ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท มี 22 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มิโคยัน มิก-29มุมปะทะยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูนล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2อินฟราเรดดาโซราฟาลซุคฮอย ซู-30ซุคฮอย ซู-33แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2แมคดอนเนลล์ดักลาสแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2โบอิงเรดาร์เอ-6 อินทรูเดอร์เอฟ-14 ทอมแคทเอฟ-22 แร็พเตอร์เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทเอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริกเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์เอ็ม61 วัลแคนเจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111
มิโคยัน มิก-29
มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..
มิโคยัน มิก-29และเครื่องบินขับไล่ · มิโคยัน มิก-29และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
มุมปะทะ
ภาพแสดงทิศทางมุมปะทะ มุมปะทะ (Angle of Attack) หมายถึง มุมที่ตั้งอยู่ระหว่างทิศทางการทำการบิน (flight path) กับเส้นสมมุติ (chord line) และทิศทางสัมพันธ์ของลม (relative wind) โดยมุมปะทะนี้ จะเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดแรงยก เมื่อลมมาปะทะที่ปีก สามารถอันเป็นสิ่งที่ทำให้เครื่องบิน พยุงตัวอยู่ในอากาศได้ หมวดหมู่:เครื่องบิน.
มุมปะทะและเครื่องบินขับไล่ · มุมปะทะและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน
right ยูโรไฟท์เตอร์ ไต้ฝุ่น (The EURO FIGHTER 2000 (Typhoon)) ในเดือน ธันวาคม ค.ศ. 1983 กองทัพอากาศ ฝรั่งเศส,เยอรมันตะวันตก ในขณะนั้น(ก่อนรวมประเทศกับเยอรมันตะวันออก), อิตาลี, สเปน, และอังกฤษ ได้ประกาศโครงการ ร่วมกัน ที่จะพัฒนาเครื่องบินรบ สำหรับศตวรรษหน้า และให้ชื่อว่า FEFA (เครื่องบินรบ ในอนาคต ของยุโรป).
ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูนและเครื่องบินขับไล่ · ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูนและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2
อฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 (F-35 Lightning II) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ 5 หนึ่งที่นั่ง หนึ่งเครื่องยนต์ โดยเป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทแบบล่องหน ซึ่งสามารถให้การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด การทิ้งระเบิดทางยุทธวิธี และการป้องกันทางอากาศ เอฟ-35 มีทั้งหมด 3 รุ่น คือ แบบขึ้น-ลงปกติ แบบขึ้น-ลงแนวในดิ่ง และแบบที่ใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เอฟ-35 เป็นผู้สืบทอดจากเอ็กซ์-35 เป็นผลิตผลจากโครงการเครื่องบินขับไล่โจมตีร่วมหรือเจเอสเอฟ (Joint Strike Fighter, JSF) การพัฒนาของมันนั้นได้รับทุนหลักจากสหรัฐอเมริกา โดยมีสหราชอาณาจักรและประเทศอื่นๆ ให้ทุนเพิ่มเติม, GlobalSecurity.org มันถูกออกแบบและสร้างโดยทีมอุตสาหกรรมการบินที่นำโดยล็อกฮีด มาร์ติน โดยมีนอร์ทธรอป กรัมแมนและบีเออี ซิสเต็มส์เป็นหุ้นส่วนหลัก เครื่องบินสาธิตบินในปี..
ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2และเครื่องบินขับไล่ · ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
อินฟราเรด
มนุษย์ในย่าน mid-infrared เป็นภาพที่เกิดจากรังสีความร้อนที่แผ่ออกมาจากคน รังสีอินฟราเรด (Infrared (IR)) มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า รังสีใต้แดง หรือรังสีความร้อน เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างคลื่นวิทยุและแสงมีความถี่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิร์ตซ์หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 1-1000 ไมโครเมตร มีความถี่ในช่วงเดียวกับไมโครเวฟ มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างแสงสีแดงกับคลื่นวิทยุสสารทุกชนิดที่มีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง -200 องศาเซลเซียสถึง 4,000 องศาเซลเซียส จะปล่อยรังสีอินฟราเรดออกมา คุณสมบัติเฉพาะตัวของรังสีอินฟราเรด เช่น ไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แตกต่างกันก็คือ คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับความถี่ คือยิ่งความถี่สูงมากขึ้น พลังงานก็สูงขึ้นด้วย ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ Sir William Herschel ซึ่งได้ค้นพบ รังสีอินฟราเรดสเปกตรัมในปี.. 1800จากการทดลองโดยทดสอบว่าในเลนส์แต่ละสี จะเปลี่ยนค่าแสดงความร้อนของดวงอาทิตย์หรือไม่ จึงประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลองเพื่อหาคำตอบใช้ปริซึมแยกแสง แล้วให้แสงต่างๆมาตกที่เทอร์โมมิเตอร์ก็ตั้งเทอร์โมมิเตอร์ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสีต่าง ๆ นั้น เพื่อเป็นตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏว่า แสงสีต่าง มีอุณหภูมิสูงกว่าแสงสีขาว และอุณหภูมิสูงขึ้นจาก สีม่วง ไปหาสีแดง ปรากฏว่า เทอร์โมมิเตอร์ ตัวที่อยู่นอกเหนือจากแสงสีแดงนั้น กลับวัดได้อุณหภูมิสูงกว่าทุกตัว พบว่า ส่วนของแสงที่มองไม่เห็นแต่ร้อนกว่าสีแดงนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพเช่นเดียวกับคลื่นแสงที่มองเห็นได้ทุกประการ เช่น การหักเห ดูดซับ ส่องผ่านหรือไม่ผ่านตัวกลาง รังสีที่ถูกค้นพบใหม่นี้ตั้งชื่อว่า " รังสีอินฟราเรด " (ขอบเขตที่ต่ำกว่าแถบสีแดงหรือรังสีใต้แดง) ในการใช้ประโยชน์ ใช้ในการควบคุมเครื่องใช้ระบบไกล (remote control) สร้างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียดนาม และสัตว์หลายชนิดมีนัยน์ตารับรู้รังสีชนิดนี้ได้ ทำให้มองเห็นหรือล่าเหยื่อได้ในเวลากลางคืน เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า “รังสีอุลตราไวโอเล็ต” โลกและสิ่งชีวิตแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ ในบรรยากาศดูดซับรังสีนี้ไว้ ทำให้โลกมีความอบอุ่น เหมาะกับการดำรงชีวิต .
อินฟราเรดและเครื่องบินขับไล่ · อินฟราเรดและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
ดาโซราฟาล
ราฟาล M ของนาวีฝรั่งเศส ขณะร่อนลงจอดบนเรือบรรทุกเครื่องบิน Charles De Gaulle (R-91) ของนาวีฝรั่งเศส ราฟาล M ของนาวีฝรั่งเศส บนเรือบรรทุกเครื่องบิน USS John C. Stennis (CVN-74) ของสหรัฐอเมริกา ดาโซราฟาล (Dassault Rafale) เป็นเครื่องบินรบแบบสองเครื่องยนต์เจ็ต สัญชาติฝรั่งเศส ทำการรบได้หลายแบบ ทั้งภารกิจ ระยะสั้น และ ระยะไกล Rafale เป็นเครื่องบินรบ ปฏิบัติภารกิจ แบบผสม (multi-role) ทำการตรวจจับลำบาก มีความสามารถปฏิบัติการได้ทั้งกลางวัน และกลางคืน ทุกสภาพอากาศ มันสามารถขึ้น-ลงจอดบนเรือบรรทุกอากาศยานได้.
ดาโซราฟาลและเครื่องบินขับไล่ · ดาโซราฟาลและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
ซุคฮอย ซู-30
ซุคฮอย ซู-30 (Sukhoi Su-30, Flanker-C) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-ซี) เป็นเครื่องบินทางทหารสองเครื่องยนต์ที่สร้างโดยบริษัทการบินซุคฮอยของรัสเซียและเริ่มนำเข้ามาใช้ปฏิบัติการในปี..
ซุคฮอย ซู-30และเครื่องบินขับไล่ · ซุคฮอย ซู-30และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
ซุคฮอย ซู-33
ซุคฮอย ซู-33 (อังกฤษ: Sukhoi Su-33) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่า: แฟลงเกอร์-ดี) เป็นเครื่องบินขับไล่ทุกสภาพอากาศ,ประจำเรือบรรทุกเครื่องบิน,สองเครื่องยนต์,ครองความได้เปรียบทางอากาศ ออกแบบโดยบริษัทซุคฮอยและสร้างโดยบริษัท KnAAPO, มีต้นกำเนิดมาจาก ซู-27และในช่วงแรกรู้จักกันในชื่อ ซู-27.
ซุคฮอย ซู-33และเครื่องบินขับไล่ · ซุคฮอย ซู-33และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2
อฟ-4 แฟนท่อม 2 (F-4 Phantom II) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นโจมตีพิสัยไกลทุกสภาพอากาศสองที่นั่ง สองเครื่องยนต์ ความเร็วเหนือเสียง เดิมทีสร้างมาเพื่อกองทัพเรือสหรัฐฯ โดยแมคดอนเนลล์ แอร์คราฟท์Swanborough and Bowers 1976, p. 301.
เครื่องบินขับไล่และแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2 · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2 ·
แมคดอนเนลล์ดักลาส
แมคดอนเนลล์ดักลาส (McDonnell Douglas) (MD) เป็นบริษัทผลิตเครื่องบิน ก่อตั้งที่นครเซ็นต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2519 และปิดกิจการลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2540 โดยบริษัทโบอิง ได้ทำการซื้อกิจการกับบริษัทแมคดอนเนลล์ดักลาสรวมเข้ากับโบอิง ด้วยมูลค่าทั้งสิ้น 13,000 ล้านบาท เครื่องบินที่มีชื่อเสียงของแมคดอนเนลล์ดักลาส ได้แก่ MD-11 MD-80 MD-90 เป็นต้น นอกจากจะเป็นผู้ผลิตเครื่องบินโดยสารแล้ว แมคดอนเนลล์ดักลาส ยังเป็นผู้ผลิตเครื่องบินรบ เอฟ-4 เอฟ-15 เอฟ-18 เฮลิคอปเตอร์อาพาเช่ รวมทั้งจรวดฮาร์พูน และ โทมาฮอว์ก.
เครื่องบินขับไล่และแมคดอนเนลล์ดักลาส · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและแมคดอนเนลล์ดักลาส ·
แอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2
อ-7 คอร์แซร์ 2 (A-7 Corsair II) เป็นเครื่องบินโจมตีขนาดเบาบนเรือบรรทุกเครื่องบินที่เริ่มเข้ามาแทนที่เอ-4 สกายฮอว์คของกองทัพเรือสหรัฐและเข้ารวมรบในสงครามเวียดนาม คอร์แซร์ถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐเช่นเดียวกับกองกำลังรักษาดินแดนทางอากาศ เพื่อเข้าแทนที่เอ-1 สกายไรเดอร์ เอฟ-100 ซูเปอร์เซเบอร์ และเอฟ-105 ธันเดอร์ชิฟ คอร์แซร์ยังถูกใช้โดยกรีซในทศวรรษที่ 1970 และโปรตุเกสและไทยในทศวรรษที่ 1980 โครงสร้างของเอ-7 มีพื้นฐานมาจากเอฟ-8 ครูเซเดอร์ที่ผลิตโดยวูท มันเป็นหนึ่งในเครื่องบินรบรุ่นแรกๆ ที่มีหน้าจอแบบฮัด (head-up display) ระบบนำร่อง และเครื่องยนต์เทอร์โบแฟน.
เครื่องบินขับไล่และแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2 · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2 ·
โบอิง
อิง (The Boeing Company) เป็นบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์อากาศยานและยุทโธปกรณ์ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา โบอิงนับเป็นบริษัทผู้ผลิตเครื่องบินที่มีรายได้มากที่สุดในโลก และเป็นผู้ผลิตยุทโธปกรณ์อันดับสองของโลก ในปี พ.ศ. 2549 โบอิงเป็นผู้ผลิตเครื่องบินที่มีจำนวนสั่งซื้อมากที่สุดในโลก มีสัดส่วนการตลาดร้อยละ 55 สำหรับยอดสั่งซื้อ และร้อยละ 54 สำหรับยอดส่งมอบ กุมชัยชนะเหนือแอร์บัสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา นอกจากนี้ยังเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริก.
เครื่องบินขับไล่และโบอิง · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและโบอิง ·
เรดาร์
รดาร์ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีขององค์การนาซา เสาอากาศเรดาร์ระยะไกลที่เรียกว่า Altair ที่ใช้ในการตรวจจับและติดตามวัตถุในพื้นที่ร่วมกับการทดสอบ ABM ที่ไซต์ทดสอบโรนัลด์ เรแกนบนเกาะควาจาลีน (Kwajalein) เรดาร์ (radar) เป็นระบบที่ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นเครื่องมือในการระบุระยะ (range), ความสูง (altitude) รวมถึงทิศทางหรือความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ เดิมทีตั้งแต่ปี..
เครื่องบินขับไล่และเรดาร์ · เรดาร์และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอ-6 อินทรูเดอร์
อ-6 อินทรูเดอร์ (A-6 Intruder) เป็นเครื่องบินโจมตีสองเครื่องยนต์ของสหรัฐอเมริกาที่ผลิตโดยกรัมแมน มันเข้าประจำการตั้งแต่ปี..
เครื่องบินขับไล่และเอ-6 อินทรูเดอร์ · เอ-6 อินทรูเดอร์และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอฟ-14 ทอมแคท
อฟ-14 ทอมแคท (F-14 Tomcat) เป็นเครื่องบินขับไล่ปีกพับสองที่นั่งสองเครื่องยนต์มีความเร็วเหนือเสียง เอฟ-14 เป็นเครื่องบินขับไล่ครองความได้เปรียบทางอากาศเครื่องบินสกัดกั้น และเครื่องบินลาดตระเวนทางยุทธวิธีของกองทัพเรือสหรัฐตั้งแต่ปี..
เครื่องบินขับไล่และเอฟ-14 ทอมแคท · เอฟ-14 ทอมแคทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอฟ-22 แร็พเตอร์
อฟ-22 แร็ปเตอร์ (F-22 Raptor) เครื่องบินเอฟ-22 เป็นเครื่องบินเจ๊ตขับไล่ที่มีแผนจะนำมาใช้ปฏิบัติการครองอากาศทดแทนเครื่องบินเอฟ-15 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาได้กำหนดความต้องการเครื่องบินขับไล่ยุทธวิธีขั้นก้าวหน้า (Advanced Tactical Fighter) ต่อมาเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ 2529 จึงได้คัดเลือกเครื่องบินต้นแบบจากสองกลุ่มบริษัทได้แก่ กลุ่มเจนเนอรัล ไดนามิกส์/ล็อกฮีด/โบอิง (เจเนอรัล ไดนามิกส์ ควบรวมกับล็อกฮีดในภายหลัง) ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 กับกลุ่มแมคดอนเนลล์ ดักลาส/นอร์ทธอป ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-23 เพื่อดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2534 กองทัพอากาศสหรัฐฯตัดสินใจเลือกเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ในการดำเนินการ เครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบนานกว่า 54 เดือน โดยมีการทดลองบินกว่า 74 เที่ยวบิน รวมเวลา 91.6 ชั่วโมง ทดสอบติดตั้งและยิงจรวดนำวิถีอากาศสู่อากาศ ไซด์ไวน์เดอร์ และ แอมแรม การเติมน้ำมันกลางอากาศ ทดสอบปรับแรงขับของเครื่องยนต์ขณะบิน ระบบอิเล็กทรอนิกส์อากาศ (Avionics) การทดสอบและปรับปรุงห้องนักบินโดยการทดลองใช้จริงร่วมกับกองทัพอากาศและกองทัพเรือสหรัฐฯ และการทดสอบวัดขนาดพื้นที่สะท้อนเรดาร์กับขนาดจริงของเครื่องบิน ส่วนการทดสอบเครื่องยนต์ต้นแบบมีอยู่ 2 แบบคือ เครื่องยนต์ต้นแบบ วายเอฟ-119 ของบริษัทแพรทท์แอนด์วิทนีย์ และ เครื่องต้นแบบวายเอฟ 120 ของบริษัท เจนเนอรัล อิเล็คทริก ผลการตัดสินของกองทัพอากาศสหรัฐ ได้เลือกเครื่องยนต์ต้นแบบวายเอฟ-119 สำหรับใช้กับเครื่องบินขับไล่ เอฟ-22อินทรีย์ สีเทา,แทงโก นิตยสารเพื่อคนรักการบินและเทคโนโลยี, มูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,กรุงเทพฯ,ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 เมษายน 2540,หน้า 84.
เครื่องบินขับไล่และเอฟ-22 แร็พเตอร์ · เอฟ-22 แร็พเตอร์และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท
อฟ-18 ฮอร์เน็ท (F-18 Hornet) ของแมคดอนเนลล์ ดักลาส (ปัจจุบันคือโบอิง) เป็นเครื่องบินโจมตีหลากบทบาทหลากสภาพอากาศที่สามารถใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบินและถูกออกแบบมาเพื่อการโจมตีทั้งภาคพื้นดินและภาคอากาศ มันถูกออกแบบในทศวรรษที่ 1970 ให้กับกองทัพเรือและกองนาวิกโยธินสหรัฐฯ ฮอร์เน็ทยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศในหลายประเทศ มันถูกเลือกให้ใช้ทำการแสดงโดยบลูแองเจิลของกองทัพเรือสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี..
เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท · เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริก
AGM-65 เป็นอาวุธนำวิถีอากาศ-สู่-พื้น ใช้งานในระยะสั้น และระยะปานกลาง ในตระกูล AGM-65 มีทั้งนำวิถีด้วย TV, IIR (Imaging Infrared) และ Laser วิวัฒนาการ ตระกูล AGM-65 Maverick เริ่มมีการพัฒนาทดสอบในกลางปี..1960 จุดประสงค์เพื่อสร้างอาวุธ ให้มีขีดความสามารถ ในการทำลายเป้าหมายจำพวก รถถัง,รถยานเกราะและเป้าหมายป้องกันอื่น ๆ ทอ.สหรัฐ ฯ ได้เริ่มบรรจุเข้าประจำการ AGM-65A ซึ่งนำวิถีด้วย TV ในปี..1972 และใน..1975 ได้บรรจุเข้าประจำการ AGM-65B ซึ่งนำวิถีด้วย TV เหมือนรุ่น A แต่มีการเพิ่มขนาดมุมจำกัดการมองเห็น (Field Of View) (FOW) ให้สูงขึ้น ใน..1983 ได้บรรจุเข้าประจำการ AGM-65D ซึ่งนำวิถีด้วย Imaging Infrared (IIR) ใน..1985 ได้บรรจุเข้าประจำการ AGM-65E ซึ่งนำวิถีด้วย Laser ใน..1989 ได้บรรจุเข้าประจำการAGM-65F ซึ่งนำวิถีด้วย IIR ใน..1993 ได้บรรจุเข้าประจำการAGM-65G ซึ่งนำวิถีด้วย IIR กองทัพอากาศ จัดหาเข้าประจำการเมื่อ..
เครื่องบินขับไล่และเอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริก · เอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริกและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์
อไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ (AIM-7 Sparrow) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยกลางที่ใช้โดยกองทัพอากาศ กองทัพเรือ และกองนาวิกโยธินของสหรัฐฯ เช่นเดียวกับกองทัพอากาศของพันธมิตรอื่นๆ สแปร์โรว์และแบบต่างๆ ของมันเป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่มีมาตั้งแต่ปล..
เครื่องบินขับไล่และเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ ·
เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์
อไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ (AIM-9 Sidewinder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตามความร้อน ซึ่งใช้กับเครื่องบินขับไล่และเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบอื่นและการพัฒนายังคงอยู่ในประจำการในกองทัพอากาศต่างๆ หลังจากผ่านไปห้าทศวรรษ นักบินนาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทู (Fox Two) ซึ่งหมายถึงขีปนาวุธติดตามความร้อน ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธที่ใช้กว้างขวางที่สุดในฝั่งตะวันตก ด้วยการผลิตมากกว่า 110,000 ลูกสำหรับสหรัฐและอีก 27 ประเทศ ซึ่งอาจมีเพียง 1 % เท่านั้นที่ใช้ในการรบ มันถูกผลิตภายใต้ใบอนุญาตโดยบางชาติรวมทั้งสวีเดน เอไอเอ็ม-9 เป็นหนึ่งในขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่เก่าแก่ที่สุด ถูกที่สุด และประสบความสำเร็จที่สุด ด้วยคะแนนสังหารถึง 270 จากทั่วโลก มันถูกออกแบบมาเพื่อทำการพัฒนาได้โดยง่าย กล่าวกันว่าเป้าหมายของการออกแบบสำหรับไซด์ไวน์เดอร์ดั้งเดิมนั้นคือสร้างขีปนาวุธที่ไว้ใจได้และมีประสิทธิภาพ กองทัพเรือสหรัฐได้ฉลองครบรอบ 50 ปีของการใช้มันในปี..
เครื่องบินขับไล่และเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ ·
เอ็ม61 วัลแคน
อ็ม 61 วัลแคน เอ็ม61 วัลแคน (ภาษาอังกฤษ: M61 Vulcan) เป็นปืนที่ทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก มีหกลำกล้อง ระบายความร้อนด้วยอากาศ และยิงด้วยระบบแบบปืนกลแกทลิ่งในอัตราการยิงที่สูงอย่างมาก มันเป็นปืนใหญ่หลักที่ใช้กับอากาศยานทางทหารของสหรัฐอเมริกามากว่าห้าทศวรรษ เอ็ม61 เดิมที่ถูกสร้างขึ้นโดยเจเนรัล อิเลคทริคและต่อมาก็เป็นเจเนรัล ไดนามิกส์, FAS.org.
เครื่องบินขับไล่และเอ็ม61 วัลแคน · เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทและเอ็ม61 วัลแคน ·
เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111
นรัลไดนามิกส์เอฟ-111 หรือ เอฟ-111 (General Dynamics F-111) เป็นเครื่องบินแบบแรกที่สามารถลู่ปีกได้ โดยมีการเปลี่ยนมุมลู่ปีกเพื่อเสถียรภาพในการบินด้วยความเร็วต่ำและลดแรงต้านเมื่อบินด้วยความเร็วสูง และทำให้เกิดเครื่องบินที่สามารถลู่ปีกได้ตามมาอีก เช่น เอฟ-14 ทอมแคท ซุคฮอย ซู-17 เป็นต้น.
เครื่องบินขับไล่และเจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111 · เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
การเปรียบเทียบระหว่าง เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
เครื่องบินขับไล่ มี 108 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท มี 43 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 22, ดัชนี Jaccard คือ 14.57% = 22 / (108 + 43)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: