ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท มี 18 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กองทัพเรือสหรัฐมุมปะทะสงครามเวียดนามอินฟราเรดซุคฮอย ซู-33นอร์ธอเมริกัน เอ-5 วิจิแลนตีแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2แมคดอนเนลล์ดักลาสแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2เรือบรรทุกอากาศยานเอ-6 อินทรูเดอร์เอฟ-8 ครูเซเดอร์เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทเอไอเอ็ม-120 แอมแรมเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์เอ็ม61 วัลแคนเจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111
กองทัพเรือสหรัฐ
ระวังสับสนกับ กระทรวงทหารเรือสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐ (อังกฤษ: United States Navy, USN) เป็นกองกำลังทางทะเลในสังกัดกองทัพสหรัฐ และหนึ่งในเจ็ดองค์กรในเครื่องแบบของสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐเป็นกองทัพเรือที่ใหญ่ และมีความสามารถมากที่สุดในโลก โดยมีขนาดกองเรือตามน้ำหนักที่มากที่สุด กองทัพเรือสหรัฐมีกองเรือบรรทุกอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีเรือบรรทุกอากาศยาน 10 ลำในสถานะประจำการ อีก 2 ลำในสถานะกองเรือสำรอง และกำลังก่อสร้างเรือบรรทุกอากาศยานใหม่อีก 3 ลำ กองทัพเรือสหรัฐมีกำลัง 323,792 นายในสถานะประจำการ และอีก 108,515 นายในกองทัพเรือสำรอง มีเรือรบพร้อมประจำการ 274 ลำ และมีอากาศยานที่ใช้การได้มากกว่า 3,700 ลำ ตามข้อมูลในเดือนตุลาคม..
กองทัพเรือสหรัฐและเอฟ-14 ทอมแคท · กองทัพเรือสหรัฐและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
มุมปะทะ
ภาพแสดงทิศทางมุมปะทะ มุมปะทะ (Angle of Attack) หมายถึง มุมที่ตั้งอยู่ระหว่างทิศทางการทำการบิน (flight path) กับเส้นสมมุติ (chord line) และทิศทางสัมพันธ์ของลม (relative wind) โดยมุมปะทะนี้ จะเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดแรงยก เมื่อลมมาปะทะที่ปีก สามารถอันเป็นสิ่งที่ทำให้เครื่องบิน พยุงตัวอยู่ในอากาศได้ หมวดหมู่:เครื่องบิน.
มุมปะทะและเอฟ-14 ทอมแคท · มุมปะทะและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
สงครามเวียดนาม
งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).
สงครามเวียดนามและเอฟ-14 ทอมแคท · สงครามเวียดนามและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
อินฟราเรด
มนุษย์ในย่าน mid-infrared เป็นภาพที่เกิดจากรังสีความร้อนที่แผ่ออกมาจากคน รังสีอินฟราเรด (Infrared (IR)) มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า รังสีใต้แดง หรือรังสีความร้อน เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างคลื่นวิทยุและแสงมีความถี่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิร์ตซ์หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 1-1000 ไมโครเมตร มีความถี่ในช่วงเดียวกับไมโครเวฟ มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างแสงสีแดงกับคลื่นวิทยุสสารทุกชนิดที่มีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง -200 องศาเซลเซียสถึง 4,000 องศาเซลเซียส จะปล่อยรังสีอินฟราเรดออกมา คุณสมบัติเฉพาะตัวของรังสีอินฟราเรด เช่น ไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แตกต่างกันก็คือ คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับความถี่ คือยิ่งความถี่สูงมากขึ้น พลังงานก็สูงขึ้นด้วย ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ Sir William Herschel ซึ่งได้ค้นพบ รังสีอินฟราเรดสเปกตรัมในปี.. 1800จากการทดลองโดยทดสอบว่าในเลนส์แต่ละสี จะเปลี่ยนค่าแสดงความร้อนของดวงอาทิตย์หรือไม่ จึงประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลองเพื่อหาคำตอบใช้ปริซึมแยกแสง แล้วให้แสงต่างๆมาตกที่เทอร์โมมิเตอร์ก็ตั้งเทอร์โมมิเตอร์ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสีต่าง ๆ นั้น เพื่อเป็นตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏว่า แสงสีต่าง มีอุณหภูมิสูงกว่าแสงสีขาว และอุณหภูมิสูงขึ้นจาก สีม่วง ไปหาสีแดง ปรากฏว่า เทอร์โมมิเตอร์ ตัวที่อยู่นอกเหนือจากแสงสีแดงนั้น กลับวัดได้อุณหภูมิสูงกว่าทุกตัว พบว่า ส่วนของแสงที่มองไม่เห็นแต่ร้อนกว่าสีแดงนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพเช่นเดียวกับคลื่นแสงที่มองเห็นได้ทุกประการ เช่น การหักเห ดูดซับ ส่องผ่านหรือไม่ผ่านตัวกลาง รังสีที่ถูกค้นพบใหม่นี้ตั้งชื่อว่า " รังสีอินฟราเรด " (ขอบเขตที่ต่ำกว่าแถบสีแดงหรือรังสีใต้แดง) ในการใช้ประโยชน์ ใช้ในการควบคุมเครื่องใช้ระบบไกล (remote control) สร้างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียดนาม และสัตว์หลายชนิดมีนัยน์ตารับรู้รังสีชนิดนี้ได้ ทำให้มองเห็นหรือล่าเหยื่อได้ในเวลากลางคืน เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า “รังสีอุลตราไวโอเล็ต” โลกและสิ่งชีวิตแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ ในบรรยากาศดูดซับรังสีนี้ไว้ ทำให้โลกมีความอบอุ่น เหมาะกับการดำรงชีวิต .
อินฟราเรดและเอฟ-14 ทอมแคท · อินฟราเรดและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
ซุคฮอย ซู-33
ซุคฮอย ซู-33 (อังกฤษ: Sukhoi Su-33) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่า: แฟลงเกอร์-ดี) เป็นเครื่องบินขับไล่ทุกสภาพอากาศ,ประจำเรือบรรทุกเครื่องบิน,สองเครื่องยนต์,ครองความได้เปรียบทางอากาศ ออกแบบโดยบริษัทซุคฮอยและสร้างโดยบริษัท KnAAPO, มีต้นกำเนิดมาจาก ซู-27และในช่วงแรกรู้จักกันในชื่อ ซู-27.
ซุคฮอย ซู-33และเอฟ-14 ทอมแคท · ซุคฮอย ซู-33และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
นอร์ธอเมริกัน เอ-5 วิจิแลนตี
right เอ-5 วิจิลานเต (A-5 Vigilante) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดบนเรือบรรทุกเครื่องบินที่ทรงพลังที่ถูกออกแบบมาเพื่อกองทัพเรือสหรัฐ มันทำหน้าที่ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์โดยเข้าแทนที่เอ-3 สกายวอร์ริเออร์แต่ก็เป็นระยะสั้นเท่านั้น ในแบบอาร์เอ-5ซีมันได้ทำหน้าที่มากมายในสงครามเวียดนามด้วยบทบาทลาดตระเวน ก่อนที่จะมีการใช้ระบบอกชื่อแบบใหม่มันมีชื่อเดิมว่าเอ3เจ วิจิลานเต.
นอร์ธอเมริกัน เอ-5 วิจิแลนตีและเอฟ-14 ทอมแคท · นอร์ธอเมริกัน เอ-5 วิจิแลนตีและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2
อฟ-4 แฟนท่อม 2 (F-4 Phantom II) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นโจมตีพิสัยไกลทุกสภาพอากาศสองที่นั่ง สองเครื่องยนต์ ความเร็วเหนือเสียง เดิมทีสร้างมาเพื่อกองทัพเรือสหรัฐฯ โดยแมคดอนเนลล์ แอร์คราฟท์Swanborough and Bowers 1976, p. 301.
เอฟ-14 ทอมแคทและแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2 · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2 ·
แมคดอนเนลล์ดักลาส
แมคดอนเนลล์ดักลาส (McDonnell Douglas) (MD) เป็นบริษัทผลิตเครื่องบิน ก่อตั้งที่นครเซ็นต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2519 และปิดกิจการลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2540 โดยบริษัทโบอิง ได้ทำการซื้อกิจการกับบริษัทแมคดอนเนลล์ดักลาสรวมเข้ากับโบอิง ด้วยมูลค่าทั้งสิ้น 13,000 ล้านบาท เครื่องบินที่มีชื่อเสียงของแมคดอนเนลล์ดักลาส ได้แก่ MD-11 MD-80 MD-90 เป็นต้น นอกจากจะเป็นผู้ผลิตเครื่องบินโดยสารแล้ว แมคดอนเนลล์ดักลาส ยังเป็นผู้ผลิตเครื่องบินรบ เอฟ-4 เอฟ-15 เอฟ-18 เฮลิคอปเตอร์อาพาเช่ รวมทั้งจรวดฮาร์พูน และ โทมาฮอว์ก.
เอฟ-14 ทอมแคทและแมคดอนเนลล์ดักลาส · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและแมคดอนเนลล์ดักลาส ·
แอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2
อ-7 คอร์แซร์ 2 (A-7 Corsair II) เป็นเครื่องบินโจมตีขนาดเบาบนเรือบรรทุกเครื่องบินที่เริ่มเข้ามาแทนที่เอ-4 สกายฮอว์คของกองทัพเรือสหรัฐและเข้ารวมรบในสงครามเวียดนาม คอร์แซร์ถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐเช่นเดียวกับกองกำลังรักษาดินแดนทางอากาศ เพื่อเข้าแทนที่เอ-1 สกายไรเดอร์ เอฟ-100 ซูเปอร์เซเบอร์ และเอฟ-105 ธันเดอร์ชิฟ คอร์แซร์ยังถูกใช้โดยกรีซในทศวรรษที่ 1970 และโปรตุเกสและไทยในทศวรรษที่ 1980 โครงสร้างของเอ-7 มีพื้นฐานมาจากเอฟ-8 ครูเซเดอร์ที่ผลิตโดยวูท มันเป็นหนึ่งในเครื่องบินรบรุ่นแรกๆ ที่มีหน้าจอแบบฮัด (head-up display) ระบบนำร่อง และเครื่องยนต์เทอร์โบแฟน.
เอฟ-14 ทอมแคทและแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2 · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2 ·
เรือบรรทุกอากาศยาน
รือหลวงจักรีนฤเบศร 6, showing size differences of late 20th century carriers 6 เรือบรรทุกอากาศยาน หรือ เรือบรรทุกเครื่องบิน (aircraft carrier) คือ เรือรบที่ออกแบบมาสำหรับใช้เป็นฐานทัพอากาศเคลื่อนที่ให้กับอากาศยาน เรือบรรทุกเครื่องบินนั้นทำให้กองทัพเรือสามารถส่งกำลังทางอากาศออกไปได้ไกลยิ่งขึ้นโดยขึ้นอยู่กับที่มั่นของเรือบรรทุกเครื่องบิน พวกมันพัฒนามาจากเรือที่สร้างจากไม้ที่ถูกใช้เพื่อปล่อยบัลลูนมาเป็นเรือรบพลังนิวเคลียร์ซึ่งสามารถบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งและปีกหมุนได้หลายสิบลำ โดยปกติเรือบรรทุกอากาศยานจะเป็นเรือหลักของกองเรือและเป็นเรือที่มีราคาแพงอย่างมาก มี 10 ประเทศที่ครอบครองเรือบรรทุกอากาศยานโดยแปดประเทศมีเรือบรรทุกอากาศยานเพียงลำเดียวเท่านั้น ทั่วโลกมีเรือบรรทุกอากาศยานที่กำลังทำหน้าที่ 20 ลำโดยเป็นของกองทัพเรือสหรัฐ 10 ลำ บางประเทศในจำนวนนี้ไม่มีเครื่องบินที่สามารถใช้กับเรือบรรทุกอากาศยานและบางประเทศได้เปลี่ยนวัตถุประสงค์ของเรือไป.
เรือบรรทุกอากาศยานและเอฟ-14 ทอมแคท · เรือบรรทุกอากาศยานและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอ-6 อินทรูเดอร์
อ-6 อินทรูเดอร์ (A-6 Intruder) เป็นเครื่องบินโจมตีสองเครื่องยนต์ของสหรัฐอเมริกาที่ผลิตโดยกรัมแมน มันเข้าประจำการตั้งแต่ปี..
เอ-6 อินทรูเดอร์และเอฟ-14 ทอมแคท · เอ-6 อินทรูเดอร์และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอฟ-8 ครูเซเดอร์
อฟ-8 ครูเซเดอร์ เดิมทีชื่อ เอฟ8ยู (F-8 Crusader) เป็นเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์เดียวบนเรือบรรทุกเครื่องบินที่สร้างโดย วอท มันเข้ามาแทนที่เอฟ-7 คัทลาส เอฟ-8 ลำแรกได้ทำการบินเมื่อเดือนกุมภาพัน..
เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ-8 ครูเซเดอร์ · เอฟ-8 ครูเซเดอร์และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท
อฟ-18 ฮอร์เน็ท (F-18 Hornet) ของแมคดอนเนลล์ ดักลาส (ปัจจุบันคือโบอิง) เป็นเครื่องบินโจมตีหลากบทบาทหลากสภาพอากาศที่สามารถใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบินและถูกออกแบบมาเพื่อการโจมตีทั้งภาคพื้นดินและภาคอากาศ มันถูกออกแบบในทศวรรษที่ 1970 ให้กับกองทัพเรือและกองนาวิกโยธินสหรัฐฯ ฮอร์เน็ทยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศในหลายประเทศ มันถูกเลือกให้ใช้ทำการแสดงโดยบลูแองเจิลของกองทัพเรือสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี..
เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท · เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอไอเอ็ม-120 แอมแรม
รวดนำวิถีเอไอเอ็ม-120 หรือ แอมแรม (AIM-120 Advanced Medium-Range Air-to-Air Missile, AMRAAM) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศเกินระยะตามองเห็น(BVR)รุ่นใหม่ที่สามารถใช้ได้ทั้งตอนกลางวันและกลางคืน มันยังรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่าสแลมเมอร์ในกองทัพอากาสสหรัฐ นาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทรี (Fox Three).
เอฟ-14 ทอมแคทและเอไอเอ็ม-120 แอมแรม · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและเอไอเอ็ม-120 แอมแรม ·
เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์
อไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ (AIM-7 Sparrow) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยกลางที่ใช้โดยกองทัพอากาศ กองทัพเรือ และกองนาวิกโยธินของสหรัฐฯ เช่นเดียวกับกองทัพอากาศของพันธมิตรอื่นๆ สแปร์โรว์และแบบต่างๆ ของมันเป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่มีมาตั้งแต่ปล..
เอฟ-14 ทอมแคทและเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ ·
เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์
อไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ (AIM-9 Sidewinder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตามความร้อน ซึ่งใช้กับเครื่องบินขับไล่และเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบอื่นและการพัฒนายังคงอยู่ในประจำการในกองทัพอากาศต่างๆ หลังจากผ่านไปห้าทศวรรษ นักบินนาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทู (Fox Two) ซึ่งหมายถึงขีปนาวุธติดตามความร้อน ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธที่ใช้กว้างขวางที่สุดในฝั่งตะวันตก ด้วยการผลิตมากกว่า 110,000 ลูกสำหรับสหรัฐและอีก 27 ประเทศ ซึ่งอาจมีเพียง 1 % เท่านั้นที่ใช้ในการรบ มันถูกผลิตภายใต้ใบอนุญาตโดยบางชาติรวมทั้งสวีเดน เอไอเอ็ม-9 เป็นหนึ่งในขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่เก่าแก่ที่สุด ถูกที่สุด และประสบความสำเร็จที่สุด ด้วยคะแนนสังหารถึง 270 จากทั่วโลก มันถูกออกแบบมาเพื่อทำการพัฒนาได้โดยง่าย กล่าวกันว่าเป้าหมายของการออกแบบสำหรับไซด์ไวน์เดอร์ดั้งเดิมนั้นคือสร้างขีปนาวุธที่ไว้ใจได้และมีประสิทธิภาพ กองทัพเรือสหรัฐได้ฉลองครบรอบ 50 ปีของการใช้มันในปี..
เอฟ-14 ทอมแคทและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ ·
เอ็ม61 วัลแคน
อ็ม 61 วัลแคน เอ็ม61 วัลแคน (ภาษาอังกฤษ: M61 Vulcan) เป็นปืนที่ทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก มีหกลำกล้อง ระบายความร้อนด้วยอากาศ และยิงด้วยระบบแบบปืนกลแกทลิ่งในอัตราการยิงที่สูงอย่างมาก มันเป็นปืนใหญ่หลักที่ใช้กับอากาศยานทางทหารของสหรัฐอเมริกามากว่าห้าทศวรรษ เอ็ม61 เดิมที่ถูกสร้างขึ้นโดยเจเนรัล อิเลคทริคและต่อมาก็เป็นเจเนรัล ไดนามิกส์, FAS.org.
เอฟ-14 ทอมแคทและเอ็ม61 วัลแคน · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและเอ็ม61 วัลแคน ·
เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111
นรัลไดนามิกส์เอฟ-111 หรือ เอฟ-111 (General Dynamics F-111) เป็นเครื่องบินแบบแรกที่สามารถลู่ปีกได้ โดยมีการเปลี่ยนมุมลู่ปีกเพื่อเสถียรภาพในการบินด้วยความเร็วต่ำและลดแรงต้านเมื่อบินด้วยความเร็วสูง และทำให้เกิดเครื่องบินที่สามารถลู่ปีกได้ตามมาอีก เช่น เอฟ-14 ทอมแคท ซุคฮอย ซู-17 เป็นต้น.
เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111และเอฟ-14 ทอมแคท · เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
การเปรียบเทียบระหว่าง เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
เอฟ-14 ทอมแคท มี 54 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท มี 43 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 18, ดัชนี Jaccard คือ 18.56% = 18 / (54 + 43)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: