โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อีสปและอุปมานิทัศน์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อีสปและอุปมานิทัศน์

อีสป vs. อุปมานิทัศน์

''Aesopus moralisatus'', 1485 อีสป (Aesop; Αἴσωπος; ประมาณ 620–564 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักเล่านิทานหรือนักเล่าเรื่องชาวกรีกโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นเจ้าของนิทานจำนวนหนึ่งซึ่งปัจจุบันรู้จักกันรวม ๆ ว่า นิทานอีสป แม้การดำรงอยู่ของเขาจะยังไม่แน่ชัดและไม่มีงานเขียนของเขาเหลือรอดมาเลย (หากมี) แต่นิทานจำนวนมากซึ่งถือว่าเป็นของเขาถูกรวบรวมตลอดหลายศตวรรษในหลายภาษาในประเพณีการเล่าเรื่องซึ่งดำเนินมาจวบปัจจุบัน นิทานหลายเรื่องใช้สัตว์หรือวัตถุไม่ใช่สัตว์ที่สามารถพูด แก้ไขปัญหาและโดยทั่วไปมีคุณสมบัติอย่างมนุษย์ รายละเอียดชีวิตของอีสปที่กระจัดกระจายสามารถพบได้ในแหล่งข้อมูลโบราณ รวมถึงอริสโตเติล เฮโรโดตัส และพลูทาร์ก งานวรรณกรรมโบราณชื่อ The Aesop Romance เล่าชีวิตอีสปเป็นตอน ๆ และอาจเป็นฉบับที่เป็นนิยายอย่างสูง ซึ่งรวมถึงคำอธิบายเขาแต่เดิมว่าเป็นทาสที่น่าเกลียดสะดุดตา ซึ่งได้รับอิสรภาพของตนมาด้วยความฉลาด และกลายเป็นผู้ถวายคำปรึกษาแด่พระมหากษัตริย์และนครรัฐต่าง ๆ ประเพณีสมัยหลัง (ซึ่งมาจากสมัยกลาง) พรรณนาอีสปว่าเป็นชาวเอธิโอเปียผิวดำ หมวดหมู่:ชาวกรีกโบราณ หมวดหมู่:นักเขียนชาวกรีกโบราณ. ''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อีสปและอุปมานิทัศน์

อีสปและอุปมานิทัศน์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อีสป

อีสป

''Aesopus moralisatus'', 1485 อีสป (Aesop; Αἴσωπος; ประมาณ 620–564 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักเล่านิทานหรือนักเล่าเรื่องชาวกรีกโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นเจ้าของนิทานจำนวนหนึ่งซึ่งปัจจุบันรู้จักกันรวม ๆ ว่า นิทานอีสป แม้การดำรงอยู่ของเขาจะยังไม่แน่ชัดและไม่มีงานเขียนของเขาเหลือรอดมาเลย (หากมี) แต่นิทานจำนวนมากซึ่งถือว่าเป็นของเขาถูกรวบรวมตลอดหลายศตวรรษในหลายภาษาในประเพณีการเล่าเรื่องซึ่งดำเนินมาจวบปัจจุบัน นิทานหลายเรื่องใช้สัตว์หรือวัตถุไม่ใช่สัตว์ที่สามารถพูด แก้ไขปัญหาและโดยทั่วไปมีคุณสมบัติอย่างมนุษย์ รายละเอียดชีวิตของอีสปที่กระจัดกระจายสามารถพบได้ในแหล่งข้อมูลโบราณ รวมถึงอริสโตเติล เฮโรโดตัส และพลูทาร์ก งานวรรณกรรมโบราณชื่อ The Aesop Romance เล่าชีวิตอีสปเป็นตอน ๆ และอาจเป็นฉบับที่เป็นนิยายอย่างสูง ซึ่งรวมถึงคำอธิบายเขาแต่เดิมว่าเป็นทาสที่น่าเกลียดสะดุดตา ซึ่งได้รับอิสรภาพของตนมาด้วยความฉลาด และกลายเป็นผู้ถวายคำปรึกษาแด่พระมหากษัตริย์และนครรัฐต่าง ๆ ประเพณีสมัยหลัง (ซึ่งมาจากสมัยกลาง) พรรณนาอีสปว่าเป็นชาวเอธิโอเปียผิวดำ หมวดหมู่:ชาวกรีกโบราณ หมวดหมู่:นักเขียนชาวกรีกโบราณ.

อีสปและอีสป · อีสปและอุปมานิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อีสปและอุปมานิทัศน์

อีสป มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ อุปมานิทัศน์ มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.57% = 1 / (5 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อีสปและอุปมานิทัศน์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »