โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โรคคอนเวอร์ชันและโรคประสาท

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง โรคคอนเวอร์ชันและโรคประสาท

โรคคอนเวอร์ชัน vs. โรคประสาท

รคคอนเวอร์ชัน เป็นภาวะที่ทำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการทางระบบประสาท เช่น อาการชา อ่อนแรง หรืออาการคล้ายชัก แต่ไม่มีคำอธิบายทางประสาทวิทยาที่อธิบายอาการของผู้ป่วยได้ และถูกถือว่าปัญหาของผู้ป่วยเกิดจากการตอบสนองทางจิตวิทยาต่อความเครียด โรคดิสโซสิเอทีฟเป็นการวินิจฉัยทางจิตเวชที่ปรากฏอยู่ในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems - ICD-10) และ Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders 4th edition (DSM-IV) เดิมเคยรู้จักในชื่อโรคว่า "ฮิสทีเรีย" (hysteria) เชื่อกันว่าโรคนี้เป็นที่รู้จักกันมาแล้วนับพันปี แม้เพิ่งจะเป็นที่รู้จักกว้างขวางในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อนักประสาทวิทยา Jean-Martin Charcot และจิตแพทย์ Pierre Janet และ Sigmund Freud ได้วิจัยเรื่องนี้ คำว่า "คอนเวอร์ชัน" (conversion - การเปลี่ยนแปลง) มีที่มาจากแนวคิดของฟรอยด์ที่ว่าความกังวลถูก "เปลี่ยน" (converted) ให้กลายเป็นอาการทางกาย หลังจากที่ถูกเชื่อว่าหายไปจากประเทศตะวันตกแล้วในศตวรรษที่ 20 งานวิจัยบางชิ้นชี้นำว่าโรคนี้ยังพบได้บ่อยไม่ต่างจากเดิม. รคประสาท (neurosis) เป็นความผิดปกติทางจิตชนิดหนึ่งที่ไม่รุนแรง แสดงอาการทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทำให้จิตใจแปรปรวน อ่อนไหวง่าย มักมีความรู้สึกไม่สบายใจ วิตกกังวลอยู่เสมอ ไม่สามารถควบคุมความรู้สึกอารมณ์หรือพฤติกรรมให้เหมือนเดิมได้ อาการทางกายภาพแสดงออกได้ หลายรูปแ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง โรคคอนเวอร์ชันและโรคประสาท

โรคคอนเวอร์ชันและโรคประสาท มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตซิกมุนด์ ฟรอยด์

คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต

ู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, ย่อ: DSM) เป็นหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความผิดปกติทางจิตซึ่งจัดทำโดยสมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา (American Psychiatric Association) ซึ่งถูกอ้างอิงอย่างกว้างขวางโดยแพทย์ นักวิจัย ผู้ผลิตและผู้ตรวจสอบคุณภาพยาในทางจิตเวช และบริษัทประกันภัยทั้งในสหรัฐอเมริกาและที่อื่นๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ในปัจจุบันฉบับปรับปรุงล่าสุดคือเป็นฉบับที่ 4 เรียกว่า DSM-IV ในปี พ.ศ. 2537 และมีฉบับปรับปรุงครั้งย่อยในปี พ.ศ. 2543 นอกเหนือจากเกณฑ์การวินิจฉัยดังกล่าว ยังมีเกณฑ์วินิจฉัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้มากเช่นกันในประเทศไทยและหลายประเทศ คือส่วนของความผิดปกติทางจิตในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Classification of Diseases and Related Health Problems, ย่อ: ICD) ซึ่งมีการจัดระบบใกล้เคียงกันและแตกต่างกันในบางรายละเอี.

คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตและโรคคอนเวอร์ชัน · คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตและโรคประสาท · ดูเพิ่มเติม »

ซิกมุนด์ ฟรอยด์

ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, IPA:; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1856 — 23 กันยายน ค.ศ. 1939) เป็นประสาทแพทย์ชาวออสเตรีย ผู้เป็นที่รู้จักในฐานะบิดาแห่งจิตวิเคราะห์ บิดามารดาของฟรอยด์ยากจน แต่ได้ส่งเสียให้ฟรอยด์ได้รับการศึกษา เขาสนใจกฎหมายเมื่อครั้งเป็นนักเรียน แต่เปลี่ยนไปศึกษาแพทยศาสตร์แทน โดยรับผิดชอบการวิจัยโรคสมองพิการ ภาวะเสียการสื่อความ และจุลประสาทกายวิภาคศาสตร์ เขาเดินหน้าเพื่อพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึกและกลไกของการกดเก็บ และตั้งสาขาจิตบำบัดด้วยวาจา โดยตั้งจิตวิเคราะห์ ซึ่งเป็นวิธีการทางคลินิกเพื่อรักษาจิตพยาธิวิทยาผ่านบทสนทนาและระหว่างผู้รับการรักษากับนักจิตวิเคราะห์Ford & Urban 1965, p. 109 แม้จิตวิเคราะห์จะใช้เป็นการปฏิบัติเพื่อการรักษาลดลง แต่ก็ได้บันดาลใจแก่การพัฒนาจิตบำบัดอื่นอีกหลายรูปแบบ ซึ่งบางรูปแบบแตกออกจากแนวคิดและวิธีการดั้งเดิมของฟรอยด์ ฟรอยด์ตั้งสมมุติฐานการมีอยู่ของ libido (พลังงานซึ่งให้กับกระบวนการและโครงสร้างทางจิต) พัฒนาเทคนิคเพื่อการรักษา เช่น การใช้ความสัมพันธ์เสรี (ซึ่งผู้เข้ารับการรักษารายงานความคิดของตนโดยไม่มีการสงวน และต้องไม่พยายามเพ่งความสนใจขณะทำเช่นนั้น) ค้นพบการถ่ายโยงความรู้สึก (กระบวนการที่ผู้รับการรักษาย้ายที่ความรู้สึกของตนจากประสบการณ์ภาพในอดีตของชีวิตไปยังนักจิตวิเคราะห์) และตั้งบทบาทศูนย์กลางของมันในกระบวนการวิเคราะห์ และเสนอว่า ฝันช่วยรักษาการหลับ โดยเป็นเครื่องหมายของความปรารถนาที่สมหวัง ที่หาไม่แล้วจะปลุกผู้ฝัน เขายังเป็นนักเขียนบทความที่มีผลงานมากมาย โดยใช้จิตวิเคราะห์ตีความและวิจารณ์วัฒนธรรม จิตวิเคราะห์ยังทรงอิทธิพลอยู่ในทางจิตเวชศาสตร์ และต่อมนุษยศาสตร์โดยรวม แม้ผู้วิจารณ์บางคนจะมองว่าเป็นวิทยาศาสตร์ลวงโลกและกีดกันทางเพศ การศึกษาเมื่อ..

ซิกมุนด์ ฟรอยด์และโรคคอนเวอร์ชัน · ซิกมุนด์ ฟรอยด์และโรคประสาท · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง โรคคอนเวอร์ชันและโรคประสาท

โรคคอนเวอร์ชัน มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคประสาท มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 11.76% = 2 / (6 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง โรคคอนเวอร์ชันและโรคประสาท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »