โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ. เค. โรว์ลิงและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เจ. เค. โรว์ลิงและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์

เจ. เค. โรว์ลิง vs. เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก. อร์ไมโอนี่ จีน เกรนเจอร์ (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2522) เป็นตัวละครในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เจ. เค. โรว์ลิงและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์

เจ. เค. โรว์ลิงและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาคีนกฟีนิกซ์อัลบัส ดัมเบิลดอร์ฮอกวอตส์ผู้เสพความตายนิทานของบีเดิลยอดกวีแฮร์รี่ พอตเตอร์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี

ภาคีนกฟีนิกซ์

มาชิกภาคีบางส่วน ภาคีนกฟีนิกซ์ (Order of the Phoenix) เป็นองค์การลับในชุดหนังสือบันเทิงคดีแฮร์รี่ พอตเตอร์ เขียนโดย เจ. เค. โรว์ลิง อัลบัส ดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้ง เพื่อต่อสู้กับลอร์ดโวลเดอมอร์และสมุนผู้เสพความตาย ภาคีฯ เป็นชื่อของหนังสือเล่มที่ห้าในชุด ชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ.

ภาคีนกฟีนิกซ์และเจ. เค. โรว์ลิง · ภาคีนกฟีนิกซ์และเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลบัส ดัมเบิลดอร์

อัลบัส เพอร์ซิวาล วูลฟริก ไบรอัน ดัมเบิลดอร์ (Albus Percival Wulfric Brian Dumbledore) เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง มีบทบาทเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ในเนื้อหาเกือบทั้งหมดของเรื่อง ต่อมามีการเปิดเผยในเนื้อเรื่องว่าดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้งภาคีนกฟีนิกซ์ซึ่งเป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อต่อสู้กับตัวร้ายของเรื่องคือลอร์ดโวลเดอมอร์ มีการกล่าวว่าอัลเฟรด ดันน์ (Alfred Dunn) อดีตอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนเซนต์ไมเคิล (St Michael's Primary School) ที่โรว์ลิ่งเคยเรียนอยู่ เป็นแรงบันดาลใจในการให้กำเนิดตัวละครนี้ ในภาพยนตร์สองภาคแรกนั้นผู้ที่รับบทเป็นดัมเบิลดอร์คือริชาร์ด แฮร์ริสซึ่งเสียชีวิตลงก่อนหนังภาคสองจะได้เข้าฉาย ดังนั้นเซอร์ไมเคิล แกมบอนจึงได้รับบทดัมเบิลดอร์ในภาคต่อๆ ม.

อัลบัส ดัมเบิลดอร์และเจ. เค. โรว์ลิง · อัลบัส ดัมเบิลดอร์และเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอกวอตส์

รงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ (Hogwarts School of Witchcraft and Wizardry) ย่อเป็น ฮอกวอตส์ เป็นโรงเรียนสอนเวทมนตร์สมมติของประเทศสก็อตแลนด์ซึ่งเปิดสอนนักเรียนอายุระหว่างสิบเอ็ดถึงสิบแปดปี และเป็นฉากท้องเรื่องหลักในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิง หกเล่มแรก โรว์ลิงแนะว่าเธออาจได้ชื่อมาโดยไม่ตั้งใจจากต้นฮอกวอร์ต (Croton capitatus) ซึ่งเธอเห็นที่คิวการ์เดนส์ก่อนเขียนแฮร์รี่ พอตเตอร์ แม้ว่าชื่อ "เดอะฮอกวอตส์" และ "ฮอกก์วอตส์" จะปรากฏในหนังสือ How To Be Topp by Geoffrey Willans ของไนเจล โมส์เวิร์ธเมื่อปี 2497 แล้ว โรงเรียนฮอกวอตส์ได้รับคะแนนเสียงเป็นสถานศึกษาที่ดีที่สุดของสกอตแลนด์อันดับที่ 36 ในการจัดอันดับออนไลน์เมื่อปี 2551 เอาชนะโรงเรียนลอเรตโตของเอดินบะระ ซึ่งผู้อำนวยการการจัดอันดับเครือข่ายโรงเรียนอิสระ โรงเรียนฮอกวอตส์ถูกเพิ่มเข้าไปในรายการโรงเรียน "เพื่อความสนุก".

ฮอกวอตส์และเจ. เค. โรว์ลิง · ฮอกวอตส์และเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้เสพความตาย

ลอร์ดโวลเดอมอร์ (กลาง) เบลลาทริกซ์ เลสแตรงจ์ (ซ้าย) ลูเซียส มัลฟอย (ขวา) และผู้เสพความตายสวมหน้ากาก (หลัง) ผู้เสพความตาย (Death Eater) เป็นตัวละครสมมติในชุดนวนิยายและภาพยนตร์ แฮร์รี่ พอตเตอร์ พวกเขาเป็นกลุ่มพ่อมดแม่มด นำโดยลอร์ดโวลเดอมอร์ ที่แสวงการทำให้ชุมชนพ่อมดแม่มดบริสุทธิ์โดยการกำจัดผู้ที่เกิดจากมักเกิล (คือ พ่อมดแม่มดที่เกิดจากพ่อแม่ที่ไม่มีเวทมนตร์) พวกเขายังพยายามสร้างระเบียบใหม่ผ่านกระทรวงเวทมนตร์และทำให้เกิดความกลัวในหมู่ชุมชนพ่อมดแม่มดโดยการข่มขวัญและสังหารข้าราชการคนสำคัญและศัตรูอื่นของผู้เสพความตาย ซึ่งหมายถึง สมาชิกภาคีนกฟีนิกซ์เป็นหลัก ผู้เสพความตายระบุได้จากตรามารบนต้นแขนซ้าย สัญลักษณ์ที่โวลเดอมอร์สร้างขึ้นเพื่อเรียกตัวเขาไปยังผู้เสพความตายทันทีหรือกลับกัน เครื่องแต่งกายปกติของพวกเขารวมเสื้อคลุมมีหมวกคลุมสีดำ และหน้ากาก กลุ่มผู้เสพความตายปรากฏครั้งแรกในนวนิยาย แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี แต่สมาชิกนั้นปรากฏตั้งแต่เล่มก่อน ๆ แล้ว เช่น ลูเซียส มัลฟอย และเซเวอร์รัส สเนป.

ผู้เสพความตายและเจ. เค. โรว์ลิง · ผู้เสพความตายและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิทานของบีเดิลยอดกวี

นิทานของบีเดิลยอดกวี (The Tales of Beedle the Bard) เป็นหนังสือนิทานเด็ก ที่แต่งโดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง เพื่อเป็นหนังสือประกอบสำหรับนิยายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดยหนังสือเล่มนี้ เป็นหนังสือสมมติที่ถูกอ้างถึงใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นนิยายเล่มสุดท้ายในชุดอีกด้วย เดิมที.

นิทานของบีเดิลยอดกวีและเจ. เค. โรว์ลิง · นิทานของบีเดิลยอดกวีและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter and the Philosopher's Stone) เป็นนวนิยายเล่มแรกในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ และนวนิยายประเดิมของเจ. เค. โรว์ลิง โครงเรื่องติดตามแฮร์รี่ พอตเตอร์ พ่อมดหนุ่มผู้ค้นพบมรดกเวทมนตร์ของเขา พร้อมกับสร้างเพื่อนสนิทและศัตรูจำนวนหนึ่งในปีแรกที่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ ด้วยความช่วยเหลือของมิตร แฮร์รี่เผชิญกับความพยายามหวนคืนของพ่อมดมืด ลอร์ดโวลเดอมอร์ ซึ่งฆ่าบิดามารดาของแฮร์รี่ แต่ไม่สามารถฆ่าเขาได้เมื่ออายุหนึ่งขวบ บลูมส์บิวรีในกรุงลอนดอนจัดพิมพ์หนังสือดังกล่าวเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2540 ในปี 2541 บริษัทสกอลาสติกจัดพิมพ์ฉบับสำหรับตลาดสหรัฐอเมริกาภายใต้ชื่อเรื่อง Harry Potter and the Sorcerer's Stone นวนิยายดังกล่าวชนะรางวัลหนังสืออังกฤษส่วนใหญ่ซึ่งตัดสินโดยเด็ก และรางวัลอื่นในสหรัฐอเมริกา หนังสือนี้แตะอันดับ 1 รายการบันเทิงคดีขายดีของนิวยอร์กไทมส์ ในเดือนสิงหาคม 2542 และอยู่ใกล้อันดับ 1 เป็นส่วนใหญ่ของปี 2542 และ 2543 มีการแปลเป็นภาษาอื่นอีกหลายภาษา และมีการสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน บทปริทัศน์ส่วนใหญ่ชื่นชอบมาก โดยออกความเห็นต่อจินตนาการ ความขบขัน ความเรียบง่าย ลีลาตรงไปตรงมาและการสร้างโครงเรื่องที่ฉลาดของโรว์ลิง แม้บ้างติว่า บทท้าย ๆ ดูรวบรัด มีการเปรียบเทียบงานนี้กับงานของเจน ออสเตน ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์คนโปรดคนหนึ่งของโรว์ลิง หรือโรอาลด์ ดาห์ล ซึ่งงานของเขาครอบงำเรื่องสำหรับเด็กก่อนมีแฮร์รี่ พอตเตอร์ และโฮเมอร์ นักเล่านิยายกรีกโบราณ แม้นักวิจารณ์บางส่วนคิดว่า หนังสือนี้ดูย้อนกลับไปเรื่องโรงเรียนกินนอนสมัยวิกตอเรียและเอ็ดเวิร์ด แต่นักวิจารณ์อื่น ๆ คิดว่า หนังสือนี้วางประเภทอยู่ในโลกสมัยใหม่อย่างแนบแน่นโดยมีลักษณะประเด็นจริยธรรมและสังคมร่วมสมัย แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ ร่วมกับที่เหลือของชุดถูกกลุ่มศาสนาหลายกลุ่มโจมตีและห้ามในบางประเทศเพราะกล่าวหาว่านวนิยายนี้ส่งเสริมเวทมนตร์คาถา แต่นักวิจารณ์คริสตศาสนิกบางคนเขียนว่า หนังสือนี้ยกตัวอย่างมุมมองที่สำคัญของศาสนาคริสต์หลายอย่าง ซึ่งรวมอำนาจของการสละตนเองและวิธีซึ่งการตัดสินใจของบุคคลก่อเป็นบุคลิกภาพของเขา นักการศึกษาถือว่า แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ และหนังสือตามมาเป็นตัวช่วยพัฒนาการรู้หนังสือที่สำคัญเพราะความนิยม นอกจากนี้ ยังใช้หนังสือชุดนี้เป็นแหล่งตัวอย่างในเทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์สังคมวิทยาและการตล.

เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ · เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี คือหนังสือเล่มที่สี่ในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดยงามพรรณ เวชชาชีวะจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และเป็นฉบับภาษาไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 วรรณกรรมชุดนี้ถือว่ายาวมากอย่างไม่น่าจะมีใครทำมาก่อน โดยในฉบับภาษาไทยมีความยาวทั้งหมดถึง 832 หน้า (ฉบับบลูมส์บูรี่มีความยาวทั้งหมด 636 หน้า) หนังสือเล่มนี้สร้างสถิติโดยเป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนมากกว่าชิ้นงานวรรณกรรมเยาวชนอื่นๆ มีเพียงหนังสือเล่มต่อๆ มาในชุดเดียวกันนี้เท่านั้นที่สามารถลบสถิตินี้ได้ นั่นคือแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยเฉพาะจากการที.

เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี · เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เจ. เค. โรว์ลิงและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์

เจ. เค. โรว์ลิง มี 118 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 5.67% = 8 / (118 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เจ. เค. โรว์ลิงและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »