังหวัดสุรินทร์ ที่ประชากรส่วนมากพูดภาษาลาว มากกว่าภาษาเขมรหรือส่วย ซึ่งชาติพันธุ์ลาวได้อพยพเข้ามาอยู่ในแถบเมืองรัตนบุรีเมื่อราวสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่3.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอรัตนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอราษีไศล

ราษีไศล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอราษีไศล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลำดวน

ลำดวน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอลำดวน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีณรงค์

รีณรงค์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอศรีณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศีขรภูมิ

ีขรภูมิ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอศีขรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสังขละบุรี

ังขละบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอสังขละบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสังขะ

ังขะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอสังขะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสำโรงทาบ

ำโรงทาบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอสำโรงทาบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุวรรณภูมิ

อำเภอสุวรรณภูมิ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัด ห่างจากตัวจังหวัดร้อยเอ็ดประมาณ 52 กิโลเมตร มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดร้อยเอ็ด เดิม ชื่อเมืองท่งศรีภูมิ โดย ก่อตั้งเมืองใน ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสนม

นม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ เจ้าเมืองคนแรกคือ พระยาภักดีพัฒยากร (ท้าวอุทา) บุตรพระศรีณครชัย เจ้าเมืองรัตนบุรี มีประวัติศาสตร์และประเพณียาวนานกว่า 1,200 ปี โดยตั้งแต่สมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยมีปราสาทเก่าอยู่ที่วัดธาตุบ้านสนม ปัจจุบันถูกรื้อถอนเพื่อสร้างพระอุโบสถ แต่ก็ยังได้ขึ้นทะเบียนในกรมศิลปากรอยู่ มีชนพื้นเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวอีสาน และ ส่วย โรงเรียนประจำอำเภอคือโรงเรียนสนมวิทยาคาร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอสนม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจอมพระ

อมพระ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอจอมพระ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าตูม

ท่าตูม เป็นอำเภอหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางตอนบนของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอท่าตูม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอขุขันธ์

ันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งที่ขึ้นกับจังหวัดศรีสะเกษ เป็นอำเภอเก่าแก่ที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานและเป็นที่ตั้งดั้งเดิมของ “เมืองขุขันธ์” ในอดีตมีอาณาเขตกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ของจังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน และเขตอำเภอเดชอุดม อำเภอบุณฑริก ซึ่งรวมพื้นที่ของอำเภอน้ำยืน อำเภอนาจะหลวย อำเภอทุ่งศรีอุดม อำเภอน้ำขุ่น และอำเภอนาเยีย  จังหวัดอุบลราชธานีในปัจจุบันนี้ด้วย และยังลงไปถึงดินแดนในประเทศกัมพูชาปัจจุบัน ซึ่งมีทั้งหมด 3 เมืองที่ขึ้นกับเมืองขุขันธ์ในอดีต ได้แก่ เมืองมโนไพร เมืองอุทุมพรพิไสย(บ้านกันตวด) และเมืองกันทรรักษ์(ตำบลห้วยลำแสนไพรอาบาล).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอครบุรี

รบุรี เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนใต้ของจังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากตัวจังหวัดนครราชสีมาประมาณ 58 กิโลเมตร พื้นที่ทางตอนใต้ของครบุรีอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน ที่ได้รับการประกาศให้เป็น"มรดกโลกทางธรรมชาติ" จากองค์การยูเนสโก ภายใต้ชื่อกลุ่ม ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ และยังเป็นพื้นที่ต้นน้ำสายสำคัญของ แม่น้ำมูล ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอครบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปราสาท

ปราสาท เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนางรอง

อำเภอนางรอง นางรอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอนางรอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโนนนารายณ์

นนนารายณ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอโนนนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองบุรีรัมย์

มืองบุรีรัมย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุรินทร์

มืองสุรินทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอเมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขวาสินรินทร์

วาสินรินทร์ ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอำเภอเขวาสินรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติ

อิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติ (ชื่อเล่น: คิวแชมเปี้ยนส์. ตามรอยมวยใหญ่. น็อกเอาต์ฉบับมวยสยาม. ปีที่ 24 ฉบับที่ 2044. วันที่ 19-25 ธันวาคม 2555. ISSN 15135438. หน้า 14; 6 ตุลาคม พ.ศ. 2532 —) เป็นนักมวยไทยชาวไทยที่มีชื่อเสียงของวงการน็อกเอาต์ฉบับมวยสยาม ปีที่ 23 ฉบับที่ 1945.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

องศา (มุม)

องศา (degree) หรือในชื่อเต็มคือ ดีกรีของส่วนโค้ง (degree of arc, arcdegree) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบสองมิติ หนึ่งองศา แทนการกวาดมุมรอบจุดศูนย์กลางของวงกลมไปได้ 1 ส่วนใน 360 ส่วน และเมื่อมุมนั้นอ้างอิงกับเส้นเมอริเดียน องศาจะแสดงให้เห็นถึงตำแหน่งต่างๆ บนวงกลมใหญ่ของทรงกลม อย่างที่มีการใช้อ้างอิงตำแหน่งบนโลก ดาวอังคาร หรือทรงกลมท้องฟ้า เป็นต้น สัญลักษณ์วงกลมเล็ก ° ใช้แทนหน่วยองศาในการเขียน และเป็นหน่วยเดียวที่ไม่ต้องเว้นวรรคระหว่างตัวเลขกับสัญลักษณ์ เช่น 15° แทนมุมขนาด 15 อง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และองศา (มุม) · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

อนุศาสนาจารย์

อนุศาสนาจารย์ (Chaplain) หมายถึง อาจารย์ผู้อบรมศีลธรรมของหน่วยราชการ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอนุศาสนาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ ศรีชาหลวง

อนุสรณ์ ศรีชาหลวง เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ของสโมสรสมุทรสาคร เอฟซี ในระดับดิวิชั่น 2 โดยเล่นในตำแหน่งกองหน้า และเคยติดทีมชาติไทยชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี ชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียที่ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอนุสรณ์ ศรีชาหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถาน

อนุสรณ์สถาน อนุสรณ์สถานหรืออนุสาวรีย์ คือสถานที่ หรืออาคาร ซึ่งก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ ระลึกถึงเหตุการณ์ หรือคุณความดีของบุคคล ในอดีต อนุสรณ์สถาน มักจะก่อสร้าง เป็น อาคารซึ่งมักใช้เป็นอาคารอเนกประสงค์ เช่นอาจมี พิพิธภัณฑ์ ห้องประชุม ลานอเนกประสงค์ ห้องจัดนิทรรศการ ส่วนประกอบพิธี หรือบริเวณบรรจุอัฐิ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และอนุสรณ์สถาน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ลขาธิการสถาบันอภิวุฒิโยธิน_วิทยาลัยเทคโนโลยีรัชภาคย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (Assistant professor) ใช้อักษรย่อว่า ผ. เป็นตำแหน่งทางวิชาการที่ใช้ในหลายประเท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และผู้ช่วยศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิขแมร์

ักรวรรดิขแมร์ หรือ อาณาจักรเขมร หรือบางแหล่งเรียกว่า อาณาจักรขอม เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวียดนามในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับอาณาจักรสุโขทัย และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่างๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู พุทธศาสนามหายาน และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจักรวรรดิขแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยภูมิ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขุขันธ์

มืองขุขันธ์ ในอดีตมีอาณาเขตกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ที่เป็นอำเภอต่าง ๆ หลายอำเภอของจังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน โดยก่อนปี.ศ 2481 ใช้นามว่า อำเภอห้วยเหนือ ขึ้นต่อการปกครองของเมืองขุขันธ์ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดขุขันธ์ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครพนม

ังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ เป็นเมืองหนึ่งของแขวงจำปาศักดิ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลศักราช

ลศักราช (จ.ศ.; Culāsakaraj; ကောဇာသက္ကရာဇ်; ចុល្លសករាជ) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้นเป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะประสูติ สันนิษฐานว่าน่าจะตั้งขึ้นในปีที่กษัตริย์ปยูขึ้นครองราชย์ และใช้สืบต่อมาจนถึงอาณาจักรพุกามAung-Thwin 2005: 35 เมื่อสมัยอาณาจักรอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมาจึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และจุลศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

ธีรศิลป์ แดงดา

ีรศิลป์ แดงดา เกิดวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2531 เป็นนักเตะระดับ กองหน้าทีมชาติไทย เคยลงเล่นกับทีมเอสซีจีเมืองทอง และเคยเล่น ให้กับ อัลเมเรีย ในศึกลาลีก่าของสเปน ปัจจุบันเล่นให้กับ ซานเฟสเซ ฮิโรชิม่า ใน สัญญายืมตัวจาก เอสซีจีเมืองทอง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และธีรศิลป์ แดงดา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมิตรภาพ

นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และถนนมิตรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ทัชชกร ยีรัมย์

ทัชชกร ยีรัมย์ มีชื่อจริงโดยกำเนิดว่า วรวิทย์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พนม (นามสกุลเดิม) เกิดวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และทัชชกร ยีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 สายกาฬสินธุ์–ช่องจอม เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง-ตอนล่าง โดยเริ่มจากเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยผ่านอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ อำเภอจังหาร อำเภอเมืองร้อยเอ็ด อำเภอจตุรพักตรพิมาน และอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด และ อำเภอท่าตูม อำเภอจอมพระ อำเถอเขวาสินรินทร์ อำเภอเมืองสุรินทร์ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ แล้วไปสิ้นสุดที่ด่านพรมแดนช่องจอม อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ชายแดนประเทศกัมพู.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาพนมดงรัก

ทิวเขาพนมดงรัก (เขมร: ជួរភ្នំដងរែក, Chuor Phnom Dângrêk; ทิวเขาพนมดงรัก,, ลาว: Sayphou Damlek) มีความหมายว่า "ภูเขาไม้คาน" ในภาษาเขมร เป็นภูเขาที่ทอดตัวในแนวตะวันออก-ตะวันออก เป็นพรมแดนกั้นระหว่าง ประเทศไทย และประเทศกัมพู.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และทิวเขาพนมดงรัก · ดูเพิ่มเติม »

ทิศใต้

วงกลมแสดงทิศ (compass rose) ระบุทิศหลักและทิศรองไว้มากมาย โดยทิศใต้ (S) อยู่ด้านล่าง ทิศใต้ หรือ ทิศทักษิณ เป็นหนึ่งในทิศหลักทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับทิศเหนือ ขวามือของทิศตะวันออก และซ้ายมือของทิศตะวันตก โดยมากทิศใต้จะกำหนดให้อยู่ด้านล่างของแผนที่ อาจเขียนย่อด้วยอักษร ต หรืออักษร S ทิศใต้จริงเป็นทิศทางที่แกนหมุนของโลกชี้ไป ตรงกับขั้วโลกใต้ซึ่งอยู่ในทวีปแอนตาร์กติกา หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ หมวดหมู่:การกำหนดทิศทาง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และทิศใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทุ่งกุลาร้องไห้

ทุ่งกุลาร้องไห้ ทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นที่ราบขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 2 ล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 13 อำเภอ 5 จังหวัด ได้แก่ อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม; อำเภอชุมพลบุรีและอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์; อำเภอปทุมรัตต์ อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด; อำเภอศิลาลาด อำเภอราษีไศล และอำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ; อำเภอค้อวังและอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร การที่ได้ชื่อว่าทุ่งกุลาร้องไห้ มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่า ชนเผ่ากุลาซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยจากเมืองเมาะตะมะ ประเทศพม่า ได้เดินทางมาค้าขายผ่านทุ่งแห่งนี้ ปกติแล้วชนเผ่ากุลาเป็นชนเผ่าที่มีความอดทนสูงมาก สู้งาน สู้แดด ลม ฝน แต่เมื่อได้เดินทางผ่านทุ่งแห่งนี้ ที่มีพื้นที่กว้างขวางเหลือประมาณ ต้องใช้เวลาเดินทางหลายวัน ไม่พบหมู่บ้านใด ๆ เลย น้ำก็ไม่มีดื่ม ต้นไม้ก็ไม่มีที่จะให้ร่มเงา มีแต่ทุ่งหญ้าเต็มไปหมด พื้นดินก็เป็นทราย เดินทางยากลำบากเหมือนอยู่กลางทะเลทราย ทำให้คนพวกนี้ถึงกับร้องไห้ ดังนั้น จึงได้ชื่อว่า "ทุ่งกุลาร้องไห้" ในอดีต ทุ่งกุลาร้องไห้ในฤดูแล้ง พื้นที่ส่วนใหญ่จะแห้งแล้งมาก ส่วนในฤดูฝนน้ำจะท่วมทุกปี ใต้พื้นดินลงไปเป็นน้ำเค็ม ไม่สามารถทำการเกษตรได้ หลังจากที่ได้มีการพัฒนาที่ดินแล้ว ทุ่งกุลาร้องไห้ได้กลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่สำคัญของประเทศ และกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่มีชื่อเสียงของไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และทุ่งกุลาร้องไห้ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุรินทร์ภักดี

ท่าอากาศยานสุรินทร์ภักดี หรือ สนามบินสุรินทร์ภักดี (Surin Bhakdi Airport) ตั้งอยู่ที่ หมู่ 7 ถนนคชสาร ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 2 กิโลเมตร เดิมเป็นสนามบินของกองทัพบก ต่อมาได้มอบหมายให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ เป็นผู้ดำเนินการ แต่เนื่องจากกฎหมายว่าด้วยการกระจายอำนาจไม่ได้อนุญาตให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเกี่ยวกับกิจการการบิน จึงได้มอบหมายให้กรมการบินพลเรือน เป็นหน่วยงานกำกับดูแล และองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ เป็นหน่วยงานสนับสนุน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และท่าอากาศยานสุรินทร์ภักดี · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวหอมมะลิ

้าวสารข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิ (Thai jasmine rice) เป็นสายพันธุ์ข้าวที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย มีลักษณะกลิ่นหอมคล้ายใบเตย เป็นพันธุ์ข้าวที่ทำให้ข้าวไทยเป็นสินค้าส่งออกที่รู้จักไปทั่วโลก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และข้าวหอมมะลิ · ดูเพิ่มเติม »

ดิน

ั้นดินที่อยู่ใต้รากของพืช ดิน หมายถึง วัตถุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการสลายตัวทางกายภาพ และทางเคมีของหินและแร่ รวมกับสารอินทรีย์ ที่เกิดจากการสลายตัวของซากพืชซากสัตว์เป็นผิวชั้นบนที่หุ้มห่อโลก ซึ่งดินจะมีลักษณะและคุณสมบัติต่างกันไปในที่ต่างๆ ตามสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ วัตถุต้นกำเนิด สิ่งมีชีวิตและระยะเวลาการสร้างตัวของดิน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และดิน · ดูเพิ่มเติม »

ดินเหนียว

นเหนียว เป็นดินเนื้อละเอียด ซึ่งมีคุณสมบัติ ทึบน้ำ เหนียว เมื่อให้น้ำในปริมาตรที่เหมาะสม จะสามารถนำมาปั้นเป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้ เมื่อนำไปเผาจะแปรสภาพเป็นวัตถุแข็ง ไม่เปลี่ยนรูป.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และดินเหนียว · ดูเพิ่มเติม »

คมภิญญ์ เข็มกำเนิด

มภิญญ์ เข็มกำเนิด คมภิญญ์ เข็มกำเนิด (17 กันยายน พ.ศ. 2508 —) ผู้กำกับภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง ก้านกล้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และคมภิญญ์ เข็มกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

ครูมานิตย์ สังข์พุ่ม

นายครูมานิตย์ สังข์พุ่ม (ชื่อเดิม มานิตย์ สังข์พุ่ม) รองโฆษกพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ เขตเลือกตั้งจังหวัดสุรินทร์ เขต5 สังกัดพรรคเพื่อไทย เขตเลือกตั้งที่ 5 ได้แก่พื้นที่ อำเภอจอมพระ, อำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะ ตำบลหนองบัว ตำบลคาละแมะ ตำบลเขวาใหญ่ ตำบลตรึม ตำบลหนองขวาว ตำบลนารุ่ง ตำบลยาง และ ตำบลกุดหวาย) และ อำเภอสำโรงทาบ (ยกเว้น ตำบลกระออม).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และครูมานิตย์ สังข์พุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ความเกี่ยวดอง

ในทางนิติศาสตร์และมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ความเกี่ยวดอง หรือ สัมพรรคภาพ หมายถึงความเป็นญาติที่เกิดจากการสมรส ซึ่งแยกแยะออกจากการร่วมสายโลหิต เป็นความสัมพันธ์ที่ทำให้ญาติของคู่สมรสทั้งสองฝ่าย "เกี่ยวดองกัน" คือเป็นเครือญาติซึ่งกันและกัน ในภาษาไทย ญาติฝ่ายชายจะเรียกคู่สมรสฝ่ายหญิงว่า สะใภ้ เช่น ลูกสะใภ้ พี่สะใภ้ ป้าสะใภ้ ฯลฯ และญาติฝ่ายหญิงจะเรียกคู่สมรสฝ่ายชายว่า เขย เช่น ลูกเขย น้องเขย น้าเขย ฯลฯ ส่วนในภาษาอังกฤษจะเติมคำว่า -in-law ต่อท้ายระดับความเป็นญาติเช่น daughter-in-law หมายถึงลูกสะใภ้ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และความเกี่ยวดอง · ดูเพิ่มเติม »

คุณากร ปรีชาชนะชัย

ณากร ปรีชาชนะชัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ เขต 3 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และคุณากร ปรีชาชนะชัย · ดูเพิ่มเติม »

คติชนวิทยา

รมวิเศษใช้เป็นพาหนะเดินทางได้ตามใจหมาย Tōshō-gū ประเทศญี่ปุ่น คติชนวิทยา (folkloristics) เป็นสาขาหนึ่งที่ศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมของมนุษย์ที่มีการถ่ายทอดสืบต่อกันมา ทั้งในสังคมชนบทและในสังคมเมือง ไม่ว่าจะเป็นตำนาน นิทาน นิยายประจำถิ่น เพลง ปริศนาคำทาย สำนวนภาษิต คำพังเพย การละเล่น การแสดง เครื่องมือเครื่องใช้ อาหารการกิน ยาพื้นบ้าน ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม สำหรับผู้ที่ศึกษาความรู้ด้านคติชนวิทยา จะเรียกว่า "นักคติชนวิทยา" (folklorist).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และคติชนวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลสวาย

ตำบลสวาย สามารถหมายถึงตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ 2 แห่งในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และตำบลสวาย · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลแก

องค์การบริหารส่วนตำบลแก ได้รับการเปลี่ยนแปลง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม 2539 ยกฐานะจากสภาตำบลเป็น องค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และตำบลแก · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลโพนโก

ตำบลโพนโก เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และตำบลโพนโก · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2011

กีฬาซีเกมส์ 2011 (พ.ศ. 2554) เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 26 จัดขึ้นในเมืองปาเลมบัง และกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นซีเกมส์ที่จัดในประเทศนี้เป็นครั้งที่ 4 ถัดจากซีเกมส์ครั้งที่ 10 (1979), ครั้งที่ 15 (1987) และ ครั้งที่ 19 (1997) และเป็นครั้งที่ 3 ที่เมืองเจ้าภาพหลักไม่ได้เป็นเมืองหลวงของประเทศ การแข่งขันครั้งนี้เริ่มแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ไปจนถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 รวม 11 วัน ประกอบด้วยกีฬา 44 ชนิด และมีสัญลักษณ์เป็นรูปครุฑ สัตว์ประจำชาติอินโดนีเซีย อันสื่อถึงภูมิประเทศของอินโดนีเซียที่เป็นเกาะที่มีภูเขาสูง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และซีเกมส์ 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ปกรณ์ มุ่งเจริญพร

ปกรณ์ มุ่งเจริญพร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ เขต 1 สังกัดพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปกรณ์ มุ่งเจริญพร · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ แดงดา

ันจ่าอากาศเอก ประสิทธิ์ แดงดา หรือ โค้ชสิทธิ์ เป็นทั้งอดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนสังกัดสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด รวมถึงเป็นบิดาของสองนักฟุตบอลทีมชาติไทย ซึ่งได้แก่ ธีรศิลป์ แดงดา และธนีกาญจน์ แดง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประสิทธิ์ แดงดา · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ ไชยศรีษะ

ตำรวจ ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า จ่าประสิทธิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นหนึ่งในแนวร่วมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือกลุ่มคนเสื้อแดง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประสิทธิ์ ไชยศรีษะ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิล

ราซิล (Brazil; Brasil) หรือชื่อทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล (Federal Republic of Brazil; República Federativa do Brasil) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่างตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และ มหาสมุทรแอตแลนติก มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอุรุกวัย อาร์เจนตินา ปารากวัย โบลิเวีย เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา กายอานา ซูรินาม และแคว้นเฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส (ติดกับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ ยกเว้นเอกวาดอร์และชิลี) ชื่อ "บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนำไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้ของมัน บราซิลเป็นดินแดนแห่งเกษตรกรรมและป่าเขตร้อน การที่บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติที่มากมายและมีแรงงานเป็นจำนวนมาก ทำให้เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ (สูงเป็นอันดับที่ 10 ของโลก) และเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในปัจจุบัน บราซิลใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาทางการ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาท

ปราสาทคาร์คาโซนในฝรั่งเศส ปราสาท คือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกซึ่งเป็นสัญลักษณ์หลักของสมัยกลาง ความหมายของคำว่าปราสาทยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการถึงความหมายที่แท้จริง แต่โดยทั่วไปแล้วปราสาทมีความหมายต่างจากคำว่า “ป้อม” (fort) และ “ป้อมปราการ” (fortress) ตรงที่ปราสาทเป็นที่ประทับหรือที่พำนักของพระมหากษัตริย์หรือขุนนางในบริเวณที่เป็นจุดที่ต้องมีการป้องกันจากข้าศึก สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่มาของปราสาทคือป้อมโรมัน (Roman fort) และ ป้อมเนิน (Hill fort) ที่สร้างกันทั่วยุโรปที่มาจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในสมัยจักรวรรดิคาโรลินเจียน แต่การวิวัฒนาการของปืนใหญ่และดินปืนในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นการเปลี่ยนลักษณะการสงครามในยุโรปและทำให้สมรรถภาพของปราสาทในการใช้เป็นสิ่งป้องกันการโจมตีจากข้าศึกลดลง และทำให้การสร้างป้อมเป็นที่นิยมกันมากขึ้น สิ่งก่อสร้างในรัสเซียที่เรียกว่า “เคร็มลิน” (Kremlin) หรือในญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ชิโร” (Shiro) ก็ถือว่าเป็นปราสาท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทช่างปี่

ปราสาทช่างปี่ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทช่างปี่ เป็นอโรคยศาล หรืออโรคยศาลา หรือโรงพยาบาล หนึ่งในจำนวน 102 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมโบราณ โปรดให้สร้างขึ้น ตั้งอยู่ที่บ้านช่างปี่ ตำบลช่างปี่ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 18 มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยนผืนผ้า ก่อด้วยศิลาแลง และหินทราย ตั้งแต่ปี 2553 กรมศิลปากร ได้ทำการบูรณะปราสาทช่างปี่ พบโปราณวัตถุจำนวนมา ส่วนหนึ่งนำไปเก็บรักษาไว้ (แต่ยังไม่ได้จัดแสดง: พฤษภาคม 2555) ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ อีกส่วนหนึ่งเก็บรักษาไว้ที่วัดบ้านช่างปี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทช่างปี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านพลวง

ปราสาทบ้านพลวง ตำบลบ้านพลวง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทบ้านพลวง ตั้งอยู่ที่บ้านพลวง ตำบลบ้านพลวง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นศาสนสถานขนาดเล็ก หรือสรุก จำนวน 1 หลัง หันหน้าไปทางทิศตะวันออก สร้างตามแบบศิลปะแบบบาปวนสร้างด้วยหินทรายสีขาวบนฐานศิลาแลง ล้อมรอบด้วยคูน้ำรูปตัวยู องค์ปราสาทมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 4 x 4 เมตร ฐานศิลาแลงมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขนาดประมาณ 8 x 23 เมตร สันนิษฐานกันว่า ด้วยฐานศิลาแลงขนาดใหญ่เพียงนี้ จึงมีความเป็นไปได้ที่จะมีความตั้งใจสร้างให้มีปราสาท 3 องค์ บนฐานเดียวกัน แต่คงมีเหตุการณ์สำคัญ เช่น สงคราม โรคระบาด ความแห้งแล้ง จึงส่งผลให้การสร้างปราสาทชะงักไป ปราสาทมีประตูทางเข้าเพียงทางเดียว อีกทางด้านเป็นประตูหลอก ทับหลังด้านตะวันออกและด้านใต้สลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ทับหลังด้านทิศเหนือสลักเป็นภาพพระศิวะปราบนาคกาลิยะ ส่วนทับหลังด้านตะวันตกยังไม่ได้สลักภาพใดๆ ปราสาทบ้านพลวงเป็นปราสาทที่ยังสร้างไม่เสร็จ สังเกตได้จากภาพแกะสลักยังไม่เสร็จ โดยภาพส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องราวของเทพปกรณัมในลัทธิไศวะนิกาย แต่มีการสลักภาพสัตว์ เช่น สลักภาพกระรอกกระแต และกวางป่าไว้เหนือใบระกาด้านต่อดอกพันธุ์พฤกษา ซึ่งไม่ปรากฏในปราสาทแห่งใด ปราสาทบ้านพลวง ได้รับการบูรณะเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทบ้านพลวง · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านสนม (ปราสาทวัดธาตุ)

ปราสาทบ้านสนม หรือ ปราสาทวัดธาตุ เป็นปราสาทตั้งอยู่ในวัดธาตุ บ้านสนม อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ คาดว่าสร้างสมัยอาณาจักรขอมเรืองอำนาจประมาณ พ.ศ. 1800 สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน พระองค์โปรดให้สร้างที่พักคนเดินทาง และสร้างอโรคยาศาล หรือสถานพยาบาลขึ้นในชุมชนต่าง ๆ มากมาย ปราสาทแห่งนี้มีขนาดโดยประมาณ กว้าง 20 เมตร ยาว 25 เมตร สูงประมาณ 5 เมตร สร้างด้วยศิลาแลงและหินทราย อยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรม เดิมมีต้นไม้ขนาดใหญ่ ประมาณ 2 - 3 โอบ จำนวนมาก ได้แก่ ประดู่ ตะแบก ยาง ตะคร้อ ตาเสือ คำไก่ ซึ่งปราสาทหลังนี้มองจากทุ่งนา นอกบ้านเห็นเด่นชัด บริเวณรอบ ๆ ปราสาทมีสระน้ำเรียงรายทั้งสี่ด้าน ในบริเวณวัด ในบริเวณปราสาท ทางวัดได้รื้อปราสาทลง และก่อสร้างอุโบสถแทน เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทบ้านสนม (ปราสาทวัดธาตุ) · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านอนันต์

ปราสาทบ้านอนันต์ ปราสาทบ้านอนันต์ หรือ บ้านอนาร์ ตั้งอยู่ภายในวัดบ้านอนันต์ ริมทางหลวงแผ่นดินหลายเลข 226 (สุรินทร์-ศรีสะเกษ) บ้านอนันต์ ตำบลยาง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดเล็กก่อด้วยอิฐไม่สอปูน ตั้งอยู่บ้านฐานศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยม มีประตูทางเข้าด้านทิศตะวันออกเพียงประตูเดียว กรอบประตูทำจากหินทราย เสาประดับกรอบปรตูไม่มีลวดลายสลักไว้ ส่วนอีกสามด้านทำเป็นประตูหลอก ด้านหน้าปราสาทมีทับหลังศิลปะบาปวนตกอยู่ชิ้นหนึ่ง มีสภาพหักครึ่ง ปราสาทอยู่ในสภาพทรุดโทรม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทบ้านอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านไพล

ปราสาทบ้านไพล ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทบ้านไพล ตั้งอยู่ที่บ้านปราสาท หมู่ที่ 6 ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นศาสนาสถานในชุมชน หรือสรุก เป็นปราสาทอิฐ 3 หลัง ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีคูน้ำรูปตัวยูล้อมรอบ องค์ปราสาทมีแผนผังและขนาดเท่ากันทั้งสามองค์ คือ มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดประมาณ 4×4 เมตร มีประตูทางเข้าออกด้านหน้าเพียงด้านเดียว ทับหลังของปราสาทองค์กลางและองค์ด้านทิศเหนือสลักเป็นรูปบุคคลนั่งชันเข่าหนือหน้ากาล ส่วนทับหลังปราสาทองค์ด้านทิศใต้สลักเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ซึ่งปราสาทองค์ด้านทิศใต้พังทลายไปหมดสิ้นแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทบ้านไพล · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทภูมิโปน

right ปราสาทภูมิโปน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทภูมิโปน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทยายเหงา

ปราสาทยายเหงา ปราสาทยายเหง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทยายเหงา · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทศีขรภูมิ

ปราสาทศีขรภูมิ หรือ ปราสาทระแงง ตั้งอยู่ข้างวัดบ้านปราสาท บ้านปราสาท ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทหลังนี้เป็นปราสาทที่งดงามที่สุดในจังหวัดสุรินทร์ โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และพระธิดาทั้ง 3 (มี หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล เป็นต้น) ได้เดินทางมาเยือนเมื่อ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2472 (นับอย่างใหม่ต้องปี พ.ศ. 2473) และได้ถูกรวมเข้ากันกับอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทศีขรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย

ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย ตั้งอยู่ในอำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทอิฐองค์เดียว สภาพปรักหักพัง จากทับหลังที่เหลือให้เห็นในปัจจุบันมีลักษณะคล้ายกับทับหลังแบบเกาะแกร์ ดังนั้นปราสาทสังข์ศิลป์ชัยน่าจะสร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทสังข์ศิลป์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย (ปราสาทบ้านจารย์)

ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย หรือปราสาทบ้านจารย์ มีลักษณะเป็นปราสาทองค์เดียวหลังค่อนข้างใหญ่ แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมสิบสอง ตั้งอยู่บนฐานสูง ปัจจุบันหักพัง หลังคาทลายลงมาเหลือผนังบางส่วนและกรอบประตูด้านทิศตะวันออก สิ่งสำคัญของปราสาทหลังนี้คือ ทับหลังที่พบบริเวณด้านหน้า มีขนาดใหญ่กว่าที่พบทั่วไป คือ ขนาดยาว 2.70 เมตร สูง 1.10 เมตร และหนา 0.85 เมตร ตรงกลางสลักเป็นภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณท่าร่ายรำ พนมมือประกอบ แนวทับหลังตอนบนป็นภาพเทพพนมในซุ้มเรือนแก้ว 10 ซุ้ม เรียงกัน นอกจากนี้ ยังพบเสาประดับกรอบประตูแปดเหลี่ยม จำหลักรูปฤษีนั่งอยู่ภายในซุ้มบริเวณโคนเสาด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทสังข์ศิลป์ชัย (ปราสาทบ้านจารย์) · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทตระเปียงเตีย

ปราสาทตระเปียงเตีย ปราสาทตระเปียงเตีย หรือ ปราสาทตะเปียงเตีย ตั้งอยู่ที่บ้านหนองเกาะ ตำบลตะเปียงเตีย อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์ มีลักษณะเป็นปรางค์ก่อด้วยอิฐ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซ้อนกัน 4 ชั้น ส่วนยอดทำเป็นรูปดอกบัวตูม เมื่อพิจารณาจากลัษณะสถาปัตยกรรม พบว่าเป็นแบบลาวร่วมสมัยกับอยุธยาตอนปลาย หรือรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตระเปียงเตีย เป็นภาษาเขมรท้องถิ่น คำว่า "ตระเปียง" แปลงว่าบ่อ สระ หนอง หรือหลุมที่มนุษย์ขุดขึ้น หรืออาจจะหมายถึงบารายที่ปราสาทขอมทุกแห่งมักจะมี หรืออาจจะเป็นแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ส่วนคำว่า "เตีย" หมายถึง เป็ด แปลรวมกันได้ความว่า ตระเปียงเตีย แปลว่า หนองเป็ด ซึ่งเป็นไปได้ว่าในอดีตบริเวณดังกล่าวมีนกเป็ดน้ำอพยพย้ายถิ่นมาอาศัยอยู่ในบริเวณดังกล่าวก็เป็นได้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทตระเปียงเตีย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทตาควาย

ปราสาทตาควาย หรือปราสาทตาวาย หรือในภาษาเขมรเรียกว่า ปราสาทกรอเบย (ប្រាសាទ​តា​ក្របី​ บฺราสาท​ตา​กฺรบี​) ตั้งอยู่บริเวณช่องตาควาย ในเขตบ้านไทยนิยมพัฒนา หมู่ 17 ตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหินศิลาแลง ตั้งทางด้านทิศตะวันออกของปราสาทตาเมือนธม ห่างไปประมาณ 12 กิโลเมตร ปราสาทตาควายตั้งอยู่บนสันเขาห่างจากหน้าผาสูงประมาณ 10 เมตร ของเทือกเขาพนมดงรัก เป็นปราสาทจตุรมุข ตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ผังของปราสาทเป็นรูปกากบาท ส่วนฐานต่ำ ส่วนล่างสุดก่อด้วยศิลาแลง ส่วนบนก่อด้วยศิลาทรายทั้งหมด หลังคาห้องครรภคฤหะ ก่อเป็นทรงพุ่มยอดปรางค์ ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป 5 ชั้น ส่วนหลังคามุขก่อเป็นรูปประทุน จรดหน้าบันทั้ง 4 ด้าน ภายในห้องมีประติมากรรม ลักษณะคล้ายสวายยัมภูวลึงค์ 1 ชิ้น นักประวัติศาสตร์คาดการณ์จากรูปทรงของตัวปราสาท ว่าปราสาทนี้น่าจะสร้างในช่วงปลายสมัยนครวัด ต่อตอนต้นสมัยบายน ระหว่างรัชกาลพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปราสาทตาวายตั้งอยู่บนพื้นที่ค่อนข้างห่างไกล ต้องเดินเท้าเป็นระยะ 3-4 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทตาควาย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทตาเมือน

ปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือน (Prasat Ta Muen, Prasat Ta Moen) หรือ ปราสาทบายกรีม ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลบ้านตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดเล็กที่สุดในอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือน อย่ห่างจากปราสาทตาเมือนโต๊ด ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 390 เมตร เป็นปราสาทที่เล็กที่สุด ก่อด้วยศิลาแลง มีลักษณะเป็นห้องยาว เชื่อว่าเป็นธรรมศาลา หรือที่พักสำหรับคนเดินทาง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทตาเมือน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทตาเมือนธม

ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนธม (ប្រាសាទតាមាន់ធំ. ตาม็วนธม - ตาไก่ใหญ่) ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลังเรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือนธม เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่ม (ธม เป็นภาษาเขมร แปลว่า ใหญ่) ตัวปราสาทอยู่บนเนินเขาสร้างคร่อมโขดหินธรรมชาติที่ศักดิ์สิทธิ์ในรูปของสยัมภูศิวลึงค์ และเป็นที่สำหรับประกอบพิธีกรรม ตัวปราสาทตาเมือนธม หันหน้าไปทางทิศใต้ ผิดแผกจากแห่งอื่นซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก รับกับเส้นทางที่มาจากเขมรต่ำผ่านมาทางช่องทางตาเมือนนี้ ปราสาทตาเมือนธมประกอบด้วยปราสาทประธาน มีอาคารอื่น คือปรางค์ก่อด้วยหินทรายสองหลัง อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของปราสาทประธาน มีบรรณาลัยศิลาแลงสองหลัง และนอกระเบียงคดทางทิศเหนือ มีสระน้ำขนาดเล็กสองสระ ปราสาทแห่งนี้อยู่ใกล้เขตชายแดนเขมรมากที่สุด การเที่ยวชมจึงควรอยู่เฉพาะภายในเขตปราสาทเท่านั้น ไม่ควรเดินออกไปไกลจากแนวต้นไม้รอบปราสาทเพราะพื้นที่นี้ยังไม่ปลอดภัยนัก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทตาเมือนธม · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทเมืองที

ปราสาทเมืองที ตำบลเมืองที อำเภอเมืองสุรินทร์ ปราสาทเมืองที ตั้งอยู่ที่บ้านเมืองที หมู่ที่ ๑ ตำบลเมืองที อำเภอเมืองสุรินทร์ ประกอบด้วยปรางค์ ๕ องค์ ก่อสร้างด้วยอิฐฉาบปูน ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน ปัจจุบันหักพังเหลือเพียง ๓ องค์ คือ องค์กลาง องค์มุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือ และองค์ด้านตะวันตกเฉียงใต้ องค์กลางมีขนาดใหญ่ที่สุด เนื่องจากการดัดแปลงในสมัยต่อๆ มา ส่วนยอดทำเป็นแบบตัวเรือนธาตุซ้อนกัน 3 ชั้น ส่วนบนหัก ที่เหลืออีก 2 องค์มีขนาดและลักษณะคล้ายคลึงกัน จากแผนผังและลักษณะทางสถาปัตยกรรมขององค์ปรางค์ที่มีลักษณะผอมเรียว ปราสาทเมืองทีจัดเป็นโบราณสถานศิลปะลาว ที่มีการสร้างขึ้นโดยคนในชุมชนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในสมัยอยุธยา ราวพุทธศตวรรษที่ 23 - 24.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปราสาทเมืองที · ดูเพิ่มเติม »

ปลานวลจันทร์น้ำจืด

ปลานวลจันทร์น้ำจืด หรือ ปลานวลจันทร์ เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Labeoninae มีรูปร่างลำตัวเรียวยาวทรงกระบอก หัวโต ปากและตาเล็ก เกล็ดเล็ก ปลาในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาจะมีหัวและลำตัวสีเงินอมเหลืองทอง ส่วนปลาในลุ่มน้ำโขงจะเป็นสีชมพู ครีบหลังยกสูง ครีบหางเว้าลึก ครีบก้นเล็ก อาหารได้แก่ อินทรียสาร สัตว์หน้าดินขนาดเล็ก แพลงก์ตอน และแมลงต่าง ๆ มีขนาดประมาณ 46 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 69 เซนติเมตร น้ำหนัก 5 กิโลกรัม ปลานวลจันทร์น้ำจืดมีพฤติกรรมวางไข่ในแหล่งน้ำหลากและเลี้ยงตัวอ่อนจนน้ำลดลงจึงอพยพลงสู่แม่น้ำ ปัจจุบันเป็นปลาที่หายาก เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้วจากแม่น้ำเจ้าพระยา และยังพบได้บ้างที่แม่น้ำโขงและแม่น้ำแม่กลอง ปลานวลจันทร์น้ำจืดมีชื่อเป็นภาษาอีสานว่า "ปลาพอน" และ "ปลาพรวน" ในภาษาเขมร และจัดเป็นสัตว์น้ำประจำจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปลานวลจันทร์น้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา ทองสุก

ร้อยเอกหญิง ปวีณา ทองสุก (ชื่อเล่น:ไก่) เป็นนักยกน้ำหนักหญิงทีมชาติไทย เจ้าของเหรียญทองจากโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่ประเทศกรีซ และเอเชียนเกมส์ 2006 ที่ประเทศกาตาร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และปวีณา ทองสุก · ดูเพิ่มเติม »

ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่

ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ เป็นมรดกโลกแหล่งที่ 5 และเป็นอันดับที่ 2 ของมรดกทางธรรมชาติของไทย ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 10-17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำ

น้ำในสองสถานะ: ของเหลว (รวมทั้งก้อนเมฆซึ่งเป็นตัวอย่างของละอองลอย) และของแข็ง (น้ำแข็ง) น้ำเป็นสิ่งที่โปร่งใส ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น และเกือบจะไม่มีสี ซึ่งเป็นสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบหลักของลำธาร, แม่น้ำ, และมหาสมุทรในโลก เป็นต้น และยังเป็นของเหลวในสิ่งมีชีวิต มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเลนต์ น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น หิมะ, ธารน้ำแข็ง, และภูเขาน้ำแข็ง, ก้อนเมฆ, หมอก, น้ำค้าง, ชั้นหินอุ้มน้ำ และ ความชื้นในบรรยากาศ น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ดิน 1.7% ในธารน้ำแข็งและชั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติกาและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเศษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจากอนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ) และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และชั้นบรรยากาศ และน้ำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของสิ่งมีชีวิตและผลิตภัณฑ์ น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฏจักรของการระเหยเป็นไอและการคายน้ำ (การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน น้ำดื่มสะอาดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะไม่มีแคลอรีหรือสารอาหารที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่มสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ประชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่า 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเกี่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่างไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์

น้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์ ศิลปินพื้นบ้านกันตรึมที่มีชื่อเสียงมากโดยเฉพาะในแถบจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ และศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และน้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำมูล

แม่น้ำมูลในฤดูแล้งที่จังหวัดอุบลราชธานี แม่น้ำมูล เป็นแม่น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ความยาว 641 กิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำ 71,061 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และแม่น้ำมูล · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งน้ำ

ฟยอร์ดในประเทศนอร์เวย์ แหล่งน้ำ หรือ พื้นที่น้ำ (water body) คือบริเวณที่มีการสะสมของน้ำบนพื้นผิวโลกหรือบนผิวดาวเคราะห์ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ ไปจนถึง คลอง หรือ พื้นที่ชุ่มน้ำ แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติเช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำ สำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และแหล่งน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อันดามัน

แอร์อันดามัน เป็นสายการบินที่มีฐานการบินอยู่ที่กรุงเทพมหานคร เป็นสายการบินภายในประเทศและต่างประเทศขนาดเล็ก และยังเป็นสายการบินที่ให้บริการเช่าเหมาลำอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และแอร์อันดามัน · ดูเพิ่มเติม »

แจ็คเกอรีน ทีวีพูล

แจ็คเกอรีน ทีวีพูล คือนามแฝงของพัฒนะชัย อดิเรก ซึ่งมีที่มาจากนามปากกา ขณะเป็นคอลัมนิสต์บันเทิงต่างประเทศ ของนิตยสารทีวีพูล ปัจจุบันเป็นโปรดิวเซอร์รายการโทรทัศน์ ผู้สื่อข่าวบันเทิง พิธีกร ดีเจ วีเจ สังกัดบริษัท โน้ต พับลิชชิง จำกัด และบริษัท ไทยทีวี จำกัด ของพันธุ์ทิพา ศกุณต์ไชย มีชื่อเสียงจากผลงาน พิธีกรหลักประจำรายการ ทีวีพูลทูไนต์ ซึ่งเป็นข่าวบันเทิงรายการแรกสุด ของเครือนิตยสารทีวีพูล ที่ยังคงออกอากาศมาจนถึงปัจจุบัน แจ็คเกอรีน เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ที่จังหวัดสุรินทร์ เป็นบุตรคนเล็กในจำนวนพี่น้อง 3 คน สำเร็จปริญญานิเทศศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แจ็คเกอรีน เคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ไทยเรื่อง แฟนเก่า (2552) เป็นผู้สื่อข่าวบันเทิง, ละครโทรทัศน์สองเรื่องคือ สุดหัวใจเจ้าชายเทวดา (2554) เป็นตัวละครชื่อ แจ็คกรีน และเรื่อง น้ำตากามเทพ (2558) เป็นผู้สื่อข่าวบันเทิง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และแจ็คเกอรีน ทีวีพูล · ดูเพิ่มเติม »

โบราณคดี

การขุดค้นซากโบราณ โบราณคดี (Archaeology) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการสำรวจ การขุดค้น (โบราณวัตถุ) การขุดแต่ง (โบราณสถาน) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ (ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่นๆ ประกอบในการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางโบราณคดีที่ได้จากกระบวนการข้างต้น เพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ เรณูวิทยา การกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงที่เดียวในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโบราณคดี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลสุรินทร์

รินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโรงพยาบาลสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนรัตนบุรี

รงเรียนรัตนบุรี อักษรย่อ ร.. เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการ สังกัดสำนักงานงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 138 หมู่ที่ 12 ถนนสายรัตนบุรี-ทับใหญ่ ต.รัตนบุรี อ.รัตนบุรี จ.สุรินทร์ 32130 บนเนื้อที่กว่า 100 ไร่ ริมถนนสายรัตนบุรี-ทับใหญ่ ห่างจากที่ว่าการอำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ฝั่งตรงข้ามเป็นที่ตั้งของศาลจังหวัดรัตนบุรี สำนักงานอัยการจังหวัดรัตนบุรี และสำนักงานบังคับคดีจังหวัดสุรินทร์ สาขารัตนบุรี ปัจจุบันเปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(ม.1-3) และตอนปลาย(ม.4-6).

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโรงเรียนรัตนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน

รงเรียนวีรวัฒน์โยธิน เป็นโรงเรียนในตัวเมืองสุรินทร์แห่งที่ 3 (เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั่วไป ไม่นับเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดหรือโรงเรียนประจำอำเภอ) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวายวิทยาคาร

รงเรียนสวายวิทยาคาร (Sawaiwittayakarn School) (อักษรย่อ: ส.ว., S.W.) เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ตำบลสวาย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ก่อตั้งโดย ชาวบ้านในชุมชน นำโดยพระครูปัญญาวุฒิสุนทร มีเนื้อที่ 75 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 6 หลัง มีจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 88 ห้อง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโรงเรียนสวายวิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสิรินธร

รงเรียนสิรินธร (อักษรย่อ: ส.ธ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ "โรงเรียนสตรีสุรินทร์" โรงเรียนสิรินธร ก่อตั้งเมื่อ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโรงเรียนสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรวิทยาคาร

รงเรียนสุรวิทยาคาร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดสุรินทร์ ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 372 ถนนหลักเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโรงเรียนสุรวิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2004

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2016

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 (Jogos Olímpicos de Verão de 2016) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 28 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ รีโอ 2016 เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติที่สำคัญในประเพณีโอลิมปิก ซึ่งจัดในที่นครรีโอเดจาเนโร สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5 ถึง 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรีเจียนัลแอร์ไลน์

การบินไทยรีเจียนัล ก่อตั้งขึ้นด้วยเงินทุนจดทะเบียน 400,000,000 บาท (สี่ร้อยล้านบาทถ้วน) โดยมีผู้ถือหุ้นเป็นคนไทยทั้งหมด สายการบิน Thai Regional ได้ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะทำการขนส่งผู้โดยสารทางอากาศ โดยใช้เครื่องบินโดยสารขนาดที่เหมาะสม ไปยังจังหวัดต่างๆที่ยังไม่มีเครื่องบินให้บริการ และมีเคาร์เตอร์เช็คอิน อยู่ที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ อาคาร Concourse A ชั้น 4.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และไทยรีเจียนัลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกริกกำพล ประถมปัทมะ

หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เรือมอันเร

รือมอันเร หรือ ลูดอันเร เป็นศิลปะการแสดงอย่างหนึ่งในหมู่ชาวไทยเชื้อสายเขมร ในบริเวณอีสานใต้ มีลักษณะคล้ายการละเล่นลาวกระทบไม้ของไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเรือมอันเร · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียมราฐ

ียมราฐ หรือ เสียมเรียบ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเสียมราฐ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะภาค

้าคณะภาค เป็นพระสังฆาธิการที่ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช โดยผ่านมติการเห็นชอบของมหาเถรสมาคม มีอำนาจหน้าที่การปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม ในเขตจังหวัดของตน เจ้าคณะภาค คือพระสังฆาธิการผู้ปกครองคณะสงฆ์ระดั.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเจ้าคณะภาค · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะอำเภอ

้าคณะอำเภอเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการปกครองคณะสงฆ์ในระดับอำเภอ.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเจ้าคณะอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะจังหวัด

้าคณะจังหวัด เป็นพระสังฆาธิการที่ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช โดยผ่านมติการเห็นชอบของมหาเถรสมาคม มีอำนาจหน้าที่การปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม ในเขตจังหวัดของตน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเจ้าคณะจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะตำบล

้าคณะตำบลเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการ ปกครองคณะสงฆ์ในส่วนตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเจ้าคณะตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้กำหนดให้เป็นเมืองหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นศูนย์กลางการค้า การพาณิชย์ การคมนาคมทางบก และอุตสาหกรรม โดยปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเทศบาลนครนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองสุรินทร์

ทศบาลเมืองสุรินทร์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเทศบาลเมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนห้วยตาเกาว์ใหม่

ื่อนห้วยตาเกาว์ใหม่ เป็นเขื่อนดิน อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยทับทัน-ห้วยสำราญอำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 86 กิโลเมตร เขื่อนตาเกาว์ใหม่สร้างเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขื่อนห้วยตาเกาว์ใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนห้วยเสนง

ื่อนห้วยเสนง เป็นเขื่อนดิน อยู่ในเขตอำเภอเมืองสุรินทร์ และอำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 7 กิโลเมตร เขื่อนห้วยเสนงสร้างเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขื่อนห้วยเสนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขตบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ

ตรักษาพันธุ์สัตว์ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ - จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสาทร

ตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขตสาทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ หมวดหมู่:จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เข็มรัตน์ กองสุข

รองศาสตราจารย์เข็มรัตน์ กองสุข ศิลปินแห่งชาติ ปี 2555 สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) และอาจารย์คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเข็มรัตน์ กองสุข · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยยศไทย

รื่องยศ หรือ เครื่องราชอิสริยยศ คือ เครื่องหมายแสดงเกียรติยศ เครื่องประกอบยศ และบำเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัยโบราณสร้างขึ้นเพื่อ พระราชทานให้แก่ ราชตระกูล ขุนนาง ข้าราชการ และบุคคลทั่วไป ที่มีตำแหน่ง หน้าที่ ความชอบในแผ่นดินให้ปรากฏตามยศชั้น และฐานันดรศักดิ์นั้นๆ ของผู้ได้รับพระราชทาน จากจดหมายเหตุของ นิโคลาส แซแว กล่าวถึงความหมายของเครื่องยศในสมัยกรุงศรีอยุธยาว่า เราจะรู้จักความสำคัญของขุนนางเหล่านี้ในหน้าที่สาธารณได้ ไม่เพียงแต่จากหีบหมากพระราชทาน จากรูปพรรณและเนื้อโลหะ ขอบหลอมพอก จากฐานะของเรือที่ใช้เป็นยานพาหนะ จากดาบที่คาด หรือที่มีผู้เชิญไปข้างหน้าเท่านั้น แต่ยังจะรู้ได้จากจำนวนทาสที่ติดตามหลังอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเครื่องราชอิสริยยศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมพล มาลาคำ

ฉลิมพล มาลาคำ (10 ตุลาคม พ.ศ. 2505 -) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงหมอลำที่มีชื่อเสียง หัวหน้าวงดนตรี "เฉลิมพล มาลาคำ" เกิดที่อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เฉลิมพล จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอัมปีล เริ่มเข้าสู่วงการจากการประกวดร้องเพลงของ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดสุรินทร์ เริ่มบันทึกเสียงเพลงแรกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และเฉลิมพล มาลาคำ · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุรินทร์และ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สุรินทร์จ.สุรินทร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »