โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจฟฟรีย์ ชอเซอร์และโทษประหารชีวิต

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เจฟฟรีย์ ชอเซอร์และโทษประหารชีวิต

เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ vs. โทษประหารชีวิต

หมือนของ เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ วาดประมาณปี 1380 เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ (Geoffrey Chaucer; ค.ศ. 1343 - 25 ตุลาคม ค.ศ. 1400?) เป็นนักเขียน กวี นักปรัชญา ข้าราชการและนักการทูตชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งกวีนิพนธ์อังกฤษ แม้เขาจะเขียนงานไว้มากมาย แต่งานเขียนที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคืองานเขียนที่ยังไม่เสร็จ เรื่อง “ตำนานแคนเตอร์บรี”. ประเทศที่เลิกใช้โทษประหารชีวิต: 103 ประเทศ โทษประหารชีวิต หรือ อุกฤษฏ์โทษ (capital punishment, death penalty) เป็นกระบวนการทางกฎหมายซึ่งรัฐลงโทษอาชญากรรมของบุคคลด้วยการทำให้ตาย คำสั่งของศาลที่ให้ลงโทษบุคคลในลักษณะนี้ เรียก การลงโทษประหารชีวิต ขณะที่การบังคับใช้โทษนี้ เรียก การประหารชีวิต อาชญากรรมที่มีโทษประหารชีวิต เรียก "ความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ" คำว่า capital มาจากคำภาษาละตินว่า capitalis ความหมายตามตัวอักษร คือ "เกี่ยวกับหัว" (หมายถึงการประหารชีวิตโดยการตัดหัว) สังคมอดีตส่วนมากนั้นมีโทษประหารชีวิตโดยเป็นการลงโทษอาชญากร และผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมืองหรือศาสนา ในประวัติศาสตร์ การลงโทษประหารชีวิตมักสัมพันธ์กับการทรมาน และมักประหารชีวิตในที่สาธารณะ ปัจจุบันมีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต 58 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับอาชญากรรมทุกรูปแบบโดยนิตินัย 98 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตเฉพาะอาชญากรรมปรกติ 7 ประเทศ (โดยคงไว้สำหรับพฤติการณ์พิเศษ เช่น อาชญากรรมสงคราม) และประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยพฤตินัย (คือ ไม่ได้ใช้โทษประหารชีวิตอย่างน้อยสิบปี และอยู่ระหว่างงดใช้โทษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง) องค์การนิรโทษกรรมสากลมองว่าประเทศส่วนใหญ่เป็นผู้ยกเลิก (abolitionist) โดยองค์การฯ พิจารณาว่า 140 ประเทศเป็นผู้ยกเลิกในทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติ การประหารชีวิตเกือบ 90% ทั่วโลกเกิดในทวีปเอเชีย แทบทุกประเทศในโลกห้ามการประหารชีวิตบุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปีขณะก่อเหตุ นับแต่ปี 2552 มีเพียงประเทศอิหร่าน ซาอุดิอาระเบียและซูดานที่ยังประหารชีวิตลักษณะนี้ กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการประหารชีวิตประเภทนี้ โทษประหารชีวิตกำลังเป็นประเด็นการถกเถียงอยู่ในหลายประเทศ และจุดยืนอาจมีได้หลากหลายในอุดมการณ์ทางการเมืองหรือภูมิภาคทางวัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ในรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป ข้อ 2 แห่งกฎบัตรสิทธิมูลฐานแห่งสหภาพยุโรปห้ามการใช้โทษประหารชีวิต สภายุโรปซึ่งมีรัฐสมาชิก 47 ประเทศ ยังห้ามสมาชิกใช้โทษประหารชีวิต สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติลงมติรับข้อมติไม่ผูกพันในปี 2550, 2551 และ 2553 เรียกร้องให้มีการผ่อนเวลาการประหารชีวิตทั่วโลก ซึ่งมุ่งให้ยกเลิกในที่สุด แม้หลายชาติยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้ว แต่ประชากรโลกกว่า 60% อาศัยอยู่ในประเทศซึ่งเกิดการประหารชีวิต เช่น สี่ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกาและอินโดนีเซีย ซึ่งยังใช้บังคับโทษประหารชีวิต ทั้งสี่ประเทศออกเสียงคัดค้านข้อมติสมัชชาใหญ่ดังกล่าว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เจฟฟรีย์ ชอเซอร์และโทษประหารชีวิต

เจฟฟรีย์ ชอเซอร์และโทษประหารชีวิต มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ตำนานแคนเตอร์บรี

ตำนานแคนเตอร์บรี

ตำนานแคนเตอร์บรี (The Canterbury Tales) เป็นวรรณกรรมที่เขียนโดยเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นเรื่องย่อยที่รวบรวมกันเป็นหนังสือ (สองเล่มเป็นร้อยแก้ว อีกยี่สิบสองเล่มเป็นร้อยกรอง) ที่เป็นตำนานที่เล่าโดยนักแสวงบุญแต่ละคนจากซัทเธิร์ค (Southwark) ในลอนดอนที่เดินทางกันไปแสวงบุญที่ชาเปลของนักบุญทอมัส เบ็คเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี “ตำนานแคนเตอร์บรี” เขียนเป็นภาษาอังกฤษสมัยกลาง เรื่องราวต่างถือกันว่าเป็นหนึ่งในมหาวรรณกรรม (magnum opus) ที่ได้รับอิทธิพลมาจาก “ตำนานสิบราตรี” (The Decameron) ที่เขียนโดยกวีชาวอิตาลีจิโอวานนิ โบคคาชโช ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่กล่าวกันว่าชอเซอร์ได้อ่านเมื่อเดินทางไปท่องเที่ยวในอิตาลีก่อนหน้านั้น แต่ผู้ที่เล่าเรื่องในตำนานของชอเซอร์เป็น “มนุษย์เดินดิน” แทนที่จะเป็นเรื่องของชนชั้นขุนนางเช่นใน “ตำนานสิบราตรี” ของ.

ตำนานแคนเตอร์บรีและเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ · ตำนานแคนเตอร์บรีและโทษประหารชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เจฟฟรีย์ ชอเซอร์และโทษประหารชีวิต

เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทษประหารชีวิต มี 28 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.94% = 1 / (6 + 28)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เจฟฟรีย์ ชอเซอร์และโทษประหารชีวิต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »